Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report:SAR)

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report:SAR)

Published by jantaporn9, 2022-06-16 12:19:15

Description: RSBS-SAR-๒๕๖๔

Search

Read the Text Version

ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ ๔๒ ประสบการณ์อบรม ศึกษาดูงาน แลกเปลี่ยน หนว่ ยงานที่ เรียนรู้ในการจดั การศึกษานานาชาติ รับผิดชอบ จดุ มุ่งหมายเพ่ือการพฒั นา ๑. นักเรียนทุกคนมีความรู้ ความสามารถ และมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ๒. นักเรียนทุกคนได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง ทัดเทยี มและมีคุณภาพ ๓. นักเรียนทกุ คนมีคุณธรรม จริยธรรม มคี ณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ตามหลกั สตู ร และค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ ๔. โรงเรียน ครู และนักเรียน เป็นแบบอย่างที่ดีในการจัดกิจกรรมและจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ๕. โรงเรียนมีการบริหารจัดการที่เน้นการมีส่วนร่วมเสริมสร้างความรับผิดชอบต่อคุณภาพการศึกษา และ บรู ณาการการจัดการศึกษา ๖. การบริหารและการจัดการเรียนรู้ของโรงเรยี นดำเนินการอย่างสรา้ งสรรค์ รองรับการกระจายอำนาจ ทุก คนทำงานร่วมกนั อยา่ งมีความสุข ยกระดับการบริหารด้วยระบบคุณภาพ ๗. บคุ ลากรในโรงเรยี นเปน็ ผู้นำทมี่ ีความรู้ สามารถพัฒนานักเรียนทุกคนให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา ข้นั พืน้ ฐานและมาตรฐานสากล ๘. นักเรียนมีศักยภาพเป็นพลโลก (World Citizen) เป็นเลิศด้านวิชาการ สื่อสารสองภาษา ล้ำหน้าทาง ความคิด ผลิตงานอยา่ งสรา้ งสรรค์ อตั ลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา “ยิ้มแย้ม ทักทาย ยกมอื ไหว้ สวสั ดี” เอกลกั ษณข์ องสถานศึกษา “เศรษฐกจิ พอเพยี ง”

๔๓ สว่ นที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของนกั เรยี น เปา้ หมาย ระดับคุณภาพ : ดี 1.1 ผลสัมฤทธท์ิ างวชิ าการของผูเ้ รียน โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชูปถัมภ์ มีกระบวนการพัฒนาผู้เรียน ในด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย โดยมุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ ของโรงเรียน คือ “สถาบันผู้นำแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ สู่มาตรฐานสากล บนพื้นฐานความเป็นไทย” โดยจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เข้าร่วมโครงการ โรงเรียนมาตรฐานสากล และโครงการโรงเรียนคุณภาพด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี (SMT) ตามมาตรฐาน สสวท. มีการพัฒนา ปรับปรุง การจัดการเรียนการสอน ให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยจดั กระบวนการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคญั ผูเ้ รียนไดเ้ รยี นร้จู ากการปฏิบตั จิ ริง ตามแนวการสอนเชิงรุก (Active Learning) มีการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน และส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดกิจกรรมทุกด้านภายในโรงเรียน เน้นเรื่องการปลูกฝังให้เยาวชนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คือ ดี เก่ง และอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มีความรู้ สามารถพึ่งพาตนเองได้ มีกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่หลากหลาย รวมทั้งสิ้น 49 โครงการ/กิจกรรม เพื่อส่งเสริม ให้ผ้เู รียนมคี วามสามารถและมีทักษะในศตวรรษท่ี 21 โรงเรียนมีกระบวนการในการพัฒนาผู้เรียนโดยนำ RSBS Scout Model มาบูรณาการในการ จัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนานักเรียนให้มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ โ ด ย จ ั ด ก ิ จ ก ร ร ม พ ั ฒ น า ก า ร อ ่ า น แ ล ะ ก า ร เ ข ี ย น ต า ม โ ค ร ง ก า ร ว ั น รั ก ภ า ษ า ไ ท ย ก า ร จ ั ด ก า ร เรียนการสอนที่ส่งเสริมการอ่านในรายวิชาการอ่านและพิจารณาวรรณกรรม โครงการส่งเสริมและพัฒนา คุณภาพการเรียนการสอนสู่มาตรฐานสากล โครงการส่งเสริมทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและทักษะอาชีพ โครงการท่องโลกวัฒนธรรมและเรียนรู้ภาษาจีน (กิจกรรมสัมผัสวัฒนธรรม “เทศกาลตรุษจีน”) การจัดกิจกรรม การเรียนรู้ส่งเสริมผู้เรียนให้มีทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาอังกฤษ ภาษาจีนกับครูต่างชาติ โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศทางคณิตศาสตร์ กิจกรรมส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และคิดอย่าง มวี จิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็นและแกป้ ญั หาดว้ ยโครงการพฒั นาการเรยี นรู้ 8 กล่มุ สาระการเรียนรู้ ที่เน้นการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรมด้วยการ จัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานในการเรียนรายวิชาการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study: IS) มีการพัฒนาระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สัญญาณ Wifi ครอบคลุมทุกพื้นที่เพือ่ ให้ผู้เรียนสืบค้นข้อมูลได้อย่างทั่วถึง มีการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต และสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงด้วยเครื่องมือและวิธีการที่หลากหลาย

๔๔ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา จัดกิจกรรมส่งเสริมด้านอาชีพ ด้วยโครงงานอาชีพ จัดอบรมส่งเสริมอาชีพให้กับผู้เรียน ให้ผู้เรียนวัดความถนัดทางอาชีพ และจัดทำ Portfolio เพื่อการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ ส่งผลให้นักเรียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในระดับดี ตามค่าเปา้ หมายทีก่ ำหนด 1.1.1 มคี วามสามารถในการอ่าน การเขยี น การส่อื สาร และการคิดคำนวณ เป้าหมาย ระดับดี : ผู้เรียนร้อยละ 60-69 มีทักษะในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ตามเกณฑท์ สี่ ถานศึกษากำหนดในแต่ละระดบั ชั้น กิจกรรม กระบวนการบรหิ ารจดั การ และการจัดการเรยี นร้ทู ่ีสง่ ผลตอ่ ระดับคณุ ภาพ โรงเรียนมีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลายโดยเน้นการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการและ การลงมือปฏิบัติจริง มีการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน และส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้เทคโนโลยี ในการแสวงหา ความรู้ด้วยตนเอง มีการจัดกิจกรรม/โครงการเพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ อาทิ โครงการวันรักภาษาไทย การจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมการอ่านในรายวิชาการอ่านและพิจารณา วรรณกรรม โครงการท่องโลกวัฒนธรรม และเรียนรู้ภาษาจีน (กิจกรรมสัมผัสวัฒนธรรม “เทศกาลตรุษจีน”) กิจกรรมวันคริสต์มาส และการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ส่งเสริมผู้เรียนให้มีทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาอังกฤษ ภาษาจีนกับครูต่างชาติ โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศทางคณิตศาสตร์ (กจิ กรรมสนุกคิดคณติ ศาสตร์) ข้อมลู หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ท่ีสนับสนนุ ผลการประเมินตนเอง - แบบประเมินการอา่ น การเขยี น ของแต่ละระดบั ชั้น - แบบประเมนิ การนำเสนอช้นิ งาน/ผลงานของนกั เรียน รายงานกลุ่ม - แบบสรุป/รายงานการนำเสนอชนิ้ งาน/ผลงานของนกั เรยี น รายงานกลุ่ม - สรปุ ผลการอา่ น การเขียน การสอ่ื สาร และการคิดคำนวณ - ชิน้ งานของนักเรียน ได้แก่ การเขียนเรยี งความ การเขียนเชิงสร้างสรรค์ - รายงานสรปุ ผลการดำเนินงานตามโครงการ/กิจกรรม ปงี บประมาณ 2564 ได้แก่ รายงาน โครงการวันรกั ภาษาไทย รายงานสรุปโครงการทอ่ งโลกวัฒนธรรมและเรียนรูภ้ าษาจีน (กิจกรรมสัมผสั วัฒนธรรม “เทศกาลตรุษจนี ”) รายงานผลการจัดกิจกรรมวนั ครสิ ตม์ าส รายงานสรปุ โครงการส่งเสรมิ ความเปน็ เลิศทางคณติ ศาสตร์ (กิจกรรมสนกุ คิดคณติ ศาสตร)์ ผลความสำเร็จ - นกั เรยี นรอ้ ยละ 71.15 ของจำนวนนักเรียนทั้งหมด มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี นภาษาไทย อยใู่ นระดบั ดี ตามเกณฑ์การประเมินของโรงเรยี น - นกั เรยี นรอ้ ยละ 95.30 ของจำนวนนักเรียนท้งั หมด ผ่านเกณฑ์การประเมินสมรรถนะสำคญั ดา้ นความสามารถในการส่อื สารตามเกณฑก์ ารประเมนิ ของโรงเรยี น - นกั เรยี นร้อยละ 71.93 ของจำนวนนกั เรยี นทัง้ หมด มีความสามารถในการสือ่ สารภาษาอังกฤษได้ตามเกณฑ์การประเมนิ ของโรงเรียน

๔๕ - นกั เรยี นร้อยละ 66.80 ของจำนวนนักเรยี นทง้ั หมด มีความสามารถในการคิดคำนวณอยู่ในระดับดี ตามเกณฑก์ ารประเมินของโรงเรยี น - นกั เรยี นรอ้ ยละ 79.34 ของจำนวนนกั เรยี นท้ังหมด มีความสามารถในการสื่อสารภาษาตา่ งประเทศท่ี 2 (ภาษาจีน) ตามเกณฑก์ ารประเมินของโรงเรยี น 1.1.2 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลีย่ นความคิดเห็นและแก้ปัญหา เป้าหมาย ระดบั ดี : ผู้เรยี นรอ้ ยละ 60-69 มคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คดิ อย่างมวี ิจารณญาณ อภปิ ราย แลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ โดยใช้เหตุผลประกอบการตดั สนิ ใจ และแกป้ ัญหาไดอ้ ย่างเป็นระบบในระดับ 2 ขน้ึ ไป กิจกรรม กระบวนการบริหารจดั การ และการจัดการเรยี นร้ทู ่ีส่งผลต่อระดบั คุณภาพ โรงเรียนมีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการคิดด้วยวิธีการที่หลากหลาย ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียนและเป็นไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร มีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน มีการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏบิ ัติจริง ตามแนวการสอนเชงิ รกุ (Active Learning) ทั้งในรปู แบบการระดมสมอง แบบลงมือปฏิบัติจริง แบบใช้กระบวนการคิด กระบวนการใช้ปัญหาเป็นหลัก ครูเน้นเทคนิคการใช้คำถาม เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือ เทคนิคเพื่อนช่วยเพื่อน เทคนิคการเสริมแรง การใช้สถานการณ์จำลอง การใช้ประเด็นสังคมเชื่อมโยงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างเป็นเหตุเป็นผล และจัดกิจกรรมการแข่งขัน ความสามารถทางวิชาการท้งั ในโรงเรยี นและจากหน่วยงานภายนอก และจากการจดั กิจกรรม การเรยี นรู้แบบโครงงาน ในรายวิชาการศึกษาค้นคว้าอิสระ (IS1) และวิชาการสื่อสาร และการนำเสนอ (IS2) ส่งผลให้นักเรียนมี ความสามารถในการคิดวิเคราะห์และการแก้ปัญหามกี ารศึกษาข้อมูล เพื่อประกอบการตัดสินใจ สามารถคาดการณ์ ประเมิน เลือกแนวทางการตัดสินใจและแก้ไขปัญหาอย่ างมีวิจารณญาณ โดยใช้เหตุผลประกอบ มีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง รู้จักการวางแผน การดำเนินงานอย่างเป็นระบบ มีทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ มีทักษะในการทำงานร่วมกับผู้อื่น สามารถแสดงความคิดเห็นของตนเอง และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้อื่นเพื่อร่วมมือกันแก้ปัญหา สามารถสรุปองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง และสามารถนำความรทู้ ไ่ี ดไ้ ปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจำวันได้ ขอ้ มลู หลักฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ท่สี นบั สนนุ ผลการประเมินตนเอง - แผนการจัดการเรียนรู้ 8 กล่มุ สาระการเรียนรู้ - แบบสรปุ ผลการประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี น - สรุปผลการประเมินสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น ดา้ นความสามารถในการคิด - ผลงานนักเรยี น ได้แก่ โครงงาน - รายงานสรุปผลการดำเนนิ งานตามโครงการ/กิจกรรม ปีงบประมาณ 2564 ได้แก่ รายงานสรปุ โครงการนทิ รรศการสปั ดาห์วันวิทยาศาสตร์รายงานสรปุ โครงการพฒั นาคุณภาพการเรียนการสอน รายงานสรปุ โครงการส่งเสรมิ ความเป็นเลิศ (กจิ กรรมสนุกคิดคณิตศาสตร)์ ผลความสำเรจ็ - นักเรียนร้อยละ 98.95 ของจำนวนนักเรียนทั้งหมด ผ่านการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ อยู่ในระดบั ดี

๔๖ - นักเรียนร้อยละ 90.07 ของจำนวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผ่านเกณฑ์การประเมิน สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น ด้านความสามารถในการคดิ ตามเกณฑก์ ารประเมินของโรงเรียน - นักเรียนร้อยละ 97.44 ของจำนวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผ่านเกณฑ์การประเมิน สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น ดา้ นความสามารถในการคิด ตามเกณฑ์การประเมนิ ของโรงเรียน - นักเรียนร้อยละ 90.78 ของจำนวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผ่านเกณฑ์การประเมิน สมรรถนะ สำคัญของผูเ้ รยี น ด้านความสามารถในการแก้ปัญหา ตามเกณฑก์ ารประเมนิ ของโรงเรยี น - นักเรียนรอ้ ยละ 93.41 ของจำนวนนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ผ่านเกณฑก์ ารประเมินสมรรถนะ สำคญั ของผู้เรยี น ดา้ นความสามารถในการแกป้ ญั หาตามเกณฑก์ ารประเมิน ของโรงเรยี น 1.1.3 มคี วามสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม เป้าหมาย ระดับดี : ผ้เู รียนร้อยละ 60-69 มคี วามสามารถนำกระบวนการในการสรา้ งนวตั กรรมไปใช้ในการ แก้ปัญหา กิจกรรม กระบวนการบริหารจัดการ และการจัดการเรยี นรู้ท่สี ง่ ผลตอ่ ระดับคุณภาพ โรงเรียนส่งเสริมให้นักเรียนเป็นผู้มีความรู้และทักษะพื้นฐานในการสร้างนวัตกรรมเป็นของตนเอง โดยจัดรายวิชาเพิ่มเติม เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนสามารถสร้างนวัตกรรม มีการจัดการเรียนการสอนรายวิชา การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study: IS) โดยมีการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มุ่งให้ผู้เรียน ได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองโดยใช้กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อเป็นการพัฒนาผู้เรียนให้ผู้เรียน ได้ศึกษาค้นคว้าอย่างอิสระในเรื่องประเด็นที่ตนเองเกิดความสนใจ เริ่มตั้งแต่การกำหนดประเด็นปัญหา และดำเนินการค้นคว้า แสวงหาความรู้จากแหล่งข้อมูลที่หลายหลาย มีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ การอภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อนำไปสู่การสรุปองค์ความรู้ จากนั้นจึงหาวิธีการที่เหมาะสมในการสื่อสาร และนำเสนอให้บุคคลอื่นได้รับทราบ และสามารถนำความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าไปทำคุณประโยชน์ แก่สาธารณะ รวมถึงสามารถสร้างนวัตกรรมที่เกิดจากโครงงาน โครงการ กิจกรรรมต่าง ๆ ในการจัดการเรียน การสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยจัดการเรียนรู้ทั้งรูปแบบออนไลน์ (Online) และออนไซต์ (On-site) รวมถึงให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการทีเ่ ชื่อมโยงองค์ความรู้อย่างต่อเนื่อง ภายใต้การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยปกติ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่เรียนวิชา IS จะสร้างนวัตกรรมและนำเสนอในวัน IS day สำหรบั การจัดการเรยี นการสอนในปกี ารศึกษานี้ เนอ่ื งจากในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 จึงมีการปรับรูปแบบการนำเสนอเป็นรูปแบบผสมผสานโดยการออนไลน์ (Online) และออนไซต์ (On-site) ไปพรอ้ มกนั ขอ้ มลู หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ท่สี นบั สนนุ ผลการประเมินตนเอง - ผลงานนักเรยี น ได้แก่ โครงงาน - บทคดั ย่อรายงานการศกึ ษาคน้ คว้าอสิ ระ - การนำเสนอโครงงาน IS (Independent Study: IS) - รายงานสรปุ โครงงานนกั เรียน

๔๗ ผลความสำเรจ็ - นักเรียนร้อยละ 96.69 ของจำนวนนักเรียนที่เรียนรายวิชาการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study: IS) มคี วามรู้และทักษะพืน้ ฐานในการสรา้ งนวัตกรรมผ่านตามเกณฑ์การประเมินของโรงเรียน และมีผลงานจากการทำโครงงานสิ่งประดิษฐ์ - นักเรียนร้อยละ 16.25 ของจำนวนนักเรียนทั้งหมด สามารถสร้างนวัตกรรม นำนวัตกรรมไปใช้ และมีการเผยแพร่ 1.1.4 มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร เป้าหมาย ระดับดีเลศิ : ผู้เรยี นรอ้ ยละ 70-79 มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสารสนเทศและการ สือ่ สารเพือ่ พัฒนาตนเอง และสังคมในด้านการเรยี นรู้ การสือ่ สาร การทำงาน อย่างสรา้ งสรรค์และมีคุณธรรม กิจกรรม กระบวนการบริหารจัดการ และการจัดการเรยี นรู้ที่สง่ ผลต่อระดบั คณุ ภาพ โรงเรียนมกี ารจัดการเรยี นการสอนโดยสนบั สนุนให้ผู้เรียนได้ใช้เทคโนโลยใี นการเรยี นรู้ การนำเสนอ ผลงาน การสร้างชิ้นงานจากการศึกษาเรียนรู้ ปฏิบัติ ปรับปรุงแก้ไข สามารถนำเสนอในรูปแบบของโครงงาน นิทรรศการ และรายงาน รวมถึงการนำเสนอโดยใช้สื่อเทคโนโลยี นักเรียนมีทักษะในการสืบค้นข้อมูลผ่านระบบ อินเทอร์เน็ต ได้อย่างคล่องแคล่ว ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้เวลาว่างในการใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์ โดยการเปิด บริการให้ผู้เรียนได้ใช้ห้องปฏิบัติการทางคอมพิวเตอร์นอกเวลาเรียน ใช้ห้องสืบค้นอินเทอร์เน็ตภายในห้องสมุด และจุดกระจาย สญั ญาณอนิ เทอร์เน็ตตามบริเวณต่าง ๆ ภายในโรงเรยี น ทำใหผ้ ู้เรียนไดพ้ ฒั นาทักษะทางด้านการใช้ เทคโนโลยี ไดอ้ ย่างเตม็ ท่ี มกี ารจดั กิจกรรมงานสปั ดาหว์ ิทยาศาสตรอ์ อนไลน์ โดยจดั การแข่งขนั เพอื่ พัฒนาทักษะด้าน การใช้ เทคโนโลยี ได้แก่ การจัดการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ การใช้โปรแกรมนำเสนอ ( Presentation) ในการนำเสนองาน การแข่งขันเกมกีฬา E-sport ROV และกิจกรรมการถ่ายรูป Sticker การรายงานการวัดและ ประเมินผลผู้เรียนให้กับนักเรียนและผู้ปกครองทราบโดยผ่านทางโปรแกรม SGS ตลอดจนการนำผลการประเมิน คุณภาพของผู้เรียนต่อผู้เกี่ยวข้องที่มีส่วนได้ส่วนเสีย อาทิ ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา สมาคมศิษย์เก่า ชุมชนผ่านทางวารสารโรงเรียน(E-Book) เว็บไซต์โรงเรียน การจัดนิทรรศการวิชาการแสดงผลงานของนักเรียนทาง ออนไลน์ เปน็ ต้น ขอ้ มลู หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ท่ีสนับสนุนผลการประเมนิ ตนเอง - สมุดบนั ทกึ การสืบค้นขอ้ มูลจากอนิ เทอร์เน็ต - แบบรายงานผลการประเมินสมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี นด้านที่ 5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี - แบบประเมินชน้ิ งาน - รายงานสรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ/กจิ กรรม ปีงบประมาณ 2564 ได้แก่ รายงานสรุปโครงการพฒั นาสู่ความเป็นเลศิ ด้านคอมพวิ เตอร์ รายงานผลการประเมินทกั ษะผเู้ รียน ด้าน Digital Literacy และความร้แู ละทกั ษะในการปอ้ งกันตนเองจากภยั คกุ คามรปู แบบใหม่ ผลความสำเร็จ - นักเรียนร้อยละ 95.86ของจำนวนนกั เรียนทั้งหมด มีสามารถในการสืบค้นขอ้ มูลจากอินเทอร์เนต็ และสรุปความรไู้ ดด้ ว้ ยตนเอง และอ้างอิงแหล่งข้อมูลท่ไี ดจ้ ากการสืบคน้ ทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ

๔๘ - นักเรียนร้อยละ 96.06 ของจำนวนนักเรียนทั้งหมดผ่านเกณฑ์การประเมินสมรรถนะสำคัญของ ผู้เรียน ด้านความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ตามเกณฑก์ ารประเมนิ ของโรงเรยี น - นักเรียนร้อยละ 95.30 ของจำนวนนักเรียนทั้งหมดผ่านเกณฑ์การประเมินสมรรถนะสำคัญของ ผเู้ รยี น ดา้ นความสามารถในการสื่อสาร ตามเกณฑก์ ารประเมนิ ของโรงเรียน 1.1.5 มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศึกษา เปา้ หมาย ระดบั ดี : นักเรียนร้อยละ 60-69 มผี ลสัมฤทธิท์ างการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาสงู กว่า เปา้ หมายทีส่ ถานศึกษากำหนดในระดบั ๒ กิจกรรม กระบวนการบรหิ ารจดั การ และการจัดการเรียนรู้ทส่ี ่งผลตอ่ ระดบั คณุ ภาพ โรงเรียนมีการจัดหลักสตู ร กระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนอย่างรอบด้านเพื่อสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนได้รบั การพัฒนาอยา่ งเต็มศักยภาพ มีการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี นให้มีความรู้และทักษะท่ีจำเป็นตามหลักสูตร โดยพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 และ สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ดำเนินการส่งเสริม ใหค้ รจู ดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยจัดทำโครงสร้างหลกั สูตรรายวิชาของสถานศกึ ษาทง้ั รายวิชาพ้ืนฐ านและรายวิชาเพิ่มเติม ตลอดจนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้เป็นไปตามศักยภาพของผู้เรียน เป็นไปตามมาตรฐาน และตัวชี้วัดของหลักสูตร มีการออกแบบการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับผู้เรียนและวางแผนด้านการศึกษา และอาชีพ ของตนเองได้อย่างเหมาะสมกับวัยของตนเอง มีการจัดทำโครงการ/กจิ กรรมเพื่อสง่ เสริม และพัฒนาคุณภาพผ้เู รียน อย่างหลากหลาย เชน่ โครงการยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นซง่ึ มีหลายกิจกรรม ไดแ้ ก่ กิจกรรมการสอน ซอ่ มเสรมิ การจัดการเรียนรู้ทั้งรูปแบบออนไลน์ (Online) และ (On-site) ในการสอนช่วงสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) การประสานความร่วมมือระหว่างโรงเรียน และผู้ปกครอง ในการติดตามการแก้ไขผลการเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ และการประกาศผลการเรียนให้นักเรียนและผู้ปกครองทราบ ด้วยระบบออนไลน์ ส่งเสริมให้ครูมีการพัฒนาสื่อและนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ จัดหาสื่อ โสตทัศนูปกรณ์ และอปุ กรณก์ ารเรยี นที่เอ้ือต่อการเรยี นรู้ ทำใหผ้ ู้เรียนได้รบั การพัฒนาอยา่ งมีคุณภาพ ข้อมูล หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ทสี่ นับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง - แบบบันทกึ ผลการเรียนประจำรายวชิ า (ปพ.5) - รายงานผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของนกั เรียนแตล่ ะกลุ่มสาระการเรียนรู้ - สรุปผลการเรยี นของนักเรียนทกุ ระดับชนั้ ทกุ รายวชิ า ทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ - รายงานสรุปผลการดำเนนิ งานตามโครงการ/กิจกรรม ปงี บประมาณ 2564 ได้แก่ รายงานโครงการพฒั นาการเรียนการสอนวชิ าศลิ ปะ รายงานสรุปโครงการสง่ เสริมและพฒั นาศักยภาพความเป็นเลิศทางด้านนาฏศลิ ป์ รายงานสรปุ โครงการสง่ เสรมิ และพฒั นาศักยภาพความเป็นเลิศทางด้านดนตรไี ทย รายงานสรปุ โครงการส่งเสรมิ และพัฒนาความสามารถทางดา้ นดนตรีสากล รายงานสรปุ โครงการส่งเสรมิ การแข่งขันทักษะทางวิชาการ

๔๙ ผลความสำเรจ็ - นักเรียนรอ้ ยละ 71.15 ของจำนวนนักเรยี นทั้งหมด มผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ระดับ 3 ข้ึนไป - นกั เรยี นรอ้ ยละ 66.80 ของจำนวนนกั เรียนท้ังหมด มผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนกล่มุ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ระดบั 3 ขน้ึ ไป - นักเรยี นร้อยละ 70.98 ของจำนวนนักเรยี นท้ังหมด มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ระดบั 3 ข้นึ ไป - นักเรียนรอ้ ยละ 68.73 ของจำนวนนักเรียนทั้งหมด มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ระดบั 3 ขน้ึ ไป - นักเรียนร้อยละ 71.93 ของจำนวนนักเรียนทั้งหมด มผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ระดบั 3 ขนึ้ ไป - นักเรยี นรอ้ ยละ 77.57 ของจำนวนนักเรียนท้ังหมด มผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นกลุ่มสาระการเรียนรู้ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ระดับ 3 ขน้ึ ไป - นักเรยี นร้อยละ 70.30 ของจำนวนนักเรียนท้งั หมด มผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ ระดับ 3 ขน้ึ ไป - นกั เรียนร้อยละ 64.54 ของจำนวนนักเรียนทงั้ หมด มผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชพี ระดบั 3 ข้นึ ไป

๕๐ ร้อยละของจำนวนนกั เรยี นท่ีมีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนแตล่ ะรายวชิ าในระดบั 3 ขนึ้ ไป ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1-6 ปีการศึกษา 2564 90 70.98 71.93 77.57 70.3 80 71.15 70 66.8 68.73 64.54 60 50 40 30 20 รอ้ ยละ 10 0 รอ้ ยละของนกั เรยี นทม่ี ีผลการประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี น ในระดับดขี น้ึ ไป ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1-6 ปีการศึกษา 2564 จากการประเมินด้านการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 -6 ปกี ารศึกษา 2564 ปรากฏผลการประเมินนักเรียนผ่านเกณฑก์ ารประเมินในระดบั ดีข้นึ ไป คิดเปน็ รอ้ ยละ 98.95

๕๑ ร้อยละของนกั เรยี นที่มีผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคใ์ นระดบั ดขี น้ึ ไป ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1-6 ปีการศึกษา 2564 จากการประเมนิ ด้านคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1-6 ปกี ารศึกษา 2564 ปรากฏผลการประเมินนกั เรยี นผ่านเกณฑ์การประเมนิ ในระดบั ดีข้นึ ไป คิดเปน็ รอ้ ยละ 99.07 ร้อยละของนกั เรยี นที่มผี ลการประเมินสมรรถนะสำคญั ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ปีการศึกษา 2564 ของผู้เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1-6 ในระดบั ผ่านข้นึ ไป

๕๒ ร้อยละของนักเรียนท่มี ผี ลการประเมนิ สมรรถนะสำคัญตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 ปกี ารศึกษา 2564 ของผูเ้ รียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ในระดบั ผา่ นขึ้นไป ร้อยละของนกั เรียนที่มผี ลการประเมนิ สมรรถนะสำคัญตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ปีการศึกษา 2564 ของผู้เรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ในระดบั ผ่านขนึ้ ไป

๕๓ 1.1.6 มีความรู้ ทกั ษะพื้นฐาน และเจตคติทด่ี ตี ่องานอาชีพ เปา้ หมาย ระดบั ดี : นกั เรยี นร้อยละ 60-69 มคี วามรู้ ทกั ษะพน้ื ฐาน และเจตคติที่ดีพรอ้ มที่จะศึกษาต่อใน ระดบั ชัน้ ทส่ี งู ขนึ้ และการทำงานหรืออาชีพ กจิ กรรม กระบวนการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรทู้ ่สี ง่ ผลต่อระดับคณุ ภาพ โรงเรยี นมีกระบวนการพฒั นาผู้เรียนดว้ ยวิธีการท่ีหลากหลาย ดำเนนิ การส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนท่ี เน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั มกี ารออกแบบการเรียนร้ใู หเ้ หมาะสมกับผูเ้ รยี น วางแผนดา้ นการศึกษา และอาชีพของตนเองได้ อย่างเหมาะสมกบั วัยของตนเอง โดยออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้ ทีเ่ นน้ การพัฒนาทกั ษะของผเู้ รียน เสริมทักษะอาชพี และการเรยี นรจู้ ากแหลง่ เรียนรู้ท่หี ลากหลาย กำหนดรายวชิ าการเรียนตามแผนการเรียนรูท้ ่ี นกั เรียนสนใจ ดำเนินการ จัดกิจกรรมโครงงานอาชีพต่าง ๆ ทั้งในรายวชิ าพนื้ ฐานและรายวิชาเพิม่ เติม อกี ท้งั การพฒั นาผูเ้ รียนใหม้ ีเจตคติที่ดีต่อ การทำงานและการประกอบอาชพี ฝึกใหผ้ ู้เรยี นสามารถทำงานรว่ มกบั ผอู้ น่ื ได้ มภี าวะผู้นำ และรจู้ ักเปน็ ผู้ตามที่ดี การ สร้างความตระหนัก รับรู้เกี่ยวกับความเปลี่ยนแปลงของโลกอาชีพ ฝึกทักษะ การประกอบอาชีพ ศึกษาข้อมูลด้าน อาชีพ หลกั สตู รของคณะ/สาขาท่ีเกี่ยวข้องแต่ละอาชีพ ความต้องการของตลาด แรงงาน การเตรียมตัวส่อู าชพี การทำ แบบทดสอบวัดความถนัดด้านอาชีพ จัดบริการสนเทศทางการศึกษา-อาชีพ มีการเชิญวิทยากรมาบรรยายแนะแนว การศึกษา-อาชีพ จัดกิจกรรมแนะแนวสัญจรเพื่อส่งเสริมการศึกษา การจัด กิจกรรมแนะแนวในชั้นเรียน ผู้เรียน สร้างสรรค์ประดษิ ฐ์ผลงานอาชพี จัดบริการให้คำปรกึ ษาเกี่ยวกับการเตรียมตัว เพื่อเลือกอาชีพ การจัดกิจกรรมแนะ แนวอาชีพนอกชัน้ เรียน จัดทำข้อมูลสารสนเทศทางอาชีพ จัดป้ายนิเทศทางอาชพี จัดกิจกรรมแนะแนวการศึกษาใน ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 และชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 ขอ้ มลู หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ทีส่ นับสนนุ ผลการประเมินตนเอง - แบบสรุปการดำเนินงานโครงงานอาชพี ของนักเรยี น - แบบประเมนิ ผลงาน - แบบสงั เกตการทำงาน แบบสมั ภาษณ์ แบบสำรววจ - แบบประเมินทักษะพน้ื ฐานในการทำงาน - แบบประเมินเจตคติท่ีดีตอ่ งานอาชพี ผลความสำเรจ็ - นักเรียนร้อยละ 91.28 ของจำนวนนักเรียนทั้งหมด มีความรู้ ทักษะพื้นฐานและมีเจตคติที่ดีต่อ งานอาชีพ ผ่านตามเกณฑ์การประเมนิ ของโรงเรยี น จุดเดน่ จดุ ทค่ี วรพฒั นา แผนการพฒั นาคุณภาพใหส้ งู ขนึ้ และขอ้ เสนอแนะ จดุ เดน่ 1. ผูเ้ รยี นมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร และการคดิ คำนวณ ภาพรวมอยูใ่ นระดบั ดี 2. ผู้เรียนมคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และอภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเหน็ และแก้ปัญหาไดอ้ ย่างมีเหตผุ ล 3. ผเู้ รยี นมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใน การแสวงหาความรูไ้ ดด้ ว้ ยตนเองอยา่ งเหมาะสม

๕๔ 4. ผเู้ รียนมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นเปน็ ไปตามเปา้ หมายท่ีสถานศกึ ษากำหนดไว้ 5. ผเู้ รียนมคี วามรู้ ทกั ษะพ้ืนฐาน และเจตคติทด่ี ตี ่องานอาชีพ 6. ผเู้ รยี นมีศกั ยภาพ มผี ลงานเชิงประจกั ษ์และเป็นทยี่ อมรบั จากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภายใน สถานศึกษาและภายนอกสถานศกึ ษาอย่างตอ่ เน่อื ง มีทกั ษะในการแข่งขันทางวชิ าการเป็นที่ยอมรับในระดบั เขตพน้ื ที่ การศึกษา ระดับภาค และระดบั ประเทศ จุดที่ควรพฒั นา 1. ผูเ้ รียนบางสว่ นมผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนไม่เปน็ ไปตามเกณฑ์ที่สถานศกึ ษากำหนด จึงตอ้ งมีการส่งเสรมิ และพฒั นาอย่างจริงจงั 2. จดั กิจกรรมสง่ เสริมความสามารถในการสร้างนวตั กรรมเพ่มิ เติม ข้อเสนอแนะ 1. ควรพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพนักเรียนที่ยังมีผลการประเมินด้านต่าง ๆ ต่ำกว่าเกณฑ์ที่สถานศึกษา กำหนดให้มีพัฒนาการทด่ี ขี ึ้นในภาคเรียนหรอื ปีการศึกษาตอ่ ไป 2. ควรสง่ เสริมและพัฒนาให้ผู้เรยี นมีความสามารถในการรวบรวมความรู้ได้ด้วยตนเอง เชือ่ มโยง องค์ความรู้ และประสบการณ์มาใช้ในการสร้างสิ่งใหม่ๆ และพัฒนาเป็นนวัตกรรมเพื่อสอดคล้องกับมาตรฐาน การศึกษาของ ผู้เรยี น 3. ควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองมากขึ้นและเพิ่มทักษะชีวิตให้กับผู้เรียน โดยการ สอดแทรกเข้ากับรายวิชาต่างๆ เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้ผเู้ รยี นได้ใช้ทักษะชวี ิตมากขึ้นเพ่ือเป็นประโยชน์ตอ่ ผู้เรียนในการศึกษา ตอ่ และการใชช้ ีวิตในสงั คมปัจจุบนั แผนพฒั นาคุณภาพเพอ่ื ยกระดบั คุณภาพใหไ้ ดม้ าตรฐานที่สงู ขน้ึ จดั ทำโครงการเพือ่ พัฒนาคุณภาพผเู้ รียน ไดแ้ ก่ 1. โครงการเพมิ่ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น 8 กลุม่ สาระการเรียนรู้ 2. โครงการเสรมิ สร้างนวตั กรนอ้ ย 3. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ

๕๕ มาตรฐานที่ 1.2 คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ องผเู้ รียน 1.2.1 การมีคณุ ลกั ษณะและค่านยิ มท่ดี ีตามทส่ี ถานศกึ ษากำหนด เป้าหมาย : ระดับดีเลิศ ผู้เรียนร้อยละ ๗๐ - ๗๙ ผ่านการประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามที่ สถานศึกษากำหนดในระดับ ๓ ขึน้ ไป กจิ กรรม กระบวนการบริหารจัดการ และการจดั การเรยี นรทู้ ส่ี ่งผลตอ่ ระดบั คุณภาพ สถานศึกษามีกระบวนการพัฒนานักเรียนด้วยวิธีการที่หลากหลายอย่างเท่าเทียม โดยครูจัดการเรียนรู้ให้ เป็นไปตามศักยภาพของนักเรยี น และเป็นไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 รวมทั้งได้พัฒนา ปรับปรุง การจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษา แหง่ ชาติ พทุ ธศักราช 2542 สถานศกึ ษาไดม้ ีการดำเนนิ การเพอื่ สง่ เสริมให้นักเรียนมพี ัฒนาการและความสามารถใน ทุกด้าน เน้นการส่งเสริมและสนับสนนุ ให้นักเรียนมีทักษะชีวิต (การสร้างอาชีพ) นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงในการ เรียนรคู้ วบคู่กบั การพัฒนาด้านคณุ ธรรมจริยธรรมท่เี หมาะสมกบั วัยของนกั เรยี น เพอื่ ใหน้ กั เรียนสามารถดำเนินชีวติ อยู่ ในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะพลเมืองไทยและพลเมืองโลก โดยโรงเรียนมีวิสัยทัศน์ว่า “สถาบันผู้นำแห่งภูมิ ปัญญาและการเรียนรู้สู่มาตรฐานสากล” และมอี ัตลักษณ์โรงเรียนคือ “ย้ิมแย้ม ทกั ทาย ยกมอื ไหว้ สวัสดี” อันเป็น เป้าหมายเพื่อปลูกฝังนักเรียนให้เป็นผู้ที่มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ ที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน สถานศึกษาได้มีการจัดโครงการ/กิจกรรม สนบั สนุนสง่ เสรมิ ให้นกั เรยี นมี ดงั น้ี 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ โรงเรยี นไดด้ ำเนนิ การกิจกรรมดังนี้ กิจกรรมเขา้ แถวเคารพธงชาติ กิจกรรมสภานักเรียน กิจกรรมทำบุญ ตักบาตรประจำสัปดาห์ กิจกรรมเวียนเทียนออนไลน์ ในวันอาสาฬหบูชา กิจกรรมลงนามถวายพร สมเด็จพระ ปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หวั สมเด็จพระนางเจ้าสริ ิกติ ิ์ พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง และสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ รูปแบบออนไลน์ เปน็ ต้น 2. ซื่อสัตย์สุจรติ โรงเรียนได้ดำเนนิ จัดการเรียนการสอน โดยครูผู้สอนท้ัง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้ปลูกฝังความซื่อสตั ย์ สุจริตให้กับผู้เรียนไม่ให้มีการทุจริตในการสอบ หรือคัดลอกการบ้านของผู้อื่น ทำงานที่ได้รับมอบหมายด้วยตนเอง สง่ เสรมิ ให้มเี พือ่ นช่วยเพอื่ นในชว่ งซอ่ มเสริม และกจิ กรรมของหายไดค้ นื 3. มวี ินัย โรงเรยี นได้ดำเนินการจัดการเรียนการสอนบรู ณาการกบั แผนการจัดการเรยี นรู้ โดยมีกิจกรรมที่เสริมสร้าง วินยั ใหแ้ กผ่ ้เู รียนทัง้ 8 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ได้ปลูกฝงั ใหน้ ักเรียนมวี ินัยโดยปฏิบัติตามข้อตกลงในช้ันเรียน เช่น การ เข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา การส่งงานครูผู้สอนให้ตรงตามระยะเวลาที่กำหนด ผู้เรียนร่วมมือกันดูแลความสะอาด ห้องเรียนและบริเวณโรงเรียน การเข้าแถวเคารพธงชาติตรงเวลา การเข้าแถวซื้ออาหาร การปฏิบัติตามกฎระเบียบ ของโรงเรียน เช่น แต่งกาย ทรงผมถูกระเบียบ เป็นต้น และการปฏิบัติตามมาตรการ 6 มาตรการหลัก และ 6 มาตรการเสริม รองรับการแพร่ระบาดระลอกใหมข่ อง โควดิ -19 ในสถานศกึ ษา 4. ใฝร่ ้ใู ฝ่เรียน ครูผู้สอนทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถตามความถนัดของ นกั เรียนทแี่ ตกต่างกนั ไม่วา่ จะด้านวชิ าการ นันทนาการ กฬี า และดนตรี ใหผ้ เู้ รียนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ทั้งน้ี

๕๖ ครูผู้สอนได้พัฒนาทักษะการสืบค้นข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย เช่น การสนใจศึกษาช่องทางบนโลก ออนไลนผ์ า่ นเว็บไซตห์ รอื แอปพลิเคชันในการนำเสนอผลงาน หรอื จดั ทำช้นิ งาน การเข้าร่วมกิจกรรมตอบคำถามเน่ือง ในวันสำคัญต่าง ๆ ผ่านรปู แบบออนไลน์ เช่น กิจกรรมนิทรรศการวชิ าการ สานฝนั แห่งการเรยี นรู้ สู่บวรศาลายา 64 กิจกรรมวนั ภาษาไทย กิจกรรมวนั คริสต์มาส กิจกรรมวันตรุษจนี เปน็ ต้น นอกจากนค้ี รูผสู้ อนได้ส่งเสริมให้ผู้เรียนเพิ่ม ศักยภาพและทักษะตามความสนใจ เช่น กิจกรรมดนตรีต้านภัยยาเสพติด กิจกรรมชุมนุมดนตรีไทย กิจกรรมชุมนุม ดนตรสี ากล กจิ กรรมชุมนุมเปตอง กิจกรรมชุมนุมวูซู เป็นตน้ 5. อยู่อยา่ งพอเพียง โรงเรยี นไดม้ กี ารสง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี นดำเนินชีวิตอย่อู ย่างพอเพยี ง โดยครูปลกู ฝงั และร่วมกันวางแผนในการใช้ เงิน สิ่งของเคร่ืองใช้อย่างประหยัด กับนักเรียนในคาบโฮมรูม เช่น การปิดเคร่ืองใช้ไฟฟ้า น้ำประปา เมื่อไม่ได้ใช้งาน แล้ว การรักษาทรพั ยส์ ินส่วนรวมภายในโรงเรียน และรู้จกั การออมเงนิ ในโครงการธนาคารโรงเรียน 6. ม่งุ มน่ั ในการทำงาน ครผู สู้ อนทง้ั 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ มกี ารจัดการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย เช่น การเสริมแรงทางบวก การให้รางวัล การชื่นชม เพื่อทำให้นักเรียนเกิดความสนใจ และมุ่งมั่นที่จะทำให้งานประสบความสำเร็จ ส่งเสริม นักเรยี นใหใ้ ช้ศกั ยภาพตามความถนดั ของตนเอง เพอื่ ฝึกความเปน็ ผ้นู ำ และกลา้ แสดงออก เชน่ กิจกรรมการประกวด To Be Idol จนสามารถเขา้ ถึงรอบระดับประเทศ กิจกรรมการเลือกต้ังคณะกรรมการสภานกั เรียน มีการส่งนักเรยี น เขา้ ร่วมการแขง่ ขนั กฬี าประเภทตา่ ง ๆ 7. รักความเปน็ ไทย ครูผู้สอนส่งเสริมให้ผู้เรียนปฏิบัติตนตามขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมไทย มีสัมมาคาราวะ อ่อน น้อมถ่อมตน กตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ และปฏิบัติตามอัตลักษณ์ของโรงเรียนคือ “ยิ้มแย้ม ทักทาย ยกมือไหว้ สวัสดี” เช่น กิจกรรมน้องไหว้พี่ กิจกรรมทำบุญใสบ่ าตรเน่ืองในวันมาฆบูชา กิจกรรมทำบุญประจำสัปดาห์ กิจกรรม แสดงมุทติ าจิตครูเกษยี ณอายุราชการ ประจำปกี ารศกึ ษา 2564 รูปแบบออนไลน์ 8. มจี ิตสาธารณะ โรงเรียนปลูกฝังให้ผู้เรียนได้ริเริม่ การช่วยเหลอื ผู้อื่น เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน และสังคม พฤติกรรมที่บ่งชี้ เช่น นักเรียนอาสาช่วยคุณครูถือของ ช่วยกันทำความสะอาดห้องทุกเย็นกอ่ นกลับบ้าน ผู้เรียนภายในหอ้ งชว่ ยเหลือติดตามงานที่ค้างใหก้ ับเพ่อื นๆ การใหค้ ำปรกึ ษาเพอ่ื นภายในห้องในเรอื่ งต่าง ๆ เช่น การ ทบทวนบทเรียน การซ่อมเสริมวิชาที่ติดค้าง หรือการเรียนต่อ และยังมีกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ที่ให้ผู้เรียนได้ ตัดสินใจในการเลือกทำกิจกรรมที่ช่วยเหลืองานผู้ปกครองในภายในบ้าน หรือช่วยเหลืองานคุณครูภายในโรงเรียน คณะกรรมการสภานักเรียนอาสาแบ่งเวรรับผิดชอบขึ้นตรวจความสะอาดในห้องเรียนและอาคารเรียนเพ่ือดูแลรักษา สาธารณสมบัตสิ ว่ นรวม ข้อมลู หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ทส่ี นับสนนุ ผลการประเมินตนเอง - คำสั่งแต่งตง้ั คณะกรรมการนักเรียน - โครงการสง่ เสรมิ ประชาธิปไตยในโรงเรียน - ข้อมูลการเยี่ยมบา้ นนกั เรยี น - แบบประเมนิ พฤตกิ รรมเด็ก (SDQ) - แบบสง่ ต่อท่ีปรึกษา

๕๗ - โครงการสง่ เสริมการสร้างอาชพี ให้กับนักเรียนยากจนพเิ ศษ - รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตา่ ง ๆ - ภาพถ่ายการจดั กิจกรรมต่อต้านยาเสพตดิ - รายงานการจัดโครงการอบรมคณุ ธรรมจริยธรรม - สถานท่ใี นการประกอบการทำบญุ ตักบาตรประจำสปั ดาห์ - รปู ท้ายแบบสรุปกิจกรรมต่าง ๆ ตามโครงการ - เล่มกิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์/รูปภาพ - เลม่ สรุปกจิ กรรมตามวนั สำคญั /รูปภาพ - แผนการจดั การเรียนรู้ ลกู เสือ-เนตรนารี และยวุ กาชาด - โครงสรา้ งกจิ กรรมการเรียนรู้ - แบบรายงานสรุปผลโครงการ การจัดกจิ กรรม - เลม่ รายงานดำเนินงานจัดกิจกรรม ผลความสำเร็จ - คณะกรรมการนักเรยี นสามารถดำเนินงานตามนโยบายและตามงานที่ได้รับมอบหมายอย่างดีเยี่ยม กิจกรรมทกุ กจิ กรรมสำเรจ็ ลุลว่ งไปด้วยดี สามารถแก้ไขปญั หาและช่วยเหลอื นักเรยี นในเบือ้ งต้นได้ - นักเรยี นเห็นคณุ ค่าในตนเอง มที กั ษะในการดำรงชีวิตร่วมกับผอู้ นื่ ไดอ้ ยา่ งมีความสุข - นักเรียนทกุ คนทราบถงึ ภยั ของยาเสพติดท่มี ีอยู่ในปจั จุบัน - นกั เรียนมภี มู คิ มุ้ กันในการดำรงชีวติ ใหห้ ่างไกลจากยาเสพตดิ - ปัญหายาเสพติดในสถานศกึ ษาลดลง - นักเรียนทกุ คนได้รับการสง่ เสริมดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรม - นกั เรยี นไดเ้ รียนร้แู ละสามารถปฏิบัติกจิ กรรมทางศาสนาได้ - นักเรยี นเปน็ ผู้สบื ทอดประเพณีทางศาสนาไดเ้ ปน็ อยา่ งดี - ผู้เรยี นมจี ิตสำนึกในการบำเพ็ญประโยชน์ต่อครอบครวั โรงเรยี น ชุมชน สังคม และประเทศชาติ - ผูเ้ รยี นมีความคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรคใ์ นการทำกจิ กรรมอาสา - ผู้เรียนมีคุณธรรมตามคุณธรรมจริยธรรมตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์และใช้เวลาว่างให้เป็น ประโยชน์ - ผู้เรียนมีระเบยี บวินัยตอ่ ตนเองในดา้ นการเรยี นและปรบั ใชใ้ นรายวิชาอ่นื ๆ ได้ - ผเู้ รยี นสามารถนำผลการเรยี นไปพฒั นาใชใ้ นชวี ิตประจำวนั - ผเู้ รยี นได้รับรางวลั ในการแข่งขันในกิจกรรมท่เี ข้ารว่ ม - ผ้เู รยี นได้รับประสบการณ์ในการแข่งขันและการอย่รู ว่ มกบั ผอู้ น่ื 1.2.2 ความภูมิใจในทอ้ งถิน่ และความเป็นไทย เป้าหมาย ระดบั ดี : ผู้เรยี นรอ้ ยละ 60-69 มีความภูมิใจในทอ้ งถิ่นและความเป็นไทย กจิ กรรม กระบวนการบรหิ ารจัดการ และการจัดการเรียนรู้ทีส่ ง่ ผลตอ่ ระดบั คณุ ภาพ ผู้เรียนมีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย เห็นคุณค่าของความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีอันดงี ามรวมทั้งภูมิปัญญาไทยอันเป็นเอกลักษณ์ไทย ซึ่งโรงเรียนจัดให้มีกจิ กรรมทำบุญ

๕๘ ตักบาตรประจำวนั ศกุ ร์ โดยนิมนต์พระสงฆจ์ ากวัดในชุมชนมารับบิณฑบาตและเทศนาให้แก่นักเรียน โครงการวันรกั ภาษาไทย โดยใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม โครงการพฒั นาทักษะและส่งเสริมความเปน็ เลิศทางด้านดนตรีไทย เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนกล้าแสดงออก โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพความเป็นเลิศ ทางดา้ นนาฏศิลป์ กจิ กรรมวันสำคญั ทางศาสนา กิจกรรมวันกตญั ญู กิจกรรมแสดงมฑุ ิตาจติ และกจิ กรรมน้องไหวพ้ ี่ เข้าแถวเคารพธงชาติ ซึ่งสอดคลอ้ งกับอตั ลักษณ์โรงเรยี น “ยิ้มแย้ม ทักทาย ยกมือไหว้ สวสั ดี” ข้อมลู หลักฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ท่สี นบั สนนุ ผลการประเมินตนเอง การปฏิบตั ิกิจกรรม และโครงการ ต่าง ๆ - โครงการวนั รักษ์ภาษาไทย - โครงการพฒั นาทักษะและส่งเสรมิ ความเป็นเลศิ ทางดา้ นดนตรไี ทย - โครงการส่งเสรมิ และพัฒนาศกั ยภาพความเปน็ เลิศทางดา้ นนาฏศิลป์ - กจิ กรรมทำบญุ ตกั บาตรประจำวนั ศกุ ร์ - กจิ กรรมวนั กตัญญู สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส - กิจกรรมแสดงมุฑติ าจติ ครเู กษียณอายุราชการ รูปแบบออนไลน์ - กิจกรรมนอ้ งไหวพ้ ่ี - ผลงาน ชิ้นงาน และเกียรตบิ ัตร ของผู้เรียน - รายงานการปฏบิ ตั งิ านและการประเมินตนเอง (SAR) ผลความสำเร็จ จากการดำเนินงานตามโครงการ กิจกรรมอย่างหลากหลายที่มุ่งเน้นให้นักเรียนมีความภาคภูมิใจ ในท้องถิ่นและความเป็นไทย แสดงให้เห็นคุณค่าเกี่ยวกับภูมิปัญญาไทย มีการแสดงออกได้อย่างเหมาะสมในชีวิต ประจำวนั จึงส่งผลให้ผู้เรยี นมีความภูมิใจและเหน็ คุณคา่ ทางภมู ิปัญญาท้องถิ่นและภมู ใิ จในความเป้นไทย โดยมีข้อมูล หลักฐาน จากเอกสารการรายงาน สรุปโครงการ/กิจกรรม รวมทั้งเกียรติบัตรของผู้เรียนที่เข้าร่วมโครงการและ กจิ กรรม 1.2.3 การยอมรับท่จี ะอยูร่ ่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย เป้าหมาย ระดับดี : ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 60-69 ยอมรบั และอยรู่ ่วมกนั บนความแตกต่างระหว่างบุคคลในด้าน เพศ วัย เช้อื ชาติ ศาสนา ภาษาวฒั นธรรม ประเพณี กิจกรรม กระบวนการบริหารจดั การ และการจัดการเรยี นร้ทู ่สี ่งผลต่อระดบั คุณภาพ โรงเรียนดำเนนิ การตามแนวทางการบริหารสถานศึกษาด้วยนวตั กรรม “RSBS Scout Model” ที่มุ่งหวังให้ ผู้เรียนมีคุณภาพตรงตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรสามารถปรับตัวและอยู่ร่วมกันได้บนพื้นฐานของ ความหลากหลาย โดยครูผู้สอนทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้พัฒนากจิ กรรมตา่ ง ๆ เช่น กิจกรรมที่ให้ผู้เรียนได้ทำงาน เป็นกลุ่มภายในห้องเรยี นซึง่ ผูเ้ รียนได้เรียนรูใ้ นการอยู่ร่วมกันปรบั ตัวให้เข้ากับเพื่อนต่างเพศและดำเนินงานใหส้ ำเรจ็ ลุลว่ ง โรงเรยี นจดั ให้มีกิจกรรมการเลอื กต้งั สภานักเรียนโดยปลกู ฝังให้คณะกรรมการสภานกั เรียนยอมรับในเสียงข้าง มาก รู้จักปรับตัวในการทำงานร่วมกันระหว่างรุ่นพี่และรุ่นน้อง โครงการระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อช่วยเหลอื นักเรียนทุกประเภทให้เกิดความเสมอภาคทางการศกึ ษาโดยโรงเรียนจัดให้ครูท่ีปรกึ ษาออกเยี่ยมบ้านนักเรยี นทกุ คน สง่ เสรมิ ทักษะอาชีพให้แก่ผู้เรียน และสนบั สนนุ ทนุ การศกึ ษาให้ผู้เรียนทุกคนทมี่ ีความจำเป็น กิจกรรมแสดงมุทิตาจิต

๕๙ ครูเกษียณอายุราชการ ประจำปีการศึกษา 2564 รูปแบบออนไลน์ เพื่อให้นักเรียนได้แสดงออกถึงความกตัญญู ระหว่างครกู ับนกั เรยี น กจิ กรรมชมรม TO BE NUMBER ONE กิจกรรมดนตรตี ้านภัยยาเสพตดิ ส่งเสริมให้ผู้เรียนทุก เพศ ทุกวัยกล้าแสดงออกตามความถนัดของตนเอง กิจกรรมเทศกาลตรุษจีน กิจกรรมวันคริสต์มาส และกิจกรรม วนั มาฆบูชา สง่ เสริมให้ผเู้ รยี นไดส้ ัมผัสถงึ เชอ้ื ชาติ ศาสนา ภาษา วฒั นธรรม และประเพณีทห่ี ลากหลายปฏิบัติตนด้วย การให้เกยี รติ ไม่แสดงอาการดูหมิ่นหรือรังเกยี จต่อเพื่อนมนษุ ยด์ ว้ ยกนั ข้อมลู หลักฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ท่สี นับสนุนผลการประเมนิ ตนเองการปฏบิ ัติกิจกรรม และโครงการ ตา่ ง ๆ - โครงการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน - โครงการเย่ียมบา้ นนกั เรยี น - โครงการระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น - กจิ กรรมชมรม TO BE NUMBER ONE - กิจกรรมวนั มาฆบชู า - กิจกรรมสมั ผัสวฒั นธรรม “เทศกาลตรุษจนี ” - กจิ กรรมวนั ครสิ ตม์ าส ผลความสำเรจ็ จากการดำเนนิ งานโครงการและกิจกรรมตา่ ง ๆ ท่ีมงุ่ เน้นให้นกั เรียนสามารถยอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกันได้ บนความแตกต่างระหว่างบุคคลในด้าน เชื้อชาติ ภาษา ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี เพศ และความยากจน มีการแสดงออกต่อผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม ส่งผลให้ผู้เรียนมีพฤติกรรมที่เป็นไปตามเป้าหมายในระดับดี ตามคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ของผ้เู รียน โดยผ้เู รยี นสามารถช่วยเหลือซ่งึ กันและกนั มีน้ำใจ เอ้อื เฟื้อเผ่อื แผแ่ ก่ ผ้อู ่ืน ตระหนักรคู้ ุณค่าของวฒั นธรรม ประเพณี ยอมรับความคิดและวฒั นธรรมที่แตกตา่ งกนั ไดอ้ ยา่ งสนั ติ 1.2.4 สุขภาวะทางรา่ งกายและลกั ษณะจติ สังคม เป้าหมาย ระดบั ดเี ลิศ : ผเู้ รียนรอ้ ยละ 70-79 มีคณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตรในระดบั 3 ขึ้นไป กิจกรรม กระบวนการบรหิ ารจดั การ และการจัดการเรยี นรู้ทส่ี ่งผลตอ่ ระดบั คณุ ภาพ ผ้เู รยี นมสี ขุ นิสยั ในการดูแลสุขภาพและออกกำลงั กายสม่ำเสมอ มีนำ้ หนกั ส่วนสูง และมสี มรรถภาพทางกาย ตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 89.57 สามารถป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษ และหลักเลี่ยงตนเองจากสภาวะที่ เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัย อบุ ตั ิเหตุ และปญั หาทางเพศ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ทางโรงเรียนร่วมกับโรงพยาบาลตำบล ได้ดำเนินการ ฉีด วคั ซีนให้นักเรียนร้อยละ 97.85 โดยแบง่ เป็นนักเรียนท่ไี ดร้ บั วคั ซีน 1 เขม็ รอ้ ยละ 11.91 และนักเรยี นทไี่ ดร้ ับวคั ซนี 2 เข็ม รอ้ ยละ 85.94

๖๐ ผู้เรียนสร้างผลงานจากการเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬานันทนาการตามจินตนาการมี การจัดกิจกรรมวันเปิดบ้านวิชาการที่เปิดโอกาสให้นักเรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมในแต่ละกลุ่มสาระ ได้เป็นวิทยาการ แนะนำให้ความร้เู พ่อื นนักเรียน จัดกจิ กรรมท่ใี หท้ ้ังความรูแ้ ละความสนุกสนานในเวลาเดยี วกัน ผ้เู รียนรว่ มกนั บำเพ็ญประโยชน์ผา่ นการเรียนวชิ าลกู เสือ-เนตรนารี ยุวกาชาดและกิจกรรมนกั ศกึ ษาวชิ าทหาร ร่วมอนุรกั ษ์ทรัพยากรต่าง ๆ ในโรงเรียน เช่น การไม่ทิ้งขยะลงในแหล่งน้ำ หรือการตัดและทำลายต้นไม้ในโรงเรียน เป็นตน้ ข้อมูล หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ทส่ี นับสนุนผลการประเมินตนเอง - ขอ้ มูลน้ำหนกั สว่ นสงู ในระบบ DMC - รายงานการประเมินตนเองกลุม่ สาระ - หลกั ฐานใบรบั รองการฉดี วคั ซนี - ภาพกจิ กรรมวนั เปดิ บ้านวชิ าการ - ภาพการบำเพ็ญประโยชน์ในวชิ าลูกเสอื -เนตรนารี ยุวกาชาดและกจิ กรรมนกั ศกึ ษาวชิ าทหาร ผลความสำเร็จ จากการทผ่ี ู้เรียนทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ ท้ังกจิ กรรมในห้องเรยี นและนอกห้องเรียน พบว่าผเู้ รียนมกี ารดแู ล สุขภาพรา่ งกายตวั เองอยา่ งดสี ามารถปอ้ งกนั ตนเองจากสง่ิ เสพตดิ ใหโ้ ทษและหลีกเล่ียงสภาวะที่เสยี่ งตอ่ วคามรนุ แรง โรคภยั อุบตั เิ หตุ และปัญหาทางเพศ สร้างและเข้าร่วมกจิ กรรมดา้ นศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬา นนั ทนาการ ตาม จนิ ตนาการได้สมวัย ผา่ นกิจกรรมการเรยี นรใู้ นรายวชิ าต่าง ๆ และกิจกรรมนอกหอ้ งเรยี น เช่น วันเปิดบา้ นวชิ าการ เป็นตน้ ผเู้ รียนสามารถอยู่ร่วมกบั ผอู้ นื่ ไมม่ คี วามขัดแย้งกนั และเห็นคณุ ค่าในตัวเอง กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม จุดเด่น จดุ ที่ควรพฒั นา และแผนการพฒั นาคณุ ภาพใหส้ ูงขน้ึ จดุ เดน่ 1. โรงเรียนมโี ครงการ/กจิ กรรม พฒั นาผเู้ รยี นท่หี ลากหลาย 2. โรงเรียนมีกิจกรรมปลกู ฝังให้นกั เรียนมีความออ่ นนอ้ มถอ่ มตน 3. นกั เรยี นมีการปรบั ตวั อยู่รว่ มกนั กบั บคุ คลอ่นื ทุกเพศ ทกุ วยั 4. นักเรยี นตระหนกั ถงึ ความสำคัญและมสี ่วนรว่ มในการปอ้ งกันโรคระบาด จดุ ที่ควรพฒั นา 1.บางโครงการหรอื กจิ กรรมยังไม่สามารถให้นกั เรียนได้เขา้ ร่วมท้ังหมด 2. ควรจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การนำภมู ปิ ัญญาท้องถิน่ มาใหน้ ักเรยี นได้เรียนรเู้ พ่ิมขน้ึ แผนพัฒนาคุณภาพเพอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพใหไ้ ด้มาตรฐานที่สูงขนึ้ 1. โครงการสง่ เสรมิ ในดา้ นความเปน็ ไทย ในรูปแบบโครงการตา่ ง ๆ เชน่ นาฏศิลปไ์ ทย ดนตรีไทย และ โครงการวนั รกั ษภ์ าษาไทย

๖๑ 2. โครงการสง่ เสริมจติ อาสาทั้งภายในและนอกสถานศึกษา 3. โครงการลดเด็กอ้วนรว่ มกับโรงพยาบาลประจำตำบลหรือหนว่ ยงานท่เี กย่ี วข้อง 4. โครงการอนรุ กั ษส์ งิ่ แวดลอ้ มร่วมกับชมุ ชน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ เปา้ หมาย ระดบั คุณภาพ : ดเี ลศิ 2.1 มีเปา้ หมาย วิสัยทัศน์ และพนั ธกจิ ท่สี ถานศกึ ษากำหนดชดั เจน เป้าหมาย ระดับดีเลิศ : สถานศึกษามีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ และมีร่องรอยหลักฐาน ชดั เจน สามารถตรวจสอบได้ รอ้ ยละ 70-79 กิจกรรม กระบวนการบรหิ ารจดั การ และการจดั การเรยี นรูท้ สี่ ่งผลต่อระดบั คณุ ภาพ สถานศึกษาได้มีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่ชัดเจนสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา สภาพปญั หา ความตอ้ งการพฒั นาของสถานศึกษา นโยบายการปฏริ ปู การศึกษา ความตอ้ งการของผู้ปกครอง ชุมชน ท้องถิ่น และสอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปตามแผนการศึกษาชาติ และดำเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา โดยใชก้ ระบวนการและวธิ ีการทางลกู เสือในการบริหารจัดการสถานศกึ ษาที่เรยี กว่า “RSBS Scout Model” เพื่อให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่ชัดเจน มีการปรับแผนพัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปีที่สอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา สภาพปัญหาความต้อง การพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษาที่มุ่งเน้นการพัฒนา ให้นักเรียนมีคุณภาพ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตามหลักสตู รสถานศึกษา ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ทส่ี นับสนนุ ผลการประเมินตนเอง - แผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา (แผน 4 ป)ี - แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี - เอกสารการแบง่ ส่วนราชการ - วารสารโรงเรียน ผลความสำเร็จ สถานศึกษามีการกำหนด เป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่ชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา สภาพปญั หา ความต้องการพฒั นาของสถานศึกษา นโยบายการปฏิรูปการศึกษา ความตอ้ งการของผู้ปกครอง ชุมชน ท้องถิ่น และสอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปตามแผนการศึกษาชาติ โดยใช้กระบวนการและวิธีการทางลูกเสือ ในการบริหารจดั การสถานศกึ ษาท่เี รยี กว่า “RSBS Scout Model” นอกจากนี้สถานศึกษามีแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี สอดคล้องกับการ พัฒนา นักเรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญตาม มาตรฐาน ตำแหน่ง ดำเนนิ การจัดทำขอ้ มลู สารสนเทศใหม้ ีความทนั สมัย ถูกตอ้ ง และครบถว้ น นำไปประยกุ ตใ์ ช้ได้ มี การดำเนินงานอย่างเปน็ ระบบ และจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมที่กระตุ้นนกั เรยี นใหใ้ ฝร่ ใู้ ฝเ่ รียน

๖๒ ผเู้ กยี่ วข้องทกุ ฝา่ ยและเครือขา่ ยการพฒั นาคณุ ภาพสถานศกึ ษามสี ว่ นร่วมในการรว่ มวางแผนพัฒนา คุณภาพ การศึกษา รับทราบและรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา 2.2 มีระบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา เป้าหมาย ระดับดีเลิศ : สถานศึกษามีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพ และมีร่องรอยหลักฐานปรากฏชัดเจน สามารถตรวจสอบได้ ร้อยละ 70-79 กจิ กรรม กระบวนการบริหารจัดการ และการจดั การเรยี นรู้ท่ีส่งผลต่อระดบั คุณภาพ สถานศึกษามีการบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา โดยใช้กระบวนการและวิธีการทางลูกเสือ “RSBS Scout Model” มาใช้ในการบริหารงานแบบมีส่วนร่วม โดยได้รับความร่วมมือจากผู้บริหารสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศกึ ษา ข้นั พน้ื ฐาน ผู้ปกครอง ชมุ ชน องคก์ รท้องถิน่ และสถานศกึ ษาใกลเ้ คียงที่ให้การสนับสนุน ซึ่งได้มีการวิเคราะห์ สภาพปัญหาและผลการจัดการศึกษาที่ผ่านมา โดยใช้หลักการพัฒนาตามกระบวนการ PDCA เพื่อพัฒนา ระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา สามารถบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาอย่างเป็น ระบบ ทั้งในส่วนการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา การนำแผนไปปฏิบัติเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และปรับปรุงพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งสถานศึกษาได้มีการบริหาร อตั รากำลงั ทรพั ยากรทางการศึกษา และระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น มีระบบการนิเทศภายใน การนำขอ้ มูลมาใช้ใน การ พัฒนาบุคลากรและผู้ที่เก่ียวข้อง ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมวางแผน ปรับปรุง พัฒนา และร่วมรับผิดชอบต่อผลการจดั การศึกษา ตลอดจนการนำเสนอรายงานการบริหารจัดการของ สถานศึกษาต่อผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ชุมชน ฯลฯ โดยการเผยแพร่ประชาสมั พนั ธผ์ ่านทางวารสารโรงเรยี น Website โรงเรียน ข้อมูล หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ท่สี นับสนนุ ผลการประเมินตนเอง - แผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษา (แผน 4 ปี) - แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี - รายงานระบบการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน - รายงานการเย่ียมบา้ นนกั เรียน - รายงานการนิเทศภายใน - ข้อมลู การพัฒนาบุคลากร - วารสารโรงเรียน (E-BooK) - สารสนเทศโรงเรียน - Website โรงเรียน ผลความสำเรจ็ สถานศึกษามีรปู แบบการบริหารและการจัดการเชิงระบบ โดยใช้กระบวนการและวิธกี ารทางลูกเสือ “RSBS Scout Model” เข้ามาเกี่ยวข้องทุกฝ่าย และแต่ละฝ่ายยึดหลักธรรมาภบิ าล และแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ในการบริหารงาน มีการระดมทรัพยากรเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจากเครือข่ายอุปถัมภ์ ส่งผลให้ สถานศกึ ษา มสี ื่อและแหลง่ เรยี นรู้ทม่ี ีคุณภาพ โดยมงุ่ พฒั นานกั เรียนตามแนวทางปฏริ ูปการศกึ ษาประสบความสำเร็จ

๖๓ ตามวิสัยทัศน์ พนั ธกิจ และเป้าหมาย ของโรงเรียนทว่ี างไว้ การบริหารอตั รากำลงั ทรพั ยากรทางการศึกษา และระบบ ดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น มรี ะบบการนิเทศภายใน การนำข้อมูลมาใช้ในการพฒั นาบุคลากร และผทู้ เ่ี กี่ยวข้องทุกฝ่ายมี สว่ นรว่ ม ในการวางแผนจนประสบความสำเร็จ ค่าเฉล่ยี ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นของนักเรียนพฒั นาสูงข้นึ สถานศึกษา มีการจัดการนิเทศ กำกับ ติดตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษาท่ีเหมาะสมเปน็ ระบบอย่างต่อเนือ่ ง เปิดโอกาสให้ ผเู้ ก่ยี วข้องมสี ่วนร่วมในการจดั การศึกษา 2.3 ดำเนินงานพฒั นาวชิ าการท่ีเน้นคุณภาพนักเรียนรอบด้านตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา และทุกกลุ่ม เปา้ หมาย เป้าหมาย ระดับดี : สถานศกึ ษาดำเนนิ การพฒั นาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผเู้ รยี นรอบด้านตามหลักสตู ร สถานศึกษา และทกุ กลุ่มเปา้ หมาย ร้อยละ 60-69 กจิ กรรม กระบวนการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรูท้ ่สี ง่ ผลตอ่ ระดบั คุณภาพ สถานศึกษามีการพัฒนางานวิชาการโดยจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับนโยบาย จุดเน้นของ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยพิจารณาจากความสนใจและการมุ่งพัฒนาศกั ยภาพของนกั เรียนอยา่ งรอบดา้ น มีการจัดการ เรียนรู้รายวิชาการศึกษาค้นคว้าอิสระ (IS) ตามหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล มีการบูรณาการ สาระการเรียนรู้ โดยเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง (Active Learning) โดยครูเป็นผู้ออกแบบหน่วยการ เรียนรู้ตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชี้วดั ลำดับเนือ้ หาสาระตามกระบวนการเรยี นรู้ ทัง้ รายวชิ าพ้ืนฐาน รายวชิ าเพม่ิ เติม และกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี นอยา่ งเหมาะสม และในชว่ งสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรค ติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนได้จัดการเรียนรู้รูปแบบผสม (Hybrid) ในรูปแบบออนไลน์(online) และออนไซต์ (on-site) เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร อย่างหลากหลาย เช่น กจิ กรรมเปดิ บ้านวิชาการ กิจกรรมสง่ เสรมิ การแข่งขนั ทกั ษะทางวชิ าการ กิจกรรมพัฒนา คุณภาพการเรยี นการสอนสู่ มาตรฐานสากล กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมกิจกรรมฝึกอาชีพระยะสั้น ฯลฯ และมีการนำ RSBS Scout Model มาบูรณาการในการจดั การเรียนรเู้ พื่อเสรมิ สร้างคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผู้เรียน โรงเรียนมีความร่วมมือ กบั หนว่ ยงานและสถาบนั การศกึ ษาต่าง ๆ เพอื่ ส่งเสริมคณุ ภาพและศักยภาพของนกั เรยี น เช่น มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี ราชมงคล มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ ันทาจากการพฒั นางานวิชาการ ส่งผลใหผ้ ูเ้ รยี นมีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนตาม เกณฑท์ กี่ ำหนด มีผลงานประกวดแข่งขันระดับจังหวัด ระดบั เขตพื้นท่ี การศึกษา และระดับประเทศ นกั เรยี นมที ักษะ ชีวติ สามารถดำรงชีวติ ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีคณุ ภาพ ขอ้ มลู หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ที่สนบั สนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง - หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนรตั นโกสนิ ทร์สมโภชบวรนเิ วศศาลายา ในพระสังฆราชปู ถมั ถ์ พุทธศกั ราช 2561 และหลกั สตู รกลุม่ สาระทัง้ 8 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ - แผนการจัดการเรียนรู้ - รายงานการใชห้ ลกั สูตรสถานศึกษา - รายงานผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น/การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน/คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ - รายงานสรุปผลการดำเนนิ งานตามโครงการ/กิจกรรม ปีงบประมาณ 2564 ผลความสำเรจ็

๖๔ จากการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี เก่ง และมีความสุขมีศักยภาพใน การศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร ทำให้นักเรียนจบการศึกษาตามหลักสูตร ในปีการศึกษา 2564 โดยจบการศึกษาภาคบังคับ (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3) คิดเป็นร้อยละ 95.39 และจบการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน (ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6) คดิ เปน็ รอ้ ยละ 96.72 ๒.๔ พัฒนาครแู ละบุคลากรให้มคี วามเช่ยี วชาญทางวชิ าชีพ เป้าหมาย ระดบั ดีเลศิ : ครูและบุคลากรร้อยละ 80-89 ไดร้ ับการพฒั นาให้มีความเชีย่ วชาญทางวิชาชีพ ตามรายการ ดังนี้ 1. ได้รบั การพัฒนาใหม้ คี วามเช่ียวชาญทางวิชาชีพสอดคลอ้ งความตอ้ งการ 2. มีชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพือ่ พฒั นางานและการเรยี นรอู้ ยู่เสมอ กิจกรรม กระบวนการบรหิ ารจัดการ และการจัดการเรยี นรู้ที่ส่งผลต่อระดับคณุ ภาพ สถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญตามมาตรฐานตำแหน่ง และมาตรฐานวทิ ยฐานะ เพอ่ื ให้มีความเชี่ยวชาญทางวชิ าชพี ท่ีสอดคล้องกับความต้องการ และสง่ เสรมิ การมีส่วนร่วม ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ ทำให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันสร้างและสนับสนุนให้สถานศึกษาเป็นชุมชน แห่งการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ติดตามการพัฒนาครูและบุคลากรด้วยกระบวนการนิเทศ ติดตาม และพัฒนา (Coaching and Mentoring) มาใช้ในการพฒั นางานและการเรยี นร้ขู องผู้เรยี น ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ที่สนบั สนนุ ผลการประเมินตนเอง - รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ของครูและ บคุ ลากร - รายงานชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี คณะผู้บรหิ ารและคณะครู ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ - ๖ - รายงานโครงการอบรมพฒั นาพฒั นาครูและบุคลากรโครงการต่าง ๆ - ภาพถา่ ยการอบรมพฒั นาพัฒนาครูและบคุ ลากรตา่ ง ๆ ผลความสำเรจ็ - ครูและบคุ ลากรได้รับการพฒั นาให้มีความเชีย่ วชาญตามมาตรฐานตำแหนง่ และมาตรฐานวิทยฐานะ สอดคล้อง กบั ความตอ้ งการร้อยละ ๙๐ ข้ึนไป - ครูและบุคลากรมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ มีชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพ่อื พัฒนางาน และการเรยี นรู้อยู่เสมอ รอ้ ยละ ๑๐๐ - ได้รับรางวัลผู้บริหารสถานศึกษาดีเด่น เนื่องในงานส่งเสริมเกียรติยศศักดิ์ศรีครู (วันครู) ประจำปี ๒๕๖๕ - ครแู ละบคุ ลากรไดร้ บั การเลอื่ นตำแหนง่ และวทิ ยฐานะตามการยน่ื ขอเพ่อื ขอมหี รือขอเลื่อนวิทยฐานะ ร้อยละ ๑๐๐ - ครูได้รับรางวัลครูผู้ปฏิบัติการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ดีเด่น จำนวน ๑๕ คน จากสำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา มัธยมศกึ ษานครปฐม ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕

๖๕ ๒.๕ จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทีเ่ ออ้ื ตอ่ การจดั การเรียนร้อู ยา่ งมคี ุณภาพ เปา้ หมาย ระดบั ดีเลศิ : สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมท่ีเอ้อื ตอ่ การจัดการ เรียนรู้ รอ้ ยละ 70-79 กจิ กรรม กระบวนการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรทู้ ่สี ง่ ผลตอ่ ระดบั คุณภาพ สถานศึกษาได้ดำเนินการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพให้มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ มีความปลอดภัยและเพียงพอต่อความต้องการ รวมทั้งมีการจัดสภาพสังคมที่ดีเอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียน ครอบคลุมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยให้ความสำคัญกับการแก้ปัญหาที่เร่งด่วนในปีการศึกษาน้ี คือ การจัดการกับสภาพปัญหาในช่วงของสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) นอกจากนี้สถานศึกษาได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการส่งเสริมให้สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนมี ความสขุ ในการเรยี น โดยจดั กจิ กรรมสร้างความสมั พันธภาพในสถานศึกษาระหวา่ งผู้บริหารกับครู ครกู บั นักเรียน สถานศึกษากับ ชุมชน อาทิ กิจกรรมกีฬาสี กิจกรรมปิดกล่องชอรค์ กิจกรรมน้องไหวพ้ ี่ อนั เปน็ กิจกรรมทสี่ ร้างสัมพันธภาพทางสังคม ส่งผลต่อคุณภาพของการจัดการเรียนอย่างมคี ณุ ภาพ ข้อมลู หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ทส่ี นบั สนนุ ผลการประเมินตนเอง - คำส่ังแตง่ ตง้ั คณะกรรมการดำเนนิ งานการจัดกจิ กรรมตามโครงการต่าง ๆ - โครงการดำเนินงานการจดั กิจกรรมตา่ ง ๆ ในสถานศึกษา - สรุปผลการใหบ้ ริการสถานทแี่ กช่ มุ ชนและหน่วยงานภายนอก - รูปภาพอาคารสถานที่ สภาพแวดล้อมทางกายภาพทเี่ อ้ือตอ่ การจดั การเรยี นรู้ - รายงานการเยี่ยมบ้านนกั เรียน ผลความสำเร็จ ๑. อาคารสถานทีแ่ ละส่งิ แวดล้อม เอ้อื อำนวยตอ่ การเรยี นรู้ อาทเิ ชน่ มีศาลาน่งั พักผอ่ น เพอ่ื ให้นกั เรยี น จะได้มานั่งพักผ่อน อ่านหนังสือ ทำการบ้าน และผู้มาติดต่อราชการนั่งพักรอติดต่อ มีห้องน้ำนักเรียนหญิง อยา่ งเพียงพอกบั การใชง้ าน โรงอาหารมสี ภาพบรรยากาศทเ่ี รียบร้อย สะอาดเหมาะสมกบั การใชง้ านและการให้บรกิ าร ๒. ครูมีสมั พัธภาพทด่ี ีตอ่ กัน ครูและนักเรียนมีสัมพนั ธภาพท่ีดี เช่น ครูอาวุโสเปน็ ทีป่ รกึ ษาและถ่ายทอด ประสบการณ์ทางวิชาการให้กับครรู ่นุ น้องทบ่ี รรจใุ หม่ นักเรียนจะมีการยิม้ แยม้ ทักทายแสดงความเคารพโดยการยก มือไหวส้ วสั ดีคณุ ครเู มื่อเดินผ่าน นักเรยี นร่นุ นอ้ งเคารพรนุ่ พ่ีโดยการสวัสดีทักทายกนั ๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนบั สนนุ การบริหารจัดการและการจดั การเรยี นรู้ เปา้ หมาย ระดับดีเลศิ : สถานศึกษาได้จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพื่อสนบั สนุนการบริหารจดั การและ การจัดการเรยี นรู้ รอ้ ยละ 70-79 กิจกรรม กระบวนการบรหิ ารจัดการ และการจัดการเรยี นรทู้ ี่สง่ ผลตอ่ ระดับคุณภาพ สถานศกึ ษาจัดระบบการจดั หา การพฒั นา และการบรกิ ารเทคโนโลยีสารสนเทศ เพอ่ื ใชใ้ นการบริหารจัดการ และจดั การเรียนรู้ท่เี หมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา โดยสถานศึกษาไดด้ ำเนนิ การตามภารกิจการบรหิ าร ดังน้ี

๖๖ กลุ่มบริหารวิชาการ เช่น แผนงาน/ โครงการ/ กิจกรรมด้านวิชาการ การพัฒนาหลักสูตรของ สถานศึกษา แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น การพัฒนาการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล ประจำปีการศึกษา 2564 โรงเรียนได้นำโปรแกรม SGS มาแสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่านระบบออนไลน์ เพื่อประโยชนต์ ่อนักเรยี น และผ้ปู กครองในการดผู ลการเรยี น มีการบนั ทกึ ขอ้ มลู นักเรียนโดยใช้โปรแกรม DMC มีการจัดทำวจิ ยั ในชน้ั เรียน การ นิเทศการเรียนการสอน การพัฒนาสื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา และ การจัดการเรียนการสอน Online ในช่วง ของสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) กลุ่มบริหารงานบุคคล เช่น แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมด้านบุคลากร ข้อมูลของครูโดยใช้โปรแกรม EMIS ในการบันทึกขอ้ มูล อายุ อายรุ าชการ วุฒิการศึกษา การศึกษาตอ่ การพฒั นาวชิ าชพี เป็นตน้ ในดา้ นงานกิจการ นักเรียน ใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนการสอน ได้แก่ ข้อมูลนักเรียน การวัดผลประเมินผล (ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ การอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน สถิติการ มาเรยี น) โดยโปรแกรม SGS ขอ้ มลู นักเรียนรายบคุ คลดว้ ยระบบ SDQ ข้อมูลการมาเรยี นของนักเรยี น ผา่ นระบบการ บนั ทึกผลออนไลน์ (Google DOC) กลุ่มบริหารงบประมาณ เช่น แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมด้านแผนงานและงบประมาณ การดำเนินงานตามแผน รายการการเบิก-จ่ายหรือใช้งบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (e- Government Procurement: e-GP) การเบิกจา่ ยพัสดุ ครุภัณฑ์ การจัดทำบัญชี รายงานประจำปี เป็นต้น กลมุ่ บรหิ ารบรหิ ารทัว่ ไป เชน่ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมดา้ นงานบริหารท่วั ไป ข้อมูลเกย่ี วกับอาคาร สถานที่สิ่งอำนวยความสะดวกและสภาพแวดล้อม ข้อมูลระบบสารบรรณด้วยโปรแกรม my-office เพื่อการจัดการ ดา้ นเอกสาร และการประสานงานด้านต่าง ๆ ของฝ่ายเจา้ หน้าที่ สามารถบริหารจดั การ และดำเนนิ งานตามบทบาท ภารกจิ อำนาจหนา้ ทไ่ี ดอ้ ย่างเรียบร้อยมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลบนพน้ื ฐานของความถกู ตอ้ งและโปร่งใส เพ่ือให้ สถานศึกษาบรหิ ารจดั การไดอ้ ยา่ งสะดวก คลอ่ งตวั มีคุณภาพ ประสิทธภิ าพและประสิทธิผล เปน็ ต้น ขอ้ มลู หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ทสี่ นบั สนนุ ผลการประเมินตนเอง - แผนปฏบิ ตั กิ าร - สรุปโครงการ/กิจกรรม - ขอ้ มูลนักเรียนรายบุคคลดว้ ยระบบ SDQ - แบบบนั ทกึ ผลการเรยี นประจำรายวิชา - รายงานระบบการชว่ ยเหลอื นักเรียน - รายงานการเยย่ี มบา้ นนกั เรียน - รายงานการนิเทศภายใน - ขอ้ มลู การพัฒนาบุคลากร - รายงานการการจัดการเรียนการสอน Online ในช่วงของสถานการณ์การแพรร่ ะบาด ของเชอ้ื ไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) - สารสนเทศโรงเรยี น - SAR รายงานบุคคลของครู

๖๗ ผลความสำเร็จ โรงเรียนมีรูปแบบการบริหารและการจัดการเชิงระบบ โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ยึดหลักธรรมาภิบาล และแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีการระดมทรัพยากร เพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา จากเครือข่ายอุปถัมภ์ ส่งผลให้สถานศึกษามีสื่อและแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพ โดยมุ่งพัฒนานักเรียน ตามแนวทางปฏิรูปการศึกษาประสบความสำเร็จตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมาย ของโรงเรียนที่วางไว้ การบริหารอัตรากำลัง ทรัพยากรทางการศึกษา และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีระบบการนิเทศภายใน การนำข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาบุคลากรและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการวางแผนจนประสบ ความสำเร็จ ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนพัฒนาสูงขึ้น สถานศึกษามีการจัดการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษาที่เหมาะสมเป็นระบบอย่างต่อเนื่อง เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษา แบบอย่างทด่ี ี (Best Practice) หรือ นวตั กรรม (Innovation) โรงเรียนมีการจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มีความปลอดภัย สวยงาม โดยเฉพาะ ค่ายนาคาแคมป์ที่ได้ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอก มีชุมชน และหน่วยงานภายนอก ขอเข้าใช้สถานท่ี อย่างต่อเน่อื ง จดุ เด่น จดุ ท่ีควรพัฒนา แผนการพัฒนาคณุ ภาพให้สงู ข้ึน และขอ้ เสนอแนะ จุดเดน่ สถานศึกษามีการบรหิ ารและการจดั การอยา่ งเปน็ ระบบ โดยมีการกำหนดเป้าหมาย วสิ ัยทัศน์ และพันธกิจที่ชัดเจน และมีการบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา โดยใช้กระบวนการและวิธีการทางลูกเสือ “RSBS Scout Model” มาใช้ในการบริหารงาน ท้งั ในสว่ นการวางแผนพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน ตามหลักสูตรที่กำหนด ส่งเสริมและพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ มีการปรับแผนพัฒนา คณุ ภาพการจดั การศึกษา และปรบั ปรงุ พฒั นางานอยา่ งตอ่ เน่อื ง ซ่งึ สามารถตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมินผลได้ จึง ทำให้การดำเนินงานมีความต่อเนื่องและเป็นระบบ อีกทั้งสถานศึกษาได้จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่ เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ มีการจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มีความปลอดภัย สวยงาม ทำให้มชี ุมชนและหน่วยงานภายนอกมาขอใชส้ ถานท่ี จุดทคี่ วรพฒั นา 1. สถานศกึ ษาควรมีการดำเนนิ งานพฒั นาวิชาการทีเ่ น้นคณุ ภาพนกั เรียนรอบด้านตามหลักสตู ร สถานศกึ ษา ในการพฒั นาหลักสตู รทอ้ งถ่นิ และหลักสูตรการศึกษาเพื่อการมงี านทำ โดยการเชญิ วิทยากรภายนอกเข้า มามสี ว่ นรว่ มในการให้ความรู้กับนักเรียนมากขึ้น และควรสร้างเครอื ข่ายความร่วมมอื ของผู้ที่มสี ว่ นเก่ียวขอ้ งในการจัด การศกึ ษาของโรงเรยี นใหม้ คี วามเขม้ แขง็ 2. สถานศกึ ษาควรพฒั นาการมีส่วนร่วมในการแลกเปล่ียนเรียนรู้ทางวิชาชีพ มชี มุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ ทเ่ี ขม้ แขง็ เพ่อื ประโยชน์ ทง้ั ต่อครูและผเู้ รียน และนำโครงการนิเทศภายในมาใช้พัฒนากระบวนการจัดการเรียนการ สอนของครู

๖๘ แผนพัฒนาคุณภาพเพ่อื ยกระดับคุณภาพให้ไดม้ าตรฐานทีส่ งู ขึ้น 1. ควรสนบั สนุน ส่งเสรมิ พัฒนาศักยภาพของผู้เรียนอย่างรอบดา้ นและตอ่ เน่ือง 2. จดั โครงการการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้และใหข้ อ้ มูลสะทอ้ นกลบั เพ่ือพฒั นาและปรบั ปรุง การจดั การเรียนร้ขู อง ชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี (PLC) 3. จัดทำโครงการนิเทศภายในเพ่อื พัฒนากระบวนการจดั การเรียนการสอนของครู 4. ควรสนับสนุนสง่ เสริมการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพใหไ้ ด้รบั โอกาสได้รับการ พฒั นาตนเองอยา่ งต่อเนือ่ ง 5. ควรให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการ จัด การเรียนรู้อย่างมคี ุณภาพ ขอ้ เสนอแนะ 1. ควรปรับปรุงข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษาให้ทันสมัยและสอดคล้องกับนโยบายต่าง ๆ ที่สำนักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานและกระทรวงศกึ ษาธิการกำหนด 2. ควรจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมความสัมพันธภาพระหว่างผู้บริหารกับครู ครูกับเพื่อนร่วมงาน ครูกับนักเรียน เพื่อลดความแตกต่างระหวา่ งบุคคล และเสริมสร้างความเขา้ ใจกนั เพื่อนำไปใชใ้ นการพัฒนาสถานศกึ ษาให้ดขี ึ้นอย่าง ตอ่ เน่ือง มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ นกั เรยี นเปน็ สำคัญ เปา้ หมาย ระดับคณุ ภาพ : ดี วธิ ีการพฒั นา ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ท่สี นับสนนุ ผลการประเมินตนเอง โรงเรียนดําเนินการส่งเสริมให้ครจู ัดการเรียนการสอนที่เน้นผูเ้ รียนเป็นสําคัญ โดยการการนำวงจรคุณภาพ PDCA มาใชเ้ ปน็ แนวทางการดำเนินงานจดั กิจกรรมการเรียนรูท้ ี่อย่างหลากหลาย ไดแ้ ก่ งานหลกั สูตรได้มีการประชุม (P) นำปัญหาที่ได้จากการประเมินการใช้หลักสูตรปีที่ผ่านมานำมาปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา พัฒนาหลักสูตร ให้เท่าทันสถานการณ์ปัจจุบัน ปรับโครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ สัดส่วนคะแนนแต่ละหน่วยกําหนด คุณลักษณะอันพึงประสงค์ทีส่ อดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ ครูมีการนำเสนอกระบวนการวางแผนการจัดการเรียนรู้ แบบ Active Learning ในทุกรายวิชา การนำแผนการจัดการเรียนรู้ ไปใช้ทั้งแบบ On-Site และ Online โดยใช้ RSBS Scout Model บูรรณการทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ (D) ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นการปฏิบัติให้ ผู้เรียนผ่านกระบวนการคิด ปฏิบัติจริง เพื่อนําไปสู่การเรียนรู้ที่ลึกซึ้ง และคงทน ครู รู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล ใช้สื่อและแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนอย่างคุ้มค่า มีการบริหาจัดการชั้นเรียนเชิงบวก เพื่อให้เด็กรักการเรียนรู้ และเรียนรู้ร่วมกัน อย่างมีความสุข ดําเนินการตรวจสอบ (C) และประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนําผลมา พัฒนาผู้เรียน ครูร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (A) และนําข้อมูลมาร่วมพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ สนับสนุน ใหค้ รูจดั การเรยี นการสอนท่ีสรา้ ง โอกาสใหน้ กั เรียนทุกคนมีสว่ นร่วม ไดล้ งมือปฏบิ ัตจิ รงิ จนสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง จัดการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการคิด เช่น จัดการเรียนรู้ด้วยโครงงาน ครูมีการมอบหมายหน้าที่ให้นักเรียน จัดป้ายนิเทศและบรรยากาศตามสถานที่ต่าง ๆ ทั้งภายในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ครูใช้สื่อการเรียนการสอน

๖๙ นวัตกรรมและเทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของสื่อการสอนที่ใช้ ครูทกุ คนทํางานวจิ ยั ในชนั้ เรยี นปกี ารศกึ ษาละ ๒ เรือ่ ง เม่ือจบปีการศกึ ษามีการรายงานผลการดำเนนิ งาน เผยแพรใ่ น เวบ็ ไซตห์ รือ Facebook ของสถานศึกษา รายงานการประเมนิ ตนเองดว้ ยการวาง QR Code หรือ Link เขา้ สูเ่ ว็บไซต์ ของสถานศึกษา ให้สามารถศึกษารายละเอยี ดเพิ่มเติมได้ ครูร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนาข้อมูลมาร่วมพัฒนา และ ปรบั ปรงุ การจัดการเรียนรู้ ๓.๑ จดั การเรยี นร้ผู ่านกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ได้ เป้าหมาย ระดับคุณภาพดี : ครรู ้อยละ 60-69 จดั การเรียนรผู้ ่านกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิจรงิ และ สามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในชีวิต ตามรายการดังนี้ 1. ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศกึ ษา 2. ครูมแี ผนการจดั การเรียนรู้ทุกวิชาในทุกระดบั ชั้น ๓. ครูออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนที่มุ่งให้ผู้เรียนได้รับการฝึกทักษะแสดงออก แสดงความ คิดเห็น สรปุ องคค์ วามรู้ นำเสนอผลงาน และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำวัน กิจกรรม กระบวนการบริหารจัดการ และการจัดการเรยี นร้ทู ีส่ ่งผลต่อระดบั คุณภาพ โรงเรียนดำเนินการส่งเสรมิ ใหค้ รูจดั การเรียนการสอนที่เน้นผูเ้ รียนเป็นสำคัญ โดยมีการดาเนนิ งาน และจัดกิจกรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลักสูตรมีการประชุมปฏิบัติการ ปรับปรุงหลักสูตรสถานศกึ ษา พัฒนา หลักสูตรให้เท่าทันสถานการณ์ปัจจบุ ัน ปรบั โครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรยี นรู้ สัดสว่ นคะแนนแต่ละหน่วย กำหนด คุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ งานนิเทศการศึกษาได้กำกบั ติดตามให้ครูจัดทำแผนการ จัดการเรียนรู้ทุกรายวิชาในทุกระดับชั้น พร้อมทั้งส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นการปฏิบัติ ให้ผู้เรียนผ่าน กระบวนการคิด เพอ่ื นาไปสกู่ ารเรยี นรทู้ ล่ี กึ ซึ้งและคงทน ขอ้ มูล หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ท่สี นบั สนุนผลการประเมินตนเอง - หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชูปถัมภ์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓ - รายงานผลการประเมินการใช้หลกั สูตรสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2564 - รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR) - รายงานการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เช่น กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมลูกเสือ -เนตรนารี กิจกรรมแนะแนว ฯลฯ - เกียรติบตั ร และภาพถ่าย กิจกรรมการแข่งขนั ทักษะวิชาการด้านต่างๆ ผลความสำเร็จ ครูรอ้ ยละ 100 นำหลกั สูตรสถานศกึ ษาไปใชใ้ นการจดั ทำแผนการจดั การเรียนรูท้ กุ รายวิชาในทกุ ระดับชั้น มี การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ทเี่ น้นทกั ษะกระบวนการคดิ และการปฏบิ ัติ

๗๐ ๓.๒ ใชส้ ่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรทู้ เ่ี อื้อต่อการเรียนรู้ เป้าหมาย ระดับคณุ ภาพดี : ครรู อ้ ยละ ๖0-๖9 ใช้ส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรูท้ ี่เอ้ือต่อการ เรียนรตู้ ามรายการ ดังนี้ 1. ครูใชส้ อ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง่ เรยี นรู้ รวมทัง้ ภูมิปัญญาท้องถ่ินมาใช้ในการจัดการเรยี นรู้ 2. สรา้ งโอกาสให้ผู้เรียนไดแ้ สวงหาความรู้ด้วยตนเองจากสอื่ ท่ีหลากหลาย กิจกรรม กระบวนการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อระดับคณุ ภาพ ครูใช้สือ่ และเทคโนโลยีสารสนเทศที่ช่วยพฒั นาการเรยี นรู้ของนักเรียนตอบสนองความต้องการของนักเรียน โดยนำสอ่ื มาประกอบการกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรยี นเข้าใจไดง้ า่ ย ชดั เจน และสามารถดงึ ดูดความสนใจ ซึง่ เป็นส่วน สนบั สนุนให้ผเู้ รียนเรียนรู้ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพมากยง่ิ ข้นึ ครผู ู้สอนมีการใชส้ อ่ื วสั ดุ อปุ กรณ์ประกอบดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศทกุ คน ทุกห้องเรียน โรงเรยี นใชส้ อ่ื และ อุปกรณ์ที่เหมาะสมกับลักษณะวิชา มีการจัดแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียนเพื่อให้บริการกับนักเรียน ครูนำ เทคโนโลยที ีท่ นั สมยั มาใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน มกี ารเชิญวิทยากรภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ มาชว่ ยให้ความรู้ในกจิ กรรม สร้างอาชีพตามโครงการส่งเสริมการสร้างอาชีพให้กับนักเรียนยากจนพิเศษ และนิมนต์พระสงฆ์มาให้ความรู้ความ เขา้ ใจในหลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา อีกทงั้ โรงเรียนได้มกี ารจดั ตงั้ เป็นศนู ยก์ ิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น ขอ้ มลู หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ที่สนับสนนุ ผลการประเมินตนเอง - แหล่งเรียนรู้ ได้แก่ ห้องสมุด ห้องปฏิบัติการต่างๆ ศูนย์คอมพิวเตอร์ ห้องศูนย์ภาษาอินเตอร์เน็ต และพืน้ ทภี่ ายในโรงเรยี น - รายงานการใช้สอ่ื นวตั กรรม เทคโนโลยี และแหลง่ เรียนรู้ของครผู สู้ อน - แผนการจัดการเรยี นรู้ - รายงานวจิ ยั ในชน้ั เรียน - ภาพถ่ายกจิ กรรม ผลความสำเรจ็ ครรู อ้ ยละ ๑๐๐ ใชส้ ่ือเทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรทู้ ่ีเอื้อต่อการเรยี นรู้ ๓.๓ มกี ารบรหิ ารจัดการชั้นเรียนเชงิ บวก เป้าหมาย ระดบั คณุ ภาพดีเลิศ : ครรู อ้ ยละ 70-79 มกี ารบริหารจดั การชั้นเรียนเชิงบวกดงั น้ี 1. จดั สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกหอ้ งเรยี นทเ่ี ออื้ ตอ่ การเรยี นรู้ 2. จดั การเรียนรูใ้ ห้เด็กมีปฏสิ มั พนั ธ์เชิงบวกในกจิ กรรมการเรยี นรู้ 3. จัดการชั้นเรียนใหเ้ กิดความร่วมมอื ระหวา่ งครูกบั นักเรยี น มีบรรยากาศของความเปน็ ประชาธิปไตย 4. กระตุ้นและเสรมิ แรงพฤติกรรมทเ่ี หมาะสม

๗๑ กิจกรรม กระบวนการบรหิ ารจดั การ และการจดั การเรยี นรูท้ ส่ี ่งผลตอ่ ระดบั คณุ ภาพ การจัดห้องเรียนให้มีบรรยากาศที่ดีในการเรียนรู้ โดยมีครูเป็นที่ปรึกษา ดูแลอย่างใกล้ชิด ให้นักเรี ยน มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เพื่อปลูกฝังทักษะการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข เพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างนักเรียนและครู โดยครูจะร่วมกับนักเรียนวางแผนจัดการภายใน ห้องเรียนให้ ห้องเรยี นมีสภาพแวดลอ้ มที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ มีบรรยากาศของความเปน็ ประชาธปิ ไตย ครูผู้สอนมีการบริหารจัดการชั้นเรียนโดยเน้นนักเรียนเป็นสำคัญ เพื่อตอบสนองสมรรถนะของนักเรียน 5 สมรรถนะ คอื ทกั ษะการวิเคราะห์ ทกั ษะการใช้เทคโนโลยี ทกั ษะการสือ่ สาร ทักษะในการแก้ปัญหา และทักษะ การ ใชช้ ีวติ ประจำวนั โดยให้นักเรยี นมสี ่วนรว่ มคิด รว่ มทำ มสี ว่ นรว่ มในการสร้างข้อตกลงกับครแู ละเพ่อื นร่วมชั้นเรียน มี การจัดกิจกรรมโดยเน้นการมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก จัดกิจกรรมให้หลากหลาย เลือกใช้เทคนิคการสอน การใช้สื่อ การ เรยี น การวัดและประเมนิ ผลให้เหมาะสมกับผ้เู รียน การเสริมแรงบวก ตลอดจนเอ้อื อำนวยความสะดวก ให้กับผู้เรียน เพ่ือใหผ้ เู้ รียนเรยี นรไู้ ด้อย่างมีความสุข กล้าคิด กลา้ ทำ กลา้ แสดงออก ผู้เรียนมสี ่วนรว่ มในการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ครูผู้สอนทุกคนได้พัฒนาศักยภาพการจัดการเรียนการสอนโดย ผ่านกระบวนการนิเทศ แบบกัลยาณมิตรอย่างเป็น ระบบและตอ่ เนื่อง ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ที่สนบั สนนุ ผลการประเมินตนเอง - ผลการทำความสะอาดหอ้ งเรยี นโดยสภานักเรียน - แบบประเมนิ ความพึงพอใจในการเรยี นการสอนของครู - ภาพถ่ายหอ้ งเรียน - ผลการนิเทศการจัดการเรียนรู้ ผลความสำเรจ็ ครูร้อยละ 100 มกี ารบรหิ ารจดั การช้นั เรยี นเชิงบวก ไดแ้ ก่ จดั สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องเรียน ที่เอื้อต่อกาเรียนรู้ ทำให้นักเรียนทุกคนมีความสุขในการเรียนมีบรรยากาศของความเป็นประชาธิปไตย การให้นักเรียนเสนอตัวแทนและลงความเห็นในการเลือกผู้ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งต่าง ๆ ของห้องเรียน การจัดผูร้ บั ผดิ ชอบหนา้ ทีท่ ำความสะอาดห้องเรยี นประจำวัน การจัดบอร์ดสารสนเทศ การจดั บอร์ดนิทรรศการความรู้ มกี ระตุ้นและเสรมิ แรงพฤติกรรมทเี่ หมาะสม ๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผเู้ รยี นอยา่ งเปน็ ระบบและนำผลมาพฒั นาผู้เรยี น เปา้ หมาย ระดบั คณุ ภาพดี : ครรู อ้ ยละ 60-69 ตรวจสอบและประเมินผ้เู รียนอยา่ งเปน็ ระบบและนำผลมา พัฒนาผูเ้ รยี นตามรายการดังนี้ 1. วางแผนการวัดและประเมนิ ผลผ้เู รยี น 2. ใช้เครื่องมอื วธิ กี ารวัดและประเมินผลทห่ี ลากหลายและเหมาะสมกับเป้าหมาย ในการจัดการ เรยี นรู้ 3. ให้ขอ้ มูลยอ้ นกลับแก่ผูเ้ รยี นเพื่อพฒั นาการเรยี นรู้ 4. นำผลการวัดและประเมินผลมาพฒั นาการจัดการเรียนรู้

๗๒ กจิ กรรม กระบวนการบริหารจัดการ และการจัดการเรยี นรู้ที่ส่งผลต่อระดบั คณุ ภาพ จากบริบทโรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชูปถัมภ์ มีกระบวนการตรวจสอบ และประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ โดยมีการศึกษาและวางแผนการวัดและประเมินผลที่มุ่งเน้นผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ ครู รู้จักผู้เรียนด้านพฤติกรรมเป็นรายบุคคลโดยผ่านกิจกรรมการเยี่ยมบ้าน กิจกรรมตามแบบประเมินพฤติกรรมในเด็ก (SDQ) ทำใหท้ ราบจุดแขง็ จุดอ่อน ชว่ ยเหลอื คัดกรองปัญหา โดยมกี ารวิเคราะหแ์ ละประเมินผู้เรียนเปน็ รายบุคคล ทำ ให้ทราบความแตกต่างและข้อจำกัดของผู้เรียน ทำให้ครูผู้สอนในแต่ละรายวิชาใช้วิธีการวัด และประเมินผล อย่าง หลากหลายเพื่อรู้จักผู้เรียนด้านการเรียน โดยครูได้จัดทำโครงสร้างรายวิชา และแผนการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ และนำผลการประเมินมาจัดทำรายงานวิจัยในชั้นเรียน เพื่อพัฒนาการเรียน การสอน และแก้ปัญหา ผเู้ รยี น ทำให้ผู้เรยี นเกดิ การเรียนรูแ้ ละเข้าใจเน้ือหา ทักษะกระบวนการ และเกดิ เจตคตทิ ดี่ ีต่อการเรยี นรู้ ซ่ึงจะสง่ ผลให้ นักเรียนมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นท่ีสงู ขนึ้ และประสบผลสำเร็จในการศึกษาต่อในอนาคต มีการตรวจสอบและประเมิน ผูเ้ รยี นอยา่ งเป็นระบบ มขี ั้นตอนโดยใช้เครื่องมือและวิธีการวดั และประเมนิ ผลที่เหมาะสม กับเป้าหมายในการจัดการ เรยี นรู้ ดงั น้ี 1) ข้ันตอนการวัดและประเมินผลผู้เรียน - ศึกษา วเิ คราะหม์ าตรฐานและตวั ชี้วัดของหลักสูตร - ประชมุ วางแผนการดำเนนิ การปรับปรุงและพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษาของปีการศึกษา ๒๕๖๑ - จัดทำโครงสร้างรายวชิ าและการวดั ผลประเมินผล - ชี้แจงรายละเอียดของการวัดและประเมนิ ผลให้ผู้เรยี นเข้าใจถงึ วตั ถุประสงค์ วิธีการ เครื่องมอื ภาระงาน เกณฑ์ คะแนน ตามแผนการประเมินที่กำหนดไว้ - วัดและประเมนิ วเิ คราะหผ์ ูเ้ รยี น - ทดสอบกอ่ นเรยี นและประเมนิ ความกา้ วหนา้ ระหว่างเรยี น โดยประเมนิ ผูเ้ รยี นจากสภาพจริง ดงั นี้ o วัดและประเมนิ ความสำเรจ็ หลังเรียนเมอื่ จบหน่วยการเรยี นรู้ o การสอบกลางภาคและปลายภาค - กำหนดกรอบการดำเนนิ การจดั ทำข้อสอบโดยใชก้ ระบวนการตรจสอบอยา่ งเป็นขนั้ ตอน - ครูผูส้ อนแต่ละกลุ่มสาระการเรยี นรกู้ รอกผลการเรยี นลงในระบบ SGS และร่วมกันตรวจสอบ ความถกู ตอ้ ง ของเอกสารเล่มรายงานผลการเรยี น (ปพ.5) โดยสลับแลกเปลยี่ นกล่มุ สาระการเรียนรู้ 2) ใหข้ ้อมูลย้อนกลับแกผ่ ู้เรยี นและนำผลมาพัฒนาผู้เรยี น - ผู้เรยี นและผปู้ กครองได้รับการแจง้ ผลการเรยี นเป็นระยะ - ครทู ี่ปรึกษา ครูผูส้ อน นักเรียนและผู้ปกครอง ตดิ ตามการเรียนการสอนร่วมกนั - ผเู้ รยี นสามารถตรวจสอบผลการปรับปรุงผลการเรยี นได้ - ครูผูส้ อนบันทึกผลหลงั การสอน - ครูผู้สอนจัดทำรายงานวจิ ยั ในช้นั เรยี น เพอ่ื แกป้ ญั หาการจดั การเรียนการสอน - หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนร้หู รอื ผ้ทู ่ีได้รับมอบหมาย นิเทศตดิ ตามการสอน - นำผลการนิเทศตดิ ตามไปส่งเสรมิ พัฒนานักเรยี นตามศักยภาพ

๗๓ ขอ้ มูล หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ทสี่ นับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง - แผนการจดั การเรียนรู้ - การวเิ คราะห์ขอ้ สอบของครูผู้สอน - แบบนิเทศการสอนของครผู ูส้ อนของแต่ละกลุ่มสาระการเรยี นรู้ - รายงานวิจัยในช้ันเรยี น - เอกสารการวัดและประเมินผล ปพ.๕ - ขอ้ มูลผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น ผลความสำเร็จ ครูร้อยละ 100 จดั ทำขอ้ สอบท่ีมีมาตรฐาน และเหมาะสมสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นรู้ และตวั ชวี้ ดั ตาม หลักสูตรมีการประเมินผลผู้เรียนตามสภาพจริง มีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และมีข้อมูล ย้อนกลับได้ทันทีและยังสามารถพัฒนาผู้เรียนได้เต็มศักยภาพ อีกทั้งมีรายงานวจิ ัยในชั้นเรียน ที่เกิดจากการสำรวจ ปญั หาของผเู้ รียนและนำมาแก้ไขพัฒนาผู้เรียน ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเปน็ ระบบ โดยครูมรี ายงานวิจัยใน ชั้นเรยี นคิดเป็นรอ้ ยละ ๑๐๐ และนักเรยี นได้รับการวัดผล ประเมินผลที่เน้นผู้เรียนเปน็ สำคญั ทำให้ผู้เรียนทราบจุดท่ี ควรพฒั นาตนเองในการวดั ผลประเมนิ ผลแต่ละครั้ง ส่งผลใหผ้ ู้เรยี นมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น สูงข้นึ ผ้เู รียนมีแนวโน้ม ผลการเรียน 0, ร, มส และ มผ ลดลง ๓.5 มีการแลกเปลีย่ นเรียนรแู้ ละให้ข้อมลู สะท้อนกลบั เพอื่ พฒั นาและปรบั ปรงุ การจัดการเรยี นรู้ เป้าหมาย ระดับคุณภาพดี : ครรู อ้ ยละ 60-69 มกี ารแลกเปล่ียนเรียนรู้และให้ขอ้ มูลสะท้อนกลับเพอ่ื พัฒนาและปรบั ปรุงการจัดการเรยี นรู้ ตามรายการดังน้ี 1. มีการวางแผนการจัดชุมชนการเรียนรู้ 2. มกี ารดำเนนิ การชุมชนการเรียนร้รู ะหว่างครู 3. มเี อกสารหลักฐานการแลกเปล่ียนเรียนร้แู ละให้ข้อมลู สะท้อนกลับ 4. มกี ารพัฒนาและปรับปรุงการจดั การเรียนรู้ กจิ กรรม กระบวนการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู้ท่ีสง่ ผลตอ่ ระดบั คณุ ภาพ ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการให้ข้อมลู สะท้อนกลับโดยมีการจัดตั้งกลุ่มชุมชนการเรียนรู้ทาง วิชาชีพ (PLC) ในระดับชั้นเรยี น โดยมีการจดั การเรยี นรู้แบบบรู ณาการตา่ งกลุ่มสาระฯ มกี ารวางแผนการดำเนินงาน รับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกัน มีการระดมความคิดเพื่อหาวิธีการแก้ปัญหาที่หลากหลาย และมีการวางแผนการ ทำงานอย่างเป็นระบบมากขึ้นเพื่อนำไปสู่การแก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียน ซึ่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูล สะท้อนกลบั ของครนู ัน้ ยังไดร้ บั มาจากการจัดนิเทศการสอนแบบกัลยาณมิตร โดยครทู ุกท่านไดร้ ับการนิเทศจากฝ่าย บรหิ าร หัวหน้ากลมุ่ สาระฯ ครใู นกลุม่ สาระฯ เดียวกัน รวมทงั้ มีการสงั เกตการสอนของครูในกล่มุ สาระฯ รว่ มด้วย ครู มีผลงานการใชก้ ระบวนการวิจัยในช้ันเรียน มีการเผยแพร่งานวจิ ัยและมีการสะท้อนผลกลับ โรงเรียนมกี ารจัดประชุม ประจำเดอื นกบั คณะครูท้ังโรงเรียนและมกี ารประชมุ กลมุ่ ย่อยตา่ ง ๆ ซึง่ เป็นการวางแผนเตรยี มความพรอ้ ม เพือ่ ใหก้ าร ดำเนินงานนน้ั สำเร็จ ลลุ ่วง ด้วยความเรยี บร้อย มกี ารแลกเปล่ียนเรียนรู้และให้ขอ้ มูลสะท้อนกลับเม่ือการดำเนินงาน

๗๔ เสรจ็ สน้ิ เพ่ือเปน็ การพัฒนาและปรับปรงุ การทำงานในคร้ังตอ่ ไป และครไู ด้มีการพัฒนาตนเองอยา่ งตอ่ เนื่อง โดยเข้า ร่วมอบรมกบั หน่วยงานภายนอก อบรมผา่ นทางระบบออนไลน์ มกี ารแลกเปลย่ี นเรยี นรูก้ บั ครูผู้เข้าอบรม ทำให้ครูเป็น ผู้ที่มีการพฒั นาตนเองอย่างรอบด้าน นำไปสู่คุณภาพการจัดการเรียนรู้ที่เน้นความสำเรจ็ หรือประสิทธิผลของผูเ้ รียน เป็นสำคัญ ขอ้ มลู หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ทสี่ นับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง - รายงานชมุ ชนการเรยี นร้ทู างวชิ าชพี (PLC) - รายงานนเิ ทศการสอน - รายงานวจิ ยั ในชนั้ เรียน - บนั ทึกการประชุมครู - เกียรตบิ ตั รและภาพถ่ายกจิ กรรม ผลความสำเรจ็ ครูร้อยละ 100 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการ จัดการเรยี นรู้ จากการเขา้ รว่ มกลุ่มชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ในระดบั ช้ันเรยี น การนิเทศการสอน การทำวิจัยในชั้นเรียน การเข้าร่วมประชุม และการเข้าร่วมอบรมทัง้ ภายในและภายนอกโรงเรยี น ส่งผลต่อ การพฒั นาและปรับปรงุ การจัดการเรียนรไู้ ปสู่ผู้เรยี นไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริง แบบอย่างทดี่ ี (Best Practice) หรือ นวัตกรรม (Innovation) ครูร้อยละ 100 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ พัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ จากการนิเทศการสอน การทำวิจัยในชั้นเรียน การเข้าร่วมประชุม และการอบรมทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ส่งผลต่อการพัฒนา และปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ไปสู่ผู้เรียน นักเรียนได้รับการวัดผลประเมินผลที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ทำให้ผู้เรียน ทราบจุดที่ควรพัฒนาตนเอง ในการวัดผล ประเมินผล แต่ละครั้ง ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ผเู้ รยี นมแี นวโนม้ ผลการเรยี น 0, ร, มส และ มผ ลดลง จดุ เด่น จดุ ทคี่ วรพัฒนา แผนการพัฒนาคณุ ภาพให้สูงขึ้น และข้อเสนอแนะ จุดเด่น 1. ครมู ีการจดั การเรียนรู้เชงิ รกุ (Active Learning) ทเี่ นน้ ทักษะกระบวนการคดิ และการปฏบิ ตั ิ 2. โรงเรยี นมแี หล่งเรยี นรูท้ ่ีหลากหลายเออื้ ตอ่ การจดั การเรยี นรู้ 3. โรงเรียนจดั กิจกรรมส่งเสรมิ ความสามารถ และความถนัดของผู้เรียน โดยมีความร่วมมอื กับหน่วยงาน ภายนอก 4. ห้องเรียนมีความพร้อมด้านสภาพแวดล้อมและอุปกรณ์สื่อเทคโนโลยี ต่อการจัดการเรียนการสอนใน หอ้ งเรยี น 5. ครูผสู้ อนใช้เครื่องมอื วดั และประเมินผลทห่ี ลากหลาย 6. ครูทุกคนได้รบั การนเิ ทศการสอน มผี ลงานวิจัยในช้นั เรียนเชิงประจักษ์มาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง

๗๕ 7. ครูมีการจัดตั้งกลุ่มและดำเนินการตามกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ในระดับ ชัน้ เรยี น จุดท่คี วรพัฒนา 1. ครใู ชส้ อ่ื การเรยี นรไู้ ม่หลากหลาย และขาดความชำนาญในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทนั สมัย 2. ครขู าดโอกาสในการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรยี น และการเชญิ วทิ ยากรภายนอก 3. สญั ญาณอนิ เทอร์เน็ตไม่ครอบคลมุ ทง้ั โรงเรยี น 4. ครูมีความตอ้ งการเพิม่ ศักยภาพในการแลกเปลย่ี นเรียนร้แู ละใหข้ ้อมลู สะทอ้ นกลับ ขอ้ เสนอแนะ 1. ควรพฒั นาครูในด้านการใช้สอ่ื ท่หี ลากหลาย และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทนั สมยั 2. ครูควรใชแ้ หล่งเรยี นร้ภู ายในโรงเรยี นให้เหมาะสม และเชิญวทิ ยากรภายนอกเพอ่ื เพม่ิ เติมภมู ิปญั ญา ท้องถิน่ 3. เพมิ่ จุดบริการสัญญาณอนิ เทอร์เน็ตให้ครอบคลุมท้ังโรงเรียน 4. เพม่ิ ศกั ยภาพของครูเพอ่ื พัฒนาการแลกเปล่ยี นเรียนรู้และใหข้ อ้ มลู สะท้อนกลับ แผนพัฒนาคุณภาพเพอ่ื ยกระดบั คุณภาพให้ไดม้ าตรฐานทส่ี งู ข้นึ 1. โครงการเพือ่ พัฒนาครใู นการใช้สือ่ และเทคโนโลยีให้ทันสมยั มากขึ้น 2. โครงการพฒั นาครใู นการใชแ้ หลง่ เรยี นรู้ และประสานความรว่ มมอื กับวิทยากรภูมิปญั ญาทอ้ งถิน่ 3. โครงการพฒั นาระบบสัญญาณอนิ เทอร์เน็ต 4. โครงการพัฒนาศักยภาพครูในการเข้าร่วมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ที่สอดคล้องกับ แผนการจดั การเรียนรแู้ ละวิจัยในชน้ั เรยี น

๗๖ สรุปผลการประเมนิ ตนเองตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ มาตรฐาน/ประเด็นพจิ ารณา คา่ คำอธิบายระดับคณุ ภาพ ผลการ มาตรฐานที่ 1 ด้านคณุ ภาพผู้เรียน เป้าหมาย ประเมนิ 1.1 ผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของผเู้ รยี น 1 มคี วามสามารถในการอา่ น การเขียน ดี ดี การสอ่ื สารและการคิดคำนวณ ดี ดี 2 ความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมี ผเู้ รียนร้อยละ 60-69 มที กั ษะในการอ่าน การเขยี น ดี วจิ ารณญาณ อภปิ ราย แลกเปล่ยี น ดี การสื่อสาร และการคิดคำนวณตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา ความคดิ เห็น และแกป้ ัญหา กำหนดในแต่ละระดบั ชัน้ 3 มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม 4 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ผู้เรยี นรอ้ ยละ 60-69 มคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ สารสนเทศและการสือ่ สาร ดี คิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลยี่ นความคิดเห็น ดี โดยใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และแกป้ ญั หาได้อย่าง 5 มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตามหลกั สตู ร เป็นระบบในระดบั 2 ข้นึ ไป สถานศกึ ษา ดี ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 60-69 มีความสามารถนำกระบวนการใน ดี 6 มีความรู้ ทักษะพ้นื ฐาน และเจตคตทิ ี่ดตี ่อ การสรา้ งนวตั กรรมไปใช้ในการแก้ปัญหา งานอาชพี ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 70-79 มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยี 1.2 คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ของผ้เู รียน ดเี ลศิ สารสารสนเทศและการส่อื สารเพ่อื พฒั นาตนเอง และ ดเี ลิศ 1 มีคณุ ลักษณะและคา่ นิยมทีด่ ตี ามที่ สังคมในดา้ นการเรยี นรู้ การส่อื สาร การทำงาน อยา่ ง สถานศึกษากำหนด สร้างสรรคแ์ ละมีคณุ ธรรม 2 ความภูมิใจในทอ้ งถิน่ และความเปน็ ไทย นกั เรียนร้อยละ 60-69 มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตาม ดี หลักสูตรสถานศึกษาสูงกว่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด ดี ในระดบั 3 นักเรียนร้อยละ 60-69 มีความรู้ ทกั ษะพื้นฐาน และเจต ดี ดี คติทีด่ พี ร้อมท่ีจะศึกษาต่อในระดับชน้ั ทส่ี ูงขนึ้ และการ ทำงานหรืออาชีพ ดี ดี ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 70-79 ผา่ นการประเมิน ดีเลศิ ดีเลิศ คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงคต์ ามทสี่ ถานศึกษา กำหนดในระดับ 3 ข้ึนไป ผเู้ รยี นร้อยละ 60-69 ผ่านการประเมิน ดี คณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ตามหลกั สูตรในระดับ 3 ดี ข้นึ ไป

๗๗ มาตรฐาน/ประเด็นพจิ ารณา ค่า คำอธบิ ายระดบั คุณภาพ ผลการ เป้าหมาย ประเมนิ 3 การยอมรบั ที่จะอยู่รว่ มกนั บนความแตกต่าง ผ้เู รยี นรอ้ ยละ 60-69 ยอมรับและอยรู่ ่วมกันบน ดี ดี ความแตกต่างระหว่างบุคคลในด้าน เพศ วยั และหลากหลาย เชอ้ื ชาติ ศาสนา ภาษาวัฒนธรรม ประเพณี 4 สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสงั คม ผู้เรยี นรอ้ ยละ 60-69 ผา่ นการประเมิน ดเี ลิศ คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ตามหลักสูตรในระดับ 3 ดเี ลศิ ข้นึ ไป มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการ ดเี ลิศ ดเี ลศิ จดั การของผบู้ ริหารสถานศึกษา 1 มเี ปา้ หมาย วิสัยทศั น์ และพนั ธกิจที่ โรงเรียนกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ สถานศกึ ษากำหนดชดั เจน ดเี ลศิ และมีรอ่ งรอยหลกั ฐานชัดเจน ดเี ลิศ สามารถตรวจสอบได้ ร้อยละ 70-79 2 มรี ะบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของ โรงเรียนมีระบบบริหารจัดการคุณภาพ โดยมี สถานศกึ ษา ดีเลิศ ร่องรอยหลักฐานปรากฏชัดเจน สามารถ ดีเลศิ ตรวจสอบได้ รอ้ ยละ 70-79 3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการท่เี น้นคุณภาพของ ดำเนินการพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียน ผ้เู รยี นรอบดา้ นตามหลกั สูตรสถานศกึ ษาและทกุ ดี ร อบด้านตามห ล ักส ูต ร ส ถา นศ ึกษ า แ ล ะ ดี กลมุ่ เปา้ หมาย ทุกกลุ่มเป้าหมาย รอ้ ยละ 60-69 4 พฒั นาครแู ละบุคลากรให้มคี วามเชย่ี วชาญ ครแู ละบคุ ลากรรอ้ ยละ 80-89 ได้รับการพัฒนา ให้มคี วามเช่ียวชาญทางวชิ าชพี ตามรายการดงั น้ี ทางวิชาชพี ดีเลิศ 1. ได้รับการพัฒนาให้มีความเชี่ยวชาญทาง ดีเลิศ วชิ าชพี สอดคลอ้ งความตอ้ งการ 2. มีชมุ ชนการเรยี นร้ทู างวชิ าชีพเพื่อพัฒนางาน และการเรียนรูอ้ ย่เู สมอ 5 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทเี่ ออ้ื ต่อ ดีเลศิ จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อ ดีเลศิ การจัดการเรียนรู้ ร้อยละ 70-79 การจดั การเรียนรอู้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ 6 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื สนบั สนุนการ สถานศึกษาได้จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือ บริหารจดั การและจดั การเรียนรู้ ดีเลิศ สนับสนนุ การบรหิ ารจัดการและการจดั การเรียนรู้ ดีเลิศ รอ้ ยละ 70-79

๗๘ มาตรฐาน/ประเดน็ พจิ ารณา คา่ คำอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ ผลการ เปา้ หมาย ประเมิน มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่ เน้นผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ ดี ครรู อ้ ยละ 60-69 จดั การเรียนรผู้ า่ นกระบวนการ ดี 1 จัดการเรยี นรผู้ ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั ิ ดี คดิ และปฏิบตั ิจรงิ และสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ ดี จรงิ และสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ได้ ดี ในชีวติ ตามรายการดังน้ี ดีเลศิ 1. ครูจัดกจิ กรรมการเรียนรูต้ ามมาตรฐานการ ดี 2 ใช้สอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียน ดเี ลิศ รูทีเ่ อ้ือต่อการเรียนรู้ เรยี นรู้ ตวั ชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา ดี 2. ครูมีแผนการจัดการเรียนร้เู ฉพาะบคุ คลท่ี 3 มีการบรหิ ารจัดการชัน้ เรยี นเชิงบวก สามารถนำไปปฏบิ ตั กิ จิ กรรมได้จริง 4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอย่างเป็นระบบ 3. ครูมรี ูปแบบการจดั การเรียนรเู้ ฉพาะสำหรบั และนำผลมาพัฒนาผูเ้ รียน ผทู้ ่มี ีความจำเปน็ และตอ้ งการความช่วยเหลอื พเิ ศษ 4. ครูออกแบบและจัดกจิ กรรมการเรยี นทมี่ ุ่งให้ ผูเ้ รียนไดร้ บั การฝกึ ทกั ษะแสดงออก แสดงความ คิดเห็น สรุปองคค์ วามรู้ นำเสนอผลงาน และ สามารถนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจำวนั ครูรอ้ ยละ 70-79 ใช้ส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ท่ีเอ้ือตอ่ การเรียนรู้ ตามรายการ ดงั นี้ 1.ครใู ชส้ ่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง่ เรยี นรู้ รวมทั้งภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ินมาใช้ในการ จดั การเรียนรู้ 2.สร้างโอกาสให้ผ้เู รยี นไดแ้ สวงหาความรดู้ ้วย ตนเองจากสอ่ื ทห่ี ลากหลาย ครรู อ้ ยละ ๗0-๗9 มกี ารบรหิ ารจดั การชั้นเรียน เชิงบวกดงั นี้ 1. จดั สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก ห้องเรียนที่เออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ 2. จัดการเรียนร้ใู ห้เดก็ มปี ฏิสมั พันธเ์ ชงิ บวกใน กิจกรรมการเรียนรู้ 3. จดั การชั้นเรียนให้เกิดความรว่ มมือ มี บรรยากาศของความเปน็ ประชาธิปไตย 4. กระตุ้นและเสริมแรงพฤติกรรมทเี่ หมาะสม ครูรอ้ ยละ 60-69 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี น อยา่ งเปน็ ระบบและนำผลมาพัฒนาผ้เู รยี นตาม รายการดงั น้ี 1. วางแผนการวดั และประเมินผลผ้เู รียน

๗๙ มาตรฐาน/ประเดน็ พิจารณา คา่ คำอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ ผลการ เป้าหมาย ประเมนิ 2. ใชเ้ คร่อื งมือ วิธกี ารวดั และประเมนิ ผลที่ หลากหลายและเหมาะสมกบั เปา้ หมายในการ จดั การเรียนรู้ 3. ให้ข้อมูลย้อนกลบั แกผ่ ู้เรียนเพ่ือพฒั นาการ เรียนรู้ 4. นำผลการวัดและประเมินผลมาพัฒนาการ จดั การเรยี นรู้ 5 มกี ารแลกเปลย่ี นเรยี นรแู้ ละใหข้ ้อมลู สะทอ้ น ดี ครูร้อยละ 60-69 มีการแลกเปล่ยี นเรยี นรแู้ ละ ดี กลับเพือ่ พฒั นาและปรบั ปรงุ การจัดการ ใหข้ อ้ มลู สะทอ้ นกลับเพอื่ พัฒนาและปรับปรุง เรยี นรู้ การจดั การเรียนรู้ ตามรายการดังนี้ 1. มีการวางแผนการจัดชมุ ชนการเรียนรู้ 2. มีการดำเนินการชมุ ชนการเรียนรรู้ ะหว่างครู 3. มีเอกสารหลกั ฐานการแลกเปลี่ยนเรียนรแู้ ละ ใหข้ ้อมลู สะท้อนกลับ 4. มีการพฒั นาและปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู้ สรปุ ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ เป็นไปตาม คา่ เป้าหมายที่สถานศกึ ษากำหนดทุกมาตรฐาน

๘๐ สว่ นที่ ๓ สรปุ ผล แนวทางการพัฒนา และการตอ้ งการการชว่ ยเหลอื ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาถือเป็นข้อมูลสารสนเทศสำคัญที่สถานศึกษาจะต้องนำไปวิเคราะห์ สงั เคราะห์ เพ่อื สรปุ นำไปสกู่ ารเช่ือมโยงหรือสะท้อนภาพความสำเร็จกับแผนพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา และนำไปใช้ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ดังนั้น จากผลการดำเนินงานของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมินในภาพรวมของจุดเดน่ จดุ ควรพฒั นาของแตล่ ะมาตรฐาน พร้อมทง้ั แนวทางการพฒั นาใน อนาคต เพอื่ ให้ได้มาตรฐานท่สี ูงข้นึ และความตอ้ งการช่วยเหลือ ดงั น้ี ระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน จุดเดน่ จุดควรพฒั นา คณุ ภาพของนักเรียน คุณภาพของนกั เรียน 1. ผู้เรยี นมีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การ 1. ผ้เู รียนบางส่วนมผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นไม่เป็นไปตาม สื่อสาร และการคิดคำนวณ ภาพรวมอยใู่ นระดับดี เกณฑท์ ่สี ถานศึกษากำหนด จงึ ต้องมีการสง่ เสรมิ และพฒั นา 2. ผู้เรียนมคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดอย่างมี อยา่ งจริงจัง วิจารณญาณ และอภปิ รายแลกเปลีย่ น 2. จดั กจิ กรรมส่งเสรมิ ความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม ความคิดเห็นและแกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งมีเหตุผล เพมิ่ เติม 3. ผเู้ รียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ๓. บางโครงการหรอื กจิ กรรมยงั ไมส่ ามารถให้นักเรียนได้เขา้ และการสือ่ สาร สามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการ ร่วมทง้ั หมด แสวงหาความรูไ้ ด้ดว้ ยตนเองอย่างเหมาะสม ๔.ควรจัดกจิ กรรมส่งเสริมการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาให้ 4. ผ้เู รียนมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นเปน็ ไปตามเป้าหมายท่ี นักเรยี นไดเ้ รยี นรเู้ พ่มิ ขน้ึ สถานศึกษากำหนดไว้ 5. ผเู้ รยี นมีความรู้ ทักษะพืน้ ฐาน และเจตคติท่ดี ตี ่องาน อาชีพ 6. ผเู้ รยี นมีศักยภาพ มีผลงานเชิงประจักษ์และเป็นท่ี ยอมรบั จากหนว่ ยงานภาครฐั ภาคเอกชน ภายใน สถานศึกษาและภายนอกสถานศกึ ษาอย่างตอ่ เน่ือง มี ทกั ษะในการแขง่ ขันทางวชิ าการเป็นทีย่ อมรับในระดับเขต พื้นท่ีการศกึ ษา ระดับภาค และระดบั ประเทศ ๗. โรงเรยี นมโี ครงการ/กิจกรรม พฒั นาผู้เรียนที่ หลากหลาย ๘. โรงเรยี นมีกิจกรรมปลูกฝังให้นกั เรยี นมคี วามออ่ นนอ้ ม ถ่อมตน

๘๑ จุดเด่น จดุ ควรพฒั นา ๙. นักเรยี นมกี ารปรบั ตวั อยู่รว่ มกนั กับบคุ คลอืน่ ทุกเพศ ทกุ วัย ๑๐.นกั เรียนตระหนกั ถึงความสำคญั และมสี ว่ นร่วมในการ ป้องกนั โรคระบาด กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ สถานศึกษามีการบริหารและการจัดการอย่างเป็น 1. สถานศึกษาควรมีการดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้น ระบบ โดยมีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ คุณภาพนักเรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา ในการ ที่ชัดเจน และมกี ารบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา พัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นและหลักสูตรการศึกษาเพื่อการมี โดยใช้กระบวนการและวิธีการทางลูกเสือ“RSBS Scout งานทำ โดยการเชิญวิทยากรภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมใน Model” มาใช้ในการบริหารงาน ทั้งในส่วนการวางแผน การให้ความรู้กับนักเรียนมากขึ้น และควรสร้างเครือข่าย พัฒนาวิชาการทเ่ี น้นคุณภาพผู้เรยี นรอบดา้ นตามหลักสูตร ความรว่ มมือของผู้ที่มีสว่ นเก่ียวข้องในการจัดการศึกษาของ ที่กำหนด ส่งเสริมและพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความ โรงเรยี นใหม้ ีความเขม้ แขง็ เชี่ยวชาญทางวิชาชีพ มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการ 2. สถานศึกษาควรพฒั นาการมสี ว่ นร่วมในการแลกเปล่ยี น จัดการศึกษา และปรับปรุงพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง ซ่ึง เรยี นรู้ทางวชิ าชพี มีชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพที่เขม้ แข็ง สามารถติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลได้ จึงทำให้ เพื่อประโยชน์ ทงั้ ตอ่ ครูและผเู้ รียน และนำโครงการนิเทศ การดำเนินงานมีความต่อเนื่องและเป็นระบบ อีกทั้ง ภายในมาใช้พัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนของครู สถานศกึ ษาได้จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมที่ เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ มีการจัด บรรยากาศและสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มีความ ปลอดภัย สวยงาม ทำให้มีชุมชนและหน่วยงานภายนอก มาขอใชส้ ถานที่ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนน้ นักเรียน กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนน้ นักเรียน เปน็ สำคัญ เปน็ สำคัญ ๑.ครูมีการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ๑.ครใู ช้สือ่ การเรียนร้ไู มห่ ลากหลาย และขาดความชำนาญ ทเ่ี นน้ ทกั ษะกระบวนการคดิ และการปฏิบตั ิ ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทีท่ ันสมัย ๒.โรงเรียนมีแหล่งเรียนรูท้ ่หี ลากหลายเออ้ื ตอ่ การจดั การ ๒.ครขู าดโอกาสในการใช้แหล่งเรยี นรู้ภายในโรงเรยี น และ เรียนรู้ การเชิญวิทยากรภายนอก ๓ . โร ง เร ียน จัดก ิจก ร รมส่ง เสริมความสามารถ ๓.สัญญาณอินเทอรเ์ น็ตไม่ครอบคลมุ ทงั้ โรงเรยี น และความถนัดของผู้เรียน โดยมีความร่วมมือกับ ๔.ครมู คี วามต้องการเพิม่ ศกั ยภาพในการแลกเปล่ียนเรียนรู้ หน่วยงานภายนอก และใหข้ อ้ มูลสะท้อนกลบั ๔.หอ้ งเรยี นมคี วามพร้อมด้านสภาพแวดล้อมและอุปกรณ์ ส่อื เทคโนโลยี ต่อการจดั การเรียนการสอนในหอ้ งเรยี น

๘๒ จุดเดน่ จดุ ควรพฒั นา ๕.ครผู ูส้ อนใชเ้ ครือ่ งมอื วดั และประเมนิ ผลทีห่ ลากหลาย ๖.ครูทุกคนได้รับการนิเทศการสอน มีผลงานวิจัยในช้ัน เรยี นเชิงประจกั ษม์ าอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ๗.ครูมีการจัดตั้งกลุ่มและดำเนินการตามกระบวนการ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ในระดับ ชั้นเรยี น แผนพฒั นาคณุ ภาพเพอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพใหไ้ ด้มาตรฐานท่สี งู ขน้ึ 1) พัฒนานักเรียนให้มีทักษะในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณเป็นไปตามเกณฑ์ท่ี โรงเรยี นกำหนดในแตล่ ะระดบั ช้ัน 2) พัฒนานักเรียนให้มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคดิ เหน็ และแกป้ ญั หาอย่างมเี หตผุ ล ๓) พัฒนานกั เรียนให้มีความรู้และทักษะพื้นฐานในการสร้างนวัตกรรม การนำนวตั กรรมไปใช้และมีการ เผยแพร่ 4) พฒั นานกั เรียนใหม้ คี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารเพือ่ พัฒนาตนเองและ สังคมในดา้ นการเรยี นรู้ การสื่อสาร การทำงานอยา่ งสรา้ งสรรคแ์ ละมีคุณธรรม 5) พัฒนานักเรยี นใหม้ คี วามกา้ วหน้าในการเรยี นรตู้ ามหลกั สูตร และผลการทดสอบระดับชาติ 6) พัฒนานักเรียนให้มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และมีเจตคติท่ีดี พร้อมทีจ่ ะศึกษาต่อในระดบั ที่สูงข้นึ และ การประกอบอาชีพ ๗) จดั ทำโมเดลในการบริหารงานทัง้ ระบบ ปรับปรงุ โครงสร้างการบรหิ ารงานใหท้ ันสมัยดำเนินงานตาม กระบวนการ PDCA ๘) ขอคำปรึกษาจากหน่วยงานท่เี กยี่ วขอ้ งเพ่อื พัฒนาในปตี ่อ ๆ ไป ๙) จัดทำโครงการพฒั นาครสู ูม่ อื อาชีพ ๑๐) สนับสนุนส่งเสริมการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวชิ าชีพให้ได้รับโอกาส ได้รับ การพัฒนาตนเองอย่างตอ่ เน่ือง ๑๑) จัดเตรียมความพร้อมด้านเทคโนโลยี อาทิ คอมพิวเตอร์ โปรเจคเตอร์ wifi และวัสดุอุปกรณ์ สำนกั งานในการจัดการเรียนการสอนทท่ี ันสมัยและเพยี งพออันสง่ ผลการจัดการเรียนการสอนใหม้ ีคณุ ภาพ ๑๒) ภาครัฐควรเข้ามาให้บริการให้สัญญาณอินเทอร์เน็ต (Wifi) กับทางโรงเรียนโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย เพราะเปน็ การให้บริการทางดา้ นการศึกษา

๘๓ แนวทางการพัฒนาสถานศกึ ษาในอนาคต โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชูปถัมภ์ มีแนวทางการพัฒนาสถานศึกษา เป็นไปตามรูปแบบการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานและการบริหารแบบมีส่วนร่วม โดยพัฒนาทั้งทางด้าน วชิ าการ บุคลากร งบประมาณ และบริหารท่ัวไป ดังนี้ ดา้ นวชิ าการ โรงเรียนมแี นวทางในการสง่ เสริมและพฒั นากระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเป็น สำคัญอย่างต่อเนื่อง โดยส่งเสริมให้ครูผลิตและใช้สื่อรวมถึงงานวิจัยในชั้นเรียน ใช้กระบวนการนิเทศ เพื่อพัฒนา กระบวนการเรียนการสอน เพื่อยกระดับคุณภาพวิชาการและพัฒนาการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน ให้เป็นไป ตามเป้าหมายของสถานศึกษาและสู่มาตรฐานสากล อกี ทง้ั ส่งเสรมิ ความสามารถและทักษะของนักเรียนในด้านต่าง ๆ เพม่ิ มากข้นึ โดยการบูรณาการกระบวนการลูกเสือมาใช้เพื่อเสริมสร้างคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ผู้เรยี นให้เป็นไปตาม RSBS Scout Model ด้านงานปกครองและบุคลากร โรงเรียนมีในการส่งเสริมและพัฒนาโดยใช้การบริหารแบบมีส่วนร่วม (Praticipative Managment) มีการเสริมและพัฒนาบุคลากรให้เปน็ ครูมืออาชีพ พัฒนากระบวนการชุมชนแห่งการ เรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) โดยจัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ นอกจากนี้มีแนวทางในการ ส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนด้วยกระบวนการลูกเสือ โดยการบูรณาการและ สอดแทรกในเนื้อหาทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ เพ่ือพัฒนาผู้เรยี นใหเ้ ปน็ ไปตามลักษณะของ กระบวนการลูกเสือมาใชเ้ พื่อ เสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ผเู้ รียนใหเ้ ป็นไปตาม RSBS Scout Model ดา้ นงบประมาณ มีแนวทางจดั สรร สง่ เสรมิ งบประมาณตามการบริหารงบประมาณแบบมงุ่ เนน้ ผลงาน (PBB) เพือ่ ใหอ้ ย่างพอเพียงตามโครงการพัฒนาการเรยี นการสอนสูม่ าตรฐานสากลทกุ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ และขอคำปรึกษา จากหน่วยงานท่ีเกย่ี วขอ้ งเพอื่ พัฒนาอย่างตอ่ เนอ่ื งในปตี อ่ ๆ ไป ด้านอาคารสถานที่ มีการพัฒนาจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อ การเรยี นรู้ มคี วามปลอดภัยโดยเคร่งครัดจากสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID- 19) ตามแนวทางการป้องกนั จากสำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดนครปฐม โดยยดึ หลกั การปฏบิ ติตามประกาศของ ศบค. มท.(ศูนย์บริหารสถาณการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ กระทรวง มหาดไทย) รวมทั้งมีการจัด สภาพสังคมที่ดีเอื้อต่อการเรียนรู้ ครอบคลุมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ทั่วถึงทุกคนทุกกลุ่มเป้าหมาย ให้สอดคล้องกับ สภาพปญั หา ความต้องการ เพ่ือพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี นอย่างต่อเนื่อง ความต้องการและการช่วยเหลอื ๑. ภาครัฐควรเข้ามาให้บริการเรือ่ งการให้สัญญาณอินเทอร์เน็ต (Wifi) กับทางโรงเรียนโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย เพราะเป็นการให้บริการทางด้านการศึกษา ๒. การสนับสนนุ ด้านงบประมาณจากหน่วยงานตน้ สังกัด ๓. ความร่วมมือจากชุมชนและหนว่ ยงานภายนอกในดา้ นงบประมาณและบคุ ลากรทีม่ ีความเชย่ี วชาญ

๘๔ ส่วนท่ี 4 การปฏบิ ัตทิ ี่เป็นเลิศของสถานศึกษา (ความโดดเด่น)  เป็นต้นแบบ มีความโดดเดน่ ได้รบั การยอมรบั ระดับนานาชาติ (C๓)  เป็นต้นแบบ มีความโดดเด่น ไดร้ ับการยอมรบั ระดบั ชาติ (C2)  เป็นตน้ แบบหรือมคี วามโดดเดน่ ระดับทอ้ งถ่นิ /ภมู ภิ าค/เขตพื้นท่ี (C1) ชื่อผลงานทีเ่ สนอประเมนิ ความโดดเด่น (Best Practices) การจดั กจิ กรรมตามกระบวนการลูกเสือเพือ่ พัฒนาเยาวชน ประจำปกี ารศกึ ษา 256๔ คำสำคัญ กระบวนการลกู เสอื คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. บทนำ กระบวนการ/วิธีการดำเนินงานในอดีต การศึกษาเป็นกระบวนการที่สำคัญยิ่งในการพัฒนาคนให้มีคุณภาพสามารถท่ีจะปรับตวั ได้อยา่ งรู้เท่าทันต่อ การเปลยี่ นแปลงตา่ ง ๆ ใหเ้ ป็นไปในแนวทางท่ีถูกต้อง เหมะสมกบั สภาพความตอ้ งการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และวัฒนธรรมของประเทศ ที่จะสามารถสร้างสรรค์ความเจริญกา้ วหน้าใหแ้ กส่ ังคมไทย ทั้งยังสร้างความสมดุลและ ความกลมกลืนของการพัฒนาด้านต่าง ๆ การศึกษาในศตวรรษที่ 21 จึงต้องมีการปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับ ความเป็นจริง คุณลักษณะของนักเรียนในปัจจุบัน นอกจากจะเป็นผู้ที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา มีความรู้ คุณธรรมและจรยิ ธรรม สามารถอยู่รว่ มกับผู้อื่นได้อยา่ งมคี วามสขุ ตามพระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาพทุ ธศักราช 2542 แลว้ นักเรียนจะตอ้ งมวี นิ ัย ภูมใิ จในชาติ สามารถเชี่ยวชาญไดต้ ามความถนัดของตน และมีความรับผิดชอบต่อ ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศ ทักษะการเรียนรูจ้ ึงครอบคลุมทัง้ ด้านวิชาการ วิชาชีพ วิชาชีวิต สอดคล้องกับ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ทักษะที่จำเป็นในศตวรรษท่ี 21 และทักษะดา้ นพหปุ ญั ญา โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชูปถัมภ์ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการ พัฒนาและส่งเสรมิ นักเรยี นทั้งทางกาย สติปัญญา จิตใจ และศีลธรรม ให้เป็นพลเมอื งดี มีความรับผิดชอบ และช่วย สร้างสรรค์สังคมให้เกิดความสามัคคีและมีความเจริญก้าวหน้า โดยการพัฒนาการเรียนการสอนกิจกรรมที่จัดใน โรงเรียนเพราะทุกกิจกรรมมุ่งเน้นการพัฒนาคุณลักษณะนักเรียน สร้างนักเรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือ พัฒนาให้ผู้เรยี นมีคณุ ธรรมนำความรู้ เป็นคน “ดี เก่ง และมีความสุข” จึงมีการบูรณาการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอน ที่มุ่งเน้นให้นักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ของกิจกรรมพัฒนานักเรียน โดยใช้ กระบวนการลกู เสือมาช่วยในการพัฒนาเยาวชน มีวัตถปุ ระสงค์เพ่ือฝึกอบรม ให้การศกึ ษาและพฒั นาเยาวชนให้เป็น พลเมืองดี โดยไม่คำนึงถึงเชื้อชาติ ศาสนา ทั้งนี้เป็นไปตามความมุ่งประสงค์หลักการ และวิธีการ ซึ่งลูกเสือโลกได้ กำหนดไว้ ปัจจุบันกระบวนการลูกเสือถือเป็นกระบวนการทางการศกึ ษาสว่ นหน่งึ ซีง่ มุง่ พัฒนาสมรรถภาพของบุคคล ทั้งทางสมอง รา่ งกาย จิตใจ และศีลธรรม

๘๕ กระบวนการลูกเสือมีหลักการสำคญั ดังน้ี ๑. มีศาสนาเป็นหลักยึดทางจิตใจ จงรักภักดีต่อศาสนาที่ตนเคารพนับถือ และพึงปฏิบัติศาสนกิจด้วย ความจรงิ ใจ ๒. จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์และประเทศชาตขิ องตน พร้อมด้วยการส่งเสริมและสนบั สนนุ สันติสุขและ สันติภาพ ความเข้าใจที่ดีซึ่งกันและกัน และความร่วมมือซึ่งกันและกันตั้งแต่ระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และระดับ นานาชาติ ๓. เข้าร่วมพัฒนาสังคม ยอมรับและให้ความเคารพในเกียรติและศักดิ์ศรีของผู้อื่นและเพื่อนมนุษย์ทุกคน รวมทัง้ ธรรมชาตแิ ละสรรพสงิ่ ท้งั หลายในโลก ๔. มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ การพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเน่ือง ๕. ลกู เสอื ทุกคนต้องยึดมน่ั ในคำปฏิญาณและกฎของลูกเสือ สภาพทว่ั ไป โรงเรียนรัตนโกสินทรส์ มโภชบวรนเิ วศศาลายา ในพระสังฆราชูปถัมภ์ มีการจัดการเรียนการสอนหลักสูตร ลูกเสือของโรงเรียน มีการจัดการเรียนรู้ลูกเสือ-เนตรนารีสามัญรุ่นใหญ่และจัดการเรียนรู้ลูกเสือ-เนตรนารี วิสามัญ มีการคัดเลือกลูกเสือ-เนตรนารีเข้ามาเป็นลูกเสือกองร้อยพิเศษของโรงเรียน ตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นอกจากน้ีโรงเรยี นมีความพรอ้ มของสภาพแวดล้อมเออ้ื ตอ่ การจัดการเรียนรูก้ ิจกรรมพฒั นาผู้เรียน เป็นศูนย์กิจกรรม พัฒนาผู้เรียนของจังหวัดนครปฐม เป็นที่ยอมรับของหน่วยงานภายนอก มีการขอเข้าใช้สถานที่ เพื่อจัดกิจกรรมที่ เกี่ยวข้องกับกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน อีกทั้งบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาให้มีวุฒิทางลูกเสือมีความรู้ ความสามารถในกจิ กรรมลกู เสอื และกระบวนการลกู เสือ โรงเรยี นไดร้ บั รางวลั รางวัลความสำเร็จ อาทิ - ปี 2559 ไดร้ บั รางวัลชนะเลศิ อันดับ 1 ในการแข่งขันกจิ กรรมเดนิ สวนสนามลูกเสือ ของสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 - ปี 2560 ไดร้ ับรางวลั รองชนะเลิศอนั ดับ 2 ระดับเหรยี ญทองในการประกวดระเบียบแถวลูกเสือ-เนตร นารี จงั หวดั นครปฐม - ปี 2562 ได้รบั รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับ 1 การจัดการคา่ ยพกั แรม ในการแขง่ ขนั ศิลปหัตถกรรม นักเรียน ระดบั เขตพ้ืนท่ีการศึกษา - ปี 2562 ได้รับรางวลั รองชนะเลศิ อันดับ 1 การสรา้ งอปุ กรณเ์ พือ่ ให้บรกิ าร ในการแขง่ ศลิ ปหัตถกรรม นกั เรยี น ระดับเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา - ปี 2562 ไดร้ ับรางวัลรองชนะเลศิ การประกวดระเบียบแถวลูกเสือ เนตรนารี ระดับจงั หวัด ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ จากสำนักงานศกึ ษาธิการจังหวดั นครปฐม - ปี ๒๕๖๓ โรงเรียนให้การสนับสนนุ การประชมุ เชงิ ปฏิบตั กิ ารโครงการส่งเสริมและพฒั นาระบบ ฐานขอ้ มูลด้านลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรียน - ปี ๒๕๖๔ ไดร้ บั รางวัลชนะเลศิ ในการคัดเลือกโรงเรยี นดวี ถิ ีลกู เสอื ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ จากสำนกั งานศึกษาธิการจงั หวดั นครปฐม - ปี ๒๕๖๔ ได้รับโลร่ างวัลคัดเลอื กให้เปน็ โรงเรยี นดวี ิถีลกู เสอื ประจำปี ๒๕๖๔ และไดร้ ับเกยี รติบัตรผา่ น การประเมินตามหลกั เกณฑแ์ ละไดร้ บั คัดเลือกใหไ้ ดร้ บั รางวัลโรงเรยี นดีวถิ ีลกู เสือ ประจำปี ๒๕๖๔ จาก สำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ

๘๖ จากการดำเนินงานข้างต้น ทำให้โรงเรียนได้นำกระบวนการลูกเสือมาใช้เป็นแนวทางปฏิบัติที่เป็นเลิศ โดยนำกระบวนการลูกเสือมาใช้พัฒนานักเรียนทั้งทางกาย สติปัญญา จิตใจและศีลธรรม ให้เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบและช่วยสร้างสรรค์สังคมใหเ้ กิดความสามัคคีและมีความเจริญกา้ วหน้า ทั้งนี้เพื่อความสงบสุขและ ความมัน่ คงของประเทศชาติ ซ่งึ สอดคลอ้ งกับพระราชบญั ญัติลกู เสอื ลกั ษณะสำคญั ของวธิ ีหรอื แนวทางปฏิบัตทิ ีเ่ ป็นเลศิ โรงเรียนได้นำจัดการเรียนการสอนในวิชากิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี โดยนำกระบวนการลูกเสือเข้ามาช่วย สรา้ งเสรมิ ทกั ษะชวี ิตและสร้างนักเรยี นให้มีคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ อยา่ งเช่น กจิ กรรมในวนั สำคญั ของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ โครงการอบรมผู้นำ (สภานักเรียน) มีวัตถุประสงค์เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และพัฒนาจนเกิดเป็นวิธปี ระชาธิปไตย คือ คารวธรรม สามัคคี ธรรม ปัญญาธรรม เพื่อให้การเรียนรู้ของนักเรียนเป็นไปอย่างสนุกโดยกระบวนการลูกเสือ ควบคู่ไปกับการให้ นกั เรียนเปน็ บุคคลท่ีมรี ะเบียบวนิ ัย มีความรับผิดชอบ ซ่ือสตั ย์สุจรติ มีเกยี รติ เช่ือถือได้ และประการสำคัญ คือ การ รู้จักหน้าที่ รู้จักตอบแทนผู้มีพระคุณ ด้วยการเป็นลูกที่ดีและลูกศิษย์ที่ดี ตั้งใจศึกษา เล่าเรียนด้วยความวิริยะ อุตสาหะ มคี วามสุขในการเรยี นรู้ และปฏบิ ัติตนให้เหมาะสมกับสถานภาพของนักเรยี น โดยมแี นวทางการจดั กิจกรรม ตามวิธีการลกู เสอื (RSBS Scout Model) ซ่งึ มอี งคป์ ระกอบ ๘ ประการ คอื ๑. คำปฏญิ าณและกฎ ถอื เป็นหลักเกณฑ์ท่ีลูกเสือทกุ คนให้คำมน่ั สัญญา ว่าจะปฏิบตั ิตามกฎของลูกเสือ กฎ ของลูกเสือมไี ว้ให้ลูกเสอื เปน็ หลักในการปฏบิ ัติ ไมไ่ ด้ “ห้าม” ทำ หรือ“บงั คบั ” ใหท้ ำ แตถ่ า้ “ทำ” กจ็ ะทำให้เกิดผลดี แกต่ ัวเอง เป็นคนดี ได้รบั การยกยอ่ งวา่ เปน็ ผมู้ ีเกียรติเช่ือถือได้ ฯลฯ ๒. เรียนรู้จากการกระทำ เปน็ การพฒั นาสว่ นบุคคล ความสำเร็จหรอื ไม่สำเรจ็ ของผลงานอยู่ทกี่ ารกระทำของ ตนเอง ทำให้มีความรู้ที่ชัดเจน และสามารถแก้ปัญหาต่าง ๆด้วยตัวเองได้ และท้าทายความสามารถของตนเอง ๓. ระบบหมู่ เป็นรากฐานอันแท้จริงของการลูกเสือ เป็นพื้นฐานในการอยู่รว่ มกนั การยอมรับซึง่ กันและกัน การแบ่งหนา้ ท่คี วามรบั ผดิ ชอบ การช่วยเหลือซงึ่ กันและกัน ซึ่งเปน็ การเรยี นรู้ การใช้ประชาธปิ ไตยเบือ้ งต้น ๔. การใช้สัญลักษณ์ร่วมกัน ฝึกให้มีความเป็นหนึ่งเดียวในการเป็นสมาชิกลูกเสือเนตรนารี ด้วยการใช้ สัญลักษณ์ร่วมกัน ได้แก่ เครื่องแบบ เครื่องหมาย การทำความเคารพ รหัสคำปฏิญาณ กฎ คติพจน์ คำขวัญ ธง เปน็ ตน้ วิธกี ารน้จี ะชว่ ยใหผ้ ู้เรียนตระหนกั และภาคภูมิใจในการเปน็ สมาชิกขององค์การลกู เสือโลก ซ่ึงมีสมาชิกอยู่ ทวั่ โลกและเปน็ องค์กรที่มีจำนวนสมาชิกมากที่สุดในโลก ๕. การศึกษาธรรมชาติ คือ สิ่งสำคัญอันดับหนึ่งในกิจกรรมลูกเสือ ธรรมชาติอันโปร่งใสตามชนบท ป่าเขา ป่าละเมาะ และพุ่มไม้ เป็นที่ปรารถนาอย่างยิ่งในการไปทำกิจกรรมกับธรรมชาติ การปีนเขา ตั้งค่าย พักแรมในสุด สัปดาห์หรือตามวาระของการอยู่ค่ายพักแรมตามกฎระเบียบ เป็นที่เสน่หาแก่เด็กทุ กคน ถ้าขาดสิ่งนี้แล้ว ก็ไมเ่ รียกว่าใชช้ วี ิตแบบลกู เสือ ๖. ความก้าวหน้าในการเข้าร่วมกิจกรรม กิจกรรมต่าง ๆ ที่จัดให้เด็กทำต้องให้มีความกา้ วหน้าและดึงดูดใจ สร้างให้เกิดความกระตือรือร้นอยากที่จะทำ และวัตถุประสงค์ในการจัดแต่ละอย่างให้สัมพันธ์กับ ความหลากหลายในการพัฒนาตนเอง เกมการเล่นที่สนุกสนานการแขง่ ขันกันก็เป็นสิ่งดึงดูดใจและเป็นการจูงใจที่ดี ๗. การสนบั สนุนโดยผใู้ หญ่ ผใู้ หญเ่ ป็นผทู้ ชี่ ้ีแนะหนทางท่ีถกู ตอ้ งให้แก่เด็ก เพือ่ ใหเ้ ขาเกิดความม่ันใจในการที่

๘๗ จะตัดสินใจกระทำสิ่งใดลงไป ทั้งคู่มีความต้องการซึ่งกนั และกันเด็กก็ต้องการให้ผู้ใหญช่ ่วยชี้นำ ผู้ใหญ่เองกต็ ้องการ นำพาใหไ้ ปส่หู นทางที่ดี ใหไ้ ดร้ บั การพฒั นาอย่างถูกตอ้ งและดีทส่ี ดุ จึงเป็นการรว่ มมือกนั ทงั้ สองฝ่าย ๘. การมีส่วนร่วมในชุมชน การให้บริการและพฒั นาชุมชน โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชูปถัมภ์ ได้นำกระบวนการ หลักการ และ วิธีการลูกเสือ สู่การบริหารจัดการและการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยยึดกฎของลูกเสือ เพื่อส่งเสริมพัฒนา นักเรียนใหอ้ ยู่ในระเบียบวนิ ยั “RSBS Scout Model” มรี ายละเอยี ดดังน้ี ๑. R (Ready) ความพร้อมของทรัพยากร เป็นปัจจัยสำคัญในการส่งเสริมให้การดำเนินการของ โรงเรียนมปี ระสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล ประกอบดว้ ยปจั จัยพื้นฐาน ๔ ประการ ไดแ้ ก่ - คน (Man) - เงนิ (Money) - วัตถดุ บิ (Materials) - การบริหารจดั การ (Management) ๒. S (Smart) ความฉลาด เปน็ ส่งิ สำคญั ในการบรหิ ารจดั การด้านการใช้ทรพั ยากรให้มีประสิทธิภาพ โดยมุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความฉลาดรอบรู้ในด้านต่าง ๆ ได้แก่ ความฉลาดทางการจัดการงาน (Management Quotient) ความฉลาดทางเชาวนป์ ญั ญา (Intellectual Quotient) ความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional Quotient) ความฉลาดทางด้านสุขภาพ (Health Quotient) และความฉลาดทางศีลธรรม จรยิ ธรรม (Moral Quotient) ๓. B (Best) ความเป็นเลิศ โรงเรียนมีหลักการบริหารจัดการและวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) มีกระบวนการทำงานโดยใช้วงจรคุณภาพ (Deming Cycle) ประกอบด้วยการวางแผน (Plan) การนำไปปฏิบัติ (Do) การตรวจสอบและตดิ ตาม (Check) และการดำเนินการปรับปรงุ (Act) ๔. S (Student) ผูเ้ รยี น เป็นเปา้ หมายที่สำคัญที่สุดในการจดั การศึกษาของโรงเรยี น โดยมุ่งพัฒนา ผู้เรียนให้มีความรอบรู้และทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ผู้เรียนเป็นคนดี คนเก่ง และมีคุณภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นผู้มีความพอเพียง มีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต มีจิตอาสา และมีศักยภาพเป็นพลโลก (Global Citizenship) วัตถปุ ระสงค์ของวิธีหรือแนวทางทีเ่ ป็นเลศิ 1. เพอื่ พฒั นาคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของนกั เรียนด้วยกระบวนการลูกเสอื 2. เพอื่ เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิตของนักเรียนดว้ ยกระบวนการลูกเสือ เป้าหมาย ตัวชว้ี ัดเชงิ ปรมิ าณ 1) นกั เรยี น โรงเรยี นรตั นโกสินทรส์ มโภชบวรนเิ วศศาลายา ในพระสงั ฆราชูปถมั ภ์ มคี ณุ ลักษณะอัน พงึ ประสงค์ระดับดีขึ้นไป รอ้ ยละ 100 เป็นไปตามวตั ถปุ ระสงค์ทต่ี ้ังไว้

๘๘ 2) นักเรยี น โรงเรียนรัตนโกสินทรส์ มโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชปู ถัมภ์ ผา่ นการประเมิน การมีทักษะชวี ติ แบบลูกเสอื รอ้ ยละ 100 เป็นไปตามวตั ถปุ ระสงค์ทตี่ ัง้ ไว้ ตัวชี้วดั เชงิ คณุ ภาพ 1) นกั เรียนมคี ุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์สอดคล้องกับ “RSBS Scout Model” 2) นักเรยี นมที ักษะชวี ติ 2. แนวทาง/ข้ันตอนการดำเนินงาน/Flow Chart (แผนภมู )ิ ของวิธหี รอื แนวทางปฏบิ ตั ทิ ่เี ปน็ เลศิ ขั้นท่ี 1 ด้านการวางแผน (Plan) - ประชมุ วางแผน - วางแผนกิจกรรม - จัดเตรยี มทรพั ยากร ขน้ั ท่ี 2 ดา้ นการปฏบิ ัติตามแผน (Do) - สำรวจคุณวฒุ ทิ างการลกู เสอื ของบคุ ลากรทางการลกู เสอื ในโรงเรยี น - ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอนได้รับการพัฒนาคุณวุฒิทาง ลูกเสอื โดยไดร้ ับเครื่องหมาย วูดแบดจ์ 2 ท่อน (wood badge) (W.B.) เปน็ อยา่ งนอ้ ย - ส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนลูกเสือในสถานศึกษาให้สอดคล้องตาม พระราชบัญญตั ิลูกเสอื พ.ศ. 2551 - บูรณาการกระบวนการลูกเสือเข้ากับทุกกลุ่มวิชา ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยจัดกิจกรรมที่ สอดคลอ้ งกับ “RSBS Scout Model” ขน้ั ท่ี ๓ ด้านการตรวจสอบ (Check) - ดำเนนิ การนิเทศ กำกับ ตดิ ตามการดำเนินการตามมาตรการ และแนวทางการดำเนนิ การ - กำกับดแู ลการจดั การเรยี นการสอน กจิ กรรมและโครงการให้ดำเนินการไป ข้ันที่ 4 ด้านการปรับปรุง (Action) - นำผลการดำเนนิ การมาปรบั ปรงุ พฒั นาต่อไป ๓. ผลลพั ธ/์ ผลการดำเนนิ การ ระบุผลการดำเนนิ งานตามเป้าหมาย-ตัวชว้ี ัดทีก่ ำหนดท้งั เชงิ ปริมาณ และหรอื คุณภาพ 1) นักเรียน โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชูปถัมภ์ มีคุณลักษณะ อนั พงึ ประสงคร์ ะดับดขี ึน้ ไป รอ้ ยละ 99.07 เป็นไปตามวตั ถปุ ระสงค์ท่ตี ั้งไว้ 2) นักเรยี น โรงเรียนรตั นโกสนิ ทรส์ มโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชปู ถมั ภ์ ผ่านการประเมนิ การมีทักษะชีวิต แบบลูกเสือ ร้อยละ 100 เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เมื่อดำเนินการตามขั้นตอนของ Best Practices แลว้ ส่งผลตอ่ สถานศึกษาอย่างไร 3) ผเู้ รยี นมคี ณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ มีระเบียบวนิ ยั และเคารพกฎในการอยูร่ ่วมกนั ในสงั คม

๘๙ 4) สถานศึกษาเป็นแบบอย่างในการนำกระบวนการลูกเสือไปพัฒนาผู้เรียนให้เปน็ ผู้มีคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ เป็นผู้มีคุณธรรมจริยธรรม ระเบียบวินัย มีความเป็นผู้นำผู้ตามทีด่ ี มีจิตอาสา สามารถอยู่ร่วมกนั บน ความแตกตา่ งและหลากหลาย มที กั ษะชีวิตและทกั ษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต 5) ได้รับการยอมรับจากหน่วยงานภายนอกและชุมชนโดยรอบในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ สถานท่ี ศึกษาดูงานให้แกโ่ รงเรยี นและหน่วยงานอ่ืน ๆ ๔. ปจั จัยเก้อื หนนุ /ปัจจยั แห่งความสำเรจ็ 1) ผู้บรหิ ารใหก้ ารสนบั สนุนในการจดั กจิ กรรมและพฒั นาสถานทใ่ี ห้เอือ้ ตอ่ การจัดการเรยี นรู้ 2) ครแู ละบคุ ลากรมกี ารดำเนนิ การ กำกบั ตดิ ตาม การจัดกิจกรรมอยา่ งตอ่ เนือ่ ง 3) นกั เรียนใหค้ วามร่วมมือในการดำเนนิ กจิ กรรมและมีคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 4) กรรมการสถานศกึ ษาให้การร่วมมือและสนบั สนนุ ในการดำเนนิ การสำเร็จลุล่วงด้วยดี 5) สถานท่แี ละสภาพแวดล้อมมีความเหมาะสมต่อการจดั กจิ กรรม 6) หน่วยงานภายนอก อาทิ องค์การบริหารส่วนตำบลศาลายา เทศบาลตำบลศาลายา ให้การสนับสนุนใน เร่อื งงบประมาณ 7) สถานีตำรวจอำเภอพทุ ธมณฑล ให้ความอนเุ คราะห์ในการดูแลรักษาความปลอดภัยและให้ความรู้ในเร่ือง กฎหมายการจราจรแกน่ ักเรียนใหม้ ีระเบียบวนิ ยั 8) การประสานความมือกับวัดในชุมชน ให้พระสงฆเ์ ทศนา ให้หลกั ธรรมคำสอน แกน่ ักเรยี น 9) การวางแผนที่ดี มีการจัดทำแผนงานของโครงการล่วงหน้าหรือมีการนำเครื่องมือ Plan, Do, Check, Action มาใช้เปน็ เครือ่ งมอื ในการบริหารจัดการ ๕. แนวทางการพัฒนาให้ย่งั ยนื 1) พฒั นาบุคลากรอย่างต่อเนอ่ื ง 2) พฒั นาขดี ความสามารถของผูเ้ รยี นเพือ่ เขา้ รว่ มกจิ กรรมต่าง ๆ 3) พฒั นาสถานที่ให้มีความทนั สมัยและปลอดภยั มากขน้ึ 4) สนับสนนุ กจิ กรรมจากหนว่ ยงานภายนอก ท้งั สงิ่ อำนวยความสะดวกและบคุ ลากร 6. การเป็นตน้ แบบใหก้ บั หน่วยงานอ่นื /การขยายผล และ/หรอื รางวลั ทไี่ ดร้ บั ๖.๑ ไดร้ บั รางวัลชนะเลศิ ในการคัดเลอื กโรงเรียนดีวิถลี ูกเสือ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ จาก สำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดนครปฐม ๖.๒ ได้รับโล่รางวัลคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนดีวิถีลูกเสือ ประจำปี ๒๕๖๔ และได้รับเกียรติบัตรผ่านการ ประเมินตามหลักเกณฑ์และได้รับคัดเลือกให้ได้รับรางวัลโรงเรียนดีวิถีลูกเสือ ประจำปี ๒๕๖๔ จากสำนักงาน ปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๖.๓ ดำเนนิ โครงการฝึกอบรมหลกั สูตรลูกเสอื ต้านภยั ยาเสพตดิ ๖.๔ ดำเนนิ โครงการสอบวิชาพเิ ศษลกู เสือ-เนตรนารสี ามัญรุ่นใหญ่

๙๐ ๖.๕ เป็นวทิ ยากรให้ความรู้กับนักเรยี นเร่ืองของยาเสพตดิ โดยใช้กระบวนการของลูกเสือในการป้องกันยาเสพ ติด ณ โรงเรยี นบ้านบางประแดง(เลาหดลิ กราษฎร์) ๖.๖ เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อถอดบทเรียนและพิจารณาปรับปรุงเกณฑ์การคัดเลือกสถานศึกษา โรงเรียนดวี ิถีลูกเสอื 7. ภาคผนวก (ร่องรอย หลกั ฐาน ภาพถ่าย ช้นิ งาน ฯลฯ) 1) คำสั่ง 2) วฒุ ิบตั ร/เกยี รตบิ ตั ร 3) ภาพถ่ายกิจกรรม

๙๑ ภาคผนวก สว่ นที่ 4 การปฏบิ ัตทิ ่เี ปน็ เลศิ ของสถานศึกษา (ความโดดเด่น)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook