สารบญั สารจากประธานกรรมการ 2 สารจากกรรมการผจู้ ดั การใหญ ่ 4 รายนามและประวตั คิ ณะกรรมการ 6 โครงสรา้ งผถู้ อื หนุ้ บรษิ ัท ขนสง่ จำ� กดั 22 รายนามผบู้ รหิ ารระดบั สงู 24 วสิ ยั ทศั น์ พันธกจิ กลยทุ ธท์ ส่ี ำ� คญั และผงั โครงสรา้ งองคก์ ร 27 ผลการดำ� เนนิ งานทส่ี ำ� คญั 32 รายงานวเิ คราะหฐ์ านะการเงนิ และผลการดำ� เนนิ งานของบรษิ ัท ขนสง่ จำ� กดั 35 ปจั จยั และอทิ ธพิ ลตอ่ การดำ� เนนิ งานในอนาคต 38 รายงานผลการดำ� เนนิ งานตามนโยบายการกำ� กบั ดแู ลกจิ การทด่ี ี 42 รายงานความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม 52 การบรหิ ารจดั การองคก์ ร 59 60 • การบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล 63 • การพัฒนาทรพั ยากรบคุ คล 66 • การบรหิ ารจดั การสารสนเทศ 67 • การบรหิ ารความเสย่ี งและการควบคมุ ภายใน 69 71 การดำ� เนนิ งานตามพระราชบญั ญตั ขิ อ้ มลู ขา่ วสารของราชการ พ.ศ. 2540 รายนามและอำ� นาจหนา้ ทข่ี องกรรมการและคณะอนกุ รรมการบรษิ ัท ขนสง่ จำ� กดั 87 รายละเอยี ดการเขา้ ประชมุ ของคณะกรรมการและคณะอนกุ รรมการบรษิ ัท ขนสง่ จำ� กดั 92 และคา่ ตอบแทนทไ่ี ดร้ บั ประจำ� ปี 2563 94 รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ 96 รายงานความรบั ผดิ ชอบของคณะกรรมการบรษิ ัทฯ ตอ่ รายงานทางการเงนิ 132 งบการเงนิ และหมายเหตปุ ระกอบการเงนิ 144 ขอ้ มลู การดำ� เนนิ งานของบรษิ ัทฯ ความเปน็ มาจากอดตี สปู่ จั จบุ นั รายงานประจ�ำปี 2563 บรษิ ัท ขนส่ง จ�ำกัด 1
สารจากประธานกรรมการบริษัทฯ 2 รายงานประจ�ำปี 2563 บริษัท ขนส่ง จำ� กดั
ริษัท ขนส่ง จ�ำกัด หรือ บขส. รัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงคมนาคม มีหน้าท่ีให้บริการ ผู้โดยสารด้วยรถโดยสารสาธารณะจากกรุงเทพฯ ไปยังจังหวัดต่าง ๆ ทั่วประเทศ ตลอดระยะเวลาการดำ� เนนิ งานท่ผี า่ นมา บรษิ ัทฯ ได้มกี ารพัฒนาและยกระดับคุณภาพการบริการ ให้มมี าตรฐานท่ดี ี มีประสทิ ธภิ าพ และมคี วามปลอดภัยสูงสุด รวมทัง้ เปน็ หน่วยงานท่สี นับสนุนและ ขับเคล่ือนนโยบายภาครัฐ โดยเฉพาะในเร่ืองการบริการและการอ�ำนวยความสะดวกแก่ประชาชน ในการเดนิ ทางไปยังจุดหมายปลายทางต่าง ๆ ทั่วประเทศ จากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ทไ่ี ดส้ ง่ ผลตอ่ เศรษฐกจิ โลกและประเทศไทย โดยเฉพาะดา้ นคมนาคมขนสง่ ไดม้ กี ารหยดุ ชะงกั การใหบ้ รกิ ารระยะหนงึ่ ชว่ งเดอื นมนี าคม - พฤษภาคม 2563 ทำ� ให้ บขส. มภี าระคา่ ใชจ้ า่ ยในการด�ำเนินงานเพิ่มสูงขนึ้ จากการจดั หาอุปกรณ์ และผลติ ภัณฑ์ต่าง ๆ ท่ีไดน้ ำ� มาตดิ ตัง้ ภายในสถานขี นส่งผโู้ ดยสารทุกแหง่ เพ่ือปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) และ บขส. ยังไดร้ บั มอบหมาย ให้ปฏิบัติภารกิจส�ำคัญในการอ�ำนวยความสะดวกแก่ผู้เดินทางกลับจากประเทศกลุ่มเส่ียง โดยจัดรถโดยสารรบั -สง่ ไปยัง State Quarantine และจดั รถโดยสารรองรบั กล่มุ แรงงานพมา่ ทป่ี ระสงคเ์ ดนิ ทางกลบั ประเทศ ใหเ้ ดนิ ทางกลบั อยา่ งปลอดภยั เปน็ ไปตามมาตรการทภ่ี าครฐั กำ� หนด อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ก็สามารถผ่านพ้นภาวะวิกฤตดังกล่าวไปได้ด้วยดี ทั้งน้ีด้วยได้รับ ความรว่ มมอื รว่ มแรงรว่ มใจจากผบู้ รหิ ารและพนกั งานทกุ คนในการดแู ลตนเอง และอำ� นวยความสะดวก ให้แก่ผู้ใช้บริการ ท�ำหน้าท่ีของตนเองด้วยความรับผิดชอบและเสียสละ พร้อมกันน้ียังได้รับ ความรว่ มมอื จากผใู้ ชบ้ รกิ ารปฏบิ ตั ติ นตามมาตรการทร่ี าชการกำ� หนด ทำ� ให้ บขส. สามารถผา่ นพ้น เหตกุ ารณด์ งั กลา่ วไปได้ดว้ ยดี ในโอกาสน้ี ผมขอขอบคณุ ผบู้ รหิ ารและพนกั งานบรษิ ัท ขนสง่ จำ� กดั ทกุ คนทไ่ี ดท้ มุ่ เทกำ� ลงั กาย ก�ำลังสติปัญญา ปฏิบัติหน้าท่ีอย่างเต็มก�ำลังความสามารถเพ่ือต่อสู้กับภาวะวิกฤต ท้ายน้ ี ผมขออาราธนาสง่ิ ศักดส์ิ ทิ ธท์ิ ท่ี กุ ทา่ นเคารพนบั ถอื บารมแี หง่ พระสยามเทวาธริ าชโปรดปกปกั รกั ษา ค้มุ ครองทุกท่านใหแ้ คล้วคลาดปลอดภยั มีสขุ ภาพกาย สขุ ภาพใจ แข็งแรงผอ่ งใส ร่วมแรงรว่ มใจ ขับเคล่อื นองค์กรสู่ความยัง่ ยืนสืบต่อไป นายสรพงศ์ ไพฑรู ย์พงษ์ ประธานกรรมการ บริษัท ขนส่ง จำ� กัด รายงานประจำ� ปี 2563 บริษัท ขนส่ง จำ� กดั 3
สารจากกรรมการผ้จู ดั การใหญ่ 4 รายงานประจำ� ปี 2563 บรษิ ัท ขนส่ง จำ� กดั
นโอกาสท่ีผมได้เข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ บขส. นับเป็นความภาคภูมิใจ และเป็นความท้าทายในการท่ีจะขับเคล่ือนและพัฒนา บขส. ให้ก้าวไปอย่างมั่นคง ในช่วง ท่ีประเทศไทยก�ำลังประสบกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา (COVID-19) ผมได้วางแผนจะปรับเปล่ยี นธรุ กิจของ บขส. โดยใช้ Smart Digital Technology มาเป็นหวั ใจ ในการด�ำเนนิ งาน 4 ดา้ น ประกอบด้วย 1. SMART Station (Modern Bus) การพัฒนาบริการ ปรบั ปรงุ รถโดยสาร และสถานขี นส่งใหท้ ันสมัย 2. SMART Product & Service เพิ่มสิง่ อ�ำนวย ความสะดวก เชน่ มรี ะบบ WiFi บนรถโดยสารและสถานขี นสง่ ฯ 3. SMART Asset พัฒนาสถานหี ลกั เชน่ สถานขี นสง่ ผโู้ ดยสารกรงุ เทพ (จตจุ กั ร) ใหส้ อดคลอ้ งกนั กบั สถานกี ลางบางซอ่ื หรอื โครงการ พัฒนาเมืองอัจฉริยะ และ 4. SMART Firm น�ำระบบเทคโนโลยี Digital มาบริหารจัดการ เพ่ือปรบั เปล่ยี นองคก์ รให้ทันสมัย เพิ่มทกั ษะใหก้ บั พนักงานเตรียมตวั เขา้ สู่ “Digital Transport” อย่างไรก็ดี ผมมีความต้ังใจจะน�ำเอาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้พัฒนาและยกระดับ คุณภาพการบริการให้ได้มาตรฐาน มีประสิทธิภาพ โดยค�ำนึงถึงความสะดวก รวดเร็ว ทนั สมยั ปลอดภัย สามารถเช่อื มต่อการเดินทางระหวา่ งทางบก ทางน�ำ้ ทางรางและทางอากาศ เพ่ือตอบสนองความตอ้ งการของผ้โู ดยสารได้มากยิ่งขนึ้ โอกาสน้ี ผมขอขอบคณุ ผถู้ อื หนุ้ คณะกรรมการบรษิ ทั ขนสง่ จำ� กดั ผบู้ รหิ ารและพนกั งานทกุ คน ท่ีสนับสนุนการท�ำงาน ท�ำให้ผลงานเป็นท่ีปรากฏ สามารถสนองตอบนโยบายของรัฐบาล และความต้องการของผู้ใช้บริการได้เป็นอย่างดี สุดท้ายน้ี ผมขอเป็นก�ำลังให้ทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้อง และหวงั เปน็ อย่างย่งิ ว่า พนักงานทุกคนจะช่วยกันน�ำพาองคก์ รไปสู่จดุ หมาย และผ่านวิกฤตในชว่ ง สถานการณ์ COVID-19 น้ีไปด้วยกนั นายสัญลักข์ ปัญวฒั นลิขติ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ขนส่ง จำ� กัด รายงานประจำ� ปี 2563 บริษัท ขนสง่ จ�ำกดั 5
รายนามและประวตั ิ คณะกรรมการ 6 รายงานประจำ� ปี 2563 บรษิ ัท ขนสง่ จ�ำกัด
คณะกรรมการบริษัทฯ นายสรพงศ์ ไพฑรู ยพ์ งษ์ MR.SORAPONG PAITOONPHONG ประธานกรรมการ / CHAIRMAN อายุ 48 ปี ระยะเวลาดำ� รงตำ� แหน่ง ตง้ั แต่วนั ท่ี 2 พฤษภาคม 2563 - ปัจจุบัน ••คณุ วฒุ กิ ารศึกษา / ประวตั กิ ารอบรม •• หวั หนา้ สำ� นกั งานรฐั มนตรี กระทรวงคมนาคม ปี 2557 - 2559 ปรญิ ญาตรี รฐั ศาสตรบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ พ.ศ. 2536 ผชู้ ว่ ยปลดั กระทรวงคมนาคม ดา้ นแผนงานและงบประมาณ ปริญญาโท รัฐศาสตรมหาบัณฑิต University of Kent at ปี 2559 - 25562 และเปน็ ผรู้ วบรวมผลการดำ� เนนิ งานรบั ผดิ ชอบ Canterbury United Kingdom พ.ศ. 2538 ดา้ นการประชาสมั พนั ธ์ การชแ้ี จงมวลชนของกระทรวงคมนาคม และท�ำหน้าท่ีในการจัดท�ำยุทธศาสตร์การพัฒนาการวางแผน การอบรมบทบาทหนา้ ทกี่ รรมการ การลงทนุ ของกระทรวงคมนาคมในทว่ั ทกุ ภาคของประเทศ โดย ไดต้ ดิ ตามรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงคมนาคม และรฐั มนตรชี ว่ ย • นักบริหารระดับสูง ส�ำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน วา่ การกระทรวงคมนาคมตรวจราชการในทว่ั ทกุ พนื้ ทใี่ นระหวา่ ง (นบส.) รนุ่ ที่ 83 ปี 2559 ••ปี 2557 - 2562 • การอบรมด้านการพัฒนาระดับนโยบายสถาบัน The national ทำ� หนา้ ทร่ี องโฆษกกระทรวงคมนาคม ปี 2557 - 2562 ••Graduate Institute of Policy studies (GRIPS) ประเทศญปี่ นุ่ ปี 2559 ท�ำหน้าที่หัวหน้าส�ำนักงานบริการความร่วมมือระหว่าง รฐั บาลไทยและสาธารณรฐั ประชาชนจนี ดา้ นการพฒั นาระบบ อบรมหลกั สตู รนกั บรหิ ารการเงนิ การคลงั ภาครฐั ระดบั สงู (บงส.) รนุ่ ท่ี 7 รถไฟ ปี 2559 - ปจั จบุ นั โดยเปน็ ผทู้ ำ� หนา้ ทชี่ ว่ ยในการเจรจา อบรมหลักสูตรประกาศนียบัตรช้ันสูงการบริหารงานภาครัฐและ กับสาธารณรัฐประชาชนจีนในการก่อนสร้างโครงการรถไฟ •กฎหมายมหาชน (ปรม.) รนุ่ ที่ 10 •ความเรว็ สงู มาโดยตลอด อบรมวทิ ยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร วปอ. รนุ่ ที่ 2555 อธบิ ดกี รมการขนสง่ ทางราง 16 ธนั วาคม 2562 - 30 กนั ยายน 2562 •ประสบการณท์ ำ� งาน ••ความรู้ ความชำ� นาญ ปฏิบัติการด้านการต่างประเทศในต�ำแหน่ง นักวิชาการขนส่ง ปฏบิ ตั กิ าร กองการระหวา่ งประเทศสำ� นกั งานปลดั กระทรวงคมนาคม ดา้ นบรหิ ารจดั การภาครฐั ดา้ นคมนาคมและการขนสง่ •ปี 2541 - 2542 ตำ� แหนง่ ปจั จบุ นั ปฏบิ ตั งิ านดา้ นการวเิ คราะหน์ โยบายและแผนในตำ� แหนง่ เจา้ หนา้ ที่ • รองปลดั กระทรวงคมนาคม หวั หนา้ กลมุ่ ภารกจิ ดา้ นการขนสง่ วิเคราะห์นโยบายและแผนส�ำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและ • กรรมการ องคก์ ารขนสง่ มวลชนกรงุ เทพฯ จราจร ปี 2543 - 2545 ทำ� งานรบั ผดิ ชอบดา้ นการวเิ คราะหโ์ ครงการ • กรรมการ บรษิ ทั ขนสง่ จำ� กดั • กรรมการ การทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย •ลงทนุ ขนาดใหญ่ การดำ� รงตำ� แหนง่ กรรมการหรอื ผบู้ รหิ ารระดบั สงู ปฏิบัติราชการช่วยงานส�ำนักงานรัฐมนตรี ประจ�ำรัฐมนตรีว่าการ ••ในรฐั วสิ าหกจิ และบรษิ ัทอนื่ •กระทรวงคมนาคม ปี 2543 - 2547 กรรมการ องคก์ ารขนสง่ มวลชนกรงุ เทพฯ กรรมการ การทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย ปฏิบัติราชการด้านการพัฒนาระบบขนส่งและจราจร ประจ�ำ การถอื ครองหนุ้ ในรฐั วสิ าหกจิ / ส�ำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร ปี 2547 - 2556 มีผลการปฏิบัติราชการท่ีส�ำคัญท้ังในด้านการพัฒนาระบบการขนส่ง •บรษิ ัททเี่ กย่ี วขอ้ งกบั บขส. เกนิ กวา่ รอ้ ยละ 10 และจราจร และดา้ นแผนมหภาค ไดแ้ ก่ - แผนแมบ่ ทการขนสง่ มวลชนทางรางในเขตกรงุ เทพมหานคร และ ไมม่ ี ปรมิ ณฑล •รายการทเ่ี กยี่ วโยงกนั ทมี่ ตี อ่ รฐั วสิ าหกจิ - แผนแม่บทการพัฒนาระบบรถไฟทางคู่และรถไฟความเร็วสูง ของประเทศ ไมม่ ี - แผนการลงทนุ ดา้ นโครงสรา้ งพน้ื ฐานระยะเรง่ ดว่ นของการรถไฟ แหง่ ประเทศไทย ปี 2553 - 2557 - แผนการลงทุนด้านโครงสร้างพ้ืนฐานเพ่ือสร้างอนาคตไทย •(แผนการลงทนุ 2 ลา้ นลา้ นบาท) ผอู้ ำ� นวยการกองกลางสำ� นกั งานปลดั กระทรวงคมนาคม ทำ� หนา้ ที่ เลขานกุ าร บรหิ ารจดั การงานผบู้ รหิ าร ปี 2556 รายงานประจำ� ปี 2563 บรษิ ัท ขนส่ง จ�ำกัด 7
คณะกรรมการบริษัทฯ นางสาวเพียงออ เลาหะวไิ ลย MISS PIANG-OR LOAHAVILAI รองประธานกรรมการ / VICE CHAIRMAN อายุ 56 ปี ระยะเวลาด�ำรงตำ� แหน่ง ตง้ั แต่วันท่ี 2 พฤษภาคม 2563 - ปจั จุบนั ••คณุ วฒุ ิการศึกษา / ประวตั กิ ารอบรม •ความรู้ ความชำ� นาญ รัฐศาสตรบณั ฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ดา้ นการบริหารจดั การและบรหิ ารธุรกิจ Master of Business Administration (M.B.A. in Internatiness) Seoul National University Seoul, •ตำ� แหน่งปัจจุบนั •Repubic of Korea อาจารย์ประจ�ำ วิทยาลัยนานาชาตินวัตกรรมดิจิทัล วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (Ph.D. in Knowledge Management) มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ •มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ •การอบรมบทบาทหนา้ ท่ีกรรมการ กรรมการ บรษิ ทั ขนส่ง จำ� กัด ไม่มี การดำ� รงตำ� แหนง่ กรรมการหรอื ผบู้ รหิ ารระดบั สงู •ประสบการณ์ท�ำงาน •ในรฐั วสิ าหกจิ และบรษิ ัทอนื่ ผู้จัดการฝ่ายบริหาร บริษัท ชินยัง (ประเทศไทย) จ�ำกัด ไม่มี ผู้ผลิตอุปกรณ์ Outdoor ร่วมทุน จากสาธารณรัฐเกาหลี การถอื ครองหุ้นในรฐั วสิ าหกจิ / •ปี 2533 - 2534 •บริษัททีเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั บขส. เกนิ กว่าร้อยละ 10 KEC Corporation, Republic of Korea ประจ�ำต�ำแหน่ง ใน บริษัท เคอีซี (ประเทศไทย) จ�ำกัด นิคมอุตสาหกรรม ไมม่ ี •ภาคเหนอื อำ� เภอเมอื ง จงั หวัดลำ� พนู ปี 2534 - ปจั จบุ ัน •รายการทีเ่ กีย่ วโยงกันทีม่ ีตอ่ รัฐวสิ าหกจิ นักเขียน คอลัมน์ “ส่องเกาหลี” หนังสือพิมพ์โพสต์ทูเดย์ ไมม่ ี 553 บทความพอ๊ กเกต๊ บุกส์ 2 เล่ม นกั แปลนวนยิ ายเยาวชน •เกาหลี 4 เล่ม ปี 2551 - 2562 ผู้เช่ียวชาญการบ่มเพาะธุรกิจ ประจ�ำกองทุนต้ังตัวได้ •สำ� นกั งานคณะกรรมการอดุ มศึกษา ปี 2556 - 2557 หัวหน้าโครงการจัดต้ังมหาวิทยาลัยแพร่ ในความร่วมมือ ระหว่างองค์กรบริหารส่วนจังหวัดแพร่ มหาวิทยาลัยราชภัฏ อตุ รดติ ถ์ และวทิ ยาลยั นานาชาตนิ วตั กรรมดจิ ทิ ลั มหาวทิ ยาลยั •เชยี งใหม่ ปี 2558 - 2560 อาจารย์ประจ�ำ วิทยาลัยนานาชาตินวัตกรรมดิจิทัล มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ ปี 2561 -ปจั จบุ นั 8 รายงานประจ�ำปี 2563 บริษัท ขนสง่ จำ� กดั
นายวทิ ยา ยามว่ ง MR.WITHAYA YAMOUNG กรรมการ / BOARD OF DIRECTORS อายุ 55 ปี ระยะเวลาด�ำรงตำ� แหน่ง ตั้งแตว่ ันท่ี 2 พฤษภาคม 2563 - ปัจจุบัน •••คุณวฒุ กิ ารศึกษา / ประวัติการอบรม ความรู้ ความช�ำนาญ นติ ศิ าสตรบณั ฑติ มหาวทิ ยาลัยรามคำ� แหง • ดา้ นกฎหมาย เนตบิ ณั ฑติ ไทย สมัยท่ี 51 • ด้านคมนาคมและการขนส่ง รฐั ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต • ด้านบริหารจดั การองคก์ ร ••การอบรมบทบาทหนา้ ท่กี รรมการ นกั บรหิ ารระดบั สงู รุ่นท่ี 69 ส�ำนักงาน ก.พ. ปี 2553 •••ต�ำแหน่งปจั จุบนั นกั กฎหมายภาครฐั ระดบั สงู รนุ่ ท่ี 6 สำ� นกั งานคณะกรรมการ อธบิ ดกี รมเจา้ ท่า •กฤษฎีกา ปี 2560 กรรมการ องคก์ ารขนสง่ มวลชนกรุงเทพ กรรมการ บริษัท ขนสง่ จำ� กดั วิทยาลัยปกกนั ราชอาณาจักร ปี 2561 - 2562 การดำ� รงตำ� แหนง่ กรรมการหรอื ผบู้ รหิ ารระดบั สงู •ประสบการณท์ �ำงาน •ในรฐั วสิ าหกจิ และบรษิ ทั อน่ื หวั หน้างานส�ำนักงานการขนส่งทางน�ำ้ ที่ 1 สาขาเชียงใหม่ กรรมการ องค์การขนส่งมวลชนกรงุ เทพ •ปี 2547 การถือครองหนุ้ ในรัฐวิสาหกจิ / หัวหน้างานส�ำนักงานการขนส่งทางน�้ำที่ 1 สาขาเพชรบุรี ปี 2548 •บริษัทท่ีเก่ียวขอ้ งกับ บขส. เกินกว่ารอ้ ยละ 10 • ผู้อ�ำนวยการกองนติ กิ ร (นิติกร 8) ปี 2549 ไมม่ ี • เลขานุการกรม (เจา้ หน้าทีบ่ รหิ ารงานท่วั ไป 8) ปี 2550 • ผู้อ�ำนวยการส�ำนักส่งเสริมการขนส่งทางน้�ำและ •รายการทีเ่ กีย่ วโยงกันทมี่ ีต่อรฐั วิสาหกจิ การพาณิชยนาวี (นักวิชาการขนสง่ 9) ปี 2551 ไม่มี • ผอู้ �ำนวยการสำ� นกั งานเจา้ ท่าภูมภิ าคที่ 4 (สงขลา) ปี 2552 • ผู้อำ� นวยการส�ำนักงานเจ้าท่าภมู ิภาคที่ 5 (ภเู กต็ ) ปี 2553 • ผู้อำ� นวยการสำ� นักกฎหมาย (อ�ำนวยการระดับสงู ) ปี 2554 • ผอู้ ำ� นวยการส�ำนักงานเจา้ ท่าภูมภิ าคที่ 2 (อยธุ ยา) ปี 2558 • ท่ีปรึกษาด้านเศรษฐกิจการขนส่งทางน�้ำ (นักวชิ าการขนสง่ •ทรงคุณวุฒิ) กระทรวงคมนาคม ปี 2559 ผตู้ รวจราชการกระทรวง กระทรวงคมนาคม ปี 2562 รายงานประจำ� ปี 2563 บรษิ ัท ขนส่ง จำ� กดั 9
คณะกรรมการบรษิ ัทฯ นายพงษ์ศักด์ิ กรี ตวิ ินทกร MR.PHONGSAK KEERATIWINTAKORN กรรมการ / BOARD OF DIRECTORS อายุ 46 ปี ระยะเวลาด�ำรงต�ำแหนง่ ตง้ั แต่วนั ท่ี 2 พฤษภาคม 2563 - ปัจจุบนั •คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม ••ความรู้ ความชำ� นาญ วิศวกรรมไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ ด้านวศิ วกรรม ด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ •ทหารลาดกระบัง Electrical Engineering จาก University of Kansas, •ต�ำแหน่งปจั จุบนั •Lawrence, Kansas, U.S.A. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจ�ำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและ คอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี Information Science and Telecommunications จาก University of Pittsburgh, Pittsburgh, Pennsylvania, •พระจอมเกล้าพระนครเหนอื U.SA. ผู้อ�ำนวยการ สถาบันสหกิจศึกษาและพัฒนาสื่อ •การอบรมบทบาทหนา้ ท่ีกรรมการ •อิเลก็ ทรอนิกสไ์ ทย - เยอรมนั ไมม่ ี กรรมการ บรษิ ัท ขนส่ง จำ� กดั •ประสบการณท์ ำ� งาน การดำ� รงตำ� แหนง่ กรรมการหรอื ผบู้ รหิ ารระดบั สงู ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจ�ำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและ คอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี •ในรฐั วสิ าหกจิ และบรษิ ทั อน่ื •พระจอมเกลา้ พระนครเหนอื ปี 2551 - ปจั จุบนั ผู้อ�ำนวยการ สถาบันสหกิจศึกษาและพัฒนาส่ือ อิเล็กทรอนกิ สไ์ ทย - เยอรมัน รองผอู้ ำ� นวยการฝา่ ยวางแผนและพฒั นา สำ� นกั คอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี การถือครองหุ้นในรฐั วสิ าหกิจ / •พระจอมเกลา้ พระนครเหนอื ปี 2553 - 2555 •บรษิ ัทที่เกี่ยวขอ้ งกับ บขส. เกนิ กว่าร้อยละ 10 ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ ไมม่ ี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ปี 2555 - 2559 •รายการที่เกีย่ วโยงกนั ท่ีมีต่อรัฐวสิ าหกิจ ไม่มี 10 รายงานประจำ� ปี 2563 บริษัท ขนสง่ จ�ำกัด
นายโกมล จริ ชัยสุทธกิ ลุ MR.KOMON JIRACHAISUDTIGKUN กรรมการ / BOARD OF DIRECTORS อายุ 60 ปี ระยะเวลาดำ� รงตำ� แหนง่ ตงั้ แต่วันท่ี 2 พฤษภาคม 2563 - ปจั จุบนั •คณุ วฒุ กิ ารศึกษา / ประวตั กิ ารอบรม •ต�ำแหน่งปัจจบุ ัน นติ ิศาสตรบัณฑติ มหาวิทยาลัยรามคำ� แหง รองเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา ส�ำนักงาน •การอบรมบทบาทหนา้ ทก่ี รรมการ ••คณะกรรมการกฤษฎกี า ไม่มี กรรมการ บริษัท ทโี อที จำ� กดั (มหาชน) กรรมการ บริษทั ขนสง่ จ�ำกัด •ประสบการณ์ทำ� งาน การดำ� รงตำ� แหนง่ กรรมการหรอื ผบู้ รหิ ารระดบั สงู ผู้อ�ำนวยการฝ่ายกฎหมายการค้าและอุตสาหกรรม •ในรฐั วสิ าหกจิ และบรษิ ทั อนื่ •สำ� นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ปี 2546 - 2549 กรรมการ บริษัท ทีโอที จำ� กดั (มหาชน) ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั กฎหมายปกครอง สำ� นกั งานคณะกรรมการ การถือครองหุน้ ในรัฐวิสาหกิจ / •กฤษฎกี า ปี 2549 - 2554 •บรษิ ัททเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั บขส. เกินกว่าร้อยละ 10 กรรมการร่างกฎหมายประจ�ำ (นักกฎหมายกฤษฎีกา ไมม่ ี •ทรงคณุ วฒุ )ิ สำ� นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า ปี 2554 - 2561 •รายการทีเ่ ก่ียวโยงกันท่ีมตี อ่ รฐั วสิ าหกิจ รองเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา ส�ำนักงาน คณะกรรมการกฤษฎกี า ปี 2561 - ปัจจบุ นั ไมม่ ี ••ความรู้ ความชำ� นาญ ด้านกฎหมาย ด้านบริหารจัดการ รายงานประจ�ำปี 2563 บริษัท ขนส่ง จ�ำกัด 11
คณะกรรมการบริษัทฯ นางวรนชุ ภอู่ ม่ิ MRS.WORANUCH PHU-IM กรรมการ / BOARD OF DIRECTORS อายุ 56 ปี ระยะเวลาด�ำรงตำ� แหนง่ ตง้ั แตว่ นั ท่ี 20 ธนั วาคม 2561 - ปจั จบุ ัน •••คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม ••ความรู้ ความช�ำนาญ นิตศิ าสตรบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ดา้ นกฎหมายปกครอง รัฐประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ด้านกฎระเบยี บในการจดั ซือ้ จดั จา้ ง ประกาศนยี บัตรบัณฑิตทางกฎหมายมหาชน มหาวทิ ยาลยั ••ต�ำแหน่งปจั จุบัน •ธรรมศาสตร์ ผูต้ รวจราชการกระทรวงการคลัง หลกั สูตรประกาศนียบัตรชั้นสงู การบรหิ ารงานภาครัฐและ กรรมการ บริษทั ขนสง่ จำ� กัด •กฎหมายมหาชน (ปรม.) รุ่นที่ 16 สถาบันพระปกเกล้า การดำ� รงตำ� แหนง่ กรรมการหรอื ผบู้ รหิ ารระดบั สงู นักบริหารงานกฎหมายระดับสูง ส�ำนักงานคณะกรรมการ •ในรฐั วสิ าหกจิ และบรษิ ัทอนื่ •กฤษฎีกา บริษัท เอ็นอีพี อสังหาริมทรัพย์ และอุตสาหกรรม จ�ำกัด (มหาชน) วทิ ยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร (วปอ.) รุ่นท่ี 62 การถอื ครองหุ้นในรัฐวิสาหกิจ / •การอบรมบทบาทหนา้ ทีก่ รรมการ •บรษิ ัททเี่ กย่ี วข้องกบั บขส. เกินกวา่ ร้อยละ 10 ไม่มี ไมม่ ี •ประสบการณ์ท�ำงาน •รายการทเ่ี กีย่ วโยงกันท่มี ตี ่อรฐั วิสาหกจิ ผู้เช่ียวชาญด้านพัสดุ และการคลัง กรมธนารักษ์ ไม่มี ••ปี 2548 - 2559 ผ้อู �ำนวยการสำ� นักกษาปณ์ กรมธนารกั ษ์ ปี 2559 - 2561 ทปี่ รกึ ษาดา้ นการบรหิ ารเหรยี ญกษาปณ์ และทรพั ยส์ นิ มคี า่ กรมธนารกั ษ์ ปี 2561 - 2563 12 รายงานประจ�ำปี 2563 บรษิ ัท ขนสง่ จำ� กดั
นายมาโนช สายชูโต MR.MANOCH SAYCHOOTO รักษาการแทน กรรมการผจู้ ัดการใหญ่ ACTING PRESIDENT อายุ 56 ปี ระยะเวลาด�ำรงต�ำแหน่ง ตั้งแตว่ ันท่ี 15 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2563 •คุณวฒุ กิ ารศึกษา / ประวตั ิการอบรม • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ฝ่ายธุรกิจเดินรถ ระดับ 11 •ปี 2558 ศิลปศาสตรบัณฑติ (รัฐศาสตร)์ มหาวทิ ยาลยั รามค�ำแหง รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ฝ่ายธุรกิจเดินรถ ระดับ 11 •การอบรมบทบาทหน้าทก่ี รรมการ รักษาแทนกรรมการผู้จัดการใหญ่ และรักษาการแทนผู้ช่วย กรรมการผู้จัดการใหญ่ส�ำนักซ่อมบ�ำรุงและตรวจสภาพรถ ไม่มี •อกี ต�ำแหนง่ หนง่ึ ปี 2563 •ประสบการณ์ทำ� งาน รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ฝ่ายธุรกิจเดินรถ ระดับ 11 รักษาการผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการกองปฏิบัติเดินรถภาค รกั ษาแทนกรรมการผจู้ ดั การใหญ่ ปี 2563 – ปจั จบุ ัน •ตะวนั ออกเฉียงเหนอื และตะวันออก ระดับ 8 ปี 2550 •ความรู้ ความชำ� นาญ ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการกองปฏิบัติเดินรถภาคตะวันออก ด้านการขนสง่ •เฉยี งเหนือและตะวันออก ระดับ 8 ปี 2551 •ตำ� แหน่งปัจจุบนั ผชู้ ว่ ยผอู้ ำ� นวยการกองปฏบิ ตั เิ ดนิ รถภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื รองกรรมการผจู้ ัดการใหญ่ฝ่ายธุรกิจเดนิ รถ รักษาการแทน และตะวันออก ระดับ 8 ปฏบิ ตั หิ น้าท่ผี ู้อ�ำนวยการกองปฏิบัติ กรรมการผู้จัดการใหญ่ •เดนิ รถภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื และตะวันออก ปี 2551 การดำ� รงตำ� แหนง่ กรรมการหรอื ผบู้ รหิ ารระดบั สงู รกั ษาการผอู้ ำ� นวยการกองปฏบิ ตั กิ ารเดนิ รถภาคตะวนั ออก •ในรฐั วสิ าหกจิ และบรษิ ัทอนื่ •เฉียงเหนอื และตะวนั ออก ระดับ 8 ปี 2552 ไมม่ ี ผอู้ ำ� นวยการกองปฏบิ ตั กิ ารเดนิ รถภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื การถอื ครองหุน้ ในรัฐวสิ าหกจิ / •และตะวนั ออก ระดบั 8 ฝา่ ยธรุ กจิ เดินรถ ปี 2553 •บริษัทท่เี กี่ยวข้องกับ บขส. เกนิ กวา่ รอ้ ยละ 10 ผอู้ ำ� นวยการกองปฏบิ ตั กิ ารเดนิ รถภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ไม่มี •และตะวนั ออก ระดับ 9 ฝา่ ยธรุ กจิ เดนิ รถ ปี 2554 •รายการที่เกีย่ วโยงกันที่มตี ่อรฐั วสิ าหกิจ ผู้อ�ำนวยการกองปฏิบัติการเดินรถภาคเหนือ ระดับ 9 ไม่มี •ฝ่ายธรุ กจิ เดนิ รถ ปี 2555 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ฝ่ายบริหารการเดินรถ •ระดับ 10 ปี 2557 รองกรรมการผจู้ ดั การใหญ่ฝา่ ยธุรกจิ เดินรถ ระดับ 11 และ รักษาการแทนผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ด้านส่งเสริมและ สนบั สนนุ การเดนิ รถ อกี ต�ำแหนง่ หนึง่ ปี 2558 รายงานประจำ� ปี 2563 บรษิ ัท ขนส่ง จำ� กดั 13
กรรมการทอี่ อกระหว่างปี พลโท สุรพล ตาปนานนท์ MR.SURAPON TAPANANONT ประธานกรรมการ / CHAIRMAN อายุ 59 ปี ระยะเวลาดำ� รงต�ำแหน่ง ตงั้ แต่วันท่ี 26 มกราคม 2560 - 21 เมษายน 2563 คณุ วุฒกิ ารศึกษา / ประวัตกิ ารอบรม • คณะกรรมการกิจการกระจายเสียงบริการชุมชน กสทช. •(ปี 2556 – ก.พ. 2558) • โรงเรยี นเตรยี มทหาร รุน่ ที่ 22 • โรงเรยี นนายร้อยพระจลุ จอมเกล้า รุน่ ท่ี 33 คณะอนุกรรมการเทคโนโลยีวิศวกรรมและแก้ไขปัญหา • โรงเรยี นเสนาธิการทหารบก รุ่นที่ 73 •ประสบการณท์ ำ� งาน •การรบกวนวิทยกุ ารบิน ผู้บังคับหมวดเครื่องยิงลูกระเบิด ขนาด 60 มิลลิเมตร คณะอนุกรรมาธิการปฏิรูประบบพรรคการเมือง กองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็ก •สภาขบั เคลอ่ื นการปฏิรูปประเทศ •รักษาพระองคฯ์ (ร้อยโท) คณะอนกุ รรมาธกิ ารปฏริ ปู ระบบนกั การเมอื ง สภาขบั เคลอื่ น นายทหารฝ่ายส่งก�ำลังบ�ำรุง กองพันทหารราบที่ 1 •การปฏริ ูปประเทศ •กรมทหารราบท่ี 1 มหาดเลก็ รกั ษาพระองค์ฯ (รอ้ ยเอก) คณะอนุกรรมาธิการปฏิรูปการเมืองเพื่อเสนอเป็นแผน ผู้บังคับกองร้อยอาวุธเบา กองพันทหารราบท่ี 1 ยุทธศาสตรช์ าติ สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ••กรมทหารราบท่ี 1 มหาดเล็กรกั ษาพระองคฯ์ (พันตรี) ความรู้ ความชำ� นาญ หัวหน้าแผนก กรมยทุ ธศึกษาทหารบก (พันโท) • ดา้ นการบรหิ ารจดั การองค์กร ผบู้ งั คบั กองพันทหารราบท่ี 3 กรมทหารราบท่ี 1 มหาดเลก็ • ด้านพัฒนาองค์กร • ด้านไอทแี ละเทคโนโลยี •••รกั ษาพระองคฯ์ (พันโท) • ดา้ นการซ่อมบ�ำรงุ หัวหนา้ ฝา่ ยยุทธการ กองพลทหารราบที่ 11 (พนั โท) ••ต�ำแหน่งปจั จุบนั นายทหารฝ่ายเสนาธิการ ประจำ� ผู้บงั คบั บญั ชา (พันเอก) ผู้อ�ำนวยการส่วนสนับสนุนกองบัญชาการกองทัพบก ผทู้ รงคณุ วฒุ พิ เิ ศษกองทพั บก ประธานกรรมการ บริษทั ขนสง่ จำ� กัด •••(พนั เอกพิเศษ) การดำ� รงตำ� แหนง่ กรรมการหรอื ผบู้ รหิ ารระดบั สงู ผู้อ�ำนวยการกอง กรมสวสั ดิการทหารบก (พันเอกพิเศษ) ผทู้ รงคุณวุฒิกองทัพบก (พลตรี) •ในรฐั วสิ าหกจิ และบรษิ ทั อนื่ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักตรวจสอบภายใน ส�ำนักปฏิบัติภารกิจ ไม่มี ••รักษาความมน่ั คงภายในกองทัพบก (พลตรี) การถอื ครองห้นุ ในรฐั วิสาหกิจ / ผทู้ รงคณุ วุฒิพิเศษ (พลโท) คณะอนุกรรมการส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ •บรษิ ัททีเ่ กี่ยวข้องกับ บขส. เกนิ กวา่ รอ้ ยละ 10 •(SIPA) ไม่มี คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ••SME (สสว.) คณะกรรมการองคก์ ารสรุ า ท่ีปรึกษาคณะอนุกรรมการรับเร่ืองราวร้องทุกข์ คณะกรรมาธกิ ารทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมวฒุ สิ ภา 14 รายงานประจำ� ปี 2563 บรษิ ัท ขนส่ง จำ� กัด
นายประมนิ ทร์ พันทวีศักดิ์ MR.PRAMIN PHANTAWESAK รองประธานกรรมการ / VICE CHAIRMAN อายุ 65 ปี ระยะเวลาด�ำรงต�ำแหน่ง ต้งั แต่วนั ท่ี 26 มกราคม 2560 - 11 ธนั วาคม 2562 •คณุ วุฒิการศึกษา / ประวตั ิการอบรม ประสบการณ์ท�ำงาน ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมอุตสาหกรรม) • กรรมการอำ� นวยการบริษัท ไทยพาราไซลนี จำ� กัด • กรรมการอำ� นวยการบรษิ ทั ไฟฟา้ อสิ ระ (ประเทศไทย) จำ� กดั •จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย • ผูช้ ่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ บรษิ ทั ปตท. จำ� กดั (มหาชน) ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ (Industrial Engineering), ปฏิบัติงานในต�ำแหน่ง กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท พีทีท ี •Lamar University, ประเทศสหรฐั อเมริกา •โพลีเมอร์ มารเ์ กต็ ติง้ จำ� กดั หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน ผชู้ ว่ ยกรรมการผจู้ ดั การใหญ่ บรษิ ทั ปตท. จำ� กดั (มหาชน) ปฏบิ ตั งิ านในตำ� แหนง่ กรรมการรกั ษาการกรรมการผจู้ ดั การใหญ่ •(ปรอ.19) วทิ ยาลยั ป้องกันราชอาณาจักร ปี 2549 - 2550 •บรษิ ทั พที ที ี โพลเี มอร์ โลจสิ ตกิ ส์ จำ� กดั หลักสูตร Role of the Coompensation Committee (RCC) รุ่นท่ี 12 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ปฏิบัติงานในต�ำแหน่ง กรรมการกรรมการผู้จัดการใหญ่ •(IOD) บรษิ ทั พีทที ี ฟนี อล จำ� กดั หลักสูตร Advanced Management Program (AMP) ความรู้ ความช�ำนาญ •INSEAD Business School ประเทศฝร่งั เศส • ด้านวิศวกรรมศาสตร ์ • ดา้ นการขนส่ง หลกั สตู ร PTT Group EVP Leadership Development • ด้านบริหารธุรกจิ •บริษัท ปตท. จำ� กดั (มหาชน) ตำ� แหนง่ ปัจจุบนั หลกั สตู ร Company Management Course บรษิ ทั ปตท. • กรรมการ บริษทั พีทที ี ฟนี อล จ�ำกัด • กรรมการ องคก์ ารสุรา กรมสรรพสามิต •จ�ำกดั (มหาชน) • กรรมการ โรงงานไพ่ กรมสรรพสามติ • กรรมการ บรษิ ัท ขนส่ง จ�ำกัด หลักสูตร Executive Development Program (EDP) การดำ� รงตำ� แหนง่ กรรมการหรอื ผบู้ รหิ ารระดบั สงู •มลู นธิ ิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกจิ การคลงั (สวค.) •ในรฐั วสิ าหกจิ และบรษิ ัทอนื่ หลักสูตร TLCA Executive Development Program ไมม่ ี •รุ่นที่ 9 สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย การถือครองหุ้นในรฐั วิสาหกจิ / หลักสตู ร หลกั สตู รการบรหิ ารจดั การด้านความมน่ั คงขน้ั สงู •บรษิ ัททีเ่ กย่ี วขอ้ งกับ บขส. เกินกว่ารอ้ ยละ 10 •รนุ่ ที่ 4 (สวปอ. มส.4) สมาคมวทิ ยาลัยป้องกนั ราชอาณาจกั ร ไม่มี หลักสูตร เสาหลักเพื่อแผ่นดิน ผู้น�ำระดับสูงตามแนว พระราชดำ� รขิ องพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รนุ่ ที่ 2 (สนพ.2) •สมาคมเสาหลกั เพ่ือแผน่ ดิน (ประเทศไทย) หลกั สตู ร นกั บรหิ ารการงบประมาณระดบั สงู รนุ่ ที่ 1 (นงส. 1) •การอบรมบทบาทหน้าท่กี รรมการ หลักสูตรการก�ำกับดูแลส�ำหรับกรรมการและผู้บริหาร •ระดับสงู ของรฐั วสิ าหกิจและองค์กรมหาชน รุ่นท่ี 17 หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 63 สมาคมสง่ เสรมิ สถาบันกรรมการบรษิ ัทไทย (IOD) รายงานประจ�ำปี 2563 บริษัท ขนส่ง จำ� กดั 15
กรรมการท่ีออกระหวา่ งปี นายนพรตั น์ การณุ ยะวนิช MR.NOPPHARAT KARUNJAVANICH กรรมการ / BOARD OF DIRECTORS อายุ 62 ปี ระยะเวลาด�ำรงตำ� แหน่ง ตัง้ แตว่ นั ท่ี 30 มกราคม 2562 - 31 มกราคม 2563 •คณุ วฒุ ิการศึกษา / ประวัตกิ ารอบรม •ตำ� แหนง่ ปัจจบุ ัน ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาตร์) มหาวิทยาลัย กรรมการ บรษิ ทั ขนสง่ จำ� กัด •รามคำ� แหง การดำ� รงตำ� แหนง่ กรรมการหรอื ผบู้ รหิ ารระดบั สงู หลกั สูตรMini MBA มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ •ในรฐั วสิ าหกจิ และบรษิ ัทอนื่ •การอบรมบทบาทหน้าท่ีกรรมการ ไม่มี ไมม่ ี การถือครองหุ้นในรัฐวสิ าหกจิ / •ประสบการณ์ทำ� งาน •บรษิ ัทท่ีเก่ียวขอ้ งกับ บขส. เกนิ กว่ารอ้ ยละ 10 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ฝ่ายบริหารการเดินรถ บริษัท ไมม่ ี •ขนสง่ จำ� กัด รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ฝ่ายบริหารการเดินรถ บริษัท ••ขนสง่ จ�ำกดั รกั ษาการแทนกรรมการผจู้ ดั การใหญ่ บริษัท ขนส่ง จ�ำกัด คณะท�ำงานเพ่ือพิจารณาปัญหาจากการด�ำเนินการ •จัดระเบียบรถตู้โดยสารสาธารณะ คณะทำ� งานกำ� กบั ดแู ลการจดั ระเบยี บนำ� รถตโู้ ดยสาธารณะ เข้าสถานขี นส่งผโู้ ดยสาร ความรู้ ความชำ� นาญ • ดา้ นกฎหมายขนส่ง • ดา้ นการบริหารจดั การสถานขี นสง่ ผูโ้ ดยสาร • ดา้ นการจดั ระเบยี บรถโดยสารสาธารณะ 16 รายงานประจ�ำปี 2563 บรษิ ัท ขนส่ง จ�ำกัด
นายพีระยทุ ธ สิงหพ์ ัฒนากุล MR.PEERAYUDH SINGPATENAKUI กรรมการ / BOARD OF DIRECTORS อายุ 62 ปี ระยะเวลาดำ� รงตำ� แหนง่ ตงั้ แตว่ ันท่ี 30 มกราคม 2562 - 31 มกราคม 2563 ••คุณวุฒิการศึกษา / ประวตั ิการอบรม •ตำ� แหน่งปัจจบุ นั วศิ วกรรมศาสตรบณั ฑติ (โยธา) มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ กรรมการ บรษิ ทั ขนส่ง จ�ำกัด Master of Science (Transportation) Northeastern การดำ� รงตำ� แหนง่ กรรมการหรอื ผบู้ รหิ ารระดบั สงู •University •ในรฐั วสิ าหกจิ และบรษิ ัทอนื่ หลกั สูตรMini MBA มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ไม่มี •การอบรมบทบาทหนา้ ทก่ี รรมการ การถอื ครองหนุ้ ในรัฐวสิ าหกจิ / ไมม่ ี •บริษัทท่ีเกี่ยวข้องกบั บขส. เกินกวา่ ร้อยละ 10 •ประสบการณ์ทำ� งาน ไมม่ ี วิศวกรโครงการ/วิศวกรอาวุโส การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน •แหง่ ประเทศไทย ผู้อ�ำนวยการกองบริหารงานก่อสร้าง การรถไฟฟ้าขนส่ง •มวลชนแห่งประเทศไทย ผู้อ�ำนวยการฝ่ายวิศวกรรม การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ••แห่งประเทศไทย ผชู้ ่วยผวู้ า่ การ การรถไฟฟา้ ขนสง่ มวลชนแห่งประเทศไทย รองผวู้ า่ การฯ (กลยทุ ธ์และแผน) การรถไฟฟา้ ขนส่งมวลชน •แหง่ ประเทศไทย รองผู้ว่าการ (วิศวกรรมและก่อสร้าง) การรถไฟฟ้าขนส่ง •มวลชนแห่งประเทศไทย กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการการ การรถไฟฟ้า •ขนส่งมวลชนแหง่ ประเทศไทย ผวู้ ่าการการรถไฟฟา้ ขนสง่ มวลชนแห่งประเทศไทย ความรู้ ความช�ำนาญ • ด้านการขนสง่ • ดา้ นการวางแผน (จดั ท�ำแผนโครงการ) • ด้านการบรหิ ารองคก์ ร • ด้านวิศวกรรม (โยธา) รายงานประจ�ำปี 2563 บริษัท ขนสง่ จำ� กดั 17
กรรมการทอ่ี อกระหวา่ งปี นางฤชุกร สิรโิ ยธนิ MRS.RUEHUKORN SIRIYODHIN กรรมการ / BOARD OF DIRECTORS อายุ 61 ปี ระยะเวลาดำ� รงตำ� แหนง่ ตงั้ แต่วนั ท่ี 30 มกราคม 2562 - 31 มกราคม 2563 คณุ วุฒกิ ารศึกษา / ประวัตกิ ารอบรม ความรู้ ความช�ำนาญ • ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั • ดา้ นความเสยี่ ง • ปรญิ ญาโท เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ • ด้านการเงิน • หลกั สูตร วิทยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจกั รภาครฐั รว่ มเอกชน • ดา้ นบริหารกลยทุ ธ ์ (วปอ.) 2554 ••ต�ำแหนง่ ปัจจุบัน •การอบรมบทบาทหน้าทก่ี รรมการ กรรมการ องค์การสวนพฤกษศาสตร์ Director Certificate Program ร่นุ ที่ 12 สมาคมส่งเสริม กรรมการ บริษทั ขนส่ง จ�ำกัด •สถาบนั กรรมการบริษัทไทย (IOD) การดำ� รงตำ� แหนง่ กรรมการหรอื ผบู้ รหิ ารระดบั สงู Advanced Management Program (AMP) Harvard •ในรฐั วสิ าหกจิ และบรษิ ัทอนื่ •Business School กรรมการ องค์การสวนพฤกษศาสตร์ หลักสูตร ผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน การถือครองหุ้นในรัฐวิสาหกิจ / (วตท.) รุน่ 16 •บริษัทท่ีเกย่ี วข้องกับ บขส. เกินกว่าร้อยละ 10 •ประสบการณ์ทำ� งาน ไม่มี ผ้อู ำ� นวยการฝา่ ยตรวจสอบ สายก�ำกับสถาบันการเงินสอบ ••ธนาคารแห่งประเทศไทย ผอู้ ำ� นวยการฝา่ ยทรพั ยากรบคุ คล ธนาคารแหง่ ประเทศไทย ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายนโยบายสถาบันการเงิน ธนาคาร •แห่งประเทศไทย รองผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย สายเสถียรภาพ สถาบนั การเงนิ 18 รายงานประจ�ำปี 2563 บรษิ ัท ขนส่ง จ�ำกดั
นางภาณมุ าศ สิทธเิ วคนิ MRS.PANUMAS SITTIVAEKIN กรรมการ / BOARD OF DIRECTORS อายุ 55 ปี ระยะเวลาด�ำรงต�ำแหน่ง ตง้ั แตว่ นั ท่ี 30 มกราคม 2562 - 21 เมษายน 2563 คุณวุฒิการศึกษา / ประวตั ิการอบรม ••ความรู้ ความชำ� นาญ • ปรญิ ญาตรี นิติศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ดา้ นกฎหมาย • DEA : Droit International Public ดา้ นกฎหมายระหว่างประเทศ • Doctorat en Droit, University of Paris II, France • วทิ ยาลัยการทัพเรือ (รุน่ ที่ 40) •ตำ� แหน่งปจั จุบัน • หลักสูตร นักบริหารระดับสูง (รุ่นท่ี 67) ส�ำนักงาน กรรมการร่างกฎหมายประจ�ำ (นักกฎหมายกฤษฎีกา คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (รายงานการศึกษา •ทรงคุณวฒุ )ิ สำ� นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า •สว่ นบุคคลดเี ด่น) กรรมการ บรษิ ทั ขนสง่ จ�ำกัด อบรม Leadership Development ประเทศญี่ปุ่นของ The National Graduate Institute for Policy Studies (Gris) การดำ� รงตำ� แหนง่ กรรมการหรอื ผบู้ รหิ ารระดบั สงู •การอบรมบทบาทหน้าทก่ี รรมการ •ในรฐั วสิ าหกจิ และบรษิ ัทอนื่ Director Certificate Program ร่นุ ท่ี 12 สมาคมส่งเสริม ไม่มี •สถาบนั กรรมการบรษิ ัทไทย (IOD) การถอื ครองหุ้นในรฐั วสิ าหกจิ / Advanced Management Program (AMP) Harvard •บรษิ ัทท่ีเกย่ี วข้องกบั บขส. เกินกว่าร้อยละ 10 •Business School ไม่มี วทิ ยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจกั รภาครฐั ร่วมเอกชน (วปอ.) ประสบการณท์ �ำงาน • กรรมการผู้ทรงคุณวุฒใิ นคณะกรรมการมาตรฐานสินคา้ • กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ใิ นคณะกรรมการเครอื่ งหมายการคา้ • กรรมการในคณะกรรมการกฎหมายและธรรมาภิบาล •มหาวทิ ยาลัยมหิดล กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการกลางว่าด้วย ราคาสนิ ค้าและบรกิ าร รายงานประจำ� ปี 2563 บรษิ ัท ขนสง่ จำ� กัด 19
กรรมการทีอ่ อกระหวา่ งปี นายสัญลักข์ ปญั วฒั นลขิ ิต MR.SANYALUX PANWATTANALIKIT กรรมการ / BOARD OF DIRECTORS อายุ 49 ปี ระยะเวลาด�ำรงต�ำแหนง่ ต้ังแตว่ ันท่ี 2 พฤษภาคม 2563 - 14 สงิ หาคม 2563 •คณุ วฒุ ิการศึกษา / ประวตั กิ ารอบรม •• ผเู้ ชย่ี วชาญประจำ� ตวั สมาชกิ สภาขบั เคลอ่ื นการปฏริ ปู ประเทศ นติ ศิ าสตรบณั ฑติ คณะนติ ศิ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ คณบดี คณะนิตศิ าสตร์มหาวทิ ยาลัยพายพั ••ปี 2534 •ความรู้ ความช�ำนาญ ด้านกฎหมาย ประกาศนยี บตั รหลกั สตู รวชิ าวา่ ความ สภาทนายความ ปี 2535 นติ ศิ าสตรบณั ฑติ คณะนติ ศิ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ •••ต�ำแหนง่ ปจั จบุ ัน รองศาสตราจารยป์ ระจำ� คณะนติ ศิ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั พายพั •สาขากฎหมายอาญา ปี 2540 คณะกรรมการ การบนิ พลเรือน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด วฒุ บิ ตั รหลกั สตู รกฎหมายปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดปี กครอง ••เชียงใหม่ •สำ� นกั งานศาลปกครอง ปี 2542 อนกุ รรมการศกึ ษาธิการจงั หวัดเชียงใหม่ (ดา้ นวินยั บุคคล) อนุกรรมการกฎหมาย สำ� นกั งานพฒั นาพิงคนคร (องค์การ นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย •มหาชน) •ธรรมศาสตร์ สาขากฎหมายอาญา ปี 2551 อนุกรรมการบริหาร กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี Certificate of Participation at The National Center •ประจ�ำจังหวัดเชียงใหม่ for State Courts (March 28, 2014) United State Of อนุกรรมการส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ •America ••ระดบั เขตพืน้ ที่ เขต 1 จงั หวัดเชียงใหม่ ทป่ี รึกษา สภาทนายความจงั หวดั เชยี งใหม่ Certificate for Participated in the lnternational กรรมการ บรษิ ทั สญั ลกั ขท์ นายความและทปี่ รกึ ษากฎหมาย Visitor Leadership Program on US Judicial System (March 24 – April 11, 2014) United State Of America •จำ� กดั ผู้ประเมินคุณภาพการศึกษา ส�ำนักงานคณะกรรมการ •การอบรมบทบาทหน้าทีก่ รรมการ อุดมศึกษา ไม่มี การดำ� รงตำ� แหนง่ กรรมการหรอื ผบู้ รหิ ารระดบั ประสบการณ์ทำ� งาน •สูงในรฐั วิสาหกจิ และบรษิ ัทอื่น • กรรมการการเลอื กตงั้ ประจำ� เขตเลอื กตงั้ ท่ี 2 จงั หวดั เชยี งใหม่ กรรมการ บรษิ ทั สญั ลกั ขท์ นายความและทปี่ รกึ ษากฎหมาย • คณะทำ� งานกำ� กับดูแลและประสานงานโครงการพเิ ศษ จ�ำกดั • ท่ีปรึกษาและอนุกรรมการส�ำนักงานพัฒนาพิงคนคร ••(องค์การมหาชน) ประจ�ำสภาปฏริ ปู จังหวดั เชียงใหม่ การถือครองหนุ้ ในรัฐวสิ าหกจิ / ผปู้ ระเมนิ คุณภาพหลักสตู รนิติศาสตรบณั ฑิต •บริษัททเี่ กีย่ วข้องกบั บขส. เกนิ กว่ารอ้ ยละ 10 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการศึกษาธิการ ไมม่ ี •จงั หวัดเชียงใหม่ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการศึกษาธิการ •จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน คณะกรรมการพฒั นาการบรหิ ารงานยตุ ธิ รรม ประจำ� จงั หวดั เชียงใหม่ 20 รายงานประจ�ำปี 2563 บริษัท ขนส่ง จ�ำกดั
นายจิรศักด์ิ เยาว์วชั สกุล MR.JIRASAK YAOVATSAKUL กรรมการผู้จัดการใหญ่ / PRESIDENT AND SECRETARIATE TO BOARD OF DIRECTORS อายุ 59 ปี ระยะเวลาดำ� รงตำ� แหนง่ ตงั้ แตว่ นั ท่ี 18 พฤษภาคม 2560 - 2 พฤษภาคม 2563 •คณุ วุฒิการศึกษา / ประวตั ิการอบรม • SYSTEM ANALYST (AUTO PILOT SYSTEM) บริษัท •การบินไทย จ�ำกัด ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณทิต ไฟฟา้ (คอมพิวเตอร)์ PROJECT ENGINEER บริษัท วรจักรอินเตอร์เนช่ันแนล •สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ลาดกระบงั จ�ำกดั ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณทิต /การบริหารธุรกิจ ความรู้ ความช�ำนาญ •มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ • ดา้ นบรหิ ารองค์กร • ด้านสารสนเทศ ปริญญาเอก การบริหารการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎ • ดา้ นวิศวกรรมไฟฟ้า (คอมพิวเตอร์) • ดา้ นการบรหิ ารการผลติ โรงงานอตุ สาหกรรม อเิ ลคทรอนกิ ส์ •สวนสนุ ันทา •ขนาดใหญ่ หลักสูตร AUTO-PILOT PROGRAMMING บริษัท ดา้ นโปรแกรมระบบควบคมุ การบนิ อัตโนมัติ ของเครื่องบิน แอรบ์ สั •AEROSPATIALE/AIR BUS INDUSTRY •ต�ำแหน่งปัจจบุ ัน หลักสูตร PRODUCTION MANAGEMENT บริษัท กรรมการผูจ้ ัดการใหญ่ บรษิ ทั ขนส่ง จำ� กัด •FUJIKURA AMERICA INC. การดำ� รงตำ� แหนง่ กรรมการหรอื ผบู้ รหิ ารระดบั สงู หลกั สูตร ผู้นำ� ระดบั สงู เพ่อื การศกึ ษาตามแนวพระราชด�ำริ •ในรฐั วสิ าหกจิ และบรษิ ัทอนื่ •รนุ่ ท่ี 3 (สนพ.3) เสาหลกั เพ่ือแผน่ ดนิ ไมม่ ี หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน การถือครองหนุ้ ในรฐั วสิ าหกิจ / •รุ่นที่ 26 (วตท.26) •บริษัทท่เี กีย่ วขอ้ งกับ บขส. เกินกว่ารอ้ ยละ 10 หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน รุ่น 13 (วพน.13) ไม่มี •การอบรมบทบาทหนา้ ท่กี รรมการ หลกั สตู ร ประกาศนยี บตั รชนั้ สงู การบรหิ ารงานภาครฐั และ •กฎหมายมหาชน (ปรม.13) สถาบันพระปกเกล้า หลักสูตร DIRECTOR ACCREDITATION PROGRAM CLASS รุ่นที่ 112/2014 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ••ประสบการณ์ท�ำงาน ผ้อู ำ� นวยการ สถาบนั ไทยเยอรมนั ASSITANT GENERAL MANAGER/DEPUTY FACTORY •MANAGER บริษทั พซี ที ีที จ�ำกดั PROJECT MANAGER บรษิ ทั FUJIKURA AMERICA INC., U.S.A รายงานประจ�ำปี 2563 บรษิ ัท ขนสง่ จ�ำกัด 21
โครงสรา้ งผูถ้ ือห้นุ บรษิ ัท ขนส่ง จำ� กัด 22 รายงานประจำ� ปี 2563 บริษัท ขนสง่ จ�ำกดั
โครงสรา้ งผู้ถอื หนุ้ บริษัท ขนสง่ จ�ำกัด โครงสร้างผู้ถอื หุ้นบรษิ ทั ขนส่ง จำ� กัด ล�ำดบั รายช่อื ผ้ถู ือหุ้น จ�ำนวนหนุ้ รอ้ ยละ หมายเหตุ 1 กระทรวงการคลงั 638,087 99.6855 กระทรวงการคลังได้มอบอ�ำนาจ ใ น ก า ร บ ริ ห า ร แ ล ะ ม อ บ ฉั น ท ะ ใ น ก า ร แ ต ่ ง ต้ั ง ผู ้ แ ท น เ ข ้ า ร ่ ว ม ประชมุ ผถู้ ือหุ้นทุกคร้ัง ของ บขส. ใหก้ บั กระทรวงคมนาคมจำ� นวนหนุ้ 638,087 ห้นุ (ตามหนังสอื ที่ กค. 0806.2/8153 ลว.13 พ.ค. 2563) 2 บริษัท ทนุ ลดาวัลย์ จำ� กัด 1,600 0.2500 3 บริษัท มติ ซยุ บชิ ิโซกิยไิ ซกา จำ� กัด 120 0.0187 4 ห้างวนิ เซอรแ์ อนดโ์ ก 25 0.0039 5 นายเกยู้ ซนั ซื่อ 25 0.0039 6 นายวิทย,์ นายประจวบ, นายจ�ำนงค์ ภริ มย์ภักดี 25 0.0039 7 บ.แองโกลสยาม คอรป์ อเรช่นั จ�ำกดั 20 0.0031 8 ร.ต.สขุ รติ ชมสมบูรณ์ 20 0.0031 9 พระยาปรีดานฤเบศร์ 20 0.0031 10 นางญาดา สวัสดิวัฒน์ ณ อยธุ ยา 15 0.0023 11 ผถู้ อื หนุ้ รายอน่ื ๆ 143 0.0223 รวม 640,100 100.0000 รายงานประจำ� ปี 2563 บรษิ ัท ขนสง่ จ�ำกดั 23
รายนามผูบ้ ริหาร ระดบั สงู 24 รายงานประจำ� ปี 2563 บรษิ ัท ขนส่ง จ�ำกดั
รายนามผู้บริหารระดบั สงู นายจริ ศกั ด์ิ เยาวว์ ชั สกลุ นายมาโนช สายชโู ต ต�ำแหน่ง : กรรมการผู้จัดการใหญ่ ตำ� แหนง่ : รองกรรมการผจู้ ดั การใหญ่ ต้ังแต่ ต.ค. 62 - พ.ค. 63 ฝา่ ยธรุ กจิ เดนิ รถ ระดบั 11 รกั ษาการแทน รองกรรมการผจู้ ดั การใหญ่ รกั ษาการแทน กรรมการผจู้ ดั การใหญ่ ฝา่ ยพัฒนาองคก์ ร ตงั้ แต่ ม.ิ ย. 63 - ก.ย. 63 ตั้งแต่ ม.ค. 62 - พ.ค. 63 นายณฐั วฒุ ิ ออ่ นนอ้ ม นางวราภรณ์ ชยั ฤกษ์ ตำ� แหนง่ : รองกรรมการผจู้ ดั การใหญ่ ตำ� แหนง่ : รองกรรมการผจู้ ดั การใหญ่ ฝา่ ยบรหิ ารการเดนิ รถ ระดบั 11 ฝา่ ยบรหิ าร ระดบั 11 รายงานประจำ� ปี 2563 บรษิ ัท ขนส่ง จ�ำกดั 25
รายนามผู้บริหารระดับสูง นายไกรฤกษ์ อรณุ ฉาย นางสาววิลาวณั ย์ สุวรรณะโสภณ นางสาวสุจิตรา สุขะอาจิณ ตำ� แหนง่ : ผชู้ ว่ ยกรรมการผจู้ ดั การใหญ่ ตำ� แหนง่ : ผชู้ ว่ ยกรรมการผจู้ ดั การใหญ่ ตำ� แหนง่ : ผชู้ ว่ ยกรรมการผจู้ ดั การใหญ่ ดา้ นสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การเดนิ รถ ระดบั 10 ฝา่ ยบรหิ ารการเดนิ รถ ระดบั 10 ฝา่ ยบรหิ าร ระดบั 10 รกั ษาการแทน ผชู้ ว่ ยกรรมการผจู้ ดั การใหญ ่ ดา้ นธรุ กจิ เดนิ รถ ตงั้ แต่ ต.ค. 61 - ปจั จบุ นั นายชยั รตั น์ พรประไพ นายอมรศกั ดิ์ พานชิ กจิ นางสาวระพิพรรณ วรรณพินทุ ตำ� แหนง่ : ผชู้ ว่ ยกรรมการผจู้ ดั การใหญ่ ตำ� แหนง่ : ผชู้ ว่ ยกรรมการผจู้ ดั การใหญ่ ตำ� แหนง่ : ผชู้ ว่ ยกรรมการผจู้ ดั การใหญ่ ฝา่ ยพัฒนาองคก์ ร ระดบั 10 สำ� นกั ซอ่ มบำ� รงุ และตรวจสภาพรถ สำ� นกั อำ� นวยการ ระดบั 10 ระดบั 10 นางพัชรนิ ทร์ ดเี จรญิ ตำ� แหนง่ : ผชู้ ว่ ยกรรมการผจู้ ดั การใหญ่ สำ� นกั ตรวจสอบภายใน ระดบั 10 26 รายงานประจำ� ปี 2563 บรษิ ัท ขนส่ง จำ� กดั
วสิ ัยทศั น์ พันธกิจ กลยทุ ธ์ท่ีส�ำคญั และผังโครงสร้างองค์กร รายงานประจำ� ปี 2563 บริษัท ขนสง่ จ�ำกัด 27
วสิ ยั ทศั น์ (Vision) “เป็นศูนย์กลางธุรกิจการขนส่งดว้ ยรถโดยสารที่ทนั สมัย ได้มาตรฐาน บริการเปน็ ที่ยอมรบั เชอื่ มโยงทัว่ ไทย ก้าวไกลสเู่ พ่อื นบ้าน มีความรบั ผิดชอบต่อสังคมและสงิ่ แวดล้อม” ศูนย์กลางธรุ กิจการขนส่ง ทันสมยั ไดม้ าตรฐาน บริการเป็นท่ยี อมรบั เชือ่ มโยงทว่ั ไทย กา้ วไกลสูเ่ พ่ือนบ้าน มีความรบั ผิดชอบตอ่ สังคมและส่ิงแวดลอ้ ม ศูนย์กลางธุรกจิ การขนส่ง หมายถงึ เปน็ ศูนยร์ วมการรับ-ส่งผูโ้ ดยสาร และรับ-สง่ พัสดภุ ณั ฑ์ ทันสมัย ได้มาตรฐาน หมายถึง มีการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการบริการ มีมาตรฐานความปลอดภัยของรถโดยสาร สถานขี นสง่ ผโู้ ดยสาร สถานีเดินรถ และพนักงานดา้ นบรกิ าร (7 ต�ำแหน่ง ประกอบดว้ ย พนักงานจำ� หน่ายต๋ัว พนกั งานชานชาลา พนกั งานประชาสัมพนั ธ์ พนักงานขบั รถโดยสาร พนกั งานต้อนรับ พนักงานบรกิ าร พนักงานเกบ็ คา่ โดยสาร) รวมทง้ั พัฒนาระบบ เทคโนโลยสี ารสนเทศให้ทนั สมัย ทนั กาล เพอื่ ให้ตอบสนองความตอ้ งการของผใู้ ช้บรกิ ารอยา่ งตอ่ เนอื่ ง บรกิ ารเปน็ ทยี่ อมรบั หมายถงึ ผใู้ ชบ้ รกิ ารรถโดยสารของ บขส. และรถรว่ มเอกชน มคี วามพงึ พอใจมากถงึ มากทส่ี ดุ (ผลสำ� รวจ ความพึงพอใจผใู้ ชบ้ ริการโดยรวม ไมต่ ำ่� กว่าระดบั 4 ถงึ ระดับ 5) เช่ือมโยงทั่วไทย ก้าวไกลสู่เพื่อนบ้าน หมายถึง มีการจัดการเดินรถโดยสารเช่ือมโยงท่ัวไทยและเช่ือมต่อไปยังประเทศ อาเซยี น (ASEAN) ประกอบด้วย ประเทศสมาชิก 10 ประเทศ ไดแ้ ก่ บรูไนดารสุ ซาลาม กัมพชู า อินโดนเี ซยี สปป.ลาว มาเลเซีย เมยี นมา (พม่า) ฟลิ ปิ ปนิ ส์ สงิ คโปร์ ไทย และเวยี ดนาม มคี วามรบั ผดิ ชอบต่อสังคมและสงิ่ แวดล้อม หมายถึง มีการดำ� เนินงานภายใต้หลักจริยธรรมและมีการกำ� กบั ดแู ลกิจการที่ดี มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับสังคมและสิ่งแวดล้อมผ่านบุคลากร รวมทั้งมีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม เพ่อื น�ำไปสู่การเตบิ โตขององค์กรอย่างยง่ั ยืน พันธกจิ (Mission) พันธกิจ เป็นหน้าท่ีที่ต้องด�ำเนินการ เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ บขส. ได้น�ำวัตถุประสงค์การจัดตั้งตามหนังสือ บริคณห์สนธิ และน�ำความต้องการ/ความคาดหวังของลูกค้าและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท่ีส�ำคัญ มาประกอบการพิจารณาทบทวน พันธกจิ สรปุ พนั ธกิจหลกั ของ บขส. มี 10 ข้อ ดงั นี้ 1. สร้างความพงึ พอใจให้แกผ่ โู้ ดยสาร โดยการจัดหารถโดยสารทีม่ อี ุปกรณ์อำ� นวยความสะดวก มคี วามทันสมยั และปรบั ปรุงพฒั นารูปแบบการใหบ้ รกิ ารอยา่ งต่อเนอ่ื ง เทา่ เทยี ม และเป็นธรรม 2. รักษาสิทธิท่ีพึงมีของผู้โดยสารตามกฎหมาย คุ้มครองชีวิตและทรัพย์สิน และบุคคลท่ีสามด้วยความเท่าเทียม และเปน็ ธรรม 3. พัฒนาการให้บริการรับ-ส่งพัสดุภัณฑ์ ให้มีความสะดวก รวดเร็ว ตรงเวลา สามารถตรวจสอบสถานะของ พัสดุภัณฑ์ ผ่านช่องทางเว็บไซต์ได้ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศท่ีทันสมัย รวมถึงส่งพัสดุภัณฑ์ให้ถึงปลายทาง ดว้ ยความเรยี บร้อย ไมช่ ำ� รดุ เสียหาย 4. พัฒนาสถานีขนส่งผูโ้ ดยสาร สถานีเดนิ รถให้เชื่อมโยงการเดินทาง ทง้ั ในประเทศและระหว่างประเทศ 5. พัฒนาสำ� นกั ซอ่ มบ�ำรุงและตรวจสภาพรถใหม้ ีบริการแบบครบวงจร 6. ด�ำเนินกิจการขนส่งร่วมกับคู่ค้าอย่างเสมอภาคและเป็นธรรม ก�ำกับ ดูแล และสร้างความสัมพันธ์ท่ีดีกับ คู่คา้ ภายใต้ กฎ ระเบียบ เง่อื นไขสัญญา 7. ให้บริการขนส่งที่ได้มาตรฐานตามที่ บขส. ก�ำหนด และด�ำเนินกิจการภายใต้ กฎ ระเบียบ นโยบายรัฐบาล ยึดถือประโยชน์ของผู้ถือหุ้น ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพ่ือให้การขนส่งมีความมั่นคงและเติบโตอย่างยั่งยืน 8. จดั ระบบบรหิ ารจัดการภายในให้มีประสิทธิภาพ มคี วามโปร่งใสและเปน็ ธรรม 9. ดำ� เนินการขนสง่ ดว้ ยความรบั ผิดชอบตอ่ ชมุ ชน สงั คม และสิ่งแวดลอ้ ม 10. ส่งเสริมและพัฒนาบคุ ลากรให้มศี ักยภาพในการปฏิบัติงาน และมคี วามผกู พนั กบั องค์กร 28 รายงานประจ�ำปี 2563 บริษัท ขนส่ง จ�ำกัด
ยทุ ธศาสตร์ (Strategic) ยกระดับมาตรยฐุทาธนศกาาสรตบรร์ทกิ ่ีา2รและเชื่อมโยง โครงขา่ ยการให้บรกิ าร ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 เพพอื่ ัฒเพนมิ่ากผาลรปบรระิหกาอรบงกานารใดน้าเชนิงกธาุรรกเงจิ ิน สง่ เสริมบครวหิามารรกับจิ ผกิดาชรอตบาตม่อหสลังักคธมรรสม่งิ าแภวิบดาลล้อม และ ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาบคุ ลากภรายแใลนะใพหฒั ม้ นีปารระะสบิทบธภิกาารพบรหิ ารจดั การ ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาการบริหารงานในเชงิ ธรุ กจิ เพื่อเพ่ิมผลประกอบการดา้ นการเงิน จากสภาพผลประกอบการท่ีผ่านมา มีแนวโน้มลดลง อันเป็นผลมาจากสภาพการแข่งขันสูง เนื่องจากมีบริการทดแทน หลากหลาย ท�ำให้ผูใ้ ชบ้ รกิ ารมที างเลอื กในการใชบ้ รกิ ารเพิ่มมากข้ึน เชน่ ทางอากาศ ทางราง รถยนตส์ ว่ นบคุ คล รวมถึงนโยบาย ของรัฐบาลในการปรับเปล่ียนรูปแบบการขนส่งไปเป็นระบบราง เพื่อลดต้นทุนในการขนส่ง การด�ำเนินการของ บขส. จึงต้อง เน้นในเชิงธุรกิจเพ่ิมมากขึ้น เพื่อให้ผลประกอบการเติบโตอย่างต่อเน่ืองและมีความยั่งยืน ทั้งการหารายได้เพ่ิมจากธุรกิจหลัก ธรุ กจิ เสรมิ การหารายไดเ้ พิม่ จากอสังหารมิ ทรัพย์ของ บขส. ท่มี ีศักยภาพ รวมถึงการลดตน้ ทุนและคา่ ใช้จ่ายในการประกอบกิจการ เพอ่ื ใหผ้ ลประกอบการเพ่ิมข้นึ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 ยกระดับมาตรฐานการบรกิ ารและเชอ่ื มโยงโครงขา่ ยการให้บรกิ าร จากสภาพการณ์ปัจจุบันซ่ึงมีการแข่งขันสูง เน่ืองจากมีบริการทดแทนหลากหลาย รวมถึงนโยบายของรัฐบาล ในการปรับเปลี่ยนรปู แบบการขนสง่ ไปเป็นระบบราง เพอ่ื ลดต้นทนุ ในการขนส่ง บขส. ควรมกี ารพฒั นาการใหบ้ รกิ ารด้วยมาตรฐาน ในทุกด้าน เช่น มาตรฐานด้านการบริการของพนักงาน มาตรฐานด้านรถโดยสาร มาตรฐานด้านสถานีขนส่งผู้โดยสาร มาตรฐาน ดา้ นความปลอดภยั มาตรฐานด้านการจดั การขอ้ ร้องเรยี น รวมถึงมีการใหบ้ ริการขนส่งทางถนนเชื่อมโยงกับการขนสง่ รปู แบบอื่น ๆ เพอื่ ใหผ้ ใู้ ชบ้ รกิ ารสามารถเขา้ ถงึ บรกิ ารไดส้ ะดวกและเสมอภาคกนั โดยไมม่ กี ารเลอื กปฏบิ ตั ิ อกี ทง้ั ยงั เปน็ การสรา้ งความเชอ่ื มนั่ และ สรา้ งความพึงพอใจให้แกผ่ ูใ้ ชบ้ ริการอยา่ งยั่งยืน ยุทธศาสตร์ท่ี 3 พัฒนาบคุ ลากรและพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภายในให้มปี ระสทิ ธภิ าพ การด�ำเนินกิจการที่จะประสบผลส�ำเร็จได้ต้องมีระบบบริหารจัดการภายในที่มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะด้านบุคลากรและ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ซ่ึงเป็นกลไกส�ำคัญที่จะขับเคล่ือนองค์กร ดังนั้น บขส. ควรให้ความส�ำคัญต่อการพัฒนาบุคลากรและ พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้มีความทันสมัย เพ่ิมศักยภาพในการปฏิบัติงาน รวมถึงปรับปรุงกฎระเบียบท่ีไม่เอ้ืออ�ำนวย ต่อการปฏบิ ัติงาน เช่น ระบบการเงิน ระบบบัญชแี ละงบประมาณ ระบบบริหารพัสดุ และระบบบรหิ ารจดั การภายในอ่ืน ๆ ให้มี ประสทิ ธภิ าพสามารถรองรับสถานการณต์ ่าง ๆ ทเี่ ปล่ยี นแปลงไป รวมถึงบริการทีอ่ าจจะเกิดข้ึนในอนาคตได้ โดยไมส่ ่งผลกระทบ ตอ่ การด�ำเนินงานขององค์กร ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 สง่ เสรมิ ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม สงิ่ แวดลอ้ ม และบรหิ ารกจิ การตามหลกั ธรรมาภบิ าล องค์กรที่จะด�ำเนินกิจการได้อย่างยั่งยืนนั้น ควรด�ำเนินกิจการด้วยความโปร่งใส เป็นธรรม สามารถตรวจสอบได้ และ ค�ำนึงถึงผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม ทั้งภายในองค์กรและภายนอกองค์กร บขส. ควรมุ่งเน้นการบริหารกิจการ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล และมีความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชนท่ีได้รับผลกระทบจากการประกอบกิจกรรมต่าง ๆ ของ บขส. รวมถึงการรักษาสิง่ แวดล้อม เพอ่ื สรา้ งภาพลักษณ์ในดา้ นการเป็นองคก์ รทมี่ ีความรบั ผิดชอบ โปร่งใส และมีธรรมาภิบาล เปา้ หมายของหนว่ ยงาน (Goal) G1 รายไดเ้ พ่ิม G2 บริหารจัดการต้นทนุ และคา่ ใชจ้ ่ายใหม้ ปี ระสิทธิภาพ G3 ผ้ใู ชบ้ รกิ ารไดร้ บั ความพงึ พอใจมากทีส่ ุด G4 มีมาตรฐานความปลอดภยั อุบตั เิ หตรุ ถโดยสารของ บขส. เปน็ ศูนย์ G5 พัฒนาสถานขี นสง่ ผโู้ ดยสาร/สถานีเดนิ รถให้ไดม้ าตรฐาน (Smart Bus Terminal/Smart Station) รองรับผู้ใช้บรกิ าร ทุกกลุ่ม G6 จัดการเดินรถให้เชอื่ มโยงกับระบบขนส่งรปู แบบอน่ื G7 พัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพ พัฒนาระบบบริหารจัดการ/กระบวนการภายใน และพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้ทันตอ่ การเปล่ยี นแปลง G8 ด�ำเนินงานด้วยความโปร่งใส เปน็ ธรรม และค�ำนงึ ถึงความยงั่ ยนื ด้านสงั คมและสิง่ แวดลอ้ ม รายงานประจำ� ปี 2563 บรษิ ัท ขนส่ง จำ� กดั 29
ผังโครงสรา้ งองคก์ ร 30 รายงานประจำ� ปี 2563 บรษิ ัท ขนสง่ จำ� กดั
รายงานประจำ� ปี 2563 บรษิ ัท ขนส่ง จำ� กดั 31
ผลการดำ� เนนิ งาน ท่สี ำ� คัญ 32 รายงานประจำ� ปี 2563 บรษิ ัท ขนส่ง จ�ำกดั
การบรกิ ารรถโดยสารเชอื่ มตอ่ แบบ Feeder Services บริษัทฯ เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงคมนาคม มีภารกิจหลักในการให้บริการขนส่งผู้โดยสารด้วยรถประจ�ำทาง จากกรงุ เทพมหานครไปยงั จงั หวดั ตา่ ง ๆ ภายในประเทศไทย และใหบ้ รกิ ารขนสง่ ผโู้ ดยสารดว้ ยรถประจำ� ทางจากประเทศไทยไปยงั สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) และราชอาณาจักรกัมพูชา ตลอดระยะเวลาการดําเนินงานตามภารกิจหลัก บรษิ ทั ฯ ได้ตระหนกั ถึงความสำ� คัญของนโยบายรฐั บาลและกระทรวงคมนาคมทีต่ ้องการพัฒนาระบบขนสง่ ทางราง ทางนำ้� ใหเ้ ปน็ ระบบขนส่งหลักของประเทศ รวมถึงพัฒนาระบบขนส่งทางอากาศ โดยมีระบบการขนส่งทางถนนเป็นระบบสนับสนุน เพื่อให้ โครงสร้างพื้นฐานของประเทศเชื่อมโยงทว่ั ประเทศไทยและทัว่ โลก ด้วยการเชอ่ื มโยงโครงข่ายคมนาคมแบบไรร้ อยตอ่ สนับสนนุ ให้ ประชาชนเดนิ ทางดว้ ยระบบขนสง่ สาธารณะมากขน้ึ จงึ ไดจ้ ดั ทำ� โครงการการบรกิ ารรถโดยสารเชอื่ มตอ่ แบบ Feeder Services เพอื่ อำ� นวยความสะดวกใหก้ บั ประชาชนทต่ี อ้ งการเดนิ ทางเชอ่ื มตอ่ ไปยงั ระบบขนสง่ สาธารณะอนื่ ๆ โดยมกี ารจดั ใหบ้ รกิ ารเดนิ รถโดยสาร ดว้ ยรถประจ�ำทางในเส้นทางหลักเชอ่ื มต่อกับระบบขนสง่ สาธารณะทางราง ทางน้�ำ ทางอากาศ รวมไปถึงสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วท่ีสำ� คญั และได้มีการสำ� รวจความต้องการของผใู้ ชบ้ รกิ ารและคดั เลือกเส้นทางทีม่ ศี กั ยภาพ ตลอดจนด�ำเนินการย่ืนขออนญุ าตประกอบการ เดนิ รถเช่อื มต่อและปรับปรุงเงอื่ นไขการเดินรถตอ่ กรมการขนสง่ ทางบก ตั้งแต่ปี 2560 ปจั จบุ นั บรษิ ทั ฯ สามารถเปดิ ใหบ้ รกิ ารเดนิ รถโดยสารเชอื่ มตอ่ แบบ Feeder Services ได้จ�ำนวน 1 เส้นทาง คือ เส้นทาง ทา่ อากาศยานอดุ รธานี - เมอื งวงั เวยี ง สปป.ลาว โดยเปดิ ใหบ้ รกิ าร เมอ่ื วนั ท่ี 28 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 และตอ้ งหยดุ การบรกิ ารเดนิ รถตาม ประกาศพระราชกำ� หนดการบรหิ ารราชการในสถานการณฉ์ กุ เฉนิ พ.ศ. 2548 ตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม 2563 จากสถานการณ์การ แพรร่ ะบาดของโรคไวรสั โคโรนา (COVID-19) นอกจากนี้ ในอนาคต บริษัทฯ มีเป้าหมายที่จะเปิดให้บริการเดินรถเช่ือมต่อกับระบบ ขนสง่ สาธารณะอื่น ๆ ในเส้นทางทมี่ ศี ักยภาพอกี หลายเสน้ ทาง การพัฒนาอสงั หารมิ ทรพั ย์ บรษิ ัทฯ ถอื ครองกรรมสทิ ธท์ิ ีด่ ินและส่งิ ปลกู สร้างท่วั ประเทศ รวม 145 โฉนด ปจั จุบันมีพืน้ ทที่ ี่มศี กั ยภาพและมีโอกาสในการ พัฒนาเพือ่ สร้างมูลค่าเพิ่มใหก้ บั บริษทั ฯ มากทีส่ ุด จำ� นวน 3 พืน้ ที่ ไดแ้ ก่ พน้ื ท่ีสถานขี นสง่ ผู้โดยสารกรุงเทพ (เอกมยั ) สถานีขนส่ง ผู้โดยสารกรุงเทพ (สามแยกไฟฉาย) และสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ปิ่นเกล้า) บริษัทฯ ได้เล็งเห็นถึงโอกาสทางธุรกิจ จึงได้ จดั ทำ� โครงการพฒั นาอสงั หารมิ ทรพั ยท์ ม่ี ศี กั ยภาพทง้ั 3 พน้ื ที่ โดยไดจ้ า้ งศนู ยบ์ รกิ ารวชิ าการแหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ดำ� เนนิ การ ศึกษาความไปได้ในการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์และวิเคราะห์โครงการพัฒนาพื้นท่ีสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพทั้ง 3 พ้ืนที่ สรุปแนวทางการพัฒนาตามผลการศึกษาฯ ได้ดงั นี้ พ้ืนทสี่ ถานขี นส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (เอกมยั ) ขนาดพน้ื ทปี่ ระมาณ 7 ไรเ่ ศษ สามารถพฒั นาเปน็ โครงการ อาคารสูงขนาดใหญท่ ่ีมกี ารใช้งานแบบผสมผสาน (Mixed-Use) ของอาคารสำ� นกั งาน โรงแรม และศูนย์การค้า เพ่ือให้สามารถใช้ ประโยชน์ท่ีดินไดเ้ ต็มประสทิ ธภิ าพ คมุ้ คา่ กบั มลู ค่าท่ดี นิ และสามารถคงความเปน็ สถานขี นส่งผูโ้ ดยสารไวท้ เ่ี ดมิ เพ่ือเป็นศนู ย์กลาง การคมนาคมดา้ นตะวันตก และเพมิ่ ความสะดวกในการเดินทางเชอ่ื มตอ่ จากการขนสง่ ระบบอื่น โดยเฉพาะระบบรถไฟฟ้า บริการ จดั การระบบการจอดดว้ ยเทคโนโลยเี พอื่ ลดขนาดพน้ื ทอ่ี าคารและลดปญั หาการจราจรโดยรอบใหม้ รี ปู แบบทที่ นั สมยั โดยดำ� เนนิ การ ในลกั ษณะการรว่ มลงทนุ ระหวา่ งรฐั และเอกชน ปจั จบุ นั บรษิ ทั ฯ ไดเ้ สนอผลการศกึ ษาฯ และเสนอโครงการพฒั นาอสงั หารมิ ทรพั ยฯ์ ตอ่ สนข. และ คค. เพอื่ ขอความเหน็ ชอบ เมอื่ เดอื นกมุ ภาพนั ธ์ 2563 โดย สนข. ให้ทบทวนรายละเอียดของโครงการท่ีไม่ครบถ้วน โดยเฉพาะเร่ืองผลกระทบด้านการจราจร ซึ่งต้องมีแผน บรหิ ารจดั การหรอื มาตรการแกไ้ ขปญั หาทช่ี ดั เจน รวมทง้ั ประเดน็ การพจิ ารณาพน้ื ทที่ างเลอื กอน่ื เพอ่ื สรา้ งเปน็ สถานขี นสง่ ผโู้ ดยสาร กรุงเทพ (เอกมัย) แห่งใหม่ บริษัทฯ อยู่ระหว่างประชุมหารือ ผเู้ กย่ี วขอ้ ง เพอื่ รว่ มกนั ทบทวนแนวทางการด�ำเนนิ โครงการ รายงานประจำ� ปี 2563 บรษิ ัท ขนส่ง จ�ำกัด 33
ผลการด�ำเนนิ งานทส่ี �ำคญั พื้นที่สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (สามแยกไฟฉาย) ขนาดพ้ืนท่ีประมาณ 3 ไร่เศษ จากศักยภาพ ที่ดินและการศึกษาตลาดอสังหาริมทรัพย์ที่ท�ำการศึกษาในปัจจุบันบริเวณพื้นท่ีใกล้เคียงโครงการ พบว่า โครงการเหมาะสม ในการพัฒนาเป็นที่อยู่อาศัย เช่น อาคารพักอาศัยส�ำหรับเช่ารายเดือน (อพาร์ตเม้นต์ หรือ โรงแรม) และเป็นศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ เน่ืองจากมีข้อได้เปรียบเรื่องของท�ำเลท่ีตั้งที่อยู่ใกล้สถานีรถไฟฟ้าสามารถเช่ือมต่อ การเดินทางจากระบบราง รถ เรือ ได้สะดวก และอยู่ใกล้โรงพยาบาลหลายแห่ง ซง่ึ มคี วามตอ้ งการของตลาดคอ่ นขา้ งสงู โดยบรษิ ทั ฯ สามารถดำ� เนนิ การในลกั ษณะ การจัดหาบุคคลภายนอกมาเป็นผู้พัฒนาพ้ืนท่ี ภายใต้เง่ือนไขการให้เช่าที่ดิน เพ่ือการพัฒนาโครงการ ซึ่งในปี 2563 บริษัทฯ ได้ประกาศเชิญชวนผู้สนใจ จำ� นวน 2 คร้ัง ครง้ั ที่ 1 เมอื่ วนั ท่ี 10 มนี าคม 2563 และ คร้ังท่ี 2 เม่อื วนั ที่ 10 กรกฎาคม 2563 สรปุ ผลการประกาศเชญิ ชวน ไมม่ ีผู้ผา่ นการคัดเลือก เนื่องจาก คณุ สมบตั ขิ องผยู้ ่ืนข้อเสนอไม่ครบถ้วนตามเงื่อนไขและข้อก�ำหนดในครง้ั ที่ 1 และ ไม่มีผ้มู าย่ืนขอ้ เสนอในครงั้ ที่ 2 บริษทั ฯ จงึ ยกเลกิ ประกาศดังกลา่ ว พื้นท่ีสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ป่ ินเกล้า) ขนาดพื้นท่ีประมาณ 15 ไร่ ปัจจุบันใช้เป็นสถานีขนส่ง ผู้โดยสารในเสน้ ทางภาคใต้ เฉพาะรถตู้โดยสาร ในอนาคตบรษิ ัทฯ มีเป้าหมายที่จะพัฒนาทดี่ ินพนื้ ท่สี ถานขี นส่งผู้โดยสารกรงุ เทพ (ปิ่นเกล้า) ให้เกิดประโยชน์สูงสุด จากผลการศึกษาได้วิเคราะห์บริบทสภาพแวดล้อมของที่ต้ังโครงการ รวมถึงข้อจ�ำกัด •ทางด้านกฎหมายท่ีมผี ลตอ่ การพฒั นา สรุปแบบรา่ งโครงการเบอื้ งตน้ แบง่ เปน็ 3 ทางเลือก คอื ทางเลอื กที่ 1 กรณยี า้ ยสถานขี นสง่ ผโู้ ดยสารกรงุ เทพ (บรมราชชนน)ี มารวมศนู ยท์ ส่ี ถานขี นสง่ ผโู้ ดยสารกรงุ เทพ (ปน่ิ เกลา้ ) และพัฒนาท่ีดินปิ่นเกล้าเป็นโครงการ Smart Station และโครงการท่ีพักอาศัย โครงการประกอบด้วย 1) สถานีขนส่งอัจฉริยะ • 2) ศูนย์ฟ้นื ฟสู ขุ ภาพ และ 3) ทีพ่ ักอาศยั แบบเช่าระยะยาว (Leasehold residence) ทางเลอื กท่ี 2 กรณยี า้ ยสถานขี นสง่ ผโู้ ดยสารกรงุ เทพ (ปน่ิ เกลา้ ) ไปรวมศนู ยท์ ส่ี ถานขี นสง่ ผโู้ ดยสารกรงุ เทพ (บรมราชชนน)ี และพัฒนาท่ีดินปิ่นเกล้าเป็นโครงการ Mixed-Use ศูนย์ฟื้นฟูสุขภาพ โครงการประกอบด้วย 1) โรงแรม 2) ศูนย์ฟื้นฟูสุขภาพ •(Aged care center) 3) ทพ่ี ักอาศัยแบบเชา่ ระยะยาว (Leasehold residence) และ 4) ทพี่ ักอาศัยรายเดอื น (Apartment) ทางเลือกที่ 3 กรณีย้าย สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ปิ่นเกล้า) และ สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (บรมราชชนนี) ไปรวมศูนย์ที่ใหม่ และให้เอกชนจัดหา ท่ีดินและค่าก่อสร้างสถานีแห่งใหม่ทดแทนพัฒนาที่ดินปิ่นเกล้าเป็นโครงการ Mixed-Use ศนู ยฟ์ นื้ ฟสู ุขภาพ ซง่ึ ประกอบดว้ ย 1) โรงแรม 2) ศูนยฟ์ ้นื ฟสู ุขภาพ 3) ท่ีพกั อาศัยให้เชา่ ระยะยาว และ 4) ทพ่ี ักอาศยั รายเดอื น เช่นเดยี วกับทางเลอื กที่ 2 แตใ่ นกรณนี ้ใี หเ้ อกชน เปน็ ผจู้ ัดหาที่ดินและคา่ ก่อสร้างสถานขี นสง่ ใหม่ทดแทนสถานเี ดมิ ปจั จบุ นั บรษิ ทั ฯ อยู่ระหวา่ งนำ� เสนอผลการศกึ ษาฯ ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ การปรบั ปรงุ ระบบการรบั ชำ� ระเงนิ คา่ ธรรมเนยี มรถรว่ ม นอกจากภารกิจในการให้บริการขนสง่ ผูโ้ ดยสารดว้ ยรถประจำ� ทาง บรษิ ัทฯ มีภารกจิ หลกั อีกดา้ นหนง่ึ ที่ต้องบริหารจัดการ ก�ำกับ ดูแล จัดระเบยี บการเดินรถใหก้ ับผ้ปู ระกอบการเอกชน (รถรว่ ม) ตามระเบยี บรถรว่ มฯ ดงั นน้ั เพอื่ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการทำ� งานใหม้ คี วามสะดวก รวดเรว็ บริษัทฯ จึงได้ปรับปรุงกระบวนการและข้ันตอนการรับช�ำระเงินค่าธรรมเนียมปล่อยรถ เพ่ืออ�ำนวยความสะดวกให้กับผู้ประกอบการรถร่วม (รถโดยสารขนาดใหญ่ และรถตู้โดยสาร) ในการชำ� ระเงนิ คา่ ธรรมเนยี มปลอ่ ยรถ โดยไดน้ ำ� เครอ่ื ง EDC (Electronic Data Capture) หรอื อปุ กรณร์ บั ชำ� ระเงนิ ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ มาใช้แทนระบบการช�ำระเงินแบบ Manual ณ สถานีต้นทางและสถานีปลายทาง โดยเปิดให้บริการช�ำระค่าธรรมเนียมปล่อยรถ ณ สถานตี น้ ทาง เมอื่ วนั ที่ 1 ตลุ าคม 2561 ปจั จบุ นั มผี ปู้ ระกอบการรถรว่ ม (รถโดยสารขนาดใหญ)่ ช�ำระค่าธรรมเนียมปล่อยรถผ่านระบบ EDC จ�ำนวน 137 ราย และเปิดให้บริการช�ำระ คา่ ธรรมเนยี มปลอ่ ยรถทีส่ ถานเี ดนิ รถปลายทาง จำ� นวน 20 สถานี ในอนาคต บรษิ ัทฯ จะขยาย จุดให้บริการไปยังสถานีเดนิ รถปลายทางเพิ่มอีก 30 จุด รวมถึงเชิญชวนใหผ้ ูป้ ระกอบการรถรว่ ม (รถตูโ้ ดยสาร) ให้มาใชบ้ รกิ ารชำ� ระคา่ ธรรมเนียมปล่อยรถดว้ ยเคร่ือง EDC อยา่ งตอ่ เนือ่ ง 34 รายงานประจำ� ปี 2563 บรษิ ัท ขนส่ง จ�ำกดั
รายงานวเิ คราะห์ฐานะการเงนิ และผลการดำ� เนนิ งานของ บริษัท ขนสง่ จ�ำกดั รายงานประจ�ำปี 2563 บรษิ ัท ขนสง่ จำ� กดั 35
รายงานวเิ คราะหฐ์ านะการเงนิ และผลการดำ� เนนิ งานของบรษิ ทั ขนสง่ จำ� กดั ปงี บประมาณ 2563 (1 ตลุ าคม 2562 - 30 กนั ยายน 2563) 1. ฐานะการเงนิ ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2563 1.1 สนิ ทรพั ย์ จำ� นวน 4,398.848 ลา้ นบาท ลดลง 426.344 ลา้ นบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 8.84 เนอ่ื งจาก สนิ ทรพั ยห์ มนุ เวยี น ลดลง ในสว่ นของเงนิ ลงทนุ ชว่ั คราว อย่างไรก็ตาม สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เพ่ิมข้ึน ในส่วนของสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี สินทรัพย์ระหว่าง ดำ� เนนิ การ-เครอ่ื งตกแตง่ เครอื่ งใชส้ ำ� นกั งาน และงานระหวา่ งกอ่ สรา้ ง-การปรบั ปรงุ พน้ื ทใ่ี ตท้ างดว่ น 1.2 หนสี้ นิ จำ� นวน 1,674.903 ลา้ นบาท เพมิ่ ขน้ึ จำ� นวน 123.182 ลา้ นบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 7.94 เนอื่ งจาก หนส้ี นิ หมนุ เวยี น เพมิ่ ขน้ึ จากในสว่ นของเจา้ หนก้ี ารคา้ และหนสี้ นิ ไมห่ มนุ เวยี น เพม่ิ ขนึ้ จากประมาณการหนส้ี นิ -จากการถกู ฟอ้ งคดี และ การประมาณการหนสี้ นิ ผลประโยชนพ์ นกั งาน 1.3 สว่ นของผถู้ อื หนุ้ จำ� นวน 2,723.945 ลา้ นบาท ลดลง จำ� นวน 549.526 ลา้ นบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 16.79 2. ผลการดำ� เนนิ งาน 2.1 ด้านรายได้ บริษัทฯ มีรายได้จากการด�ำเนินงานรวม 2,246.109 ล้านบาท ลดลงจากปีที่แล้ว จ�ำนวน 1,151.845 ลา้ นบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 33.90 ประกอบดว้ ย 2.1.1 รายไดจ้ ากการเดนิ รถบรษิ ทั ฯ จำ� นวน 1,470.790 ลา้ นบาท ลดลงจากปที แี่ ลว้ จำ� นวน 842.424 ลา้ นบาท คิดเป็นร้อยละ 36.42 เน่ืองจาก บริษัทฯ มีมาตรการ Social Distancing โดยเว้นระยะห่างของท่ีน่ัง บนรถโดยสารสถานขี นสง่ และจำ� กดั การเดนิ ทางของผโู้ ดยสาร เพอื่ ความปลอดภยั ของผใู้ ชบ้ รกิ ารและปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของโรค COVID-19 ตามทรี่ ฐั บาลประกาศสถานการณฉ์ กุ เฉนิ ในทกุ เขตทอ้ งทท่ี วั่ ราชอาณาจกั ร (พ.ร.ก. ฉกุ เฉนิ ฉบบั 2548) สง่ ผลใหต้ วั๋ โดยสารเตม็ ทกุ เสน้ ทาง ตง้ั แต่ วนั ที่ 26 ม.ี ค. 63 และงดจำ� หนา่ ยตว๋ั ทกุ ชอ่ งทางทกุ เสน้ ทางทว่ั ประเทศ รวมถงึ ขอ้ กำ� หนด ฉบบั ท่ี 2 ของรฐั บาลตามมาตรการ การหา้ มบคุ คลใด ทว่ั ราชอาณาจกั รออกนอกเคหสถานระหวา่ งเวลา 22.00 นาฬกิ า ถงึ 04.00 นาฬกิ าของวนั รงุ่ ขนึ้ ซง่ึ มผี ลตงั้ แต่ 3 เมษายน 2563 เปน็ ตน้ ไป โดยประกาศ ณ วนั ท่ี 2 เมษายน 2563 และตอ่ มาเดอื นพฤษภาคม 2563 รฐั บาล ไดอ้ อกขอ้ กำ� หนด ฉบบั ท่ี 5 เพอื่ ตอ่ ขยายระยะเวลาการบงั คบั ใชป้ ระกาศสถานการณฉ์ กุ เฉนิ ดงั กลา่ วออกไป ไปจนถงึ วนั ท่ี 31 พฤษภาคม 2563 ซง่ึ มผี ลตงั้ แต่ 3 พฤษภาคม 2563 เปน็ ตน้ ไป โดยประกาศ ณ วนั ท่ี 1 พฤษภาคม 2563 นอกจากนี้ เดอื นมถิ นุ ายน - กรกฎาคม 2563 บรษิ ทั ฯ เปดิ การเดนิ รถไดเ้ พยี งบางเสน้ ทาง และยงั คงมมี าตรการ Social Distancing เชน่ เดมิ อกี ทงั้ ผโู้ ดยสารลดลง จำ� นวน 2,471,791 คน 2.1.2 รายได้จากการเดินรถร่วม จ�ำนวน 519.083 ล้านบาท ลดลงจากปีท่ีแล้ว จ�ำนวน 213.374 ล้านบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 29.13 จากคา่ ธรรมเนยี มรถรว่ ม ลดลง เนอื่ งจาก ผปู้ ระกอบการรถรว่ ม ไดง้ ดการเดนิ รถโดยสาร ทมี่ รี ะยะทางเกนิ 300 กโิ ลเมตร (สายยาว) ทกุ เสน้ ทาง เพอื่ ใหค้ วามรว่ มมอื กบั บรษิ ทั ฯ และรฐั บาล จนกวา่ สถานการณร์ ะบาดของโรค COVID-19 กลบั สสู่ ภาวะปกติ ตามประกาศฝา่ ยบรหิ ารการเดนิ รถ เรอ่ื ง ขอความ ร่วมมือการจัดเท่ียวเวลาการเดินรถโดยสาร และประกาศของรัฐบาลตามมาตรการ การห้ามบุคคลใดท่ัว ราชอาณาจกั รออกนอกเคหสถานระหวา่ งเวลา 22.00 นาฬกิ า ถงึ 04.00 นาฬกิ าของวนั รงุ่ ขน้ึ ซง่ึ มผี ลตง้ั แต่ 3 เมษายน 2563 เปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วนั ท่ี 2 เมษายน 2563 นอกจากน้ี คา่ ใชส้ ถานี และคา่ ชดเชยรถรว่ ม ลดลง 2.1.3 รายไดด้ อกเบย้ี จำ� นวน 48.971 ลา้ นบาท ลดลงจากปที แ่ี ลว้ จำ� นวน 2.577 ลา้ นบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5.00 เนอ่ื งจาก เงนิ ฝากบญั ชปี ระจำ� ลดลง จากการทบี่ รษิ ทั ฯ ถอนเงนิ มาหมนุ เวยี นจา่ ยคา่ ใชจ้ า่ ยบรษิ ทั ฯ 2.1.4 รายไดอ้ นื่ ๆ จำ� นวน 207.265 ลา้ นบาท ลดลงจากปที แ่ี ลว้ จำ� นวน 93.471 ลา้ นบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 31.08 เนอ่ื งจาก รายไดค้ า่ เชา่ รายไดเ้ บด็ เตลด็ และชดใชค้ า่ เสยี หาย ลดลง 2.2 ดา้ นคา่ ใชจ้ า่ ย บรษิ ทั ฯ มคี า่ ใชจ้ า่ ยในการดำ� เนนิ งานรวม 2,804.161 ลา้ นบาท ลดลงจากปที แี่ ลว้ จำ� นวน 615.425 ลา้ นบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 18.00 ประกอบดว้ ย 2.2.1 ตน้ ทนุ ในการเดนิ รถ จำ� นวน 1,587.331 ลา้ นบาท ลดลงจากปที แ่ี ลว้ จำ� นวน 605.108 ลา้ นบาท คดิ เปน็ ร้อยละ 27.60 เน่ืองจากค่าน้�ำมันเช้ือเพลิง ค่าเบี้ยเลี้ยงพนักงานเดินรถ และค่าใช้จ่ายเดินรถ ลดลง นอกจากน้ี ค่าเช่ารถยนต์โดยสาร ลดลง เนื่องจาก สถานการณ์ระบาดของโรค COVID-19 บริษัทผู้ให้เช่าจึงไม่คิดค่าเช่า ในช่วงระยะเวลาที่หยุดบริการเดินรถ โดยบริษัทฯ หยุดการเดินรถโดยสาร ทกุ เสน้ ทาง ตงั้ แตว่ นั ท่ี 3 เมษายน 2563 จนถงึ วนั ที่ 17 พฤษภาคม 2563 36 รายงานประจ�ำปี 2563 บริษัท ขนส่ง จ�ำกัด
2.2.2 คา่ ใชจ้ า่ ยในการบรหิ าร จำ� นวน 1,216.729 ลา้ นบาท ลดลงจากปที แี่ ลว้ จำ� นวน 10.310 ลา้ นบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.84 เกดิ จากคา่ ใชจ้ า่ ยผลประโยชนพ์ นกั งาน ลดลง เนอ่ื งจากในปงี บประมาณ 2562 มกี ารปรบั ปรงุ หลกั เกณฑ์ การจา่ ยคา่ ชดเชย และเงนิ เพอื่ ตอบแทนความชอบในการทำ� งาน เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั ประกาศคณะกรรมการ แรงงานรฐั วสิ าหกจิ สมั พนั ธ์ ตามคำ� สงั่ บรษิ ทั ฯ ท่ี ค. 34/2562 เรอ่ื ง หลกั เกณฑก์ ารจา่ ยคา่ ชดเชย และเงนิ เพอื่ ตอบแทนความชอบในการทำ� งาน (ฉบบั ท่ี 3) ขอ้ (3) ลกู จา้ งไดป้ ฏบิ ตั งิ านในชว่ งกอ่ นเกษยี ณอายตุ ดิ ตอ่ กนั ครบ ยส่ี บิ ปขี น้ึ ปี ใหไ้ ดร้ บั เงนิ เพอื่ ตอบแทนความชอบในการทำ� งานเปน็ จำ� นวนเทา่ กบั คา่ จา้ งอตั ราสดุ ทา้ ยสร่ี อ้ ยวนั 2.2.3 ตน้ ทนุ ทางการเงนิ จำ� นวน 0.101 ลา้ นบาท ลดลงจากปที แ่ี ลว้ จำ� นวน 0.006 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5.95 2.2.4 กำ� ไร (ขาดทนุ ) บรษิ ทั ฯ มผี ลขาดทนุ สทุ ธิ จำ� นวน 544.416 ลา้ นบาท ลดลงจากปที แ่ี ลว้ จำ� นวน 545.825 ลา้ นบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 38,716.83 3. กระแสเงนิ สด บรษิ ทั ฯ มเี งนิ สดและรายการเทยี บเทา่ เงนิ สด ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2563 จำ� นวน 209.447 ลา้ นบาท เพมิ่ ขนึ้ จากตน้ งวด จำ� นวน 8.777 ลา้ นบาท โดยมเี งนิ สดสทุ ธใิ ชไ้ ปจากกจิ กรรมดำ� เนนิ งาน จำ� นวน 451.094 ลา้ นบาท เงนิ สดสทุ ธทิ ไี่ ดม้ าจากการลงทนุ จำ� นวน 459.870 ลา้ นบาท 4. ความสามารถในการทำ� กำ� ไร - ประสิทธิภาพในการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ในการท�ำก�ำไรหลังจากหักค่าใช้จ่าย และภาษีเงินได้แล้ว อัตราผลตอบแทน ตอ่ ยอดขาย รอ้ ยละ (26.00) ลดลงจากปที แ่ี ลว้ รอ้ ยละ 26.04 - อตั รากำ� ไรขนั้ ตน้ รอ้ ยละ 31.46 ลดลงจากปที แ่ี ลว้ รอ้ ยละ 6.51 5. สภาพคลอ่ งทางการเงนิ บรษิ ทั ฯ มคี วามสามารถในการชำ� ระหนร้ี ะยะสน้ั คอ่ นขา้ งมาก โดยมอี ตั ราสว่ นเงนิ ทนุ หมนุ เวยี น 6.25 เทา่ ลดลงจากปที แี่ ลว้ 2.97 เทา่ 6. ความสามารถในการชำ� ระหนี้ บริษัทฯ มีแหล่งที่มาของเงินทุนในส่วนของผู้ถือหุ้น ไม่มีการกู้ยืมเงินมาใช้ในการด�ำเนินกิจการ อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของ ผถู้ อื หนุ้ 0.61 เทา่ ลดลงจากปที แี่ ลว้ 0.14 เทา่ 7. ความสามารถในการเบกิ จา่ ยงบลงทนุ ปงี บประมาณ 2563 สำ� นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ (สศช.) ไดอ้ นมุ ตั งิ บประมาณลงทนุ ของบรษิ ทั ฯ ทเ่ี ปน็ ยอดเบกิ จา่ ยรวมทง้ั สน้ิ 300.980 ลา้ นบาท บรษิ ทั ฯ ไดจ้ ดั สรรงบประมาณลงทนุ เพอื่ จดั ซอื้ - จดั หา เครอ่ื งใชส้ ำ� นกั งาน ทดี่ นิ และสงิ่ ปลกู สรา้ ง ทงั้ ในสว่ นของงบลงทนุ ทข่ี อ อนมุ ตั ริ ายปี และงบลงทนุ ทจี่ ดั ทำ� เปน็ แผนระยะยาว มยี อดเบกิ จา่ ยจรงิ จำ� นวน 253.627 ลา้ นบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 84.27 ของงบลงทนุ ทไี่ ดร้ บั อนมุ ตั เิ บกิ จา่ ย รายงานผลการเบกิ จา่ ยงบลงทนุ ประจำ� ปงี บประมาณ 2563 สะสมตงั้ แต่ 1 ตลุ าคม 2562 - 30 กนั ยายน 2563 รายการ งบลงทุนที่ได้รับ ยอดเบกิ จ่าย คงเหลือ งบลงทนุ ทข่ี ออนุมัตริ ายปี อนุมัตเิ บกิ จา่ ย 1. หมวดเครอ่ื งใช้สำ� นกั งาน 11.509 22.100 2. หมวดเครื่องจักรและอุปกรณ์ 33.609 1.129 0.840 3. หมวดทดี่ ินและสง่ิ ปลกู สร้าง 1.969 0.937 21.451 4. หมวดงบสำ� รองราคา 22.388 0.155 0.585 5. หมวดงบส�ำรองกรณีจำ� เป็นเร่งด่วน 0.740 2.023 1.777 รวมงบลงทุนท่ีขออนุมตั ริ ายปี 3.800 15.753 46.752 งบลงทุนท่ีจัดทำ� เปน็ แผนระยะยาว 62.506 1.132 1. การพัฒนาระบบเชื่อมโยงผลการประเมิน และข้อมลู ระบบ MOT/BSC 1.132 - 2. การพัฒนาธรุ กิจส�ำนักซอ่ มบ�ำรุงและตรวจสภาพรถ 0.600 - 0.600 3. แผนปฏิบัตกิ ารดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ (236.742 ลบ.) - - 9.366 - 3.1 โครงการจา้ งทปี่ รกึ ษาก�ำกบั และควบคุมงานโครงการ 9.366 168.451 - 3.2 โครงการระบบส�ำรองทนี่ ัง่ และจ�ำหนา่ ยตว๋ั รถโดยสารด้วยระบบคอมพิวเตอร์ 168.451 47.711 - 47.711 11.214 - ของ บขส. และรถร่วม 11.214 237.874 - 3.3 โครงการระบบบริหารข้อมลู รถโดยสารชานชาลาและสถานี โดยสาร 238.474 253.627 0.600 3.4 โครงการระบบบริหารจัดการการเดินรถ และการจ�ำหน่ายต๋วั ของรถโดยสารขนาดเลก็ 300.980 47.352 รวมงบลงทนุ ที่จดั ทำ� เป็นแผนระยะยาว รวมงบลงทนุ เพ่ือการดำ� เนินงานปกติ รายงานประจ�ำปี 2563 บรษิ ัท ขนสง่ จำ� กดั 37
ปัจจัยและอทิ ธพิ ล ต่อการดำ� เนนิ งานในอนาคต 38 รายงานประจำ� ปี 2563 บรษิ ัท ขนสง่ จ�ำกดั
นโยบายการพัฒนาระบบขนสง่ สาธารณะของประเทศ การเพิ่มขน้ึ ของบรกิ ารทดแทน และ การกา้ วสสู่ งั คมผสู้ งู อายุ จากนโยบายของประเทศทจ่ี ะพฒั นาระบบการขนสง่ ทางรางเปน็ ระบบขนสง่ หลกั กระทรวงคมนาคม ไดด้ ำ� เนนิ โครงการตา่ งๆ เพอ่ื พฒั นาระบบขนสง่ สาธารณะของประเทศ ทง้ั ทางราง ทางอากาศ ทางนำ�้ และทางถนน เพอื่ พฒั นาโครงขา่ ยคมนาคมและโครงสรา้ ง พนื้ ฐานใหเ้ ชอื่ มโยงกนั อยา่ งไรร้ อยตอ่ สนบั สนนุ ใหป้ ระชาชนหนั มาใชบ้ รกิ ารระบบขนสง่ สาธารณะมากขนึ้ ไดแ้ ก่ โครงการพฒั นาระบบ ขนสง่ ทางราง (รถไฟทางคแู่ ละรถไฟความเรว็ สงู ) โครงการพฒั นาระบบขนสง่ ทางอากาศ โครงการพฒั นาระบบขนสง่ ทางนำ�้ การปรบั ปรงุ คณุ ภาพการใหบ้ รกิ าร การปรบั เสน้ ทางการเดนิ รถโดยสารสาธารณะ ตลอดจนพฒั นาสงิ่ อำ� นวยความสะดวกภายในสถานใี หเ้ ชอ่ื มโยง สอดคลอ้ งกบั แนวทางการพฒั นาพน้ื ทรี่ อบสถานรี ะบบขนสง่ มวลชน (Transit Oriented Development : TOD) จากการดำ� เนนิ งานตามนโยบายดงั กลา่ ว ในอนาคตประชาชนจะสามารถเลอื กใชบ้ รกิ ารขนสง่ สาธารณะไดท้ กุ รปู แบบ สามารถ เดนิ ทางเชอื่ มโยงทว่ั ถงึ ไดท้ กุ พนื้ ที่ สะดวก รวดเรว็ มากขน้ึ ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั พฤตกิ รรมการเดนิ ทางของประชาชนทมี่ กี ารเปลยี่ นแปลง ณ ปจั จบุ นั ทนี่ ยิ มเดนิ ทางโดยใชร้ ถยนตส์ ว่ นบคุ คล เนอ่ื งจากมคี วามสะดวก ปลอดภยั รวดเรว็ และเขา้ ถงึ จดุ หมายปลายทางมากทส่ี ดุ รองลงมาเปน็ การใชบ้ รกิ ารขนสง่ สาธารณะทางอากาศ (ราคาประหยดั ) เนอื่ งจากสะดวก รวดเรว็ กวา่ การเดนิ ทางดว้ ยระบบขนสง่ สาธารณะ ประกอบกบั ในอนาคตหากการขนสง่ สาธารณะทางราง (รถไฟทางคู่ รถไฟความเรว็ สงู ) ไดเ้ ปดิ ใหบ้ รกิ ารอยา่ งเตม็ รปู แบบ จะสง่ ผลให้ ประชาชนเลอื กใชบ้ รกิ ารอน่ื ทดแทนการใชบ้ รกิ ารดว้ ยรถโดยสารมากยง่ิ ขนึ้ นอกจากนี้ ในปี 2573 ประเทศไทยจะกา้ วเขา้ สสู่ งั คมผสู้ งู อายุ โดยจะมผี สู้ งู อายถุ งึ รอ้ ยละ 25 ของประชากรทง้ั หมด ซง่ึ ประชากรผสู้ งู อายดุ งั กลา่ วจะตอ้ งพงึ่ พงิ การเดนิ ทางดว้ ยระบบขนสง่ สาธารณะ มากขึ้น ในขณะท่ีการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะยังขาดความต่อเนื่องและเช่ือมโยงกัน ดังนั้น บริษัทฯ จ�ำเป็นต้องเร่งวางแผน การด�ำเนินงานปรับรูปแบบการด�ำเนินธุรกิจให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงท่ีจะเกิดขึ้น เร่งพัฒนาปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ โดยเนน้ เรอ่ื งความปลอดภยั ความตรงตอ่ เวลา และความสะดวกในการใหบ้ รกิ าร ทำ� ใหผ้ ใู้ ชบ้ รกิ ารไดร้ บั ความพงึ พอใจมากทสี่ ดุ และเลอื ก ใชบ้ รกิ ารของบรษิ ทั ฯ เปน็ อนั ดบั แรก ตลอดจน เรง่ หามาตรการ/ปรบั ปรงุ ระบบขนสง่ สาธารณะ อาทิ สถานขี นสง่ ผโู้ ดยสาร สถานเี ดนิ รถ รถโดยสาร พนกั งานบรกิ าร รองรบั ผใู้ ชบ้ รกิ ารทกุ กลมุ่ ทกุ วยั ตามหลกั การออกแบบสากล (Universal Design) เพอ่ื ลดความเสยี เปรยี บ ในการเขา้ ถงึ โครงสรา้ งพน้ื ฐานและบรกิ ารขนสง่ สาธารณะ การดำ� เนนิ ภารกจิ ดา้ นการรบั สง่ สนิ คา้ และพัสดภุ ณั ฑ์ บรษิ ทั ฯ เปดิ ใหบ้ รกิ ารรบั -สง่ พสั ดภุ ณั ฑ์ ซงึ่ เปน็ บรกิ ารเสรมิ จากการใหบ้ รกิ ารขนสง่ ผโู้ ดยสารจากกรงุ เทพฯ ไปยงั จงั หวดั ตา่ ง ๆ ทวั่ ประเทศ ตง้ั แตป่ ี 2551 จนถงึ ปจั จบุ นั รวมระยะเวลา 13 ปี โดยรบั -สง่ พสั ดภุ ณั ฑไ์ ปกบั รถโดยสาร ตอ่ มาในปี 2555 ไดเ้ รม่ิ มกี ารนำ� รถโดยสารของบรษิ ทั ฯ มาปรบั ปรงุ เพอื่ ใชเ้ ปน็ รถรบั -สง่ พสั ดภุ ณั ฑ์ สำ� หรบั รองรบั ความตอ้ งการของผใู้ ชบ้ รกิ ารทมี่ แี นวโนม้ เพม่ิ ขน้ึ อยา่ ง ตอ่ เนอื่ ง จนทำ� ใหบ้ รษิ ทั ฯ มรี ายไดเ้ พมิ่ ขนึ้ ปจั จบุ นั บรษิ ทั ฯ ประสบปญั หาเรอื่ งความชดั เจนในการดำ� เนนิ ภารกจิ รบั -สง่ พสั ดภุ ณั ฑ์ เพอ่ื ใหก้ ารดำ� เนนิ งานไปเปน็ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง บรษิ ทั ฯ ตอ้ งเพมิ่ วตั ถปุ ระสงคข์ องการดำ� เนนิ ภารกจิ รบั -สง่ พสั ดภุ ณั ฑใ์ นบรคิ ณหส์ นธิ ซงึ่ ตอ้ ง ผา่ นกระบวนการพจิ ารณาตามกฎหมาย สรปุ ขอ้ พจิ ารณาทส่ี ำ� คญั ตามความเหน็ ของกระทรวงคมนาคม มดี งั นี้ 1. กรณีที่มีการเพ่ิมเติม เปล่ียนแปลงข้อความในหนังสือบริคณห์สนธิ บริษัทฯ ต้องสอบถามความเห็นของกระทรวงการคลัง ในฐานะเปน็ ผถู้ อื หนุ้ เสยี งสว่ นใหญข่ องบรษิ ทั ฯ กอ่ นวา่ สามารถดำ� เนนิ การไดห้ รอื ไม่ เนอ่ื งจาก ปจั จบุ นั มรี ฐั วสิ าหกจิ อน่ื ทป่ี ระกอบกจิ การ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคใ์ นการรบั ขนสนิ คา้ และพสั ดภุ ณั ฑอ์ ยดู่ ว้ ย 2. การกำ� หนดมาตรการคมุ้ ครองความปลอดภยั ของสนิ คา้ หรอื ผโู้ ดยสาร กรณสี นิ คา้ สญู หาย บบุ สลาย หรอื สง่ มอบลา่ ชา้ บรษิ ทั ฯ ควรทราบกรอบความรบั ผดิ ของบรษิ ทั ฯ ตอ่ ผใู้ ชบ้ รกิ ารวา่ จะตอ้ งรบั ผดิ ชอบตอ่ ผใู้ ชบ้ รกิ ารในกรณใี ดและมขี อ้ จำ� กดั อยา่ งไรบา้ ง หรอื มมี าตรการในการปอ้ งกนั ความเสยี หายหรอื คมุ้ ครองความปลอดภยั ของสนิ คา้ ทร่ี บั ขน หรอื คมุ้ ครองผโู้ ดยสาร 3. การกำ� หนดประเภทรถทใี่ ชข้ นสง่ สนิ คา้ บรษิ ทั ฯ ตอ้ งชแ้ี จงรายละเอยี ดใหช้ ดั เจนวา่ บรษิ ทั ฯ จะใชร้ ถประเภทใดบา้ งในการขนสง่ สนิ คา้ และมผี ลกระทบทางกฎหมายจากการใชร้ ถดงั กลา่ วอยา่ งไร 4. การจดั ทำ� แผนรองรบั ดา้ นบคุ ลากร กรณไี ดร้ บั ภารกจิ ใหข้ นสง่ สนิ คา้ ตามกฎหมาย ประกอบกบั การหาพนั ธมติ รทม่ี คี วามเชย่ี วชาญ ในเรอ่ื งการขนสง่ แบบ Door-to-Hub และ แบบ Hub-to-Door บรษิ ทั ฯ คาดวา่ จะไดร้ บั ความรว่ มมอื อยา่ งไร และจะมศี กั ยภาพเพยี งพอ ในการแขง่ ขนั กบั เอกชนทปี่ ระกอบกจิ การในลกั ษณะเดยี วกนั หรอื ไม่ 5. บริษัทฯ ควรมีการศึกษาวิเคราะห์และจัดท�ำแผนการลงทุนรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ให้ชัดเจนและครบถ้วน ส�ำหรับ ประกอบการเพมิ่ วตั ถปุ ระสงคใ์ นการขนสง่ สนิ คา้ และพสั ดภุ ณั ฑ์ รายงานประจ�ำปี 2563 บรษิ ัท ขนส่ง จ�ำกดั 39
ปัจจยั และอิทธพิ ลต่อการด�ำเนินงานในอนาคต นโยบายการพัฒนาสถานขี นสง่ ผโู้ ดยสารกรงุ เทพ (จตจุ กั ร) สถานขี นสง่ ผโู้ ดยสารกรงุ เทพ (จตจุ กั ร) ตง้ั อยบู่ นทดี่ นิ ของการรถไฟแหง่ ประเทศไทย (รฟท.) มพี นื้ ทรี่ วมทงั้ หมดประมาณ 74 ไร่ จากสถติ กิ ารเขา้ ใชส้ ถานใี นปจั จบุ นั พบวา่ ในแตล่ ะวนั มรี ถโดยสารประจำ� ทางเขา้ ออกมากกวา่ 5,000 เทยี่ วตอ่ วนั โดยสว่ นใหญเ่ ปน็ รถโดยสารประจ�ำทางหมวด 2 ในเส้นทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พ้ืนท่ีแห่งนี้การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) มแี ผนพฒั นาอสงั หารมิ ทรพั ยบ์ นพนื้ ทดี่ นิ ในยา่ นบางซอื่ ทงั้ หมด ใหเ้ ปน็ ศนู ยก์ ลางธรุ กจิ ใหมข่ องกรงุ เทพมหานคร รองรบั การพฒั นาสถานี รถไฟกลางบางซอื่ ซงึ่ เปน็ โครงขา่ ยรถไฟความเรว็ สงู ในอนาคต การรถไฟแหง่ ประเทศไทย (รฟท.) จงึ ไดข้ อคนื พนื้ ทส่ี ถานขี นสง่ ผโู้ ดยสาร กรงุ เทพ (จตจุ กั ร) ดงั กลา่ ว นอกจากนี้ สำ� นกั งานนโยบายและแผนการขนสง่ และจราจร (สนข.) ไดเ้ สนอแนวคดิ ใหบ้ รษิ ทั ฯ คนื พนื้ ทใ่ี หแ้ ก่ การรถไฟแหง่ ประเทศไทย (รฟท.) และยา้ ยสถานขี นสง่ ผโู้ ดยสารกรงุ เทพ (จตจุ กั ร) เฉพาะสว่ นของกจิ กรรมการขนสง่ คนโดยสาร มายงั บรเิ วณทรี่ าชพสั ดุ กรมธนารกั ษ์ (หมอชติ เดมิ ) และบรเิ วณพน้ื ทศี่ นู ยค์ มนาคมทางราง (16 ไร)่ บรษิ ทั ฯ จงึ ไดว้ า่ จา้ งสถาบนั เทคโนโลยี พระจอมเกลา้ เจา้ คณุ ทหารลาดกระบงั ศกึ ษาความเหมาะสมและความเปน็ ไปไดข้ องแตล่ ะพน้ื ท่ี รวมทง้ั จดั ทำ� แผนรองรบั ไปยงั พนื้ ที่ ดงั กลา่ ว สรปุ ผลกระทบของแตล่ ะพน้ื ทตี่ ามผลการศกึ ษาฯ ทส่ี ำ� คญั มดี งั น้ี 1. กรณอี ยพู่ น้ื ทเ่ี ดมิ แตบ่ รษิ ทั ฯ ขอลดขนาดพน้ื ทเี่ หลอื ประมาณ 50 ไร่ ประชาชนจะไดร้ บั ความสะดวกอยา่ งมาก เนอื่ งจากพนื้ ทน่ี ม้ี ี การเชอื่ มตอ่ กบั สถานเี ดนิ รถโดยสารขนาดเลก็ (จตจุ กั ร) ซง่ึ ตง้ั อยบู่ รเิ วณใตท้ างดว่ นศรรี ชั ดา้ นหนา้ สถานขี นสง่ ผโู้ ดยสารกรงุ เทพ (จตจุ กั ร) และสามารถเชอ่ื มตอ่ กบั สถานกี ลางบางซอื่ ไดอ้ ยา่ งสะดวก ดว้ ยรถโดยสารในเสน้ ทาง และรถ Shuttle Bus ของบรษิ ทั ฯ หรอื รถโดยสาร ของ ขสมก. รวมถงึ รถประจำ� ทางดว่ นพเิ ศษ (Bus Rapid Transit : BRT) ของ รฟท. 2. กรณีย้ายสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) มายังบริเวณที่ราชพัสดุ กรมธนารักษ์ (หมอชิตเดิม) ส่งผลให้เกิดปัญหา การจราจรมากขน้ึ เนอื่ งจากเปน็ การเพมิ่ ปรมิ าณรถโดยสารขนาดใหญใ่ นบรเิ วณทม่ี กี ารจราจรหนาแนน่ และมปี ญั หาการจราจรตดิ ขดั มาก อกี ทงั้ ยงั เปน็ การเพมิ่ ระยะการเดนิ ทางใหก้ บั ประชาชน สง่ ผลใหไ้ มไ่ ดร้ บั ความสะดวก เพมิ่ ภาระดา้ นคา่ ใชจ้ า่ ยใหก้ บั ผปู้ ระกอบการเอกชน เพมิ่ ขน้ึ ตลอดจนใชเ้ งนิ ลงทนุ ในการกอ่ สรา้ งสงู 3. กรณีย้ายสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) มายังบริเวณพื้นท่ีศูนย์คมนาคมทางราง (16 ไร่) ตามผลการศึกษาไม่ได้ ระบุแนวทางการด�ำเนินงานท่ีชัดเจน เนื่องจากตามแผนแม่บทการพัฒนาพ้ืนที่ศูนย์คมนาคมพหลโยธิน ระบุการใช้พื้นที่ของ บขส. ยา่ นพหลโยธนิ เปน็ สถานยี อ่ ย 16 ไร่ รองรบั รถโดยสารสายสนั้ วงิ่ ระยะทางไมเ่ กนิ 300 กโิ ลเมตร ประกอบกบั บรษิ ทั ฯ ยนื ยนั วา่ จะยงั ใช้ พนื้ ทส่ี ถานขี นสง่ ฯ เดมิ ประมาณ 50 ไร่ และปจั จบุ นั ไดม้ กี ารขอเชา่ พนื้ ทใี่ ตท้ างดว่ นศรรี ชั และพฒั นาเปน็ สถานเี ดนิ รถโดยสารขนาดเลก็ แลว้ ดงั นน้ั การขอใชพ้ น้ื ที่ 16 ไร่ เพอื่ เปน็ สถานยี อ่ ยรองรบั รถโดยสารสายสน้ั จงึ ไมม่ คี วามจำ� เปน็ จากนโยบายทส่ี ามารถเปลยี่ นแปลงตลอดเวลา บรษิ ทั ฯ จำ� เปน็ ตอ้ งจดั หาพนื้ ทแี่ หง่ ใหมท่ มี่ ศี กั ยภาพและจดั ทำ� แผนรองรบั การยา้ ย สถานขี นสง่ ผโู้ ดยสารกรงุ เทพ (จตจุ กั ร) ไวอ้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ทง้ั พน้ื ทท่ี เ่ี ปน็ กรรมสทิ ธแิ์ ละไมไ่ ดเ้ ปน็ กรรมสทิ ธข์ิ องบรษิ ทั ฯ โรคอบุ ตั ใิ หม่ หรอื โรคตดิ ตอ่ อบุ ตั ใิ หม่ โรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) เปน็ โรคตดิ เชอื้ อนั เกดิ จากไวรสั โคโรนากลมุ่ อาการทางเดนิ หายใจเฉยี บพลนั รนุ แรง 2 (SARS-CoV-2) มรี ะบโุ รคครง้ั แรกในเดอื นธนั วาคม 2562 ในนครอฮู่ น่ั เมอื งเอกของมณฑลหเู ปย่ ์ ประเทศจนี และไดก้ ระจายไปทวั่ โลก นบั แตน่ น้ั ปจั จบุ นั ยงั ไมม่ วี คั ซนี หรอื การรกั ษาดว้ ยยาตา้ นไวรสั ทจี่ ำ� เพาะสำ� หรบั COVID-19 องคก์ ารอนามยั โลก (WHO) ประกาศใหก้ าร ระบาดของโคโรนาไวรสั 2019-2020 เปน็ ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสขุ ระหวา่ งประเทศ (PHEIC) เมอื่ วนั ท่ี 30 มกราคม 2563 และเปน็ โรค ระบาดทว่ั เมอ่ื วนั ท่ี 11 มนี าคม 2563 จากสถานการณข์ องการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา (COVID-19) สง่ ผลใหป้ ระเทศไทย ตอ้ งขาดรายไดจ้ ากการทอ่ งเทย่ี วจากนกั ทอ่ งเทยี่ วตา่ งประเทศ ซง่ึ เปน็ เครอื่ งจกั รสำ� คญั ทผี่ ลกั ดนั เศรษฐกจิ ไทยในชว่ งทผ่ี า่ นมา จากการท่ี ปรมิ าณการทอ่ งเทยี่ วของนกั ทอ่ งเทย่ี วลดลง สง่ ผลใหป้ รมิ าณการเดนิ ทางลดลงตามไปดว้ ย ในชว่ ง 2-3 ปที ผ่ี า่ นมา บรษิ ทั ฯ ใหบ้ รกิ ารขนสง่ ผโู้ ดยสารทเี่ ดนิ ทางไปยงั จงั หวดั ตา่ ง ๆ ดว้ ยรถโดยสารประจำ� ทางของบรษิ ทั ฯ ประมาณ 5-6 ลา้ นคนตอ่ ปี สำ� หรบั ในปี 2563 ผโู้ ดยสาร ลดลงจากปที ผ่ี า่ นมารอ้ ยละ 37 เนอ่ื งจากตอ้ งหยดุ บรกิ ารเดนิ รถโดยสารทกุ เสน้ ทาง ตามประกาศพระราชกำ� หนดการบรหิ ารราชการใน สถานการณฉ์ กุ เฉนิ พ.ศ. 2548 ตงั้ แตว่ นั ที่ 26 มนี าคม 2563 โดยสามารถเปดิ ใหบ้ รกิ ารเดนิ รถโดยสารเสน้ ทางภายในประเทศทกุ เสน้ ทาง เมอ่ื วนั ที่ 26 มถิ นุ ายน 2563 โดยใชม้ าตรการเวน้ ระยะหา่ งทางสงั คม Social Distancing สำ� หรบั การบรกิ ารเดนิ รถเสน้ ทางระหวา่ ง ประเทศ ยงั ไมส่ ามารถเปดิ ใหบ้ รกิ ารได้ จากสถานการณด์ งั กลา่ ว ทำ� ใหบ้ รษิ ทั ฯ สญู เสยี รายไดจ้ ากการเดนิ รถบรษิ ทั ฯ รวมถงึ รายไดอ้ นื่ ๆ ท่ีส�ำคัญ ประมาณ 500 ล้านบาท ท้ังนี้ หากการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา (COVID-19) ต่อเนื่องไปถึงปี 2564 อาจสง่ ผลกระทบให้ บขส. ประสบผลขาดทนุ ตอ่ เนอ่ื งตดิ ตอ่ กนั ดงั นน้ั บรษิ ทั ฯ ตอ้ งหามาตรการรองรบั เชน่ การลดตน้ ทนุ คา่ ใชจ้ า่ ย ในการบริหารของบริษัทฯ การเร่งรัดการด�ำเนินการรับ-ส่งพัสดุภัณฑ์ให้ถูกต้องตามกฎหมายก�ำหนด รวมถึงเร่งด�ำเนินการพัฒนา อสงั หารมิ ทรพั ยท์ ม่ี ศี กั ยภาพ เพอื่ ใหบ้ รษิ ทั ฯ มรี ายไดส้ ำ� รองไวใ้ ชจ้ า่ ยในกรณดี งั กลา่ วและลดความเสยี่ งไมใ่ หเ้ กดิ ผลขาดทนุ ในอนาคต 40 รายงานประจำ� ปี 2563 บริษัท ขนส่ง จำ� กดั
การเปลย่ี นแปลงดา้ นเทคโนโลยี Disruptive Technology คอื นวตั กรรม หรอื เทคโนโลยที สี่ รา้ งตลาดและมลู คา่ ใหก้ บั ตวั ผลติ ภณั ฑท์ ใี่ ชเ้ ทคโนโลยี และสง่ ผลกระทบ อยา่ งรนุ แรง ตอ่ ตลาดของผลติ ภณั ฑเ์ ดมิ รวมทง้ั อาจจะทำ� ใหธ้ รุ กจิ ทใ่ี ชเ้ ทคโนโลยแี บบเดมิ ๆ ลม้ หายตายจากไป อาทิ อนิ เทอรเ์ นต็ ไรส้ าย (Mobile Internet) เทคโนโลยอี ตั โนมตั ใิ นดา้ นการวเิ คราะห์ (Automation) อนิ เทอรเ์ นต็ ในทกุ สง่ิ (Internet of Things) เทคโนโลยี หนุ่ ยนต์ (Robotics) ยานพาหนะไรค้ นขบั หรอื กงึ่ ไรค้ นขบั (Vehicles) เทคโนโลยพี ลงั งานทดแทน (Renewable) เปน็ ตน้ ในธรุ กจิ ขนสง่ การเขา้ มาของเทคโนโลยใี นรปู แบบตา่ ง ๆ นบั เปน็ ตวั แปรสำ� คญั ทที่ ำ� ใหพ้ ฤตกิ รรมผบู้ รโิ ภคเปลย่ี นแปลงอยา่ งเหน็ ไดช้ ดั เชน่ การแขง่ ขนั กนั ของธรุ กจิ e-commerce อยา่ งดเุ ดอื ด ไมว่ า่ จะเปน็ Facebook, Google, Alibaba, JD.com รวมถงึ การเพม่ิ ขน้ึ ของการซอ้ื ขายสนิ คา้ ผา่ นชอ่ งทางออนไลน์ การเพมิ่ ขน้ึ ของผใู้ ชบ้ รกิ าร Mobile banking การใชน้ วตั กรรม AI และระบบ Cloud technology เขา้ มาชว่ ย ในระบบการทำ� งานตา่ ง ๆ ลว้ นกอ่ ใหเ้ กดิ ธรุ กจิ รปู แบบใหม่ ๆ และทำ� ใหธ้ รุ กจิ บางประเภทสญู หายไป โดยในธรุ กจิ ขนสง่ เปน็ หนงึ่ ในธรุ กจิ ทเี่ ทคโนโลยเี ขา้ มามบี ทบาทมาก ทง้ั เทคโนโลยพี ฒั นาระบบขนสง่ เองหรอื แมแ้ ตบ่ รกิ ารตา่ ง ๆ รถยนตไ์ ฟฟา้ ปจั จบุ นั ทศิ ทางและแนวโนม้ ของอตุ สาหกรรมรถยนตก์ ำ� ลงั อยใู่ นชว่ งเปลยี่ นผา่ น จากรถยนตท์ ข่ี บั เคลอื่ นดว้ ยเครอื่ งยนต์ สนั ดาปภายในไปสรู่ ถยนตท์ ขี่ บั เคลอ่ื นดว้ ยระบบไฟฟา้ (Electric Vehicle : EV) ซง่ึ การเปลยี่ นผา่ นนจ้ี ะสง่ ผลกระทบเปน็ วงกวา้ งทงั้ ตอ่ ตวั อตุ สาหกรรมรถยนตเ์ อง และอตุ สาหกรรมเกยี่ วเนอื่ งตา่ ง ๆ ทง้ั นคี้ าดวา่ เทคโนโลยรี ถยนตไ์ ฟฟา้ จะเตบิ โตรวดเรว็ มากในอนาคตอนั ใกล้ เนอื่ งจากตน้ ทนุ การผลติ ทลี่ ดลงอยา่ งรวดเรว็ จากความกา้ วหนา้ ในดา้ นการวจิ ยั พฒั นาตา่ ง ๆ โดยเฉพาะตน้ ทนุ ของการผลติ แบตเตอรี่ จะสง่ ผลใหค้ วามแตกตา่ งของราคา (Price Difference) ระหวา่ งรถยนต์ ICE กบั รถยนต์ EV แคบลง จนผบู้ รโิ ภคสามารถเขา้ ถงึ ไดง้ า่ ยขน้ึ สำ� หรบั สถานการณร์ ถยนตไ์ ฟฟา้ ของไทยในปจั จบุ นั เรมิ่ มที ศิ ทางชดั เจนมากขนึ้ โดยหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ไดแ้ ก่ การไฟฟา้ ฝา่ ยผลติ (EGAT) การไฟฟา้ นครหลวง (MEA) การไฟฟา้ สว่ นภมู ภิ าค (PEA) บรษิ ทั ปตท. จำ� กดั (มหาชน) และบรษิ ทั พลงั งานบรสิ ทุ ธิ์ จำ� กดั (มหาชน) เปน็ ตน้ เรมิ่ มกี ารพฒั นา/ผลติ โครงสรา้ งพน้ื ฐานในการประจไุ ฟฟา้ (Charging Infrastructure) หรอื สถานชี ารจ์ ไฟฟา้ ซงึ่ ทยอยเปดิ ตวั สถานชี ารจ์ ไฟฟา้ ออกมาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ตวั อยา่ งเชน่ โครงการ EA anywhere ของบรษิ ทั พลงั งานบรสิ ทุ ธ์ิ จำ� กดั (มหาชน) ทมี่ กี ารรว่ มมอื กบั กฟน. โดยมเี ปา้ หมายสถานชี ารจ์ ไฟฟา้ เปน็ 1,000 สถานี เตรยี มพรอ้ มรบั การเปลย่ี นแปลงโครงสรา้ งการผลติ รถยนต์ ในอนาคต ขณะเดยี วกนั ผใู้ หบ้ รกิ ารระบบขนสง่ สาธารณะในประเทศไทยอยา่ งองคก์ ารขนสง่ มวลชนกรงุ เทพ(ขสมก.) ไดท้ ำ� ความรว่ มมอื กบั บรษิ ทั ไทยอวี ี จำ� กดั เพอ่ื นำ� รถยนตโ์ ดยสารไฟฟา้ มาทดลองวงิ่ ใหบ้ รกิ ารประชาชนในเสน้ ทางเดนิ รถของ ขสมก. 3 เสน้ ทาง ไดแ้ ก่ เสน้ ทางที่ 1 สาย 129 อบู่ างเขน - สำ� โรง เสน้ ทางท่ี 2 สาย A1 ทา่ อากาศยานดอนเมอื ง - สถานขี นสง่ ผโู้ ดยสารกรงุ เทพ (จตจุ กั ร) เสน้ ทางที่ 3 สาย 522 อรู่ งั สติ -อนสุ าวรยี ช์ ยั สมรภมู ิ เพอ่ื ทดสอบประสทิ ธภิ าพการทำ� งาน สมรรถนะของรถโดยสาร และรวบรวม นำ� มาใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ประกอบการพจิ ารณาจดั ซอื้ รถโดยสารปรบั อากาศไฟฟา้ ตามแผนฟน้ื ฟกู จิ การองคก์ าร ดงั นน้ั จะเหน็ ไดว้ า่ เทคโนโลยี รถยนตไ์ ฟฟา้ จะเขา้ มาแทนทร่ี ถยนตใ์ ชน้ ำ�้ มนั ในอนาคตขา้ งหนา้ และการเปลย่ี นผา่ นนจี้ ะสง่ ผลกระทบเปน็ วงกวา้ งตอ่ ระบบหว่ งโซอ่ ปุ ทาน อตุ สาหกรรมรถยนต์ ไปจนถงึ อตุ สาหกรรมทเ่ี กย่ี วขอ้ งอกี มากมาย ในส่วนของบริษัทฯ ปัจจุบันบริษัทฯ มีสถานีขนส่งผู้โดยสารในพ้ืนที่เมืองหลายจังหวัด อาจเป็นโอกาสที่จะเกิดความร่วมมือ ในการเปน็ แหลง่ ชารจ์ ไฟฟา้ ของรถยนตไ์ ฟฟา้ ในอนาคต รวมถงึ เปน็ โอกาสใหบ้ รษิ ทั ฯ นำ� รถยนตโ์ ดยสารไฟฟา้ มาใหบ้ รกิ ารประชาชน สำ� หรบั เสน้ ทางการเดนิ รถในสายสน้ั อนั กอ่ ใหเ้ กดิ ภาพลกั ษณท์ ด่ี ใี นเรอ่ื งสงิ่ แวดลอ้ มการลดมลภาวะและความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมอกี ดว้ ย Green Transport (การขนสง่ สเี ขยี ว) คอื การบรหิ ารจดั การ เลอื กใชเ้ ทคโนโลยขี นสง่ ทเ่ี ปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม อาทิ การใช้ เทคโนโลยเี พอื่ การประหยดั พลงั งาน ลดการใชพ้ ลงั งาน ลดมลพษิ ทมี่ ผี ลกระทบตอ่ สภาพแวดลอ้ ม ลดการปลดปลอ่ ยความรอ้ นและ กา๊ ซเรอื นกระจก ซงึ่ สง่ ผลกระทบตอ่ ภาวะโลกรอ้ น ปจั จบุ นั บรษิ ทั ฯ ไดต้ ระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม โดยไดม้ กี ารดำ� เนนิ งาน ตามกรอบแนวทางในการวดั และประเมนิ ประสทิ ธภิ าพเชงิ นเิ วศเศรษฐกจิ (Eco-efficiency) ตง้ั แตป่ ี 2562 ซงึ่ มเี ปา้ หมายเพอ่ื ลดปรมิ าณ กา๊ ซเรอื นกระจกทเ่ี กดิ ขนึ้ จากการใหบ้ รกิ ารการเดนิ รถโดยสารของ บขส. และจดั ทำ� แผนเพอื่ ลดผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งตอ่ เนอื่ ง Thailand 4.0 เปน็ นโยบายรฐั บาลในเรอื่ ง การพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศไทย เพอ่ื เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพและสรา้ งโอกาสในการ ขบั เคลอื่ นเศรษฐกจิ ไทย ดว้ ยนวตั กรรมและจากการสรา้ งความเขม้ แขง็ จากภายในและปรบั เปลย่ี นวธิ กี ารจากแนวคดิ “ทำ� มากไดน้ อ้ ย” เปน็ “ทำ� นอ้ ยไดม้ าก” โดยมเี ปา้ หมายสำ� คญั คอื 1) การปรบั เปลยี่ นจากการผลติ สนิ คา้ “โภคภณั ฑ”์ ไปสสู่ นิ คา้ เชงิ “นวตั กรรม” ทมี่ ี คณุ คา่ และมลู คา่ มากขนึ้ 2) การเปลย่ี นจากการขบั เคลอื่ นประเทศดว้ ยภาคอตุ สาหกรรม ไปสกู่ ารขบั เคลอ่ื นดว้ ยเทคโนโลยี ความคดิ สรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม 3) การเปลยี่ นจากการเนน้ ภาคการผลติ สนิ คา้ ไปสกู่ ารเนน้ ภาคบรกิ ารมากขนึ้ กระทรวงคมนาคมไดก้ ำ� หนด แผนงานโครงการทสี่ ำ� คญั ตามนโยบาย Thailand 4.0 ไดแ้ ก่ โครงการนโยบายหนง่ึ แถบหนง่ึ เสน้ ทางของจนี (One Belt One Road) โครงการความร่วมมือก่อสร้างรถไฟไทย-จีน โครงการความร่วมมือก่อสร้างรถไฟไทย-ญี่ปุ่น และโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ ภาคตะวนั ออก (Eastern Economic Corridor Development : EEC) รายงานประจำ� ปี 2563 บรษิ ัท ขนสง่ จำ� กดั 41
รายงานผลการดำ� เนนิ งาน ตามนโยบายการก�ำกับดูแลกจิ การท่ดี ี • การก�ำกบั ดแู ลกจิ การที่ดี • นโยบายการกำ� กบั ดแู ลกจิ การทด่ี ี • ความรบั ผดิ ชอบของคณะกรรมการ • ความเป็นอิสระและการถว่ งดุลของคณะกรรมการ • การประชมุ คณะกรรมการ • การแต่งตงั้ คณะกรรมการ/คณะอนกุ รรมการ • การประเมินผลคณะกรรมการ • คา่ ตอบแทนของคณะกรรมการบรษิ ัทฯ คณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการท่ีคณะกรรมการ บริษทั ขนส่ง จำ� กัด แต่งตัง้ ขึ้น กรรมการผ้จู ัดการใหญ่ และผู้บรหิ ารระดับสูง • การส่งเสริมและใหค้ วามร้แู ก่คณะกรรมการ • ความขดั แย้งทางผลประโยชน์ • จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณ • การปฏบิ ัตติ อ่ ผู้มสี ่วนไดเ้ สีย 42 รายงานประจ�ำปี 2563 บริษัท ขนสง่ จ�ำกัด
การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี การก�ำกับดูแลกิจการท่ีดีเป็นปัจจัยส�ำคัญในการสร้างความยั่งยืนและเสริมสร้างประสิทธิภาพขององค์กร โดยมี วัตถุประสงค์หลัก คือ การก�ำกับ การติดตาม การควบคุม และการดูแลผู้ท่ีได้รับมอบอำ� นาจหน้าท่ีให้ไปทำ� หน้าที่ทางการบริหาร เพื่อทรัพยากรขององค์กรได้น�ำไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตรงตามเป้าหมาย ท้ังนี้เพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ ผมู้ ีสว่ นไดเ้ สยี ทุกฝ่ายอยา่ งเปน็ ธรรม บริษัทฯ ตระหนักถึงความส�ำคัญของการก�ำกับดูแลกิจการท่ีดี ในการท่ีจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ เพื่อให้เป็นองค์กรที่สามารถด�ำเนินธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพและตอบสนองความพึงพอใจของลูกค้าภายใต้ความโปร่งใส ตรวจสอบได้ และมคี วามนา่ เชอื่ ถอื โดยคำ� นงึ ถงึ การมสี ว่ นรว่ มของผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี อยบู่ นพนื้ ฐานของคณุ ธรรม เพอื่ สรา้ งมลู คา่ เพม่ิ ใหก้ บั องค์กรในระยะยาว รวมถงึ ความรับผิดชอบตอ่ สังคมและส่ิงแวดล้อม นโยบายการกำ� กบั ดแู ลกิจการท่ดี ี คณะกรรมการบรษิ ัท ขนสง่ จำ� กัด มีความมุ่งมั่นทจี่ ะกำ� กบั ดูแลการบรหิ ารงานของ บขส. ใหเปน ไปตามหลักการและนโยบาย การกำ� กบั ดแู ลกจิ การทด่ี ี จงึ ไดก ำ� หนดแนวนโยบายตา ง ๆ ใหค ณะกรรมการ ผบู รหิ าร และพนกั งานถอื เปน แนวทางในการปฏบิ ตั งิ าน เพ่ือใหมั่นใจวาการด�ำเนินงานหรือการปฏิบัติงานใด ๆ ของ บขส. เปนไปอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตามขอบังคับ แผนงาน ตลอดจนกฎหมายหรือกฎระเบยี บทเี่ ก่ยี วของ ตามมาตรฐานสากล 7 ประการ ดงั น้ี 1. Accountability รับผดิ ชอบตอผลลัพธข องการตัดสนิ ใจในการปฏิบตั หิ นาท่ี 2. Responsibility รบั ผิดชอบตอการปฏบิ ัตหิ นาทท่ี ่ไี ดร ับมอบหมายดวยขีดความสามารถและความมปี ระสิทธภิ าพ 3. Equitable Treatment ปฏิบัติตอผูถือหุนทุกราย รวมท้ังผูมีสวนไดเสียอยางเทาเทียมกันดวยความยุติธรรม ท่ีสามารถอธบิ ายได้ 4. Transparency ความโปร่งใส กล่าวคอื ต้องมีความโปรง่ ใส ใน 2 ลกั ษณะ ดงั น้ี • ความโปร่งใสในการดำ� เนนิ งานท่สี ามารถตรวจสอบได้ • มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใส (Transparency of Information Disclosure) คือมีการแสดงผลประกอบการ อยา่ งโปร่งใสแก่ผู้ทเี่ กี่ยวขอ้ งทกุ ฝ่าย 5. Value Creation มุงสรางมูลคาเพิ่มใหแกกิจการ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยมูลคาท่ีเพิ่มนั้น เปนผลลัพธของ การเพม่ิ ขีดความสามารถในการแขง ขนั ทุกดาน 6. Ethics ยดึ มนั่ ในหลกั การของการกำ� กับดแู ลกจิ การและจรรยาบรรณท่ดี ีในการประกอบธุรกจิ 7. Participation การมีส่วนร่วม เป็นการส่งเสริมให้เกิดการกระจายโอกาสให้แก่ประชาชนให้มีส่วนร่วมในการแสดง ความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั การดำ� เนนิ การใด ๆ ทอ่ี าจมผี ลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม สขุ ภาพอนามยั คณุ ภาพชวี ติ และความเปน็ อยู่ ของชุมชนหรือทอ้ งถิ่น ถอื เป็นแนวทางปฏบิ ตั ใิ นการปรับปรุงประสิทธิภาพประสิทธิผลของการด�ำเนินงาน รวมถงึ การปฏิบตั ิงานดว้ ยความเปน็ ธรรม โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ และสร้างความเช่ือม่ันและไว้วางใจให้กับทุกภาคส่วน รวมทั้งสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับองค์กรอย่าง ตอ่ เนอื่ งเป็นระยะยาว รายงานประจ�ำปี 2563 บรษิ ัท ขนส่ง จำ� กัด 43
รายงานผลการด�ำเนนิ งานตามนโยบายการก�ำกบั ดูแลกจิ การทด่ี ี บรษิ ทั ฯ กำ� หนดหลักการและแนวทางการก�ำกบั ดูแลกจิ การท่ดี ีและแนวทางปฏิบตั ิของบริษัทฯ โดยแบ่งเปน็ 9 หมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 บทบาทภาครฐั ภาครฐั ควรมกี ารกำ� หนดหลกั การและแนวทางของหนา้ ทท่ี พี่ งึ ปฏบิ ตั ิ โดยภาครฐั ควรมกี ารแบง่ แยก บทบาทหนา้ ทไ่ี วอ้ ยา่ งชดั เจน เพอ่ื ใหเ้ กดิ การถว่ งดลุ ทดี่ ใี นการกำ� กบั ดแู ล รวมถงึ ภาครฐั ควรมสี ว่ นในการกำ� หนดนโยบายและทศิ ทาง ในการดำ� เนนิ งานของ บขส. โดยไมเ่ ข้าไปแทรกแซงการบริหารงานประจำ� แตย่ งั ควรมีการตดิ ตามและกำ� กับให้ บขส. ดำ� เนินตาม พนั ธกจิ และวตั ถุประสงค์ขององคก์ ร หมวดที่ 2 สทิ ธแิ ละความเทา่ เทยี มกนั ของผถู้ อื หนุ้ ผถู้ อื หนุ้ ทกุ รายถอื เปน็ เจา้ ของ บขส. มสี ทิ ธพิ น้ื ฐานเทา่ เทยี มกนั ทกุ ประการ ตามท่ีกฎหมายก�ำหนด โดยผู้ถือหุ้นสามารถแต่งตั้งคณะกรรมการให้ท�ำหน้าท่ีแทนตนและมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในเรื่องส�ำคัญ โดยการออกเสียงคะแนนในที่ประชุมผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้นจึงควรมีสิทธิได้รับข้อมูลอย่างถูกต้องเพียงพอและทันเวลาต่อการตัดสินใจ ดงั นน้ั คณะกรรมการตอ้ งใหค้ วามสำ� คญั ในสทิ ธขิ องผถู้ อื หนุ้ และปฏบิ ตั ริ วมถงึ ไมก่ ระทำ� การใด ๆ อนั เปน็ การละเมดิ สทิ ธขิ องผถู้ อื หนุ้ หมวดที่ 3 คณะกรรมการ คณะกรรมการเป็นตัวแทนของผู้ถือหุ้นในการก�ำกับดูแล บขส. ให้มีการปฏิบัติงานเป็นไปตาม พนั ธกิจ วัตถุประสงค์ และนโยบายของภาครัฐ คณะกรรมการควรปฏิบตั งิ านตามหลักความไวว้ างใจ (Fiduciary Duty) และดแู ล ใหก้ รรมการ ฝา่ ยจดั การ ตลอดจนพนกั งานปฏบิ ตั หิ นา้ ทดี่ ้วยความรับผดิ ชอบ ระมัดระวัง (Duty of Care) และซือ่ สตั ยต์ อ่ องคก์ ร (Duty of Loyalty) เพื่อใหเ้ กิดประโยชน์สงู สดุ โดยคณะกรรมการควรมอี งคป์ ระกอบทางความรู้ ความสามารถที่เหมาะสม และ ควรเข้าใจขอบเขต หน้าท่ีและความรับผิดชอบของคณะกรรมการรวมถึงก�ำกับดูแลให้ฝ่ายจัดการปฏิบัติหน้าที่ให้บรรลุพันธกิจ วัตถุประสงค์ และนโยบายของภาครฐั หมวดท่ี 4 บทบาทของผมู้ ีสว่ นไดเ้ สีย ผมู้ สี ว่ นได้เสียทุกกลมุ่ มคี วามสำ� คญั ในการดำ� เนินงานของ บขส. ใหเ้ ป็นไปอยา่ งย่งั ยืน ดังนั้น คณะกรรมการควรก�ำหนดนโยบายให้มีการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียแต่ละกลุ่มโดยค�ำนึงถึงสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียดังกล่าว ตามกฎหมาย หรือตามขอ้ ตกลงที่มกี ับผมู้ สี ่วนได้เสยี และก�ำกบั ดูแลให้มีกลไกและการปฏิบตั ิทีเ่ หมาะสมแก่ผมู้ สี ่วนได้เสีย รวมถึง สง่ เสรมิ ให้เกิดการมสี ่วนรว่ มของผู้มีสว่ นไดเ้ สียในการพัฒนาการด�ำเนินงาน และไมค่ วรกระทำ� การใด ๆ ท่เี ป็นการละเมิดสิทธิของ ผู้มสี ว่ นไดเ้ สียเหล่านัน้ หมวดท่ี 5 ความยงั่ ยนื และนวตั กรรม คณะกรรมการมหี นา้ ทก่ี ำ� กบั ดแู ลใหฝ้ า่ ยจดั การกำ� หนดนโยบายและแผนการดำ� เนนิ งาน ขององคก์ ร ทค่ี ำ� นงึ ถงึ การดำ� เนนิ งานอยา่ งยงั่ ยนื มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมและสง่ิ แวดลอ้ ม รวมถงึ นำ� นวตั กรรมมาใชใ้ นการพฒั นา ปรับปรงุ กระบวนการท�ำงาน การให้บรกิ าร และการบรหิ ารจดั การภายในองคก์ รให้มปี ระสิทธภิ าพ หมวดที่ 6 การเปดิ เผยขอ้ มลู คณะกรรมการควรกำ� กบั ดแู ลใหม้ กี ารเปดิ เผยขอ้ มลู สำ� คญั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั บขส. และผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี กลุ่มต่าง ๆ อย่างถูกต้อง เชื่อถือได้ ครบถ้วน เพียงพอ ทันเวลา และเป็นไปตามกฎหมาย และกฎระเบียบท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือให้สาธารณชนและผู้มีส่วนได้เสียสามารถใช้ในการตัดสินใจได้อย่างเหมาะสม และคณะกรรมการควรดูแลช่องทางการเปิดเผย ขอ้ มลู ใหส้ าธารณชน และผู้มสี ่วนไดเ้ สียสามารถเขา้ ถงึ ไดโ้ ดยสะดวก หมวดที่ 7 การบรหิ ารความเสยี่ งและการควบคมุ ภายใน ความเสยี่ งเปน็ สงิ่ ทอี่ าจทำ� ใหแ้ ผนงานหรอื การดำ� เนนิ งานของ บขส. ไม่บรรลุตามพันธกิจ และวัตถุประสงค์ โดยก่อให้เกิดผลกระทบหรือความเสียหายต่อองค์กร โดยการบริหารความเส่ียง การควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน ที่เหมาะสมจะสามารถป้องกันหรือลดโอกาสที่เกิดผลเสียหายจากความเส่ียง ทอ่ี าจเกดิ ขนึ้ ได้ ดงั นนั้ คณะกรรมการจงึ ควรมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ เกย่ี วกบั ความเสยี่ ง การบรหิ ารความเสย่ี ง การควบคมุ ภายใน และ การตรวจสอบภายใน เพื่อให้สามารถก�ำกับดูแล บขส. ให้มีการบริหารความเส่ียง การควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน ทีเ่ หมาะสมและมปี ระสทิ ธิภาพ หมวดท่ี 8 จรรยาบรรณ คณะกรรมการมีหน้าที่ก�ำหนดแนวปฏิบัติในเร่ืองของจรรยาบรรณและก�ำกับดูแลให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน บขส. ทุกคนยึดถือ และปฏิบัติให้สอดคล้องและอยู่ในทิศทางเดียวกัน รวมถึงจัดให้มีช่องทางการรับ เรอื่ งร้องเรียน เม่ือพบเหน็ การประพฤติปฏบิ ัตทิ ่ีผดิ จรรยาบรรณ หรอื ไม่เป็นไปตามแนวปฏบิ ตั ิ หมวดท่ี 9 การติดตามผลการด�ำเนินงาน ภาครัฐในฐานะเจ้าของควรหารือกับคณะกรรมการเพื่อก�ำหนดข้อตกลง การประเมินผลการด�ำเนินงานท่ีสอดคล้องกับเป้าหมายและขอบเขตการด�ำเนินงานของ บขส. และควรจัดให้มีผู้ประเมินผล การด�ำเนินงานที่มีความเชี่ยวชาญและมีความเข้าใจในเป้าหมายและขอบเขตการด�ำเนินงานของ บขส. อีกท้ังติดตามให้ บขส. น�ำผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรุงการด�ำเนินงานต่อไป โดยคณะกรรมการมีบทบาทในการก�ำกับดูแลให้ บขส. ด�ำเนินงาน เพื่อใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายทไ่ี ดต้ กลงไว้ในขอ้ ตกลงการประเมนิ ผลการด�ำเนนิ งาน 44 รายงานประจ�ำปี 2563 บริษัท ขนสง่ จ�ำกัด
ความรบั ผดิ ชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบรษิ ทั ฯ ตระหนกั ถงึ ความรบั ผดิ ชอบในฐานะกรรมการเทา่ เทยี มกนั และเขา้ ใจเปน็ อยา่ งดถี งึ หนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบ ของกรรมการและลักษณะการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความซื่อสัตย์และรับผิดชอบต่อการกระท�ำของตน การวางนโยบายและก�ำหนดวิสัยทัศน์ พิจารณาทบทวนและให้ความเห็นชอบแผนวิสาหกจิ กลยทุ ธ์ แผนงาน/โครงการงบประมาณ ประจ�ำปี รับผิดชอบต่อผลประกอบการของบริษัทฯ ก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานฝ่ายบริหารด�ำเนินงานให้มีประสิทธิภาพและ ประสทิ ธผิ ล เพอ่ื บรรลเุ ปา้ หมายของบรษิ ทั ฯ และสรา้ งประโยชนส์ งู สดุ ในระยะยาว ใหค้ วามสำ� คญั ตอ่ การยดึ หลกั ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี ตามกรอบการก�ำกับดูแลที่ดี รวมท้ังประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณของบริษัทฯ เพ่ือให้การบริหารและการก�ำกับดูแลกิจการ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย นอกจากน้ี ได้แต่งตั้งคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการชุดต่างๆ รับผิดชอบในการก�ำกับดูแล และ กล่ันกรองงานที่มีความส�ำคัญหรืองานที่ต้องการความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เพ่ือเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการก�ำกับดูแล การปฏิบตั ิงานท่ีสำ� คญั ของคณะกรรมการ ความเป็นอสิ ระและการถว่ งดลุ ของคณะกรรมการ คณะกรรมการบรษิ ัทฯ ประกอบดว้ ยกรรมการทเี่ ป็นอสิ ระจากภายนอกจ�ำนวน 2 คน จากจ�ำนวนกรรมการ ท้ังหมด 6 คน (ข้อมูล เดือนกันยายน 2563) ที่ไมไ่ ดม้ ีต�ำแหนง่ เปน็ ผู้บริหารของรฐั วิสาหกิจไม่เป็นกรรมการบรหิ ารหรอื กรรมการผูม้ ีอำ� นาจลงนาม ผูกพันรัฐวิสาหกิจและเป็นอิสระจากผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้บริหารและผู้เก่ียวข้อง โดยสามารถท�ำหน้าที่คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐ หรือผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกันและสามารถช่วยดูแลไม่ให้เกิดรายการท่ีมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างรัฐวิสาหกิจ กบั บุคคลที่เกย่ี วขอ้ งกบั ตน การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการบรษิ ทั ฯ กำ� หนดใหม้ กี ารประชมุ คณะกรรมการอยา่ งนอ้ ยเดอื นละ 1 ครงั้ ทกุ วนั พฤหสั บดี สปั ดาหท์ ่ี 3 ของเดอื น โดยมีการก�ำหนดไว้ล่วงหน้าตลอดปีปฏิทิน เพื่อให้กรรมการสามารถจัดสรรเวลาและเข้าร่วมประชุมได้อย่างครบถ้วน หากมีเร่ืองเพื่อให้คณะกรรมการพิจารณาเป็นกรณีเร่งด่วน อาจขออนุญาตประธานกรรมการเพื่อเรียกประชุมคณะกรรมการ เป็นกรณีพิเศษเพ่ิมเตมิ ไดต้ ามความเหมาะสม ซ่งึ ในปงี บประมาณ 2563 ได้มกี ารประชุมคณะกรรมการบรษิ ัทฯ จำ� นวน 11 คร้งั ประธานกรรมการจะเป็นผู้พิจารณาก�ำหนดวาระการประชุม โดยก่อนการประชุมเลขานุการคณะกรรมการบริษัทฯ จะส่งหนังสือ เชิญประชุมพร้อมระเบียบวาระการประชุมและเอกสารการประชุมให้กรรมการแต่ละท่านทราบเป็นการล่วงหน้าก่อนวันประชุม อยา่ งนอ้ ย 7 วนั เพอื่ ใหก้ รรมการมเี วลาเพยี งพอในการศกึ ษาเอกสารและรายละเอยี ดตา่ ง ๆ ทบี่ รษิ ทั ฯนำ� เสนอกอ่ นการประชมุ ทง้ั น้ี ในการประชมุ ทกุ ครงั้ กรรมการแตล่ ะทา่ นไดเ้ สนอความคดิ เหน็ อยา่ งเปดิ เผยและเสรมี กี ารบนั ทกึ รายงานการประชมุ เปน็ ลายลกั ษณ์ อักษร และจัดเก็บรายงานการประชุมทค่ี ณะกรรมการรบั รองแลว้ เพ่อื ใหก้ รรมการและผู้เกยี่ วข้องตรวจสอบได้ รวมท้ัง ไดส้ ่งส�ำเนา รายงานการประชุมให้กระทรวงการคลงั กระทรวงคมนาคม และสำ� นักงานการตรวจเงินแผน่ ดิน ไดร้ บั ทราบเปน็ ประจ�ำทกุ เดือน นอกจากน้ี คณะกรรมการบริษัทฯ ได้อนุญาตให้ผู้บริหารระดับรองกรรมการผู้จัดการใหญ่และผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ส�ำนักตรวจสอบภายใน เข้าร่วมประชุมด้วยเพื่อให้ข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ต่อการพิจารณาของคณะกรรมการตลอดจนรับนโยบาย โดยตรงเพือ่ จะได้สามารถนำ� ไปปฏิบัตไิ ด้อย่างถกู ตอ้ ง รวดเร็ว รายงานประจำ� ปี 2563 บรษิ ัท ขนส่ง จำ� กัด 45
รายงานผลการดำ� เนินงานตามนโยบายการกำ� กับดแู ลกิจการทด่ี ี การแต่งต้งั คณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการเพ่ือพิจารณากล่ันกรองกระบวนงานท่ีส�ำคัญแทน เพ่ือความรอบคอบและเป็นไปตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี มุ่งเน้นการสร้างประโยชน์ให้กับผู้มีส่วนได้เสียโดยรวม และ นำ� ผลการพจิ ารณากล่ันกรองเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ โดยมีคณะกรรมการชุดยอ่ ย จ�ำนวน 12 คณะ คณะท�ำงาน 1 คณะ ดงั น้ี 1. คณะกรรมการตรวจสอบ 2. คณะอนุกรรมการประเมินผลการปฏิบัตงิ านกรรมการผู้จัดการใหญ่ 3. คณะอนกุ รรมการบรหิ ารความเสย่ี งและควบคุมภายใน 4. คณะอนุกรรมการกำ� กบั กลยทุ ธ์และการบริหาร 5. คณะอนุกรรมการกฎหมาย ระเบยี บขอ้ บังคบั 6. คณะอนกุ รรมการก�ำกบั ดูแลกจิ การทด่ี ีและความรับผิดชอบตอ่ สงั คม 7. คณะกรรมการกิจการสมั พันธ์ 8. คณะอนกุ รรมการการพัฒนาอสังหาริมทรพั ยข์ องบรษิ ัท ขนส่ง จำ� กดั 9. คณะกรรมการตามระเบยี บพนักงานบรษิ ัท ขนส่ง จ�ำกดั พุทธศกั ราช 2556 10. คณะกรรมการสรรหากรรมการผจู้ ัดการใหญ่ บริษัท ขนสง่ จ�ำกัด 11. คณะกรรมการจัดการกองทนุ บำ� เหนจ็ พนักงาน 12. คณะอนกุ รรมการบรหิ ารเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะท�ำงาน 1. คณะทำ� งานดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยมรี ายละเอียดองค์ประกอบ ขอบเขต หนา้ ท่ีและความรบั ผิดชอบของคณะกรรมการแตล่ ะคณะ ในหน้าท่ี 71-86 ของรายงานประจ�ำปี การประเมินผลคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ท�ำการประเมินตนเอง ท้ังการประเมินตนเองรายบุคคลการประเมินไขว้ และการประเมิน คณะกรรมการท้งั คณะ จำ� นวน 2 ครง้ั ประเมนิ ครั้งแรกเมื่อเดอื นมนี าคม 2563 และครั้งท่ี 2 เมื่อเดือน สงิ หาคม 2563 เพื่อให้ คณะกรรมการไดพ้ จิ ารณาผลงาน ปญั หาอปุ สรรคของการดำ� เนนิ งาน เพอื่ นำ� ผลการประเมนิ ของคณะกรรมการบรษิ ทั ฯ มาปรบั ปรงุ การปฏิบตั หิ น้าทใ่ี ห้สมบูรณ์ขน้ึ ในปตี อ่ ไป ซงึ่ ผลการประเมนิ ประจำ� ปี 2563 ทง้ั 3 แบบ อย่ใู นเกณฑด์ ี โดยในแต่ละแบบประเมินฯ มีค่าคะแนนมากกว่าร้อยละ 90 ได้แก่ ประเมินตนเองรายบุคคล ประเมินครั้งที่ 1 คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 94.79 และครั้งที่ 2 คะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละ 95.83, ประเมินไขว้ ประเมินครั้งที่ 1 คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ 96.68 และครั้งท่ี 2 คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ 97.55 และประเมินรายคณะ ประเมินคร้ังท่ี 1 คะแนนเฉล่ียร้อยละ 97.02 และประเมินคร้ังที่ 2 คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 96.30 โดยมี ความสอดคล้องและเปน็ ไปในแนวทางเดียวกันตามหลกั เกณฑ์และแนวทางการก�ำกบั ดูแลกิจการท่ดี ขี องรัฐวิสาหกิจ 46 รายงานประจำ� ปี 2563 บริษัท ขนสง่ จำ� กัด
ค่าตอบแทนของคณะกรรมการบรษิ ัทฯ คณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ ที่คณะกรรมการบรษิ ทั ขนส่ง จำ� กัด แต่งตัง้ ขึน้ กรรมการผจู้ ดั การใหญ่ และผ้บู รหิ ารระดบั สงู นโยบายการกำ� หนดค่าตอบแทนคณะกรรมการบรษิ ทั ฯ บรษิ ทั ฯ จา่ ยคา่ ตอบแทนกรรมการเป็น 3 สว่ นได้แก่ • คา่ ตอบแทนรายเดอื น บรษิ ทั ฯ จ่ายค่าตอบแทนรายเดือนให้คณะกรรมการ ตามมติคณะรฐั มนตรเี มอื่ วนั ท่ี 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 เห็นชอบเร่ืองอัตราค่าตอบแทนและเบ้ียประชุมกรรมการรัฐวิสาหกิจ คือ ค่าตอบแทนรายเดือนไม่เกิน 8,000 บาท/คน/เดือน สำ� หรับประธานกรรมการได้รับ 2 เท่าของกรรมการ • เบี้ยประชุม บริษัทฯ จ่ายเบ้ียประชุมให้คณะกรรมการ ตามมติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันที่ 2 กรกฎาคม 2556 เห็นชอบ เรื่องอตั ราคา่ ตอบแทนและเบยี้ ประชุมกรรมการรฐั วิสาหกิจ คอื เบ้ยี ประชมุ รายครง้ั ไมเ่ กิน 8,000บาท/คน/เดือน เฉพาะกรรมการ ทม่ี าประชุมไมเ่ กิน 1 คร้งั ตอ่ เดือน สำ� หรบั ประธานกรรมการ และรองประธานกรรมการได้รบั สงู กว่ากรรมการในอัตรารอ้ ยละ 25 และ 12.5 ของเบ้ียประชมุ ดังกล่าว ทงั้ นี้ กรรมการรฐั วิสาหกิจเป็นผ้รู บั ภาระภาษเี งนิ ได้เอง • โบนสั บรษิ ทั ฯ จา่ ยโบนสั ใหค้ ณะกรรมการตามมตคิ ณะรฐั มนตรี เมอื่ วนั ที่ 5 กมุ ภาพนั ธ์ 2534 เรอื่ งโบนสั กรรมการรฐั วสิ าหกจิ โดยใช้เกณฑ์ร้อยละ 3 ของก�ำไรสทุ ธิ นำ� มาคำ� นวณโบนัส คนละ 60,000 บาท ส�ำหรบั ประธานกรรมการ และรองประธานกรรมการ ได้รบั สูงกวา่ กรรมการ 1/4 และ 1/8 ตามลำ� ดับ และจ�ำนวนครงั้ ทีเ่ ข้าประชมุ ตามระยะเวลาทด่ี �ำรงต�ำแหน่งคิดเปน็ หน่งึ ปี โดยสว่ น ทเี่ พม่ิ เปน็ ไปตามอตั รากา้ วหนา้ ของกำ� ไรสทุ ธแิ ละผลการประเมนิ องคก์ รตามผลงานตามระบบประเมนิ ผลการดำ� เนนิ งานรฐั วสิ าหกจิ ค่าตอบแทนของคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการทคี่ ณะกรรมการบริษัทฯ แต่งต้งั คณะกรรมการ/คณะอนกุ รรมการ ท่ีเปน็ กรรมการบริษัทฯ ไดร้ บั เบยี้ ประชมุ รายครงั้ ในอัตราเท่ากบั เบ้ียประชมุ คณะกรรมการ บริษทั ฯ เฉพาะกรรมการที่มาประชุม ท้ังนีใ้ หไ้ ดร้ ับเบีย้ ประชุมคณะกรรมการชุดย่อย/คณะอนุกรรมการ/คณะทำ� งานอื่น รวมแล้ว ไมเ่ กนิ 2 คณะ คณะละไมเ่ กนิ 1 ครงั้ ตอ่ เดอื น กรณเี ปน็ บคุ คลภายนอกใหไ้ ดร้ บั เบย้ี ประชมุ เปน็ รายครง้ั สงู สดุ ไมเ่ กนิ ครง้ั ละ 3,000 บาท เฉพาะกรรมการท่ีมาประชุม กรณีเป็นบุคคลภายในบริษัทฯ ไม่สิทธิได้รับเบ้ียประชุม และคณะกรรมการตรวจสอบในอัตรา เหมาจา่ ยเปน็ รายเดอื นเทา่ กบั เบยี้ ประชมุ กรรมการรฐั วสิ าหกจิ โดยประธานไดร้ บั คา่ ตอบแทนเพม่ิ ขนึ้ อกี รอ้ ยละ 25 และเลขานกุ าร ไดร้ ับคา่ ตอบแทนในลักษณะเหมาจ่ายรายเดือนเท่ากบั กึง่ หนึ่งของค่าตอบแทนกรรมการตรวจสอบ กรรมการผจู้ ัดการใหญแ่ ละการกำ� หนดค่าตอบแทน กรรมการผจู้ ัดการใหญ่บริษทั ฯ มาจากการสรรหา โดยมสี ัญญาจา้ งคราวละไมเ่ กนิ 4 ปี ได้รบั ค่าตอบแทนตามท่คี ณะกรรมการ พิจารณาตามความรู้ความสามารถภาระหน้าท่ีรับผิดชอบและความสามารถในการจ่ายขององค์กร ภายใต้กรอบอัตราค่าตอบแทน ที่ก�ำหนดตามสญั ญาจา้ ง ก�ำหนดให้มกี ารประเมินผลงานกรรมการผจู้ ัดการใหญ่ ปลี ะ 2 ครัง้ แล้วนำ� ผลการประเมินมาเชอื่ มโยงกับ การจา่ ยค่าตอบแทนคงท่ี และคา่ ตอบแทนผันแปรตอนสนิ้ ปี คณะกรรมการบริษัทขนสง่ จำ� กัด ไดม้ อบหมายให้คณะอนกุ รรมการ ประเมินผลการปฏิบัติงานผู้จัดการใหญ่ เป็นผู้จัดท�ำหลักเกณฑ์การประเมินและพิจารณาร่วมกับกรรมการผู้จัดการใหญ่ เพื่อ ขอความเหน็ ชอบท้ัง 2 ฝา่ ย รวมทง้ั การประเมนิ ผลงานของกรรมการผู้จัดการใหญ่ กอ่ นนำ� เสนอคณะกรรมการบริษัทฯ พจิ ารณา คา่ ตอบแทนของผ้บู รหิ ารระดับสงู (รองกรรมการผ้จู ดั การใหญ่และผู้ช่วยกรรมการผูจ้ ัดการใหญ่) บริษัทฯได้มีการก�ำหนดหลักเกณฑ์ที่ชัดเจนในการก�ำหนดค่าตอบแทนของผู้บริหารระดับสูงไว้ล่วงหน้าในช่วงต้นปี และ นำ� ผลการปฏบิ ัตงิ านไปเชือ่ มโยงกับการก�ำหนดคา่ ตอบแทน หรอื แรงจูงใจทผ่ี ้บู รหิ ารไดร้ ับตามค่าคะแนน ไปเปรยี บเทยี บกบั เกณฑ์ การประเมิน โดยใช้บัญชีโครงสร้างเงินเดือนตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2558 และตามระเบียบพนักงาน บริษัท ขนส่ง จำ� กัด พ.ศ.2556 หลกั เกณฑก์ ารเลือ่ นข้นั เงนิ เดือนหรอื ค่าจา้ งพนกั งานประจำ� ปโี ดยคา่ ตอบแทนของผ้บู ริหารระดบั รองกรรมการผจู้ ดั การใหญ่ ไดร้ บั สงู สดุ ไมเ่ กนิ 113,520 บาท และระดบั ผชู้ ว่ ยกรรมการผจู้ ดั การใหญ่ ไดร้ บั สงู สดุ ไมเ่ กนิ 104,310 บาท นอกจากน้ี ยังมีค่าตอบแทนอ่ืนทั้งท่ีเป็นตัวเงินและไม่ใช่ตัวเงิน ได้แก่ เงินโบนัส รถยนต์ประจ�ำต�ำแหน่ง รวมทั้งสวัสดิการอื่น ตามระเบียบข้อบงั คบั ของบริษัท ขนสง่ จำ� กดั รายงานประจำ� ปี 2563 บริษัท ขนสง่ จ�ำกดั 47
รายงานผลการดำ� เนินงานตามนโยบายการกำ� กบั ดูแลกิจการทด่ี ี การสง่ เสริมและใหค้ วามร้แู ก่คณะกรรมการ บรษิ ทั ฯ ไดจ้ ดั สง่ เสรมิ ความรคู้ วามสามารถสำ� หรบั กรรมการใหมท่ เ่ี รม่ิ ปฏบิ ตั งิ านในปงี บประมาณ 2563 แตว่ นั ทไี่ ดร้ บั ตำ� แหนง่ โดยบรษิ ทั ฯ ไดจ้ ัดส่งเอกสารส�ำหรบั กรรมการใหม่ ดงั นี้ 1) ค่มู ือคณะกรรมการบริษัทฯ 2) ระเบียบบริษทั ฯ และค�ำสง่ั ที่เกย่ี วข้อง 3) คู่มอื กำ� กับดแู ลกิจการที่ดแี ละจรรยาบรรณบริษัทฯ 4) ระเบียบและค่มู ือรถรว่ มบรษิ ัทฯ 5) หนงั สือบริคณหส์ นธแิ ละข้อบงั คับของบริษทั ฯ 6) แผนปฏิบตั ิการประจ�ำปีงบประมาณ 2563 7) งบประมาณรายได้ - รายจ่าย งบประมาณลงทุน ประจำ� ปี 2563 8) แผนวิสาหกจิ ปี 2560 - 2564 9) วดี ีทัศนแ์ นะนำ� บรษิ ทั ฯ ความขดั แยง้ ทางผลประโยชน์ บรษิ ทั ฯ ให้ความส�ำคญั ในการป้องกนั และขจัดปัญหาความขดั แยง้ ทางผลประโยชน์ (Conflict of interest) ด้วยการก�ำหนด หลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เพื่อให้กรรมการและผู้ปฏิบัติงานทุกคนยึดถือเป็นหลักการ ในการตัดสินใจด�ำเนินการใด ๆ จะต้องท�ำเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ เป็นส�ำคัญ บริษัทฯ ได้ออกประกาศบริษัทฯ เร่ือง หลกั เกณฑ์และแนวทางการปฏบิ ตั ิเกีย่ วกบั ความขดั แยง้ ทางผลประโยชน์ และคำ� ส่ังบรษิ ทั ฯ ท่ี ค.30/2563 เร่ืองวิธีการและ ขนั้ ตอนเก่ยี วกับการแสดงการเปิดเผยรายงานความขัดแยง้ ทางผลประโยชน์ และรายงานทรัพยส์ นิ หรือประโยชนอ์ นื่ ใดอนั คำ� นวณ เป็นเงินได้ ก�ำหนดให้กรรมการทุกคนต้องรายงานประวัติและรายละเอียดของตนเองในหนังสือรับรองและประวัติของกรรมการ ต้องหลีกเล่ียงการเข้าไปเป็นผู้ถือหุ้นของรัฐวิสาหกิจ หรือผู้ถือหุ้นของนิติบุคคลท่ีบริษัท ขนส่ง จ�ำกัด ถืออยู่ รวมทั้งการก�ำหนด มาตรการปอ้ งกนั ควบคมุ และตรวจสอบการกระทำ� ของสำ� นกั ตรวจสอบภายในเพอ่ื สอดสอ่ งดแู ลและตรวจสอบปญั หาความขดั แยง้ ทางผลประโยชน์ท่ีเกิดข้ึน นอกจากนี้ ยังได้ก�ำหนดให้คณะกรรมการ ผู้บริหารพนักงานบริษัทฯ และผู้ท่ีสมัครเข้าท�ำงานทุกคน เปิดเผยรายการที่เป็นผลประโยชน์ส่วนตนที่ขัดแย้งกับผลประโยชน์บริษัทฯ เป็นประจ�ำทุกปีหรือกรณีได้รับต�ำแหน่งใหม่ หรือ กรณมี คี วามขดั แยง้ ทางผลประโยชนเ์ กดิ ขน้ึ ระหวา่ งปี ซง่ึ ในปงี บประมาณ 2563 กรรมการ ผบู้ รหิ าร พนกั งานบรษิ ทั ฯ และผทู้ สี่ มคั ร เขา้ ทำ� งานทุกคนไมม่ ีความขดั แยง้ ทางผลประโยชน์ ท้ังน้ี บริษัทฯ ได้ให้คณะกรรมการพิจารณา/หรือเป็นตัวแทนของบริษัทฯในการท�ำนิติกรรมกับบริษัทร่วมค้า จัดท�ำแบบ รายงานเปดิ เผยความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เพ่ือให้การปฏิบตั งิ านเปน็ ไปตามระบบควบคมุ ภายในทดี่ ี และสอดคลอ้ งกับนโยบาย การกำ� กับดแู ลกจิ การที่ดแี ละลดโอกาสทีจ่ ะเกดิ ความขัดแย้งผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชนข์ องบรษิ ทั ฯ 48 รายงานประจ�ำปี 2563 บรษิ ัท ขนสง่ จำ� กัด
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152