Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report:SAR)

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report:SAR)

Published by jantaporn9, 2022-06-16 12:19:15

Description: RSBS-SAR-๒๕๖๔

Search

Read the Text Version

๒ รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรยี นรตั นโกสินทรส์ มโภชบวรนเิ วศศาลายา ในพระสังฆราชปู ถมั ภ์ ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวดั นครปฐม สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษานครปฐม สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

ก คำนำ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ โรงเรยี นรตั นโกสินทร์สมโภชบวรนิเวศ ศาลายา ในพระสังฆราชูปถัมภ์ ฉบบั นี้ จดั ทำข้ึนตามกฎกระทรวง การประกนั คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ข้อ ๓ ระบุให้สถานศึกษาจัดส่งรายงานผลการประเมนิ ตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกบั ดูแลสถานศกึ ษาเป็นประจำทุกปี เพ่อื รายงานผลการดำเนนิ งานตามมาตรฐานการศกึ ษาที่สะท้อนผลการพัฒนา คุณภาพการศึกษา ซึ่งเป็นผลสำเร็จจากการบริหารจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา ระดับ การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ๓ มาตรฐานไดแ้ ก่ คณุ ภาพของผเู้ รียน กระบวนการบริหารและการจัดการ กระบวนการ จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อนำเสนอรายงานผลการจัดการศึกษาในรอบปีที่ผ่านมาต่อ หน่วยงานตน้ สังกดั หน่วยงานท่เี ก่ยี วข้อง ตลอดจนเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้รบั ทราบ และเตรียมความพร้อม ในการรับการประเมินภายนอก โดยสำนักงานรับรองมาตรฐานการศึกษาและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ต่อไป ขอขอบคณุ คณะครู ผปู้ กครอง นกั เรียน คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน และผู้ที่มีส่วน เก่ยี วขอ้ งทกุ ฝา่ ยท่มี ีส่วนร่วมในการจดั ทำรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาปีการศกึ ษา 2561 ฉบับน้ี คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิง่ ว่าเอกสารรายงานฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของโรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชูปถัมภ์ ในปีการศึกษา 256๔ ตอ่ ไป วา่ ทรี่ ้อยตรี (พิษณพุ ล แตงอ่อน) ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นรตั นโกสินทรส์ มโภชบวรนเิ วศศาลายา ในพระสงั ฆราชปู ถัมภ์ วันท่ี 25 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕

ข สารบัญ เร่ือง หน้า ก คำนำ.................................................................................................................................................. ข ค สารบัญ.............................................................................................................................................. 1 บทสรุปสำหรับผู้บรหิ าร.................................................................................................................... 2 สว่ นท่ี 1 ข้อมูลพ้ืนฐานของสถานศกึ ษา.......................................................................................... 4  ข้อมูลท่วั ไป.....................................................................................................................................  ข้อมูลครแู ละบุคลากร.................................................................................................................... 10  ข้อมลู นกั เรยี น................................................................................................................................  สรุปขอ้ มลู ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นระดบั สถานศกึ ษา..................................................................... 21 สว่ นท่ี 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา............................................................................. 42 ระดับการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน............................................................................................................. ผลการประเมินมาตรฐานการศกึ ษาระดับการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน.......................................................... 42 มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผ้เู รียน.................................................................................................... 42 42 มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ........................................................................... 61 มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ น้นผูเ้ รียนเปน็ สำคญั ......................................... 67 79 สว่ นท่ี 3 สรุปผล แนวทางการพัฒนา และความตอ้ งการช่วยเหลือ.............................................. 83 ส่วนที่ 4 การปฏิบัตทิ ี่เปน็ เลศิ ของสถานศกึ ษา(ความโดดเด่น)....................................................... 91 ภาคผนวก...........................................................................................................................................

ค บทสรุปสำหรบั ผ้บู ริหาร ผ้จู ัดทำ : ผ้อู ำนวยการสถานศกึ ษา บทนำ โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชูปถัมภ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีเนื้อที่ ๘๐ ไร่ ๖๔ ตารางวา เลขท่ี ๙๒ หมู่ ๓ ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม มีคณะครูและ บุคลากรทางการศึกษา ทั้งสิ้น 9๕ คน จำแนกเป็นผู้บริหาร ๔ คน ข้าราชการครู 7๕ คน ครูอัตราจ้าง ๒ คน ลกู จา้ งประจำ ๔ คน และลูกจา้ งชวั่ คราว ๑๑ คน จำนวนนกั เรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ถงึ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๖ จำนวน 1,620 คน ผู้บรหิ ารคนปัจจบุ นั คือ วา่ ที่รอ้ ยตรีพษิ ณุพล แตงออ่ น ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรยี น ชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะเป็นชุมชนเมืองที่กำลังขยายตัว มีหน่วยงานทางการศึกษาและ หน่วยงานราชการ ได้แก่ วิทยาลัยนาฏศิลป์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตศาลายา อาชีพหลักของชุมชน คือ เกษตรกรรม ค้าขาย มีการคมนาคมขนส่งสะดวกเอื้อต่อการจัดการศึกษาและ เป็นศูนย์กลางของชุมชน เนื่องจากที่ตั้งของโรงเรียนติดถนนศาลายา-นครชัยศรี และใกล้สถานีรถไฟศาลายา จากบริบทของโรงเรียนดังกล่าวได้สะท้อนถึงวิสัยทัศน์ (VISION) ของโรงเรียน คือ สถาบันผู้นำแห่งภูมิปัญญา และการเรียนรู้ สู่มาตรฐานสากล บนพื้นฐานความเป็นไทย และอัตลักษณ์ของโรงเรียน คือ “ยิ้มแย้ม ทักทาย ยกมอื ไหว้ สวสั ดี” ผลการประเมินตนเอง มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพผเู้ รียน ผลการประเมนิ ในระดับ ดี โรงเรยี นรัตนโกสนิ ทร์สมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสงั ฆราชูปถัมภ์ มีกระบวนการพัฒนาผ้เู รียน ในด้านผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นดว้ ยวิธีการทีห่ ลากหลาย โดยม่งุ เนน้ การพฒั นาผู้เรยี น ให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ ของโรงเรียน คือ “สถาบันผู้นำแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ สู่มาตรฐานสากล บนพื้นฐานความเป็นไทย” โดยจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เข้าร่วมโครงการ โรงเรียนมาตรฐานสากล และโครงการโรงเรยี นคุณภาพดา้ นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี (SMT) ตามมาตรฐาน สสวท. มกี ารพัฒนาปรับปรงุ การจัดการเรยี นการสอนให้สอดคลอ้ ง กับพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 โดยจัดกระบวนการ เรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง ตามแนวการสอนเชิงรุก (Active Learning) โดยการนำ RSBS Scout Model มาบูรณาการในการจัดการเรียนการสอนเพื่อทั้ง 8 กลุ่มสาระ การเรียน เพื่อพัฒนานกั เรียน ให้มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสอ่ื สาร และการคิดคำนวณ ส่งเสริม การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ส่งเสริมให้นักเรียนมีพัฒนาการและ ความสามารถในทกุ ดา้ น เน้นการส่งเสริมและสนับสนนุ ให้นักเรียนมีทักษะชีวิต (การสร้างอาชีพ) ลงมือปฏิบัติ จริงในการเรียนรู้ควบคู่กับการพัฒนาด้านคุณธรรมจริยธรรมที่เหมาะสมกับวัยของนักเรียน มีคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ คือ ดี เก่ง และนักเรยี นสามารถดำเนนิ ชีวิตอยูใ่ นสงั คมไดอ้ ย่างมีความสุข ในฐานะพลเมอื งไทย

ง และพลเมืองโลก โดยโรงเรียนมีปรัชญาโรงเรียนว่า“รักศักดิ์ศรี มีคุณธรรม นำวิชาการ สืบสานงาน พระราชดำริ” และมีอตั ลักษณโ์ รงเรียนคือ “ยม้ิ แย้ม ทกั ทาย ยกมอื ไหว้ สวัสดี”อนั เป็นเป้าหมายเพื่อปลูกฝัง นักเรียนให้เป็นผู้ที่มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ ที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขัน้ พื้นฐาน ขอ้ มูลหลกั ฐานเอกสารเชิงประจกั ษ์ ประกอบด้วย แบบสรปุ /รายงานการประเมินการนำเสนอช้นิ งาน/ผลงานรายงานกลุ่ม ผลงานโครงงานของนักเรียน วชิ าการส่ือสารและการนำเสนอ (IS2) ชน้ิ งานของนักเรียน ได้แก่ การเขียนเรียงความ การเขียนเชงิ สร้างสรรค์ รายงานสรุปโครงการวันรักภาษาไทย โครงการท่องโลกวัฒนธรรมและเรียนรู้ภาษาจีน รายงาน ผลการจัดกิจกรรมวันคริสต์มาส (กิจกรรมสัมผัส วัฒนธรรม “เทศกาลตรุษจีน”) โครงการส่งเสริม ความ เป็นเลิศทางคณิตศาสตร์ (กิจกรรมสนุกคิดคณิตศาสตร์) โครงการนิทรรศการสัปดาห์วันวิทยาศาสตร์ โครงการพัฒนาคุณภาพการเรยี นการสอน โครงการพัฒนาสู่ความเป็นเลิศด้านคอมพิวเตอร์ โครงการส่งเสรมิ การแข่งขันทักษะทางวิชาการ โครงการพัฒนาการเรียนการสอนวิชาศิลปะ โครงการส่งเสริมและพัฒนา ศักยภาพความเปน็ เลิศทางดา้ นนาฏศิลป์ โครงการสง่ เสริมและพัฒนาศกั ยภาพความเป็นเลศิ ทางดา้ นดนตรีไทย โครงการส่งเสริมและพัฒนาความสามารถทางด้านดนตรีสากล แผนการจัดการเรียนรู้ แบบสรุปผล การประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียน แบบสรุปการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน สมุดบันทึก การสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต แบบบันทึกผลการเรียนประจำรายวิชา (ปพ.5) ตัวอย่างโครงงานอาชีพ ของนักเรียน แบบสรุปการดำเนินโครงงานอาชีพของนักเรียน ผลงานนักเรียนรายวิชาการงานอาชีพ ภาพกิจกรรมการทำงานอาชีพของนักเรียน ภาพกิจกรรมการแนะแนวอาชีพ ผลงานของนักเรียนเกี่ยวกับ ป้ายนิเทศทางอาชีพ แบบบนั ทกึ การทำบญั ชรี ายรับ-รายจา่ ย จุดเด่น โรงเรียน โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมและโครงการที่หลากหลายเพื่อพัฒนาศักยภาพและ คุณภาพของผู้เรียน ทำให้ผู้เรียนได้รับรางวัลทางด้านวิชาการ เทคโนโลยี นาฏศิลป์ กีฬา ในระดับเขตพื้นที่ การศกึ ษาและระดบั ภูมิภาค นอกจากนีค้ รทู ี่ปรึกษาใหค้ วามร่วมมือในการดูแลชว่ ยเหลอื และส่งเสริมนักเรียนจน สามารถแก้ไขปัญหา และช่วยเหลือนักเรียนในเบื้องต้นได้ อีกทั้งนักเรียนเห็นคุณค่าในตนเอง มีทักษะ ในการดำรงชีวิตร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ด้านการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยโรงเรียนได้นำ กระบวนการลูกเสือมาใช้เพื่อเสริมสรา้ งคุณลักษณะอันพึงประสงคผ์ ู้เรยี นให้เป็นไปตาม RSBS Scout Model ส่งผลให้นักเรียนเรยี นตอ่ ไปในระดับทสี่ ูงข้นึ มากกวา่ รอ้ ยละ 95 นักเรยี นสามารถ แสดงการวเิ คราะห์การทำงาน และจดั ทำโครงงานอาชพี ไดอ้ ย่างเหมาะสม แผนพัฒนาเพอื่ ให้ไดม้ าตรฐานท่ีสงู ข้นึ จากการดำเนินงานของโรงเรียน ได้ค้นพบ สภาพปัญหาเรื่องความหลากหลายทางด้านความเป็นอยู่ ของนักเรียน ในช่วงสถานการณ์โรคระบาดโควิด ๑๙ ซึ่งทางโรงเรียนมีการจัดการเรียนการสอน Online มนี ักเรียนส่วนใหญ่ทป่ี ระสบปญั หาในเรอ่ื งการขาดแคลนอปุ กรณ์การเรียน อาทิ คอมพิวเตอร์ เคร่ืองมือสื่อสาร และอินเตอร์เน็ต wifi ในการเรียนที่บ้าน ทางโรงเรียนจึงได้มีการวางแผนพัฒนา สนับสนุน เรื่อง อุปกรณ์

จ การเรยี นของนักเรยี น เพอื่ บรรเทาให้นกั เรยี นไดร้ บั ความร้อู ย่างเสมอภาคจนกว่าการแก้ปัญหาเร่อื ง สถานการณ์ โรคระบาดโควิด๑๙ จะคลี่คลายลงและดำเนินการพัฒนานักเรียน โดยนำกระบวนการลูกเสือมาใช้เพ่ือ เสริมสรา้ งคณุ ลักษณะอนั พึงประสงคผ์ ้เู รียน ใหอ้ ย่บู นพืน้ ฐาน ดี เกง่ และมคี วามสขุ ให้เปน็ ไปตาม RSBS Scout Model อย่างต่อเน่อื งและย่งั ยนื มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ผลการประเมนิ ในระดบั ดเี ลศิ โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสงั ฆราชปู ถัมภ์ มกี ารกำหนดเปา้ หมาย วิสยั ทศั น์ และพันธกิจที่ชัดเจนสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนาของสถานศึกษา นโยบายการปฏิรปู การศกึ ษา ความต้องการของผ้ปู กครอง ชมุ ชน ท้องถน่ิ และสอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูป ตามแผนการศึกษาชาติ และดำเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา โดยใช้กระบวนการ และวิธีการทางลูกเสือในการบริหารจัดการสถานศึกษาที่เรียกว่า “RSBS Scout Model” เพื่อให้ทุกฝ่าย มีส่วนร่วมในการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่ชัดเจน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปีที่สอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการ พัฒนาและนโยบายการปฏิรูปการศึกษาที่มุ่งเนน้ การพัฒนาให้นกั เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตาม หลักสูตรสถานศึกษาควบคู่กับการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญตามมาตรฐานตำแหน่งและ มาตรฐานวิทยฐานะและส่งเสริมการมีสว่ นร่วมในการแลกเปล่ยี นเรียนรู้ทางวชิ าชีพ ทำให้เกดิ การเรียนรู้ร่วมกัน สร้างและสนบั สนนุ ให้สถานศกึ ษาเปน็ ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ เพอ่ื พฒั นาการจดั การเรียนรู้ ตดิ ตามการพัฒนาครู และบุคลากรด้วยกระบวนการนิเทศ ติดตามและพัฒนา (Coaching and Mentoring) มาใช้ในการพัฒนางาน และการเรยี นร้ขู องผเู้ รียน ขอ้ มูลหลักฐานเอกสารเชิงประจักษ์ ประกอบการพจิ ารณาประกอบด้วย แผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษา (แผน 4 ปี) แผนปฏบิ ตั ิการประจำปี เอกสารการแบ่งส่วนราชการ วารสารโรงเรยี น รายงานระบบ ชว่ ยเหลือนักเรยี น รายงานการเย่ียมบา้ นนักเรียน(ออนไลน์) รายงานการนเิ ทศภายใน ขอ้ มลู การพัฒนาบุคลากร สารสนเทศโรงเรยี น หลกั สตู รสถานศึกษาและรายงานการใช้หลักสตู รสถานศกึ ษา แผนการจดั การเรียนรู้ รายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน/การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน/คุณลักษณะอันพึงประสงค์ รายงานสรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ/กิจกรรม ปีงบประมาณ 2564 รายงานผลการปฏิบัติงานและ การประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ของครูและบุคลากร รายงานชุมชนแห่งการเรียนรู้ ทางวชิ าชพี คณะผูบ้ ริหารและคณะครู ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ - ๖ รายงานโครงการอบรมพัฒนาพัฒนาครู และบคุ ลากร โครงการต่าง ๆ สรปุ ผลการให้บริการสถานที่แก่ชมุ ชนและหน่วยงานภายนอก จุดเด่น โรงเรียน โรงเรียนมีกำหนด เป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่ชัดเจน สอดคล้องกับบริบท ของสถานศึกษา โดยใช้กระบวนการและวิธีการทางลูกเสือในการบรหิ ารจัดการสถานศึกษาที่เรียกว่า “RSBS Scout Model” โรงเรียนมีการจัดการ นิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผล การจัดการศึกษา ทเ่ี หมาะสมเปน็ ระบบอย่างตอ่ เนื่อง นำส่กู ารวางแผนพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา แผนปฏิบัติการประจำปี ท่ีสอดคล้องกับการ มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญตามมาตรฐาน

ฉ ตำแหน่ง มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ ทำวิจัยในชั้นเรียน สร้างนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ โดยใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศในการตรวจสอบ และประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ มีการดำเนินการจัดทำข้อมูลสารสนเทศให้มีความทันสมัย ถูกต้อง และครบถ้วนนำไปประยุกต์ใช้ได้ พฒั นาแหลง่ เรยี นรู้ในโรงเรียนจดั บรรยากาศสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่เน้นความปลอดภัย ให้บริการชุมชน และหน่วยงานภายนอกเข้าใช้สถานที่ไดอ้ ยา่ งคุ้มค่าและยงั่ ยนื แผนพฒั นาเพ่ือใหไ้ ดม้ าตรฐานทสี่ ูงข้นึ โรงเรยี นมีการวางแผนเพอ่ื พฒั นาดา้ นการบรหิ ารสถานศึกษา การสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้เกิดความเข้มแข็ง สู่การบริหารงานวิชาการที่เน้นคุณภาพนักเรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา พัฒนาหลักสูตรท้องถ่ิน และหลกั สูตรการศกึ ษาเพ่ือการสรา้ งงานอาชีพในอนาคต มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ ผลการประเมินในระดบั ดี จากบริบทโรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชูปถัมภ์ มีกระบวนการ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ โดยมีการศึกษาและวางแผนการวัดและประเมินผลที่มุ่งเน้น ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ ครูรจู้ กั ผเู้ รียนด้านพฤติกรรมเป็นรายบุคคลโดยผ่านกจิ กรรมการเยี่ยมบ้าน กจิ กรรมตามแบบ ประเมินพฤติกรรมในเดก็ (SDQ) ทำให้ทราบจุดแขง็ จดุ ออ่ น ช่วยเหลือคัดกรองปญั หา โดยมีการวิเคราะห์และ ประเมินผู้เรยี นเป็นรายบุคคล ทำให้ทราบความแตกต่างและข้อจำกัดของผู้เรียน ครูผู้สอนในแต่ละรายวิชาใช้ วธิ กี ารวัดและประเมินผลอย่างหลากหลายเพ่อื รูจ้ ักผ้เู รียนด้านการเรียน โดยครูได้จัดทำโครงสร้างรายวิชาและ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่เน้นผูเ้ รียนเป็นสำคัญ จดั ทำแผนการจัดการเรียนรู้ครบทุกรายวิชาในทกุ ชัน้ ปี และนำผล การประเมินมาจัดทำรายงานวจิ ัยในชน้ั เรียน เพือ่ พฒั นาการเรียนการสอนและแก้ปญั หาผูเ้ รียน ทำให้ผูเ้ รียนเกิด การเรียนรู้และเข้าใจเนื้อหา ทักษะกระบวนการ และเกิดเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ ซึ่งจะส่งผลให้นักเรียนมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้นและประสบผลสำเร็จในการศึกษาต่อในอนาคต มีการตรวจสอบและประเมิน ผู้เรียนอย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนโดยใช้เครือ่ งมอื และวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมายในการ จัดการเรียนรู้ มีการจัดนิเทศการสอนครูแบบกัลยาณมิตรเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครูมีผลงานการใช้ กระบวนการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน เผยแ พร่งานวิจัย และมีการสะท้อนผลกลับเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ มีการจัดตั้งกลุ่มชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู (PLC) มีการอบรมให้ความรู้แก่คณะครูเกี่ยวกับชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู ติดตามประเมินผล สะท้อนกลับท่คี รไู ดพ้ ัฒนา และปรบั ปรงุ การจัดการเรียนรู้ท่ีส่งผลตอ่ ผู้เรียน มีการจดั อบรมให้ความรู้แก่คณะครู ในการนำไปพัฒนาการจดั กระบวนการเรียนรูใ้ หก้ ับนักเรียน ซง่ึ เป็นชว่ งของสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรค ตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ทำใหค้ รูเกิดการแลกเปลยี่ นเรียนรกู้ ารนำเทคโนโลยมี าใชใ้ นการเรียน การสอนออนไลน์ มกี ารพฒั นาอย่างต่อเน่อื งเทา่ ทันตอ่ สถานการณป์ จั จบุ ัน ข้อมูลหลักฐานเอกสารเชิงประจักษ์ ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ครบทุกรายวิชาในทุกชั้นปี การวิเคราะห์ข้อสอบของครูผู้สอน แบบนิเทศการสอนของครูผู้สอนของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ รายงานการจดั กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน บันทึกการใช้สอ่ื และแหล่งการเรยี นร้ทู ่ีหลากหลาย แบบประเมนิ การสอน ของครูโดยนักเรียน รายงานวิจัยในชั้นเรียน แบบแสดงผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ปพ.๕ ข้อมูลผลสัมฤทธิ์

ช ทางการเรียน รายงานนิเทศการสอน รายงานชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู (PLC) บันทึกการประชุมครู เกียรตบิ ัตรการอบรมพฒั นาครูท้ังภายในและภายนอกโรงเรียน จุดเด่น ครูมีศักยภาพมีความตั้งใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการสอน โดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้ ที่เน้นทักษะกระบวนการคิด ได้ปฏิบัติจริง มีการใช้วิธีการสอนและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้นักเรียน แสวงหาความรจู้ ากสอ่ื เทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างต่อเนอ่ื ง สามารถสรา้ งสรรคผ์ ลงานท้งั ต่อตนเองและโรงเรยี น แผนพัฒนาเพื่อให้ได้มาตรฐานทีส่ ูงขึ้น โรงเรียนมีแผนพัฒนาด้านการจัดหาอุปกรณ์ด้านเทคโนโลยี และอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอนทั้งในห้องเรียน การสอนออนไลน์ให้มีความทันสมัย รองรับ แอพพลเิ คช่นั ใหมท่ ่ีจำเป็นในการจดั การเรยี นการสอน เพอ่ื สนับสนนุ ในการจัดการเรียนการสอนของครูสู่ผู้เรียน อย่างมีคุณภาพ สรปุ ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนรตั นโกสินทรส์ มโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชปู ถมั ภ์ ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ตามที่โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชูปถัมภ์ ได้ดำเนินการประเมิน คุณภาพภายในสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ ตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ โดยจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเสนอต่อสาธารณชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและเพื่อรองรับการประเมนิ คุณภาพภายนอกบัดนี้การดำเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงขอเสนอผล ารประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา แสดงในตาราง สรปุ ผลไดด้ ังนี้ ระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน สรุปผลการประเมนิ ภาพรวม ( ) กำลังพฒั นา ( ) ปานกลาง (√ ) ดี ( ) ดเี ลศิ ( ) ยอดเย่ียม มาตรฐาน/ตัวบง่ ชี้ ระดับคณุ ภาพ มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผเู้ รียน ดี มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดีเลิศ ดี มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรยี นเปน็ สำคญั

๑ ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู พน้ื ฐานของสถานศึกษา ๑. ข้อมูลเกย่ี วกบั สถานศกึ ษา ๑.๑ ประวัตคิ วามเป็นมาของโรงเรยี น โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชูปถัมภ์ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 92 หมู่ 3 ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม รหัสไปรษณีย์ 73170 ประกาศจัดตั้งเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2522 แรกเริ่มใช้ชื่อว่า “โรงเรียนบวรนิเวศพิทยา”ต่อมาเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ.2524 กระทรวงศึกษาธิการได้ ประกาศเปลี่ยนชื่อเป็น โรงเรียนบวรนิเวศศาลายา นับตั้งแต่ ประกาศจัดตั้งโรงเรียนมาจนถึง พ.ศ. 2525 โรงเรียนกย็ ังไม่ได้เปิดรบั นักเรียนเนื่องจากมปี ญั หาท่ีดินจะก่อสร้างโรงเรยี น ตอ่ มาวันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2525 รัฐบาลได้กำหนดให้เป็นปีเฉลิมฉลองกรุงรัตนโกสินทร์ครบรอบ 200 ปี และได้กำหนดให้โรงเรียนแห่งนี้เป็น อนสุ รณใ์ นการสมโภชกรุงรตั นโกสนิ ทร์ด้วยโรงเรยี นหนงึ่ จงึ ได้เปลย่ี นชื่อโรงเรียน วา่ “โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภช บวรนิเวศศาลายา ”และได้เปิดรับนักเรียนใน ระดับมัธยมศึกษาแบบสหศึกษา ซึ่งกรมสามัญศึกษา ได้แต่งตั้งให้ นายอนันต์ คงถาวร ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนวัดบวรนิเวศ มารักษาการในตำแหน่งครูใหญ่ ซึ่งในระยะแรก ได้อาศัยโรงเรียนวดั สาลวนั เปน็ สถานที่เรยี นชั่วคราวพร้อมกันน้ีได้รับงบประมาณก่อสรา้ ง อาคารเรียนแบบพเิ ศษ เปน็ แบบรตั นโกสินทร์สมโภช 4 ช้นั 20 หอ้ งเรยี นจำนวน 1 หลงั ในปีการศึกษาแรกมีนักเรยี นระดับมัธยมศึกษา ปีที่ 1 จำนวน 4 ห้องเรียนนักเรียน 137 คน ครู-อาจารย์ 11 คน สำหรับการบริหารราชการนั้นให้ขึ้นตรงต่อ กรมสามัญศึกษา (ต่อมาวันที่ 20 กรกฎาคม 2525 กระทรวงได้สั่งให้การบริหารราชการขึ้นตรงต่อจังหวัด นครปฐม) ในปีการศึกษา 2526 โรงเรียนได้รับนักเรียนเพิ่มขึ้นเป็น 9 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน 335 คน ครู – อาจารย์ 17 แตย่ งั อาศยั อาคารเรยี นของโรงเรียนวดั สาลวันเช่นเดิมอยู่ ในปีการศกึ ษา 2527 อาคารเรียน แหง่ ใหมไ่ ด้สร้างเสร็จจงึ ได้ย้ายมาเรียน ณ โรงเรียนปจั จบุ นั น้ี ซ่ึงเป็นท่ดี นิ ของวัดบวรนิเวศวิหาร มีเนื้อท่ี 80 ไร่ 64 ตารางวา หลงั จากท่ไี ด้ย้ายมาอยใู่ นท่ีแห่งใหมน่ ี้ จำนวนนกั เรียน ครู – อาจารย์ ได้เพม่ิ ขน้ึ ทุกๆปี โรงเรียนได้ ขยายชั้นเรียนปลี ะ 1 ชัน้ จนกระท่ังถึงมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 สำหรบั ชอ่ื ปจั จุบันทเี่ ปน็ ทางการคอื โรงเรียนรัตนโกสินทร์ สมโภชบวรนิเวศศาลายา กระทรวงศึกษาธิการไดป้ ระกาศให้โรงเรยี นรัตนดกสนิ ทรส์ มโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชูปถัมภ์ เป็นโรงเรียนสังกัดส่วนกลางพิเศษ โดยสังกัดกลุ่มที่ 9 กรมสามัญศึกษา และในปีการศึกษา 2543 กรมสามัญศกึ ษาสัง่ ให้ยุบโรงเรียนในสังกัดสว่ นกลางกลุ่มท่ี 9 ทงั้ หมดลง โดยให้ขน้ึ ตรงกบั จงั หวดั ทโ่ี รงเรียนต้ังอยู่ ในปีการศึกษา 2546 โรงเรียนได้รับการคัดเลือกจากกระทรวงศึกษาธิการตามโครงการ \"หนึ่งอำเภอ หนึ่งโรงเรียนในฝัน \" ให้เป็นโรงเรียนในฝันของอำเภอพุทธมณฑล และปีการศึกษา 2549 โรงเรียนได้รับการ ยกย่องให้เป็น\" โรงเรียนที่ได้รับความนิยมสูง \" จากกระทรวงศึกษาธิการ และเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล ปกี ารศึกษา 2552

๒ ในปัจจุบัน มี ว่าที่ร้อยตรี พิษณุพล แตงอ่อน ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน มีจำนวนนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 1,628 คน ผู้บริหารจำนวน 4 คน ครู จำนวน 75 คน ลูกจ้างประจำ จำนวน 4 คน ลูกจ้างชั่วคราว จำนวน 9 คน จ้างเหมาบริการ จำนวน 1 คน ครูอัตราจ้าง (ชาวตา่ งชาต)ิ จำนวน 2 คน ธุรการโรงเรยี น (สพม.) จำนวน 1 คน รวมทัง้ สิน้ จำนวน 92 คน ๑.๒ ขอ้ มูลทั่วไป ช่ือสถานศกึ ษา: โรงเรยี นรัตนโกสินทร์สมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสงั ฆราชปู ถัมภ์ ทอี่ ย:ู่ เลขที่ 92 หม่ทู ี่ ๓ ตำบลศาลายา อำเภอพทุ ธมณฑล จังหวดั นครปฐม รหัสไปรษณยี ์ 7๓170 สังกดั : สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศกึ ษานครปฐม โทรศพั ท์: 02–482115๓-6 โทรสาร: 02–482115๓-6 E-Mail : [email protected] เปดิ สอน: ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ถงึ ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 จำนวนวันทีโ่ รงเรยี นเปดิ การจัดการเรียนการสอนในปีการศึกษา ๒๕๖๔ จำนวน ๒๐๐ วนั ๑.๓ ขอ้ มลู ผู้บรหิ าร ๑) ผู้อำนวยการสถานศึกษา ว่าที่ร้อยตรีพิษณุพล แตงอ่อน วุฒิการศึกษาสูงสุด คุรุศาสตรมหาบัณฑิต สาขา การบริหารการศึกษา โทรศัพท์ 081-8567155 e-mail: [email protected] ดำรงตำแหน่งที่ โรงเรียนน้ตี ้งั แต่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 จนถึงปจั จุบัน เปน็ เวลา ๗ ปี 5 เดอื น ๒) รองผู้อำนวยการสถานศกึ ษา (ตามมาตรฐานตำแหน่ง) จำนวน ๓ คน ๒.๑ ชื่อ-สกุล นายสมเกียรติ ฐานบัญชา วุฒิการศึกษาสูงสุด คุรุศาสตรมหาบัณฑิต สาขา การบริหารการศึกษา โทรศัพท์ 085-1855167 e-mail: [email protected] รับผิดชอบฝ่าย (ตามโครงสรา้ งการบริหารงานของสถานศกึ ษา) และกลุ่มบริหารงานบคุ คล ๒.๓ ชื่อ-สกุล นางสาวอิสรีย์ ด่านพิชิตชัยศ์ วุฒิการศึกษาสูงสุด ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขา การบริหารการศึกษา โทรศัพท์ 085-4498791 e-mail:[email protected] รับผิดชอบฝ่าย (ตามโครงสร้างการบริหารงานของสถานศึกษา) กล่มุ บรหิ ารวชิ าการ และกลมุ่ บริหารท่วั ไป ๒.๓ ชื่อ-สกุล นางสาวธัณฐภรณ์ สิมมา วุฒิการศึกษาสูงสุด ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขา การบรหิ ารการศกึ ษา โทรศัพท์ 087-7449911 e-mail: [email protected] รับผดิ ชอบฝ่าย (ตามโครงสร้างการบริหารงานของสถานศกึ ษา) กลุม่ บริหารงบประมาณ

๓ ๒. โครงสรา้ งการบรหิ ารงานโรงเรยี นรตั นโกสินทรส์ มโภชบวรนเิ วศศาลายา ในพระสังฆราชูปถัมภ์ ผู้อำนวยการโรงเรยี น คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รองผ้อู ำนวยการ รองผอู้ ำนวยการ รองผู้อำนวยการ รองผอู้ ำนวยการ กลมุ่ บริหารวิชาการ กลมุ่ บรหิ ารงบประมาณ กลมุ่ บริหารงานบคุ คล กลุ่มบริหารทัว่ ไป 1. งานพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษา 1. งานแผนงานและจัดทำคำ โ 1. งานวางแผนอัตรากำลังและ 1. งานสำนักงานผ้อู ำนวยการ 2. งานพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ของบประมาณ 2. งานดำเนินงานธรุ การ ๓ งานวัดผล ประเมินผล และเทยี บ กำหนดตำแหน่งสรรหาและ ๓. งานประสานงานและพัฒนา โอนผลการเรียน 2. งานตรวจสอบ ติดตาม เครือขา่ ยการศึกษา 4. งานวจิ ยั เพือ่ พฒั นาคุณภาพการศึกษา บรรจุแต่งตั้ง 4. งานพัฒนาระบบและเครือข่าย 5. งานพฒั นาสอื่ นวตั กรรม ประเมินผลและรายงาน ข้อมลู สารสนเทศ และเทคโนโลยีทางการศึกษา 2.งานทะเบียนประวัติและยก 5. งานอนามัยโรงเรียน 6. งานพัฒนาและส่งเสรมิ แหลง่ เรยี นรู้ ๓. งานการเงินและการบญั ชี 6. งานเทคโนโลยีเพอ่ื การศกึ ษา 7. งานนเิ ทศการศึกษา ย่องเชดิ ชเู กยี รติ 7. งานดูแลอาคารสถานที่และ 8. งานพัฒนาและดาเนนิ งานสาระ 4. งานพัสดุ และสินทรพั ย์ สภาพแวดลอ้ ม หลักสตู รท้องถิ่น ๓. งานวินัยและการรักษาวินยั 8. งานประสานราชกา รส ่ วน 9. งานวางแผนงานด้านวิชาการ 5. งานระดมทรพั ยากรและการ ภูมิภาคและสว่ นท้องถนิ่ 10. งานจัดการเรยี นการสอน และออกจากราชการ 9. งานส่งเสริมสนับสนุนและ 11. งานจัดทาระเบยี บและแนว ลงทุนเพอื่ การศกึ ษา ประสานการศึกษาของบุคลากร ปฏิบตั ิงานดา้ นวิชาการของ 4.ง า น พ ั ฒ น า ส ่ ง เ ส ริ ม ชุมชน องค์กรหน่วยงานและ สถานศึกษา 6. งานจัดหาผลประโยชน์กับ สถาบนั สังคมอ่นื ทีจ่ ดั การศกึ ษา 12. งานคดั เลอื กหนังสอื แบบเรยี น ข้าราชการ และบุคลากร 10.งานวางแผนการบริหารงาน เพอ่ื ใช้ในสถานศกึ ษา ทรัพยส์ ิน การศึกษา 1๓. งานแนะแนว ทางการศกึ ษา 11.งานจัดทำสำมะโนนกั เรียน 14. งานส่งเสรมิ ชมุ ชนใหม้ ีความ 7. งานกองทุนเพอ่ื การศึกษา 12.งานเสนอความเห็นเกี่ยวกับ เข้มแข็งทางวิชาการ 5.ง า น ป ร ะ เ ม ิ น ผ ล ก า ร เรื่องการจัดตั้ง ยุบ รวมหรือเลิก 15. งานประสานความรว่ มมือในการ 8.งานวิจัยเพื่อพัฒนานโยบาย สถานศกึ ษา พัฒนาวชิ าการกับสถานศกึ ษาและ ปฏิบตั งิ าน 1๓.งานประสานการจัดการศึกษา องค์กรอืน่ และแผน ในระบบนอกระบบและตาม 16. งานสง่ เสริมและสนบั สนุนงาน 6. ง า น ร า ย ง า น ผ ล ก า ร อัธยาศยั วิชาการแกบ่ คุ คล ครอบครวั องคก์ ร 9.งานสารสนเทศโรงเรียน ปฏิบตั งิ าน 14. งานโภชนาการ หนว่ ยงานสถานประกอบการ และ 7. งานกจิ การนกั เรียน 15. งานทัศนศกึ ษา สถาบันอืน่ ท่ีจัดการศึกษา 10.งานจัดระบบการควบคุม 8. ง า น ร ะ บ บ ด ู แ ล ช ่ ว ย เ ห ลื อ 16. งานประชาสัมพันธ์งาน 17.งานรับนกั เรยี น นักเรยี น การศึกษา 18. งานพฒั นาระบบประกนั ภายในหน่วยงาน 9.ง า น ต ่ อ ต ้ า น ส า ร เ ส พ ต ิ ด ใ น คุณภาพภายในสถานศกึ ษา สถานศกึ ษา 11.งานจัดระบบการบริหาร 10.ง า น ค ุ ณ ธ ร ร ม จ ร ิ ย ธ ร ร ม นักเรียน และพฒั นาองค์กร 11.งานส่งเสริมประชาธิปไตย ในโรงเรียน 12. งานรกั ษาความปลอดภัย 1๓. งานส่งเสริมระเบียบวินัย นกั เรยี น

๔ ๓. ขอ้ มูลขา้ ราชการครูและบุลากรทางการศึกษา ๓.๑ ขา้ ราชการครู พนกั งานราชการ อัตราจา้ ง ที่ ชือ่ -นามสกุล อายุ อายุ ตำแหน่ง/ วุฒิ สาขาวิชา สอนกลุ่ม ภาระงาน จำนวนชว่ั โมงที่ ราชการ วทิ ยฐานะ สาระการ สอน เข้ารับการ (คาบ/ พฒั นา เรียนรู้ สปั ดาห์ (ปีปัจจบุ ัน) กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ๑ นางชนชญา สงั ข์พญา 4๑ ๑๓ ครู คศ. ๓ ค.ม. การบริหาร ภาษาไทย 24 91 การศึกษา ๒ นายวชั รินทร์ แก้วดำรงค์ 4๕ ๑๔ ครู คศ. 2 ศษ.ม. การบรหิ าร ภาษาไทย 2๓ 74 การศึกษา ๓ น.ส.วชิราภรณ์ สุวรรณวรางกรู ๓๖ ๑๓ ครู คศ. ๓ อ.ม. ภาษาไทยเพอ่ื การ ภาษาไทย 21 48 พฒั นาอาชีพ 4 น.ส.ทัศนาภรณ์ บัญชรมา ๓๗ ๑๓ ครู คศ. 2 ศษ.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย 27 20 พรรณ 5 น.ส.วรรณฉวี ศรโี ยธา 2๘ ๓ ครู ศษ.บ. การสอนภาษาไทย ภาษาไทย 24 116 6 น.ส.วนดิ า เล้ยี งอำนวย ๓๐ ๒ ครู ค.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย 27 162 7 น.ส.วีราวรรณ โฆษิตสุคต ๔๐ ๑๑ ครู คศ. 2 ศษ.ม. การสอนภาษาไทย ภาษาไทย 24 100 กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ 8 น.ส.ฐิติรตั น์ จันทร์อำพร ๕๙ ๓๕ ครู คศ. ๓ ค.ม. การบรหิ าร คณิตศาสตร์ 19 12 การศกึ ษา 9 น.ส.รตั นาภรณ์ มีรักษา 4๘ ๒๕ ครู คศ. ๓ วท.ม. เทคโนโลยีวิจยั คณติ ศาสตร์ 22 42 การศึกษา 10 น.ส.นันทนา พิสนิ นาวงษ์ ๖๐ ๓๔ ครู คศ. 2 บธ.บ ธุรกิจศกึ ษา คณติ ศาสตร์ 19 ๓6 (การบัญชี) 11 นางสริ ิพร ฉิมพาลี 5๒ ๒๘ ครู คศ. 2 คม. คณคิ ศาสตร์ คณิตศาสตร์ 22 18 12 นางจีรวรรณ วรยศ 4๖ ๒๔ ครู คศ. ๓ วท.ม. สถติ ิประยกุ ต์ คณิตศาสตร์ 21 128 1๓ นางจิตณา มน่ั คง 4๔ ๑๕ ครู คศ. ๒ ค.ม. วจิ ัยการศกึ ษา คณิตศาสตร์ 21 24 14 นายจมุ พล เนยี มแสวง 4๑ ๑๔ ครู คศ. 2 ค.บ. คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ 19 12 15 นางพชั รพร เผดมิ ๓๕ ๑๐ ครู คศ. 2 ค.บ. คณติ ศาสตร์ คณิตศาสตร์ 19 56 16 น.ส.อษุ า ภริ มยร์ ักษ์ ๓๐ ๖ ครู ศษ.ม. หลกั สตู รและ คณิตศาสตร์ 18 20 การสอน 1๗ นายปธานนิ สมบัตบิ ริรักษ์ ๓๓ ๕ ครู ค.บ. คณิตศาสตร์ คณติ ศาสตร์ 21 ๓2 1๘ น.ส.ทิพวรรณ ปัสสาพันธ์ 2๗ ๓ ครู ค.บ. คณติ ศาสตร์ คณิตศาสตร์ 21 60 ๑๙ น.ส.ศุภกานต์ พงษว์ ิเศษ ๓๐ ๒ ครู ค.บ. คณติ ศาสตร์ คณติ ศาสตร์ 21 ๓6 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒๐ นายดวงอนุชา บวั งาม 4๗ ๑๗ ครู คศ. ๓ ค.ม. การบรหิ าร วทิ ยาศาสตร์ 18 24 การศึกษา ๒๑ นางสุวรรณธาดา ธัญญเกษตร ๖๐ ๓๕ ครู คศ. 2 วท.บ. เคมี วทิ ยาศาสตร์ 21 ๓6 ๒๒ นางปทติ ตา อากาศฤกษ์ ๕๐ ๒๘ ครู คศ. ๓ คษ.ม. การบริหาร วทิ ยาศาสตร์ 22 ๓8 การศกึ ษา

๕ ท่ี ช่ือ-นามสกลุ อายุ อายุ ตำแหนง่ / วฒุ ิ สาขาวิชา สอนกลุ่ม ภาระงาน จำนวนชั่วโมงท่ี ราชการ วทิ ยฐานะ สาระการ สอน เขา้ รบั การ เรยี นรู้ (คาบ/ พฒั นา สปั ดาห์ (ปีปัจจุบัน) 2๓ น.ส.นฤมล ศริ ธิ านันท์ 4๓ ๑๓ ครู คศ.2 ค.ม. การบริหาร วิทยาศาสตร์ 17 70 การศึกษา ๒๔ นายสิปปแ์ สง สขุ ผล ๓๙ ๑๕ ครู คศ. 2 ค.ม. การบริหาร วิทยาศาสตร์ 17 86 การศึกษา ๒๕ น.ส.สนุ ิษา อาจอ่อนศรี ๓๘ ๑๔ ครู คศ. ๓ คษ.ม. การบรหิ าร วทิ ยาศาสตร์ 21 108 การศึกษา ๒๖ น.ส.เออ้ื งฟ้า เรอื งผึง้ ๓๖ ๑๓ ครู คศ. 2 วท.บ. ชวี วทิ ยา วิทยาศาสตร์ 19 24 ๒๗ นายแสวง ทองปาน ๕๐ ๒๖ ครู คศ. ๓ ค.ม. การศึกษา วทิ ยาศาสตร์ 19 22 วิทยาศาสตร์ ๒๘ นางสุรสั วดี เภารศั มี 4๗ ๒๔ ครู คศ. 2 ค.บ. เคมี วทิ ยาศาสตร์ 18 20 ๒๙ น.ส.จริ าพร นลิ าพันธ์ 4๓ ๑๒ ครู คศ. 2 ค.ม. หลักสตู รและ วทิ ยาศาสตร์ 20 212 การสอน ๓๐ นางพสั ตราภรณ์ สุดล้ำเลิศ ๓๖ ๑๐ ครู คศ. 2 วท.ม. เคมี วทิ ยาศาสตร์ 18 20 ๓๑ นายชรนิ ทร รจุ พิ ูนพงศ์ ๓๑ ๗ ครู คศ. 2 ค.ม. หลกั สตู รและ วทิ ยาศาสตร์ 18 20 การสอน ๓๒ น.ส.เนตรนภา ดิษเจริญ 2๙ ๕ ครู ค.บ. วทิ ยาศาสตร์ทวั่ ไป วทิ ยาศาสตร์ 19 50 ๓๓ นายวีระพงษ์ วชิ ยั 4๕ ๑๓ ครู คศ. 2 ค.ม. การบรหิ าร เทคโนโลยี 19 ๓8 การศึกษา ๓๔ น.ส.เพ็ญศรี สรรพคง ๔๐ ๑๑ ครู คศ. 2 ค.ม. การบริหาร เทคโนโลยี 18 ๓8 การศึกษา ๓๕ นายศักดณ์ิ รงค์ กาสนิ ธ์พุ ลิ า ๓๖ ๗ ครู คศ. 2 ค.ม การบริหาร เทคโนโลยี 18 20 การศกึ ษา คอมพิวเตอรแ์ ละ ๓๖ น.ส.โชษติ า มะลทิ อง ๓๒ ๔ ครู ค.บ. เทคโนโลยี เทคโนโลยี 18 20 สารสนเทศ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๓๗ นายสุรมิตร ศรีเสนพิลา 5๕ ๓๑ ครู คศ. ๓ กศ.บ. สงั คมศึกษา สงั คมศกึ ษา 25 15 ฯ ๓๘ น.ส.อญั ชลี ลอ้ ทนงศกั ด์ิ 5๘ ๒๘ ครู คศ. ๓ ค.ม. หลักสตู รและ สังคมศกึ ษา 21 108 การสอน ฯ ๓๙ นายสมพร เลก็ จนิ ดา ๓๗ ๑๐ ครู คศ. 2 ค.ม. การบรหิ าร สังคมศกึ ษา 19 20 การศึกษา ฯ ๔๐ นายคมกรชิ น้อยจินดา ๓๖ ๑๐ ครู คศ. 2 ค.บ. สังคมศึกษา สงั คมศกึ ษา 20 ๓8 ฯ ๔๑ น.ส.สุทธญา นิศากร 2๙ ๕ ครู ค.บ. สังคมศกึ ษา สังคมศึกษา 22 92 ฯ ๔๒ นางศริ ดา รตั นรงั สฤษฏ์ 2๘ ๕ ครู ศษ.บ. สงั คมศึกษา สังคมศกึ ษา 26 ๓2 ฯ ๔๓ น.ส.ขวญั ชนก จกั รแกว้ 2๙ ๖ ครู ค.บ. สังคมศึกษา สังคมศึกษา 26 20 ฯ ๔๔ นายทรรศรลั เผา่ พันธ์ 2๗ ๓ ครู ค.บ. สงั คมศกึ ษา สังคมศกึ ษา 24 20 ฯ

๖ ที่ ชื่อ-นามสกุล อายุ อายุ ตำแหนง่ / วฒุ ิ สาขาวชิ า สอนกลมุ่ ภาระงาน จำนวนชัว่ โมงที่ ราชการ วทิ ยฐานะ สาระการ สอน เขา้ รบั การ การสอนสงั คม เรียนรู้ (คาบ/ พัฒนา ๔๕ ว่าทรี่ ้อยตรีหญงิ ศรัญญา ขาว ๓๕ ๙ ครู คศ. 2 ศบ.ม. ศกึ ษา สัปดาห์ (ปีปจั จบุ นั ) ผ่อง สังคมศึกษา สังคมศึกษา ฯ 25 58 ๔๖ นายศลิ ชยั ถาวร 2๘ ๒ ครู กศ.บ. วิจยั และ สงั คมศึกษา 20 204 ประเมินผล ฯ การศึกษา ๔๗ นางปณุ ยานชุ ใจงาม 4๙ ๙ ครู คศ. 2 ค.ม. สงั คมศึกษา 28 24 ฯ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา สขุ ศกึ ษา ๔๘ น.ส.อาภรณ์ หุน่ สวัสดิ์ 5๘ ๓๓ ครู คศ. ๓ ศศ.ม. พลศกึ ษา และพล 20 56 ศกึ ษา 24 24 สุขศกึ ษา 21 42 ๔๙ นายประเสรฐิ ดเี อีย่ ม 5๔ ๕ ครู ค.บ. พลศึกษา และพล 26 20 ศกึ ษา 21 2 สขุ ศึกษา ๒๐ ๓๘ ๕๐ นายสันติภาพ อุปสิทธ์ิ 2๘ ๓ ครู ค.บ. พลศกึ ษา และพล 15 18 16 12 ศึกษา 22 ๓2 18 186 พลศกึ ษาและ สุขศกึ ษา 18 44 ๕๑ นางสาวภัทรภร บญุ ทวีมติ ร 2๖ 2 ครู กศ.บ. วิทยาศาสตร์ และพล 21 ๓2 18 18 การออกกำลังกาย ศกึ ษา 21 50 สขุ ศกึ ษา ๕๒ น.ส.พชั รียา พายัพทวิ า ๓๐ ๑ ครผู ้ชู ่วย ศษ.บ. สขุ ศึกษา และพล ศึกษา สุขศกึ ษา ๕๓ นายอรณุ จนั ทบุตร ๔๕ ๑๐ ครู คศ. 2 ค.บ. พลศึกษา และพล ศึกษา กลุม่ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ ๕๔ นางจริ ฐา ธรรมรกั ษ์ 5๕ ๒๙ ครู คศ. ๓ ศศ.บ. การจัดการท่ัวไป ศิลปะ ๕๕ นายวรเทพ กว้างสวาสด์ิ ๖๐ ๓๕ ครู คศ. 2 บธม. การบริหาร ศลิ ปะ ทรพั ยากรมนุษย์ ๕๖ นายสทิ ธเิ ทพ เลย้ี งรักษา ๔๐ ๑๕ ครู คศ. 2 ค.บ. ดนตรีศึกษา ศิลปะ ๕๗ น.ส.จันทพร เมฆจันทร์ ๓๙ ๑๑ ครู คศ. 2 ค.ม. การบริหาร ศิลปะ การศกึ ษา ๕๘ น.ส.พรรณธิภา เซย่ี งฉิน ๓๐ ๕ ครู ศษ.ม. หลักสตู รและ ศิลปะ นวัตกรรม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ ๕๙ นายฉตั รชยั คะชา ๖๐ ๓๘ ครู คศ. ๓ วท.ม. เกษตร การงาน อาชพี ๖๐ นายพิชติ ส่ำประเสริฐ ๖๐ ๓๘ ครู คศ. ๓ ค.บ. อตุ สาหกรรมศิลป์ การงาน อาชพี ๖๑ นางณชิ รัตน์ ทองธรรมชาติ ๓๗ ๒ ครู คศ.บ. คหกรรมศกึ ษา การงาน อาชีพ

๗ ท่ี ช่อื -นามสกลุ อายุ อายุ ตำแหน่ง/ วุฒิ สาขาวชิ า สอนกลุ่ม ภาระงาน จำนวนชั่วโมงท่ี ราชการ วิทยฐานะ สาระการ สอน เข้ารบั การ เรยี นรู้ (คาบ/ พฒั นา ๖๒ นางสาวสพุ รรณณี สกลุ พฤทธิ์ ๓๘ ๖ ครู วท.บ. คหกรรมศาสตร์ สัปดาห์ (ปีปจั จุบัน) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ ทัว่ ไป การงาน อาชีพ 25 12 ๖๓ น.ส.วาสนา พวงแกว้ ๔๑ ๑๕ ครู คศ. ๓ ค.บ. ภาษาองั กฤษ ภาษาต่าง 22 20 ประเทศ ๖๔ นางปทิตตา สาทรกจิ ๕๕ ๒๗ ครู คศ. ๓ ศษ.บ. ภาษาองั กฤษ ภาษาต่าง 2๓ 18 ๖๕ นางภสั สร ทิมาศาสตร์ ประเทศ 20 45 ๖๖ น.ส.อาภสั รา อนุ ต๊ะ 25 5๓ ๖๗ น.ส.ณัฏฐพชั ร ฝดั คา้ ๕๒ ๒๘ ครู คศ. ๓ ค.ม. การบรหิ าร ภาษาตา่ ง 24 47 ๖๘ น.ส.เกศกนก วิชยั การศกึ ษา ประเทศ 24 12 ๖๙ น.ส.วิมลวรรณ เวชวบิ ูลย์ 27 ๓2 ๗๐ นายพศนิ กติ ศิ รี ๓๖ ๑๒ ครู คศ. 2 ค.บ. ภาษาจีน ภาษาตา่ ง 21 12 ประเทศ 2๓ 51 ๔๐ ๑๑ ครู คศ. 2 ศศ.บ ภาษาอังกฤษธรุ กิจ ภาษาตา่ ง ประเทศ 21 21 ๑๗ ๘ ๓๔ ๒ ครู ศศ.บ. องั กฤษธุรกิจ ภาษาต่าง ๒๐ ๘ ประเทศ 21 60 ๒๘ ๓ ครู ศษ.บ. ภาษาองั กฤษ ภาษาตา่ ง 19 48 ประเทศ 21 28 ๒๘ ๓ ครู ค.บ. ภาษาจีน ภาษาต่าง ประเทศ ๗๑ นางวีรยา สงวนพวก ๓๕ ๖ ครู การสอนภาษาจนี ภาษาต่าง ศศ.ม. ในฐานะภาษา ประเทศ ต่างประเทศ ๗๒ นางสาวพรทพิ ย์ อรณุ สโุ ข ๕๔ ๒๘ ครู คศ. ๓ ศษ.ม. หลักสตู รและ ภาษาต่าง การนเิ ทศ ประเทศ ๗๓ Mr. Jahdiel Abara ๔๒ ครูอัตรา ศษ.บ. ภาษาอังกฤษ ภาษาต่าง จา้ ง ประเทศ ๗๔ Mrs.Florence ๓๖ ครูอัตรา ศษ.บ. ภาษาอังกฤษ ภาษาตา่ ง Nabulungu จ้าง ประเทศ กลุม่ พัฒนาผู้เรียน ๗๕ นางทรพั ย์ ถวลิ ๕๙ ๓๐ ครู คศ. ๓ ค.บ. แนะแนว กลุ่มพัฒนา ๒๙ ๑ ครผู ู้ชว่ ย ค.บ. ผเู้ รยี น ๗๖ น.ส.สุพรรษา แสงพงษ์ ๒๙ ๑ ครผู ชู้ ่วย กษ.บ. จิตวิทยา จติ วทิ ยา กลุ่มพฒั นา ๗๗ น.ส.จิราวรรณ ฤทธิ์สวุ รรณา การแนะแนว ผูเ้ รียน กล่มุ พฒั นา ผู้เรยี น

๘ ๓.๒ ขา้ ราชการ/ พนกั งานจา้ ง/ ลูกจา้ ง (สนบั สนนุ การสอน) ที่ ชื่อ-นามสกุล อายุ ตำแหน่ง วฒุ ิ สาขา ปฏิบัตหิ นา้ ที่ จ้างด้วยเงนิ ๑ นายประมวล พิมพ์แกว้ 1 เมษายน 25๓5 ๕๔ พนักงาน ปวช. การตลาด 1 ตลุ าคม 2540 เงนิ งบประมาณ ๒ นายหร่งั นงคราญ ขับรถยนต์ 8 ตลุ าคม 25๓๓ ๓ นางสะอาด เทยี มหงษ์ 22 มีนาคม 25๓1 เงินงบประมาณ 4 นายประดษิ ฐ์ ชา้ งม่วง ๕๔ ชา่ งสี บช.บ การบริหารทรพั ย์พ 18 มกราคม 2554 ยากรมนุษย์ เงนิ งบประมาณ 15 กรกฏาคม 2555 เงินงบประมาณ ๕๘ พนักงานธรุ การ ค.บ. เกษตรศาสตร์ เงินงบประมาณ ๕๙ ชา่ งสี 2 ธนั วาคม 2562 สำนกั งานเขต ป.7 - พนื้ ท่ีการศึกษา ๓ พฤษภาคม 255๓ เงินรายได้ 5 น.ส.นารที ิพย์ สจุ รติ จติ ร ๔๙ เจา้ หน้าทธ่ี ุรการ ปริญญาตรี การตลาด 1 มนี าคม 2556 สถานศกึ ษา 1 มีนาคม 2556 6 น.ส.มลั ลกิ า ศรนุวัตร ๓๓ เจา้ หนา้ ทีธ่ รุ การ ปริญญาตรี ระบบสารสนเทศ ๓ พฤษภาคม 255๓ เงินรายได้ 7 ทางคอมพวิ เตอร์ 2 มถิ นุ ายน 255๓ สถานศึกษา 1 ธนั วาคม 2559 เงินรายได้ น.ส.ศริ ิพร เตยสุวรรณ ๓๓ เจา้ หนา้ ท่ธี รุ การ ปรญิ ญาตรี ระบบสารสนเทศ 1 กันยายน 2561 สถานศกึ ษา ทางคอมพวิ เตอร์ 14 พฤษภาคม 2557 เงินรายได้ ๘ นางบวั ไข นงคราญ สถานศกึ ษา ๙ น.ส.นยั นา โตสงวน ๕๔ นกั การภารโรง ม.6 - เงินรายได้ 1๐ นางสาวอำไพ ทมิ ดี สถานศึกษา 1๑ นายจริ ศกั ดิ์ แก่นลออ ๔๘ นักการภารโรง ม.6 - เงนิ รายได้ 1๒ นายบุญให้ นุ่มอุดม สถานศึกษา 1๓ นายดนัย บุญมณี ๕๕ นักการภารโรง ป.4 - เงนิ รายได้ 1๔ นายสุพจน์ โตสัมพันธ์ สถานศึกษา 1๕ นางมณี สุดเสน่หา ๕๐ นักการภารโรง ป.6 - เงินรายได้ สถานศึกษา ๕๐ ยามกลางวนั ป.6 - เงนิ รายได้ สถานศกึ ษา ๔๐ นกั การภารโรง ป.6 - เงนิ รายได้ สถานศกึ ษา ๔๘ คนสวน ป.6 - ๖๒ ลา้ งหอ้ งนำ้ ม.๓ -

๙ ๓.๓ สรปุ จำนวนบุคลากร (ขอ้ มลู ณ วันที่ ๓๑ มีนาคม พ.ศ. 256๕) ๓.๓.๑ จำนวนบุคลากรจำแนกตามประเภท/ตำแหนง่ และวุฒกิ ารศกึ ษา ประเภท/ตำแหนง่ จำนวนบคุ ลากร (คน) รวม ตำ่ กว่าปริญญาตรี ปรญิ ญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก 1 ๑. ผ้บู ริหารสถานศึกษา ๓ 4 - ผ้อู ำนวยการ - -1- ๗๕ - รองผอู้ ำนวยการ - -๓- ๒ ๗๗ รวม - - ๔ - - ๒. สายงานการสอน - 4 - ขา้ ราชการครู - 4๐ ๓๕ - 1๑ 1๕ - อัตราจ้าง - ๒- - ๙๐ รวม - ๔๒ ๓๓ - ๓. สายงานสนับสนนุ - ขา้ ราชการ - --- - พนกั งานจ้างท่ัวไป - --- - ลูกจ้างประจำ 2 2- - - อื่นๆ ๘ ๓- - รวม 1๐ ๕ - - รวมทงั้ สิ้น 1๐ ๔๗ ๓๓ - ๓.๓.๒ จำนวนครูจำแนกตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ จำนวน คดิ เปน็ จำนวนชว่ั โมงสอนเฉลย่ี ร้อยละ คาบ/สัปดาห์ ภาษาไทย 7 ๑๑.๓๖ ของครูภายในกลุ่มสาระฯ คณติ ศาสตร์ 1๒ ๙.๑๘ 2๐.๐๐ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๑๗ ๙.๓๗ ๑๖.๑๖ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 11 ๑๐.๖๙ ๑๖.๕๐ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๖ ๑๑.๒๗ 18.81 ศลิ ปะ 5 6.10 19.83 การงานอาชีพ ๔ 7.๓2 16.5q ภาษาต่างประเทศ 1๒ 14.6๓ 2๖.๐๐ 2๑.๘๓

๑๐ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น ๓ ๓.66 20.๓๓ รวมครผู ูส้ อนทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ๗๗ ๑๐๐ ๑๙.๕๕ ๔. ข้อมูลนกั เรียน (ณ วันท่ี ๑๐ มิถนุ ายน ของปีการศกึ ษาทีร่ ายงาน) จำนวนนกั เรียนในโรงเรียน ปกี ารศกึ ษา 256๔ รวม 1,๖๒๐ คน จำแนกตามระดบั ชนั้ ที่เปิดสอน ระดับช้ันเรยี น จำนวนห้อง เพศ รวม เฉล่ยี ต่อห้อง ชาย หญงิ ม.1 8 1๓6 1๒๖ 2๖๒ ๓๓ ม.2 ๖ 1๓๗ 1๐๗ 2๔๔ ๔๑ ม.๓ ๘ 14๘ 1๓๔ 2๘๒ ๓๖ รวม 2๒ 42๑ ๓๖๗ ๗๘๘ - ม.4 9 1๓๕ 16๓ 2๙๘ ๓๓ ม.5 ๘ 1๐๑ 1๕๙ 2๖๐ ๓๓ ม.6 ๙ ๑๒๘ 1๔๖ 2๗๔ ๓๑ รวม 26 ๓๖๔ 4๖๘ 8๓๒ - รวมท้งั หมด 4๘ 7๘๕ 8๓๕ 1,๖๒๐ - จำนวนเด็กพเิ ศษในโรงเรียน ชาย - คน หญิง - คน รวม จำนวน - คน อัตราส่วนนกั เรยี น : ครู = 2๒ : 1 ( √ ) เปน็ ไปตามเกณฑ์ ( ) ไมเ่ ป็นไปตามเกณฑ์ อัตราสว่ นนกั เรียน : หอ้ ง = ๓๔ : 1 ๕. โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชูปถัมภ์ จัดสอนตามหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรยี นรตั นโกสนิ ทรส์ มโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสงั ฆราชูปถัมภ์ พุทธศกั ราช 2561 ตามหลักสตู รแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยโรงเรียนได้จัดสัดส่วนสาระการเรียนรู้และเวลาเรียน ดังแสดงใน ตารางดังนี้ โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศกึ ษาระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ตามลงิ ค์นี้ https://drive.google.com/drive /folders/1byMqKwjNWxnlEK2N3cIK0cNcU5-c9OYM

๑๑

๑๒ สรปุ ผลการประเมนิ การใชห้ ลักสตู รสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2564 ตาราง ค่าเฉล่ยี ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นเกย่ี วกับการใชห้ ลักสตู รสถานศกึ ษาของผู้ตอบแบบประเมนิ รายการ ������̅ S.D. ระดับ ความคิดเหน็ 1. คำอธิบายรายวชิ าสอดคล้องกับมาตรฐานตามหลกั สูตรแกนกลางฯ 4.77 0.42 มากท่สี ุด มีการกำหนดทง้ั K P A และมคี วามเหมาะสม มากทส่ี ุด 2. ตัวช้วี ัดสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานตามหลกั สตู รแกนกลางฯ และมีความ 4.77 0.42 มากท่สี ดุ เหมาะสมที่จะใชจ้ ัดการเรยี นการสอน มากท่ีสดุ 3. คำอธบิ ายรายวชิ าและตวั ช้ีวัดมีความสอดคล้องกนั และตรงตาม 4.77 0.42 มากที่สุด มาตรฐานตามหลกั สูตรแกนกลางฯ มาก 4. เนื้อหาสาระมีความสอดคล้องกับคำอธิบายรายวิชา และตวั ช้วี ัดตาม 4.70 0.46 มาก หลกั สตู รแกนกลางฯ มาก 5. การกำหนดหน่วยการเรยี นรู้มคี วามเหมาะสม และมอี งคป์ ระกอบ 4.62 0.61 มาก ครบถ้วนตามรปู แบบการสรา้ งหน่วยการเรยี นรู้ มาก มากทสี่ ดุ 6. การกำหนดจำนวนคาบท่ีใช้สอนในหนว่ ยการเรยี นรู้ และในแผนการ 4.44 0.70 เรียนรมู้ ีความเหมาะสมกบั เน้ือหาสามารถปฏบิ ัติไดจ้ ริง 7. สือ่ การสอนมคี วามเหมาะสม และสอดคล้องกับเนอื้ หา 4.43 0.56 8. การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนมีความหลากหลาย และเนน้ 4.41 0.82 ผ้เู รียนเปน็ ผปู้ ฏิบตั ิ 9. การวดั ผลประเมนิ ผลมีความเหมาะสม และเนน้ การประเมนิ ตาม 4.46 0.59 สภาพจรงิ อยา่ งหลากหลาย 10. การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนมกี ารบรู ณาการร่วมกับสาระอืน่ 4.13 0.92 เฉลย่ี 4.55 0.59 จากตาราง พบว่า ผตู้ อบแบบประเมินมีความคิดเห็นเก่ียวกับการใช้หลักสูตรสถานศกึ ษา โดยภาพรวมอยู่ใน ระดบั มากท่สี ุด (������̅ = 4.55, S.D. = 0.59) เมอื่ พจิ ารณาเป็นรายขอ้ พบวา่ คำอธิบายรายวิชาสอดคล้องกับมาตรฐาน ตามหลักสูตรแกนกลางฯ มีการกำหนดทั้ง K P A และมีความเหมาะสม ตัวชี้วัดสอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตร แกนกลางฯ และมีความเหมาะสมที่จะใช้จดั การเรยี นการสอน และคำอธบิ ายรายวชิ าและตวั ช้ีวดั มีความสอดคล้องกัน และตรงตามมาตรฐานตามหลกั สูตรแกนกลางฯ มคี า่ เฉลย่ี สูงสุด (������̅ = 4.77, S.D. = 0.42) รองลงมาคือ การกำหนด หน่วยการเรียนรู้มีความเหมาะสม และมีองค์ประกอบครบถ้วนตามรูปแบบการสร้างหน่วยการเรียนรู้ (������̅ = 4.70, S.D. = 0.46) ตามลำดับ

๑๓ ๖. ข้อมลู อาคารสถานที่ จำนวน 5 หลัง ท่ี รายการ 11 หลงั 1 อาคารเรียน ๑๑ หลัง 2 อาคารประกอบ - สระ ๓ ห้องนำ้ 8 สนาม 4 สระว่ายนำ้ 5 สนามกีฬา ๗ ขอ้ มูลแหล่งเรียนรู้ ๗.๑ แหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษา ห้องสมดุ มพี ื้นทข่ี นาด 540 ตารางเมตร หนงั สอื ในหอ้ งสมุดมจี ำนวน 24,726 เลม่ มวี ารสารหนังสือพิมพ์ ให้บริการจำนวน 4 ฉบับ/วัน/สัปดาห์/เดือน การสืบค้นหนังสือและการยืม-คืน ใช้ระบบโปรแกรม PLS – 3 มีเครื่องคอมพิวเตอร์ให้บริการสืบค้นเทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุด จำนวน 9 เคร่ือง มีจำนวนนักเรียนที่ใช้ ห้องสมุด (ในปีการศึกษาที่รายงาน) เฉลี่ย 432 คน ต่อวัน คิดเป็นร้อยละ 32.18 ของนักเรียนทั้งหมด มกี ารให้บรกิ ารหอ้ งสมดุ แก่ชุมชนรอบนอก โดยมบี ุคคลมาใช้บรกิ ารเฉล่ยี 10 คนต่อปี (ในปีการศึกษาท่ีรายงาน) ห้องปฏบิ ตั ิการ มที ง้ั หมด 23 หอ้ ง จำแนกเป็น 1) หอ้ งปฏิบัตกิ ารวทิ ยาศาสตร์ จำนวน 6 ห้อง 2) หอ้ งปฏบิ ัติการคอมพวิ เตอร์ จำนวน 6 หอ้ ง 3) หอ้ งปฏบิ ัติการทางภาษา จำนวน 5 หอ้ ง 4) ห้องคหกรรม จำนวน 1 หอ้ ง 5) หอ้ งจรยิ ธรรม จำนวน 1 ห้อง 6) ห้องดนตรีไทย จำนวน 1 ห้อง 7) หอ้ งดนตรีสากล จำนวน 1 ห้อง 8) หอ้ งนาฏศลิ ป์ จำนวน 1 หอ้ ง 9) ห้องทศั นศิลป์ จำนวน 1 ห้อง ศูนยค์ อมพวิ เตอร์ มีเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ มีท้งั หมด จำนวน 301 เครื่อง จำแนกเปน็ 1) ใช้เพอื่ การเรยี นการสอน จำนวน 264 เครื่อง 2) ใชเ้ พือ่ ใหบ้ ริการสืบคน้ ข้อมูลทางอนิ เทอรเ์ นต็ จำนวน 274 เครื่อง 3) ใช้เพอ่ื สนับสนนุ การบรหิ ารสถานศึกษา (สำนักงาน) 27 เคร่อื ง โดยมจี ำนวนนักเรยี นที่ใช้บรกิ ารสบื ค้นขอ้ มลู ทางอินเตอรเ์ น็ต (ในปีการศึกษาที่รายงาน) เฉล่ีย ๗๐ คนต่อวัน คดิ เป็นร้อยละ ๕.๖๔ ของนักเรยี นท้ังหมด จำนวน 29 เคร่อื ง หมายเหตุ ทจี่ ำนวนนกั เรยี นทใี่ ช้ในการสืบคน้ ลดลงกว่าปีท่ีผา่ นมาเนื่องจากสถานการณ์โรคระบาดโควดิ ๑๙ โรงเรียน ไม่ได้เปิดการเรียนการสอนแบบปกติ แตเ่ ปน็ การเรยี นการสอนแบบออนไลน์

๑๔ ข้อมูลการใชแ้ หล่งเรียนร้ภู ายในโรงเรียน ท่ี ช่อื แหล่งเรียนรู้ สถติ กิ ารใชจ้ ำนวนครั้ง/ปี 1 ห้องสมดุ - 2 หอ้ งดนตรไี ทย - 3 หอ้ งดนตรสี ากล - 4 ห้องนาฏศลิ ป์ - 5 หอ้ งทศั นศิลป์ - 6 ศูนยป์ ฏบิ ัติการคอมพิวเตอร์ 1 - 7 ศนู ย์ปฏบิ ตั กิ ารคอมพิวเตอร์ 2 - 8 ศูนย์ปฏบิ ตั กิ ารคอมพวิ เตอร์ ๓ - 9 ศนู ย์ปฏบิ ัติการคอมพิวเตอร์ 4 - 10 ศนู ย์ปฏิบัติการคอมพวิ เตอร์ 5 - 11 ศนู ย์ปฏิบตั กิ ารคอมพวิ เตอร์ 6 - 12 หอ้ ง English Center - 13 หอ้ ง D. Eng - 14 หอ้ ง English Clinic - 15 หอ้ ง Chainese Clinic - 16 เรอื นจนี - 17 ห้องปฏิบัตกิ ารฟิสกิ ส์ - 18 หอ้ งปฏิบัติการเคมี - 19 หอ้ งปฏิบัติการชวี วิทยา - 20 ห้องปฏบิ ตั ิการวทิ ยาศาสตรท์ ่ัวไป 1 - 21 หอ้ งปฏิบตั กิ ารวิทยาศาสตร์ทัว่ ไป 2 - 22 ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตรท์ ั่วไป ๓ - 23 ห้องงานชา่ ง - 24 ห้องคหกรรม - 25 ห้องจริยธรรม - 26 สนามกีฬา - 27 ป้ายนเิ ทศ - หมายเหตุ เน่ืองจากสถานการ์โรคระบาดโควิด ๑๙ จึงไมม่ ีใชแ้ หลง่ เรยี นร้ภู ายในโรงเรยี น

๑๕ ๗.๒ แหล่งเรียนรภู้ ายนอกโรงเรยี น ท่ี ช่อื แหลง่ เรยี นรู้ สถติ ิการใช้จำนวนครั้ง/ปี 1 มหาวิทยาลัยมหิดล - 2 โรงเรียนมหิดลวทิ ยานุสรณ์ - 3 หอภาพยนตร์ - 4 มหาวิทยาลัยศลิ ปากร - 5 มหาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐม - 6 วดั หทยั นเรศวร์ - 7 โรงพยาบาลพทุ ธมณฑล - 8 วิทยาลยั นาฏศลิ ป - หมายเหตุ เนอ่ื งจากสถานการ์โรคระบาดโควดิ ๑๙ จึงไมม่ ีใช้แหล่งเรียนรภู้ ายนอกโรงเรียน ๘. ภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ ปราชญ์ชาวบา้ น ผู้ทรงคุณวฒุ ิ วทิ ยากร ทสี่ ถานศกึ ษาเชญิ มาให้ความรู้แกค่ รู นกั เรยี น (ในปกี ารศกึ ษาท่รี ายงาน) ท่ี ช่ือ-สกุล ใหค้ วามรูเ้ รอื่ ง จำนวนครั้ง/ปี พระภกิ ษสุ งฆ์ วันมาฆบูชา การเตน้ cover dance นางสาวเกษราภรณ์ สงั ข์ทิพย์ ๙. ผลงานดีเด่นในรอบปีท่ผี า่ นมา ระดับรางวัล/ชอื่ รางวลั ท่ไี ด้รับ/วนั ท่ีได้รับ หนว่ ยงานที่ให้ ๙.1 ผลงานดีเด่น สำนกั งานรับรองมาตรฐานและ ช่ือ สกุล ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การ สถานศึกษา มหาชน) สำนกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ โรงเรียนไดร้ บั การ ประเมินคณุ ภาพภายนอก รอบส่ี (๒๕๖๔-๒๕๖๘) ในระดบั ดี สำนักงานการมธั ยมศึกษานครปฐม ผลงานดีเดน่ ของผบู้ รหิ าร โรงเรยี นดีวิถีลูกเสือ ประจำปี ๒๕๖๔ วา่ ท่ีรอ้ ยตรพี ิษณพุ ล แตงออ่ น รางวัลผู้บรหิ ารสถานศึกษาดีเดน่ 1๖ มกราคม พ.ศ. 256๕

๑๖ ชือ่ สกลุ ระดับรางวลั /ช่ือรางวัลทีไ่ ดร้ ับ/วนั ทไ่ี ด้รับ หนว่ ยงานที่ให้ นายสมเกียรติ ฐานบัญชา นางสาวอสิ รยี ์ ด่านพชิ ิตชยั ศ์ คุณวุฒิวูดแบดจ์ประเภทลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ สำนักงานลกู เสือแหง่ ชาติ นางสาวธณั ฐภรณ์ สมิ มา (W.B.) และมีสิทธิป์ ระดบั เครื่องหมายวูดแบดจ์ กระทรวงศึกษาธิการ ผลงานดเี ดน่ ของครู สองทอ่ น น.ส.เนตรนภา ดิษเจริญ ครูผู้ปฏบิ ัติการสอนกลุ่มสาระการเรยี นร้กู าร สพม.นครปฐม นายพชิ ิต สำ่ ประเสริฐ นางสาวนันทนา พสิ นิ นาวงษ์ งานอาชีพ “ดเี ดน่ ” ประจำปี พ.ศ.2565 นายจุมพล เนยี มแสวง นายวรเทพ กว้างสวาสด์ิ ครผู ้ปู ฏิบตั กิ ารสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ สพม.นครปฐม นายดวงอนชุ า บวั งาม คณติ ศาสตร์ “ดเี ด่น” ประจำปี พ.ศ.2565 นางสุวรรณธาดา ธญั ญเกษตร ครผู ปู้ ฏิบตั ิการสอนกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สพม.นครปฐม นางสาวเพญ็ ศรี สรรพคง คณิตศาสตร์ “ดเี ดน่ ” ประจำปี พ.ศ.2565 น.ส.อัญชลี ลอ้ ทะนงศักดิ์ ครผู ู้ปฏบิ ตั กิ ารสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ สพม.นครปฐม นายสมพร เล็กจนิ ดา “ดเี ดน่ ” ประจำปี พ.ศ.2565 ครผู ปู้ ฏิบัตกิ ารสอนกลมุ่ สาระการเรียนรู้ สพม.นครปฐม วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี “ดเี ด่น” ประจำปี พ.ศ.2565 ครผู ้ปู ฏิบัตกิ ารสอนกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สพม.นครปฐม วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี “ดเี ดน่ ” ประจำปี พ.ศ.2565 ครูผปู้ ฏบิ ัตกิ ารสอนกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สพม.นครปฐม วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี “ดีเด่น” ประจำปี พ.ศ.2565 ครูผู้ปฏบิ ตั กิ ารสอนกลุม่ สาระ สพม.นครปฐม สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม “ดีเด่น”ประจำปี พ.ศ.2565 ครผู ปู้ ฏบิ ัตกิ ารสอนกลุ่มสาระ สพม.นครปฐม สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม “ดีเด่น”ประจำปี พ.ศ.2565

๑๗ ช่อื สกุล ระดับรางวลั /ชอ่ื รางวลั ท่ไี ด้รบั /วนั ที่ได้รบั หน่วยงานที่ให้ นางสาววีราวรรณ โฆษิตสคุ ต ครผู ูป้ ฏบิ ัติการสอนกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สพม.นครปฐม นางสาวทัศนาภรณ์บัญชรมาศ ภาษาไทย “ดีเด่น” ประจำปี พ.ศ.2565 สพม.นครปฐม พรรณ ครูผู้ปฏบิ ัตกิ ารสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ สพม.นครปฐม ภาษาไทย “ดเี ด่น” ประจำปี พ.ศ.2565 สพม.นครปฐม นางปทติ ตา สาทรกจิ ครผู ู้ปฏิบัตกิ ารสอนกล่มุ สาระการเรยี นรู้ สพม.นครปฐม ภาษาต่างประเทศ “ดเี ดน่ ” สพม.นครปฐม นางสาววาสนา พวงแกว้ ประจำปี พ.ศ.2565 ครูผูป้ ฏิบตั กิ ารสอนกลุม่ สาระการเรยี นรู้ มูลนธิ ิครดู ขี องแผ่นดนิ นางสาวภัทรภร บุญทวีมติ ร ภาษาตา่ งประเทศ “ดเี ดน่ ” ประจำปี พ.ศ.2565 ธนาคารทหารไทยธนชาต มูลนธิ ิ นายสทิ ธเิ ทพ เลีย้ งรักษา ครูผปู้ ฏบิ ตั กิ ารสอนกลมุ่ สาระการเรียนรู้ TTB ไฟฟา้ จุดประกาย เยาวชนและ นางภสั สร ทิมาศาสตร์ สุขศึกษาและพลศึกษา “ดีเดน่ ” ชมุ ชน นางสาวนฤมล ศิรธิ านันท์ ประจำปี พ.ศ.2565 นางสาววาสนา พวงแกว้ ครผู ูป้ ฏบิ ตั ิการสอนกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน นายสิปปแ์ สง สุขผล “ดเี ดน่ ” ประจำปี พ.ศ.2565 นางสาวอาภัสรา อนุ ต๊ะ นายศกั ดณ์ิ รงค์ กาสนิ ธุ์ ครดู ีของแผ่นดินข้นั พื้นฐาน นางสาวโชษติ า มะลิทอง นางสาววนดิ า เลี้ยงอำนวย เป็นตัวแทนภาคกลาง ภาคตะวนั ออก นางสาววรรณฉวี ศรีโยธา ภาคตะวันตก และกรุงเทพฯ ร่วมการประกวด นางสาวเนตรนภา ดิษเจรญิ รอบชิงชนะเลิศ โครงการเท่อย่างไทย นางสาวทิพวรรณ ปสั สาพนั ธ์ ไฟฟ้าทีทีบี คร้งั ท่ี 49 พ.ศ.2564 นายคมกริช น้อยจินดา เปน็ ตัวแทนภาคกลาง ภาคตะวนั ออก ภาคตะวันตก และกรุงเทพฯ รว่ มการประกวด นางชนชญา สังข์พญา นางสาวทศั นภรณ์ บัญชรมาศพรรณ นางสาววรรณฉวี ศรโี ยธา

๑๘ ชือ่ สกุล ระดับรางวลั /ชอ่ื รางวัลที่ได้รับ/วนั ท่ีได้รบั หน่วยงานทใ่ี ห้ ธนาคารทหารไทยธนชาต มูลนธิ ิ นางสาววชิราภรณ์ สวุ รรณวรางกรู รอบชงิ ชนะเลศิ โครงการเทอ่ ยา่ งไทย TTB ไฟฟ้าจุดประกาย เยาวชนและ ชมุ ชน นายวชั รินทร์ แกว้ ดำรงค์ ไฟฟา้ ทที บี ี ครั้งที่ 49 พ.ศ.2564 ศูนยใ์ หค้ ำปรกึ ษากจิ กรรมเพอ่ื สงั คม (องคก์ รสาธารณประโยชน์เลขที่ น.ส.จันทพร เมฆจันทร์ รางวัล\"ครดู ตี น้ แบบสังคมไทยดีเด่น\" ๒๔๒๗) เน่ืองในวนั ครูแหง่ ชาติ ประจำปี 2565 กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงวฒั นธรรม รางวลั เพชรรตั นโกสินทร์ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา สาขาเพชรผ้สู อนเกียรติคณุ ข้าราชการครดู ีเด่น สมาคมเมโลเดยี น สำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั ครูผฝู้ ึกซ้อมรางวัลชนะเลศิ ฝา่ ยหญิง นครปฐม ในการประกวดเยาวชนต้นแบบเกง่ และดี TO BE NUMBER ONE (TO BE NUMBER สภาองคก์ รเยาวชนสร้างสรรค์ ONE IDOL) จังหวัดนครปฐม รุ่นท่ี 12 พฒั นาสังคม ประจำปี 2565 รางวัล \"พชรสุวรรณ\" ในฐานะ \" เอกลกั ษณอ์ นุรกั ษ์ไทยดา้ นนาฏศิลป์\" ๙.๒ ผลงานนักเรยี น ปีการศึกษา ๒๕๖๔ กลุ่มสาระภาษาไทย ชื่อ-สกลุ รางวัลทีไ่ ด้รบั หนว่ ยงาน ท่ีมอบรางวลั นางสาวกมลชนก ขำตน้ วงษ์ ชมเชย ระดบั เหรียญทองการ เครอื ขา่ ยเยาวชนพุทธอาสา นางสาววภิ าดา เลิศศักด์ศิ รีสกลุ ประกวดเรยี งความ เดก็ หญิงสร้อยสกล กาเผอื ก สถาบันศิลปะและวฒั นธรรม ม. ชนะเลิศอนั ดบั ที่ 3 การประกวด เทคโนโลยรี ัตนโกสินทรศ์ าลายา แขง่ ขนั คดั ลายมอื เทอ่ ยา่ งไทย โดยไฟฟ้า ทีทบี ี ชมเชยการประกวดอา่ นฟังเสยี ง กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ รางวลั ที่ได้รบั หนว่ ยงาน ท่มี อบรางวลั ช่ือ-สกลุ นางสาวสุวนันท์ แทน่ จันทา กาญจนาภิเษกวทิ ยาลยั ชา่ งทองหลวง

๑๙ ชื่อ-สกลุ รางวัลทไี่ ด้รับ หนว่ ยงาน นางสาวทนงพร ศรีอฒั ชา ทม่ี อบรางวลั นางสาวสดุ ารตั น์ ดีชน่ื รางวัลชนะเลิศ ทักษะการ ประกวดคลิปวดี ีโอ ต้าน หน่วยงาน กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ภยั ดควิด 2019 ระดับ ทมี่ อบรางวัล มธั ยมศึกษาตอนปลาย ชื่อ-สกุล ณ ศนู ย์โอลิมปกิ วชิ าการ สอวน. นายแสนรัก สีกล่ำ รางวัลทไี่ ด้รบั มหาวิทยาลัยศลิ ปากร ผ่านการคัดเลอื กโครงการ โอลมิ ปกิ วชิ าการ สอวน. คา่ ย๑- ๒ สาขาวิชาคณติ ศาสตร์แบบ ออนไลน์ ๑๙ เมษายน - ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๖๔ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช่ือนักเรียน รางวัลทไ่ี ด้รับ รายการแข่งขนั ตอบปญั หาดา้ นการบรหิ าร นายศรปี รยิ ตั ิ ทองชาวนา เกียรติบตั ร จดั การเมือง ระดบั ม.ปลาย ประจำปี พ.ศ.2565 (Mahanakorn Quiz นายเปรมภทั ร ตนั ตี 2022) นางสาวฉตั รฤทัย นอ้ ยป่ัน ตอบปญั หาคุณธรรมออนไลน์ ประเภทผ้มู ี ความร้เู รือ่ งหลกั การพื้นฐานของคณุ ธรรม นายพุฒพิ งศ์ นาคสิทธิ์ “ดี” นายสทิ ธโิ ชค สาตลี นางสาวจิดาภา พรพรรณกร นายธนกร ปญั ญาภรณ์ เกยี รตบิ ัตร น.ส.วลยั ทพิ ย์ ทรงวาจา น.ส.เกศมณี เดชพรม น.ส.กมลลกั ษณ์ ไชยเดช

๒๐ ชอื่ นกั เรียน รางวัลท่ไี ด้รับ รายการแขง่ ขนั น.ส.เพียงลดา รนิ ทา น.ส.รัตนาภรณ์ นยิ มพงษ์ เกยี รติบัตร ตอบปัญหาคุณธรรมออนไลน์ ประเภท น.ส.วราพร กองศรีพลิ ารมย์ ผเู้ ข้าร่วมโครงการ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ช่ือนกั เรยี น รางวัลท่ไี ด้รับ รายการแข่งขนั เด็กชายดลธาม วงเทวนั รองชนะเลิศอนั ดบั 2 ประเภท ชายคู่ การแขง่ ขนั กีฬาชงิ ชนะเลิศ จังหวัดนครปฐม เด็กชายไตรรกั ษ์ จนิ ตนาสมบตั ิ รองชนะเลิศอันดบั 2 ประเภท ชายคู่ การแข่งขนั กฬี าเปตอง เด็กชายนราธิป เอย่ี มประพนั ธ์ รองชนะเลศิ อนั ดับ 2 ประเภท ชายคู่ “ตากอ้ งคัพ ครงั้ ที่ 1” เด็กชายกันตภณ ยม้ิ นอ้ ย รองชนะเลศิ อันดับ 2 ประเภท ชายคู่ การแข่งขนั กฬี าชิงชนะเลศิ จงั หวัดนครปฐม เด็กหญงิ อนัญพร บางทราย ชนะเลศิ กฬี า เปตอง ประเภท หญิงคู่ การแขง่ ขันกีฬาเปตอง เด็กหญงิ สุภชั ชา ขมุ ทอง ชนะเลศิ กีฬา เปตอง ประเภท หญงิ คู่ “ตากอ้ งคพั ครง้ั ที่ 1” เดก็ ชายอนเุ ทพ สขุ โพธ์เิ พ็ชร รองชนะเลิศอันดับ 2 การแขง่ ขันกีฬาชงิ ชนะเลิศ นางสาวอ้มุ บญุ ไพรศรี จงั หวดั นครปฐม ประเภท เดย่ี วชาย การแข่งขนั กีฬาชงิ ชนะเลศิ รองชนะเลิศอันดบั 2 จงั หวดั นครปฐม ประเภท ทีมหญงิ การแข่งขนั กฬี าชิงชนะเลิศ จงั หวดั นครปฐม การแข่งขนั กีฬาชิงชนะเลิศ จังหวดั นครปฐม

นางสาวมนตว์ ลี พันแดง รองชนะเลศิ อันดบั 2 ๒๑ ประเภท ทีมหญิง นางสาวถนิมพร เสนีวงศ์ ณ การแขง่ ขนั กีฬาชิงชนะเลศิ อยุธยา รองชนะเลิศอันดับ 2 จังหวดั นครปฐม นางสาวอมลวรรณ เช็ดขุนทด ประเภท ทีมหญงิ การแขง่ ขันกฬี าชิงชนะเลศิ จงั หวดั นครปฐม รองชนะเลิศอนั ดบั 2 กีฬา วูซู การแข่งขนั กฬี าแหง่ ชาติ นน.ไมเ่ กนิ 56 กิโลกรัม ประเภท ครงั้ ท่ี 47 ประลองยุทธ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ ชื่อ-สกลุ รางวัลท่ีได้รบั หนว่ ยงาน ท่มี อบรางวัล นางสาวอนัญญา สิรโชติกุล รางวัลชนะเลิศ ฝ่ายหญิง การประกวดเยาวชนต้นแบบเกง่ และดี นางสาวธญั ญาพร เส็งนา รางวัลชนะเลิศ ฝ่ายหญงิ TO BE NUMBER ONE (TO BE นางสาวเบญญาภา พลับสอาด รางวลั \"สุดยอดเดก็ ไทยดเี ด่นแห่งปี\" NUMBER ONE IDOL) จังหวัดนครปฐม นางสาวอนัญญา สิรโชตกิ ุล รางวัลชนะเลิศ ฝ่ายหญิง รุ่นที่ 12 ประจำปี 2565 การประกวดเยาวชนตน้ แบบเกง่ และดี TO BE NUMBER ONE (TO BE NUMBER ONE IDOL) จงั หวัดนครปฐม รนุ่ ท่ี 12 ประจำปี 2565 เนือ่ งในวนั เด็กแหง่ ชาติ ประจำปี 2565 การประกวดเยาวชนตน้ แบบเก่งและดี TO BE NUMBER ONE (TO BE NUMBER ONE IDOL) จงั หวดั นครปฐม รนุ่ ที่ 12 ประจำปี 2565

๒๒ ๑๐. ขอ้ มูลผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นระดบั สถานศึกษาปีการศึกษา 256๔ ระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน กลุม่ สาระ จำนวน จำนวนนักเรยี นทไ่ี ดผ้ ลการเรียน รวม ผลการ S.D. จำนวนนกั เรยี น การเรยี นรู้ นกั เรียน เรียน ทล่ี ง เฉล่ยี ทีไ่ ด้ 3 ขึ้นไป ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ ทะเบยี น 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ร มส จำนวน ร้อยละ วทิ ยาศาสตร์ เรยี น สงั คมศกึ ษา ศาสนา และ 3,490 1,652 430 401 270 226 149 196 16 150 0 3,340 3.25 0.96 2,483 71.15 วัฒนธรรม 4,909 2,016 635 628 532 380 259 225 58 176 0 4,733 3.14 0.99 3,279 66.80 8,826 4,147 1,1 947 725 592 333 431 175 305 0 8,521 3.22 1.02 6,265 70.98 71 5,693 2,483 788 642 507 413 298 250 110 198 4 5,491 3.17 1.02 3,913 68.73 สขุ ศกึ ษา 6,069 3,190 800 718 489 319 211 166 8 168 0 5,901 3.40 0.83 4,708 77.57 และพลศกึ ษา ศิลปะ 3,815 1,818 425 439 283 278 189 292 0 91 0 3,724 3.20 1.00 2,682 70.30 1.02 3,042 64.54 การงานอาชพี 4,713 1,971 519 552 370 338 220 332 24 387 0 4,326 3.15 และเทคโนโลยี 0.98 5,649 71.93 ภาษา 0.98 32,021 70.59 ต่างประเทศ 7,854 3,813 956 880 593 453 290 364 107 395 3 7,456 3.28 รวม 45,369 21,090 5,724 5,207 3,769 2,999 1,949 2,256 498 1,870 7 43,492 3.23 ร้อยละ 100 46.49 12.62 11.48 8.31 6.61 4.30 4.97 1.09 4.12 0.01 95.86 รอ้ ยละของนักเรียน 70.59 ผลการเรยี นระดับดี (3) ขน้ึ ไป 24.19 5.22 ผ่านเกณฑ์ขั้นตำ่ (1) ถงึ ค่อนขา้ งดี (2.5) ไมผ่ า่ นการประเมิน

๒๓ 1) ร้อยละของนกั เรยี นท่ีมีเกรดเฉลยี่ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นแตล่ ะรายวิชา ในระดบั ๓ ขึ้นไป ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ถึงระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 ปกี ารศึกษา 256๔ ระดบั ชนั้ รายวชิ า(พนื้ ฐาน) ภาษาไทย ค ิณตศาสต ์ร ิวทยาศาสต ์ร ภาษาอังกฤษ ัสงคม ึศกษาฯ ุสข ึศกษาฯ ิศลปะ การงานอา ีชพฯ ม.1 331 322 515 408 657 739 297 317 ม.2 308 214 371 262 550 849 327 292 ม.3 398 322 511 374 833 641 356 298 รวม 1,037 858 1,397 1,044 2,040 2,229 980 907 ม.4 411 406 456 345 983 493 451 445 ม.5 397 429 383 348 300 394 441 410 ม.6 454 444 393 464 362 478 428 378 รวม 1,262 1,279 1,232 1,157 1,645 1,365 1,320 1,233 แผนภูมแิ สดงร้อยละของนักเรยี นท่ีมีเกรดเฉล่ยี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นแตล่ ะรายวิชาพนื้ ฐาน ในระดบั 3 ข้นึ ไป ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 ถึง ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 6 ปีการศึกษา 2564 76 67.89 67.74 74.43 70.79 74 65.77 65.11 สขุ ศกึ ษา 65.87 72 70.76 70 คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศกึ ษาฯ ภาษาอังกฤษ ศิลปะ การงานอาชพี ฯ 68 66 64 62 60 ภาษาไทย

๒๔ 2) รอ้ ยละของนกั เรยี นที่มีผลการประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น ในระดบั ดขี ้ึนไป ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ถงึ ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 256๔ ระดบั ช้นั จำนวน ผลการประเมิน ระดับดี รอ้ ยละ นกั เรยี น ไมผ่ ่าน ผา่ น ดี ดเี ยยี่ ม ขนึ้ ไป ม.1 ม.2 262 0 2 75 185 260 99.24 ม.3 244 รวม 282 0 11 75 158 233 95.49 ม.4 ม.5 788 0 1 7 274 281 99.65 ม.6 298 รวม 260 0 14 157 617 774 98.22 274 0 1 13 284 297 99.66 832 0 1 37 222 259 99.62 0 1 36 237 273 99.64 0 3 86 743 829 99.64 แผนภูมแิ สดงร้อยละของนกั เรียนทม่ี ีผลการประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน ในระดบั ดี ข้นึ ไป ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ถึง ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ปีการศกึ ษา 2564 100 99.65 99.66 99.62 99.64 99.24 99 98 97 96 95.49 95 94 93 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6

๒๕ ๓) ร้อยละของนักเรียนทมี่ ผี ลการประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ในระดับดีข้นึ ไป ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 ถึง ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ปีการศกึ ษา 256๔ ระดับช้นั จำนวน ไม่ผ่าน ผลการประเมิน ดเี ย่ียม ระดับดี ร้อยละ นกั เรียน ผ่าน ดี ขึ้นไป ม.1 ม.2 262 0 2 57 203 260 99.24 ม.3 244 รวม 282 0 10 71 163 234 95.90 ม.4 ม.5 788 0 1 9 272 281 99.65 ม.6 298 รวม 260 0 13 137 638 775 98.35 274 0 0 9 289 298 100.00 832 0 1 31 228 259 99.62 0 1 22 251 273 99.64 0 2 62 768 830 99.76 แผนภมู ิแสดงรอ้ ยละของนักเรียนทีม่ ผี ลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ในระดบั ดี ขึ้นไป ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ถึง ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ปกี ารศึกษา 2564 101 100 99.65 99.62 99.64 100 99.24 99 98 97 96 95.9 95 94 93 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6

๒๖ 4) ร้อยละของนกั เรียนท่ีมีผลการประเมนิ สมรรถนะสำคญั ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ปีการศึกษา 256๔ ของนักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ ในระดบั ผ่านข้นึ ไป สมรรถนะสำคญั ผลการประเมิน ระดับผ่าน รอ้ ยละ ไมผ่ ่าน ผา่ น ดี ดเี ยย่ี ม ข้นึ ไป 269 95.39 1.ความสามารถในการสอ่ื สาร 13 29 42 198 254 90.07 256 90.78 2.ความสามารถในการคดิ 28 34 59 161 266 94.33 274 97.16 3.ความสามารถในการแก้ปัญหา 26 40 51 165 93.95 1,319 4.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ 16 18 40 208 5.ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 8 25 37 212 รวม 91 146 229 938 แผนภูมิแสดงร้อยละของนักเรียนท่มี ีผลการประเมินสมรรถนะสำคัญตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา ข้นั พื้นฐานพุทธศักราช 2551 ปีการศกึ ษา 2564 ของผู้เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ใน ระดับผา่ นขึ้นไป 98 97.16 96 95.39 94.33 94 92 90.78 90.07 90 88 86 5) รอ้ ยลกะารขสือ่ อสางรนักเรยี นท่ีมีผลกกาารครดิ ประเมนิ สมรรถกานรแะก้ปสัญำหคา ัญตามหลักกสารูตใชร้ทกัแษกะชนวี ติ กลางการศกกึ ารษใชาเ้ ทขคโัน้ นโพลยืน้ี ฐาน

๒๗ รอ้ ยละของนกั เรยี นทม่ี ผี ลการประเมนิ สมรรถนะสำคัญตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 ปีการศึกษา 256๔ ของนกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 6 ในระดับผา่ นขึ้นไป สมรรถนะสำคัญ ไมผ่ า่ น ผลการประเมิน ดีเยยี่ ม ระดับผ่าน ร้อยละ ผา่ น ดี ข้นึ ไป 1.ความสามารถในการส่อื สาร 10 17 20 226 263 96.34 2.ความสามารถในการคดิ 7 15 30 221 266 97.44 3.ความสามารถในการแกป้ ญั หา 18 26 47 182 255 93.41 4.ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต 19 34 40 180 254 93.04 5.ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 8 23 33 209 265 97.07 รวม 62 115 170 1,018 1,303 95.46 แผนภูมแิ สดงร้อยละของนักเรยี นทม่ี ีผลการประเมินสมรรถนะสำคญั ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขน้ั พน้ื ฐานพุทธศกั ราช 2551 ปีการศึกษา 2564 ของผเู้ รยี นช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ในระดับผา่ นขน้ึ ไป 98 97.44 97.07 97 96.34 96 95 94 93.41 93.04 93 92 91 90 การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทกั ษะชีวติ การใชเ้ ทคโนโลยี การส่อื สาร

๒๘ ข้อมูลนักเรยี นด้านอน่ื ๆ จำนวน(คน) คิดเปน็ รอ้ ยละ 1498 9๓.98 ท่ี รายการ 1 จำนวนนักเรียนมนี ้ำหนกั สว่ นสูง และสมรรถภาพทางกายตาม 1594 100 เกณฑ์ รวมทัง้ รูจ้ กั ดแู ลตนเองให้มีความปลอดภัย -- 2 จำนวนนกั เรียนทป่ี ลอดจากปัญหาทางเพศ ยาเสพตดิ และสง่ิ มอม 10 0.62 -- เมา เช่น สรุ า บุหรี่ เครือ่ งดมื่ แอลกอฮอล์ เกม ฯลฯ 1592 99.87 ๓ จำนวนนักเรียนที่มคี วามบกพรอ่ งทางรา่ งกาย/เรยี นรว่ ม ๓4 2.09 4 จำนวนนกั เรยี นมภี าวะทพุ โภชนาการ 66 4.14 5 จำนวนนกั เรียนทม่ี ปี ญั ญาเลศิ -- 6 จำนวนนักเรยี นทีต่ ้องการความช่วยเหลือเปน็ พเิ ศษ 504 96.๓7 7 จำนวนนกั เรียนทอ่ี อกกลางคัน (ปีการศกึ ษาปจั จุบัน) 242 9๓.80 8 จำนวนนกั เรยี นทมี่ เี วลาเรียนไมถ่ ึงรอ้ ยละ ๘๐ 262 98.87 9 จำนวนนกั เรียนทเ่ี รียนซำ้ ช้นั 10 จำนวนนกั เรยี นท่ีจบหลักสตู ร มธั ยมศกึ ษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย หมายเหตุ: รอ้ ยละของนกั เรยี นท้งั หมด

๒๙ 1๑. ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาในปที ผ่ี ่านมา ปีการศกึ ษา 2563 ระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน สรปุ ผลการประเมินภาพรวม ( ) กำลังพัฒนา ( ) ปานกลาง ( √ ) ดี ( ) ดเี ลิศ ( ) ยอดเย่ียม มาตรฐาน / ประเดน็ พิจารณา ระดบั คุณภาพ มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผเู้ รยี น ดี มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ดเี ลิศ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ดี คณุ ภาพของนกั เรียน จุดเด่น โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมและโครงการที่หลากหลายเพื่อพัฒนาศักยภาพและคุณภาพของผู้เรียน ทำให้ผู้เรียนได้รับรางวัลทางด้านวิชาการ เทคโนโลยี นาฏศิลป์ กีฬา ในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและระดับภูมิภาค นอกจากนีค้ รทู ่ปี รึกษาใหค้ วามร่วมมอื ในการดแู ลชว่ ยเหลือและสง่ เสริมนกั เรียนจนสามารถแก้ไขปัญหา และชว่ ยเหลือ นักเรียนในเบื้องต้นได้ อีกทั้งนักเรียนเห็นคุณค่าในตนเอง มีทักษะในการดำรงชีวิตร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ด้านการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยโรงเรียนได้นำกระบวนการลูกเสือมาใช้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ผูเ้ รียนให้เป็นไปตาม Boy Scout RSBS Model จดุ ทค่ี วรพฒั นา และขอ้ เสนอแนะ จากสภาพปัญหาของความหลากหลายทางด้านความเป็นอยู่ของนักเรียน ในช่วงสถานการณ์โรคระบาดโควิด๑๙ ซึ่งทางโรงเรียนมีการจัดการเรียนการสอน Online มีนักเรียนส่วนใหญ่ที่ ประสบปัญหาในเรื่องการขาดแคลนอุปกรณ์การเรียน อาทิ คอมพิวเตอร์ เครื่องมือสื่อสาร และอินเตอร์เน็ต wifi ในการเรียนที่บ้าน ทางโรงเรียนต้องมกี ารเตรียมแผนรองรับในการแก้ปัญหาเพือ่ ให้นกั เรียนได้รับความรูอ้ ย่างเสมอ ภาคจนกว่าการแกป้ ญั หาเรือ่ ง สถานการณ์โรคระบาดโควดิ -๑๙ จะคลี่คลายลง กระบวนการบริหารและการจดั การ จุดเด่น โรงเรียนมีการบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ ทั้งในส่วนการวางแผนพัฒนาคุณภาพ การจดั การศึกษา การนำแผนไปปฏิบัติเพื่อพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา มีการปรับแผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา และมกี ารติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และปรบั ปรุงพฒั นางานอยา่ งต่อเน่ือง ทำใหก้ ารดำเนินงานมคี วามต่อเนื่อง และเป็นระบบ มีการจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มีความปลอดภัย สวยงาม มีชุมชนและ หน่วยงานภายนอกขอเขา้ ใช้สถานท่ี จุดที่ควรพัฒนา และข้อเสนอแนะ การดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพนักเรียนรอบด้านตาม หลักสูตรสถานศึกษา ควรดำเนินการเชื่อมโยงกับท้องถิ่นมากขึ้น โดยการเชิญวิทยากรท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วม ในการให้ความรู้กับนกั เรยี นมากข้ึน

๓๐ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ น้นนักเรียนเปน็ สำคัญ จุดเด่น ครูมีศักยภาพมีความตั้งใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการสอน โดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้ ที่เน้นทักษะ กระบวนการคิด ได้ปฏิบัติจริง มีการใช้วิธีการสอนและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้นักเรียน แสวงหาความร้จู ากสือ่ เทคโนโลยีด้วยตนเองอยา่ งต่อเนอ่ื ง สามารถสรา้ งสรรคผ์ ลงานทงั้ ตอ่ ตนเองและโรงเรียน จุดที่ควรพัฒนา และข้อเสนอแนะ อุปกรณ์ด้านเทคโนโลยีและอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอน ทั้งในห้องเรียน การสอนออนไลน์ อาทิ เครื่องคอมพิวเตอร์ในการจัดการเรียนการสอนและโปรเจคเตอร์ ซึ่งมีอายุ การใช้งานนาน ไม่ทันสมัย ไม่สามารถรองรับแอพพลิเคชั่นใหม่ที่จำเป็นในการจัดการเรียนการสอนได้ เครื่องกระจายสัญญาณอินเทอร์เน็ตที่มีข้อจำกัด การกระจายสัญญาณให้ครอบคลุม รวดเร็วทั่วถึง และเครื่องใช้สำนักงานที่จำเป็นในการจัดการเรียนการสอน อาทิ พริ้นเตอร์ กระดาษในการจัดทำสื่ อ การจดั การเรียนการสอน แฟม้ งาน เปน็ ต้น เพื่อสนบั สนนุ ในการจดั การเรียนการสอนของครสู ู่ผูเ้ รยี นอยา่ งมคี ุณภาพ แผนพฒั นาคณุ ภาพเพื่อยกระดับคุณภาพใหไ้ ด้มาตรฐานทส่ี งู ข้ึน 1) พัฒนานักเรียนให้มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคดิ เหน็ และแก้ปญั หาอย่างมเี หตผุ ล 2) พฒั นานกั เรียนใหม้ ีความรู้และทักษะพ้นื ฐานในการสรา้ งนวตั กรรม การนำนวตั กรรมไปใชแ้ ละมีการเผยแพร่ 3) พัฒนานักเรียนให้มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเองและ สังคมในดา้ นการเรียนรู้ การสือ่ สาร การทำงานอยา่ งสร้างสรรคแ์ ละมคี ุณธรรม 4) ส่งเสริมอัจฉริยภาพนักเรียนในด้านต่าง ๆ เช่น การเข้าร่วมการแข่งขันทักษะทางวิชาการในระดับที่สูงข้ึน การเขา้ รว่ มแขง่ ขันกีฬาประเภทตา่ ง ๆ ในระดับประเทศ 5) พัฒนานักเรียนให้มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และมีเจตคติที่ดี พร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นและ การประกอบอาชพี 6) ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยบูรณาการและสอดแทรกในเนื้อหาทุกกลุ่มสาระ การเรยี นรู้ 7) จัดทำโมเดลในการบริหารงานทั้งระบบ ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารงานให้ทันสมัยดำเนินงานตาม กระบวนการ PDCA 8) ขอคำปรกึ ษาจากหน่วยงานทเี่ ก่ยี วขอ้ งเพ่อื พัฒนาในปีตอ่ ๆ ไป 9) จัดทำโครงการพฒั นาครูสู่มอื อาชีพ 10) สนบั สนุนส่งเสริมการพัฒนาครแู ละบุคลากรใหม้ คี วามเชี่ยวชาญทางวิชาชพี ให้ได้รับโอกาส ได้รบั การพฒั นา ตนเองอย่างต่อเน่ือง 11) ส่งเสริมการผลิตและใชส้ ่ือรวมถึงงานวจิ ยั ในช้นั เรียน 12) พฒั นากระบวนการ PLC โดยจัดใหม้ กี ารแรกเปลยี่ นเรยี นรูแ้ ละให้ขอ้ มลู สะทอ้ นกลับ 13) ส่งเสริมและพฒั นากระบวนการนิเทศเพื่อพัฒนากระบวนการเรยี นการสอน

๓๑ แนวทางการพัฒนาสถานศกึ ษาในอนาคต โรงเรยี นรัตนโกสนิ ทร์สมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชปู ถมั ภ์ มีแนวทางการพฒั นาสถานศึกษาเป็นไป ตามรูปแบบการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานและการบรหิ ารแบบมีส่วนร่วม โดยพัฒนาทัง้ ทางด้านวิชาการ บุคลากร งบประมาณ และบริหารทว่ั ไป ดังนี้ ด้านวิชาการ โรงเรียนมีแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนากระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ น้นผู้เรียนเปน็ สำคัญอย่างต่อเนื่อง โดยส่งเสริมให้ครูผลิตและใช้สื่อรวมถึงงานวิจัยในชั้นเรียน ใช้กระบวนการนิเทศ เพื่อพัฒนา กระบวนการเรียนการสอน เพื่อยกระดับคุณภาพวิชาการและพัฒนาการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน ให้เป็นไป ตามเปา้ หมายของสถานศึกษาและสมู่ าตรฐานสากล อีกทงั้ ส่งเสริมความสามารถและทกั ษะของนกั เรียนในด้านต่าง ๆ เพิ่มมากขนึ้ ด้านงานปกครองและบุคลากร โรงเรียนมีการส่งเสริมและพัฒนาโดยใช้การบริหารแบบมีส่วนร่วม (Praticipative Managment) มกี ารเสริมและพัฒนาบุคลากรให้เปน็ ครูมอื อาชีพ พัฒนากระบวนการชุมชน แห่งการ เรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) โดยจัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ นอกจากนี้มีแนวทางในการ ส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนด้วยกระบวนการลูกเสือ โดยการบูรณาการและ สอดแทรกในเนอ้ื หาทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ เพอื่ พฒั นาผเู้ รียนใหเ้ ปน็ ไปตามลกั ษณะของ NAKA MODEL ดา้ นงบประมาณ มแี นวทางจัดสรร สง่ เสรมิ งบประมาณ ตามการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน (PBB) เพ่ือใหอ้ ย่างพอเพียงตามโครงการพฒั นาการเรียนการสอนสู่มาตรฐานสากลทุกกลุม่ สาระการเรยี นรู้ และขอคำปรึกษา จากหนว่ ยงานที่เก่ยี วขอ้ งเพอื่ พฒั นาในปีตอ่ ๆ ไป โดยคำนงึ ถึงเหตุผลและความจำเปน็ เปน็ สำคญั ด้านอาคารสถานที่ มีการพัฒนาจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อ การเรียนรู้ มคี วามปลอดภัย รวมท้ังมีการจัดสภาพสังคมท่ีดีเอ้ือต่อการเรียนรู้ ครอบคลมุ ทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ทั่วถึง ทุกคนทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย ให้สอดคล้องกบั สภาพปญั หา ความต้องการ เพื่อพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียนอยา่ งตอ่ เนือ่ ง ความตอ้ งการและการช่วยเหลอื 1. การสนับสนุนด้านงบประมาณจากหนว่ ยงานต้นสงั กัด 2. ความรว่ มมอื จากชุมชนและหนว่ ยงานภายนอกในด้านงบประมาณและบุคลากรทม่ี คี วามเชย่ี วชาญ

๓๒ 14. ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบส่ี มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผู้เรียน จุดเนน้ ผู้เรยี นมคี วามสามารถและทกั ษะในศตวรรษที่ ๒๑ ผลการพิจารณา ตัวช้ีวัด ผลการประเมิน o ปรบั ปรงุ (๐-๓ ข้อ) ✓ ๑. มกี ารระบุเป้าหมายคุณภาพของผู้เรยี น o พอใช้ (๔ ขอ้ ) ✓ ๒. มีการระบวุ ธิ ีพฒั นาคณุ ภาพของผู้เรียนอยา่ งเป็นระบบ ตาม ✓ ดี (๕ ข้อ) เป้าหมายการพฒั นาผู้เรียน ✓ ๓. มีผลสมั ฤทธข์ิ องผู้เรียนตามเปา้ หมายการพัฒนาผูเ้ รียน ✓ ๔. มกี ารนำผลประเมนิ คณุ ภาพของผู้เรยี นมาพฒั นาผูเ้ รยี น ดา้ น ผลสัมฤทธ์ิให้สูงขน้ึ ✓ ๕. มีการนำเสนอผลการประเมนิ คุณภาพของผู้เรยี นต่อ ผ้ทู เี่ ก่ียวขอ้ ง ขอ้ เสนอแนะ สถานศึกษาควรระบุข้อมูลใน SAR เพิ่มเติมให้ชัดเจนในประเด็นการระบุเป้าหมายการพัฒนาผู้เรียนตาม จุดเน้นในภาพรวม เช่น ผู้เรยี นมีทักษะด้านในศตวรรษที่ ๒๑ รอ้ ยละ ๖๕ หรือ มคี ณุ ภาพ ระดบั ดีหรือระบุเป้าหมาย แยกเป็นแตล่ ะทกั ษะใหค้ รบทุกดา้ น เชน่ ผเู้ รยี นมที ักษะการทำงานเป็นทีมและมภี าวะผู้นำรอ้ ยละ ๖๕ หรือ มีคุณภาพ ระดับดี เป็นต้น ควรเชื่อมโยงให้เห็นว่านำผลการดำเนินงานของปีท่ีผ่านมา มากำหนดเป็นแผนและวิธพี ัฒนาทักษะ แต่ละด้านอย่างไร มีการร่วมมือระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ใดบ้างเพื่อบูรณาการกิจกรรมให้มีความต่อเนื่องและ ส่งเสริมกัน มีวิธีการวัด ประเมินผลการดำเนินงานด้วยเครื่องมือใดบ้าง มีผลการประเมินเปรียบเทียบกับเป้าหมาย ที่ตั้งไว้และผลดำเนินการของปีที่ผ่านมาเป็นอย่างไร และนำจุดเด่น บทเรียนที่ได้จากการจัดการความรู้ (KM) ในการแก้ไขปัญหาจนประสบความสำเร็จมาวางแผนพัฒนาโครงการเดิม หรือจัดทำโครงการใหม่ให้มีประสิทธิผล สูงขน้ึ ในปีตอ่ ไปอย่างไร เม่อื สน้ิ สุดโครงการ ควรรายงานว่าได้นำเสนอผลการประเมนิ คุณภาพของผูเ้ รยี นต่อผูเ้ กยี่ วข้อง ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่มใดบ้าง เช่น ผู้ปกครอง สมาคมศิษย์เก่า ชุมชน ฯลฯ ผ่านวิธีการหรือช่องทางใดบ้าง เช่น จดั ทำ แผ่นพบั /วารสาร เอกสารออนไลน์ การจดั นิทรรศการแสดงผลงาน เปน็ ตน้

๓๓ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ จดุ เน้น การบรหิ ารและจัดการอยา่ งเปน็ ระบบ เนน้ การมสี ว่ นรว่ ม ผลการพจิ ารณา ตวั ชี้วัด ผลการประเมิน o ปรบั ปรุง (๐-๓ ขอ้ ) ✓ ๑. มีการวางแผนการดำเนินการในแต่ละปกี ารศกึ ษา o พอใช้ (๔ ขอ้ ) ✓ ๒. มกี ารนำแผนการดำเนนิ การไปใช้ดำเนินการ ✓ ดี (๕ ข้อ) ✓ ๓. มีการประเมนิ ผลสมั ฤทธิ์ของการดำเนินการตามแผน ✓ ๔. มีการนำผลการประเมินไปใช้ในการปรบั ปรุงแก้ไขใน ปกี ารศึกษา ตอ่ ไป ✓ ๕. มกี ารนำเสนอผลการบริหารจัดการของสถานศึกษาให้ ผมู้ ีสว่ นได้ ส่วนเสียได้รบั ทราบ ขอ้ เสนอแนะ สถานศกึ ษาควรมกี ารระบุข้อมลู ใน SAR เพม่ิ เติมในประเดน็ การบริหารและการจดั การอย่างเป็นระบบ เนน้ การมี ส่วนร่วม โดยควรกำหนดเป้าหมายความสำเร็จของแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน ให้มีทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ให้ชัดเจน สอดคล้องกับค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ ควรนำเสนอว่ามีวิธีการประเมินผล และการรายงานผลตามแผนปฏิบัติการ โครงการ กจิ กรรมท่ชี ดั เจนอย่างไร มผี ลการประเมินสูงหรือต่ำกว่าเป้าหมาย และเปรียบเทียบกับผลการดำเนินงานในปีที่ผ่านเป็นอย่างไร ควรนำเสนอว่ามกี ารรายงานผลการบริหารจดั การของ สถานศึกษาต่อผู้เกย่ี วข้อง ไดแ้ ก่ ผ้ปู กครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ชมุ ชน ฯลฯ โดยวิธกี ารใดและควร นำเสนอการเผยแพรป่ ระชาสัมพนั ธผ์ ลงานผ่านส่ือ ทั้งในรปู แบบเอกสาร และออนไลน์ ได้แก่ Website หรือเอกสาร แผ่น พบั ของสถานศึกษา เปน็ ต้น

๓๔ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ น้นผ้เู รยี นเป็นสำคัญ จดุ เน้น ครูจัดการเรยี นรู้แบบ Active Learning ผลการพจิ ารณา ตวั ชี้วัด ผลการประเมนิ o ปรับปรุง (๐-๓ ขอ้ ) ✓ ๑. ครูมีการวางแผนการจดั การเรยี นรูค้ รบทุกรายวชิ า ทกุ ชน้ั ป o พอใช้ (๔ ขอ้ ) ✓ ๒. ครูทกุ คนมีการนำแผนการจดั การเรยี นรไู้ ปใช้ในการจัด การเรยี น ✓ ดี (๕ ขอ้ ) การสอนโดยใชส้ ่อื เทคโนโลยีสารสนเทศและ แหล่งเรียนรู้ทีเ่ ออื้ ต่อ การเรียนรู้ ✓ ๓. มีการตรวจสอบและประเมินผลการจัดการเรียนการสอน อยา่ ง เป็นระบบ ✓ ๔. มกี ารนำผลการประเมนิ มาพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ของครู อย่างเป็นระบบ ✓ ๕. มกี ารแลกเปล่ียนเรียนรู้และใหข้ ้อมูลป้อนกลับเพอ่ื พฒั นา ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน ข้อเสนอแนะ สถานศึกษาควรเพ่มิ เติมข้อมูลให้ชัดเจนขึ้นเกี่ยวกับระบบการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญว่า ดำเนินการอย่างไร เช่น การนำวงจรคุณภาพ PDCA มาใช้เป็นแนวทางการดำเนินงานตามรูปแบบการบริหารและ จัดการเชิงระบบของสถานศกึ ษา หรือสร้าง MODEL ที่เป็นรูปแบบเฉพาะของสถานศกึ ษา เป็นต้น ที่เห็นการทำงาน แบบองค์รวม เช่น การนำเสนอกระบวนการวางแผนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ในทุกรายวิชา การนำแผนการจัดการเรียนรู้ ไปใช้ทั้งแบบ On-Site และ Online การประเมินประสิทธิภาพของสื่อสารสนเทศ แหล่งเรียนรู้และบทเรียนออนไลน์ที่ใช้ใน การจัดการเรียนรู้ว่าส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียนอย่างไร เช่น ความสนใจ ความเข้าใจในเน้อื หา คุณภาพของผเู้ รียนตาม จดุ เนน้ เป็นต้น รวมถงึ การนำเสนอแนวทางการพฒั นาครใู นการจัดการ เรียนการสอนที่สถานศึกษาได้ดำเนินการ เช่น การนิเทศ การจัดกิจกรรมชุมชมแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) การส่งเสริมการทำวิจัยในชั้นเรียน เป็นต้น และเมื่อจบปีการศึกษามีการรายงานผลการดำเนินงาน ควรเผยแพร่ใน เว็บไซตห์ รอื Facebook ของสถานศึกษา รายงานการประเมิน ตนเองดว้ ยการวาง QR Code หรอื Link เข้าสเู่ ว็บไซต์ ของสถานศึกษา ให้สามารถศกึ ษารายละเอียดเพ่ิมเตมิ ได้

๓๕ สรปุ ผลการประเมินจากหนว่ ยงานภายนอกและข้อเสนอแนะ สถานศึกษาควรมีขอ้ มูลหลกั ฐานที่มีคณุ ภาพ สะท้อนผลการดำเนินงานท่ีครบถ้วนและมีความชัดเจน ควรเพม่ิ แผนพัฒนาสถานศึกษาเพื่อให้ได้มาตรฐานที่สงู ขึน้ ในบทสรุปผู้บริหาร ควรเพิ่มข้อมูลดา้ นบริบทของสถานศึกษาและ ขอ้ มูลพ้นื ฐานท่ีสำคญั ได้แก่ ประวัติสถานศกึ ษาโดยสังเขป อตั ราสว่ นผ้เู รียน ต่อห้อง จำนวนวันที่สถานศึกษาจัดการ เรียนการสอนจริงในแต่ละปีการศึกษา เป็นต้น สถานศึกษาควรเพิ่มจุดเน้นในการพัฒนาแต่ละมาตรฐาน ข้อมูล ระยะเวลาของแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ของสถานศึกษาพร้อมเป้าหมายรายปี ข้อมูล/หลักฐานอ้างองิ ประกอบ ผลการประเมนิ คุณภาพที่นำไปสู่การบรรลุ เป้าหมาย ไดแ้ ก่ รูปแบบ/วธิ ีการทีเ่ ลือกใช้ ขัน้ ตอนการพัฒนา สารสนเทศ เชิงปริมาณหรือคณุ ภาพจากการวดั ประเมินผลและสรุปผลการดำเนนิ งาน กจิ กรรม โครงการตามแผนเม่ือเทียบกับค่า เป้าหมาย และผลการประเมินสูงหรือ ต่ำกว่าเป้าหมาย และเปรียบเทียบกับผลการดำเนินงานในปีที่ผ่านมาเป็น อย่างไร มีข้อมูลจากการนิเทศ กำกับติดตาม ข้อเสนอแนะจากบุคคล หรือหน่วยงานทีเ่ ก่ียวข้องซึ่งใชใ้ นการวางแผน พฒั นาคณุ ภาพสถานศึกษาในปีตอ่ ไป ควรมีการประชาสัมพนั ธผ์ ลการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาใหผ้ ู้เก่ียวข้องรับทราบ อย่างทั่วถงึ ผ่านช่องทางต่าง ๆ ที่หลากหลายและเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาและผู้เกี่ยวข้อง เช่น จัดทำเป็น เอกสารประกอบการประชุม หรือเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ใส่ใน Website หรือ Facebook ของสถานศึกษา หรือทำเป็น QR Code ที่สามารถเชื่อมโยงให้ ผู้เกี่ยวข้องสามารถเข้าไปอ่านข้อมูลหลักฐานอื่น ๆ ที่สถานศึกษา ตอ้ งการเผยแพรไ่ ด้ 15. การนำผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษามาใช้ในการปรับปรงุ และพัฒนาคุณภาพการศึกษา อย่างตอ่ เน่ือง โรงเรียนได้นำผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษามาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพ การศึกษา โดยการนำข้อมูลหลักฐาน มาสะท้อนผลการดำเนินงานให้มีความครบถ้วนและมีความชัดเจน โดยใช้ แผนพัฒนาสถานศึกษาเป็นมาตรฐาน มีการเพิ่มจุดเน้นในการพัฒนาแต่ละมาตรฐาน เพิ่มข้อมูลระยะเวลาของ แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาพรอ้ มเป้าหมายรายปี ข้อมูล/หลักฐานอ้างอิงประกอบผลการประเมิน คณุ ภาพที่นำไปสกู่ ารบรรลุเป้าหมาย มกี ารกำหนดรูปแบบ/วิธกี าร ขน้ั ตอนการพัฒนาสารสนเทศเชิงปริมาณและเชิง คุณภาพจากการวัดประเมินผลและสรุปผลการดำเนินงาน กิจกรรม โครงการตามแผน และเปรียบเทียบกับผลการ ดำเนินงานในปีที่ผ่านมา มีการนำข้อมูลจากการนิเทศ กำกับติดตาม ข้อเสนอแนะจากบุคคล หรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องมาใช้ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาในปีต่อไป มีการประชาสัมพันธ์ผลการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาให้ผู้เกี่ยวข้องรับทราบอย่างทั่วถึงผ่านช่องทางต่างๆ ที่หลากหลาย อาทิ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ใน Website, Facebook ของสถานศึกษา และ QR Code

๓๖ 16. การพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัตกิ ารประจำปีของสถานศึกษา 16.1 การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนรัตนโกสินทรส์ มโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชูปถัมภ์ แบ่งโครงสรา้ งการบริหารงานเป็น ๔ ด้าน ได้แก่ด้านการบริหารวิชาการ ด้านการบริหารงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านการบริหารทั่วไป ผู้บริหารยึดหลักการบริหาร/เทคนิคการบริหารแบบยึดโรงเรียนเป็นฐาน ใช้หลักการพัฒนาตามกระบวนการ PDCA, SBM และบรหิ ารงานโดยบุคลากรมสี ว่ นร่วม โครงสรา้ งการบรหิ ารงานโรงเรยี นรัตนโกสนิ ทร์สมโภชบวรนเิ วศศาลายา ในพระสงั ฆราชูปถัมภ์ ผอู้ ำนวยการโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน รองผอู้ ำนวยการ รองผ้อู ำนวยการ รองผูอ้ ำนวยการ รองผอู้ ำนวยการ กลุม่ บริหารวิชาการ กลุม่ บรหิ ารงบประมาณ กล่มุ บรหิ ารงานบคุ คล กล่มุ บริหารทัว่ ไป 1. งานพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา 1. งานแผนงานและจัดทำคำ 1. งานวางแผนอัตรากำลังและ 1. งานสำนักงานผู้อำนวยการ 2. งานพฒั นากระบวนการเรียนรู้ ของบประมาณ กำหนดตำแหน่งสรรหาและ 2. งานดำเนนิ งานธรุ การ ๓ งานวัดผล ประเมินผล และเทียบ 2. งานตรวจสอบ ติดตาม บรรจุแต่งตง้ั ๓. งานประสานงานและพัฒนา โอนผลการเรียน ประเมินผลและรายงาน 2.ง า น ท ะ เ บ ี ย น ป ร ะ ว ั ต ิ แ ล ะ เครอื ข่ายการศกึ ษา 4. งานวจิ ยั เพ่ือพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ๓. งานการเงินและการบัญชี ยกย่องเชิดชูเกยี รติ 4. งานพัฒนาระบบและเครือข่าย 5. งานพฒั นาสื่อนวตั กรรม 4. งานพสั ดุ และสินทรัพย์ ๓. งานวินัยและการรักษาวินยั ขอ้ มูลสารสนเทศ และเทคโนโลยที างการศกึ ษา 5. งานระดมทรพั ยากรและการ และออกจากราชการ 5. งานอนามัยโรงเรียน 6. งานพฒั นาและสง่ เสรมิ แหลง่ เรยี นรู้ ลงทุนเพอื่ การศึกษา 4.ง า น พ ั ฒ น า ส ่ ง เ ส ริ ม 6. งานเทคโนโลยเี พ่ือการศกึ ษา 7. งานนเิ ทศการศกึ ษา 6. งานจัดหาผลประโยชน์กับ ข้าราชการ และบุคลากร 7. งานดูแลอาคารสถานที่และ 8. งานพัฒนาและดำเนินงานสาระ ทรพั ยส์ ิน ทางการศกึ ษา สภาพแวดล้อม หลักสูตรท้องถน่ิ 7. งานกองทนุ เพื่อการศกึ ษา 5.ง า น ป ร ะ เ ม ิ น ผ ล ก า ร 8. ง า น ป ร ะ ส า น ร า ช ก า ร 9. งานวางแผนงานดา้ นวิชาการ 8.งานวิจัยเพื่อพัฒนานโยบาย ปฏบิ ัติงาน สว่ นภูมภิ าคและสว่ นท้องถน่ิ 10. งานจดั การเรียนการสอน และแผน 6. ง า น ร า ย ง า น ผ ล ก า ร 9. งานส่งเสริมสนับสนุนและ 11. งานจัดทำระเบียบและแนว 9.งานสารสนเทศโรงเรียน ปฏบิ ตั งิ าน ประสานการศึกษาของบุคลากร ปฏิบัติงานด้านวิชาการของ 10.งานจัดระบบการควบคุม 7. งานกิจการนกั เรียน ชุมชน องค์กรหน่วยงานและ สถานศกึ ษา ภายในหนว่ ยงาน 8. ง า น ร ะ บ บ ด ู แ ล ช ่ ว ย เ ห ลื อ สถาบันสงั คมอ่ืนท่ีจัดการศึกษา 12. งานคัดเลือกหนังสือแบบเรียน 11.งานจัดระบบการบริหาร นักเรียน 10.งานวางแผนการบริหารงาน เพอ่ื ใช้ในสถานศกึ ษา และพัฒนาองค์กร 9.ง า น ต ่ อ ต ้ า น ส า ร เ ส พ ต ิ ด ใ น การศึกษา 1๓. งานแนะแนว สถานศกึ ษา 11.งานจัดทำสำมะโนนักเรียน 14. งานส่งเสริมชุมชนให้มีความ 10.ง า น ค ุ ณ ธ ร ร ม จ ร ิ ย ธ ร ร ม 12.งานเสนอความเห็นเกี่ยวกับ เขม้ แข็งทางวิชาการ นกั เรยี น เรื่องการจัดตั้ง ยุบ รวมหรือเลิก 15. งานประสานความร่วมมือในการ 11.งานส่งเสริมประชาธิปไตย สถานศึกษา พัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาและ ในโรงเรยี น 1๓.งานประสานการจัดการศึกษา องค์กรอ่นื 12. งานรักษาความปลอดภยั ในระบบนอกระบบและ 16. งานส่งเสริมและสนับสนุนงาน 1๓. งานส่งเสริมระเบียบวินัย ตามอัธยาศัย วิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร นักเรยี น 14. งานโภชนาการ หน่วยงานสถานประกอบการ และ 15. งานทศั นศกึ ษา สถาบันอนื่ ทจี่ ัดการศึกษา 16. งานประชาสัมพันธ์งาน 17.งานรบั นกั เรียน การศกึ ษา 18. งานพัฒนาระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา

๓๗ วสิ ัยทัศน์ พันธกจิ ยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์ จดุ มุ่งหมายเพ่ือการพฒั นา อตั ลักษณ์ และเอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา วสิ ัยทัศน์ “สถาบนั ผู้นำแหง่ ภูมิปัญญาและการเรยี นรู้ สมู่ าตรฐานสากล บนพื้นฐานความเป็นไทย” พันธกิจ ๑. สง่ เสรมิ การจัดการศกึ ษาตามหลักสตู รการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ๒. สง่ เสรมิ และสนับสนุนใหน้ ักเรียนทกุ คนไดร้ ับการศึกษาอย่างท่วั ถึง ทัดเทยี มและมีคุณภาพ ๓. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณ ธรรมจริยธรรม มีคุณ ลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร และค่านิยม หลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ ๔. พัฒนาระบบบริหารจัดการ ที่เน้นการมีส่วนร่วม เพ่อื เสริมสร้างความรับผิดชอบ ต่อคุณภาพการศึกษา และบูรณาการการจดั การศึกษา ๕. สง่ เสรมิ การจดั การเรยี นการสอนเทยี บเคียงมาตรฐานสากล บนพืน้ ฐานความเปน็ ไทย ๖. สง่ เสรมิ การดำเนนิ งานตามแนวพระราชดำรขิ องเศรษฐกิจพอเพยี ง ยุทธศาสตรแ์ ละกลยุทธ์ ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ หนว่ ยงานที่ รับผิดชอบ ๑. ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพ 1.1.๑ พัฒนาหลักสูตรและกิจกรรมด้าน กล่มุ บริหารวชิ าการ การศึกษา วชิ าการ 1.1 การพฒั นาหลักสตู ร ๑.๑.๒ พฒั นาหลักสูตรสนบั สนุนภูมสิ ังคมอาชีพ และหลักสูตรฐานสมรรถนะที่สอดคล้องกับ ความตอ้ งการของประเทศและมาตรฐานสากล ๑.๑.๓ ปรับปรุงวิธีการวัดและประเมินผล นักเรียนให้ตอบสนองความแตกต่าง ทหี่ ลากหลายของนกั เรยี นทกุ กลุ่ม ๑.๑.๔ ส่งเสริมสนับสนุนการจัดหลักสูตร ประชาธิปไตย ความเป็นไทย เศรษฐกิจ พอเพียง การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและ การป้องกันยาเสพตดิ

๓๘ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ หนว่ ยงานท่ี 1.2 การพัฒนาการจดั การ รบั ผิดชอบ ๑.๒.๑ ส่งเสริมสนับสนุนให้มีโครงการ กลมุ่ บริหารวิชาการ เรยี นการสอน เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนใน การศึกษาในระบบ นอกระบบ และการศึกษา กลุ่มบรหิ ารทวั่ ไป 1.3 การพฒั นาสถานศึกษา ตามอธั ยาศยั และแหล่งเรยี นรู้ ๑.๒.๒ พัฒนานักเรียนให้มีสมรรถนะใน การเรียนรู้ สรา้ งสรรคน์ วัตกรรมต่าง ๆ ๑.๒.๓ ยกระดับความสามารถดา้ นเทคโนโลยี ความคดิ สร้างสรรค์ และภาษาต่างประเทศ ๑.๒.๔ รณรงค์ ส่งเสริมให้มีการสร้างความรู้ ความเข้าใจ ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม สันติวิธี จิตอาสา จิตสาธารณะ จิตสำนึก ความรับผิดชอบ ให้แก่นักเรียนทุกระดับ การศึกษาเพือ่ สรา้ งความเป็นพลเมือง ๑.๒.๕ ส่งเสริม สนับสนุนให้ทุกภาคส่วน เข้ามามีส่วนร่วมเป็นเครือข่ายพฒั นาคุณภาพ การศึกษา ๑.๒.๖ ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนด้าน การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ประวัติศาสตร์ประชาธิปไตย เศรษฐกิจ พอเพยี ง ๑.๒.๗ ส่งเสริมการพฒั นานกั เรียนด้วย กระบวนการสะเต็มศึกษา(STEM Education) ๑.๒.๘ ส่งเสริมการจดั กจิ กรรม “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้” ๑.๓.๑ ส่งเสริม สนับสนนุ เขา้ รบั การคัดเลอื ก ยกย่อง เชดิ ชเู กยี รติสถานศกึ ษา ๑.๓.๒ จดั ใหม้ แี หล่งเรียนรู้หลากหลายรูปแบบ รวมทั้งส่อื ทางไกล สือ่ ออนไลน์ ออนแอร์ ๑.๓.๓ จัดให้สถานศึกษามีความเป็นเลิศ เฉพาะดา้ นในกลุ่มอาชีพต่าง ๆ ๑.๓.๔ พัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ มาตรฐาน

๓๙ ยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ หนว่ ยงานท่ี รับผดิ ชอบ 2. ยุทธศาสตร์การพัฒนา ๒.๑ พัฒนาทักษะการเข้าถึงความรู้ใหม่ ๆ กลุ่มบรหิ ารทั่วไป เทคโนโลยเี พอื่ การศึกษา ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อพรอ้ มใช้ Free WiFi ๒.๒ บูรณาการความร่วมมือด้านเทคโนโลยี สารสนเทศเพอื่ การศกึ ษา ๒.๓ สง่ เสรมิ การเรียนร้ใู นชมุ ชน (Community) ผ่านเครือขา่ ยเทคโนโลยี สารสนเทศเพอื่ การศึกษา ๓. ยุทธศาสตร์การเพิ่มโอกาสทาง ๓.๑ ส่งเสริมให้มีระบบคัดกรอง ระบบ กลมุ่ บริหารงานบุคคล การศึกษา เฝ้าระวัง ระบบช่วยเหลือดูแล ระบบ (งานกจิ การนักเรยี น) แนะแนว และระบบการส่งต่อนักเรียนแต่ละ ระดับการศึกษาให้มีโอกาสเข้าถึงการศึกษา ตามศักยภาพของนักเรียนไดอ้ ย่างต่อเนอ่ื ง ๓.๒ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษา ทางเลือกทเ่ี หมาะสมกับบริบทของแตล่ ะพ้นื ที่ ๓.๓ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษา สำหรับกลุ่มเป้าหมายพิเศษที่เหมาะสมกับ บริบทของแตล่ ะพื้นท่แี ละกลุ่มเปา้ หมาย ๓.๔ สนับสนนุ การเรยี นฟรีจนจบการศึกษาขั้น พน้ื ฐาน ๓.๕ ส่งเสริมสนับสนุนการจัดสรรทุน หนึง่ ทนุ หนงึ่ อำเภอ เพือ่ เปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี น ได้ศึกษาต่อตา่ งประเทศ ๓.๖ สนับสนุนให้นกั เรียนมีโอกาสทำงานและ สร้างรายได้ระหว่างเรียน 4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาครูทั้ง ๔ . ๑ ก ำ ห น ด น โ ย บ า ย แ ล ะ ว า ง แ ผ น กลุ่มบรหิ ารงานบุคคล ระบบ การพัฒนาครูคณาจารย์และบุคลากรทางการ ศกึ ษา ๔.๒ ส่งเสริมการพัฒนาและฝึกอบรมครู/ ผู้เชี่ยวชาญสู่การเป็นครูมืออาชีพในแต่ละ สาขา

๔๐ ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ หนว่ ยงานที่ รบั ผิดชอบ ๔.๓ ส่งเสริมให้มีการนำความรู้และบุคลากร จากภายนอก ได้แก่ ครูภูมิปัญญา และ บุคลากรจากสถานประกอบการเข้ามาเป็น ครผู ้สู อนในสถานศกึ ษา ๔.๔ ส่งเสริมขวัญ กำลังใจ แรงจูงใจและ กำหนดหลักเกณฑ์ความก้าวหน้า/ การคงอยู่ ของการประกอบวชิ าชีพครู ๔.๕ ยกย่อง เชิดชู คนดีคนเก่งในสายวิชาชีพ ทั้งในและนอกระบบ ๔.๖ สง่ เสรมิ ให้มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้ในการพัฒนาครูท้งั ระบบ 5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาการ ๕.๑ ปรบั โครงสร้างการบริหารภายในเพื่อมุ่งสู่ กลุม่ บริหารงบประมาณ บริหารจัดการ การดำเนินงานเชงิ บรู ณาการ ๕.๒ ให้สถาบันอุดมศึกษาร่วมกับหนว่ ยงานท่ี เกี่ยวข้องจัดทำแผนยุทธศาสตร์พัฒนาเพ่ือ สง่ เสรมิ ศกั ยภาพการแขง่ ขันของประเทศ ๕.๓ พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศใน การบรหิ ารจดั การ ๕.๔ ส่งเสริมสนับสนุนการทำงาน เชิง บูรณาการ/การสร้างเครือข่ายการทำงาน ระหว่างภาครัฐ เอกชน และองค์กรอนื่ ๕.๕ สนับสนุนให้หน่วยงานและสถานศึกษา รับผดิ ชอบผลผลิตของตนเองต่อสงั คม ๕.๖ รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ และขับเคลื่อน นโยบาย/ยทุ ธศาสตร์/มาตรการของกระทรวง ศกึ ษาธิการ สู่การปฏิบตั ิ ๖. ยุทธศาสตร์การวิจัยและพัฒนา ๖.๑ ส่งเสริมสนับสนุนการวิจัยทางการศึกษา กลุ่มบริหารวชิ าการ เพอ่ื สรา้ งทนุ ทางปัญญาของชาติ ด้วยระเบียบวิธีที่เหมาะสมกับความต้องการ และบรบิ ทของพน้ื ท่ี ๖.๒ สง่ เสรมิ การทำการวิจยั เชิงบูรณาการเพ่ือ พัฒนาการศึกษาและเรียนรู้ และตอบสนอง ความต้องการของทอ้ งถิ่น สหวิทยาการ และ

๔๑ ยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์ หน่วยงานที่ รับผดิ ชอบ เพิ่มขีดความสามารถ การแข่งขันในระดับ กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ สากล ๖.๓ กำหนดให้มีหน่วยงานกลางใน การส่งเสรมิ สนับสนนุ การวิจัยทางการศึกษา ๖.๔ ส่งเสริมสนับสนุนการศึกษาค้นคว้า วิจัย เพื่อพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียน การสอน ๗. ยุทธศาสตร์พัฒนาโรงเรียนสู่ ๗.๑ ส่งเสริมให้ครูสามารถจัดการเรียน มาตรฐานสากล (World - Class การสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล การสอน Standard School) ได้สองภาษา การพัฒนาการใช้ IT ใช้ระบบ การวัดผลประเมินผลแบบมาตรฐานสากล ใช้หนังสือเรียนและสื่อภาษาต่างประเทศ แลกเปลี่ยนการเรียนรู้การจัดการเรียน การสอนระดบั นานาชาติ ครมู ีผลงานวิจยั และ จดั ทำหลกั สตู รให้เปน็ มาตรฐานสากล ๗.๒ พัฒนานักเรยี นให้มีผลสัมฤทธิ์ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดับชาติ มีความสามารถ และ ค ว า ม ถ น ั ด ท ี ่ แ ข ่ ง ข ั น ร ะ ด ั บ น า น า ช า ต ิ ไ ด้ น ั ก เ ร ี ย น เ ร ี ย น ต ่ อ ใ น ร ะ ด ั บ ส ู ง จ น ถ ึ ง ร ะ ดั บ อุดมศึกษาในอัตราสูง ใช้ภาษาไทยและ ภ า ษ า อ ั ง ก ฤ ษ ใ น ก า ร ส ื ่ อ ส า ร ไ ด ้ ดี เขยี นเรียงความข้นั สงู ได้ สามารถผลิตผลงาน สร้างสรรค์ได้ ทั้งด้านวิชาชีพและวิชาการ มผี ลงานประเภทโครงงาน 7.๓ ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์และสามารถนำ โรงเรียนสู่การเป็นมาตรฐานสากล บรหิ ารจดั การด้วยระบบคุณภาพ มคี วามเป็น ผู้นำทางวิชาการ (Academic Leadership) ที่มีผลงานปรากฏเป็นที่ยอมรับ มีศักยภาพ ก า ร ใ ช ้ IT ม ี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ ช ้ ภาษา ต่างประเทศในการสื่อสาร มีระบบการจัด ความรู้และสร้างนวัตกรรมเผยแพร่ และมี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook