Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศิลปนิพนธ์ นาย สมบัติ สถาผล

ศิลปนิพนธ์ นาย สมบัติ สถาผล

Published by Sombat, 2023-04-17 09:27:44

Description: ศิลปนิพนธ์ นาย สมบัติ สถาผล

Search

Read the Text Version

การสร้าสรรคภ์ าพพมิ พแ์ กะไม้ ชุด : บันทกึ ประจาวันส่วนตัวของผม Wooden Sheep Print Creation Set: My Personal Diary นายสมบตั ิ สถาผล รหสั 6211303539 ศศ.บ.621(4)/13B ศลิ ปนิพนธน์ ีเ้ ป็ นสว่ นหนึ่งของการศกึ ษาตามหลักสตู รปริญญาศิลปศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าศลิ ปกรรม แขนงออกแบบประยุกตศ์ ลิ ป์ ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ปี การศกึ ษา 2565

การสร้าสรรคภ์ าพพมิ พแ์ กะไม้ ชุด : บันทกึ ประจาวันส่วนตัวของผม Wooden Sheep Print Creation Set: My Personal Diary นายสมบตั ิ สถาผล รหสั 6211303539 ศศ.บ.621(4)/13B ศลิ ปนิพนธน์ ีเ้ ป็ นสว่ นหนึ่งของการศกึ ษาตามหลักสตู รปริญญาศิลปศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าศลิ ปกรรม แขนงออกแบบประยุกตศ์ ลิ ป์ ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ปี การศกึ ษา 2565

การสร้าสรรคภ์ าพพมิ พแ์ กะไม้ ชุด : บันทกึ ประจาวันส่วนตัวของผม Wooden Sheep Print Creation Set: My Personal Diary นายสมบตั ิ สถาผล รหสั 6211303539 ศศ.บ.621(4)/13B ศลิ ปนิพนธน์ ีเ้ ป็ นสว่ นหนึ่งของการศกึ ษาตามหลักสตู รปริญญาศิลปศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าศลิ ปกรรม แขนงออกแบบประยุกตศ์ ลิ ป์ ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ปี การศกึ ษา 2565

การสร้าสรรคภ์ าพพมิ พแ์ กะไม้ ชุด : บนั ทกึ ประจาวนั สว่ นตวั ของผม Wooden Sheep Print Creation Set: My Personal Diary นายสมบัติ สถาผล รหสั 6211303539 ศศ.บ.621(4)/13B ศลิ ปะนิพนธน์ ีเ้ ป็ นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกั สูตรปรญิ ญาศลิ ปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศลิ ปกรรม แขนงออกแบบประยุกตศ์ ลิ ป์ ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั จันทรเกษม ปี การศึกษา 2565

ก ชือ่ หัวขอ้ งานวิจยั (ภาษาไทย) : การสรา้ สรรคภ์ าพพมิ พแ์ กะไม้ ชดุ บนั ทึกประจาวนั สว่ นตวั ของผม ชอ่ื หัวขอ้ โครงการ(ภาษาอังกฤษ) : Wooden Sheep Print Creation Set : My Personal Diary ชอื่ ผูว้ ิจยั : นายสมบตั ิ สถาผล สาขาวชิ า : ศิลปะและการออกแบบ (แขนงออกแบบประยกุ ตศ์ ิลป์ ) อาจารยท์ ป่ี รกึ ษา : อาจารยไ์ ชยพนั ธุ์ ธนากรวจั น์ ปี การศกึ ษา : 2565 คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั จนั ทรเกษม อนมุ ตั ศิ ลิ ปะนพิ นธ์ เร่อื งการ การสรา้ สรรคภ์ าพพมิ พแ์ กะไม้ ชดุ บนั ทึกประจาวนั สว่ นตวั ของผม จานวน 11 ชิน้ โดยเป็นสว่ นหนึ่งของการศึกษาตามหลกั สตู รศิลปะศาสตรบ์ ณั ฑติ …………………………………………………………………….. (ผูช้ ่วยศาสตราจารยธ์ รี ะชัย สุขสวสั ด์)ิ กรรมการ ………./………/……… ………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… (ผูช้ ่วยศาสตราจารยก์ รรัตน์ พ่วงพงษ์) (อาจารย์ไชยพันธ์ุ ธนากรวจั น์) กรรมการ กรรมการ ………./………./………. ………./………./……… ……………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………. (ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์อดสิ รณ์ สมนึกแทน่ ) (ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์เกวรนิ ทร์ พนั ทวี) กรรมการ กรรมการและเลขานุการ ………./………./………. ………./………./……….

ข ช่อื หัวข้องานวิจัย (ภาษาไทย) : การสรา้ สรรคภ์ าพพิมพแ์ กะไม้ ชดุ บนั ทึกประจาวนั สว่ นตวั ของผม ชือ่ ผู้วจิ ยั : นายสมบตั ิ สถาผล สาขาวชิ า : ศลิ ปะและการออกแบบ (แขนงออกแบบประยกุ ตศ์ ลิ ป์ ) อาจารยท์ ปี่ รึกษา : อาจารยไ์ ชยพนั ธุ์ ธนากรวจั น์ ปี การศกึ ษา : 2565 บทคัดย่อ งานวิจัยนีไ้ ดน้ าเอาแนวความคิดมาจาก การใชช้ ีวิตขอผูว้ ิจัยเอง เหตุการณต์ ่างท่ีไดพ้ บเจอ พูดคุย ความรูส้ ึก และอารมรใ์ นช่วงหนึ่งท่ีเกิดขึน้ กับผูว้ ิจัย มาสรา้ งสรรคผ์ ลงาน ชุด บันทึกประจาวัน ส่วนตัวของผม จานวน 11 ชิน้ งาน ให้ออกมาในแบบงานภาพพิมพ์แกะไม้ ลวดลายออกมาในแบบ นามธรรม โดยใชอ้ งคป์ ระก่อบศิลป์ เสน้ ในรูปแบบต่างๆมารวมกนั ใหเ้ กิดเป็นลวดลาย มกี ารลงนา้ หนักเสน้ ใหเ้ กิดความ ลึก ตืน้ เพ่ือใหเ้ กิดเหงาผจู้ ดั ทาเลือกลงสีดว้ นหมึกพิมพส์ ีดา เพ่ือใหเ้ กิดความรูส้ ึกลึกลบั น่า คน้ หา เม่อื ลงสใี นผลงานแลว้ ความลกึ ตนื้ ของเสน้ จงึ ปรากฎค่าหนกั ของภาพพมิ พ์ ทาใหเ้ ขา้ ถงึ อารมณข์ อง ภาพไดอ้ ยา่ งชดั เจน โดยผวู้ ิจยั ไดม้ ีการศึกษา วิเคราะห์ เทคนิค ทฤษฎี องคป์ ระกอบของศิลป์ เทคนิคภาพพิมพ์ และ ศึกษาภาพพิมพข์ องศิลปินท่านอ่ืนมาเป็นแนวทานในการสรา้ งสรรคผ์ ลงาน ให้สอดคลอ้ งกับสมติฐาน วัตถุประสงคท์ ่ีตัง้ ไวใ้ นการวิจัย ออกมาในรูปแบบท่ีไม่ซา้ ใคร และมีความเป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะตัวของ ผจู้ ดั ทาเอง

ค สาขาวชิ า : ศิลปะและการออกแบบ (แขนงออกแบบประยกุ ตศ์ ลิ ป์ ) ปีการศกึ ษา : 2565 ลายมือช่ือนกั ศกึ ษา (นายสมบตั ิ สถาผล) ลายมอื ช่ืออาจารยท์ ่ีปรกึ ษาศลิ ปนิพนธ์ (อาจารยไ์ ชยพนั ธุ์ ธนากรวจั น)์

ง TITLE OF STUD : Wooden Sheep Print Creation Set: My Personal Diary STUDENT NAME : Mr. Sombut Sathaphon MAJOR FIELD : Applied Art THESIS ADVISOR : Mr. Chaiphan Thanakornwat YEAR : 2023 ABSTRACT The research has taken ideas from the researcher's life, incidents encountered, conversations, feelings and emotions during a researcher's time to create my 11-piece personal diary series, produced as a wooden lamppost, abstract patterned using art materials. Lines joined together to form patterns. Line weight loss, depth, and loneliness. Choosing the black ink to create a mysterious, inventive feeling. When the work is painted, the depth of the line shows the weight of the print. It clearly reaches the emotion of the image. Researchers have studied, analyzed, techniques, theories, elements of art, printing techniques, and studied the prints of other artists as resources for their creation, in accordance with the criteria, the purpose set in the research, come out in a unique way, and have the distinctive identity of the producers.

จ Art Program (Applied Art Design) Student's Signature (Mr. Sombat Sathaphon) Art Thesis Advisor's Signature (Mr. Chaiphan Thanakornwat)

ฉ กติ ติกรรมประกาศ งานวจิ ยั ฉบบั นสี้ าเรจ็ ลงไดด้ ว้ ยดี เน่ืองจากไดร้ บั ความกรุณาอยา่ งสงู จากหลายๆ ฝ่าย โดยเฉพาะอาจารยท์ ่ปี รกึ ษาขอขอบพระคณุ อาจารยเ์ กวรนิ ทร์ พนั ทวี อาจารยจ์ ารุณี เนตรบุตร และ อาจารยไ์ ชยพนั ธุ์ ธนากรวจั น์ รวมถึงอาจารยใ์ นคณะศิลปกรรมท่กี รุณาใหค้ าแนะนาปรกึ ษาตลอดจน ปรบั ปรุงแกไ้ ขขอ้ บกพร่องตา่ งๆ ดว้ ยความเอาใจใสอ่ ยา่ งดยี ิ่ง จนทาใหง้ านวจิ ยั ฉบบั นีส้ าเรจ็ ลลุ ว่ งไป ดว้ ยดี ผวู้ ิจยั ตระหนกั ถงึ ความตงั้ ใจจรงิ และความทมุ่ เทของอาจารยแ์ ละขอกราบขอบพระคณุ เป็น อย่างสงู ไว้ ณ ท่นี ี้ อน่งึ ผวู้ ิจยั หวงั ว่า งานวจิ ยั ฉบบั นจี้ ะมปี ระโยชนอ์ ยไู่ มน่ อ้ ย จึงขอมอบส่วนดี ทงั้ หมดนใี้ หแ้ ก่ เหลา่ คณาจารยท์ ่ไี ดป้ ระสิทธิประสาทวชิ าจนทาใหผ้ ลงานวจิ ยั เป็นประโยชนต์ ่อผทู้ ่สี นใจและช่ืนชอบใน การออกแบบลวดลาย และขอมอบความกตญั ญกู ตเวทติ าคณุ แดบ่ ิดา มารดา และผมู้ ี พระคณุ ทุก ทา่ น สาหรบั ขอ้ บกพรอ่ งต่าง ๆ ท่ีอาจจะเกดิ ขนึ้ นนั้ ผวู้ จิ ยั ขอนอ้ มรบั ผิดเพยี งผเู้ ดียว และยินดีท่จี ะรบั ฟัง คาแนะนาจากทุกทา่ นท่ไี ดเ้ ขา้ มาศกึ ษา เพ่อื เป็นประโยชนใ์ น การพฒั นางานวิจยั ตอ่ ไป นายสมบตั ิ สถาผล ผวู้ จิ ยั

ช คานา การศึกษาครงั้ นีเ้ ป็นการวิจัยเชิงสรา้ งสรรคเ์ ก่ียวกบั งานศิลปะ ภาพพิมพ์ (Printmaking, Graphic Art) ผจู้ ดั ทาไดร้ บั แรงบนั ดาลใจมาจาก บนั ทึกประจาวนั ส่วนตวั ของผจู้ ดั ทาเอง โดยนาความทกั ษะจาก การท่ีไดศ้ กึ ษามาสรา้ งสรรคง์ านภาพพิมพภ์ ายใตเ้ นือ้ หาบนั ทึกประจาวนั ส่วนตัวของผม บนั ทกึ ประจาวนั หมายถึงการเขียนเร่ืองราวส่วนตวั หรือเหตกุ ารณท์ ่ีเกิดขึน้ ในชีวิตประจาวนั เพ่ือเตือนความจา หรือบรรยาย ความรูส้ ึก ความคิด เห็นต่อส่ิงท่ีไดพ้ บมาสรา้ งสรรคผ์ ลงาน ชุด บนั ทกึ ประจาวนั สว่ นตวั ของผม จานวน 11 ชิน้ งาน ใหอ้ อกมาในแบบงานภาพพมิ พแ์ กะไม้ ลวดลายออกมาในแบบนามธรรม โดยใชอ้ งคป์ ระก่อบศิลป์ เสน้ ในรูปแบบต่างๆมารวมกันใหเ้ กิดเป็นลวดลาย มีการลงนา้ หนักเสน้ ใหเ้ กิดความ ลึก ตืน้ เพ่ือใหเ้ กิด เหงาผูจ้ ัดทาเลือกลงสีดว้ นหมึกพิมพส์ ีดา เพ่ือใหเ้ กิดความรูส้ ึกลึกลับ น่าคน้ หา เม่ือลงสีในผลงานแลว้ ความลกึ ตนื้ ของเสน้ จึงปรากฎคา่ หนกั ของภาพพมิ พ์ ทาใหเ้ ขา้ ถงึ อารมณข์ องภาพไดอ้ ย่างชดั เจน โดยผูว้ ิจัยไดม้ ีการศึกษา วิเคราะห์ เทคนิค ทฤษฎี องคป์ ระกอบของศิลป์ เทคนิคภาพพิมพ์ และ ศึกษาภาพพิมพข์ องศิลปินท่านอ่ืนมาเป็นแนวทานในการสรา้ งสรรคผ์ ลงาน ใหส้ อดคลอ้ งกับสมติฐาน วัตถุประสงคท์ ่ีตัง้ ไวใ้ นการวิจัย ออกมาในรูปแบบท่ีไม่ซา้ ใคร และมีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของ ผจู้ ดั ทาเอง นายสมบตั ิ สถาผล ผวู้ ิจยั

สารบญั หน้าอนุมตั ิ ก บทคัดยอ่ ภาษาไทย ข บทคดั ยอ่ ภาษาองั กฤษ ง กิตตกิ รรมประกาศ ฉ คานา ช สารบัญ ซ สารบัญภาพ ฎ สารบัญตาราง ฐ บทท่ี 1 บทนา 1 ความสาคญั และท่มี าของการวิจยั 1 ปัญหาในกรวิจยั 1 วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั 2 สมมติฐานของการวจิ ยั 2 ขอบเขตของการวจิ ยั 2 ประโยชนท์ ่จี ะไดร้ บั 2 นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ 3 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ทเี่ กย่ี วข้อง 4 การศกึ ษาขอ้ มลู เพ่มิ เตมิ 4 ภาพพิมพ์ ( PRINT) 5 ความหมายของภาพพมิ พ์ 5 ประเภทของการพิมพภ์ าพ 6 ประเภทของแม่พิมพ์ 6

สารบญั ตอ่ ฌ องคป์ ระกอบศิลป์ ในงานศลิ ป์ 7 เสน้ 7 สี 9 คา่ นา้ หนกั 9 พนื้ ผวิ 11 11 รูปแบบของงานวจิ ติ รศลิ ป์ 11 ศิลปะแบบเหมือนจรงิ (Realistic) 12 ศิลปะก่งึ นามธรรม (Semi Abstract) 12 ศลิ ปะแบบนามธรรม (Abstract) 12 ศลิ ปะแบบ (Cubism) 13 ขอ้ มลู งานวิจยั บคุ คลอ่นื 15 บทท่ี 3 วธิ กี ารดาเนินการศกึ ษาคน้ คว้า 15 15 หลกั การผลิต 15 การกาาหนดแบบรา่ งทางความคดิ การพฒั นาแบบตามวตั ถปุ ระสงคแ์ ละสมมตุ ฐิ าน 15 ขนั้ ตอนการพฒั นาการผลิตงาน 15 ขนั้ ตอนหลงั การผลิตงาน 15 ประชาการในการวจิ ยั 16 เครอ่ื งมอื ในการวิจยั 16 ระยะเวลาในการเกบ็ ขอ้ มลู 16 ขนั้ ตอนการวางแผนก่อนการผลิต 17 การกาหนดแบบรา่ งทางความคดิ 18 ขนั้ ตอนการพฒั นาและการผลิตผลงาน 18 ขนั้ ตอนหลงั การผลิตผลงาน 18 ประชากรในการวิจยั เครอื่ งมอื ในการวจิ ยั

สารบัญ ตอ่ ญ ระยะเวลาในการเกบ็ ขอ้ มลู 18 20 บทท่ี 4 การวเิ คราะหข์ ้อมูล 20 20 ขนั้ ตอนการวางแผนก่อนการผลิตงาน (PRE-PRODUCTION STAGE) 20 การกาหนดแบบรา่ งทางความคดิ การพฒั นาแบบตามวตั ถปุ ระสงคแ์ ละสมมตฐิ าน 20 ขนั้ ตอนการพฒั นาและการผลติ ผลงาน (DEVELOPMENT AND PRODUCTION STAGE) 21 ขนั้ ตอนหลงั การผลิตผลงาน (POST PRODUCTION STAGE) 22 ขนั้ ตอนการวางแผนก่อนการผลติ งาน (PRE-PRODUCTION STAGE) 22 26 การศึกษารวบรวมขอ้ มลู จากเอกสาร (Documentary Research) 28 การศกึ ษาตวั อยา่ งจากกรณีศกึ ษา (Case Study) 28 ภาพท่ีเป็นแรงบนั ดาลใจในการออกแบบ 33 การกาหนดแบรา่ งทางความคิดการพฒั นาแบบตามวตั ถุประสงคแ์ ละสมมตฐิ าน 43 การออกแบบโครงสรา้ งโดยออกแบบแนวความคดิ (Idea sketch) 43 ขนั้ ตอนพฒั นาและการสรา้ งสรรคผ์ ลงาน (DEVELOPMENT AND PRODUCTION STAGE ) 44 ขนั้ ตอนหลงั การผลิตผลงาน (POST PRODUCTION STAGE) 45 นาเสนอผลงานศิลปะนพิ นธส์ สู่ าธารณชน 47 การตรวจสอบ ทดสอบและสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกบั ผลงาน 47 วเิ คราะหแ์ ละสรุปผลงาน 47 48 บทท่ี 5 สรุป อภปิ ราย และข้อเสนอแนะ 49 วตั ถุประสงคข์ องโครงการวิจยั วธิ ีการดาเนนิ การศกึ ษาคน้ ควา้ สรุปผลการวจิ ยั อภิปรายผลงาน

สารบัญภาพ ฎ ภาพท่ี 4.2 : ภาพกรณีศกึ ษาแบบท่ี 1 23 ภาพท่ี 4.4 : ภาพกรณีศกึ ษาแบบท่ี 2 24 ภาพท่ี 4.6 : ภาพกรณีศกึ ษาแบบท่ี 3 25 ภาพท่ี 4.8 : ภาพแรงบนั ดาลใจ 26 ภาพท่ี 4.9 : ภาพแรงบนั ดาลใจ 27 ภาพท่ี 4.10 : ภาพแรงบนั ดาลใจ 27 ภาพท่ี 4.11 : Idea sketch ท่1ี 28 ภาพท่ี 4.12 : Idea sketch ท่ี 2 29 ภาพท่ี 4.13 : Idea sketch ท่ี 3 29 ภาพที่ 4.14 : Idea sketch ท่ี 4 30 ภาพที่ 4.15 : Idea sketch ที่ 5 30 ภาพที่ 4.16 : Idea sketch ท่ี 6 31 ภาพท่ี 4.18 : Idea sketch ท่ี 7 31 ภาพท่ี 4.19 : ศกึ ษางานภาพพิมพข์ องศิลปิน 33 ภาพท่ี 4.20 : Idea sketch ท่ี 8 34 ภาพท่ี 4.21 : รา่ งแบบลงบนแผน่ ไม้ 34 ภาพท่ี 4.22 : แกะไม้ 35 ภาพท่ี 4.23 : ตีสเี พ่อื ใหส้ ีหมกึ พิมพเ์ ขา้ ท่ี 35 ภาพท่ี 4.24 : ตีสเี พ่อื ใหส้ ีหมกึ พิมพเ์ ขา้ ท่ี 35 ภาพท่ี 4.25 : กลงึ้ สลี งบนแผ่นกระดาน 36 ภาพท่ี 4.26 : ผลงานชิน้ ท่ี 1 37 ภาพท่ี 4.27 : ผลงานชิน้ ท่ี 2 37 ภาพท่ี 4.28 : ผลงานชิน้ ท่ี 3 38 ภาพท่ี 4.29 : ผลงานชนิ้ ท่ี 4

สารบัญภาพ ตอ่ ฏ ภาพท่ี 4.30 : ผลงานชนิ้ ท่ี 5 39 ภาพท่ี 4.31 : ผลงานชนิ้ ท่ี 6 39 ภาพท่ี 4.32 : ผลงานชิน้ ท่ี 7 40 ภาพท่ี 4.33 : ผลงานชิน้ ท่ี 8 40 ภาพท่ี 4.34 : ผลงานชิน้ ท่ี 9 41 ภาพท่ี 4.35 : ผลงานชนิ้ ท่ี 10 41 ภาพท่ี 4.36 : ผลงานชิน้ ท่ี 11 42 ภาพท่ี 4.37 : นาเสนอผลงานศิลปะนพิ นธส์ สู่ าธารณชน 43 ภาพท่ี 4.38 : นาเสนอผลงานศลิ ปะนพิ นธ์ คณบดีและอาจารยท์ ่เี ย่ยี มชมผลงาน 43 ภาพท่ี 4.39 : นาเสนอผลงานศิลปะนิพนธส์ นู่ กั ศึกษาท่สี นใจผลงาน 43 ภาพท่ี 4.41 : แบบสรุปประเมนิ 45 ภาพท่ี 4.42 : แบบสรุปประเมนิ 45 ภาพท่ี 4.43 : แบบสรุปประเมนิ 46 ภาพท่ี 4.44 : แบบสรุปประเมนิ 46

สารบญั ตาราง ฐ ตารางท่ี 3.1 ตรารางแสดงระยะเวลาในการเกบ็ ขอ้ มลู 19 แผนผงั ท่ี 4.1 ขนั้ ตอนการวางแผนก่อนการผลติ งาน 21 ตารางท่ี 4.3 การวิเคราะหล์ วดลายของ ศลิ ปิน Pablo Picasso 23 ตารางท่ี 4.5 การวเิ คราะหล์ วดลายของ ศิลปิน ทวี รชั นีกร 24 ตารางท่ี 4.7 การวิเคราะหล์ วดลายของ ศิลปิน : ประหยดั พงษด์ า 25 ตารางท่ี 4.40 ตารางแสดงการประเมนิ ผลแบบสอบถามความพงึ พอใจชนิ้ งาน 44



1 บทท่ี 1 บทนา ความสาคัญและทมี่ าของการวิจยั การศึกษาครงั้ นีเ้ ป็นการวิจัยเชิงสรา้ งสรรคเ์ ก่ียวกับงานศิลปะ ภาพพิมพ์ (Printmaking, Graphic Art) ผจู้ ดั ทาไดร้ บั แรงบนั ดาลใจมาจาก บนั ทกึ ประจาวนั ส่วนตัวของผจู้ ัดทาเอง โดยนาความทกั ษะจาก การท่ีไดศ้ ึกษามาสรา้ งสรรคง์ านภาพพิมพภ์ ายใตเ้ นือ้ หาบนั ทึกประจาวนั ส่วนตัวของผม บนั ทกึ ประจาวนั หมายถึงการเขียนเรื่องราวสว่ นตวั หรือเหตกุ ารณท์ ่ีเกิดขึน้ ในชีวิตประจาวนั เพ่ือเตือนความจา หรือบรรยาย ความรูส้ กึ ความคดิ เห็นตอ่ ส่งิ ท่ไี ดพ้ บ แนวความคิดมาจาก บันทึกประจาวันส่วนตัวของผู้จัดทาในแต่ละคร้ังของวันผู้จัดทา จึงนาเอา เร่ืองราวท่ไี ดพ้ บเจอ พดู คยุ กบั เพ่ือน อาจารย์ ส่ิงตา่ งๆท่ไี ดพ้ บเหน็ ไมว่ ่าจะเป็นการเดินทางไปสถานท่ีต่างๆ เป็นตน้ ผูจ้ ัดทาจะนาเอาเรื่องราวดงั กล่าวมาบนั ทึกเรื่องราวออกมาในรูปแบบ ภาพพิมพ์ (Printmaking, Graphic Art) ซง่ึ เร่อื งราวภายในของผวู้ ิจยั ขา้ งตน้ มคี วามสอดคลอ้ งกบั แนวความคิดของงานศลิ ปะ ภาพ พิมพ(์ Printmaking, Graphic Art) โดยผวู้ ิจยั ไดน้ าศิลปะภาพพิมพเ์ ป็น สื่อหลกั ในการนาเสนอแนวความคิดร่วมกับใชว้ สั ดุ และศิลปะ แขนงต่างๆรวมไปถึงการนาศาสตรแ์ ละองคค์ วามรูจ้ ากหลากหลายแหล่งมาเป็นแรงบนั ดาลใจในการ สรา้ งสรรคผ์ ลงาน เพ่ือนาเสนอประเด็นแนวความคิดทางสงั คมโลกปัจจุบนั ทงั้ ดา้ น การเมือง เศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม ศาสนาความเช่ือ หรือเร่ืองราวในชีวิตประจาวัน ผ่านการนาเสนอในลกั ษณะของงาน ศลิ ปะภาพพิมพ(์ Printmaking, Graphic Art) ปัญหาในกรวจิ ัย เน่ืองจากเรื่องราวท่ีไดพ้ บเจอในแต่ละวนั มีความน่าสนใจเป็นอย่างมาก จึงไม่ใช่เรื่องง่าย ท่ีจะตีแผ่ ออกมาในรูปแบบของงานศลิ ปะโดยใชเ้ ทคนิคการแกะไม้ (WOOD-CUT) ท่มี ขี นาดใหญ่และความแขง็ ของ ไม้ รว่ มไปถึงการควบคมุ ทิศทางของเคร่ืองมอื แกะไม้ ซ่งึ ตอ้ งใชเ้ ทคนิคและความชานาน ส่วนใหญ่ผจู้ ดั ทา จะใชเ้ ครือ่ งมือแกะ ท่เี ป็นตวั U และตวั V เป็นสว่ นใหญ่

2 วัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย 1. เพ่อื การออกแบบลวดลายสาหรบั ภาพพิมพแ์ กะไม้ : ชดุ บนั ทกึ ประจาวนั สว่ นตวั ของผม 2. เพ่อื ผลิตลวดลายสาหรบั ภาพพิมพแ์ กะไม้ : ชดุ บนั ทกึ ประจาวนั สว่ นตวั ของผม จานวน 11 แผน่ สมมติฐานของการวจิ ัย ผูว้ ิจยั จึงตอ้ งการศึกษาลกั ษณะรูปแบบบนั ทึกประจาวนั ส่วนตวั โดยวิเคราะหเ์ ช่ือมโยงกับทศั นธาตุ ตาม หลกั องคป์ ระกอบศิลป์ รวมทงั้ ศกึ ษาลกั ษณะความหมายของวสั ดุ และนาความรูท้ ่ไี ดจ้ ากการศกึ ษามา สรา้ งสรรคศ์ ิลปะภาพพิมพท์ ่ีมุ่งนาเสนอเนือ้ หาการบันทึกประจาวันส่วนตัวของผูจ้ ัดทาวิจัย ตลอดช่วย สง่ เสรมิ ความเขา้ ใจในเร่อื งของการบนั ทกึ เรอ่ื งราวผ่านงานศิลปะใหแ้ ก่ผทู้ ่สี นใจ ขอบเขตของการวิจัย 1. ขอบเขตเนอื้ หาท่ศี กึ ษา : ศึกษาเกี่ยวกบั องคป์ ระก่อบของศิลปะ ศึกษาศิลปะไทยเทคนิคการสรา้ งภาพพิมพ์ และร่างแบบ สรา้ งสรรคผ์ ลงานเพ่ือใหเ้ ป็นไปตามสมมตุ ิฐานท่ตี งั้ ไว้ 2. ขอบเขตท่เี กี่ยวกบั ตวั แปรท่ีตอ้ งศกึ ษา : กล่มุ คนท่ีมีคิดเพิ่มในมมุ มองเดียวกนั หรือกลมุ่ คนท่ีรกั ในงานศิลปะ ท่ีเคารพนบั ถือจากรุ่นสรู่ ุ่น - กลมุ่ คนท่มี คี วามรูท้ างดา้ นศิลปะ เหตแุ ละผล ประโยชนท์ จ่ี ะได้รับ 1. ทาใหไ้ ดเ้ รียนรูเ้ กี่ยวกบั การบนั ทกึ ประจาวนั ในแต่ละวนั 2. ทาใหเ้ รยี นรูศ้ ิลปะแขนงตา่ ง ๆ 3. ทาใหไ้ ดส้ รา้ งสรรคผ์ ลงานท่ไี ดร้ บั แรงบนั ดาลใจมาจากการบนั ทกึ ประจาวนั ของตนเอง

3 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ 1. ลวดลาย หมายถงึ ลวดลายเสน้ ต่างท่ีผวู้ ิจยั ไดแ้ กะลงไปบนแผ่นไมแ้ ละเกิดเป็นรูปภาพ ท่ปี รากฏขึน้ บนแผ่นไม้ 2. บนั ทกึ ประจาวนั หมายถงึ การเขยี นเร่อื งราวสว่ นตวั หรือเหตกุ ารณท์ ่เี กดิ ขึน้ ในชีวิตประจาเพ่อื เตอื นความจา หรือบรรยายความรูส้ กึ ความคิด เห็นตอ่ สง่ิ ท่ไี ดพ้ บ ออกมาในรูปแบบภาพพิมพ์ 3. ภาพพมิ พแ์ กะไม้ หมายถงึ ศลิ ปะการพิมพภ์ าพแบบนนู โดยท่ภี าพท่ีพิมพใ์ ชแ้ กะบนผิวไม้ เม่อื ตอ้ งการพมิ พก์ จ็ ะทาสว่ นท่พี ิมพด์ ว้ ยลกู กลงิ้ มอื ทาใหห้ มกึ เกาะ บรเิ วณท่ตี อ้ งการจะพมิ พ์

4 บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ ก่ียวข้อง การศึกษาข้อมูลเพมิ่ เติม การวิจยั เรื่อง การออกแบบลวดลายภาพพิมพแ์ กะไม้ ชุด บนั ทกึ ประจาวนั สว่ นตวั ของผม ผจู้ ดั ทาได้ ทาการศกึ ษา รวบรวมขอ้ มลู จากการวิจัยและทฤษฎีท่ีเกี่ยวขอ้ ง โดยการทาการวิเคราะขอ้ มลู ดงั กล่าวเพ่ือ นาไปสกู่ รอบความคดิ ดงั นี้ 1.ภาพพิมพ์ ( Print) 1.1ความหมายของภาพพิมพ์ 1.2ประเภทของภาพพิมพ์ 1.3ประเภทของแม่พมิ พ์ 2. องคป์ ระกอบศิลป์ ในงานศลิ ป์ 2.1 เสน้ 2.2 สี 2.3 คา่ นา้ หนกั 2.4 พนื้ ผิว 3.รูปแบบของงานวจิ ิตรศลิ ป์ 3.1ศลิ ปะแบบเหมือนจรงิ (Realistic) 3.2ศลิ ปะก่ึงนามธรรม (Semi Abstract) 3.3ศิลปะแบบนามธรรม (Abstract) 4.ขอ้ มลู งานวิจยั บคุ คลอ่นื

5 1.ภาพพมิ พ์ ( Print) 1.1ความหมายของภาพพมิ พ์ ภาพพิมพ์ หมายถึงเคร่ืองมือหรอื รอ่ งรอยท่ที าใหเ้ กิดขนึ้ โดยวิธีการพิมพ์ ประทบั รอย เสน้ รูปคน สตั ว์ และลกั ษณะรูปรา่ งต่าง ๆ จะตอ้ งกระทาบนวตั ถุอนั หนึง่ กอ่ น แลว้ จึงกดใหไ้ ปตดิ ประทบั รอยบนวสั ดหุ รือพืน้ รองรบั อีกอันหน่ึง ศิลปินสรา้ งงานภาพพิมพโ์ ดยกลวิธีการพิมพใ์ หต้ ิดบนกระดาษหรือผา้ จากแม่พิมพไ์ ม้ แม่พิมพโ์ ลหะ แม่พิมพห์ ิน แม่พิมพต์ ะแกรงไหม หรือแม่พิมพว์ สั ดุต่าง ๆ ศุกลการวิธีการสรา้ งสรรคง์ าน ศิลปะท่ีผสมผสานสู่ ความสาเร็จของผลงาน ดว้ ยกรรมวิธี การพิมพท์ ่ีตอบสนองแนวความคิดของศิลปิน เป็นสาคญั ในปัจจบุ นั นี้ บวรภาพพิมพเ์ ป็นผลงานศิลปะเช่นเดียวกบั งานจิตรกรรมและประติมากรรมท่ีมี คณุ คา่ ความงามในศิลปะ ภาพพมิ พท์ ่วั ไปมีลกั ษณะเชน่ เดยี วกบั จติ รกรรมและภาพถ่าย คือตวั อย่างผลงาน มีเพียง 2 มิติ ส่วนมิติท่ี 3 คือ ความลึกท่ีจะเกิดขึน้ จากการใชภ้ าษาเฉพาะของทัศนศิลป์ อันไดแ้ ก่ เสน้ สี นา้ หนกั และพืน้ ผิว สรา้ งใหด้ แู รง คลิกเขา้ ไปในระนาบ 2 มิติของผิดภาพ แต่ภาพพิมพม์ ีลกั ษณะเฉพาะท่ี แตกต่างจากจิตรกรรมตรงกรรมวิธีการ สรา้ งผลงานท่ีจิตรกรรมนนั้ ศิลปินเป็นผูส้ รา้ งสรรคข์ ีดเขียน หรือ วาดภาพระบาย สีลงไปบนผืนผา้ ใบ กระดาษ หรือสรา้ งออกมาเป็นภาพโดยทนั ที แต่การสรา้ งผลงานภาพ พิมพศ์ ิลปินตอ้ งสรา้ งแม่พิมพข์ ึน้ มาเป็นส่ือก่อน แลว้ จึงผ่านกระบวนการพิมพ์ ถ่ายทอดออกมาเป็นภาพท่ี ตอ้ งการได้ จากกรรมวิธีในการสรา้ งผลงานดว้ ยการพิมพน์ ีเ้ อง ท่ีทาใหศ้ ิลปินสามารถสรา้ งผลงาน (Original) เหมือนๆกนั ไดห้ ลายชนิ้ เช่นเดียวกบั ผลงานประติมากรรม ประเภทท่ปี ้ันดว้ ยดินแลว้ ทาแม่พมิ พห์ ลอ่ ผลงาน ชิน้ นัน้ ใหเ้ ป็นวัสดุถาวร เช่นทองเหลือง หรือสาริด ทุกชิน้ ท่ีหล่อออกมาถือว่าเป็นผลงานต้นแบบ มิใช่ ผลงานจาลอง ( Reproduction) ทั้งนี้เพราะว่าภาพพิมพ์นั้นก็มิใช่ผลงานจาลองจากต้นแบบท่ีเป็น จิตรกรรมหรือวาดเสน้ แต่ภาพ พิมพ์เป็นผลงานสรา้ งสรรค์ ท่ีศิลปินมีทงั้ เจตนาและความเช่ียวชาญในการ ใชค้ ณุ ลกั ษณะพิเศษเฉพาะของ เทคนิควิธีการทางภาพพิมพ์ แต่ละชนิดมาใชใ้ นการถ่ายทอดจินตนาการ ความคิด และอารมณ์ ความรูส้ กึ ออกมา ในผลงานไดโ้ ดยตรง แตกต่างกบั การท่ีนาเอาผลงานจิตรกรรมท่ี สรา้ งสาเรจ็ ไวแ้ ลว้ มาจาลองเป็นภาพโดยผ่าน กระบวนการทางการพิมพ์

6 1.2ประเภทของการพิมพภ์ าพ การพมิ พแ์ บง่ ออกไดห้ ลายประเภทตามลกั ษณะตา่ ง ดงั นี้ 1 แบ่งตามจดุ ม่งุ หมายในการพมิ พ์ ได้ 2 ประเภท คอื 1.1. ศลิ ปะภาพพมิ พ์ ( GRAPHIC ART) เป็นงานพมิ พภ์ าพเพ่อื ใหเ้ กดิ ความสวยงามเป็นงานวิจติ รศิลป์ 1.2. ออกแบบภาพพมิ พ์ ( GRAPHIC DESIGN ) เป็นงานพิมพภ์ าพประโยชนใ์ ชส้ อยนอก เหนอื ไปจาก ความสวยงาม ไดแ้ ก่ หนงั สอื ต่าง ๆ บตั รตา่ ง ๆ ภาพโฆษณา ปฏทิ นิ ฯลฯ จดั เป็นงานประยกุ ตศ์ ลิ ป์ 2. แบ่งตามกรรมวธิ ีในการพิมพไ์ ด้ 2 ประเภท คอื 2.1. ภาพพมิ พต์ น้ แบบ ( ORIGINAL PRINT) เป็นผลงานพมิ พท์ ่สี รา้ งจากแมพ่ ิมพแ์ ละวิธีการพมิ พท์ ่ถี กู สรา้ งสรรคแ์ ละกาาหนดขนึ้ โดยศลิ ปินเจา้ ของผลงาน และเจา้ ของผลงาน จะตอ้ งลงนาม รบั รอง ผลงานทกุ ชิน้ บอกลาดบั ท่ใี นการพมิ พ์ เทคนคิ การพิมพ์ และ วนั เดือน ปี ท่พี ิมพด์ ว้ ย 2.2ภาพพิมพจ์ ่าลองแบบ (REPRODUCTIVE PRINT) เป็นผลงานพิมพท์ ่สี รา้ งจากแม่พมิ พ์ 3. พมิ พว์ ิธีอ่นื ซง่ึ ไมใ่ ชว่ ิธีการเดมิ แตไ่ ดร้ ูปแบบเหมือนเดมิ บางกรณีอาจเป็นการละเมิดลิขสทิ ธิ์ผอู้ ่ืน 4. แบง่ ตามจานวนครงั้ ท่ีพิมพ์ ได้ 2 ประเภท คอื 3.1 พมิ พถ์ าวร เป็นภาพพิมพท์ ่พี ิมพอ์ อกมาจากแม่พมิ พใ์ ดๆ ท่ไี ดผ้ ลงานออกมามลี กั ษณะ เหมอื นกนั ทกุ ประการ ตงั้ แต่ 2 ชิน้ ขนึ้ ไป 3.2 ภาพพมิ พค์ รงั้ เดียว เป็นภาพพมิ พท์ ่พี มิ พอ์ อกมาไดผ้ ลงานเพียงภาพเดียว ถ้าพิมพอ์ กี จะไดผ้ ลงาน ท่ี ไม่เหมอื นเดมิ 1.3ประเภทของแม่พิมพ์ ได้ 4 ประเภทคือ แม่พิมพน์ ูน (RELIEF PROCESS) เป็นการพิมพโ์ ดยใหส้ ีติดอยู่บนผิวหน้าท่ีทาใหน้ ูนขึน้ มาของแม่พิมพ์ ภาพท่ีไดเ้ กิดจากสีท่ีติดอยู่ในส่วนบนนนั้ แม่พิมพน์ ูนเป็นแม่พิมพ์ ท่ีทาขึน้ มาเป็นประเภทแรก ภาพพิมพ์ ชนิดนี้ได้แก่ ภาพพิมพ์แกะไม้ (WOOD-CUT) ภาพพิมพ์แกะยาง (LING-CUT) ตรายาง (RUBBER STAMP) พพิมพจ์ ากเศษวสั ดตุ ่าง ๆ แมพ่ มิ พร์ อ่ งลกึ (INTAGLIO PROCESS) เป็นการพิมพโ์ ดยใหส้ อี ยใู่ นรอ่ งท่ีทาใหล้ กึ ลง ไปของแมพ่ มิ พ์ โดย ใชแ้ ผ่นโลหะทาาเป็นแม่พมิ พ์ แผน่ โลหะท่ีนยิ มใชค้ ือแผน่ ทองแดง ) และทาใหล้ กึ ลงไปโดยใช้ นา้ กรดกดั ซ่งึ เรียกว่า ETCHING แม่พิมพร์ ่องลึกนีพ้ ัฒนาขึน้ โดย ชาวตะวันตก สามารถพิมพง์ านท่ีมี ความละเอียด

7 คมชดั สงู สมยั ก่อนใชใ้ นการพิมพ์ หนงั สือ พระคมั ภีร์ แผนท่ี เอกสารต่าง ๆ แสตมป์ บนบตั ร ปัจจบุ นั ใชใ้ น การพมิ พง์ านท่ีเป็นศลิ ปะ และธนบตั ร แม่พิมพพ์ ืน้ ราบ ( PLANER PROCESS ) เป็นการพิมพโ์ ดยใหส้ ีติดอยู่บนผิวหนา้ ท่ีราบเรียบของแม่พิมพ์ โดยไม่ตอ้ งชดุ หรือแกะพืน้ ผิวลงไป แต่ใชส้ ารเคมีเขา้ ช่วย ภาพพิมพ์ ชนิดนีไ้ ดแ้ ก่ ภาพพิมพ์ การพิมพอ์ อฟ เซท ภาพพิมพก์ ระดาษ ภาพพมิ พค์ รง้ั เดยี ว แม่พิมพฉ์ ลุ (STENCIL PROCESS) เป็นการพิมพโ์ ดยใหด้ ีผ่านทะลชุ ่องของแม่พิมพ์ลงไป ส่ผู ลงานท่ีอยู่ ดา้ นหลงั เป็นการพิมพช์ นิดเดียวท่ีไดร้ ูปท่ีมีดา้ นเดียวกนั กบั แม่พิมพ์ ไม่กลบั ซา้ ย เป็นขวา ภาพพิมพ์ ชนิด ไดแ้ ก่ ภาพพมิ พฉ์ ลุ ( STENCIL ) ภาพพิมพต์ ะแกรงใหม่ (SILK SCREEN) การพมิ พอ์ ดั สาเนา เป็นตน้ อา้ งอิง http://www.vattaka.com/printing/printing.htm 2.องคป์ ระกอบศิลป์ ในงานศลิ ป์ เสน้ สี คา่ นา้ หนกั พนื้ ผวิ มคี วามดงั ต่อไปนี้ 2.1เสน้ เสน้ คือ ร่องรอยท่ีเกิดจากเคล่ือนท่ีของจุด หรือถา้ เรานาจุดมาวางเรียงต่อ ๆ กันไปก็จะเกิดเป็น เสน้ ขึน้ เสน้ มีมิติเดียว คือ ความยาว ไม่มีความกว้าง ทาหน้าท่ีเป็นขอบเขตของท่ีว่าง รูปร่าง รูปทรง นา้ หนกั สี ตลอดจนกล่มุ รูปทรงต่าง ๆ รวมทงั้ เป็นแกนหรือ โครงสรา้ งของรูปรา่ งรู ปทรงเสน้ เป็นพืน้ ฐานท่ี สาคญั ของงานศิลปะทกุ ชนิด เสน้ สามารถใหค้ วามหมาย แสดงความรูส้ กึ และอารมณไ์ ดด้ ว้ ยตวั เอง และ ดว้ ยการสรา้ งเป็นรูปทรงต่าง ๆ ขึน้ เสน้ มี 2 ลกั ษณะคือ เสน้ ตรง (Straight Line) และ เสน้ โคง้ (Curve Lime) เสน้ ทัง้ สองชนิดนีเ้ ม่ือนามาจัดวางในลกั ษณะ ต่าง ๆ กัน จะมีช่ือเรียกต่าง ๆ และใหค้ วามหมาย ความรูส้ กึ ท่แี ตกตา่ งกนั อกี ดว้ ย

8 ลกั ษณะของเสน้ 1. เสน้ ตงั้ หรือ เสน้ ดิ่ง ใหค้ วามรูส้ ึกทางความสูง สง่า ม่นั คง แข็งแรง หนกั แน่น เป็นสญั ลกั ษณข์ อง ความช่ือ ตรง 2. เสน้ นอน ใหค้ วามรูส้ กึ ทางความกวา้ ง สงบราบเรยี บ น่งิ ผ่อนคลาย 3. เสน้ เฉียง หรือ เสน้ ทแยงมมุ ใหค้ วามรูส้ กึ เคลือ่ นไหว รวดเรว็ ไมม่ ่นั คง 4. เสน้ หยกั หรือ เสน้ ซิกแซก แบบฟันปลา ใหค้ วามรูส้ ึก คล่ือนไหว อย่างเป็น จังหวะ มีระเบียบ ไม่ ราบเรียบน่ากลวั อนั ตราย ขัดแยง้ ความรุนแรง 4. เสน้ โคง้ แบบคลื่น ใหค้ วามรูส้ ึก เคลื่อนไหว อย่างชา้ ๆ ลืน่ ไหล ตอ่ เน่ือง สภุ าพออ่ นโยน น่มุ นวล 5. เสน้ โคง้ แบบกน้ หอย ใหค้ วามรูส้ ึกเคลื่อนไหว คล่ีคลาย หรือเติบโตในทิศทางท่ีหมนุ วนออกมา ถา้ มองเขา้ ไป จะเหน็ พลงั ความเคล่ือนไหวท่ไี ม่สนิ้ สดุ 6. เสน้ โคง้ วงแคบใหค้ วามรูส้ กึ ถึงพลงั ความเคล่ือนไหวท่ีรุนแรง การเปล่ียนทิศทางท่ีรวดเรว็ ไม่หยุด น่งิ 7. เสน้ ประ ใหค้ วามรูส้ กึ ท่ไี มต่ ่อเน่ือง ขาดหาย ไมช่ ดั เจน ทาใหเ้ กดิ ความเครยี ด ความสาคญั ของเสน้ 1. ใชใ้ นการแบ่งท่วี างออกเป็นสว่ น ๆ 2. กาหนดขอบเขตของท่ีวา่ ง หมายถงึ ทาใหเ้ กิดเป็นรูปรา่ ง (Shape) ขนึ้ มา 3. กาหนดเสน้ รอบนอกของรูปทรง ทาใหม้ องเหน็ รูปทรง (Form) ชดั ขนึ้ 4. ทาหนา้ ท่เี ป็นนา้ หนกั ตอนแก่ของแสดงและเงา หมายถึง การแรเงาดว้ ยเสน้ 5. ใหค้ วามรูส้ กึ ดว้ ยการเป็นแกนหรือโครงสรา้ งของรูป และโครงสรา้ งของภาพ

9 2.2สี สี คอื ลกั ษณะของแสงท่ปี รากฏแก่สายตาใหเ้ ห็นเป็นส่ี (พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน ในทาง วิทยาศาสตรใ์ ห้คาจากัดความของสีว่า เป็นคลื่นแสงหรือความเขม้ ของแสงท่ีสายตาสามารถมองเห็น ในทาง ศิลปะ สีคือ ทศั นธาตุอย่างหนึ่งท่ีเป็นองคป์ ระกอบสาคญั ของงานศิลปะ และใชใ้ นการสรา้ งงาน ศิลปะโดยจะทา ใหผ้ ลงานมีความสวยงาม ช่วยสรา้ งบรรยากาศ มีความสมจรงิ เด่นชดั และน่าสนใจมาก ขึน้ สีเป็นองคป์ ระกอบ สาคัญอย่างหน่ึงของงานศิลปะ และเป็นองคป์ ระกอบท่ีมีอิทธิพลต่อความรูส้ ึก อารมณ์ และจิตใจ ไดม้ าก การใชใ้ นเชิงสญั ลกั ษณ์ • สีขาว แสดงถึงความสะอาด บริสทุ ธิ์ เหมือเด็กแรกเกิด แสดงถึงความว่างเปล่าปราศจากกิเลส ตณั หา เป็น สีลาภรณข์ องผทู้ รงศีล ความเช่ือถือ ความดีงาม ความศรทั ธา และหมายถึงการเกิด โดยท่ีแสงสีขาว เป็นท่ีกาเนิด ของแสงสีต่าง ๆ เป็นความรกั และความหวงั ความห่วงใยเอือ้ อาทร และเสียสละของพอ่ แม่ ความอ่อนโยน จรงิ ใจ บางกรณีอาจหมายถงึ ความออ่ นแอ ยอมแพ้ • สีดา แสดงถึงความมืด ความลึกลบั สิน้ หวงั ความตายเป็นท่ีสิน้ สดุ ของทุกส่ิง โดยท่ีดีทุกสี เม่ืออยู่ ในความ มดี จะเห็นเป็นสดี า นอกจากนยี้ งั หมายถงึ ความช่วั รา้ ย ในครสิ ตศ์ าสนาหมายถึง ซาตาน อาถรรพเ์ วทมนต์ มนต์ คา ไสยศาสตร์ ความชิงชงั ความโหดรา้ ย ทาลายลา้ ง ความลมุ่ หลงเมามวั แตย่ งั หมายถึงความอดทน กลา้ หาญ เขม้ แข็งและเสียสละไดด้ ว้ ย 2.3ค่านา้ หนัก ค่านา้ หนกั คอื คา่ ความอ่อนแก่ของบรเิ วณท่ีถกู แสงสว่าง และบรเิ วณท่เี ป็นเงาของวตั ถุหรือ ความ ออ่ น ความเขม้ ของสหี น่งึ ๆ หรือหลายสี เช่น สีแดง มคี วามเขม้ กวา่ สีชมพู หรือ สีแดงอ่อนกวา่ สีนา้ เงนิ เป็น ตน้ นอกจากนยี้ งั หมายถงึ ระดบั ความเขม้ ของแสงและระดบั ความมืดของเงา ซ่งึ ไอเรียงจากมืดท่สี ดุ (สดี า) ไปจนถึง สว่างท่ีสดุ (สีขาว)นา้ หนกั ท่ีอยู่ระหว่างกลางจะเป็นสีเทา ซ่ึงมีตงั้ แต่เทาแก่ท่ีสุด จนถึงเทาอ่อน ท่ีสดุ การใชค้ ่า นา้ หนกั จะทาใหภ้ าพดเู หมือนจริง และมีความกลมกลืน ถา้ ใชค้ ่านา้ หนกั หลาย ๆ ระดบั จะ ทาใหม้ ีความกลมกลืน มากย่ิงขึน้ และถา้ ใชค้ ่านา้ หนกั จานวนนอ้ ยท่ีแตกต่างกนั มากจะทาใหเ้ กิด ความ

10 แตกต่าง ความขัดแยง้ แสงและ เงา (Light & Shade) เป็นองคป์ ระกอบของศิลป์ ท่ีอยู่คู่กันแสง เม่ือส่อง กระทบ กับวตั ถุ จะทาใหเ้ กิดเงา แสงและ เงา เป็นตวั กาหนดระดับของค่านา้ หนัก ความเขม้ ของเราจะ ขนึ้ อยู่ กบั ความเขม้ ของแสง ในท่ที ่มี ีแสงสว่างมาก เงาจะเขม้ ขึน้ และในท่ีท่มี ีแสงสว่างนอ้ ย เราจะไมช่ ดั เจน ในท่ีท่ีไม่มีแสงสว่าง จะไม่มีเงา และเงาจะอย่ใู นทางตรง ขา้ มกบั แสงเสมอ ค่านา้ หนกั ของแสงและเงานท่ี เกดิ บนวตั ถุ สามารถจาแนกเป็นลกั ษณะท่ี ตา่ ง ๆ ไดด้ งั นี้ 1. บรเิ วณแสงสวา่ งจดั (Hi-light) เป็นบรเิ วณท่ีอยใู่ กลแ้ หลง่ กาเนิดแสงมากท่สี ดุ จะมีความสว่างมาก ท่สี ดุ ในวตั ถทุ ่มี ีผิวมนั วาวจะสะทอ้ นแหลง่ กาเนิดแสงออกมาใหเ้ ห็นไดช้ ดั 2. บรเิ วณแสงสว่าง (Light) เป็นบรเิ วณท่ไี ดร้ บั แสงสว่าง รองลงมาจากบรเิ วณแสงสว่างจดั เน่ืองจาก อย่หู า่ งจากแหลง่ กาเนดิ แสงออกมา และเร่มิ มคี ่านา้ หนกั อ่อน ๆ 3. บรเิ วณเงา (Shade) เป็นบรเิ วณท่ไี มไ่ ดร้ บั แสงสวา่ ง หรอื เป็นบรเิ วณท่ีถกู บดบงั จากแสงสว่าง ซ่งึ จะมีค่า นา้ หนกั เขม้ มากขนึ้ เทา่ บรเิ วณแสงสว่าง 4. บรเิ วณเงานเขม้ จดั (He Shade) เป็นบรเิ วณท่อี ย่หู ่างจากแหลง่ กาเนิดแสงมากท่สี ดุ หรอื เป็น บรเิ วณท่ถี ูก บดบงั มาก ๆ หลาย ๆ ชนั้ จะมคี า่ นา้ หนกั ท่เี ขม้ มากไปจนถึงเขม้ ท่ีสดุ 5. บรเิ วณเงาตกทอด เป็นบรเิ วณของพนื้ หลงั ท่ีเงาของวตั ถทุ าบลงไป เป็นบรเิ วณเงาท่อี ยภู่ ายนอก วตั ถุ และจะมคี วามเขม้ ของค่านา้ หนกั ขนึ้ อย่กู บั ความเขม้ ของเงา นา้ หนกั ของพนื้ หลงั ทิศทางและ ระยะรองเงา ความสาคญั ของคา่ นา้ หนกั • ใหค้ วามแตกตา่ งระหว่างรูปและพนื้ หรอื รูปทรงกบั ท่วี า่ ง • ใหค้ วามรูส้ กึ เคลื่อนไหว • ใหค้ วามรูส้ ึกเป็น 2 มติ ิ แก่รูปรา่ ง และความเป็น 3 มิติแก่รูปทรง • ทาใหเ้ กิดระยะความตืน้ ลกึ และระยะใกล-้ ไกลของภาพ 5. ทาใหเ้ กิดความกลมกลืนประสานกนั

11 2.4พืน้ ผิว พนื้ ผิว หมายถงึ ลกั ษณะของบรเิ วณผวิ หนา้ ของสิ่งตา่ ง ๆ ท่เี ม่ือสมั ผสั แลว้ สามารถรบั รูไ้ ดว้ ่ามี ลกั ษณะ อยา่ งไร คือรูว้ ่า หยาบ ขรุขระ เรยี บ มนั ดา้ น เนียน สาก เป็นตน้ ลกั ษณะท่สี มั ผสั ไดข้ องพนื้ ผวิ มี 2 ประเภท คือพนื้ ผิวท่สี มั ผสั ไดด้ ว้ ยมือ หรือกายสมั ผสั เป็นลกั ษณะพนื้ ผวิ ท่เี ป็นอย่จู รงิ ๆ ของ ผิวหนา้ ของ วสั ดนุ นั้ ๆ ซ่งึ สามารถสมั ผสั ไดจ้ ากงานประตมิ ากรรม งานสถาปัตยกรรมและสิง่ ประดิษฐอ์ ่นื ๆ พนื้ ผวิ ท่ี สมั ผสั ไดด้ ว้ ยสายตา จากการมองเหน็ แต่ไมใ่ ช่ลกั ษณะท่ีแทจ้ รงิ ของผวิ วสั ดนุ นั้ ๆ เชน่ การวาด ภาพกอ้ นหนิ บนกระดาษ จะใหค้ วามรูส้ กึ เป็นกอ้ นหนิ แค่ มือสมั ผสั เป็นกระดาษ หรือใชก้ ระดาษพมิ พ์ ลายไม้ หรือลาย หินอ่อน เพ่ือปะทบั บนผิวหนา้ ของสิง่ ตา่ ง ๆ เป็นตน้ ลกั ษณะเช่นนถี้ ือว่า เป็นการสรา้ ง พนื้ ผิวลวงตา ให้ สมั ผสั ไดด้ ว้ ยการมองเห็นเท่านนั้ พนื้ ผวิ ลกั ษณะต่าง ๆ จะใหค้ วามรูส้ กึ ต่องานศิลปะท่ีแตกตา่ งกนั พืน้ ผิว หยาบจะ ใหค้ วามรูส้ กึ กระตนุ้ ประสาท หนกั แน่น ม่นั คง แข็งแรง ถาวร ในขณะท่ีผิวเรียบ จะใหค้ วามรูส้ ึก เบา สบาย การใชล้ กั ษณะของพนื้ ผวิ ท่ี แตกต่างกนั เห็นไดช้ ดั เจนจากงานประติมากรรม และมากท่สี ดุ ใน งานสถาปัตยกรรมซง่ึ มกี ารรวมเอาลกั ษณะ ต่าง ๆ กนั ของพนื้ ผิววสั ดหุ ลาย ๆ อย่าง เช่น อฐิ ไม้ โลหะ กระจก คอนกรีต หนิ ซ่งึ มคี วามขดั แยง้ กนั แตส่ ถาปนกิ ไดน้ ามาผสมกลมกลืนไดอ้ ย่างเหมาะสม ลงตวั จน เกดิ ความสวยงาน อา้ งอิง ชลดู น่มิ เสมอ. (2534), องคป์ ระกอบศลิ ปะ, กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์ 3 รูปแบบของงานวจิ ติ รศิลป์ 3.1ศลิ ปะแบบเหมอื นจรงิ (Realistic) เป็นศิลปะท่ีไมต่ อ้ งใชค้ วามคิดท่ี สลบั ซบั ซอ้ นในการดภู าพ เน่ืองจากมเี นอื้ หาสาระท่ปี รากฏชดั เจน แตศ่ ิลปินและผชู้ มตอ้ งมีความรูใ้ นเร่ืองนนั้ ๆ ดว้ ย การ พิจารณาก็ดู ท่คี วามงามท่เี หมือนจรงิ ความถกู ตอ้ งตามหลกั การเหมือนจรงิ เนอื้ หาสาระท่เี ป็น ความจรงิ มีอารมณแ์ ละ ใหค้ วามรูส้ ึก เช่น การแสดงออกถึงความสุข ความทุกข์ ความกังวล ความสดช่ืน ฯลฯ เป็นตน้ ผูด้ ูไม่ จาเป็นตอ้ งสรา้ งจินตนาการกส็ ามารถเขา้ ใจในความงามนนั้ ๆ ได้

12 3.2ศิลปะกึ่งนามธรรม (Semi Abstract) เป็นศิลปะท่ีเร่ิมบิดเบือนไปจากศิลปะแบบเหมือนจริง ดว้ ย การตดั ทอนรูปทรงของจริงใหอ้ ยใู่ นรูปแบบ เรียบง่าย แต่ยงั มีเคา้ โครงท่ีเหมือนจริงหลงเหลืออยใู่ หร้ ู้วา่ เป็น รูปอะไร การสร้างศิลปะก่ึงนามธรรมน้ี จะตอ้ งมีจินตนาการในการสร้างสรรคง์ านเพ่อื ใหผ้ ลงานมีรูปแบบท่ี แลดูแปลก น่าสนใจ รวมท้งั ให้ อารมณ์และความรู้สึกไมจ่ าเจท้งั เน้ือเร่ืองและรูปแบบจะไม่ชดั เจนเหมือน ศิลปะแบบเหมือนจริง ดงั น้นั ผชู้ มงานศิลปะประเภทน้ีจาเป็นจะตอ้ งมีความรู้ความเขา้ ใจในลกั ษณะงาน แบบก่ึงนามธรรม ดว้ ยคุณค่าของงานจะเนน้ โครงสร้างองคป์ ระกอบสีที่แปลกน่าสนใจ ต่ืนเตน้ และ แนวความคิดหลายดา้ นหลายทางท่ีผชู้ มตอ้ งจินตนาการดว้ ย 3.3 ศิลปะแบบนามธรรม (Abstract)เป็นศิลปะทีไมม่ ีรูปของความจริงเหลืออยู่ เพราะถูกตดั ทอนให้ เหลือแตเ่ สน้ -แสงท่ีก่อใหเ้ กิดความงามอารมณ์และความรู้สึก ศิลปิ นตอ้ งใชจ้ ินตนาการสูง คอื จินตนาการให้ เป็นภาพหรือรูปทรงท่ีประหลาด ท่ีคนทวั่ ไปคาดไมถ่ ึง เป็นความคดิ เพอ้ ฝัน รูปแบบของงานจะถูกตดั ทอน จากภาพเหมือนจริงจนดูเรียบงา่ ยหรือบางคร้ังดูสับสนจนยากท่ีจะเขา้ ใจศิลปะนามธรรมไม่ใช่ศิลปะที่ไมม่ ี เน้ือหาแต่เน้ือหาสาระไดแ้ สดงออกในรูปแบบนามธรรม คอื รูปร่าง รูปทรง เสน้ แสง สี จึงยากท่ีจะเขา้ ใจ ศิลปิ นตอ้ งมี ความรู้ความเขา้ ใจในเรื่องน้ีเป็นอยา่ งดี จึงจะสามารถสร้างผลงานออกมาได้ โดยเฉพาะ เสน้ แสง สี ท่ีสร้างความรู้สึกไดห้ ลายรูปแบบ เช่น ความหนาว ความร้อน ความสดช่ืน ความน่ากลวั ฯลฯศิลปะ ไม่จาเป็นจะตอ้ งแสดงออกเป็นภาพเหมือนจรงิ เสมอไปก็ได้ 3.4ศิลปะแบบ (Cubism) นนั้ เกิดจากการท่ี ศิลปินไปเปลีย่ นแปลงโครงสรา้ ง ทางศลิ ปะท่ีต่างออกไป จากแบบเก่าโดยสิน้ เชิง Cubism นั้น ยากแก่การให้ คาจากัดความ มันไม่ใช่ทฤษฎี ระบบ หรือ แมแ้ ต่ รูปแบบอะไรเพียงแบบเดียว หากแต่ว่า ศิลปิน คิวบิสตไ์ ดพ้ ยายามคน้ ควา้ จากแนวทาง ในการ สรา้ งสรรค์ งานศิลปะ ท่ีแสดงใหเ้ ห็นวัตถุธาตุ ดยใหร้ ูส้ ึกดว้ ยว่าภาพนนั้ ๆ ถูกสรา้ งขึน้ ดว้ ยสีบนผืน ผา้ ใบ ไม่ใช่แค่เพียงทาเลียนแบบวัตถุ ใหต้ าเห็นเป็นจริงอย่างธรรมชาติ แต่กระนนั้ งานศิลปะ Cubism ก็ไม่ใช่ ศิลปะนามธรรมโดยแท้ ทั้งนี้เพราะมันยังมี เนื้อหาเรื่องราวในภาพอยู่ หากแต่ว่าสนใจ เข้มงวดท่ี คุณลักษณะของวัตถุ โดยเฉพาะอย่างย่ิงคุณสมบัติทางมวลหมู่ รูปทรงท่ีเราเห็นได้ ด้วยปัญญา ดงั นนั้ Cubism จงึ เป็นศิลปะท่พี ยายามเช่อื มโยงทงั้ ความคดิ และสายตา เขา้ ดว้ ยกัน อา้ งองิ สกนธ์ ภงู ามด.ี (2545), จติ วทิ ยากบั การออกแบบ

13 4.ข้อมลู งานวจิ ยั บคุ คลอืน่ 4.1 หวั ขอ้ วจิ ยั : การสรา้ งสรรคภ์ าพพมิ พเ์ ร่ือง ความทรงจาในวิถีชีวติ ชนบทอสี าน ผดู้ าเนินการวจิ ยั : พรสวรรค์ นนทะภา หน่วยงาน : สาขาวชิ าวจิ ติ รศิลป์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม ปี พ.ศ. : 2552 บทคดั ยอ่ การวิจัยครง้ั นีม้ ีวัตถุประสงคด์ งั นี้ 1) เพ่ือศึกษาแนวทางในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานภาพพิมพ์ เร่ือง ความทรงจาใน วิถีชีวิตชนบทอีสาน 2) เพ่ือสรา้ งสรรคแ์ ละศึกษากระบวนการเทคนิคภาพพิมพ์ วสั ดปุ ะติด กระดาษทรายเพ่ือให้ ไดผ้ ลทางทัศนธาตุท่ีมีความสอดคลอ้ งกับรูปแบบและแนวความคิด ผลการวิจัย พบว่าผลงานศิลปะภาพพมิ พ์ เร่ือง ความทรงจาในวิถีชีวิตชนบทติงาน มีวิธีการสรา้ งสรรคโ์ ดยศกึ ษาความ งามในเร่ืองพืน้ ผิว เสน้ รูปทรงตาม เนือ้ หาเรื่องราวในวิถีการดาเนินชีวิต ของผคู้ นในชนบท ท่ีอดุ มดว้ ยพืช พนั ธุ์ธัญญาหาร เคร่ืองมือเครื่องใชต้ าม แบบวิถี ซ่ึงนามาจัดทาใหเ้ ป็น องคป์ ระกอบตามจินตนาการใน รูปแบบก่ึงนามธรรม ด้วยการร่างภาพต้นแบบบน กระดาษและ ลอกลายลงบนแม่พิมพ์และสรา้ ง กระบวนการตามขนั้ ตอนของการท าแม่พิมพด์ ว้ ยกระดาษทราย เบอร์ 150 จากผลการศกึ ษาเทคนิคภาพ พิมพว์ สั ดปุ ะติดกระดาษทราย เพ่ือใหไ้ ดผ้ ลทางทศั นธาตุท่ี สมั พนั ธก์ บั รูปแบบและแนวคิด พบว่าเทคนิค วิธีการใชก้ ระดาษทรายสามารถสรา้ งรูปทรง เสน้ นา้ หนกั พืน้ ผิวของทศั นธาตุ ใหเ้ กิดความรูส้ ึกหนักแน่น กลมกลืนกัน บ่งบอกถึงร่องรอยท่ีเกิดขึน้ ในภาพความทรงจาในวิถีชีวิตชนบทและผล ทงั้ หมดก็สามารถ ถ่ายทอดรูปแบบเชิงสญั ลกั ษณก์ ่ึงนามธรรมไดซ้ ่ึงแทน ค่าความรูส้ ึกความอดุ มสมบูรณ์ การ เจริญเติบโต รองพชื พนั ธุใ์ นความทรงจาในวิถีชนบท

14 4.2 หวั ขอ้ วิจยั : การสรา้ งงานศลิ ปะภาพพมิ พค์ รงั้ เดียวโดยใชแ้ ผ่นพลาสติกรองพนื้ ดาเนนิ การวจิ ยั : แสงอนิ ทร์ หน่วยงาน : คณะวจิ ติ รศิลป์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ บทคดั ยอ่ การศึกษาวิจยั ภาพองคป์ ระกอบศิลป์ : กรณีศกึ ษาเทคนิคการสรา้ งงานศิลปะภาพพิมพค์ รง้ั เดียวโดย ใช้ แผ่นพลาสติกรองพืน้ เป็นการศึกษาวิจัยและพัฒนาสรา้ งสรรคผ์ ลงานดา้ นทศั นศิลป์ ประเภทผลงาน ศิลปะภาพ พิมพ์ เทคนิคภาพพิมพค์ รง้ั เดียว (Monoprint) โดยใชแ้ ผ่นพลาสติกท่ีมีความหนาของพืน้ เพ่ือ จดั วางเศษวสั ดตุ ่าง ๆ ท่ีนามาพิมพภ์ าพ รวมทงั้ สรา้ งลกั ษณะพืน้ ผิวสีเพ่ือใชเ้ ป็นสีพืน้ หลงั ภาพ และนาไป พิมพด์ ว้ ยแท่นพิมพภ์ าพ ชนิดมือหมนุ การใชแ้ ผ่นพลาสติกรองพืน้ เพ่ือสรา้ งผลงานศิลปะภาพพิมพ์ครง้ั เดียว สามารถพัฒนาเทคนิค และ วิธีการสรา้ งงานไดอ้ ย่างหลากหลาย ระนาบวสั ดุท่ีใชพ้ ิมพภ์ าพ มีทงั้ กระดาษและผา้ ใบ วัสดุท่ีนามาพิมพเ์ ป็น ภาพ ไดแ้ ก่ วัสดธุ รรมชาติวสั ดผุ ลิตภณั ฑส์ ิ่งของ ภาพลวดลาย ตน้ แบบตัดฉลหุ นังเทียม ภาพตน้ แบบตัดฉลุ กระดาษการด์ แข็งลวดลายศิลปะไทย และรูปแบบอิทธิพล ศิลปะขอมการพิมพภ์ าพส่วนมากจะใชว้ ิธีการท่ี หลากหลาย และใชว้ ัสดหุ ลายชนิดพิมพใ์ นภาพเดียวกนั วสั ดชุ ิน้ ท่ผี ่านการพิมพไ์ ปแลว้ นนั้ สามารถนามาพมิ พ์ ไดอ้ กี เพราะมีสีเหลือติดอยู่ การนาวสั ดมุ ากลงิ้ สีใหม่ หรือการกลบั ดา้ นวสั ดทุ ่ีใชเ้ ป็นแม่พิมพร์ วมถึงการจดั วาง วสั ดเุ พ่ิมเติมบางสว่ น หรือการสบั เปล่ียนการจัด วางการยา้ ยตาแหน่งวสั ดใุ นภาพใหแ้ ตกต่างกนั เพียงเล็กนอ้ ย สามารถสรา้ งสรรคผ์ ลงานภาพท่ีต่อเน่ืองกัน ออกมาเป็นภาพชุดได้ ผลงานท่ีมีรูปแบบเด่นชัด สามารถนาไปเป็น แนวทางการสรา้ งสรรค์ ทั้งด้าน การศึกษาศิลปะโดยตรง หรือจะผลิตเป็นสินคา้ ส่ิงของท่ีระลึก ไดแ้ ก่ ลวดลาย รูปแบบศิลปะไทย และ ลวดลายรูปแบบอิทธิพลศิลปะเขมร ซ่ึงปรากฏอยู่ตามปราสาทเขมร ณ สถานท่ีต่าง ๆ ใน จังหวัดภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ตอนลา่ งของไทย เพราะเป็นภาพท่ีสามารถสอ่ื สารรบั รูก้ นั ไดง้ า่ ยท่วั ไป ขอ้ มลู เกี่ยวขอ้ งกบั การสรา้ งสรรคผ์ ลงานภาพพิมพบ์ นั ทึกประจาวนั หมายถึง การเขียนหรือวาดภาพ เรื่องราวส่วนตัวหรือเหตกุ ารณท์ ่ีเกิดขึน้ ใน ชีวิตประจาวัน เพ่ือเตือนความจา หรือบรรยายความรูส้ ึกหรือ ความคิดเห็นต่อสิ่งท่ไี ดว้ าดภาพบนั ทกึ ประจาวนั อาจเป็นการวาดภาพบนั ทกึ กิจกรรมต่าง ๆ ท่คี ณุ ทา่ ในแต่ ละวนั การรวบรวมความคิดอนั ลึกซงึ้ เกินบรรยาย หรือ อาจเป็นหวั ขอ้ วิจยั : การสรา้ งงานศิลปะภาพพิมพ์ ครง้ั เดยี วโดยใชแ้ ผ่นพลาสติกรองพนื้

15 บทที่ 3 วิธีการดาเนินการศึกษาคน้ คว้า จากการศกึ ษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ท่เี กี่ยวขอ้ งทาใหผ้ วู้ จิ ยั พบว่ากระบวนการออกแบบและ การผลิตตน้ แบบเหมือนจริงของวิจยั ในครง้ั นีจ้ าเป็นตอ้ งดาเนินงานตามวัตถุประสงคภ์ ายใตส้ มมตุ ิฐานท่ี กาหนดไว้ ซง่ึ กาหนดตามแผนของระบบงานวิจยั เป็น 4 ขนั้ ตอนหลกั คอื ขนั้ ตอนการวางแผนก่อนการผลิต ขนั้ ตอนการกาหนดแบบรา่ งทางความคิด ขนั้ ตอนการพฒั นาและการผลิต 1.หลกั การผลติ 1.1 กาหนดสมมตุ ฐิ าน 1.2 ศกึ ษารวบรวมขอ้ มลู จากเอกสาร 1.3 การศกึ ษาจากกรณีศกึ ษา 2. การกาาหนดแบบร่างทางความคิด การพัฒนาแบบตามวัตถุประสงคแ์ ละสมมุตฐิ าน 2.1 การออกแบบโครงสรา้ งโดยออกแบบแนวความคิด 2.2. ภาพแบบรา่ งทางความคดิ โดยออกแบบตามแนวความคิดท่ีวางไว้ 2.3 การปรบั ปรุงแกไ้ ขแบบจนไดร้ ูปแบบท่ถี ูกตอ้ งและเหมาะสม 3.ขนั้ ตอนการพัฒนาการผลติ งาน 3.1 วสั ดแุ ละปกรณ์ 3.2 ขนั้ ตอนของวธิ ีผลติ ตามวตั ถปุ ระสงคแ์ ละสมมติฐานท่กี าหนด 4 ขน้ั ตอนหลังการผลติ งาน 4.1 นาเสนอผลงานศิลปะนพิ นธส์ สาธารณชน 4.2 การวเิ คราะหแ์ ละสรุปผลงาน 5. ประชาการในการวิจยั 5.1 สวนสาธารณะ สถานท่ตี ่าง ๆ กรุงเทพมหานคร 5.2 จดั ทาเอกสารรูปเลน่ รวมงานสรุปผลการวจิ ยั 6. เคร่ืองมือในการวิจัย 6.1 โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ เครอื่ งมอื ในการรา่ งภาพ 6.2 แบบสอบถามความพ่งึ พอใจ

16 7. ระยะเวลาในการเก็บขอ้ มลู 7.1มกราคม-31มีนาคม 2566 ข้ันตอนการวางแผนก่อนการผลิต การสรา้ งสรรคภ์ าพพิมพแ์ กะไม้ ชดุ บนั ทกึ ประจาวนั ส่วนตวั ของผม จานวน 11 ชิน้ มีกระการศกึ ษา ดงั ต่อไปนี้ • การกาาหนดสมมตุ ิฐานการกาหนดสมมุติฐาน จากการทบทวนทฤษฎีท่ีเกี่ยวขอ้ งเพ่ือนามา กาหนดเป็นประเด็นต่าง ๆ เพ่ือทาใหผ้ ูว้ ิจยั ศึกษาการสรา้ งสรรคภ์ าพพิมพแ์ กะไม้ ชุดบนั ทึก ประจาวันส่วนตวั ของผม ถูกออกแบบใหด้ สู ดใสและเพิ่มความน่าสน ใจใหก้ บั งานภาพพิมพ์ แกะไมม้ ากย่ิงขึน้ โดยการนาเรื่องราว บนั ทึกประจาวนั ส่วนตวั ของผม มาสรา้ งสรรคผ์ ลงานใน รูปแบบ ภาพพิมพแ์ กะไม้ แบบนามมาธรรม เพ่ือท่ีจะนามาพฒั นาใหง้ านศิลป์ อยู่ในรูปแบบ เฉพาะของผวู้ จิ ยั • การศกึ ษารวบรวมขอ้ มลู จากเอกสาร ดว้ ยการรวบรวมขอ้ มมูลจากเอกสารในรูปแบบ ต่าง ๆ ทงั้ ท่ีเป็นขอ้ มลู จากหนังสือ เว็บไซตท์ ่ี เกี่ยวกบั การสรา้ งสรรคแ์ บง่ ขอ้ มลู การศกึ ษาดงั นี้ - ภาพพิมพแ์ กะไม้ - องคป์ ระกอบศลิ ป์ - ขอ้ มลู บนั ทกึ ประจาวนั สว่ นตวั ของผม - เอกสารท่เี กี่ยวขอ้ งกบั งานวจิ ยั • การศกึ ษาตวั อย่างจากกรณีศกึ ษา เป็นการศกึ ษางานออกแบบองคป์ ระก่อบต่างๆ เพ่ือท่ีจะนาไปพฒั นาและนาเทคนิคต่าง ๆมา ใชใ้ นงานภาพพิมพแ์ กะไม้ การกาหนดแบบร่างทางความคิด การพฒั นาแบบตามวตั ถปุ ระสงคแ์ ละสมมติฐานการสรา้ งสรรคภ์ าพพมิ พช์ ุดบนั ทกึ ประจาวนั ส่วนตวั ของผมเป็นการแกะไมใ้ หเ้ ป็นราวในแต่ละวันของผมในรูปแบบนามมาธรรม เพ่ือวิเคราะหก์ ระบวนการ ออกแบบรูปแบบลวดลายออกมาในรูปแบบนามมาธรรมวสั ดทุ ่ีทาใหง้ านภาพพิมพส์ มบูรณแ์ ละใหผ้ ูค้ นท่ี

17 สนใจจานวน 11 ชิน้ โดยสรา้ งสรรคง์ านภาพพิมพต์ ามแนวความคิดท่ีวางแผนไวพ้ รอ้ มวิเคราะหแ์ บบและ แกไ้ ขในสว่ นท่ไี มเ่ หมาะสม • การออกแบบโครงสรา้ งโดยออกแบบแนวความคิด จากการศึกษาท่ีพบจึงมีความคิดท่ีพฒั นาเพ่ือเพ่ิมคณุ ค่าการภาพ พิมพโ์ ดยไดแ้ รงบนั ดาลใจ จาก บนั ทกึ ประจาวนั สว่ นตวั ของผม สรา้ งสรรคใ์ หน้ า่ สนใจมากขนึ้ โดยการสรา้ งสรรคข์ นึ้ มาในแบบ นา - มาธรรม • ภาพแบบรา่ งทางความคิดโดยออกแบบตามแนวความคิดท่วี างไว้ ภาพแบบรา่ งทางความคิดโดยออกแบบตามแนวความคิดท่ีวางไวม้ ี ขอ้ มลู ต่าง ๆ ดงั นีค้ ือการ สรา้ งสรรคง์ านภาพพิมพ์ ชดุ บนั ทกึ ประจ าวนั สว่ นตวั ของ ผม • การปรบั ปรุงแกไ้ ขแบบจนไดร้ ูปแบบท่ถี กู ตอ้ งและเหมาะสม จากการทา Sketch หลายแบบ ทาใหส้ ามารถปรบั เปล่ียนรูปแบบการสรา้ งสรรค์ ภาพพิมพ์ แกะไม้ เป็นรูปแบบท่วี างตามท่ีกาหนดไวต้ ามสมมติฐาน ขน้ั ตอนการพัฒนาและการผลิตผลงาน • วสั ดแุ ละอปุ กรณ์ เป็นการเตรียมวัสดุและอุปกรณ์ ในการทาตามสมมติฐานท่ีว่างไวซ้ ่ึงอุปกรณแ์ ต่ละอย่างมี ขอ้ มลู และมีประโยชนเ์ พ่อื ความสะดวกต่อการสรา้ งสรรคใ์ นรูปแบบเฉพาะของผวู้ ิจยั • ผลิตผลงานจรงิ ตามวตั ถปุ ระสงคแ์ ละสมมติฐานท่ไี ดก้ าหนดไว้ เขา้ สู่กระบวนการผลิตผลงานจริงโดยการสรา้ งสรรคง์ านภาพพิมพแ์ ละต่อยอดใหต้ รงตาม สมมตฐิ านท่กี าหนดไว้

18 ขั้นตอนหลังการผลิตผลงาน • นาเสนอผลงานศลิ ปะนิพนธส์ สู่ าธารณชน ทาการติดตงั้ ผลงานในสถานท่ีท่ไี ดก้ าหนดนาผลงานท่เี สรจ็ สมบรู ณไ์ ปในสถานท่ีท่ผี สู้ รา้ งสรรค์ ตอ้ งการนาไปติดตงั้ ซ่ึงผลงานท่ีไดต้ รงตาม Concept โดยตัวงานท่ีไดส้ รา้ งสรรคส์ ามารถต่อ ยอดไดต้ ามตอ้ งการ • การวิเคราะหแ์ ละสรุปผลงาน ขนั้ ตอนสุดทา้ ยเพ่ือสรุปผลงานทงั้ หมดท่ีผูว้ ิจัยไดส้ รา้ งสรรคอ์ อกมาและวิเคราะหว์ ่ามีความ สอดคลอ้ งกบั สมมติฐานและวตั ถปุ ระสงคห์ รอื ไม่พรอ้ มขอ้ เสนอ และอ่นื ๆ ท่ผี วู้ ิจยั ไดจ้ ากการทาการวิจยั ครง้ั นี้ ประชากรในการวจิ ัย • กลมุ่ เปา้ หมายท่มี าความช่ืนชอบและสนใจในงานภาพพิมพ์ • การออกแบบลวดดลายภาพพิมพแ์ กะไม้ เพ่ือกลมุ่ เปา้ หมายท่ีสนใจในรูปแบบภาพพิมพ์ นาม มาธรรม เครือ่ งมือในการวจิ ัย • โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ - โปรแกรม Microsoft office 2010 ใชใ้ นการพิมพเ์ นอื้ หาของผวู้ ิจยั 6.1.2 - โปรแกรม Adobe photoshop cs6 ใชใ้ นการแตง่ ภาพผลงานเพ่ือจดั • แบบสอบถามในการลงพนื้ ท่ี • แบบสอบถามความพ่งึ พอใจ • เคร่ืองมือในการรา่ งภาพ และแกะไม้ ระยะเวลาในการเกบ็ ข้อมูล แบง่ เป็น 4 ขนั้ ตอนคือขนั้ ตอนการวางแผนก่อนการผลติ กาหนดแบ่งรางทางความ การพฒั นาแบบตามวตั ถุประสงคแ์ ละสมมติฐานขนั้ ตอน การพฒั นาและการผลติ รวม ไปถึงขนั้ ตอนหลงั การผลิตโดยใชเ้ วลาทงั้ สิน้ จานวน 3เดือน เร่มิ 1 มกราคม - 31มีนาคม 2566

19 ตรารางแสดงระยะเวลาในการเกบ็ ขอ้ มูล หมายเหตุ ระยะเวลา กจิ จกกรรม/ข้นั ตอนการวิจยั 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1.การออกแบบการศึกษาขอ้ มูล รา่ งแบบ (Pre-production) 2.การออกแบและพัฒนาการ ผลติ (Production) 3.หลังการผลิตการตรวจสอบ- ทดสอบ (Post production) 4.การเขยี นรายงานสรุปผลงาน 5.การนาเสนอและการเผยแพร่ ตารางท่ี 3.1ตรารางแสดงระยะเวลาในการเกบ็ ขอ้ มลู ท่มี า : (สมบตั ิ สถาผล 22/03/2566) เม่ือมีการวางแผนการดาเนินการวิจยั ในเรื่องต่อไปเป็นขนั้ ตอนการวิเคราะห์ ขอ้ มลู จากการสมั ภาษณ์ ผูเ้ ช่ียวชาญ จากกรณีศึกษาและวิธีการดาเนินงาน วิจัยท่ีมีรายละเอียด แยกย่อยลงไปอีก ดังท่ีผูว้ ิจยั จะ กลา่ วตอ่ ไปใน บทท่ี 4คอื การวิเคราะหข์ อ้ มลู

20 บทที่ 4 การวเิ คราะหข์ ้อมูล จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ท่ีเก่ียวขอ้ งทาใหพ้ บว่ากระบวนการออกแบบ และ การ ผลิตตน้ แบบเหมือนจริงของการวิจยั ในครง้ั นี้ จาเป็นตอ้ งดาเนินงานตามวตั ถุประสงคภ์ ายใต้ สมมติฐานท่ี กาหนดไว้ ซ่งึ กาหนดตามแผนของระบบงานวจิ ยั เป็น 4 ขนั้ ตอนหลกั คอื ขนั้ ตอน การ วางแผนกอ่ นการผลิต ขนั้ ตอนการกาหนดแบบร่างทางความคิด ขนั้ ตอนการพฒั นาและการผลิต รวมไปถึงขนั้ ตอน ตอนหลงั การ ผลิตโดยมีรายละเอียดดงั นี้ 1. ข้นั ตอนการวางแผนกอ่ นการผลิตงาน (Pre-Production Stage) 1.1 กาหนดสมมติฐาน(All The Assumptions) 1.2 ศกึ ษารวบรวมขอ้ มลู จากเอกสาร (Documentary Research) 1.3 การศกึ ษาจากกรณีศกึ ษา (Case Study) 1.4 การลงพนื้ ท่จี รงิ เพ่อื เกบ็ ขอ้ มลู ในการออกแบบ ลวดลาย Into The Prepository) 1.5 ภาพท่ีเป็นแรงบนั ดาลใจในการออกแบบ (Inspired the Design Division) 2. การกาหนดแบบร่างทางความคดิ การพฒั นาแบบตามวัตถปุ ระสงคแ์ ละสมมตฐิ าน 2.1 การออกแบบโครงสรา้ งโดยออกแบบแนวคิด (Idea sketch) 2.2 ภาพแบบรา่ งทางความคิดโดยออกแบบตามแนวคิดท่วี างไว้ (Concept sketch) 2.3 การปรบั ปรุงแกไ้ ขแบบจนไดร้ ูปแบบท่ีถูกตอ้ งและเหมาะสม (Working Drawing) 3. ขั้นตอนการพัฒนาและการผลิตผลงาน (Development and Production Stage) 3.1 เตรยี มในการออกแบบ 3.2 ขนั้ ตอนการออกแบบลวดลายตามวตั ถปุ ระสงคแ์ ละสมมติฐานท่ีกาหนด 4. ขนั้ ตอนหลังการผลิตผลงาน (Post Production Stage) 4.1 นาเสนอผลงานศิลปะนทิ น สาธารณชน 4.2 การตรวจสอบ ทดสอบและสารวจความคดิ เหน็ เกี่ยวกบั ผลงาน 4.3 การวเิ คราะหแ์ ละสรุปผลงาน

21 1. ขัน้ ตอนการวางแผนก่อนการผลติ งาน (Pre-Production Stage) ในการออกแบบลวดลายภาพพิมพ์แกะไม้ ดังต่อไปนี้ ชุด : บันทึกประจาวันส่วนตัวของผมมี กระบวนการศกึ ษาเเละการออกเเบบ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1.1 กาหนดสมมติฐาน การกาหนดสมมติฐาน (Hypothesis) จากการทบทวนทฤษฎีท่ีเกี่ยวขอ้ ง เพ่ือนามา กาหนดเป็นประเด็นของปัญหาในการออกแบบลวดลายภาพพิมพแ์ กะไม:้ ชุดสังคมเมืองเพ่ือออกแบบ ลวดลายอย่างสรา้ งสรรค์ นามาผสมผสาน ลงบนผลิตภณั ฑข์ องท่ีระลกึ เพ่ือตอบสนองความตอ้ งการ ของ ผบู้ รโิ ภคและดงึ ดดู ความสนใจเพ่อื ผลติ ตน้ แบบเหมอื นจรงิ (PROTOTYPE) ลงบนผลติ ภณั ฑ์ 1.1.1 แสดงขนั้ ตอนการวางแผนการทางานในการออกแบบลวดลายภาพพิมพแ์ กะ ไม้ : ชุดบนั ทึก ประจาวนั สว่ นตวั ของผม ตารางท่ี 4.1 ขนั้ ตอนการวางแผนก่อนการผลิตงาน Figure and Ground Ground ศกึ ษาคน้ ควา้ ขอ้ มลู (Study) แบบรา่ งแนวความคิด ผลิตชิน้ งาน (Working) ตน้ แบบ (Artwork) การออกแบบลวดลายภาพพิมพแ์ กะไม้ ประเมนิ และทดสอบ : ชดุ บนั ทกึ ประจาวนั ส่วนตวั ของผม แผนผงั ท่ี 4.1 ขนั้ ตอนการวางแผนกอ่ นการผลิตงาน ท่มี า : (สมบตั ิ สถาผล 22/03/2566)

22 1.2 การศกึ ษารวบรวมข้อมลู จากเอกสาร (Documentary Research) ดว้ ยการรวบรวมขอ้ มูลจาก เอกสารในรูปแบบตา่ งๆ ทัง้ ทเ่ี ป็ นข้อมูลจากหนังสือ จากเว็บไซตท์ ่เี ก่ียวขอ้ งกบั การออกแบบโดยแบง่ ขอ้ มลู การศกึ ษาดงั นี้ 1.2.1 การออกแบบทางทศั นศลิ ป์ (The Visual Design) 1.2.2 กาออกแบบผลิตภณั ฑ์ (Product Design) 1.2.3 การออกแบบลวดลาย (Pattern Design) 1.2.4 งานวจิ ยั ท่เี ก่ียวขอ้ ง (Related Research) 1.3 การศึกษาตัวอยา่ งจากกรณศี ึกษา (Case Study) เป็นการศกึ ษางานออกแบบลวดลายต่าง ๆ เพ่อื ท่จี ะนาไปพฒั นาและนาเทคนิคต่างๆ มา ประยกุ ตใ์ ชใ้ น การออกแบบ เช่น เรื่องการออกแบบลวดลายผลิตภณั ฑ์ รูปแบบ รูปทรง ขนาดสดั ส่วน ของลวดลายเพ่ือ นามาสรุปเป็นแนวทางการออกแบบดงั ตอ่ ไปนี้

23 กรณีศึกษาที่ 1 ภาพท่ี 4.2 ภาพกรณีศกึ ษาแบบท่ี 1 ชื่อผลงาน: ผหู้ ญิงรอ้ งไห้ ศลิ ปิน Pablo Picasso ทม่ี า : (https://thematter.co/thinkers/tears-in-art/77600 04/05/2566) วิเคราะหแ์ บบ : ลวดลายและองคป์ ระกอบ ของศิลป์ ท่ีนามาใชใ้ นผลงานแต่ละชิน้ มีความแตกต่างจาก งานศลิ ปะท่ีเราพบเห็นท่วั ไป Pablo Picasso นาเอาเทครูปทรงตา่ งๆ เช่น สามเหลี่ยม สเี หลยี ม เป็นตรง มา ใชใ้ นผลงาน ซงึ ผลของ Pablo Picasso จะออกมาไม่เหมอื นภาพจรงิ จะออกมาในรูปแบบนามธรรม ข้อดี ข้อด้อย สง่ิ ทนี่ ามาใช้ องคป์ ระก่อบ รูปทรง ลายเสน้ ลวดลายของเสน้ ท่ีรูปแบบท่ี - เรยี บง่าย โดดเดน่ ไมซ่ า้ ใคร ตารางท่ี 4.3 การวเิ คราะหล์ วดลายของ ศิลปิน Pablo Picasso

24 กรณศี ึกษาท่ี 2 ภาพที่ 4.4 ภาพกรณีศกึ ษาแบบท่ี 2 ชื่อผลงาน : หนา้ กากหมายเลข 11 ศลิ ปิน ทวี รชั นีกร ทม่ี า : ( http://www.barameeofart.com/product.php?artist_s=2&lang= 04/05/2566 ) วิเคราะห์แบบ : ผลงานของ อาจารย์ ทวี รัชนีกร ชิน้ งานมีความเจนจัดในการใช้ เส้น สี รูปทรง องคป์ ระกอบโดยเฉพาะสที ่ีมีความ สดสว่าง อนั เปรียบเสมอื นบรรยากาศของประเทศเมืองรอ้ นของเรา ข้อดี ข้อดอ้ ย ส่งิ ทนี่ ามาใช้ ชิน้ งานมีความเจนจดั ในการ ภาพท่ีอาจไม่สวยงาม แต่ว่า นาเอาแนวความคิด สรา้ งสรรค์ และมัก ใ ช้ เ ส้ น สี รู ป ท ร ง มีความงดงาม ในดา้ นสาระ สะท้อนผลงานผ่านเรื่องราวสาคัญใน องคป์ ระกอบ เร่ืองราวท่ีถูกผนึกรวมอยู่ใน ช่วงเวลาต่างๆ ซ่ึงศิลปิ นท่านนี้ได้นา ตวั ชนิ้ งานศิลปะ เร่ืองราวต่างๆมาบันทึกโดยสร้างสรรค์ เป็นงานศิลปะท่ีมีความโดดเด่นเฉพาะตวั ตารางท่ี 4.5 การวิเคราะหล์ วดลายของ ศิลปิน ทวี รชั นีกร

25 กรณศี กึ ษาที่ 3 ภาพที่ 4.6 ภาพกรณีศกึ ษาแบบท่ี 3 ชื่อผลงาน : ยามเชา้ ศลิ ปิน : ประหยดั พงษด์ า ทม่ี า : ( https://cultandtrace.blogspot.com/2012/02/blog-post.html?m=1 04/05/2566 ) วิเคราะหแ์ บบ : งานภาพพมิ พแ์ กะไมข้ องประหยดั เขา้ ถึงความสมบูรณล์ งตวั ทงั้ ในกลวธิ ีการพมิ พด์ ว้ ย แม่พมิ พไ์ ม้ ซ่งึ ใหค้ วามรูส้ กึ ดิบซอื่ จรงิ ใจ และเรียบง่าย เหมาะกบั เนอื้ หาท่เี ป็นวิถีชีวติ ของชาวบา้ น และ รูปแบบท่ลี ดทอนความสมจรงิ เหลือเพียงรูปทรงในอดุ มคติท่เี รยี บง่าย เรียกไดว้ ่าประจวบเหมาะทงั้ กลวิธี เนอื้ หา และรูปแบบ ขอ้ ดี ขอ้ ดอ้ ย สิง่ ทน่ี ามาใช้ ความเด่นชัดของเส้นและ - นาเอาเทคนิคการจัดองค์ประกอบอย่าง ขอบท่ีคม สรา้ งนา้ หนักอ่อน เรียบง่าย คือวางรูปทรงประธานอยู่กลาง เข้มและมิติบรรยากาศทีมี ภาพ โดยมีบรรยากาศท่ีก่ออารมณ์สถิต ความน่าสนใจ นา่ คนหา น่ิง อย่าง ใดอย่าง หน่ึง อยู่เบื้องหลัง โดยมากจะเป็นบรรยากาศมืดสลัว แฝง ความรูส้ กึ เรน้ ลบั ตารางท่ี 4.7 การวิเคราะหล์ วดลายของ ศลิ ปิน : ประหยดั พงษด์ า

26 1.4 ภาพทเี่ ป็ นแรงบันดาลใจในการออกแบบ การออกแบบลวดลายเทคนิคภาพพิมพไ์ ม้ ชดุ สงั คมเมือง จานวน 11 ลวดลาย ไดร้ บั แรงบนั ดาลใจมา จากเหตกุ ารณท์ ่ีผวู้ ิจยั ไดพ้ บเจอเหตกุ ารณต์ ่างๆ รวมไปถึงการไดพ้ บปะพดู คยุ กบั ผคู้ น ความรูส้ กึ ความคิด ท่ีเกิดขึน้ โดยตรงกับผู้วิจัยเอง รวมไปถึงการได้ศึกษาเทคนิคจากผลงานของศิลปินท่านอ่ืน และมา สรา้ งสรรคใหเ้ กดิ เป็นผลงานศิลปะ ท่มี รี ูปรา่ ง ลายเสน้ เป็นเอกลกั ษณเ์ ฉพาะตวั ของผวู้ ิจยั ภาพที่ 4.8 : ภาพแรงบนั ดาลใจ ชื่อผลงาน : ผหู้ ญิง ทมี่ า : ( https://www.takieng.com/stories/7797 04/05/2566 )

27 ภาพท่ี 4.9 : ภาพแรงบนั ดาลใจ ชื่อผลงาน : Figures on a Beach ทมี่ า : ( https://www.takieng.com/stories/7797 04/05/2566 ) ภาพที่ 4.10 : ภาพแรงบนั ดาลใจ ชอ่ื ผลงาน : Girl before a Mirror ทม่ี า : ( https://www.takieng.com/stories/7797 04/05/2566 )

28 2. การกาหนดแบร่างทางความคดิ การพัฒนาแบบตามวัตถปุ ระสงคแ์ ละสมมติฐาน งานวิจัย ชุด บันทึกประจาวันส่วนตัวของผม เป็นงานวิจัยการสรา้ งสรรคแ์ ละพฒั นางาน ในประเภท ผลงานวิจิตรศิลป์ (Fine Art) จานวนผลงาน 11 ชิน้ เพ่ือศึกษาวิเคราะห์กระบวนการ รูปแบบ ลวดลาย เทคนิค วัสดุ ท่ีเหมาะสมในการสรา้ งสรรคผ์ ลงาน โดยยมีการออกแบบลวดลายตามแนวความคิดท่ีได้ วางแผนไว้ มีการเขียนแบบออกมาในรูปแบบทัศนียภาพแบบ ขาว-ดา พรอ้ มวิเคราะหแ์ บบและแก้ไขใน สว่ นท่ไี มเ่ หมาะสม 2.1 การออกแบบโครงสร้างโดยออกแบบแนวความคดิ (Idea sketch) จากการศึกษาคน้ ควา้ ข้อมูล แรงบนั ดาลใจและจากปัญหาท่ีพบ จึงไดส้ รา้ งสรรคผ์ ลงานออกมาใน รูปแบบวิจิตรศิลป์ (Fine Art) เป็นท่ีรูจ้ กั ในงานภาพพิมพ์ (Printmaking, Graphic Art) เป็นการใชเ้ ทคนิค แกะไม้ (Wood Cut) ในผลงานวิจัย ชุด บันทึกประจาวันส่วนตัวของผม จานวน 11 ชิ้น โดยได้รับแรง บนั ดาลใจมาจากเรอ่ื งราวท่ไี ดกพ้ บเจอ พดู คยุ ในชวี ิตประจาวนั ของผม การออกแบบโครงสร้างโดยออกแบบแนวความคดิ (Idea sketch) ภาพท่ี : 4.11 Idea sketch 1 ท่มี า : (สมบตั ิ สถาผล 06/04/2566)

29 ภาพท่ี 4.12 Idea sketch ท่ี 2 ท่มี า : (สมบตั ิ สถาผล 06/04/2566) ภาพท่ี 4.13 Idea sketch ท่ี 3 ท่มี า : (สมบตั ิ สถาผล 06/04/2566)

30 ภาพท่ี 4.14 Idea sketch ท่ี 4 ท่มี า : (สมบตั ิ สถาผล 06/04/2566) ภาพท่ี 4.15 Idea sketch ท่ี 5 ท่มี า : (สมบตั ิ สถาผล 06/04/2566)

31 ภาพท่ี 4.16 Idea sketch ท่ี 6 ท่มี า : (สมบตั ิ สถาผล 06/04/2566) ภาพท่ี 4.17 Idea sketch ท่ี 7 ท่มี า : (สมบตั ิ สถาผล 06/04/2566)

32 ภาพท่ี 4.18 Idea sketch ท่ี 8 ท่มี า : (สมบตั ิ สถาผล 06/04/2566)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook