Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายรับ-รายจ่าย

รายรับ-รายจ่าย

Published by ปาริชาต งดงาม, 2021-12-03 08:38:15

Description: 12345

Search

Read the Text Version

42 ตารางท่ี 1 ความสัมพันธข องวธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร และ การคดิ อยางมีวจิ ารณญาณ วธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร การคิดอยา งมวี ิจารณญาณ (Historical Method) (Critical Thinking) ปญ หา ความสามารถในการพจิ ารณาความนา เชือ่ ถอื คน หา + รวบรวมหลกั ฐาน ของแหลงขอ มูล และการสังเกต วิเคราะหประเมิน ความสามารถในการนริ นยั คณุ คา หลักฐาน ความสามารถในการอุปนยั ความสามารถในการสรปุ ขอ ตกลงเบื้องตน ตีความเพ่อื ตอบปญหา สรปุ และนาํ เสนอ จากตารางจะเห็นไดว า วธิ ีการทางประวตั ิศาสตรในขน้ั ท่ี 1 คือ การกําหนด ประเด็นปญหา และขั้นที่ 2 คอื การคน ควา และรวบรวมหลักฐานนน้ั มีความสอดคลองกบั ขนั้ ท่ี 1 ของการคิดอยา งมวี จิ ารณญาณ นัน่ คือ ความสามารถในการพิจารณาความนา เชื่อถอื ของแหลง ขอ มลู และการสังเกต สว นวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตรในข้ันที่ 2 คือ การวเิ คราะห ประเมนิ คุณคา และ ตีความหลักฐาน มคี วามสอดคลอ งกับข้นั ที่ 2 ของการคิดอยางมีวจิ ารณญาณ น่นั คอื ความสามารถ ในการนริ นยั เม่อื พิจารณาวธิ กี ารทางประวัติศาสตรจากตารางในขน้ั ท่ี 3 คือ การตคี วามเพอื่ ตอบปญ หานนั้ จะเห็นไดว า มีความสอดคลองกับขน้ั ที่ 2 3 และ4 ของการคดิ อยา งมีวิจารณญาณ อันไดแ ก ความสามารถในการนริ นยั ความสามารถในการอปุ นยั และความสามารถในการสรุป ขอ ตกลงเบอื้ งตน ดงั นน้ั ผูว ิจัยสรปุ ไดวาวิธีการทางประวตั ิศาสตรนน้ั มคี วามสอดคลองสัมพันธกบั การคิดอยา งมวี จิ ารณญาณ

43 ตอนท่ี 4 งานวจิ ัยทเี่ ก่ยี วขอ ง 4.1 งานวจิ ัยในประเทศ วรรณมาศ กล่นั แกว (2523) ไดทําการเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวิชาสังคมศกึ ษา โดยการสอนดว ยวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตรก ับการสอนดว ยวธิ ีการบรรยาย โดยใชก ลมุ ตวั อยางเปน นักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปท ่ี 2 ผูว ิจยั ไดสรางบทเรียนเพอื่ ใชท ดลองสอนโดยใหกลมุ ทดลองไดรับ การสอนดวยวธิ ีการทางประวัติศาสตร และกลมุ ควบคุมไดรบั การสอนดว ยวธิ กี ารบรรยาย ผลการวิจยั พบวา ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนวชิ าสงั คมศกึ ษาของนักเรยี นกลมุ ท่ีไดรับการสอนดวย วิธกี ารทางประวตั ิศาสตรก บั กลมุ ท่ีไดร ับการสอนดวยวิธกี ารบรรยายไมแ ตกตา งกนั อยา ง มี นัยสําคัญทางสถิตทิ ่ีระดับ .05 เบญจมาศ สนั ประเสริฐ (2533) ไดศึกษาผลการสอนที่ใชแบบฝกทกั ษะการทดลองที่มีตอ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวิชาวทิ ยาศาสตร และความสามารถในการคิดอยางมวี ิจารณญาณของ นกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 1 กลุม ทดลองไดร ับการสอนโดยใชแ บบฝก ทกั ษะ สว นกลมุ ควบคมุ ไดร ับการสอนตามคูมือครู ผลการวิจยั พบวา ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนวิชาวิทยาศาสตรข องนกั เรียนที่ ไดรบั การสอนโดยใชแ บบฝก ทกั ษะการทดลองกบั นกั เรียนทีไ่ ดร ับการสอนตามคูมือครไู มแตกตา ง กนั ความสามารถในการคดิ อยางมีวิจารณญาณของนกั เรยี นที่ไดรบั การสอนตามคมู ือครูแตกตาง กนั อยา งมนี ัยสาํ คัญทางสถิติที่ระดับ .01 ความสามารถในการคิดอยางมวี จิ ารณญาณของนักเรยี น ทไ่ี ดรับการสอนโดยใชแ บบฝก ทกั ษะการทดลองสูงกวา กอนการสอนอยางมนี ยั สําคญั ทางสถิติท่ี ระดบั .01 แตความสามารถในการคดิ อยา งมีวจิ ารณญาณของนักเรยี นท่ีไดรับการสอนตามคมู ือครู หลังการสอนไมแ ตกตา งกนั ชาลิณี เอย่ี มศรี (2536) ไดทําการสรา งและพัฒนาแบบสอบการคดิ วจิ ารณญาณ สําหรับนกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ 6 แบบสอบเปนแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 3 ตัวเลอื ก จํานวน 40 ขอ ใชเวลาในการทํา 60 นาที แบบสอบแบงออกเปน 4 ตอน คอื วดั ความสามารถในการ พิจารณาความนาเชอ่ื ถอื ของแหลงขอ มลู และการสงั เกต ความสามารถในการนิรนยั ความสามารถ ในการอุปนยั และความสามารถในการระบขุ อ ตกลงเบอื้ งตน ผลการวจิ ยั พบวา คาเฉล่ยี ของคะแนน แบบสอบเทา กับ 24.07 สว นเบีย่ งเบนมาตรฐานเทากับ 5.584 คา ความยากอยใู นชว ง .40- .84 คา อาํ นาจจาํ แนกอยใู นชว ง .10-.45 คาสัมประสิทธ์ิความเที่ยงแบบความสอดคลอ งภายในเทากบั .7277 คาสมั ประสทิ ธคิ์ วามเท่ียงแบบสอบซา้ํ เทา กับ .6655 และการหาความตรงตามโครงสรา งโดย วธิ วี เิ คราะหตวั ประกอบ ไดตัวประกอบที่สําคัญ 7 ตวั ประกอบ ซง่ึ ตัวประกอบทไี่ ดไ มเ ปนไปตาม โครงสรางทก่ี ําหนดไว เนอื่ งจากแบบสอบทส่ี รา งขึ้นในแตละความสามารถยอยมี ขอสอบจํานวน

44 10 ขอ ซ่ึงเปน จํานวนทีค่ อ นขา งนอยไปสําหรบั การนํามาวเิ คราะหต ัวประกอบ ผวู จิ ัยจงึ ไดเสนอวา ถาสรา งขอสอบในแตละความสามารถยอยใหมีจาํ นวนมากพอ แลว ทาํ การวเิ คราะหต ัวประกอบ อาจไดต วั ประกอบตามโครงสรางที่กาํ หนดไว เอื้อญาติ ชชู ่นื (2536) ไดทําการศึกษาผลการฝกการคิดอยา งมวี จิ ารณญาณตาม แนวทฤษฎีของโรเบริ ต เอช. เอนนสิ ท่มี ีตอความสามารถทางการคดิ อยา งมีวิจารณญาณของนักเรยี น พยาบาลตาํ รวจชัน้ ปท่ี 4 โดยกลุมทดลองไดรับการฝกความสามารถทางการคดิ อยา งมวี ิจารณญาณ โดยใชสถานการณปญ หาทางการพยาบาลอายรุ ศาสตรเปน เนอื้ หา สว นกลุม ควบคมุ ใหอานเอกสาร ทางวชิ าการพยาบาลที่กําหนดใหด ว ยตนเอง ผลการวิจยั พบวา นกั ศึกษากลมุ ทดลองมคี ะแนน ความสามารถทางการคิดอยา งมีวิจารณญาณสูงกวา กลมุ ควบคมุ อยางมนี ัยสาํ คญั ทางสถติ ิทรี่ ะดบั .01 และกลุม ทดลองมคี ะแนนความสามารถทางการคดิ อยางมีวิจารณญาณหลงั การทดลองสูงกวากอ น การทดลองอยา งมีนยั สาํ คัญทางสถิตทิ ีร่ ะดับ .01 นพิ ล นาสมบรู ณ (2536) ไดทาํ การศกึ ษาผลของการสอนกลมุ สรา งเสรมิ ประสบการณช ีวติ ดว ยกระบวนการทางวิทยาศาสตรที่มคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะหว จิ ารณ ของนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 6 ผลการวิจยั พบวา คา เฉลีย่ ของคะแนนความสามารถในการคดิ วิเคราะหวิจารณของนกั เรยี นทไี่ ดร บั การสอนดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตร และการสอนตาม แผนการสอนของกระทรวงศึกษาธิการสงู กวากอ นการสอนอยา งมีนยั สาํ คญั ทางสถิติทรี่ ะดบั .05 และคา เฉล่ียของคะแนนความสามารถในการคดิ วเิ คราะหว ิจารณทเ่ี พ่ิมขนึ้ ของนักเรยี นท่ีไดรับการ สอนดว ยกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร สงู กวานักเรยี นท่ไี ดรบั การสอนตามแผนการสอนของ กระทรวงศกึ ษาธิการอยา งมนี ยั สาํ คัญทางสถติ ิท่ีระดบั .05 สุทธศรี ลขิ ิตวรรณการ (2536) ไดท ําการศึกษาผลของการสอนแบบอปุ นัยทม่ี ตี อ ความมวี ิจารณญาณจากการเรยี นขา วและเหตกุ ารณข องนักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปท่ี 6 ผลการวจิ ัย พบวา คาเฉลี่ยของคะแนนแบบสอบจากแบบวดั ความมวี ิจารณญาณในการวเิ คราะห การวินจิ ฉยั การประเมินคา และการําไปใช หลังการทดลองของนกั เรียนกลุมทดลองทเี่ รียนจากแผนการสอน ดว ยวิธสี อนแบบอุปนยั สูงกวา กลุม ควบคมุ ท่เี รยี นดว ยแผนการสอนของกระทรวงศกึ ษาธิการอยา งมี นัยสาํ คญั ทางสถิตทิ ร่ี ะดบั .05 และคาเฉลยี่ ของคะแนนแบบสอบจากแบบวดั ความมวี ิจารณญาณจาก ขาวและเหตุการณข องนักเรยี นกลมุ ทดลองสงู กวา กลุมควบคุมอยา งมนี ยั สาํ คัญทางสถติ ิทร่ี ะดับ .05

45 เพ็ญพศิ ุทธ์ิ เนคมานรุ กั ษ (2537) ไดทาํ การศึกษาการพฒั นารปู แบบการคิดอยางมี วจิ ารณญาณของนกั ศึกษาครวู ิทยาลัยครูเชยี งรายจาํ นวน 42 คน โ ดยมจี ุดมุงหมายเพ่อื พฒั นาการคดิ อยา งมีวิจารณญาณของนกั ศกึ ษาครตู ามรปู แบบการคดิ อยา งมวี ิจารณญาณท่ีผูวจิ ยั สรางขน้ึ ผลการวิจยั พบวา กลมุ ทดลองท่ใี ชรปู แบบการคิดอยางมวี ิจารณญาณมีคะแนนเฉลย่ี ของการคิด อยา งมวี จิ ารณญาณสูงกวากอ นการทดลองอยา งมนี ัยสาํ คญั ทางสถติ ทิ ่รี ะดบั .00 และมีคะแนนเฉลยี่ ของการคิดอยา งมีวิจารณญาณสูงกวากลุม ควบคุมที่ใชการสอนแบบปกติอยา งมนี ยั สาํ คัญทางสถิติที่ ระดบั .001และไมพ บความแตกตางระหวา งคะแนนเฉลีย่ ของการคิดอยา งมวี จิ ารณญาณภายหลงั การ ทดลองกับระยะตดิ ตามผลของกลมุ ทดลอง สมตั อาบสุวรรณ (2539) ไดท าํ การพฒั นาโปรแกรมสงเสริมความสามารถในการ คดิ อยางมีวจิ ารณญาณดา นการตดั สินใจ สาํ หรบั นกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที่ 6 โดยใชกระบวนการ ตัดสนิ ใจอยา งมีเหตุผล ผลการวจิ ยั พบวา คาเฉลี่ยของคะแนนความสามารถในการคิดอยา งมี วิจารณญาณดา นการตดั สินใจของนกั เรียนหลังเขา รว มโปรแกรมสงู กวา กอ นเขารวมโปรแกรม และ สงู กวาเกณฑก ารประเมินหลงั การเขารว มโปรแกรมอยางมนี ยั สําคญั ทางสถิติท่ีระดบั .05 สุรีรัตน ไชยสุริยา (2543) ไดศ กึ ษาความสมั พันธระหวา งความสามารถในการคดิ อยางมีวจิ ารณญาณ และความสามารถในการอานอยางมวี ิจารณญาณภาษาอังกฤษของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปท ี่ 6 ในโรงเรยี นสังกดั สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาเอกชน กรงุ เทพมหานคร โดยใชแ บบสอบวัดความสามารถในการคิดอยางมีวจิ ารณญาณของคอรเ นลลระดบั เอก็ ซ (Cornell Critical Thinking Test, Level X) และแบบสอบวัดความสามารถในการอา นอยา งมีวจิ ารณญาณ ภาษาอังกฤษทผี่ ูว จิ ยั สรา งขน้ึ เอง ผลการวิจัยพบวา ความสามารถในการคิดอยางมวี จิ ารณญาณของ นักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปท 6ี่ ในโรงเรียนสังกดั สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กรุงเทพมหานครอยใู นเกณฑไ มผ านเกณฑข้นั ต่ําโดยมคี า เฉลยี่ รอ ยละเทากบั 42.51 และมี ความสามารถในการอานอยา งมวี ิจารณญาณภาษาองั กฤษอยูใ นเกณฑไ มผ านเกณฑข ัน้ ตํา่ โดยมี คา เฉลีย่ รอยละเทา กบั 47.48 สวนความสามารถในการคดิ อยางมีวจิ ารณญาณ และความสามารถ ในการอา นอยา งมวี จิ ารณญาณภาษาอังกฤษมคี วามสมั พนั ธกันในทางบวกอยา งมีนยั สาํ คญั ทร่ี ะดับ .01 สพุ รรณี สพุ รรณจรัส (2543) ไดศกึ ษาผลของการฝกใชเทคนคิ แผนผงั ทางปญญา ทีม่ ีตอ การคดิ อยา งมีวจิ ารญาณของนกั เรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปที่ 2 โดยกลุมทดลองไดรับการฝก ความสามารถทางการคิดอยา งมีวิจารณญาณโดยใชเ ทคนคิ แผนผงั ทางปญ ญา สว นในกลมุ ควบคุม ไดร ับการสอนตามปกติ ผลการวิจัยพบวานักเรียนกลมุ ทดลองทไ่ี ดร บั การฝก ใชเ ทคนคิ แผนผังทาง ปญ ญามีคาเฉลย่ี คะแนนการคิดอยางมวี จิ ารณญาณสงู กวา นักเรยี นกลมุ ควบคุมที่ไดรบั การสอน

46 ตามปกติ อยา งมีนัยสาํ คญั ที่ระดบั .01 และนกั เรยี นกลมุ ทดลองท่ีไดร บั การฝกใชเทคนคิ แผนผังทาง ปญ ญามคี า เฉล่ียคะแนนการคดิ อยา งมีวจิ ารณญาณหลังการทดลองสูงกวากอ นการทดลองอยางมี นัยสําคญั ท่ีระดบั .01 และไมพ บความแตกตางระหวา งคา เฉลย่ี คะแนนการคิดอยา งมวี ิจารณญาณ ภายหลงั การทดลองกับระยะตดิ ตามผลของนักเรียนกลุม ทดลองทไ่ี ดร ับการฝกใชเทคนคิ แผนผังทาง ปญญา 4.2 งานวจิ ยั ในตางประเทศ Byrne (1983) ไดทําการศกึ ษาผลการสอนคิดอยางมวี จิ ารณญาณที่มตี อ ผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรียนของนักเรียนระดับประถมศกึ ษา ทม่ี วี ธิ เี รยี นตางกนั โดยศกึ ษาจากตวั อยางประชากรท่ี เปนนักเรยี นระดับ 5 จํานวน 135 คน แบง เปนกลมุ ทดลองที่สอนโดยครู 1 กลุมทดลองทเี่ รยี นดว ย ตนเองโดยกาํ หนดทกั ษะและใหคะแนนนาํ เบ้ืองตน 1 กลุม ผลการวิจัยพบวา นักเรียนกลมุ ทดลอง ทั้ง 2 กลุมมีคะแนนผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนสงู กวากลมุ ควบคุมอยางมนี ยั สาํ คญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดบั .05 และการเรยี นการสอนทง้ั 3 รปู แบบไมม ผี ลตอการเปลยี่ นแปลงทัศนคติของนักเรยี น Griffitts (1987) ไดท าํ การศกึ ษาผลการสอนแบบวทิ ยาศาสตรทม่ี ตี อ การพัฒนา ทกั ษะการคดิ อยา งมีวิจารณญาณและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรียนระดับ 3 และ 6 โดยมี วัตถปุ ระสงคว า นักเรยี นที่ไดร บั การสอนแบบเนน การปฏบิ ตั เิ ปนหลักจะมีการพัฒนาทักษะการคิด ระดับสูงและผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นในวชิ าวทิ ยาศาสตรสูงกวา นักเรยี นท่ไี ดรับการสอนแบบเนน ตาํ ราเปน หลัก โดยใชแ บบวดั การคิดอยา งมวี จิ ารณญาณ Cornell Critical Test, Level X และ แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวิชาวทิ ยาศาสตร Science Subtest of the Standford Achievement Test ผลการวจิ ัยพบวา ไมมคี วามแตกตางกันอยา งมนี ยั สาํ คญั ทางสถิตริ ะหวา งผลการ สอนท้ังสองแบบตอการพฒั นาทกั ษะการคดิ อยางมีวจิ ารณญาณ แตพ บวานกั เรยี นทั้งสองระดบั ที่ ไดร บั การสอนแบบเนน การปฏิบตั เิ ปนหลักจะมีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนในวิชาวิทยาศาสตรสงู กวา นกั เรยี นที่ไดรบั การสอนแบบเนนตาํ ราเปน หลักอยางมนี ัยสําคัญทางสถิติ Norris (1990) ไดท าํ การศึกษาเพอื่ หาความสมั พนั ธร ะหวา งการรายงานการคิดดว ย ภาษาพดู เพือ่ ทดสอบกบั นกั เรียนระดับมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 2 ใน Newfoundland ประเทศ Canada จาํ นวน 342 คน จากการศกึ ษาพบวา การรายงานการคดิ ดานภาษาเปน เงอ่ื นไขทีจ่ าํ เปนของการหา ความเที่ยงตรงของขอ มลู และขอ มูลที่รวบรวม Lumpkin(1990)ไดทําการศกึ ษาผลของวิธีสอนท่ีใชทกั ษะการคดิ อยา งมี วจิ ารณญาณทม่ี ตี อ ความสามารถในการคดิ อยา งมีวิจารณญาณ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น และความ คงอยขู องเนอื้ หาวชิ าสังคมศกึ ษาของนักเรียนระดับ 5 และ 6 ผลการวจิ ัยพบวา ไมม ีความแตกตาง

47 กนั อยา งมนี ยั สาํ คัญทางสถิติ ระหวา งความสามารถในการคิดอยา งมวี ิจารณญาณของนกั เรยี นระดับ 5 และ 6 แตน ักเรยี นในระดบั 6 ท่ีไดรบั การสอนดว ยการใชท ักษะการคดิ อยางมีวจิ ารณญาณมี ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนสงู กวา นักเรยี นในกลุมควบคุมอยางมนี ยั สําคญั ทางสถิติ Overton (1993) ไดทําการศึกษาผลของการจัดการเรยี นการสอนทกั ษะการคดิ ท่ีมี ตอผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นการพฒั นาทกั ษะการคดิ อยางมีวจิ ารณญาณ และทกั ษะการคิดสรางสรรค ของนกั เรียนระดับ 2 4 และ 6 ผลการวิจยั พบวา ไมม ีความแตกตา งกนั อยา งมนี ัยสําคัญทางสถิติ ระหวางคา เฉลยี่ ของคะแนนกอนและหลังการทดลองของนกั เรยี นในระดบั 2 แตพบวามคี วาม แตกตางอยางมีนยั สาํ คญั ทางสถติ ริ ะหวางคาเฉล่ยี ของคะแนนกอนและหลังการทดลองของ นกั เรียน ในระดับ 4 ในดานความสามารถทางการคดิ การตดิ ตอ สื่อสาร การคาดคะเนและความรดู าน เนือ้ หาวิชาคณติ ศาสตรแ ละภาษา และพบวา มีความแตกตางกันอยางมนี ัยสําคัญทางสถติ ริ ะหวา ง คาเฉลยี่ ของคะแนนกอนและหลังการทดลองของนกั เรยี นในระดบั 6 ในดานความสามารถทางการ คดิ การตดั สนิ ใจและการวางแผน Paul Hager (1994) ไดทาํ การศึกษาความสัมพันธระหวา งความสามารถทางการคิด อยา งมีวิจารณญาณและกลวธิ กี ารเรียนของนกั ศกึ ษาคณะวิศวกรรมศาสตร ชน้ั ปท ี่ 1 มหาวทิ ยาลยั นวิ เซาท เวลล (New South Wales) เคร่ืองมอื ทใ่ี ชในการวิจยั ประกอบดว ย แบบสอบวัด ความสามารถในการคดิ อยา งมีวจิ ารณญาณระดบั X (The Cornell Critical Thinking Test, Level X) และแบบสอบถามเก่ยี วกบั กลวธิ ีการเรียนจาํ นวน 21 ขอ แบบสอบถามประกอบดว ย ขอ คาํ ถามเกยี่ วกบั กลวิธีการเรยี น 3 ระดับ คอื กลวธิ กี ารเรยี นระดบั พืน้ ฐาน (surface study strategy) วิเคราะหขอ มูลโดยหาคาสมั ประสทิ ธ์สิ หสัมพันธ (correlation coefficients) ระหวา งตวั กลวธิ ีและระหวางกลวิธีกับความสามารถทางการคดิ อยางมีวิจารณญาณ ผลการวิจัยพบวา กลวธิ ี การเรยี นขั้นสงู มีความสมั พันธอ ยา งมนี ัยสําคญั ทางลบกบั คะแนนความสามารถทางการคดิ อยา งมี วจิ ารณญาณ Pikkert และ Foster (1996) ไดทาํ การศกึ ษาเปรียบเทยี บความสามารถทางการคดิ อยา งมวี จิ ารณญาณของนกั ศกึ ษา ชั้นปท ี่ 3 ในอนิ โดนเี ซยี และนักเรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย และนกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลัยในสหรฐั อเมรกิ า เครือ่ งมอื ทีใ่ ชใ นการวิจยั คือ แบบสอบการคิดอยางมี วิจารณญาณระดับ ซีส (The Cornell Critical Thinking Test, Level Z)ประกอบดว ยคาํ ถาม 52 ขอ โดยวดั องคประกอบของการคิด 7 ดาน ดงั นี้ 1. การนิรนัย (deductive) 2. การใหค วามหมาย (semantics) 3. การตัดสนิ ความนาเช่อื ถือของแหลง ขอ มลู (credibility)

48 4. การสรุปโดยอา งเหตุผลทส่ี นับสนุนดวยขอมลู (inductive inference, direction of support) 5. การสรปุ องิ ความแบบอปุ นยั โดยการทดสอบสมมติฐานและการทาํ นาย (inductive inference, prediction and hypothesis testing) 6. การนิยามและใหเ หตผุ ลท่ีไมปรากฏ (definition and unstated reasons) 7. การระบขุ อ ตกลงเบ้ืองตน (assumption identification) ผลการวิจยั พบวา นักศกึ ษาชนั้ ปท่ี 3 ของมหาวทิ ยาลัยในอินโดนเี ซียมีความสามารถ ทางการคดิ อยา งมวี ิจารณญาณตํา่ กวา นกั เรียนมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย และนักศกึ ษามหาวทิ ยาลัยใน สหรฐั อเมริกา จากการศึกษาแนวคดิ ทฤษฎแี ละงานวิจยั ทเี่ กย่ี วของกับวธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร และการคิดอยา งมีวิจารณญาณ จะเหน็ ไดว าการคดิ อยางมีวจิ ารณญาณเปน ความสามารถทาง สตปิ ญญาทสี่ ามารถพฒั นาขนึ้ ไดโ ดยการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนทเ่ี หมาะสม มีวธิ กี ารท่ี สงเสริมความคดิ วจิ ารณญาณ อนั ไดแก กําหนดปญ หา การอภิปรายรวมกนั การแบงกลมุ คน ควา การรายงานผลการคน ควา การสรปุ คาํ ตอบและปญหา รวมทง้ั การสงเสรมิ ความสามารถ ในดา นตางๆ เชน ความรใู นขอ เทจ็ จริง การตีความ การวิเคราะห สงั เคราะห และประเมินผล ซง่ึ สอดคลอ งกบั วิธีการทางประวตั ิศาสตร ดังนนั้ จงึ อาจกลา วไดว าการจดั การเรียนการสอนตาม แนวทางวธิ ีการทางประวตั ิศาสตรเปนอกี ทางเลอื กหนง่ึ ทสี่ ามารถนาํ มาใชในการพฒั นาความคิด อยา งมีวจิ ารณญาณของผเู รยี น

บทท่ี3 วธิ ีการดาํ เนนิ การวิจัย การวจิ ยั ในครง้ั น้ี ใชร ะเบยี บวจิ ัยก่ึงทดลอง (Quasi-Experimental Research) เพือ่ เปรยี บเทียบคะแนนการคิดอยา งมีวจิ ารณญาณของนกั เรยี นระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน โรงเรียนสาธติ สงั กดั ทบวงมหาวิทยาลัย ทไี่ ดจ ากวธิ ีสอนดว ยวิธกี ารทางประวตั ิศาสตรก ับวิธสี อนแบบปกตใิ นการ เรียนการสอนสังคม ซึ่งมีรายละเอียดและข้นั ตอนในการวิจัยดังน้ี 1. แบบแผนการทดลอง R O1 X1 OX1 R O2 X2 OX2 เมื่อ แทน การสมุ R แทน คะแนนความคิดอยา งมวี จิ ารณญาณ O1 กอน การทดลองของกลุมท่ีไดร ับการ O2 สอนดว ยวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร แทน คะแนนความคิดอยา งมวี จิ ารณญาณ X1 กอนการทดลองของกลุมทไี่ ดรับการ X2 สอนแบบปกติ OX1 แทน การสอนดว ยวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร แทน การสอนแบบปกติ OX2 แทน คะแนนความคดิ อยางมีวจิ ารณญาณ หลัง การทดลองของกลมุ ท่ีไดรับการ สอนดว ยวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร แทน คะแนนความคิดอยา งมีวจิ ารณญาณ หลงั การทดลองของกลุม ทไ่ี ดรบั การ สอนแบบปกติ

50 2. ศึกษาคน ควา 2.1 ศกึ ษาขอมูลจากวารสาร หนังสือ งานวิจยั ทเ่ี กยี่ วขอ งกบั วิธกี ารทาง ประวัตศิ าสตร การศึกษาประวตั ิศาสตร และการคดิ อยางมีวจิ ารณญาณ 2.2 ศกึ ษาหลกั สตู รวชิ าสงั คมศึกษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน หนงั สอื ประกอบ การเรียนวชิ าสงั คมศกึ ษา ระดับมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 2 รายวชิ า ส 029 ประวตั ศิ าสตรก ารสราง ความสัมพนั ธระหวา งประเทศของไทย และหนงั สืออา นประกอบทีเ่ กย่ี วของกบั เนอ้ื หาทใ่ี ชใ นการ ทดลอง เพ่อื เปนแนวทางในการสรา งแผนการสอน 3. ประชากรและกลมุ ตัวอยาง 1. ประชากร เนอื่ งจากการวจิ ัยครง้ั นีเ้ ปนการทดลองเกย่ี วกบั การคดิ อยา งมีวจิ ารณญา ซึ่ง ทฤษฎี Piaget (1964: 121) กลา ววา ความคดิ ของมนษุ ยจ ะมพี ัฒนาการเปนไปตามลําดบั ข้นั 4 ข้ัน โดยข้นั ที่ 4 คอื ระยะทค่ี ิดอยางเปน นามธรรม (Formal–operation stage) ซึง่ จะเปนการพัฒนาชว ง สดุ ทา ยของเดก็ ท่ีมีอายุอยใู นชวง 12- 15 ป เด็กในชวงนสี้ ามารถคิดอยางเปน เหตุเปน ผลและคิดในสง่ิ ทซี่ ับซอนอยา งเปน นามธรรมไดม ากขึน้ เมือ่ เดก็ พฒั นาไดอยา งเต็มทแ่ี ลวจะสามารถคิดอยา งเปนเหตุ เปนผลและแกป ญ หาไดอ ยา งดจี นพรอมท่จี ะเปนผูใหญทมี่ วี ฒุ ภิ าวะได ผูว จิ ัยจึงเลอื กประชากรที่ใชใ นการวจิ ยั คอื นักเรียนระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนสาธิต สังกัดทบวงมหาวทิ ยาลยั ซงึ่ เปนกลมุ ท่ีมีชว งอายุเหมาะสมกบั การพัฒนาทางดา น การคดิ ทเี่ ปน นามธรรมและมคี วามซับซอ นดังกลา ว และเปน ระดบั ชั้นท่ีมีการเรียนการสอนวชิ า ประวัติศาสตรต ามหลกั สูตรมธั ยมศกึ ษาตอนตน พุทธศักราช 2521 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2533) นอกจากนี้โรงเรยี นสาธิต สงั กดั ทบวงมหาวิทยาลยั เปน โรงเรียนท่สี รางขนึ้ เพ่อื รองรบั การพฒั นาองค ความรูดา นครศุ าสตรและ ศึกษาศาสตร จงึ สามารถใชเ ปน ประชากรในการวจิ ยั คร้งั นไี้ ด 2. กลมุ ตวั อยาง ผวู จิ ัยเลอื กกลมุ ตัวอยางหลกั คือ นกั เรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรยี น สาธิตจฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย ฝา ยมธั ยม ภาคเรยี นที่ 2 ปการศกึ ษา 2545 โดยมเี หตผุ ลประกอบ ดงั น้ี 2.1 โรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลยั เปน โรงเรียนทน่ี กั เรียนมีระดับความ สามารถ และองคป ระกอบตางๆ ไมแตกตางจากโรงเรียนสาธติ สังกดั ทบวงมหาวทิ ยาลัยทว่ั ไป 2.2 ผบู ริหารและครูในโรงเรยี นใหก ารสนับสนุนและใหความรวมมือเปน อยา งดี 2.3 การคดั เลือกนกั เรียนเขาหอ งเรียนเปน แบบสมุ อยา งงาย (Simple Random Sampling)

51 2.4 มปี ริมาณนักเรยี นตอหองเพยี งพอตอ การทดสอบความแตกตางของคา เฉลยี่ ดว ยสถติ ทิ ดสอบที (t-test) ซ่ึงเหมาะสมกบั ขอ มลู คะแนนการคดิ อยา งมีวิจารณาณทมี่ รี ะดบั การวดั อยู ในมาตราแบบอตั ราสวน และมลี ักษณะการแจกแจงของคาสถติ ิทม่ี กี ารแจกแจงปกตหิ รอื ใกลเคียงการ แจกแจงปกติ (กนกทพิ ย พฒั นาพวั พันธ, 2543: 57) ซ่งึ ชูศรี วงศร ตั นะ (2537: 135, 172) ไดกลา วถงึ เกณฑก าํ หนดของกลมุ ตวั อยา งวา ถาประชากรมกี ารแจกแจงปกตเิ สมอไมว ากลุมตวั อยา งที่สุมมาจะมี ขนาดเลก็ หรือใหญก ต็ าม แตถาไมส ามารถต้ังขอตกลงหรอื ไมแนใ จวา กลมุ ประชากรมกี ารแจกแจง ปกติ กลมุ ตัวอยางที่สมุ มาศกึ ษาจะตองมีขนาดใหญ (n ≥ 30) การแจกแจงของคาเฉลย่ี (X) จึงจะมี การแจกแจงปกติ 2.5 มกี ารจัดการเรียนการสอนรายวิชาประวัติศาสตร เนอื่ งจากโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลัย ฝายมธั ยม จัดนกั เรยี นตอ หอ งเรยี น 35 ถึง 37 คนโดยเฉลีย่ และเปน การจดั แบบสมุ จงึ ยอมรับไดวาลกั ษณะการแจกแจงของ คา สถิติ มีการแจกแจงปกตหิ รือใกลเคียงซึง่ เหมาะสมกับแบบแผนการวจิ ัยในคร้งั น้ี การเลือกหองเขากลุมทดลอง โดยผวู จิ ยั ไดพ ิจารณาจากคะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นของวิชาสังคมศึกษา รายวิชา ส 204 ประเทศของเรา 3 ในภาคเรยี นที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2545 ของนักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 2 ซ่ึงมที งั้ หมด 7 หองเรียน แลวทาํ การเลอื กมา 2 หองเรียน โดยวธิ ีการดังน้ี 1. คํานวณหาคา เฉลี่ย (X) และคา สว นเบีย่ งเบนมาตราฐาน (SD.) ของ คะแนนสอบรายวิชา 204 ประเทศของเรา 3 ทีใ่ กลเ คยี งกนั โดยประมาณซ่ึงหอ งท่มี คี า เฉลี่ย (X) และ สวนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (SD.)ที่ใกลเ คียงกัน 2 หอง คือมคี ะแนนเฉล่ยี (X) เทา กับ 72.54 และ76.04 สวนเบย่ี งเบนมาตรฐาน ( SD. ) เทากับ 13.08 และ 12.04 ตามลาํ ดับ ซึง่ ท้งั สองหอ งมจี ํานวนนกั เรียน 35 คนเทา กัน 2. ผูวจิ ัยทดสอบความแตกตางของคา เฉล่ยี คะแนนผลสัมฤทธิร์ ายวชิ า 204 ประเทศของเรา 3 ในภาคเรยี นที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2545 ของนักเรียนทง้ั สองหอง ดวยสถิติทดสอบที (t- test) โดยการคํานวณดวยโปรแกรม SPSS 10.0 for windows ได 1.198 ผลการทดสอบ คาเฉลยี่ ของคะแนนผลสมั ฤทธข์ิ องทง้ั สองหองไมแตกตา งกันอยา งมนี ยั สาํ คัญทางสถิติทรี่ ะดบั 0.05 3. ผูวจิ ยั คดั เลอื กกลุม ตัวอยา งเขากลุมทดลองโดยใชว ธิ กี ารจบั สลาก ซ่งึ เปนวิธีการสุมอยางงายสุมอยา งงาย (Simple Random Sampling) 4. เครือ่ งมอื ที่ใชในการวจิ ัย เคร่ืองมอื ท่ีใชใ นการวิจัยในครัง้ น้ี ประกอบดว ย เคร่อื งมอื ทีใ่ ชในการรวบรวมขอ มลู และเคร่อื งมือทีใ่ ชใ นการทดลอง

52 4.1 เคร่ืองมอื ท่ีใชในการรวบรวมขอมลู คอื แบบวัดการคดิ อยา งมีวิจารณญาณ แบบวดั การคดิ อยางมวี จิ ารณญาณ เปนแบบวดั ท่ผี วู จิ ยั พฒั นาขึน้ จากแบบวดั ของ สุพรรณี สุวรรณจรัส (2543) เพื่อใชก บั นักเรียนระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2 ซง่ึ อิงรปู แบบลกั ษณะ แบบวัด ของEnnis และคณะ (Cornell Critical Thinking Test, Level X) ทั้งน้ี เน่อื งจากแบบวดั ของ Ennis เปนแบบวัดท่ีใชก ับนกั เรยี นเกรด 4- 12 ซ่งึ ครอบคลมุ ชว งอายุของประชากรทีใ่ ชใ นการวจิ ยั ในครั้งน้ี ในการสรางแบบวัดผูวจิ ยั ใชเ นอื้ หาสถานการณ ขอความท่ีเปน ปญหา ขอ โตแยง หรอื ขอ มูลจากบทความหรือรายงานตา งๆ ท่กี ลมุ ตัวอยา งพบเหน็ ในชวี ิตประจาํ วนั และเหมาะสมกับวุฒิ ภาวะของกลุมตัวอยา ง โดยมีข้นั ตอน ดงั นี้ 1. กาํ หนดจดุ มงุ หมายในการวดั ในทนี่ ผ้ี ูวจิ ยั ตอ งการสรา งแบบวัดการคิดอยางมี วจิ ารณญาณ โดยมจี ดุ มุงหมายเพื่อวดั ความสามารถทางการคิดอยา งมีวจิ ารณญาณของนักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปท ี่ 2 โดยพัฒนาข้นึ จากแบบวดั ของสุพรรณี สวุ รรณจรัส (2543) ซึ่งอิงรูปแบบลักษณะ แบบวัดของEnnis และคณะ (Cornell Critical Thinking Test, Level X) เพอ่ื วดั การคดิ อยางมี วิจารณญาณของนกั เรยี น 4 ดา น ไดแ ก 1.1 ความสามารถในการพจิ ารณาความนาเชื่อถือของแหลงขอ มลู และการสังเกต 1.2 ความสามารถในการนริ นยั 1.3 ความสามารถในการอุปนยั 1.4 ความสามารถในการระบขุ อ ตกลงเบ้อื งตน 2. การวางแผนการสรางแบบวัดความสามารถในการคดิ อยางมีวจิ ารณญาณ 2.1 ศึกษาเอกสาร ตํารา และงานวิจยั ทเี่ กยี่ วของกบั การสรา งแบบสอบการคิดอยา ง มีวจิ ารณญาณทั่วไป ทั้งในดา นคํานยิ าม องคประกอบ ลกั ษณะการเขยี นขอคาํ ถาม การสรางตัวเลอื ก และการใหค ะแนน 2.2 สรางนยิ ามปฏิบัตกิ ารของการคิดอยางมีวิจารณญาณและวเิ คราะหเ นื้อหา เพื่อ ทําใหแ บบสอบทีส่ รางครอบคลุมเนือ้ หา และวดั ความสามารถในดา นน้ันๆ ครบทง้ั 4 ดาน 3. สรา งแบบวดั ในการสรา งแบบวดั ชนดิ เลอื กตอบ ผูวจิ ยั ไดพ ฒั นาข้นึ โดยองิ รปู แบบวัดการคดิ อยางมีวจิ ารณญาณของสพุ รรณี สวุ รรณจรัส (2543) ซึง่ พฒั นาจากแบบวดั ของ Ennis และคณะ (Cornell Critical Thinking Test, Level X) ลกั ษณะของแบบวดั ทสี่ รางประกอบดว ยขอ คาํ ถามทม่ี ลี ักษณะเปนปญหา สถานการณห รอื ขอมลู จากบทความ หรอื รายงานตางๆ ที่สามารถ พบไดใ นชวี ิตประจําวนั ทบ่ี คุ คลสามารถรับรไู ดจ ากการทํางาน การศกึ ษา การแลกเปลยี่ นความ คิดเหน็ และจากส่ือ อปุ กรณตางๆ เชน การอา นหนงั สือพิมพ การฟง วทิ ยุ การชมโทรทศั น เปน ตน ซ่ึงประกอบดว ยขอคําถามแบบปรนยั ชนดิ 4 ตัวเลือก แบง เปน 4 ตอน ตอนละ 15 ขอ รวม 60 ขอ โดย แตละขอจะมคี าํ ตอบที่ถูกตอ งเพยี งคําตอบเดยี ว การใหค ะแนนในแบบวัดการคดิ อยา งมวี จิ ารณญาณ

53 ชนิดเลือกตอบ จะใหคะแนนโดย ถาตอบถูกในแตละขอ จะใหข อ ละ 1 คะแนน ถาตอบผิด หรอื ไม ตอบในแตละขอ จะใหข อละ 0 คะแนน 4. ตรวจสอบคุณภาพของแบบวดั ผูว จิ ัยนาํ แบบวดั การคดิ อยา งมวี ิจารณญาณที่ สรางขึ้นไปใหอ าจารยที่ปรกึ ษาวิทยานิพนธชวยตรวจสอบ และไดด ําเนนิ การแกไขปรับปรุงตาม คาํ แนะนาํ จากน้นั นาํ แบบสอบไปใหผทู รงคณุ วุฒิ 3 ทาน (ดรู ายละเอยี ดในภาคผนวก ข) ตรวจ ความตรงเชิงเน้ือหา โดยพจิ ารณาในดา นตางๆ ดงั ตอ ไปนี้ 1. ภาษาทใี่ ชม คี วามเหมาะสมและสมเหตสุ มผลหรือไม 2. ขอ สอบแตละขอ วดั ตรงกบั คํานิยามทก่ี ําหนดไวห รอื ไม โดยพิจารณาความ สอดคลองระหวางลักษณะเฉพาะของขอ สอบแตละขอ กบั ความสามารถทตี่ อ งการวดั ในแตล ะดา น ตามคําจาํ กัดของความสามารถทง้ั 4 ดา น ผทู รงคณุ วฒุ ิทงั้ 3 ทาน (ดรู ายละเอียดในภาคผนวก ข)ไดใหข อ แนะนําในการนาํ ใน การนาํ ไปปรับปรุงแกไ ขแลว วัดความสามารถในการคิดอยางวจิ ารณญาณสรปุ ไดด ังน้ี 1. ภาษาท่ใี ชเ ปน ภาษาทยี่ ากแกก ารตีความและทาํ ความเขา ใจเกินไปสาํ หรบั วัยของ นกั เรยี นระดับช้นั มัธยมศึกษาปท ี่ 2 2. การเรยี งประโยคคาํ ถามยงั ไมช ดั เจน และควรมีการขีดเสนใตห รอื พมิ พต วั หนา ในหวั ขอ ท่ีสําคญั ซ่งึ จะนําไปสูประเด็นคําถาม 3. ตัวเลอื กแตละตวั ควรมกี ารเรยี งตัวเลือกตามลาํ ดบั ความสัน้ ความยาวของขอ ความเพื่อความสวยงาม 4. บางขอ คําถามมีตัวเลือกตอบยังมีคาํ ตอบท่ไี มชัดเจน และสามารถตีความหมาย ไดหลายประเดน็ จากนั้นนําคาํ แนะนาํ ของผทู รงคุณวุฒิมาปรบั ปรงุ แกไขขอ บกพรองตามคาํ แนะนํา และประเดน็ ดงั กลาวขา งตน 5. การทดลองใชแ บบวัด ผวู จิ ัยนําแบบวดั การคิดอยางมวี จิ ารณญาณทป่ี รบั ปรุงแกไ ข แลวไปทดลองใชกับประชากรซึ่งเปนนักเรียนระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน โรงเรียนสาธติ จฬุ าลงกรณ มหาวิทยาลัย ฝา ยมธั ยม ทไ่ี มใชก ลมุ ตวั อยา งทีใ่ ชใ นการทดลอง เพ่อื นาํ ผลทไ่ี ดม าวเิ คราะหแบบวดั การคดิ อยางมวี ิจารณญาณ โดยผวู ิจยั ดําเนนิ การทดสอบ รวม 2 คร้งั 5.1 การทดสอบคร้ังที่ 1 นาํ แบบวดั ทป่ี รับปรุงแกไ ขแลวไปทดลองใช (Try out) กบั นักเรียนซึ่งเปน นกั เรียน โรงเรยี นสาธิตจฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลยั ฝา ยมธั ยม ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที่ 3 ปการศึกษา 2545 ทไ่ี มใ ชกลุมตวั อยา งทใี่ ชในการวจิ ยั จาํ นวน 103 คน โดยใหแ ตล ะคนตอบคาํ ถาม จบั เวลาการตอบ ท้ังหมด และสังเกตพฤตกิ รรมการตอบวามีอาการสงสัยในขอ ใด พรอมทงั้ บนั ทึกพฤติกรรมดังกลา ว รวมท้ังสมั ภาษณห ลงั การตอบวา ขอ ใดสงสยั ขอ ใดเขา ใจยาก ขอ ใดควรแกไ ขรวมทง้ั ปญ หาตางๆ

54 ในการสอบแลวนํามาตรวจใหคะแนนและวิเคราะหร ายขอ หาคาความยากงา ยและอาํ นาจจาํ แนก แลวคดั เลอื กขอ สอบท่มี ี คา ความยากงายระหวาง 0.2 - 0.8 ซ่ึงถือวาเปน ขอสอบทม่ี ีความยากงา ย พอเหมาะ (ศิริชยั กาญจนวาส,ี 2544: 181) และคา อํานาจจําแนกตงั้ แต 0.2 ข้ึนไป ซง่ึ เปนอาํ นาจ จําแนก ท่ีดี (ศริ ชิ ัย กาญจนวาส,ี 2544: 181) สวนขอ สอบทีมคี าความยากงายและคาอาํ นาจจาํ แนกไม เปน ไปตามเกณฑน ํามาปรบั ปรงุ เพ่อื นํามาใชท ดลองตอไปคดั เลือกแบบวดั การคดิ อยา งวจิ ารณญาณท่ี เขา เกณฑ จากการทดลองใชค รง้ั ที่ 1 พบวา มขี อ สอบที่อยใู นเกณฑท ี่กาํ หนด จาํ นวน 49 ขอ ซง่ึ แบง เปนความสามารถทางการคิดอยางมวี จิ ารณญาณท้ัง 4 ดาน ดังตารางท่ี 2 ตารางที่ 2 จาํ นวนขอสอบในแบบวดั ความสามารถทางการคดิ อยา งมวี จิ ารณญาณในการทดลองใช คร้ังท่ี 1 จําแนกในแตละดา น ความสามารถทางการคิดอยา งมีวจิ ารณญาณ จาํ นวนขอทผ่ี า นเกณฑ 1. ความสามารถในการพิจารณาความนาเชื่อถอื ของ 12 แหลง ขอ มลู 2. ความสามารถในการนริ นยั 14 12 3. ความสามารถในการอปุ นยั 11 4. ความสามารถในการระบขุ อตกลงเบื้องตน 49 รวม 5.2 การทดสอบคร้งั ท่ี 2 นาํ แบบวดั การคิดอยา งมีวิจารณญาณมาปรับปรุงตามขอ เสนอแนะทไ่ี ดจากการ ทดสอบครัง้ ที่ 1จาํ นวน 49 ขอไปทดลองใช (Try out) คร้งั ท่2ี กบั นกั เรยี นซึ่งเปน นกั เรยี นโรงเรียน สาธติ จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั ฝายมธั ยม ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที่ 2 ปก ารศกึ ษา 2545 ท่ไี มใชกลมุ ตวั อยา งทใ่ี ชในการวจิ ยั จาํ นวน 104 คน และนาํ ผลทไ่ี ดจ ากการทดลองใชครง้ั ท่ี 2 มาหาคา ความ ยากงาย และคา อาํ นาจจําแนก พบวา มคี า ความยากงา ยอยรู ะหวาง 0. 207-0.452 และคาอาํ นาจ จาํ แนกจํานวนตัง้ แต 0.208 ขน้ึ ไป ซึ่งเปน ไปตามเกณฑท ด่ี ตี ามดชั นบี ง ช้ีคุณภาพขอสอบ (ศริ ชิ ัย กาญจนวาส,ี 2544: 181)

55 5.3 นําแบบวดั มาจัดเรยี งขอ ตามคาความยากงายและอาํ นาจจาํ แนกตามลําดบั โดย แยกตามความสามารถทางการคิดอยา งมวี จิ ารณญาณทง้ั 4 ดา น และเลือกขอคาํ ถามทมี่ ี คณุ ภาพสงู สุด 10 อันดับแรกในแตล ะดา น ดา นละ 10 ขอ รวมท้ังหมด 40 ขอ 5.4 นําแบบวดั การคดิ อยางมีวจิ ารณญาณไปหาคา ความเทยี่ ง โดยใชส ตู ร คเู ดอร ริชารด สัน (KR-20) ไดค า สัมประสทิ ธิ์ความเทยี่ งเทา กบั 0. 85 ซงึ่ สัมประสิทธ์คิ วามเทยี่ งที่ดคี วร สงู ทสี่ ุดเทา ท่ีจะเปน ไปไดแ ละอยางนอยท่สี ดุ ควรมีคาไมต ่าํ กวา 0.50 (ศิรชิ ยั กาญจนวาส,ี 2544: 71) 5.5 นําแบบวดั การคิดอยางมีวจิ ารณญาณไปใชเ ปนเครื่องมอื ในการวจิ ยั โดยนาํ ไป ใชกอ นการทดลองสอน และหลังการทดลองสอน แผนภาพที่ 3 ตวั อยา ง คําถามแบบวัดความสามารถทางการคดิ อยา งมีวจิ ารณญาณ (คุณลกั ษณะที่มุงวดั ) การคดิ อยางมวี ิจารณญาณ (Critical Thinking) การคดิ อยา งมวี ิจารณญาณ คือการคิดอยางมีเหตผุ ลและไตรตรอง เพ่อื นาํ ไปสู การตดั สินใจทจี่ ะเชอื่ หรอื จะลงมอื ปฏบิ ตั (ิ Norris และ Ennis,1989) การทบี่ คุ คล จะมีการคิด อยา งมเี หตุผลและไตรต รองไดนัน้ ควรมีความสามารถ 4 ดา นดงั นี้ (นิยามเชิงทฤษฎ)ี (1) (2) (3) (4) ความสามารถในการ ความสามารถ ความสามารถใน ในการนิรนัย ความสามารถ การระบุขอ ตกลง พจิ ารณาความ ในการอุปนัย นาเช่ือถือของ เบือ้ งตน แหลง ขอ มลและการ (นิยามปฏิบตั ิการ) ความสามารถใน ความสามารถใน ความสามารถใน ความสามารถในการระบุวา การพิจารณาความ การหาขอสรุปใน การตดั สนิ ใจได ขอ ความใดเปน ขอตกลง วา ขอเทจ็ จรงิ ใด เบือ้ งตน ซ่งึ จาํ เปนตองมกี อ น ถกู ตองของ สถานการณ ขอความหลกั ท่กี ําหนดให แหลง ขอ มูลความ เฉพาะจาก สนบั สนุน เพ่ือทําใหการลงขอสรปุ มี ประโยคหลักที่ คดั คา น หรอื ไม ความถูกตองตามหลักการนริ เปนไปไดข อง กาํ หนดให เกยี่ วของกับ ขอ ความรายงาน นยั จากการสงั เกตของ ขอ สรุปที่ บคุ คลตา ง ๆที่ คาดคะเนไว เกี่ยวขอ งกับ

56 (กําหนดลักษณะคําถาม) คาํ ถามเปนขอความ คาํ ถามเปน คาํ ถามเปน คาํ ถามทีเ่ ปน รายงานหรือคาํ พูดจาก 2 ขอ ความหลักใน สถานการณทมี่ ี สถานการณทมี่ ี แหลง ผูส งั เกตใหตอบ เชงิ เหตเุ ชงิ ผล 2- บุคคลหน่ึงตง้ั ความสมั พันธกนั แลวให พจิ ารณาตัดสินวารายงาน 3 ขอความแลวให ขอสงั เกตเปน การ ผตู อบพิจารณาตัดสิน ผูตอบหาขอ สรุป วาขอ ความตัวเลอื กใด หรือคําพูดใดมีความ จากขอความหลัก คาดคะเน เปนขอความจําเปนท่ี นา เชือ่ ถือมากกวา กันหรอื เหตุการณไ วแ ลว ตอ งเกิดขนึ้ กอ นเพ่อื ให ทก่ี ําหนด สถานการณน ั้นมคี วาม พอๆกัน ใหผตู อบ สมเหตสุ มผล พจิ ารณา ตัดสินใจวา “ศาลพพิ ากษาใหนายนดิ ติดคกุ ขอ เทจ็ จริงที่ ฐานทาํ รายรา งกายตํารวจ” ขอ กาํ หนดให ใดเปน สาเหตุที่นา เช่ือถอื และ สนบั สนุนคดั คา น เปนไปไดทท่ี าํ ใหขอ ความขา งตน หรือไมเ ก่ียวของ เปนท่ยี อมรับ ก.ตํารวจมสี ทิ ธ์ิใหศ าลส่ังขังคกุ (ตวั อยางคาํ ถาม) ศริ ิศักด์เิ ลา ใหต ํารวจฟง คนไทยทุกคน ท่อี เมรกิ า เร่มิ มกี าร ใครก็ได วาขณะทีเ่ ขาขับรถมา รบั ประทานขา ว ทดลองฉดี วคั ซนี เลิก ข. ใครทาํ รา ยรางกายตาํ รวจตอ ง กบั วงเดอื น เขาเห็น เปน หลกั ชดิ ชยั บหุ รี่ โดยวคั ซนี ตวั นี้ ตดิ คกุ อบุ ตั เิ หตุรถยนตชนกัน ไมร บั ประทาน จะไปกาํ จดั โมเลกุล ค. เปน ไปตามบังคบั ขอกฎหมาย ตรงส่แี ยกทีเ่ กิดเหตุ 4 ขา วเปน อาหาร ของสารนิโคตินไมให ง. ศาลตองคอยปกปอ งตาํ รวจ คนั สวนสมัครบอกกับ หลัก ดังนัน้ สรปุ ไปเขา สมองได คํา ตํารวจวา ขณะท่ีเขากับ กลาวทวี่ า “ บหุ รี่เปน ขอ ค. เพ่ือนๆ ยนื รอสญั ญาณ ไดว า ภัยรายแรงตอ เพราะคนทีท่ าํ ราย ไฟแดงอยูน ั้น เขาไดยนิ ก. ชิดชัยไมใ ชคน สุขภาพ โดยเฉพาะ รางกายผูอื่นไมวาจะ เสียงดงั โครม เขากบั ไทย สารนิโคตนิ เปน เปนตาํ รวจหรือไมก ็ตาม เพอื่ นๆวง่ิ ไปดู พบวามี ข. ชดิ ชยั ไมชอบ สาเหตุของ ยอ มตอ งถกู ลงโทษทาง อบุ ตั เิ หตรุ ถยนตชนกัน รบั ประทานขาว โรคมะเรง็ ” กฎหมาย ตรงสแี่ ยก 3 คนั ค. ชดิ ชัยไมชอบ นกั เรยี นมคี วาม นกั เรียนคดิ วาคําพูด รบั ประทานเน้ือ คดิ เหน็ อยางไร ของใครนา เชื่อถอื กวา ชิดชยั ไมม ีเงินซ้ือ ก.ขอเท็จจริง กนั ขาวรบั ประทาน สนบั สนนุ คํากลาว ‫א‬. ศริ ิศักด์ิ เปน อาหารหลกั ขา งตน ‫ב‬. สมัคร ข. ขอเท็จจรงิ ‫ג‬. นา เช่ือถอื พอๆ คัดคานขอความ ขา งตน กัน ค. ขอ เท็จจริงไม ‫ד‬. ไมนาเชื่อถอื ทง้ั เก่ยี วขอ งกบั ขอ ความขางตน สองคน (คาํ ตอบ) ขอ ข. ขอ ก. ขอ ก. เพราะคนท่ไี ดเ ห็น เพราะขอคําถาม เพราะบหุ รีม่ ีผล เหตกุ ารณอ ยางชดั เจน ไดบ อกเอาไววา ตอสุขภาพจึงตอ ง ทส่ี ุดยอมไดรับขอ มูล ทกุ คนทเ่ี ปนคน มีการรกั ษาโดย ขาวสารไดดกี วาคนท่เี ห็น ไทยรับประทาน การฉีดวคั ซนี ซ่งึ เหตกุ ารณเพียงคราวๆ ขาวเปน อาหาร ยืนยันในสว นแรก อยา งไมช ัดเจนหรือเปน หลกั ซ่งึ ยืนยนั ใน ของขอ ความหลกั เพยี งการคาดคะเน สวนแรกของ ดังน้นั ขอสรุปจึง ดังน้นั คําพูดของสมัครจึง ขอความหลกั เปน สวนทส่ี อง นาเช่ือถอื มากกวา ดังนนั้ ขอสรปุ จึง ของขอความหลัก เปนสว นทีส่ อง ของขอความหลกั

57 4.2 เคร่อื งมอื ทีใ่ ชใ นการทดลอง เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ นการทดลอง มี 2 แบบ คอื แผนการสอนวิชาสงั คมศกึ ษา เรอื่ ง ความสัมพนั ธระหวางประเทศของไทยในสมยั สโุ ขทัย และความสัมพันธระหวางประเทศของไทยใน สมัยอยุธยาโดยใชว ธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร และ วธิ ีสอนแบบปกติ แผนการสอนท่ใี ชว ธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร ผวู ิจัยไดส รา งเครื่องมือท่ใี ชในการทดลองตามขน้ั ตอนตา งๆดงั น้ี 1. ศึกษาหลกั สูตรวิชาสงั คมศกึ ษาพุทธศกั ราช 2521 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2533) หนงั สือเรยี น คมู ือครู และหนังสืออา นประกอบที่เกยี่ วขอ งกบั วชิ าสงั คมศกึ ษาระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษา ปท่ี 2 2. วเิ คราะหเนอื้ หาวชิ าสังคมศกึ ษา เรอ่ื งความสมั พนั ธระหวา งประเทศของไทยใน สมัยสโุ ขทยั และความสมั พันธระหวางประเทศของไทยในสมยั อยธุ ยา 3. วิเคราะหจดุ ประสงคการเรียนรเู ชงิ พฤตกิ รรมตามแนวทางวิธกี ารทางประวตั ิ ศาสตรซึ่งผูวิจยั เลือกใชแ นวทางในการสรา งเคร่ืองมือในการวจิ ยั ที่ประกอบดวยกจิ กรรมการเรยี นการ สอนสอนสอน ส่ือ การวดั และประเมนิ ผล ตามองคป ระกอบวิธีการทางประวัตศิ าสตร 5 ข้นั ตอน ของลาวณั ย วิทยาวุฑฒกิ ลุ และคณะ(2543: 7) ซง่ึ สรุปไวค รอบคลุมประเดน็ วิธกี ารทางประวัตศิ าสตร ในทุกดานท่นี กั วชิ าการทางประวัตศิ าสตรไ ดกลา วไว ดงั น้ี 1. การกาํ หนดประเดน็ / ปญ หา / เรอ่ื งทีจ่ ะศกึ ษา 2. การคน ควาและรวบรวมขอมลู ทง้ั ทเ่ี ปนขอเทจ็ จริงและแนวคิดจากหลักฐานตางๆ 3. การตรวจสอบเชงิ ประวตั ศิ าสตร (วเิ คราะห ประเมนิ และ ตคี วามหลักฐาน) 4. การสังเคราะห / ตีความ 5. การนาํ เสนอขอ มูล 4. เขยี นแผนการสอนโดยใชว ิธกี ารทางประวัตศิ าสตร ในแตล ะแผนการสอนจะ ใชเวลา 2 คาบตอสัปดาห คาบละ 50 นาที รวมระยะเวลา 9 สัปดาห 18 คาบ ซึ่งประกอบดว ย เน้อื หา ดงั ตารางที่ 3

58 ตารางท่ี 3 แสดงเนื้อหาการเรยี นการสอนโดยใชว ธิ ีทางประวตั ิศาสตร รายวิชา ส 029 ประวตั ศิ าสตร ความสมั พันธร ะหวางประเทศของไทยตามรายคาบ แผนการสอน เนอ้ื หา จํานวนคาบ 1 ลกั ษณะความสมั พนั ธกับรัฐที่อยใู กลเคยี ง 3 ในสมัยสุโขทัย 2 ลักษณะความสมั พันธกับรัฐทอ่ี ยหู า งไกล 2 ในทวีปเอเชียในสมยั สุโขทยั 3 ลกั ษณะความสมั พันธก บั รัฐท่ีอยใู กลเ คยี ง 5 ในสมยั อยุธยา 4 ลักษณะความสมั พนั ธก บั รฐั ที่อยูหางไกล 3 ในทวีปเอเชียในสมยั อยธุ ยา 3 2 5 ลกั ษณะความสมั พันธก บั ชาติตะวนั ตก ในสมัยอยธุ ยา 6 สรปุ ลักษณะความสัมพนั ธร ะหวางประเทศ ในสมยั อยุธยา 5. นําแผนการสอนตามเนอื้ หาทใี่ ชทผ่ี ูวิจยั สรา งขึน้ ไปใหอาจารยทีป่ รกึ ษาวทิ ยา นพิ นธตรวจพจิ ารณาใหขอเสนอแนะแกไ ข 6. นําแผนการสอนท่ีปรบั ปรงุ แกไขแลว ไปใหผูท รงคุณวฒุ ิจํานวน 3 ทา น (ดรู าย ละเอยี ดในภาคผนวก ข) ตรวจพจิ ารณาในดา นความตรงตามจดุ ประสงค และเนอื้ หาหลักสูตร มัธยมศึกษาตอนตน พุทธศกั ราช 2521 (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2533) ตลอดจนดานความเหมาะสมของ กจิ กรรมการเรยี นการสอน แลวนํามาปรบั ปรงุ แกไข

59 7. นาํ แผนการสอน ไปทดลองใชกบั นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ 2 ท่ีไมใชก ลมุ ตัวอยาง จํานวน 3 คาบ คาบละ 50 นาที เปน เวลา 2 สัปดาห เพ่ือหาขอ บกพรองของแผนการสอน แลวนาํ มาปรับปรงุ อีกคร้งั เพือ่ นาํ ไปใชทดลองจริงตอ ไป แผนการสอนแบบปกติ ผูวจิ ัยไดส รา งเคร่ืองมือทใี่ ชใ นการทดลองตามขัน้ ตอนตางๆดังน้ี 1. ศึกษาหลกั สูตรวิชาสังคมศึกษาพทุ ธศกั ราช 2521 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2533) หนังสือเรียน คูม อื ครู และหนังสอื อา นประกอบท่ีเก่ยี วขอ งกบั วชิ าสังคมศึกษาระดับชนั้ มัธยมศึกษาป ท่ี 2 2. วิเคราะหเ นอ้ื หาวชิ าสงั คมศกึ ษา เรือ่ งความสัมพันธระหวางประเทศของไทยใน สมยั สุโขทัย และความสัมพันธร ะหวา งประเทศของไทยในสมยั อยธุ ยา 3. วเิ คราะหจ ดุ ประสงคการเรียนรเู ชงิ พฤตกิ รรม กจิ กรรมการเรียนการสอน สื่อ การวดั และประเมนิ ผล 4. เขยี นแผนการสอนแบบปกติ โดยในแตล ะแผนการสอนจะใชร ะยะเวลา 2 คาบตอสัปดาห คาบละ 50 นาที รวมระยะเวลา 9 สัปดาห 18 คาบ ซง่ึ ประกอบดว ยเน้อื หา เดยี วกบั แผนการสอนโดยใชว ธิ ีการทางประวตั ิศาสตร ดงั ตารางที่ 3 ขางตน 5. นําแผนการสอนตามเนอ้ื หาท่ีใชที่ผวู จิ ัยสรา งขึน้ ไปใหอ าจารยที่ปรกึ ษาวิทยา นิพนธตรวจพจิ ารณาใหขอเสนอแนะแกไ ข 6. นําแผนการสอนท่ีปรับปรุงแกไ ขแลว ไปใหผ ูทรงคุณวุฒจิ าํ นวน 3 ทา น (ดรู าย ละเอยี ดในภาคผนวก ข) ตรวจพจิ ารณาในดา นความตรงตามจุดประสงค และเน้ือหาหลักสูตร มัธยมศึกษาตอนตน พุทธศกั ราช 2521 (ฉบบั ปรับปรงุ 2533) ตลอดจนดา นความเหมาะสมของ กจิ กรรม การเรยี นการสอน แลว นํามาปรบั ปรงุ แกไข 7.นาํ แผนการสอนไปทดลองใชก ับประชากรซง่ึ เปน นักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 2 ที่ ไมใชกลุมตัวอยา ง จาํ นวน 3 คาบ คาบละ 50 นาที เปนเวลา 2 สัปดาห เพ่ือหาขอ บกพรองของแผนการ สอน แลวนํามาปรับปรุงอกี ครงั้ เพ่ือนําไปใชท ดลองจริงตอไป 5. การดาํ เนนิ การวิจยั ผูวิจยั ดาํ เนนิ การวจิ ัยเปน ลําดับขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. ติดตอบณั ฑิตวทิ ยาลัยเพอ่ื จัดทาํ หนังสอื ขอความรว มมอื ในการวจิ ัย 2. ติดตอทางโรงเรยี นสาธิตจฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั ฝายมัธยม เพ่ือขออนุญาตใน การดาํ เนนิ การวิจัย 3. ในการดาํ เนินการวิจัย ผวู จิ ัยไดดาํ เนนิ การกอนการสอนโดยทาํ การวัดกลมุ ตวั อยา งทงั้ 2 กลุม ดว ยแบบวัดการคิดอยา งมวี จิ ารณญาณ ดงั ตารางที่ 4

60 ตารางที่ 4 แสดงผลการทดสอบความแตกตา งระหวา งคา เฉลยี่ ของคะแนนการคดิ อยา งมีวิจารณญาณ กอ นการทดลองระหวางกลุมทดลองและกลมุ ควบคุม กลุม ตวั อยาง X SD. t-test กลุมทดลอง 23.66 2.98 กลมุ ควบคมุ 21.77 7.136 5.11 จากตารางที่ 4 แสดงใหเ หน็ วา คา เฉลี่ยคะแนนการคดิ อยา งมวี จิ ารณญาณกอนการทดลอง ระหวา งกลมุ ทดลองทไี่ ดร ับการจดั การเรยี นการสอนโดยใชว ธิ ีการทางประวตั ิศาสตร และกลมุ ควบคุมทไ่ี ดรบั การจัดการเรยี นการสอนแบบปกติ มีความแตกตา งกนั คอื 23.66 และ 21.77 ตาม ลาํ ดับ เมอ่ื ทดสอบความแตกตา งของคะแนนเฉล่ยี การคดิ อยางมีวจิ ารณญาณ ดว ยสถิติทดสอบที (t-test) พบวา ทัง้ สองกลมุ มคี ะแนนเฉล่ียไมแ ตกตา งอยา งมีนัยสาํ คญั ทางสถิติท่ีระดับ .05 4. ดาํ เนนิ การสอนตามแผนการสอนทส่ี รางขึ้นท้งั 2 ชดุ คอื แผนการสอนทีใ่ ชวิธี การทางประวตั ิศาสตรและแผนการสอนแบบปกติ จํานวน 6 แผนรวม 18 คาบ โดยสอนสัปดาหล ะ 2 คาบ คาบละ 50 นาที และใชเวลาในการสอนทั้งสิน้ 9 สปั ดาห เรม่ิ ตัง้ แตวนั ท่ี 4 พฤศจกิ ายน 2545 ถงึ 30 ธันวาคม 2545 5. หลงั จากการทดลองสอนตามแผนการสอนเสรจ็ ส้ินแลวทัง้ 2 กลุม ผูวิจัยทาํ การ วัดความแตกตา งระหวา งคา เฉลย่ี คะแนนการคิดอยา งมีวจิ ารณญาณ ระหวา งกลุม ทดลองและกลมุ ควบคุม ดว ยแบบวดั การคิดอยา งมวี ิจารณญาณ 6. การวิเคราะหขอ มูล การวิเคราะหขอ มูล เพอื่ เปรยี บเทยี บความแตกตา งของคะแนนการคดิ อยางมี วจิ ารณญาณของกลมุ ตัวอยาง ใชโ ปรแกรม SPSS ดงั น้ี 1. เปรยี บเทยี บความแตกตา งระหวา ง คาเฉลีย่ คะแนนการคดิ อยางมวี จิ ารณญาณ กอ นการทดลองระหวา งกลุมทดลองและกลมุ ควบคุม ดว ยสถติ ทิ ดสอบที (t-test independent) 2. เปรียบเทยี บความแตกตางระหวาง คาเฉลี่ยคะแนนการคดิ อยา งมีวจิ ารณญาณ กอนและหลังการทดลองของกลุม ควบคุม ดวยสถิตทิ ดสอบที (t-test dependent)

61 3. เปรยี บเทยี บความแตกตา งระหวาง คาเฉล่ียคะแนนการคดิ อยางมวี จิ ารณญาณ กอนและหลังการทดลองของกลมุ ทดลอง ดวยสถติ ิทดสอบที (t-test dependent) 4. เปรยี บเทียบความแตกตา งระหวา ง คาเฉลย่ี คะแนนการคดิ อยา งมีวจิ ารณญาณ หลังการทดลองระหวางกลมุ ทดลองและกลมุ ควบคุม ดว ยสถติ ิทดสอบที (t-test independent)

บทท4ี่ ผลการวิเคราะหข อมลู การวเิ คราะหข อ มลู การวิจัยเรอื่ ง ผลของการใชวิธีการทางประวตั ิศาสตรในการเรียนการสอน สังคมศกึ ษาท่มี ีตอ การคิดอยา งมีวจิ ารณญาณของนักเรยี นระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน โรงเรียนสาธติ สังกดั ทบวงมหาวิทยาลัย เปนการวจิ ัยกึง่ ทดลอง (Quasi-Experimental Research) เพ่ือเปรียบเทยี บ คะแนนเฉล่ยี ความคิดอยางมวี จิ ารณญาณทไี่ ดจากการจดั การเรียนการสอนโดยใชว ธิ ีการทาง ประวตั ิศาสตรซ ่งึ เปนกลุม ทดลอง กับการจัดการเรียนการสอนแบบปกติ ซง่ึ เปนกลุมควบคุม ผวู ิจัย ขอเสนอผลการวิเคราะหข อมลู ดงั น้ี 1. ทดสอบความแตกตางระหวา งคาเฉลยี่ คะแนนการคดิ อยางมีวจิ ารณญาณกอนและหลงั การ ทดลองของกลุมควบคมุ ดวยสถิติทดสอบที (t-test dependent) ผลการวเิ คราะหด งั ตารางที่ 5 ตารางท่ี 5 แสดงผลการทดสอบความแตกตา งระหวางคา เฉลี่ยของคะแนนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กอนและหลงั การทดลองของกลมุ ควบคุม กลุมควบคุม X SD. t-test กอนทดลอง 21.77 5.11 1.175 หลงั การทดลอง 22.57 4.39 จากตารางท่ี 5 แสดงใหเ หน็ วา คา เฉล่ยี คะแนนการคิดอยา งมวี จิ ารณญาณกอนและหลงั การทดลองของกลุมควบคมุ ทไ่ี ดร ับการจดั การเรียนการสอนแบบปกติ มคี วามแตกตางกนั โดยมคี าเฉลยี่ คะแนนการคดิ อยา งมวี จิ ารณญาณกอ นการทดลอง เทากับ 21.77 ตา่ํ กวาคะแนนเฉลี่ยการคิดอยางมี วจิ ารณญาณหลงั การทดลอง ซึ่งเทา กับ 22.57 เมื่อทดสอบความแตกตา งของคะแนนเฉลีย่ การคดิ อยาง มวี จิ ารณญาณ ดว ยสถติ ิทดสอบที (t-test) พบวา กอนการทดลองและหลังการทดลองมคี ะแนนเฉลีย่ การคดิ อยางมวี จิ ารณญาณไมแ ตกตา งอยา งมนี ัยสาํ คัญทางสถิติทร่ี ะดับ .05

63 2. ทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉล่ียคะแนนการคดิ อยา งมีวจิ ารณญาณหลังการทดลอง ระหวา งกลมุ ทดลองและกลมุ ควบคุม ดว ยสถติ ทิ ดสอบที (t-test independent) ผลการวเิ คราะหดงั ตารางที่ 6 ตารางท่ี 6 แสดงผลการทดสอบความแตกตางระหวา งคา เฉลี่ยของคะแนนการคดิ อยางมีวิจารณญาณ หลังการเรียนระหวา งกลมุ ทดลองและกลุม ควบคุม กลุม ตัวอยา ง X SD. t-test กลมุ ทดลอง 29.49 3.69 7.136* กลุมควบคุม 22.57 4.39 *p < .05 จากตารางที่ 6 แสดงใหเ หน็ วาคา เฉลย่ี คะแนนการคิดอยางมวี จิ ารณญาณหลงั การ ทดลองของกลุมทดลองทีไ่ ดร ับการจดั การเรยี นการสอนโดยใชว ธิ ีการทางประวตั ิศาสตร เทา กบั 29.49 สูงกวา คา เฉล่ยี คะแนนการคิดอยา งมวี จิ ารณญาณหลงั การทดลองของกลมุ ควบคุมทไ่ี ดรบั การ จัดการเรยี นการสอนแบบปกติ ซ่ึงเทากับ 22. 57 เมอ่ื ทดสอบความแตกตางของคะแนนเฉล่ียการคดิ อยา งมวี ิจารณญาณ ดวยสถติ ิทดสอบที (t-test) พบวาคะแนนการคิดอยา งมวี ิจารณญาณที่ไดจ ากการ จัดการเรยี นการสอนโดยใชวธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตรสงู กวา คะแนนท่ไี ดจ ากการจดั การเรียนการสอน แบบปกตอิ ยางมีนัยสาํ คญั ทางสถติ ิทร่ี ะดบั .05 ซึ่งสอดคลองกบั สมมติฐานขอท่ี 1 3. ทดสอบความแตกตา งระหวางคา เฉล่ียคะแนนการคดิ อยางมวี ิจารณญาณกอนและหลังการ ทดลองของกลมุ ทดลอง ดวยสถิติทดสอบที (t-test dependent) ผลการวเิ คราะหดงั ตารางที่ 7

64 ตารางที่ 7 แสดงผลการทดสอบความแตกตา งระหวา งคาเฉลย่ี คะแนนการคิดอยางมีวจิ ารณญาณกอน และหลงั การทดลองของกลมุ ทดลอง กลุมทดลอง X SD. t-test กอ นทดลอง 23.66 2.98 10.25* หลงั การทดลอง 29.49 3.69 *p < .05 จากตารางท่ี 7 แสดงใหเ ห็นวา คาเฉลี่ยคะแนนการคดิ อยางมีวจิ ารณญาณกอนการ ทดลองและหลงั การทดลองของกลุมทดลองท่ไี ดรบั การจดั การเรยี นการสอนโดยใชวธิ ีการทางประวตั -ิ ศาสตรม ีความแตกตา งกนั โดยมคี ะแนนเฉลยี่ การคดิ อยางมีวิจารณญาณหลงั การสอน (29.49) สูงกวา คะแนนเฉลย่ี การคดิ อยางมวี จิ ารณญาณกอนการสอน(23.66) เมื่อทดสอบความแตกตา งของคะแนน เฉลย่ี การคดิ อยา งมวี จิ ารณญาณ ดว ยสถติ ิทดสอบที ( t-test) พบวา กอนการทดลองและหลงั การทดลอง มีคะแนนเฉลย่ี การคดิ อยางมวี ิจารณญาณแตกตา งอยา งมนี ยั สําคัญทางสถติ ทิ รี่ ะดบั .05 ซึ่งสอดคลอ งกบั สมมติฐานขอที่ 2

บทท5ี่ สรุปผลการวจิ ยั อภิปรายผล และขอ เสนอแนะ การวจิ ยั เร่ือง “ผลของการใชว ธิ กี ารทางประวัตศิ าสตรในการเรยี นการสอนสงั คมศกึ ษาท่มี ี ตอ การคดิ อยา งมีวิจารณญาณของนกั เรยี นระดับมธั ยมศึกษาตอนตน โรงเรยี นสาธิต สงั กดั ทบวงมหาวิทยาลยั ” มวี ัตถปุ ระสงคค อื 1) เพอื่ เปรยี บเทียบการคิดอยา งมวี ิจารณญาณของนกั เรยี น ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน โรงเรียนสาธิต สังกดั ทบวงมหาวทิ ยาลยั ระหวา งกลมุ ท่เี รียนดว ย วธิ กี ารทางประวัติศาสตรแ ละกลมุ ท่ีเรยี นแบบปกติ 2) เพือ่ เปรียบเทยี บการคดิ อยา งมีวิจารณญาณ ของ นกั เรียนกอ นและหลังท่เี รยี นดว ยวิธกี ารทางประวัตศิ าสตร กลมุ ตัวอยางเปน นักเรยี นระดับ มธั ยมศึกษาปท ่ี 2 โรงเรยี นสาธิตจฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลัย สงั กดั ทบวงมหาวทิ ยาลยั ภาคเรยี นที่ 2 ป การศึกษา 2545 โดยผวู จิ ยั นาํ คะแนนผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา ส 204 ประเทศของเรา 3 ซ่งึ ได หอ ง ทีม่ คี ะแนนใกลเคยี งกนั 2 หอ ง จากน้นั ดาํ เนนิ การโดยการจับสลากเลือกหอ งทดลองและ หองควบคุม เครื่องมือทใี่ ชในการวิจัย คอื แบบวดั การคดิ อยางมวี จิ ารณญาณ เคร่อื งมอื ท่ีใชในการทดลอง คือ แผนการสอน 2 แบบ ไดแ ก แผนการสอนโดยใชว ิธกี ารทางประวัตศิ าสตร และแผนการสอนแบบ ปกติ (ไมไ ดร บั การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนดวยวิธกี ารทางประวตั ิศาสตร) ในการดําเนินการวจิ ัย ผูวจิ ยั ไดทําการสอบกอนเรยี นกบั กลมุ ตวั อยา งทง้ั สองกลุม โดยใชแ บบวดั การคิดอยางมีวจิ ารณญาณ แลว ทาํ การเปรียบเทยี บคาเฉลย่ี (X)และใชส ถิตทิ ดสอบที (t-test) จากนั้น ไดดาํ เนนิ การสอนตาม แผนการสอนท้งั 2 แบบ โดยแตล ะแผนการสอนจะใชเ วลา 2 คาบตอสัปดาห คาบละ 50 นาที รวม ระยะเวลา 9 สัปดาห จํานวนทัง้ หมด 18 คาบ เมื่อสอนครบทุกแผนการสอนแลว ใหน ักเรยี นทง้ั 2 กลุม ทําแบบวดั การคดิ อยา งมวี ิจารณญาณ แลวนําขอมลู ทไ่ี ดมาวเิ คราะหห าคา เฉล่ีย (X) และความ แตกตา งของคา เฉล่ียดว ยสถติ ทิ ดสอบที (t-test) สรุปผลการวิจยั 1. นกั เรยี นทไี่ ดร ับการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนโดยใชว ธิ กี ารทางประวตั ิศาสตรม กี ารคดิ อยางมวี ิจารณญาณสูงกวา นกั เรียนทเี่ รียนโดยวธิ กี ารสอนแบบปกตอิ ยา งมนี ัยสาํ คญั ทางสถิตทิ ี่ระดบั .05 2. นักเรียนที่ไดรบั การจดั การเรยี นการสอนโดยใชว ธิ กี ารทางประวัติศาสตรม ีคาเฉล่ยี การคดิ อยา งมวี ิจารณญาณสูงข้นึ หลังจากไดรบั การจดั การเรยี นการสอนอยา งมีนัยสําคัญทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั .05

66 อภิปรายผลการวิจยั การศึกษาผลของการใชวิธีการทางประวตั ศิ าสตรใ นการเรียนการสอนสังคมศึกษาทมี่ ตี อ การ คดิ อยา งมวี ิจารณญาณของนกั เรยี นระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน โรงเรียนสาธติ สังกดั ทบวงมหาวิทยาลยั ผลการวจิ ัย เปน ไปตามสมมตฐิ านท้ัง 2 ขอ ซ่งึ ผูว ิจัยไดเ สนอประเดน็ ทีส่ ามารถนํามาอภิปราย ดงั น้ี ประเด็นที่ 1 ผลการวิจยั เปน ไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว เนอื่ งมาจากข้นั ตอนของวธิ ีการทาง ประวตั ิศาสตรท ั้ง 5 ข้ันตอน อนั ไดแ ก 1) การกาํ หนดประเดน็ ปญหา 2) การคนหาและการรวบรวม หลกั ฐาน 3) การตรวจสอบ วิเคราะห ประเมินคณุ คาและตคี วามหลกั ฐาน 4) การสังเคราะห และการ ตคี วามเพอื่ ตอบปญ หา และ 5)การสรุปผลและนาํ เสนอนนั้ จัดเปน กระบวนการทีม่ งุ ฝกใหน กั เรยี นได พัฒนาการคดิ อยางมวี จิ ารณญาณท้งั 4 ดา น อนั ไดแ ก ความสามารถในการพิจารณาความนาเชอ่ื ถอื ของ ขอมูล ความสามารถในการนิรนยั ความสามารถในการอุปนยั และความสามารถในการระบขุ อ ตกลง เบอ้ื งตน ดังที่ John F McCarthy (1998 อางใน www.rtforum org/h/h78.html) ไดก ลา ววา การเรยี น ประวัตศิ าสตรจ ะตองใชก ารวิเคราะหว จิ ารณข อมลู วา ขอใดเปนจริงและเปน ตาํ นาน ซ่ึงสอดคลอ งกับคํา กลา วของวนิ ยั พงศศรเี พียร (2543: 16) ทวี่ าการนาํ วธิ กี ารทางประวตั ิศาสตรม าใชค รจู ะตองสอนให นกั เรยี นรจู กั การคิดอยางมีวจิ ารณญาณในประเดน็ ทางประวตั ิศาสตร นอกจากน้ยี ังสอดคลองกบั คาํ กลาว ของ Mcpeck (อางใน Norris and Ennis, 1989: 97) ท่ีไดกลาววา การฝก การคิดอยา งมีวจิ ารณญาณจะ ไดผ ลและมปี ระโยชนสงู สุดควรเปน การฝกการคิดไปพรอ มกบั เนือ้ หาวชิ ามากกวา การแยกฝก เฉพาะ เมอ่ื พิจารณารายละเอียดในดานแผนการสอน จะพบวาผวู จิ ัยไดจดั กิจกรรมการเรียนการสอน โดยใชว ธิ ีการทางประวตั ิศาสตรครบทงั้ 5 ขัน้ ตอนในแตล ะหนว ยการเรยี น ท้งั นเ้ี พอื่ ใหน กั เรยี นไดรับ การฝก ฝนและพฒั นาการคิดอยา งมวี ิจารณญาณอยา งตอเนอื่ งสมํา่ เสมอ ซ่ึงสอดคลอ งกับคาํ กลาวของ Bayer (1985: 143) ทก่ี ลาววา ในการพฒั นาการคิดอยางมวี ิจารณญาณนน้ั ควรประกอบดว ยขน้ั ตอนยอย คอื การแนะนําทักษะทจี่ ะฝกใหผูเรยี นทบทวนกระบวนการดานทักษะ กฎ และความรูทเี่ กี่ยวของให ผูเรยี นใชท กั ษะเพอื่ ใหบรรลุเปาหมายทก่ี าํ หนด และใหผ เู รยี นฝกทบทวนสิง่ ทคี่ ิดหรอื ส่ิงทเี่ กดิ ขน้ึ ใน สมองขณะรว มทาํ กจิ กรรม นอกจากนี้ รปู แบบและขนั้ ตอนการจดั การเรียนการสอนโดยใชว ิธกี ารทางประวัติศาสตรม ี ความสอดคลอ งกบั ข้ันตอนการพฒั นาการคิดอยางมวี จิ ารณญาณ อนั เปน กระบวนการของความคิดและ ความสามารถ ซงึ่ กระบวนการของความคิด หมายถงึ วธิ กี ารแกป ญ หาแบบวทิ ยาศาสตรแ ละมีทัศนคติ ในการแสวงหาความรู สว นความสามารถ หมายถึง ความรใู นขอเท็จจริง หลักการสรปุ ในกรณที ว่ั ๆ ไป

67 การอนมุ าน การยอมรับในขอตกลงเบือ้ งตน การนริ นยั การตีความ รวมทงั้ ทกั ษะความเขาใจ การ วเิ คราะห การสังเคราะห และการประเมินผล (Skinner, 1976: 292) ซ่งึ กระบวนการแกปญ หาแบบ วทิ ยาศาสตรนนั้ เปน กระบวนการแกปญ หาทสี่ อดคลองกับวธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร ซึ่งมี 5 ขั้นตอน คือ การกําหนดประเดน็ ปญ หา การคนหารวบรวมหลกั ฐาน การวเิ คราะห ประเมนิ คุณคาหลกั ฐาน การตีความเพอื่ ตอบปญหา การสรปุ ผลและนําเสนอ (ลาวณั ย วิทยาวฑุ ฒกิ ลุ , 2543: 7) ดังน้นั ผูวจิ ยั สรปุ ไดวา ในกระบวนการจดั การเรยี นการสอนครั้งนี้ การจดั การเรยี นการสอนโดย ใชว ธิ กี ารทางประวตั ิศาสตรเ ปนกระบวนการที่พัฒนาความคิดอยา งมวี จิ ารณญาณโดยตรง ประเดน็ ท่ี 2 ทฤษฎีการเรยี นรู มี 2 ดานคอื 1) ดา นกรอบความคิด สาํ นกั งานคณะกรรมการ การศึกษาแหงชาต,ิ 2540 : 12) ไดก ลาวถึงการคิดข้ันสงู โดยใหน ยิ ามวา กระบวนการคดิ นน้ั ครอบคลมุ พฤตกิ รรมหรอื การกระทาํ หลายประการท่ีเปนลําดบั ขน้ั ตอน คือ คาํ ท่มี ีความหมายถึงกระบวนการ เปน ความคดิ ทซี่ บั ซอน ลกึ ซ้ึง พิจารณาถงึ แกนหรอื สาเหตุทีม่ าของสิ่งที่คดิ พจิ ารณาถึงผลที่ตามมา ประเมินตัดสนิ คณุ คา และตดั สนิ ใจลงความเหน็ กระบวนการคิดท่สี าํ คัญคอื การคิดอยางมีวิจารณญาณ 2) ทฤษฎพี ฒั นาการ ซ่ึงกลาวถึงความพรอ ม (Readiness) ท่ีมีความสาํ คญั มากตอการเรยี นรู การ พฒั นาการของเดก็ ในแตละรายจะเกดิ ขึน้ อยางตอ เน่ือง จากระดบั ต่ํากวาไปสูอกี ระดบั ทสี่ ูงขึน้ โดย ทฤษฎีพฒั นาการทสี่ ําคัญ คือ ทฤษฎีพฒั นาการทางสติปญ ญาของ Piaget (Piaget’s Theory of Intellectual Development, 1964) ซ่ึงแบงกระบวนการทางสตปิ ญญา (Cognitive Process) ออกเปน 4 ขั้น ในแตละขนั้ จะกาํ หนดอายไุ วเ ปน ชว งอายเุ ทา ๆ กนั และในขนั้ ที่ 4 ซง่ึ เปนชวงสดุ ทาย เรียกวาระยะทคี่ ิดอยา งเปน นามธรรม (Formal Operational Stage) จะเปน การพฒั นาชวงสุดทา ยของ เด็กที่มอี ายใุ นชวง 12 –15 ป เดก็ ในชวงนสี้ ามารถคิดไดมากขึน้ เมอ่ื เดก็ พัฒนาไดอ ยา งเต็มทแี่ ลว จะ สามารถคิดอยา งเปนเหตเุ ปนผลและแกปญ หาไดอ ยา งดีจนพรอมทีจ่ ะเปน ผูใหญทม่ี ีวฒุ ภิ าวะได จากกรอบความคดิ และทฤษฎีพฒั นาการทางสติปญญาของ Piaget (Piaget’s Theory of Intellectual Development) ท่ีไดกําหนดชว งความพรอมของเด็กท่ีสามารถมีพฒั นาการทางสติปญญา ในระดบั สงู ซง่ึ ไดแ ก ความคิดอยา งมีวจิ ารณญาณนนั้ สามารถกระทําไดอยางดใี นเดก็ วัย 12 –15 ป การวจิ ยั คร้งั นี้ เลอื กนักเรยี นระดับชั้นมธั ยมศึกษาปท ่ี 2 ทีม่ ชี วงอายปุ ระมาณ 12-13 ปเปนกลมุ ตัวอยา ง ซงึ่ สอดคลองกับทฤษฎีการพัฒนาการดงั กลา ว จึงสรุปไดวา การจดั การเรียนการสอนสังคมศึกษาโดย ใชว ธิ ีการทางประวตั ศิ าสตรก บั กลมุ ตัวอยางนักเรียนระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปท่ี 2 นั้น สามารถพัฒนา ความคดิ อยา งมวี ิจารณญาณไดสงู ข้นึ และสงู กวา การการเรยี นการสอนแบบปกติ

68 ขอเสนอแนะในการวิจัย 1. ขอ เสนอแนะสําหรบั ครผู ูสอน จากขอคนพบของงานวจิ ยั มขี อเสนอแนะสาํ หรับครผู ูส อนทจ่ี ะนํารูปแบบการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนโดยใชว ธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร ไปประยุกตใช ดงั ตอไปน้ี 1. ในการสอนวิชาประวัตศิ าสตร ครผู ูสอนสามารถนําวิธีการทางประวตั ศิ าสตรม าใชใ น การเรียนการสอนวิชาประวตั ศิ าสตร ซง่ึ สามารถพัฒนาผูเ รยี นใหเกิดกระบวนการคดิ อันจะสง ใหการ เรยี นการสอนมีความนาสนใจและมีประสิทธิภาพมากย่งิ ข้นึ 2. ในการนาํ เนื้อหาวชิ ามาใชก ับการเรียนการสอนโดยใชว ธิ ีการทางประวตั ิศาสตร ครูผสู อนควรจัดการเรียนการสอนอยางนอย 2 คาบ เพ่อื ใหการเรยี นการสอนครบตามขั้นตอน และควร นาํ มาใชใ นการเรียนการสอนอยา งนอยในแตล ะภาคการศึกษา 2. ขอ เสนอแนะสําหรบั การวจิ ัย ควรมีการศกึ ษาวจิ ัยในดานตา งๆ ดงั นี้ 1. ศึกษาถึงการนําวธิ ีการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนโดยใชว ิธกี ารทางประวัตศิ าสตร ไปใชกับประชากรในระดับอน่ื ๆ เพอื่ นําไปสูก ารพฒั นารูปแบบการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช วธิ กี ารทางประวตั ิศาสตรท ม่ี ีประสิทธิภาพมากยงิ่ ขึ้น 2. ศึกษาถงึ การนําวธิ กี ารจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนโดยใชว ธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร ไปใชกับตวั แปรอืน่ ๆ เชน เจตคตใิ นการเรียนการสอน ความสามารถในการสังเคราะหขอมูล ความ คงทนในการเรียนรู การประเมินคา และการคิดแกป ญหา เปน ตน

รายการอา งองิ ภาษาไทย กนกทพิ ย พัฒนาพวั พนั ธ. สถิตอิ า งอิงเพ่ือการวิจยั ทางการศึกษา. เชียงใหม : ภาควิชาประเมินผล และวจิ ัยการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม, 2543. เฉลมิ มลลิ า. เทคนิควธิ ีการสอนประวตั ิศาสตร. กรงุ เทพมหานคร : สาํ นกั พิมพไ ทยวัฒนาพานชิ , 2523 . เฉลมิ มลลิ า. หลักการและวธิ ีการสอนประวัติศาสตรในโรงเรียนมัธยม. กรงุ เทพมหานคร : ภาควชิ า หลกั สตู รและการสอน คณะศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลยั รามคําแหง, 2522 . ชาญวิทย เกษตรศริ ิ และ สุชาติ สวสั ดศ์ิ ร.ี ขอบเขตความมุงหมายของประวตั ิศาสตร. กรงุ เทพ มหานคร : สํานักพมิ พพ ฆิ เณศ, 2518. ชาญวิทย เกษตรศิริ และ สุชาติ สวสั ดิ์ศร.ี ปรัชญาประวตั ศิ าสตร. กรงุ เทพมหานคร : สาํ นกั พมิ พ ไทยวัฒนาพานิช , 2527. ชาลณิ ี เอย่ี มศรี. การพฒั นาแบบสอบถามการคดิ อยา งมีวจิ ารณญาณสําหรบั นักเรยี น. วิทยานพิ นธ ปรญิ ญามหาบัณฑิต ภาควิชาวิจยั การศึกษา บัณฑติ วิทยาลยั จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลัย, 2536. ชศู รี วงศรัตนะ. เทคนิคการใชสถิตเิ พ่อื การวิจยั . กรุงเทพมหานคร : มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมิตร, 2537. เชิดศกั ดิ์ โฆวาสนิ ธุ. ทฤษฎีการเรยี นรเู พ่อื พัฒนากระบวนการคดิ . กรงุ เทพมหานคร : สาํ นกั พมิ พ โอเดียนสแควร, 2530. ณรงค พว งพศิ . หนังสอื เรยี นสังคมศกึ ษา รายวชิ า ส 028 ประวตั ิศาสตรการตัง้ ถนิ่ ฐานในดนิ แดน ประเทศไทย ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ 1. กรงุ เทพมหานคร : อกั ษรเจริญทศั น, 2541. ดนยั ไชยโยธา. หลักการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษา : การสอนสังคมศึกษา การสอน ประวัติศาสตร. กรงุ เทพมหานคร : สํานกั พมิ พโอเดียนสโตร, 2534. แถมสุข นมุ นนท.ประวตั ิศาสตรไ ทย : งานวจิ ยั . นครปฐม: คณะอกั ษรศาสตร มหาศลิ ปศาสตร, 2525. ทัศนยี  เรืองธรรม. ความคิดเห็นเกยี่ วกับปญ หาการสอนสงั คมศกึ ษาของอาจารยใ นวทิ ยาลยั ครูภาค เหนือ. วิทยานพิ นธป ริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาอุดมศกึ ษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั , 2519.

70 ทศิ นา แขมมณีและคณะ. การคิดและการสอนเพื่อพัฒนากระบวนการคิด. กรงุ เทพมหานคร : สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ สาํ นักนายกรฐั มนตรี , 2540. ธิดา สาระยา. ศกึ ษาประวตั ิศาสตร อยา งไร และทาํ ไม. กรุงเทพมหานคร : สํานกั พิมพด วงกมล, 2520. ธติ ิมา พทิ กั ษไ พรวนั . การเขาใจประวัตศิ าสตร มลู บทวา ดว ยระเบยี บวธิ ปี ระวตั ศิ าสตร. กรงุ เทพมหานคร : สาํ นกั พิมพไทยวฒั นาพานชิ , 2527. นิธิ เอียวศรวี งศ. ประวัตศิ าสตรน ิพนธต ะวนั ตก. กรงุ เทพมหานคร : มลู นิธโิ ครงการตํารา สังคมศาสตรและมนษุ ยศาสตร, 2525. นพิ ล นาสมบรู ณ. ผลของการสอนกลมุ สรางเสริมประสบการณช ีวติ ดว ยกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตรท ม่ี ีตอ ความสามารถในการคิดวเิ คราะหว ิจารณข องนักเรยี นชน้ั ประถมศึกษา ปที่ 6. วิทยานพิ นธป ริญญามหาบณั ฑติ จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั , 2536. เบญจมาศ สนั ประเสรฐิ . ผลการสอนแบบฝก ทกั ษะการทดลองที่มีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนวิชา วิทยาศาสตรแ ละการคิดอยางมวี ิจารณญาณของนกั เรยี นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 1. วทิ ยานพิ นธ ปรญิ ญามหาบัณฑิต ภาควชิ าการศกึ ษา บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร, 2533. พวงรตั น บุญญานุรกั ษ. การสรางความคิดอยางมีวิจารณญาณสาํ หรับพยาบาล. วารสารสมาคม พยาบาลแหงประเทศไทย 20 ( กรกฎาคม-ธันวาคม 2541 ) : 7-10. เพ็ญพิศทุ ธ์ิ เนคมานุรักษ. การพัฒนารูปแบบการพฒั นาการคิดอยา งมวี จิ ารณญาณสาํ หรับนกั ศกึ ษา คร.ู วิทยานิพนธป ริญญาดษุ ฎีบัณฑิต จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั , 2537. ราชบัณฑติ ยสถาน. พจนานกุ รมราชบณั ฑติ ยสถาน. กรงุ เทพมหานคร : สาํ นกั พิมพอ กั ษรเจรญิ ทัศน, 2538. ลดาวัลย มาลยะวงศ. สภาพการเรยี นการสอนประวตั ิศาสตรระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าการศึกษาชนั้ สูง (ในทัศนะของครู) ประจาํ ปก ารศึกษา 2514. วิทยานิพนธป ริญญามหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ ประสานมติ ร , 2516 ลาวณั ย วทิ ยาวฑุ ฒิกุล และคณะ. คูมอื การเรยี นการสอนประวตั ิศาสตรไทย ส 028 ประวตั ศิ าสตร การตัง้ ถิ่นฐานในดนิ แดนประเทศไทย ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 1. กรุงเทพมหานคร : สาํ นกั พิมพไทยวฒั นาพานชิ , 2543. วรรณมาศ กลนั่ แกว . เปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวิชาสงั คมศกึ ษาโดยการสอนวิธกี าร ทางประวตั ศิ าสตรกับการสอนดวยวิธบี รรยาย. วิทยานิพนธป รญิ ญามหาบณั ฑติ ภาควชิ า มัธยมศึกษา จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั , 2523.

71 วินัย พงศศ รเี พยี ร. ครูกบั การเรยี นการสอนประวตั ศิ าสตรไ ทยในคูม อื การจัดกจิ กรรมการเรยี นการ สอนประวัตศิ าสตร : ประวตั ิศาสตรไทยจะเรยี นจะสอนกนั อยา งไร. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พก ารศาสนา กรมการศาสนา, 2543. ศิรชิ ยั กาญจนวาสี . ทฤษฎกี ารทดสอบแบบด้ังเดิม ( Classical test theory ). กรุงเทพมหานคร : คณะครุศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลัย, 2544. สมคดิ ศรสี ิงห. เอกสารประกอบการสอนวชิ าวิธีสอนประวตั ศิ าสตร. กรุงเทพมหานคร : คณะ ศึกษาศาสตร มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ, 2523. สมัต อาบสวุ รรณ. การพัฒนาโปรแกรมสงเสริมความสามารถในการคดิ อยางมีวจิ ารณญาณดา นการ ตัดสินใจสําหรับนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 6. วทิ ยานพิ นธปริญญามหาบัณฑติ ภาควิชา ประถมศกึ ษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2538. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหง ชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี. ทฤษฎีการเรียนรเู พ่ือพัฒนา กระบวนการคดิ . กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพโ อเดียนแสควร, 2540. สบื แสง พรหมบุญ. ประวตั ศิ าสตรทว่ั ไป. กรงุ เทพมหานคร : สาํ นักพิมพอ กั ษรเจรญิ ทศั น, 2520. สชุ าดา กรี ะนนั ทน. ทฤษฎแี ละวิธีการสํารวจตวั อยาง. กรุงเทพมหานคร : ภาควชิ าสถิติ คณะ พาณชิ ยศาสตรและการบญั ชี จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั , 2542. สทุ ธศรี ลขิ ติ วรรณาการ . ผลของวธิ สี อนแบบอุปนยั ทมี่ ตี อ ความมีวจิ ารณญาณของนกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี 6. วิทยานพิ นธปรญิ ญามหาบัณฑิต ภาควชิ าประถมศึกษา จฬุ าลงกรณ มหาวิทยาลยั , 2536. สพุ รรณี สวุ รรณจรัส. ผลของการฝกใชเ ทคนคิ แผนผังทางปญ ญาท่ีมตี อการคดิ อยางมวี จิ ารณญาณ ของนกั เรียนมธั ยมศกึ ษาปที่ 2. วทิ ยานิพนธปริญญามหาบณั ฑิต ภาควชิ าสารตั ถศกึ ษา คณะครศุ าสตร จุฬาลงกรณม หาวิทยาลัย, 2543. สรุ รี ัตน ไชยสรุ ิยา. ความสมั พนั ธระหวา งความสามารถในการคดิ อยา งมีวิจารณญาณและความ สามารถในการอา นอยางมีวจิ ารณญาณภาษาองั กฤษของนักเรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 6 ใน โรงเรยี นสงั กดั สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กรงุ เทพมหานคร. วทิ ยานพิ นธ ปริญญามหาบณั ฑิต ภาควิชามัธยมศกึ ษา คณะครุศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั , 2536. เอ้อื ญาติ ชูชื่น. ผลของการฝกคิดอยางมวี ิจารณญาณตามแนวทฤษฎีของโรเบริ ต เอช. เอนนสิ ที่มีตอ ความสามารถทางการคิดอยา งมีวจิ ารณญาณของนักศกึ ษาพยาบาลตาํ รวจ. วิทยานพิ นธ ปริญญาจุฬาลงกรณม หาวิทยาลยั , 2536.

72 ภาษาองั กฤษ Banks,A.James. Teaching strategies for the social studies :Inquiry, Valuing, and decision making.Philippines: Addison-Wesley Publishing, 1973. Bernard Berelson and Gary A. Steiner. Human Behavior:Shorter Edition. New York: Harcourt, Brace and World, 1964. Beyer, B.K. Common sense about teaching thinking skills. Educational Leadership 41 (1983): 44-49. Bining, Arthur C. Teaching the Social Studies in Secondary Schools. New Delhi: TA TA McGraw-Hill, 1952. Byrne, J.S. The effect of critical thinking skills instruction on achievement and attitudes of elementary students differing in learning style preferences. Doctoral dissertation, The College of William and Mary, 1983. Decaroli, J. What research say to the classroom teacher : Critical thinking. Social Education 37 (1973): 67-69. Dewey, J. How we think : A restatement of the relation of reflective thinking to the educative process. Boston : D.C.Heath, 1933. Dressel, P.L., and Mayhew,L.B. General education : Explorations in evaluation. 2nded. Washington D.C: American Council on Education, 1957. Ennis, R.H. A logical baic for measuring critical thinking skill. Educational Leadership. (october 1985): 45-48. Fenton, Edwin. Teaching the new social studies in secondary schools. New York: Holt, Rinehart and Winston, 1966. Gottschalk Louis. Understanding History. New York: Alfeda.knopf, 1956. Gottschalk Louis. Generlizations in the Writing of History. Chicago: Univ. of Chicago Press, 1963. Griffitts, D.C. The effect of activity-oriented science instruction on the development of critical thinking skills and achievement. Dissertation Abstracts International 48 (1987): 1102-A. Hager, Paul ; Sleet,Ray and Kaye, Michael. The relation between Critical Thinking Abilities and Student Study Strategies. Higher Education Research and Development. 13 (1994): 46-51.

73 Hilgard, K.D. Introduction of psychology. New York : Harcourt Brace and Warld, 1962. Holloway, Arthur Herbert. Information Work With Uppublished Reports. Boulder,CO: Westview Press, 1976. Hudgins, B.B., and Edelman, S. Children’s self-directed critical thinking. Journal of Educational Research 81 (1988): 262-273. John F. McCarthy. Two View of Historical Criticism : Part II , Available From : www.rtform.org/H/H78.html[2002, August 8] Kochhar, S.K. Teaching of history. New Delhi : Sterling Publishers, 1979. Lumpkin, C.R. Effects of teaching critical thinking skills on the critical thinking ability, achievement, and retention of social studies content by fifth and sixth-graders (fifth- graders). Auburn University, 1990. Mark M. Krug. History and the Social Sciences: New Approaches to the Teaching of Social Studies. Waltham,Mass: Blaisdell, 1967. Marzano, R.J., and others. Dimensions of thinking : A framwork for curriculum and instruction. Alexandria : The Association for Supervision and Curriculum Development, 1988. Norris, S.P. ; and Ennis, R.H. Evaluating critical thinking. California : Midwest Publications Critical Thinking Press, 1989. Norris, S.P. Effect of Eliciting Verbal Reports of Thinking on Critical Thinking Test Performance. Journal of Educational Measurement. 27 (1990): 41-58. Overton, J.C. An investigation of the effects of thinking skill instruction on academic achievement and the development of critical thinking and creative thinking skills of second-,fourth-,and sixth-grade students. EDD The University of Alabama, 1993. Piaget, J., and Inhelder,B. The growth of logic : From childhood to adolescence. New York : Basic Books, 1964. Pikkert, Joost JJ and Foster, Leslie. Critical Thinking skill among Third Year Indonesian English Students. RELC Journal 27 (December 1996): 122-127. Skinner,B.S. Cognitive development : Pre-requisite thinking. The Clearing House 49 (1976): 292-299. Watson,G., and Glaser,E.M. Watson-Glaser critical thinking appraisal manual. New York : Harcourt Brace and Warld, 1964. Yinger, R.J. Can we really teach them to thinkin New directions for teaching and learning : Fostering critical thinking. edited by Young,R.E. Sanfrancisco: Jossey-Bass, 1980.

ภาคผนวก

75 รายการภาคผนวก ก หนังสือขอความรวมมือ ข รายนามผทู รงคณุ วุฒิ ค เคร่ืองมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล ง เครอ่ื งมือที่ใชใ นการทดลอง จ คณุ ภาพของเคร่อื งมอื ท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอ มลู ฉ คะแนนการคิดอยา งมีวจิ ารณญาณของนักเรียนกลมุ ทดลองกอ นเรยี นและหลงั เรยี นโดยจาํ แนกตาม จุดมงุ หมาย

76 ภาคผนวก ก หนังสือขอความรว มมือ





79 ภาคผนวก ข รายนามผทู รงคณุ วฒุ ิ

80 รายนามผทู รงคุณวฒุ ิตรวจสอบเคร่อื งมือทีใ่ ชในการวิจัย แบบวัดการคดิ อยางมวี ิจารณญาณ 1. รองศาสตราจารย ดร. ศิริเดช สุชีวะ ผูชว ยคณบดฝี า ยวจิ ยั คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลยั 2. ผูชว ยศาสตราจารย พิไล แยม งามเหลอื อาจารยพ ิเศษ สาขาจติ วิทยาการศึกษา คณะครศุ าสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั 3. ผูช ว ยศาสตราจารย ชูพงศ ปญจมะวตั อาจารยป ระจําสาขาวชิ าจิตวทิ ยา คณะจิตวทิ ยา จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย แผนการสอนโดยใชว ิธกี ารทางประวตั ิศาสตรแ ละแผนการสอนแบบปกติ 1. ผชู ว ยศาสตราจารย สุธรรมา บลู ภกั ดิ์ ทป่ี รึกษารองคณบดีและผูอํานวยการโรงเรียนสาธติ จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั ฝา ยมธั ยม 2. ผชู วยศาสตราจารย วรรณา วุฒฑะกลุ ผูชวยผูอํานวยการฝา ยวิชาการ โรงเรียนสาธติ จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลยั ฝายมธั ยม 3. ผูช ว ยศาสตราจารย อมรา รอดดารา อาจารยประจาํ ภาควิชาสารัตถศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลัย













87 ภาคผนวก ค เคร่อื งมอื ที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล “ แบบวัดความสามารถทางการคดิ อยา งมวี จิ ารณญาณ”

88 แบบสอบวัดความสามารถทาง การคดิ อยา งมีวจิ ารณญาณ คาํ แนะนาํ ในการทาํ แบบสอบวดั ความสามารถทางการคิดอยา งมีวจิ ารณญาณ 1. แบบสอบวดั ความสามารถทางการคดิ อยา งมีวจิ ารณญาณชุดนี้ ประกอบดวยแบบสอบ 4 ตอน รวม 40 ขอ ดังน้ี ตอนท่ี 1 แบบสอบวัดความสามารถในการพจิ ารณาความนาเชอ่ื ถอื ของแหลงขอ มลู และ การสงั เกต ( Credibility of sources and observations ) จาํ นวน 10 ขอ ( ตั้งแตขอ 1 – 10 ) ตอนที่ 2 แบบสอบวัดความสามารถในการนิรนยั ( Deduction ) จาํ นวน 10 ขอ ( ตั้งแตขอ 11 – 20 ) ตอนท่ี 3 แบบสอบวัดความสามารถในการอุปนัย ( Induction ) จํานวน 10 ขอ ( ตง้ั แตข อ 21 – 30 ) ตอนท่ี 4 แบบสอบวัดความสามารถในการระบุขอ ตกลงเบอื้ งตน ( Assumption identification ) จํานวน 10 ขอ ( ตั้งแตขอ 31 – 40 ) 2. ใหนกั เรยี นเลอื กคาํ ตอบท่ถี กู ทีส่ ดุ เพียงคาํ ตอบเดยี วแลว ทําเครือ่ งหมาย กากบาท ( x) ทบั ตวั อกั ษรท่เี ปน คาํ ตอบท่ถี ูกที่สุดในกระดาษคาํ ตอบ 3. เวลาในการทาํ แบบสอบ 50 นาที 4. ขอสอบมีทั้งหมด หนา จาํ นวน 1-40 ขอ

89 ตอนท่ี 1 ความสามารถในการพิจารณาความนา เช่ือถอื ของแหลง ขอ มลู และการสงั เกต คาํ ชแ้ี จง 1. แบบสอบตอนที่ 1 มี 10 ขอ ตง้ั แตข อ 1- 10 2. ในแตละขอ ไดก าํ หนดสถานการณในรูปขอ ความที่เปน รายงานหรอื คําพูดมาให 2 ขอ ความใหน ักเรยี นอานสถานการณดงั กลาว แลว พิจารณาตดั สนิ วา รายงานหรอื คําพดู ใดมคี วามนา เชื่อถอื มากกวา กนั หรอื นา ปฏบิ ัติตามมากกวากนั หรอื สังเกตได ละเอยี ดมากกวา 1. ศริ ศิ ักดิเ์ ลาใหต ํารวจฟงวาขณะท่ีเขาขบั รถมากับวงเดอื น เขาเหน็ อุบตั เิ หตุรถยนตช นกนั ตรงส่แี ยกท่เี กดิ เหตุ 4 คนั สวนสมคั รบอกกบั ตาํ รวจวา ขณะทเี่ ขากบั เพือ่ นๆ ยนื รอสญั ญาณไฟแดงอยนู น้ั เขาไดย ินเสยี งดงั โครม เขากบั เพือ่ นๆ วงิ่ ไปดู พบวา มี อุบัตเิ หตุรถยนตช นกนั ตรงสแ่ี ยก 3 คนั นักเรยี นคดิ วาคําพดู ของใครนา เช่ือถอื กวา กนั ก. ศริ ิศกั ด์ิ ข. สมัคร ค. นาเช่อื ถอื พอๆ กัน ง. ไมนาเชอ่ื ถือท้ังสองคน 2. ครอู ธิบายเกยี่ วกับการอพยพของนกดงั นี้ “ เมอ่ื ส้ินสุดฤดรู อน ในเขตอารค ตกิ และ ดนิ แดนทุนดรา ในราวเดือนสิงหาคมนกชายเลนลา นๆ ตัวจะบินอพยพลงใต สู เขตอบอนุ และสมบรู ณไ ปดวยอาหาร นกทางตอนเหนอื ของยโุ รปสวนใหญ จะมุง ลงสูใ ตเขตทวปี อัฟริกา นกทางตอนเหนือของทวีปอเมรกิ าเหนือจะอพยพลงสอู เมรกิ า มุงไปยงั ทวีปอเมรกิ าใต นกทางตอนเหนอื ของเอเชยี ตอนกลางสว นใหญจะอพยพลง ใตสูอ นิ เดียในเอเชยี ตะวันออก หลังจากครอู ธิบายจบ นทั และนุน จงึ ไดต ั้งขอสังเกตดงั นี้ นัท กลาววา นกจะมกี ารอพยพเพอื่ หาแหลง อาหาร สว นนุน มองวา การที่นกตางๆทั่วโลกอพยพเน่อื งมาจากหนส้ี ภาพอากาศทีห่ นาวไปสเู ขตท่มี อี ากาศ อบอนุ

90 นักเรยี นคิดวา ขอ สงั เกตของใครนาเชือ่ ถือกวากนั ก. นนุ ข. นทั ค. นา เชอื่ ถือพอๆ กนั ง. ไมนาเชอื่ ถือท้ังสองคน 3. จากผลการวิจยั สมาคมจติ วทิ ยาอเมรกิ นั ระบุวา ผูทต่ี องการลดความเครียด ควรเร่ิมลด หรืองดด่มื กาแฟและเครอ่ื งดมื่ ท่ีมีคาเฟอีนสกั พกั พรอมกันน้นั ใหด มื่ นา้ํ หวาน หรอื รับประทานอาหารประเภทแข็งท่ีไมม โี ปรตีนหรอื ไขมันปนเลย เพราะกาแฟและ เครอื่ งด่มื ทมี่ ีคาเฟอนี จะทาํ ใหร สู ึกเครียดมากขึน้ ในขณะทกี่ ญั ญา กลา ววา ตนเอง ตอ งด่มื กาแฟทุกวันเพราะถา ไมด ม่ื จะรสู ึกเครียดและออนเพลยี เมื่อด่มื จึงรูส กึ สดชน่ื ขึน้ นกั เรยี นคิดวาใครมเี หตผุ ลนา เช่อื ถอื กวา กนั ก. สมาคมจติ วิยาอเมริกัน ข. กัญญา ค. นา เชือ่ ถือพอๆ กัน ง. ไมน าเช่อื ถอื ทงั้ สองฝาย 4. แนนกบั ตายชวนกนั ไปเดินซื้อเสอ้ื ผาทีส่ วนจตจุ กั ร ในขณะที่เดินดูของตามรา น ตา งๆ แนนเหน็ กางเกงสฟี า เขมตัวหนงึ่ แนนอยากซ้ือกางเกงตวั นม้ี าก แตตา ยพดู ขึน้ มาวา “ ฉันสงสยั วา กางเกงตัวน้เี วลาซักจะตอ งสีตกแนๆ “ แนนจงึ แยงวา “ เรายงั สรุปไมไดห รอกวา กางเกงตวั น้ีเวลาซกั จะสีตกหรือไม ” นกั เรียนคดิ วาใครมเี หตผุ ลนา เช่อื ถอื กวา กนั ก. แนน ข. ตา ย ค. นาเชอื่ ถือพอๆ กนั ง. ไมนาเช่ือถอื ท้งั สองคน 5. วชิ ญะและธนพลไดร บั มอบหมายจากอาจารยใหรายงานถึงสวนผลไมทีไ่ ปทศั นศกึ ษา มาวา มลี ักษณะอยา งไร วชิ ญะรายงานวา สวนผลไมน ี้มีทั้งหมด 17 ไร มีบอ นํา้ ขนาดใหญส าํ หรับเลยี้ งปลาดกุ และปลาชอ น ผลไมท ่ปี ลกู มี 4 ชนดิ ดวยกัน คอื เงาะ ลน้ิ จี่ ลาํ ใย และมังคดุ สวนธนพลรายงานวา สวนผลไมนม้ี พี ืน้ ท่กี วางขวางมาก มี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook