วชิ า บร. (PA) ๒๑๓๐๔ งานสารบรรณ
ตาํ ÃÒàÃÂÕ ¹ ËÅ¡Ñ ÊÙμà ¹¡Ñ àÃÕ¹¹ÒÂÊºÔ ตําÃǨ ÇÔªÒ ºÃ. (PA) òñóðô §Ò¹ÊÒúÃó เอกสารนี้ “໹š ¤ÇÒÁÅºÑ ¢Í§·Ò§ÃÒª¡ÒÔ หา มมใิ หผหู นงึ่ ผใู ดเผยแพร คัดลอก ถอดความ หรอื แปลสว นหนง่ึ สว นใด หรอื ทง้ั หมดของเอกสารนเี้ พอื่ การอยา งอน่ื นอกจาก “à¾Í×è ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒͺÃÁ” ของขาราชการตํารวจเทาน้ัน การเปดเผยขอความแกบุคคลอื่นที่ไมมีอํานาจหนาที่จะมีความผิดตาม ประมวลกฎหมายอาญา ¡Í§ºÞÑ ªÒ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ สาํ ¹¡Ñ §Ò¹ตํา¾ÃÇ.Ȩá.òËõ‹§ªöÒôμÔ
1
คํานํา หลักสูตรนักเรียนนายสิบตํารวจ (นสต.) เปนหลักสูตรการศึกษาอบรมท่ีมีเปาหมาย เพื่อเสริมสรางใหบุคคลภายนอกผูมีวุฒิประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๖) หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเทา ที่เขารับการฝกอบรมมีความรู ความสามารถ และ ทักษะวิชาชีพตาํ รวจ รวมถึงพัฒนาบุคลิกภาพรางกายใหเหมาะสมสําหรับการปฏิบัติงานตํารวจ ในกลุมสายงานปองกันปราบปราม ตลอดจนเตรียมความพรอมทางดานจิตใจและวุฒิภาวะใหมี จติ สํานกึ ในการใหบ ริการเพอ่ื บําบัดทกุ ขบ ํารุงสขุ ของประชาชนเปน สาํ คญั กองบัญชาการศึกษา ไดรวมกับ ครู อาจารย และครูฝก ในสังกัดกองบังคับการ ฝกอบรมตาํ รวจกลาง และกลมุ งานอาจารย กองบัญชาการศึกษา ศูนยฝกอบรมตํารวจภูธรภาค ๑ - ๙ และกองบัญชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน ตลอดจนผูทรงคุณวุฒิจากภายนอก จัดทําตาํ ราเรียน หลกั สตู รนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจชดุ นี้ ซงึ่ ประกอบดว ยองคค วามรตู า งๆ ทจ่ี ําเปน ตอ การพฒั นาศกั ยภาพ ของนกั เรยี นนายสบิ ตํารวจใหเ ปน ขา ราชการตาํ รวจทพี่ งึ ประสงคข องประชาชน เพอ่ื ใชส ําหรบั ประกอบ การเรียนการสอนนักเรียนนายสิบตํารวจใหมีความพรอมทั้งดานความรู ความสามารถ กําลังกาย และจติ ใจ จนสามารถเปน ขา ราชการตาํ รวจทป่ี ฏบิ ตั งิ านใหบ รกิ ารสงั คมและประชาชนไดอ ยา งตรงตาม ความตอ งการอยางแทจ รงิ และมคี วามพรอมในการเขาสปู ระชาคมอาเซยี น ขอขอบคุณครู อาจารย ครูฝก และผูทรงคุณวุฒิทุกทาน ที่ไดรวมกันระดมความคิด ใหคาํ ปรึกษา คาํ แนะนาํ ประสบการณที่เปนประโยชน รวมถึงการถายทอดองคความรู ที่เปนประโยชน จนทาํ ใหการจัดทําตาํ ราเรียนหลักสูตรนักเรียนนายสิบตาํ รวจสําเร็จลุลวงไดดวยดี ซ่ึงกองบัญชาการศึกษาหวังเปนอยางย่ิงวาตําราเรียนชุดน้ีคงเปนประโยชนตอการจัดการเรียน การสอนและการจัดการฝกอบรมของครู อาจารย และครูฝก รวมตลอดถึงใชเปนคูมือการปฏิบัติงาน ของขาราชการตํารวจ อันจะสงผลทาํ ใหสํานักงานตํารวจแหงชาติสามารถสรางความเชื่อมั่น ศรัทธา และความผาสุกใหแ กประชาชนไดอ ยา งแทจ ริง พลตํารวจโท ( อภิรตั นยิ มการ ) ผูบ ัญชาการศกึ ษา
1
ÊÒúÑÞ ÇÔªÒ §Ò¹ÊÒúÃó ˹ŒÒ º··èÕ ๑ »ÃÐÇÑμÔ ¤ÇÒÁ໚¹ÁҢͧ§Ò¹ÊÒúÃó ñ - ประวตั ิระเบียบงานสารบรรณ ๑ - ความหมายของงานสารบรรณ ๒ - ความสําคญั ของงานสารบรรณ ๒ - ประโยชนของงานสารบรรณ ๓ õ º··èÕ ò ÃÐàºÕºสํา¹¡Ñ ¹Ò¡ÃѰÁ¹μÃÕ ÇÒ‹ ´ÇŒ §ҹÊÒúÃó ๖ - ระเบียบสาํ นักนายกรฐั มนตรี วาดว ยงานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๒๖ ๓๕ และทแ่ี กไ ขเพม่ิ เติม (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๘ ÷ñ - ระเบียบสาํ นักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ.๒๕๖๐ ๗๓ ๗๙ ÀÒ¤¼¹Ç¡ øó ภาคผนวก ๑ การกาํ หนดเลขท่หี นงั สอื ออก ๘๓ ภาคผนวก ๒ คําข้นึ ตน สรรพนาม คําลงทายฯ ๘๕ ๘๖ º··èÕ ó ÊÒúÃóตําÃǨ ๘๗ - งานสารบรรณตํารวจ ๘๘ - การใชบ ันทกึ ขอ ความ ๘๙ - การจดั ทาํ หนังสอื ๘๙ - การเสนองาน ๙๓ - การรับและการสงหนังสอื ๑๐๖ - การคดั สําเนา และการลงชื่อตรวจ - การกาํ หนดเลขประจาํ หนว ยงานภายในสํานักงานตํารวจแหงชาติ - การใชคํายอ ในราชการตํารวจ - ไปรษณียสนามของตาํ รวจชายแดน
º··èÕ ô ¡ÒúÑÞÞμÑ ÈÔ Ñ¾·ÀÒÉÒÍѧ¡ÄɪÍè× Ë¹‹Ç§ҹ ÂÈ áÅÐตาํ á˹‹§ ˹ŒÒ ã¹สาํ ¹¡Ñ §Ò¹ตําÃǨá˧‹ ªÒμÔ ñññ º··Õè õ ˹§Ñ ÊÍ× ÃÒª¡ÒÃÅѺ ñòó - หนังสอื ราชการลับ ๑๒๓ - การปฏบิ ัตเิ กี่ยวกับเอกสารลับ ๑๒๕ ñò÷ º··èÕ ö ¡ÒÃËҧáÅСÒÃà¢ÂÕ ¹Ë¹Ñ§ÊÍ× ÃÒª¡Òà ๑๒๗ - การเขยี นหนังสือราชการ ๑๓๙ - บันทึกฝา ยอํานวยการ ñôñ ๑๔๑ º··Õè ÷ ¡ÒþÔÁ¾Ë ¹§Ñ ÊÍ× ÃÒª¡Òà ๑๔๔ - การพมิ พห นงั สือราชการ ๑๔๙ - การพมิ พหนงั สือราชการภาษาไทยดวยโปรแกรมการพมิ พ ในเครอื่ งคอมพิวเตอร - ตวั อยา งการพิมพห นงั สอื ราชการ
๑ º··Õè ñ »ÃÐÇÑμÔ ¤ÇÒÁ໹š ÁҢͧ§Ò¹ÊÒúÃó ÇÑμ¶»Ø ÃÐʧ¤ ๑. เพื่อใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจและสามารถอธิบายประวัติ ความเปนมา ความสําคัญและประโยชนของงานสารบรรณไดอ ยา งถูกตอง ๒. เพอ่ื ใหผ เู รยี นมคี วามรคู วามเขา ใจ และสามารถอธบิ ายความหมายของงานสารบรรณ ไดอยางถูกตอ ง ¡Å‹ÒÇนาํ งานสารบรรณ เปนการส่ือสารที่เปนลายลักษณอักษรที่สวนราชการตองถือปฏิบัติและ จดั ทําตามรูปแบบท่กี ําหนดของการจัดทําเอกสารราชการ เชน หนงั สือราชการ บันทึกขอ ความ คําสั่ง ประกาศ ขา ว หนังสือรบั รอง เปน ตน »ÃÐÇμÑ ÔÃÐàºÕº§Ò¹ÊÒúÃó กอนป ๒๔๙๗ ยังไมมีการกําหนดระเบียบงานสารบรรณขึ้นมาโดยเฉพาะ แตละ สวนราชการ ตางมีระเบียบเกี่ยวกับการรางหนังสือ การเก็บรักษาเอกสารตาง ๆ ของตนโดยเฉพาะ ตางคนตางทําไมมีหลักการที่แนนอน และในป ๒๔๙๖ รัฐบาลจึงไดจัดต้ังคณะกรรมการรางระเบียบ งานสารบรรณ ตอมาในป ๒๕๐๒ ก็ไดมีการพิจารณาปรับปรุงระเบียบงานสารบรรณอีกครั้งหนึ่ง โดยไดนําเอาขอเสนอแนะและปญหาตาง ๆ จากการใชระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ.๒๔๙๗ และ ๒๔๙๘ มาปรับปรุงใหเหมาะสมยิ่งขึ้น เมื่อไดพิจารณาปรับปรุงระเบียบงานสารบรรณเรียบรอยแลว ก็ไดเสนอใหคณะรฐั มนตรีพิจารณา คณะรัฐมนตรีไดมีมติเหน็ ชอบเมอื่ วนั ที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๐๖ และ เรยี กระเบยี บน้ีวา ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรีวา ดว ยงานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๐๖ โดยใหม ีผลบงั คบั ใช ตั้งแตวนั ที่ ๑ มกราคม ๒๕๐๗ เปนตนไป แตร ะเบยี บงานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๐๖ ไมครอบคลุมถึงงานสารบรรณท่ปี ฏิบัติอยทู ั้งหมด ประกอบกบั มสี ว นราชการตา ง ๆ ไดห ารอื แนวทางปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั งานสารบรรณมายงั สาํ นกั นายกรฐั มนตรี อยูเสมอ สํานักนายกรัฐมนตรีก็ไดพิจารณาแลวเห็นวา ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีที่ออกใชบังคับ และเปน หลกั ในการปฏบิ ตั งิ านนน้ั มอี ยหู ลายระเบยี บดว ยกนั บางระเบยี บไดอ อกมาใชบ งั คบั เปน เวลานาน ทําใหว ิธีปฏบิ ตั บิ างตอน บางเร่อื งลาสมยั ระเบียบตา ง ๆ กระจัดกระจายอยใู นท่ตี าง ๆ มิไดป ระมวล เขาเปนระเบียบปฏิบัติในเรื่องเดียวกัน ทําใหเปนอุปสรรคกับการปฏิบัติงาน ระเบียบบางฉบับไมได
๒ กาํ หนดใหส ว นราชการใดเปน ผรู กั ษาระเบยี บรบั ผดิ ชอบโดยเฉพาะ ทาํ ใหเ กดิ ปญ หาไมม ผี วู นิ จิ ฉยั ตคี วาม และติดตามการปฏิบัติตามระเบียบ สํานักนายกรัฐมนตรีจึงไดเสนอใหรัฐบาลพิจารณาและแตงตั้ง คณะกรรมการพจิ ารณาปรบั ปรงุ และพฒั นาระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรโี ดยมปี ลดั สาํ นกั นายกรฐั มนตรี เปนประธานกรรมการในป ๒๕๑๘ คณะกรรมการพิจารณาปรับปรุงและพัฒนาระเบียบสํานักนายก รฐั มนตรี ไดแ ตง ตง้ั คณะกรรมการวชิ าการขนึ้ เพอ่ื ปรบั ปรงุ ระเบยี บงานสารบรรณโดยเฉพาะในปเ ดยี วกนั ตอ มาคณะกรรมการวชิ าการไดเ ปลย่ี นชอื่ เปน คณะอนกุ รรมการปรบั ปรงุ ระเบยี บงานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๐๖ และไดเสนอรางระเบียบงานสารบรรณขึ้นมาใหม ใหคณะกรรมการพิจารณาปรับปรุง และพัฒนาระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีพิจารณา คณะกรรมการไดนํารางระเบียบสารบรรณเสนอให คณะรัฐมนตรีพิจารณาเมื่อเดือนเมษายน ๒๕๒๖ ซึ่งคณะรัฐมนตรีก็ไดมีมติเห็นชอบและใหมีผลใช บงั คบั ตง้ั แต ๑ มถิ นุ ายน ๒๕๒๖ เปนตนไป ตอมา เพ่ือใหเหมาะสมกับสภาวการณในปจจุบันที่มีการปฏิบัติงานสารบรรณดวยระบบ สารบรรณอเิ ลก็ ทรอนกิ สแ ละเปน การสอดคลอ งกบั การบรหิ ารราชการแนวทางใหมท มี่ งุ เนน ผลสมั ฤทธิ์ ความคมุ คา และลดขน้ั ตอนในการปฏบิ ตั งิ านและเพอ่ื ใหร ะบบงานสารบรรณมคี วามรวดเรว็ มปี ระสทิ ธภิ าพ จึงวางระเบยี บสํานกั นายกรฐั มนตรี วา ดวยงานสารบรรณ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๔๘ มีผลบงั คบั ใชต ้ังแต วนั ที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๘ เปนตนไป ¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧ§Ò¹ÊÒúÃó “งานสารบรรณ” หมายถึง “งานที่เก่ียวกับการบริหารงานเอกสารเร่ิมตั้งแตการจัดทํา การรบั การสง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทําลาย” ซึ่งเปน การกําหนดข้นั ตอนและขอบขายของ งานสารบรรณวา เกยี่ วขอ งกบั เรอ่ื งอะไรบา ง แตใ นทางปฏบิ ตั กิ ารบรหิ ารงานเอกสารทงั้ ปวง จะเรมิ่ ตงั้ แต การคิด อาน ราง เขียน แตง พิมพ จด จํา ทําสําเนา สงหรือสื่อขอความ รับ บันทึก จดรายงาน การประชมุ สรปุ ยอ เรอ่ื ง เสนอ สง่ั การ ตอบ ทํารหสั เกบ็ เขา ที่ คน หา ตดิ ตามและทาํ ลาย ทงั้ น้ี ตอ งเปน ระบบทใ่ี หความสะดวก รวดเร็ว ถกู ตอง และมปี ระสทิ ธภิ าพเพื่อประหยดั เวลา แรงงาน และคาใชจ าย ผทู จี่ ะทาํ งานสารบรรณไดด จี าํ เปน ตอ งรงู านธรุ การดว ย เชน การตดิ ตอ โตต อบ และประสานงาน รจู กั ความควรหรอื ไมค วร มคี วามคลอ งแคลว วอ งไว นอกจากนน้ั ตอ งมคี วามรทู างดา นภาษาเปน อยา งดี โดยเฉพาะอยา งยงิ่ ภาษาไทย และควรรรู ะบบขา วสารทง้ั ปวง สามารถพมิ พด ดี ได เมอื่ มคี วามจาํ เปน จะ ตอ งกระทาํ การปฏบิ ตั ิงานสารบรรณ หากมสี วนเก่ยี วของงานทางเทคนิคควรตดิ ตอประสานกับผทู ม่ี ี ความรทู างเทคนคิ นนั้ ๆ โดยตรงดว ย ผทู ท่ี าํ งานสารบรรณทเี่ กย่ี วกบั การประชมุ จะตอ งมคี วามสามารถ ในการจดรายงานการประชมุ และสามารถถอดความคดิ เหน็ ของทป่ี ระชมุ ออกมาไดถ กู ตอ งและเขา ใจไดด ี ¤ÇÒÁสาํ ¤Ñޢͧ§Ò¹ÊÒúÃó ๑. ใชเปนเครอื่ งมอื ในการบริหารงาน ๒. ใชใหเ ปน สือ่ ในการติดตอ ทําความเขา ใจระหวา งหนว ยงาน
๓ ๓. ใชเปนหลักฐานอางอิงในการติดตอหรือทําความตกลง ๔. เอกสารทําขนึ้ เปนเสมอื นเครื่องเตอื นความจาํ ของหนว ยงาน ๕. เอกสารท่ที าํ ข้นึ เปนสิ่งทมี่ คี ณุ คา ในการศกึ ษาคน ควาในอนาคต »ÃÐ⪹¢ ͧ§Ò¹ÊÒúÃó ๑. ทําใหก ารปฏบิ ัติงานเปนระบบและมคี วามเปนระเบยี บ ๒. เกิดการประหยดั ๓. เกิดความสะดวกในการอางองิ และคน หา ๔. เกดิ ความตอเนือ่ งในการทํางาน ๕. ทาํ ใหระบบการทํางานมปี ระสิทธิภาพ º·ÊÃ»Ø งานสารบรรณนบั เปน หวั ใจสาํ คญั ในการปฏบิ ตั งิ านดา นหนงั สอื เพราะตอ งใชใ นการตดิ ตอ สอ่ื สารและประสานงานระหวา งสว นราชการ หนว ยงาน หรอื บคุ คล การทจี่ ะปฏบิ ตั งิ านราชการเกย่ี วกบั หนงั สือไดด ีนั้นจะตอ งรูแ ละเขา ใจระเบยี บกอน แลวจงึ นาํ ไปสูก ารปฏบิ ัตใิ หถ ูกตองและมีประสิทธภิ าพ ¡¨Ô ¡ÃÃÁ แบงกลุมรวมทํากิจกรรมเกี่ยวกับเน้ือหาท่ีเรียนไดอยางเหมาะสมตามจุดประสงค ในการเรยี นการสอน
๔
๕ º··èÕ ò ÃÐàºÕºสํา¹Ñ¡¹ÒÂ¡Ã°Ñ Á¹μÃÕ ÇÒ‹ ´ÇŒ §ҹÊÒúÃó ¾.È.òõòö á¡äŒ ¢à¾ÁèÔ àμÁÔ (©ººÑ ·èÕ ò) ¾.È.òõôø áÅÐ (©ººÑ ·èÕ ó) ¾.È.òõöð ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤ ๑. เพือ่ ใหผเู รยี นมคี วามรู ความเขาใจ และสามารถอธบิ ายหนงั สือราชการทง้ั ๖ ชนดิ และสามารถบอกความแตกตางไดอยา งถูกตอ ง ๒. เพ่ือใหผูเรียนมคี วามรู ความเขา ใจ และสามารถอธบิ ายระดับช้ันความเร็ว การจัดทาํ ทําสาํ เนา และหนงั สอื เวยี น ไดอ ยางถูกตอ ง ๓. เพือ่ ใหผ ูเรียนมคี วามรู ความเขาใจ และสามารถอธบิ ายการจัดทาํ การรับและการสง หนังสือราชการดวยระบบแบบปกติและดวยระบบอิเล็กทรอนิกสไดอ ยา งถูกตอ ง ๔. เพอ่ื ใหผ เู รยี นมคี วามรู ความเขา ใจ และสามารถอธบิ ายวธิ กี ารปฏบิ ตั เิ กยี่ วกบั การเกบ็ รกั ษา การยมื และการทาํ ลายหนงั สอื ไดอยา งถกู ตอ ง ๕. เพ่ือใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ และสามารถอธิบายมาตรฐานตรา แบบพิมพ และซอง ไดอยา งถูกตอ ง ʋǹนํา ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ ๒๕๒๖ เปนระเบียบท่ีเก่ียวของใน การจดั ทาํ หนงั สอื ราชการแตล ะชนดิ จะมรี ปู แบบของหนงั สอื ทแี่ ตกตา งกนั และ ฉบบั ท่ี ๒ พ.ศ. ๒๕๔๘ ไดมแี กไ ขเพ่ิมนยิ ามคําวา “อิเลก็ ทรอนกิ ส” และคาํ วา “ระบบสารบรรณอิเลก็ ทรอนกิ ส” ระหวางนยิ าม คาํ วา “หนังสอื ” และ “สวนราชการ”
๖ เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๙๙ ง หนา ๑ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานุเบกษา ÃÐàºÂÕ ºสาํ นกั ¹Ò¡ÃѰÁ¹μÃÕ Ç‹Ò´ŒÇ§ҹÊÒúÃó ¾.È. òõòö áÅзÕèᡌä¢à¾ÔÁè àμÁÔ (©ºÑº·Õè ò) ¾.È. òõôø โดยท่ีเปนการสมควรปรับปรุงระเบียบสาํ นักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๐๖ เสียใหมใ หเ หมาะสมย่งิ ข้นึ คณะรฐั มนตรจี ึงวางระเบียบไว ดังตอไปน๑ี้ ขอ ๑ ระเบยี บนเ้ี รยี กวา “ระเบยี บสํานกั นายกรฐั มนตรวี า ดว ยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖” ขอ ๒ ระเบียบนใี้ หใ ชบงั คับต้ังแตว ันท่ี ๑ มถิ ุนายน ๒๕๒๖ เปนตนไป๒ ¢อŒ ๓ ใหยกเลกิ ๓.๑ ระเบยี บสํานักนายกรฐั มนตรีวาดวยงานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๐๖ ๓.๒ ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรวี า ดว ยการลงชอื่ ในหนงั สอื ราชการ พ.ศ.๒๕๐๗ ๓.๓ ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรวี า ดว ยการลงชอื่ ในหนงั สอื ราชการ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๑๖ บรรดาระเบียบ ขอบังคับ มติของคณะรฐั มนตรี และคาํ ส่งั อน่ื ใด ในสว นท่กี ําหนดไวแ ลว ในระเบยี บนี้ หรือซ่ึงขดั หรอื แยงกบั ระเบียบน้ี ใหใ ชระเบยี บนี้แทน เวนแตกรณีท่ีกลาวในขอ ๕ ขอ ๔ ระเบียบนใี้ หใชบงั คบั แกส ว นราชการ สวนราชการใดมีความจาํ เปนท่ีตองปฏิบัติงานสารบรรณนอกเหนือไปจากที่ไดกาํ หนดไว ในระเบียบนี้ ใหข อทําความตกลงกบั ผูรักษาการตามระเบยี บนี้ ๑ ความวรรคน้ี ระเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรี วา ดวยงานสารบรรณ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๔๘ ความวา “โดยท่ีเปนการสมควรแกไขเพิ่มเติมระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๒๖ เพื่อใหเหมาะสมกับ สภาวการณในปจจุบันที่มีการปฏิบัติงานสารบรรณดวยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส และเปนการสอดคลองกับการบริหาร ราชการแนวทางใหมท่มี ุงเนนผลสัมฤทธ์ิ ความคมุ คา และการลดขนั้ ตอนการปฏบิ ตั งิ าน สมควรวางระบบงานสารบรรณใหเปน การดาํ เนินงานที่มีระบบ มคี วามรวดเร็ว มีประสิทธภิ าพ และลดความซาํ้ ซอ นในการปฏบิ ัติราชการ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๑ (๘) แหง พระราชบัญญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการแผนดิน พ.ศ.๒๕๓๔ นายกรฐั มนตรี โดยความเห็นชอบของคณะรฐั มนตรจี งึ วางระเบียบไว ดังตอไปน”ี้ ๒ ระเบียบสาํ นักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๘ ใหใชบังคับต้ังแตวันถัดจากวันประกาศใน ราชกจิ จานุเบกษาเปนตนไป (ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง วนั ท่ี ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘)
๗ เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๙๙ ง หนา ๒ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานุเบกษา ขอ ๕๓ ในกรณที ก่ี ฎหมาย ระเบยี บวา ดว ยการรกั ษาความปลอดภยั แหง ชาติ หรอื ระเบยี บ วาดวยการรักษาความลับของทางราชการ กาํ หนดวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับงานสารบรรณไวเปนอยางอื่น ใหถอื ปฏิบัติตามกฎหมาย หรือระเบยี บวาดว ยการนน้ั ขอ ๖ ในระเบยี บนี้ “งานสารบรรณ” หมายความวา งานทเี่ กยี่ วกบั การบรหิ ารงานเอกสารเรมิ่ ตงั้ แตก ารจดั ทาํ การรับ การสง การเกบ็ รักษา การยืม จนถึงการทําลาย “หนงั สือ” หมายความวา หนงั สือราชการ “อเิ ลก็ ทรอนกิ ส” ๔ หมายความวา การประยกุ ตใ ชว ธิ กี ารทางอเิ ลก็ ตรอน ไฟฟา คลน่ื แมเ หลก็ ไฟฟา หรือวธิ อี ืน่ ใดในลกั ษณะคลา ยกนั และใหหมายความรวมถงึ การประยุกตใชว ธิ ีการทางแสง วธิ กี ารทาง แมเหลก็ หรอื อปุ กรณทเี่ กี่ยวขอ งกบั การประยุกตใ ชตา งๆ เชน วา นั้น “ระบบสารบรรณอเิ ลก็ ทรอนกิ ส” ๕ หมายความวา การรบั สง ขอ มลู ขา วสารหรอื หนงั สอื ผา น ระบบสือ่ สารดว ยวธิ กี ารทางอิเลก็ ทรอนิกส “สว นราชการ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม สํานกั งาน หรอื หนว ยงานอนื่ ใดของรฐั ทั้งในราชการบริหารสวนกลาง ราชการบริหารสวนภูมิภาค ราชการบริหารสวนทองถิ่นหรือใน ตา งประเทศ และใหหมายความรวมถึงคณะกรรมการดว ย “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะบคุ คลทไ่ี ดร บั มอบหมายจากทางราชการใหป ฏบิ ตั งิ าน ในเร่ืองใดๆ และใหห มายความรวมถงึ คณะอนกุ รรมการ คณะทาํ งาน หรอื คณะบคุ คลอ่ืนที่ปฏิบตั งิ าน ในลักษณะเดียวกัน ขอ ๗ คําอธบิ ายซงึ่ กําหนดไวท า ยระเบยี บ ใหถ อื วา เปน สว นประกอบทใ่ี ชง านสารบรรณ และใหใชเปนแนวทางในการปฏบิ ัติ ขอ ๘ ใหป ลดั สํานกั นายกรฐั มนตรรี กั ษาการตามระเบยี บน้ี และใหม อี ํานาจตคี วามและ วนิ จิ ฉยั ปญ หาเกย่ี วกบั การปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บนี้ รวมทง้ั การแกไ ขเพมิ่ เตมิ ภาคผนวกและจดั ทําคําอธบิ าย กบั ใหมีหนา ท่ดี าํ เนินการฝก อบรมเก่ยี วกบั งานสารบรรณ การตคี วาม การวนิ จิ ฉยั ปญ หา และการแกไ ขเพมิ่ เตมิ ภาคผนวก และคําอธบิ ายตามวรรคหนง่ึ ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีจะขอความเห็นจากคณะกรรมการพิจารณาปรับปรุงและพัฒนาระเบียบ สาํ นักนายกรัฐมนตรเี พือ่ ประกอบการพจิ ารณากไ็ ด ๓ ขอ ๕ ความเดิมถกู ยกเลกิ โดยขอ ๓ แหง ระเบยี บสํานกั นายกรัฐมนตรี วา ดวยงานสารบรรณ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘ และ ใหใชค วามทพี่ ิมพไ วแ ทน ๔ บทนยิ ามน้เี พิม่ เติมโดยขอ ๔ แหง ระเบยี บสาํ นกั นายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘ ๕ บทนยิ ามน้ีเพิม่ เตมิ โดยขอ ๔ แหง ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดว ยงานสารบรรณ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘
๘ เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๓ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘ ราชกจิ จานุเบกษา ËÁÇ´ ñ ª¹´Ô ¢Í§Ë¹§Ñ Ê×Í ขอ ๙๖ หนังสอื ราชการ คือ เอกสารทเี่ ปน หลกั ฐานในราชการ ไดแ ก ๙.๑ หนังสือท่ีมีไปมาระหวางสวนราชการ ๙.๒ หนังสือท่ีสวนราชการมีไปถึงหนวยงานอ่ืนใดซ่ึงมิใชสวนราชการ หรือท่ีมี ไปถึงบคุ คลภายนอก ๙.๓ หนงั สอื ทห่ี นว ยงานอน่ื ใดซงึ่ มใิ ชส ว นราชการ หรอื ทบี่ คุ คลภายนอกมมี าถงึ สวนราชการ ๙.๔ เอกสารท่ที างราชการจดั ทําขนึ้ เพอื่ เปนหลักฐานในราชการ ๙.๕ เอกสารทท่ี างราชการจดั ทาํ ขึน้ ตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอ บงั คบั ๙.๖ ขอมลู ขา วสารหรอื หนงั สือทไ่ี ดรบั จากระบบสารบรรณอเิ ล็กทรอนิกส ขอ ๑๐ หนังสือ มี ๖ ชนดิ คอื ๑๐.๑ หนังสอื ภายนอก ๑๐.๒ หนงั สือภายใน ๑๐.๓ หนังสอื ประทับตรา ๑๐.๔ หนงั สอื สั่งการ ๑๐.๕ หนงั สอื ประชาสมั พันธ ๑๐.๖ หนังสือทเ่ี จา หนาท่ที ําขึ้นหรอื รับไวเปนหลักฐานในราชการ ʋǹ·èÕ ñ ˹ѧÊÍ× ÀÒ¹͡ ขอ ๑๑ หนงั สอื ภายนอก คอื หนงั สอื ตดิ ตอ ราชการทเี่ ปน แบบพธิ โี ดยใชก ระดาษตราครฑุ เปน หนงั สอื ติดตอระหวา งสว นราชการ หรือสวนราชการมถี ึงหนว ยงานอนื่ ใดซงึ่ มิใชสว นราชการ หรอื ท่มี ีถงึ บคุ คลภายนอก ใหจัดทาํ ตามแบบที่ ๑ ทา ยระเบยี บ โดยกรอกรายละเอยี ดดงั น้ี ๑๑.๑ ที่ ใหล งรหสั ตวั พยญั ชนะและเลขประจําของเจา ของเรอ่ื ง ตามทก่ี ําหนดไว ในภาคผนวก ๑ ทบั เลขทะเบยี นหนงั สอื สง สําหรบั หนงั สอื ของคณะกรรมการใหก ําหนดรหสั ตวั พยญั ชนะ เพิม่ ข้นึ ไดตามความจาํ เปน ๖ ขอ ๙ ความเดิมถูกยกเลิกโดยขอ ๕ แหงระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘ และใหใ ชความทพ่ี ิมพไวแ ทน
๙ เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๔ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘ ราชกจิ จานุเบกษา ๑๑.๒ สว นราชการเจา ของหนงั สือ ใหล งชอ่ื สว นราชการ สถานทีร่ าชการหรือ คณะกรรมการซึง่ เปน เจาของหนังสือนน้ั และโดยปกตใิ หลงที่ตัง้ ไวดวย ๑๑.๓ วัน เดือน ป ใหลงตัวเลขของวันท่ี ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขของ ปพุทธศักราชท่ีออกหนังสอื ๑๑.๔ เร่ือง ใหล งเรื่องยอ ทเี่ ปน ใจความสน้ั ท่สี ดุ ของหนงั สือฉบับนน้ั ในกรณที ่ี เปนหนงั สอื ตอเนือ่ งโดยปกติใหล งเร่ืองของหนงั สอื ฉบับเดิม ๑๑.๕ คําข้ึนตน ใหใชคาํ ขึ้นตนตามฐานะของผูรับหนังสือตามตารางการใช คาํ ขึ้นตน สรรพนาม และคาํ ลงทา ย ทีก่ าํ หนดไวในภาคผนวก ๒ แลวลงตาํ แหนงของผทู ่หี นังสือนัน้ มีถงึ หรือชอ่ื บุคคลในกรณีท่มี ถี งึ ตวั บุคคลไมเ กยี่ วกับตําแหนง หนาท่ี ๑๑.๖ อางถึง (ถามี) ใหอางถึงหนังสือที่เคยมีติดตอกันเฉพาะหนังสือท่ี สว นราชการผรู บั หนงั สอื ไดร บั มากอ นแลว จะจากสว นราชการใดกต็ าม โดยใหล งชอื่ สว นราชการเจา ของ หนงั สอื และเลขที่หนงั สอื วันที่ เดอื น ปพุทธศักราชของหนังสอื นน้ั การอางถึง ใหอางถึงหนังสือฉบับสุดทายท่ีติดตอกันเพียงฉบับเดียว เวนแตมีเร่ืองอื่นท่ีเปนสาระสาํ คัญตองนาํ มาพิจารณา จึงอางถึงหนังสือฉบับอื่นๆ ท่ีเก่ียวกับเรื่องนั้น โดยเฉพาะใหทราบดวย ๑๑.๗ ส่ิงท่ีสงมาดวย (ถามี) ใหลงช่ือสิ่งของ เอกสาร หรือบรรณสารที่สงไป พรอ มกบั หนังสือนั้น ในกรณีที่ไมสามารถสงไปในซองเดียวกันไดใ หแ จงดว ยวา สงไปโดยทางใด ๑๑.๘ ขอความ ใหลงสาระสําคัญของเรื่องใหชัดเจนและเขาใจงาย หากมี ความประสงคหลายประการใหแยกเปนขอ ๆ ๑๑.๙ คําลงทาย ใหใชคําลงทายตามฐานะของผูรับหนังสือตามตารางการใช คําขนึ้ ตน สรรพนาม และคาํ ลงทาย ทกี่ ําหนดไวในภาคผนวก ๒ ๑๑.๑๐ ลงชื่อ ใหลงลายมือช่ือเจาของหนังสือ และใหพิมพช่ือเต็มของเจาของ ลายมือชือ่ ไวใตลายมือชื่อ ตามรายละเอียดทกี่ ําหนดไวใ นภาคผนวก ๓ ๑๑.๑๑ ตาํ แหนง ใหลงตาํ แหนงของเจา ของหนงั สอื ๑๑.๑๒ สว นราชการเจา ของเรอ่ื ง ใหล งชอ่ื สว นราชการเจา ของเรอ่ื ง หรอื หนว ยงาน ที่ออกหนังสือ ถาสวนราชการท่ีออกหนังสืออยูในระดับกระทรวงหรือทบวง ใหลงช่ือสวนราชการ เจาของเร่ืองทั้งระดับกรมและกอง ถาสวนราชการท่ีออกหนังสืออยูในระดับกรมลงมาใหลงช่ือ สวนราชการเจาของเรอ่ื งเพียงระดับกองหรอื หนวยงานท่ีรบั ผดิ ชอบ ๑๑.๑๓ โทร. ใหลงหมายเลขโทรศัพทของสวนราชการเจาของเร่ือง หรือ หนวยงานท่อี อกหนังสอื และหมายเลขภายในตสู าขา (ถาม)ี ไวด ว ย
๑๐ เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๙๙ ง หนา ๕ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานุเบกษา ๑๑.๑๔ สําเนาสง (ถามี) ในกรณีท่ีผูสงจัดทาํ สําเนาสงไปใหสวนราชการหรือ บคุ คลอ่นื ทราบ และประสงคจะใหผ รู บั ทราบวา ไดม ีสาํ เนาสง ไปใหผ ูใดแลว ใหพิมพชือ่ เต็มหรอื ช่อื ยอ ของสว นราชการหรอื ชอ่ื บคุ คลทสี่ ง สําเนาไปให เพอ่ื ใหเ ปน ทเ่ี ขา ใจระหวา งผสู ง และผรู บั ถา หากมรี ายชอ่ื ท่สี ง มากใหพ มิ พว าสงไปตามรายชื่อทแ่ี นบและแนบรายชอื่ ไปดว ย ʋǹ·Õè ò ˹ѧÊ×ÍÀÒÂã¹ ขอ ๑๒ หนงั สอื ภายใน คอื หนงั สอื ตดิ ตอ ราชการทเี่ ปน แบบพธิ นี อ ยกวา หนงั สอื ภายนอก เปน หนังสือตดิ ตอ ภายในกระทรวง ทบวง กรม หรอื จงั หวดั เดยี วกัน ใชกระดาษบันทึกขอ ความ และให จัดทําตามแบบที่ ๒ ทา ยระเบียบ โดยกรอกรายละเอยี ดดังน้ี ๑๒.๑ สวนราชการ ใหลงชื่อสวนราชการเจาของเร่ือง หรือหนวยงานที่ออก หนังสือโดยมีรายละเอียดพอสมควร โดยปกติถาสวนราชการท่ีออกหนังสืออยูในระดับกรมข้ึนไป ใหลงชื่อสวนราชการเจาของเรื่องทั้งระดับกรมและกอง ถาสวนราชการที่ออกหนังสืออยูในระดับ ตา่ํ กวากรมลงมา ใหลงช่ือสวนราชการเจาของเรื่องเพียงระดับกอง หรือสวนราชการเจาของเร่ือง พรอมทัง้ หมายเลขโทรศพั ท (ถา มี) ๑๒.๒ ท่ี ใหล งรหสั ตวั พยญั ชนะและเลขประจําของเจา ของเรอื่ ง ตามทกี่ ําหนดไว ในภาคผนวก ๑ ทบั เลขทะเบยี นหนงั สอื สง สําหรบั หนงั สอื ของคณะกรรมการใหก ําหนดรหสั ตวั พยญั ชนะ เพมิ่ ขนึ้ ไดตามความจาํ เปน ๑๒.๓ วนั ท่ี ใหล งตวั เลขของวนั ที่ ชอื่ เตม็ ของเดอื น และตวั เลขของปพ ทุ ธศกั ราช ที่ออกหนังสอื ๑๒.๔ เรอื่ ง ใหล งเรอ่ื งยอ ทเี่ ปน ใจความสน้ั ทส่ี ดุ ของหนงั สอื ฉบบั นน้ั ในกรณที เ่ี ปน หนงั สอื ตอเนือ่ งโดยปกติใหล งเร่ืองของหนงั สอื ฉบับเดิม ๑๒.๕ คาํ ขึ้นตน ใหใชคําข้ึนตนตามฐานะของผูรับหนังสือตามตารางการใช คาํ ขน้ึ ตน สรรพนาม และคําลงทา ย ทีก่ ําหนดไวในภาคผนวก ๒ แลวลงตําแหนง ของผูท ีห่ นังสือนน้ั มถี งึ หรือชือ่ บคุ คลในกรณีที่มีถงึ ตัวบุคคลไมเก่ียวกับตําแหนงหนา ที่ ๑๒.๖ ขอความ ใหลงสาระสําคัญของเรื่องใหชัดเจนและเขาใจงาย หากมี ความประสงคหลายประการ ใหแยกเปนขอๆ ในกรณีท่ีมีการอางถึงหนังสือที่เคยมีติดตอกันหรือ มีสง่ิ ทีส่ ง มาดวย ใหร ะบุไวใ นขอน้ี ๑๒.๗ ลงชอื่ และตําแหนง ใหป ฏบิ ตั ติ ามขอ ๑๑.๑๐ และขอ ๑๑.๑๑ โดยอนโุ ลม ในกรณที กี่ ระทรวง ทบวง กรม หรอื จงั หวดั ใดประสงคจ ะกําหนดแบบการเขยี นโดยเฉพาะ เพื่อใชต ามความเหมาะสมก็ใหก ระทาํ ได
๑๑ เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๙๙ ง หนา ๖ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานเุ บกษา ÊÇ‹ ¹·Õè ó ˹ѧÊÍ× »ÃзѺμÃÒ ขอ ๑๓ หนังสือประทับตรา คือ หนังสือท่ีใชประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหนา สว นราชการระดบั กรมขน้ึ ไป โดยใหห วั หนาสวนราชการระดบั กองหรอื ผูที่ไดร ับมอบหมายจากหัวหนา สว นราชการระดบั กรมขึ้นไป เปนผรู ับผดิ ชอบลงช่ือยอกาํ กับตรา หนงั สอื ประทบั ตราใหใ ชไ ดท ง้ั ระหวา งสว นราชการกบั สว นราชการ และระหวา งสว นราชการ กบั บุคคลภายนอก เฉพาะกรณีทีไ่ มใ ชเ ร่ืองสาํ คัญ ไดแ ก ๑๓.๑ การขอรายละเอียดเพิม่ เติม ๑๓.๒ การสง สาํ เนาหนงั สอื สง่ิ ของ เอกสาร หรือบรรณสาร ๑๓.๓ การตอบรับทราบท่ไี มเ กีย่ วกับราชการสําคัญหรอื การเงิน ๑๓.๔ การแจง ผลงานทไี่ ดดาํ เนินการไปแลว ใหสว นราชการท่ีเก่ยี วของทราบ ๑๓.๕ การเตอื นเรอ่ื งที่คาง ๑๓.๖ เรื่องซ่ึงหัวหนาสวนราชการระดับกรมข้ึนไปกาํ หนดโดยทําเปนคาํ ส่ัง ใหใชห นังสือประทบั ตรา ขอ ๑๔ หนงั สอื ประทบั ตรา ใชก ระดาษตราครฑุ และใหจ ดั ทาํ ตามแบบท่ี ๓ ทา ยระเบยี บ โดยกรอกรายละเอียดดังนี้ ๑๔.๑ ท่ี ใหล งรหสั ตวั พยญั ชนะและเลขประจําของเจา ของเรอื่ ง ตามทกี่ าํ หนดไว ในภาคผนวก ๑ ทับเลขทะเบียนหนังสอื สง ๑๔.๒ ถงึ ใหลงชอ่ื สว นราชการ หนว ยงาน หรือบคุ คลทห่ี นังสอื น้นั มีถงึ ๑๔.๓ ขอ ความ ใหลงสาระสําคญั ของเรอ่ื งใหช ัดเจนและเขาใจงาย ๑๔.๔ ชอื่ สวนราชการทส่ี ง หนงั สือออก ใหลงช่อื สวนราชการทสี่ งหนังสอื ออก ๑๔.๕ ตราชอื่ สว นราชการ ใหป ระทบั ตราชอ่ื สว นราชการตามขอ ๗๒ ดว ยหมกึ แดง และใหผรู บั ผิดชอบลงลายมอื ชือ่ ยอ กํากับตรา ๑๔.๖ วัน เดือน ป ใหลงตัวเลขของวันที่ ช่ือเต็มของเดือนและตัวเลขของ ปพ ทุ ธศักราชที่ออกหนงั สอื ๑๔.๗ สว นราชการเจา ของเรอื่ ง ใหล งชอ่ื สว นราชการเจา ของเรอ่ื งหรอื หนว ยงาน ทีอ่ อกหนังสอื ๑๔.๘ โทร. หรอื ทต่ี งั้ ใหล งหมายเลขโทรศพั ทข องสว นราชการเจา ของเรอื่ งและ หมายเลขภายในตูสาขา (ถามี) ดวย ในกรณีที่ไมมีโทรศัพท ใหลงที่ตั้งของสวนราชการเจาของเรื่อง โดยใหล งตาํ บลทอ่ี ยตู ามความจําเปน และแขวงไปรษณีย (ถาม)ี
๑๒ เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๗ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘ ราชกจิ จานเุ บกษา ʋǹ·èÕ ô ˹§Ñ ÊÍ× Ê§èÑ ¡Òà ขอ ๑๕ หนงั สอื สงั่ การ ใหใ ชต ามแบบทก่ี าํ หนดไวใ นระเบยี บนี้ เวน แตจ ะมกี ฎหมายกําหนด แบบไวโ ดยเฉพาะ หนังสอื สั่งการมี ๓ ชนดิ ไดแ ก คําสง่ั ระเบยี บ และขอ บงั คับ ขอ ๑๖ คาํ สงั่ คอื บรรดาขอ ความทผ่ี บู งั คบั บญั ชาสง่ั การใหป ฏบิ ตั โิ ดยชอบดว ยกฎหมาย ใชกระดาษตราครฑุ และใหจัดทาํ ตามแบบท่ี ๔ ทายระเบยี บ โดยกรอกรายละเอียดดงั นี้ ๑๖.๑ คาํ สั่ง ใหลงช่อื สวนราชการหรือตําแหนง ของผูมีอํานาจทีอ่ อกคาํ สัง่ ๑๖.๒ ท่ี ใหลงเลขทีท่ ่อี อกคาํ สงั่ โดยเริ่มฉบบั แรกจากเลข ๑ เรียงเปน ลาํ ดบั ไป จนสิน้ ปปฏิทิน ทับเลขปพ ุทธศกั ราชทีอ่ อกคาํ สัง่ ๑๖.๓ เร่อื ง ใหลงช่อื เร่อื งทอี่ อกคาํ สง่ั ๑๖.๔ ขอ ความ ใหอ า งเหตทุ อี่ อกคาํ สง่ั และอา งถงึ อาํ นาจทใ่ี หอ อกคาํ สงั่ (ถา ม)ี ไวดวย และจึงลงขอความท่ีสั่ง และวนั ใชบงั คับ ๑๖.๕ สั่ง ณ วันท่ี ใหลงตัวเลขของวันที่ ช่ือเต็มของเดือน และตัวเลขของป พุทธศกั ราชทอ่ี อกคาํ ส่ัง ๑๖.๖ ลงชอ่ื ใหล งลายมอื ชอ่ื ผอู อกคาํ สงั่ และพมิ พช อื่ เตม็ ของเจา ของลายมอื ชอ่ื ไวใ ตลายมอื ชื่อ ๑๖.๗ ตําแหนง ใหล งตาํ แหนงของผูอ อกคําส่ัง ขอ ๑๗ ระเบยี บ คอื บรรดาขอ ความทผ่ี มู อี ํานาจหนา ทไ่ี ดว างไว โดยจะอาศยั อาํ นาจของ กฎหมายหรือไมก ไ็ ด เพื่อถือเปน หลักปฏบิ ตั ิงานเปน การประจํา ใชกระดาษตราครุฑและใหจ ดั ทาํ ตาม แบบที่ ๕ ทา ยระเบยี บ โดยกรอกรายละเอยี ดดงั นี้ ๑๗.๑ ระเบยี บ ใหล งชอ่ื สวนราชการที่ออกระเบยี บ ๑๗.๒ วาดวย ใหลงช่อื ของระเบียบ ๑๗.๓ ฉบับท่ี ถาเปนระเบียบที่กลาวถึงเปนคร้ังแรกในเร่ืองนั้น ไมตองลงวา เปนฉบับท่เี ทาใด แตถา เปน ระเบยี บเรอื่ งเดียวกนั ท่ีมกี ารแกไขเพ่มิ เตมิ ใหลงเปน ฉบับที่ ๒ และทีถ่ ดั ๆ ไปตามลําดับ ๑๗.๔ พ.ศ. ใหล งตวั เลขของปพ ุทธศักราชทีอ่ อกระเบยี บ ๑๗.๕ ขอความ ใหอางเหตุผลโดยยอ เพ่ือแสดงถึงความมุงหมายที่ตองออก ระเบยี บและอางถงึ กฎหมายทใี่ หอาํ นาจออกระเบียบ (ถา ม)ี
๑๓ เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๘ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานเุ บกษา ๑๗.๖ ขอ ใหเรียงขอความที่จะใชเปนระเบียบเปนขอๆ โดยใหขอ ๑ เปนชื่อ ระเบยี บ ขอ ๒ เปน วนั ใชบงั คบั กาํ หนดวาใหใ ชบ งั คับต้ังแตเม่ือใด และขอสุดทา ย เปน ขอผูร ักษาการ ระเบยี บใดถา มมี ากขอ หรอื หลายเรอ่ื งจะแบง เปน หมวดกไ็ ด โดยใหย า ยขอ ผรู กั ษาการไปเปน ขอ สดุ ทา ย กอ นทีจ่ ะข้นึ หมวด ๑ ๑๗.๗ ประกาศ ณ วนั ที่ ใหลงตวั เลขของวันท่ี ชื่อเตม็ ของเดอื น และตัวเลขของ ปพ ทุ ธศกั ราชที่ออกระเบยี บ ๑๗.๘ ลงช่ือ ใหลงลายมือชื่อผูออกระเบียบ และพิมพช่ือเต็มของเจาของ ลายมอื ชื่อไวใ ตล ายมอื ชือ่ ๑๗.๙ ตําแหนง ใหลงตําแหนง ของผูอ อกระเบียบ ขอ ๑๘ ขอบังคับ คือ บรรดาขอความท่ีผูมีอาํ นาจหนาท่ีกาํ หนดใหใชโดยอาศัยอาํ นาจ ของกฎหมายที่บัญญัติใหกระทาํ ได ใชกระดาษตราครุฑ และใหจัดทาํ ตามแบบที่ ๖ ทายระเบียบ โดยกรอกรายละเอียด ดังน้ี ๑๘.๑ ขอ บงั คับ ใหล งช่อื สวนราชการท่อี อกขอบงั คับ ๑๘.๒ วาดวย ใหลงชื่อของขอบังคบั ๑๘.๓ ฉบบั ท่ี ถา เปน ขอ บงั คบั ทก่ี ลา วถงึ เปน ครง้ั แรกในเรอ่ื งนน้ั ไมต อ งลงวา เปน ฉบับท่เี ทาใด แตถ าเปน ขอ บงั คับเรื่องเดียวกันท่มี ีการแกไขเพ่ิมเตมิ ใหลงเปน ฉบบั ที่ ๒ และทีถ่ ดั ๆ ๆ ไปตามลาํ ดับ ๑๘.๔ พ.ศ. ใหลงตวั เลขของปพ ุทธศกั ราชทอ่ี อกขอ บงั คบั ๑๘.๕ ขอความ ใหอางเหตุผลโดยยอเพ่ือแสดงถึงความมุงหมายที่ตองออก ขอ บังคับและอา งถึงกฎหมายทใ่ี หอ ํานาจของขอบังคับ ๑๘.๖ ขอ ใหเ รยี งขอ ความทจ่ี ะใชบ งั คบั เปน ขอ ๆ โดยให ขอ ๑ เปน ชอ่ื ขอ บงั คบั ขอ ๒ เปน วนั ทใ่ี ชบ งั คบั กําหนดวา ใหใ ชบ งั คบั ตงั้ แตเ มอ่ื ใด และขอ สดุ ทา ยเปน ขอ ผรู กั ษาการ ขอ บงั คบั ใด ถา มมี ากขอ หรอื หลายเรอื่ งจะแบง เปน หมวดกไ็ ด โดยใหย า ยขอ ผรู กั ษาการไปเปน ขอ สดุ ทา ยกอ นทจ่ี ะขน้ึ หมวด ๑ ๑๘.๗ ประกาศ ณ วันท่ี ใหลงตวั เลขของวันที่ ชอ่ื เต็มของเดือน และตวั เลขของ ปพ ทุ ธศกั ราชท่ีออกขอบังคับ ๑๘.๘ ลงชื่อ ใหลงลายมือช่ือผูออกขอบังคับ และพิมพช่ือเต็มของเจาของ ลายมือชอ่ื ไวใตล ายมอื ชอื่ ๑๘.๙ ตําแหนง ใหล งตาํ แหนง ของผอู อกขอ บงั คบั
๑๔ เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๙ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘ ราชกจิ จานเุ บกษา ÊÇ‹ ¹·Õè õ ˹§Ñ ÊÍ× »ÃЪÒÊÑÁ¾Ñ¹¸ ขอ ๑๙ หนงั สอื ประชาสมั พนั ธ ใหใ ชต ามแบบทก่ี ําหนดไวใ นระเบยี บนี้ เวน แตจ ะมกี ฎหมาย กําหนดแบบไวโ ดยเฉพาะ หนังสอื ประชาสมั พันธม ี ๓ ชนิด ไดแ ก ประกาศ แถลงการณ และขา ว ขอ ๒๐ ประกาศ คือ บรรดาขอความท่ีทางราชการประกาศหรือชี้แจงใหทราบ หรือ แนะแนวทางปฏบิ ตั ิ ใชก ระดาษตราครฑุ และใหจ ดั ทําตามแบบที่ ๗ ทา ยระเบยี บ โดยกรอกรายละเอยี ด ดงั นี้ ๒๐.๑ ประกาศ ใหล งช่ือสว นราชการทอ่ี อกประกาศ ๒๐.๒ เร่อื ง ใหล งชือ่ เรื่องท่ปี ระกาศ ๒๐.๓ ขอ ความ ใหอา งเหตุผลทีต่ องออกประกาศและขอความทป่ี ระกาศ ๒๐.๔ ประกาศ ณ วนั ท่ี ใหล งตวั เลขของวนั ที่ ชอ่ื เตม็ ของเดอื น และตวั เลขของ ปพ ุทธศักราชท่ีออกประกาศ ๒๐.๕ ลงชอ่ื ใหล งลายมอื ชอื่ ผอู อกประกาศ และพมิ พช อ่ื เตม็ ของเจา ของลายมอื ชอ่ื ไวใตล ายมอื ช่อื ๒๐.๖ ตําแหนง ใหล งตําแหนงของผูออกประกาศ ในกรณที กี่ ฎหมายกําหนดใหทําเปนแจง ความ ใหเ ปลย่ี นคําวาประกาศ เปน แจงความ ขอ ๒๑ แถลงการณ คอื บรรดาขอ ความทท่ี างราชการแถลงเพอื่ ทาํ ความเขา ใจในกจิ การ ของทางราชการ หรือเหตุการณหรอื กรณใี ดๆ ใหท ราบชดั เจนโดยท่วั กนั ใชกระดาษตราครฑุ และให จดั ทําตามแบบที่ ๘ ทายระเบยี บ โดยกรอกรายละเอยี ดดังน้ี ๒๑.๑ แถลงการณ ใหลงชอ่ื สว นราชการท่ีออกแถลงการณ ๒๑.๒ เรื่อง ใหลงชอื่ เรื่องท่ีออกแถลงการณ ๒๑.๓ ฉบับท่ี ใชในกรณีท่ีจะตองออกแถลงการณหลายฉบับในเรื่องเดียวที่ ตอ เนื่องกนั ใหลงฉบบั ท่ีเรยี งตามลําดับไวดวย ๒๑.๔ ขอ ความ ใหอ า งเหตผุ ลทต่ี อ งออกแถลงการณแ ละขอ ความทแี่ ถลงการณ ๒๑.๕ สว นราชการท่ีออกแถลงการณ ใหล งช่อื สวนราชการท่อี อกแถลงการณ ๒๑.๖ วนั เดอื น ป ใหลงตวั เลขของวนั ที่ ชือ่ เต็มของเดอื น และตวั เลขของป พุทธศักราชทอ่ี อกแถลงการณ ขอ ๒๒ ขาว คือ บรรดาขอความท่ีทางราชการเห็นสมควรเผยแพรใหทราบ ใหจัดทํา ตามแบบท่ี ๙ ทายระเบยี บ โดยกรอกรายละเอยี ดดงั นี้
๑๕ เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๙๙ ง หนา ๑๐ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานเุ บกษา ๒๒.๑ ขาว ใหล งชอื่ สว นราชการที่ออกขา ว ๒๒.๒ เรอ่ื ง ใหลงชอื่ เรื่องทีอ่ อกขา ว ๒๒.๓ ฉบบั ท่ี ใชใ นกรณที จ่ี ะตอ งออกขา วหลายฉบบั ในเรอื่ งเดยี วทตี่ อ เนอ่ื งกนั ใหลงฉบับทเ่ี รยี งตามลําดบั ไวดว ย ๒๒.๔ ขอ ความ ใหล งรายละเอียดเกีย่ วกับเร่ืองของขาว ๒๒.๕ สว นราชการท่อี อกขาว ใหลงชือ่ สวนราชการท่ีออกขา ว ๒๒.๖ วัน เดือน ป ใหลงตัวเลขของวันที่ ช่ือเต็มของเดือน และตัวเลขของ ปพทุ ธศักราชทอี่ อกขา ว ʋǹ·èÕ ö ˹ѧÊ×Í·àèÕ ¨ŒÒ˹ŒÒ·ทèÕ ํา¢¹éÖ ËÃ×ÍÃѺäÇàŒ »¹š ËÅ¡Ñ °Ò¹ã¹ÃÒª¡Òà ขอ ๒๓ หนงั สอื ทเ่ี จา หนา ทที่ าํ ขน้ึ รบั ไวเ ปน หลกั ฐานในราชการ คอื หนงั สอื ทที่ างราชการทําขนึ้ นอกจากท่ีกลาวมาแลวขางตน หรือหนังสือที่หนวยงานอ่ืนใดซึ่งมิใชสวนราชการหรือบุคคลภายนอก มมี าถงึ สว นราชการ และสวนราชการรบั ไวเปนหลักฐานของทางราชการ มี ๔ ชนิด คอื หนงั สอื รับรอง รายงานการประชุม บันทึก และหนงั สอื อื่น ขอ ๒๔ หนงั สอื รบั รอง คอื หนงั สอื ทส่ี ว นราชการออกใหเ พอื่ รบั รองแก บคุ คล นติ บิ คุ คล หรือหนวยงาน เพ่ือวัตถุประสงคอยางหน่ึงอยางใดใหปรากฏแกบุคคลโดยทั่วไปไมจาํ เพาะเจาะจง ใชก ระดาษตราครุฑ และใหจ ัดทําตามแบบท่ี ๑๐ ทา ยระเบียบ โดยกรอกรายละเอยี ดดงั น้ี ๒๔.๑ เลขที่ ใหล งที่ของหนังสอื รับรองโดยเฉพาะ เรมิ่ ต้งั แตเลขที่ ๑ เรียงเปน ลําดับไปจนถึงสิ้นปปฏิทิน ทับเลขปพุทธศักราชท่ีออกหนังสือรับรอง หรือลงเลขท่ีของหนังสือทั่วไป ตามแบบหนงั สอื ภายนอกอยา งหนึง่ อยา งใด ๒๔.๒ สวนราชการเจาของหนังสือ ใหลงชื่อของสวนราชการซึ่งเปนเจาของ หนงั สือนน้ั และจะลงสถานทีต่ ั้งของสวนราชการเจาของหนังสือดว ยกไ็ ด ๒๔.๓ ขอความ ใหลงขอความข้ึนตนวา หนังสือฉบับน้ีใหไวเพื่อรับรองวา แลว ตอ ดวยช่อื บคุ คล นิติบคุ คล หรือหนว ยงานท่ีทางราชการรบั รอง ในกรณเี ปนบคุ คลใหพิมพชอ่ื เต็ม โดยมีคาํ นําหนา นาม ชอ่ื นามสกลุ ตาํ แหนงหนาท่ี และสังกัดหนวยงานทีผ่ ูนั้นทาํ งานอยูอ ยางชดั แจง แลว จงึ ลงขอความท่ีรับรอง ๒๔.๔ ใหไ ว ณ วนั ท่ี ใหล งตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขของป พทุ ธศักราชทอี่ อกหนงั สอื รบั รอง
๑๖ เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๑๑ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘ ราชกจิ จานเุ บกษา ๒๔.๕ ลงช่ือ ใหลงลายมือชื่อหัวหนาสวนราชการผูออกหนังสือหรือผูท่ีไดรับ มอบหมายและพิมพช่อื เตม็ ของเจา ของลายมอื ชือ่ ไวใ ตล ายมือชือ่ ๒๔.๖ ตําแหนง ใหล งตําแหนงของผูลงลายมือชอื่ ในหนงั สือ ๒๔.๗ รูปถายและลายมือช่ือผูไดรับการรับรอง ในกรณีท่ีการรับรองเปน เรื่องสาํ คัญท่ีออกใหแกบุคคลใหติดรูปถายของผูท่ีไดรับการรับรอง ขนาด ๔x๖ เซนติเมตร หนาตรง ไมสวมหมวก ประทับตราชื่อสวนราชการท่ีออกหนังสือบนขอบลางดานขวาของรูปถายคาบตอลงบน แผนกระดาษ และใหผูนั้นลงลายมือช่ือไวใตรูปถายพรอมท้ังพิมพชื่อเต็มของเจาของลายมือช่ือไวใต ลายมอื ชือ่ ดวย ขอ ๒๕ รายงานการประชมุ คอื การบนั ทกึ ความคดิ เหน็ ของผมู าประชมุ ผเู ขา รว มประชมุ และมติของทีป่ ระชมุ ไวเ ปน หลกั ฐาน ใหจดั ทาํ ตามแบบท่ี ๑๑ ทายระเบียบ โดยกรอกรายละเอียดดังนี้ ๒๕.๑ รายงานการประชุม ใหลงช่อื คณะท่ปี ระชมุ หรอื ชื่อการประชุมนั้น ๒๕.๒ คร้งั ที่ ใหล งคร้ังทป่ี ระชมุ ๒๕.๓ เมือ่ ใหล งวันเดอื นปท ่ปี ระชมุ ๒๕.๔ ณ ใหล งสถานท่ีท่ปี ระชุม ๒๕.๕ ผมู าประชมุ ใหล งชอ่ื และหรอื ตําแหนง ของผไู ดร บั แตง ตงั้ เปน คณะทป่ี ระชมุ ซ่ึงมาประชุมในกรณีท่ีมีผูมาประชุมแทนใหลงช่ือผูมาประชุมแทน และลงวามาประชุมแทน ผใู ดหรอื ตาํ แหนง ใด ๒๕.๖ ผูไมมาประชุม ใหลงช่ือและหรือตําแหนงของผูท่ีไดรับการแตงต้ังเปน คณะทปี่ ระชุมซึง่ มไิ ดม าประชุมพรอมท้ังเหตผุ ล (ถา มี) ๒๕.๗ ผเู ขา รว มประชมุ ใหล งชอ่ื และหรอื ตาํ แหนง ของผทู มี่ ไิ ดร บั การแตง ตง้ั เปน คณะทีป่ ระชุมซีึง่ ไดเขา รวมประชมุ (ถา มี) ๒๕.๘ เริ่มประชุมเวลา ใหล งเวลาที่เร่ิมประชุม ๒๕.๙ ขอความ ใหบันทึกขอความท่ีประชุม โดยปกติใหเร่ิมตนดวยประธาน กลาวเปด ประชมุ และเรือ่ งทป่ี ระชุมกับมตหิ รือขอสรุปของทปี่ ระชมุ ในแตละเรอ่ื งตามลําดับ ๒๕.๑๐ เลกิ ประชุมเวลา ใหล งเวลาท่เี ลิกประชมุ ๒๕.๑๑ ผจู ดรายงานการประชุม ใหลงช่อื ผูจดรายงานการประชมุ คร้ังน้ัน ขอ ๒๖ บนั ทกึ คอื ขอ ความซงึ่ ผใู ตบ งั คบั บญั ชาเสนอตอ ผบู งั คบั บญั ชา หรอื ผบู งั คบั บญั ชา สง่ั การแกผ ใู ตบ งั คบั บญั ชา หรอื ขอ ความทเี่ จา หนา ทห่ี รอื หนว ยงานระดบั ต่ํากวา สว นราชการระดบั กรม ติดตอกนั ในการปฏบิ ตั ิราชการ โดยปกติใหใ ชกระดาษบันทกึ ขอความ และใหม หี วั ขอ ดงั ตอ ไปนี้ ๒๖.๑ ช่ือตาํ แหนงท่บี นั ทกึ ถึง โดยใชค าํ ขน้ึ ตน ตามท่กี าํ หนดไวภาคผนวก ๒
๑๗ เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๑๒ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานุเบกษา ๒๖.๒ สาระสําคญั ของเรอ่ื ง ใหล งใจความของเรอื่ งทบ่ี นั ทกึ ถา มเี อกสารประกอบ ก็ใหระบุไวดว ย ๒๖.๓ ช่ือและตาํ แหนง ใหลงลายมือช่ือและตําแหนง ของผบู นั ทึก และในกรณี ทไ่ี มใ ชก ระดาษบนั ทึกขอ ความ ใหลงวนั เดือนปท บ่ี นั ทกึ ไวดวย การบนั ทกึ ตอ เนอ่ื ง โดยปกตใิ หผ บู นั ทกึ ระบคุ าํ ขนึ้ ตน ใจความบนั ทกึ และลงชอ่ื เชน เดยี วกบั ท่ไี ดกลา วไวขางตน และใหลงวัน เดอื น ป กาํ กบั ใตล ายมือช่อื ผูบันทึก หากไมมคี วามเหน็ ใดเพ่มิ เติม ใหล งชอื่ และวัน เดอื น ป กํากบั เทา นน้ั ขอ ๒๗๗ หนังสืออ่ืน คือ หนงั สือหรอื เอกสารอน่ื ใดทเ่ี กิดข้ึนเนอื่ งจากการปฏิบตั ิงานของ เจา หนา ทเี่ พือ่ เปน หลกั ฐานในราชการ ซ่งึ รวมถงึ ภาพถาย ฟลม แถบบันทกึ เสียง แถบบนั ทึกภาพ และ ส่ือกลางบนั ทกึ ขอมูลดวย หรอื หนงั สือของบคุ คลภายนอก ทย่ี ่นื ตอเจา หนา ที่ และเจา หนา ทไี่ ดร ับเขา ทะเบียนรับหนังสือของทางราชการแลว มีรูปแบบตามที่กระทรวง ทบวง กรม จะกาํ หนดข้ึนใชตาม ความเหมาะสม เวน แตมีแบบตามกฎหมายเฉพาะเรื่องใหทาํ ตามแบบ เชน โฉนด แผนท่ี แบบ แผนผงั สญั ญา หลักฐานการสืบสวนและสอบสวน และคํารอง เปน ตน สื่อกลางบนั ทึกขอ มลู ตามวรรคหนึ่ง หมายความถึง สอื่ ใดๆ ท่ีอาจใชบ นั ทึกขอมลู ไดด วย อปุ กรณทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส เชน แผนบันทึกขอมูล เทปแมเ หล็ก จานแมเหลก็ แผน ซีด-ี อา นอยา งเดยี ว หรอื แผนดจิ ทิ ลั อเนกประสงค เปน ตน ʋǹ·Õè ÷ º·àºç´àμÅ´ç ขอ ๒๘ หนงั สือที่ตองปฏิบตั ิใหเรว็ กวาปกติ เปนหนงั สือท่ตี อ งจัดสงและดาํ เนินการทาง สารบรรณดวยความรวดเร็วเปนพเิ ศษ แบง เปน ๓ ประเภท คอื ๒๘.๑ ดว นที่สุด ใหเ จาหนา ที่ปฏิบัตใิ นทนั ทที ี่ไดร บั หนังสอื น้ัน ๒๘.๒ ดว นมาก ใหเ จา หนา ทีป่ ฏบิ ตั โิ ดยเรว็ ๒๘.๓ ดวน ใหเ จาหนา ที่ปฏิบตั เิ ร็วกวาปกติ เทาท่จี ะทําได ใหระบุช้ันความเรว็ ดวยตวั อักษรสีแดงขนาดไมเ ลก็ กวาตัวพิมพโปง ๓๒ พอยต ใหเห็นชัด บนหนังสอื และบนซอง ตามที่กาํ หนดไวใ นแบบที่ ๑ แบบท่ี ๒ แบบท่ี ๓ และแบบที่ ๑๕ ทา ยระเบยี บ โดยใหระบคุ าํ วา ดว นทสี่ ดุ ดว นมาก หรอื ดว น สําหรบั หนงั สอื ตามขอ ๒๘.๑ ขอ ๒๘.๒ และขอ ๒๘.๓ แลว แตก รณี ๗ ขอ ๒๗ ความเดิมถกู ยกเลกิ โดยขอ ๖ แหง ระเบียบสํานกั นายกรฐั มนตรี วาดว ยงานสารบรรณ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘ และ ใหใชความท่ีพมิ พไ วแ ทน
๑๘ เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๙๙ ง หนา ๑๓ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานุเบกษา ในกรณที ตี่ องการใหหนังสือสงถงึ ผูรับภายในเวลาทก่ี ําหนด ใหร ะบุคําวา ดวนภายในแลว ลงวัน เดือน ป และกําหนดเวลาทีต่ องการใหหนงั สอื นั้นไปถึงผูรบั กับใหเจา หนาที่สงถึงผรู บั ซ่งึ ระบบุ น หนา ซองภายในเวลาทก่ี าํ หนด ขอ ๒๙๘ การติดตอราชการนอกจากจะดาํ เนินการ โดยหนังสือที่เปนเอกสารสามารถ ดําเนนิ การดว ยระบบสารบรรณอเิ ล็กทรอนิกสไ ด ในกรณีท่ีติดตอราชการดวยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส ใหผูสงตรวจสอบผลการสง ทุกครงั้ และใหผูรบั แจงตอบรับ เพอื่ ยืนยันวาหนงั สือไดจัดสง ไปยังผรู บั เรยี บรอ ยแลว และสว นราชการ ผูสงไมตองจัดสงหนังสือเปนเอกสาร เวนแตกรณีเปนเร่ืองสาํ คัญจําเปนตองยืนยันเปนเอกสาร ใหทาํ เอกสารยืนยันตามไปทันที การสงขอความทางเคร่ืองมือสื่อสาร เชน โทรเลข วิทยุโทรเลข โทรพิมพ โทรศัพท วิทยุสื่อสาร วิทยุกระจายเสียง หรือวิทยุโทรทัศน เปนตน ใหผูรับปฏิบัติเชนเดียวกับไดรับหนังสือ ในกรณีท่จี ะตอ งยนื ยนั เปนหนงั สือ ใหท ําหนังสอื ยนื ยันตามไปทันที การสงขอความทางเคร่ืองมือส่ือสารซึ่งไมมีหลักฐานปรากฏชัดแจง เชน ทางโทรศัพท วทิ ยสุ อื่ สาร วทิ ยกุ ระจายเสยี ง หรอื วทิ ยโุ ทรทศั น เปน ตน ใหผ สู ง และผรู บั บนั ทกึ ขอ ความไวเ ปน หลกั ฐาน ขอ ๓๐ หนังสือทจ่ี ัดทาํ ขึน้ โดยปกติใหม สี ําเนาคูฉบับเก็บไวทตี่ น เรือ่ ง ๑ ฉบบั และใหมี สําเนาเกบ็ ไวท ีห่ นว ยงานสารบรรณกลาง ๑ ฉบับ สาํ เนาคูฉบับใหผูลงช่ือลงลายมอื ช่ือหรือลายมือช่ือยอ และใหผ ูรา ง ผพู มิ พ และผูตรวจ ลงลายมือช่อื หรอื ลายมอื ช่อื ยอ ไวท ่ีขา งทา ยขอบลางดานขวาของหนังสือ ขอ ๓๑ หนงั สอื ทเี่ จา ของหนงั สอื เหน็ วา มสี ว นราชการอน่ื ทเ่ี กยี่ วขอ งควรไดร บั ทราบดว ย โดยปกตใิ หส งสําเนาไปใหทราบโดยทําเปน หนังสือประทับตรา สาํ เนาหนงั สอื นใี้ หม คี าํ รบั รองวา สาํ เนาถกู ตอ ง โดยใหเ จา หนา ทต่ี งั้ แตร ะดบั ๒ หรอื เทยี บเทา ข้ึนไป ซ่ึงเปนเจาของเร่ืองลงลายมือช่ือรับรอง พรอมท้ังลงช่ือตัวบรรจงและตําแหนงที่ขอบลางของ หนงั สือ ขอ ๓๒ หนังสือเวียน คือ หนังสือท่ีมีถึงผูรับเปนจํานวนมาก มีใจความอยางเดียวกัน ใหเพ่ิมรหัสตัวพยัญชนะ ว หนาเลขทะเบียนหนังสือสง ซ่ึงกําหนดเปนเลขที่หนังสือเวียนโดยเฉพาะ เริ่มตั้งแตเลข ๑ เรียงเปนลําดับไปจนถึงส้ินปปฏิทิน หรือใชเลขท่ีของหนังสือท่ัวไปตามแบบหนังสือ ภายนอกอยา งหน่ึงอยา งใด ๘ ขอ ๒๙ ความเดมิ ถกู ยกเลกิ โดยขอ ๗ แหง ระเบยี บสํานกั นายกรัฐมนตรี วาดว ยงานสารบรรณ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘ และ ใหใชความทีพ่ ิมพไวแทน
๑๙ เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๑๔ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘ ราชกจิ จานเุ บกษา เมอื่ ผรู บั ไดร บั หนงั สอื เวยี นแลว เหน็ วา เรอื่ งนน้ั จะตอ งใหห นว ยงานหรอื บคุ คลในบงั คบั บญั ชา ในระดบั ตา งๆ ไดร บั ทราบดว ย กใ็ หม หี นา ทจี่ ดั ทาํ สาํ เนาหรอื จดั สง ใหห นว ยงานหรอื บคุ คลเหลา นน้ั โดยเรว็ ขอ ๓๓ สรรพนามทใี่ ชใ นหนงั สอื ใหใ ชต ามฐานะแหง ความสมั พนั ธร ะหวา งเจา ของหนงั สอื และผรู ับหนังสอื ตามภาคผนวก ๒ ขอ ๓๔ หนงั สอื ภาษาตางประเทศ ใหใชก ระดาษตราครฑุ หนงั สอื ทีเ่ ปนภาษาอังกฤษ ใหท ําตามแบบท่ีกําหนดไวใ นภาคผนวก ๔ สาํ หรับหนังสอื ทเ่ี ปนภาษาอน่ื ๆ ซึ่งมใิ ชภาษาอังกฤษ ใหเ ปน ไปตามประเพณีนยิ ม ËÁÇ´ ò ¡ÒÃÃѺáÅÐʧ‹ ˹§Ñ Ê×Í Ê‹Ç¹·Õè ñ ¡ÒÃÃѺ˹ѧÊ×Í ขอ ๓๕๙ หนงั สอื รบั คือ หนงั สือที่ไดร ับเขามาจากภายนอก ใหเจา หนา ทีข่ องหนวยงาน สารบรรณกลางปฏบิ ัตติ ามทกี่ าํ หนดไวในสวนน้ี การรับหนงั สอื ท่มี ชี ัน้ ความลบั ในชัน้ ลบั หรือลบั มาก ดวยระบบสารบรรณอเิ ล็กทรอนกิ ส ใหผูใชงานหรือผูปฏิบัติงานที่ไดรับการแตงตั้งใหเขาถึงเอกสารลับแตละระดับ เปนผูรับผานระบบ การรกั ษาความปลอดภัย โดยใหเปน ไปตามระเบยี บวาดว ยการรักษาความลบั ของทางราชการ ขอ ๓๖ จดั ลําดบั ความสําคญั และความเรง ดว นของหนงั สอื เพอ่ื ดําเนนิ การกอ นหลงั และ ใหผ เู ปด ซองตรวจเอกสาร หากไมถ กู ตอ งใหต ดิ ตอ สว นราชการเจา ของเรอื่ ง หรอื หนว ยงานทอ่ี อกหนงั สอื เพ่อื ดําเนนิ การใหถ กู ตอง หรอื บันทึกขอ บกพรองไวเ ปน หลกั ฐาน แลวจงึ ดาํ เนนิ การเรอ่ื งน้ันตอไป ขอ ๓๗ ประทบั ตรารบั หนงั สอื ตามแบบที่ ๑๒ ทา ยระเบยี บ ทม่ี มุ บนดา นขวาของหนงั สอื โดยกรอกรายละเอยี ดดังน้ี ๓๗.๑ เลขรบั ใหลงเลขทรี่ ับตามเลขทร่ี บั ในทะเบียน ๓๗.๒ วนั ท่ี ใหล งวันเดอื นปท รี่ บั หนงั สอื ๓๗.๓ เวลา ใหล งเวลาทีร่ ับหนังสือ ๙ ขอ ๓๕ ความเดมิ ถกู ยกเลกิ โดยขอ ๘ แหงระเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรี วา ดว ยงานสารบรรณ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘ และ ใหใชความท่พี ิมพไ วแ ทน
๒๐ เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๑๕ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานเุ บกษา ขอ ๓๘ ลงทะเบียนรับหนังสือในทะเบียนหนังสือรับตามแบบท่ี ๑๓ ทายระเบียบ โดยกรอกรายละเอยี ดดังน้ี ๓๘.๑ ทะเบียนหนังสือรบั วันที่ เดือน พ.ศ. ใหลงวนั เดือนปที่ลงทะเบยี น ๓๘.๒ เลขทะเบยี นรบั ใหล งเลขลําดบั ของทะเบยี นหนงั สอื รบั เรยี งลาํ ดบั ตดิ ตอ กนั ไปตลอดปปฏิทนิ เลขทะเบยี นของหนงั สือรบั จะตอ งตรงกบั เลขทีใ่ นตรารับหนังสือ ๓๘.๓ ท่ี ใหลงเลขที่ของหนงั สือท่ีรบั เขา มา ๓๘.๔ ลงวนั ที่ ใหลงวนั เดือนป ของหนงั สือท่รี บั เขา มา ๓๘.๕ จาก ใหลงตาํ แหนงเจาของหนังสอื หรือช่อื สว นราชการหรอื ชอ่ื บุคคลใน กรณที ไ่ี มม ตี ําแหนง ๓๘.๖ ถึง ใหลงตาํ แหนงของผูท่ีหนังสือนั้นมีถึงหรือช่ือสวนราชการหรือช่ือ บุคคลในกรณีท่ไี มมตี าํ แหนง ๓๘.๗ เร่ือง ใหลงชือ่ เร่ืองของหนงั สอื ฉบับนน้ั ในกรณีท่ไี มมีชื่อเรื่องใหล งสรุป เรื่องยอ ๓๘.๘ การปฏบิ ัติ ใหบ ันทกึ การปฏิบัติเกีย่ วกับหนังสือฉบับนน้ั ๓๘.๙ หมายเหตุ ใหบนั ทึกขอความอืน่ ใด (ถา มี) ขอ ๓๙ จัดแยกหนังสือที่ลงทะเบียนรับแลวสงใหสวนราชการที่เก่ียวของดาํ เนินการ โดยใหลงชื่อหนวยงานท่ีรับหนังสือน้ันในชองการปฏิบัติ ถามีชื่อบุคคลหรือตําแหนงท่ีเกี่ยวของกับ การรบั หนังสือ ใหลงชอ่ื หรือตําแหนง ไวดว ย การสง หนงั สอื ทลี่ งทะเบยี นรบั แลว ไปใหส ว นราชการทเ่ี กยี่ วขอ งดาํ เนนิ การตามวรรคหนงึ่ จะสงโดยใชสมุดสงหนังสือตามขอ ๔๘ หรือใหผูรับหนังสือลงชื่อและวันเดือนปที่รับหนังสือไวเปน หลักฐานในทะเบียนรับหนังสอื ก็ได การดําเนนิ การตามขนั้ ตอนนจ้ี ะเสนอผา นผบู งั คบั บญั ชาผใู ดหรอื ไม ใหเ ปน ไปตามทห่ี วั หนา สว นราชการกาํ หนด ถาหนังสือรับนั้นจะตองดาํ เนินเร่ืองในหนวยงานนั้นเองจนถึงขั้นไดตอบหนังสือไปแลว ใหลงทะเบยี นวาไดสงออกไปโดยหนังสอื ทเ่ี ทา ใด วนั เดือนปใด ขอ ๔๐ การรบั หนงั สอื ภายในสว นราชการเดยี วกนั เมอื่ ผรู บั ไดร บั หนงั สอื จากหนว ยงาน สารบรรณกลางแลว ใหป ฏิบัตติ ามวธิ กี ารทีก่ ลา วขา งตนโดยอนุโลม
๒๑ เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๑๖ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานุเบกษา ʋǹ·Õè ò ¡ÒÃʧ‹ ˹§Ñ ÊÍ× ขอ ๔๑๑๐ หนงั สอื สง คอื หนงั สอื ทส่ี ง ออกไปภายนอก ใหป ฏบิ ตั ติ ามทก่ี าํ หนดไวใ นสว นน้ี การสงหนงั สือที่มชี น้ั ความลบั ในชั้นลับหรอื ลบั มาก ดว ยระบบสารบรรณอิเลก็ ทรอนิกส ใหผูใชงานหรือผูปฏิบัติงานท่ีไดรับการแตงตั้งใหเขาถึงเอกสารลับแตละระดับ เปนผูสงผานระบบ การรักษาความปลอดภัย โดยใหเปน ไปตามระเบียบวา ดวยการรักษาความลบั ของทางราชการ ขอ ๔๒ ใหเจาของเร่ืองตรวจความเรียบรอยของหนังสือ รวมท้ังสิ่งท่ีจะสงไปดวย ใหค รบถว น แลว สง เรื่องใหเ จาหนาทีข่ องหนวยงานสารบรรณกลางเพ่อื สงออก ขอ ๔๓ เมื่อเจา หนา ที่ของหนวยงานสารบรรณกลางไดร บั เรื่องแลว ใหป ฏบิ ัติดังนี้ ๔๓.๑ ลงทะเบยี นหนังสือในทะเบยี นหนังสอื สง ตามแบบท่ี ๑๔ ทายระเบยี บ โดยกรอกรายละเอียดดงั นี้ ๔๓.๑.๑ ทะเบียนหนังสือสง วันที่ เดือน พ.ศ. ใหลงวันเดือนปท่ี ลงทะเบยี น ๔๓.๑.๒ เลขทะเบยี นสง ใหล งลาํ ดบั ของทะเบยี นหนงั สอื ลงเรยี งลาํ ดบั ตดิ ตอ กนั ไปตลอดปปฏทิ ิน ๔๓.๑.๓ ที่ ใหลงรหัสตัวพยัญชนะและเลขประจาํ ของสวนราชการ เจาของเร่ืองในหนงั สือที่จะสงออก ถา ไมม ที ดี่ ังกลา วชองน้ีจะวาง ๔๓.๑.๔ ลงวันท่ี ใหลงวันเดือนปทจ่ี ะสงหนงั สือนั้นออก ๔๓.๑.๕ จาก ใหลงตาํ แหนงเจาของหนังสือหรือช่ือสวนราชการหรือ ชื่อบุคคลในกรณีท่ีไมมตี าํ แหนง ๔๓.๑.๖ ถงึ ใหล งตาํ แหนง ของผทู ห่ี นงั สอื นน้ั มถี งึ หรอื ชอื่ สว นราชการ หรือชอื่ บุคคลในกรณีที่ไมม ีตําแหนง ๔๓.๑.๗ เรอ่ื ง ใหล งชอ่ื เรอื่ งของหนงั สอื ฉบบั นน้ั ในกรณที ไ่ี มม ชี อ่ื เรอ่ื ง ใหลงสรุปเรื่องยอ ๔๓.๑.๘ การปฏบิ ตั ิ ใหบนั ทึกการปฏบิ ตั ิเกี่ยวกบั หนังสือฉบับนนั้ ๔๓.๑.๙ หมายเหตุ ใหบนั ทกึ ขอ ความอื่นใด (ถามี) ๔๓.๒ ลงเลขทีแ่ ละวันเดอื นปในหนงั สือที่จะสง ออกท้ังในตนฉบับ และสาํ เนา คฉู บบั ใหตรงกบั เลขทะเบยี นสง และวันเดือนปใ นทะเบยี นหนังสือสงตามขอ ๔๓.๑.๒ และขอ ๔๓.๑.๔ ๑๐ ขอ ๔๑ ความเดมิ ถกู ยกเลกิ โดยขอ ๙ แหงระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรี วาดว ยงานสารบรรณ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘ และ ใหใชความท่ีพิมพไวแทน
๒๒ เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๑๗ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานเุ บกษา ขอ ๔๔ กอนบรรจุซองใหเจาหนาที่ของหนวยงานสารบรรณกลางตรวจความเรียบรอย ของหนังสือ ตลอดจนสิ่งทีส่ ง ไปดวยอกี ครงั้ หนึ่ง แลว ปด ผนึก หนงั สอื ทไี่ มม คี วามสาํ คญั มากนกั อาจสง ไปโดยวธิ พี บั ยดึ ตดิ ดว ยแถบกาว กาว เยบ็ ดว ยลวด หรอื วิธอี น่ื แทนการบรรจุซอง ขอ ๔๕ การจา หนา ซองใหป ฏิบัติตามแบบที่ ๑๕ ทา ยระเบียบ สําหรับหนงั สอื ที่ตอ งปฏบิ ตั ใิ หเ รว็ กวา ปกติ ใหป ฏิบัติตามขอ ๒๘ ในกรณีท่ไี มใ ชส มดุ สงหนงั สอื ใหม ใี บรบั หนังสอื ตามขอ ๔๙ แนบตดิ ซองไปดวย ขอ ๔๖ การสง หนงั สอื โดยทางไปรษณยี ใหถ อื ปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บหรอื วธิ กี ารทก่ี ารสอื่ สาร แหง ประเทศไทยกําหนด การสง หนงั สอื ซง่ึ มใิ ชเ ปนการสงโดยทางไปรษณีย เมอ่ื สง หนังสือใหผ รู บั แลว ผสู งตองให ผรู บั ลงชอื่ รบั ในสมดุ สง หนงั สอื หรอื ใบรบั แลว แตก รณี ถา เปน ใบรบั ใหน ําใบรบั นน้ั มาผนกึ ตดิ ไวท ส่ี าํ เนา คฉู บับ ขอ ๔๗ หนงั สอื ทไี่ ดล งทะเบยี นสง ในกรณที เี่ ปน การตอบหนงั สอื ซง่ึ รบั เขา มาใหล งทะเบยี น วา หนังสอื นน้ั ไดตอบตามหนงั สอื รบั ท่เี ทาใด วนั เดือนปใด ขอ ๔๘ สมุดสงหนังสือใหจัดทาํ ตามแบบที่ ๑๖ ทายระเบียบ โดยกรอกรายละเอียด ดังนี้ ๔๘.๑ เลขทะเบียน ใหล งเลขทะเบียนหนงั สือสง ๔๘.๒ จาก ใหลงตาํ แหนงหรือช่ือสวนราชการหรือช่ือบุคคลที่เปนเจาของ หนังสอื ๔๘.๓ ถึง ใหลงตาํ แหนงของผูท่ีหนังสือน้ันมีถึงหรือชื่อสวนราชการหรือช่ือ บุคคลในกรณีที่ไมม ตี าํ แหนง ๔๘.๔ หนวยรบั ใหลงชือ่ สวนราชการทร่ี บั หนังสอื ๔๘.๕ ผูร บั ใหผรู ับหนงั สอื ลงชื่อทีส่ ามารถอา นออกได ๔๘.๖ วันและเวลา ใหผ ูรับหนงั สอื ลงวนั เดือนปแ ละเวลาท่ีรับหนงั สอื ๔๘.๗ หมายเหตุ ใหบ นั ทึกขอความอื่นใด (ถามี) ขอ ๔๙ ใบรบั หนงั สอื ใหจ ดั ทําตามแบบท่ี ๑๗ ทา ยระเบยี บ โดยกรอกรายละเอยี ดดงั นี้ ๔๙.๑ ที่ ใหลงเลขท่ีของหนังสอื ฉบับน้นั ๔๙.๒ ถึง ใหลงตําแหนงของผูท่ีหนังสือน้ันมีถึงหรือช่ือสวนราชการหรือช่ือ บคุ คลในกรณีท่ีไมมตี าํ แหนง ๔๙.๓ เร่ือง ใหลงชอ่ื เรอื่ งของหนงั สือฉบบั นั้น ในกรณที ่ีไมม ชี ื่อเรอ่ื งใหล งสรุป เรื่องยอ
๒๓ เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๙๙ ง หนา ๑๘ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานุเบกษา ๔๙.๔ รับวนั ท่ี ใหผ ูรบั หนังสอื ลงวนั เดือนปทร่ี ับหนงั สือ ๔๙.๕ เวลา ใหผ รู บั หนงั สือลงเวลาทรี่ บั หนังสอื ๔๙.๖ ผรู ับ ใหผ รู ับหนงั สือลงชอื่ ท่ีสามารถอานออกได ÊÇ‹ ¹·Õè ó º·àº´ç àμÅ´ç ขอ ๕๐ เพื่อใหการรับและสงหนังสือดาํ เนินไปโดยสะดวกเรียบรอยและรวดเร็ว สวนราชการจะกําหนดหนาทข่ี องผปู ฏบิ ัตติ ลอดจนแนวทางปฏิบตั นิ ั้นไวดวยก็ได ทงั้ นี้ ใหม ีการสํารวจ ทะเบียนหนังสือรับเปนประจาํ วาหนังสือตามทะเบียนรับน้ันไดมีการปฏิบัติไปแลวเพียงใดและใหมี การติดตามเร่ืองดวย ในการน้ี สวนราชการใดเห็นสมควรจะจัดใหมีบัตรตรวจคนสําหรับหนังสือรับ และหนังสอื สงเพ่ือความสะดวกในการคนหากไ็ ดตามความเหมาะสม ขอ ๕๑ บตั รตรวจคน ใหจดั ทาํ ตามแบบท่ี ๑๘ ทา ยระเบยี บ โดยกรอกรายละเอียด ดังน้ี ๕๑.๑ เร่อื ง รหสั ใหลงเร่อื งและรหสั ตามหมวดหมูของหนงั สอื ๕๑.๒ เลขทะเบยี นรับ ใหลงเลขทะเบยี นตามที่ปรากฏในทะเบยี นหนงั สือรบั ๕๑.๓ ที่ ใหลงเลขทีข่ องหนังสือ ๕๑.๔ ลงวันท่ี ใหล งวนั เดือนปของหนงั สอื ๕๑.๕ รายการ ใหล งเรอื่ งยอ ของหนงั สอื เพอื่ ใหท ราบวา หนงั สอื นน้ั มาจากทใี่ ด เรื่องอะไร ๕๑.๖ การปฏบิ ตั ิ ใหบ นั ทึกการปฏบิ ตั ิเกย่ี วกับหนังสอื นน้ั เพ่อื ใหท ราบวาสง ไป ที่ใด เมอ่ื ใด ËÁÇ´ ó ¡ÒÃࡺç Ã¡Ñ ÉÒ Â×Á áÅÐทําÅÒÂ˹§Ñ Ê×Í ÊÇ‹ ¹·Õè ñ ¡ÒÃࡺç ÃÑ¡ÉÒ ขอ ๕๒ การเกบ็ หนงั สอื แบง ออกเปน การเกบ็ ระหวา งปฏบิ ตั ิ การเกบ็ เมอ่ื ปฏบิ ตั เิ สรจ็ แลว และการเกบ็ ไวเพ่ือใชในการตรวจสอบ ขอ ๕๓ การเกบ็ ระหวา งปฏบิ ตั ิ คอื การเกบ็ หนงั สอื ทปี่ ฏบิ ตั ยิ งั ไมเ สรจ็ ใหอ ยใู นความรบั ผดิ ชอบ ของเจาของเรอ่ื งโดยใหก าํ หนดวธิ กี ารเก็บใหเหมาะสมตามขนั้ ตอนของการปฏิบตั ิงาน
๒๔ เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๑๙ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานเุ บกษา ขอ ๕๔ การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแลว คือ การเก็บหนังสือที่ปฏิบัติเสร็จเรียบรอยแลว และไมมอี ะไรท่ีจะตองปฏิบตั ิตอ ไปอีก ใหเ จา หนาทข่ี องเจาของเรือ่ งปฏบิ ตั ิดังนี้ ๕๔.๑ จัดทาํ บัญชหี นังสอื สงเกบ็ ตามแบบท่ี ๑๙ ทายระเบยี บ อยา งนอ ยใหมี ตนฉบับและสาํ เนาคูฉบับสําหรับเจาของเร่ืองและหนวยเก็บเก็บไวอยางละฉบับโดยกรอกรายละเอียด ดงั น้ี ๔๕.๑.๑ ลาํ ดบั ที่ ใหล งเลขลําดบั เรอื่ งของหนังสือที่เก็บ ๔๕.๑.๒ ที่ ใหลงเลขทข่ี องหนงั สือแตละฉบับ ๔๕.๑.๓ ลงวนั ที่ ใหล งวนั เดอื นปของหนังสอื แตละฉบับ ๔๕.๑.๔ เรื่อง ใหลงชื่อเร่ืองของหนังสือแตละฉบับ ในกรณีท่ีไมมี ชื่อเรอ่ื งใหล งสรุปเร่อื งยอ ๔๕.๑.๕ อายุการเก็บหนังสือ ใหลงวันเดือนปที่จะเก็บถึง ในกรณีให เก็บไวตลอดไป ใหลงคาํ วา หา มทาํ ลาย ๕๔.๑.๖ หมายเหตุ ใหบ ันทกึ ขอ ความอนื่ ใด (ถามี) ๕๔.๒ สง หนงั สอื และเรอ่ื งปฏบิ ตั ทิ งั้ ปวงทเ่ี กยี่ วขอ งกบั หนงั สอื นน้ั พรอ มทง้ั บญั ชี หนงั สอื สง เก็บไปใหหนวยเกบ็ ทีส่ ว นราชการนนั้ ๆ กําหนด ขอ ๕๕ เมอื่ ไดร บั เรอื่ งจากเจา ของเรอ่ื งตามขอ ๕๔ แลว ใหเ จา หนา ทผ่ี รู บั ผดิ ชอบในการเกบ็ หนงั สอื ปฏบิ ตั ดิ งั น้ี ๕๕.๑ ประทับตรากาํ หนดเก็บหนังสือตามขอ ๗๓ ไวที่มุมลางดานขวาของ กระดาษแผนแรกของหนังสอื ฉบับนั้น และลงลายมอื ชอื่ ยอ กํากบั ตรา ๕๕.๑.๑ หนงั สอื ทตี่ อ งเกบ็ ไวต ลอดไป ใหป ระทบั ตราคําวา หา มทาํ ลาย ดว ยหมกึ สแี ดง ๕๕.๑.๒ หนังสือท่ีเก็บโดยมีกําหนดเวลา ใหประทับตราคําวา เก็บถึง พ.ศ. .... ดวยหมึกสนี าํ้ เงิน และลงเลขของปพ ุทธศกั ราชท่ีใหเ ก็บถงึ ๕๕.๒ ลงทะเบียนหนังสือเก็บไวเปนหลักฐานตามแบบที่ ๒๐ ทายระเบียบ โดยกรอกรายละเอยี ดดงั นี้ ๕๕.๒.๑ ลาํ ดบั ท่ี ใหลงเลขลาํ ดบั เร่อื งของหนงั สอื ทีเ่ กบ็ ๕๕.๒.๒ วันเกบ็ ใหลงวนั เดอื นปท ่นี าํ หนังสือนัน้ เขาทะเบยี นเก็บ ๕๕.๒.๓ เลขทะเบยี นรบั ใหล งเลขทะเบยี นรบั ของหนังสอื แตล ะฉบับ ๕๕.๒.๔ ที่ ใหล งเลขท่ขี องหนังสือแตละฉบับ ๕๕.๒.๕ เร่ือง ใหลงช่ือเร่ืองของหนังสือแตละฉบับ ในกรณีที่ไมมี ช่อื เรื่องใหลงสรุปเร่ืองยอ
๒๕ เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๙๙ ง หนา ๒๐ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานุเบกษา ๕๕.๒.๖ รหสั แฟม ใหล งหมายเลขลําดบั หมขู องการจดั แฟม เกบ็ หนงั สอื ๕๕.๒.๗ กาํ หนดเวลาเก็บ ใหลงระยะเวลาการเก็บตามท่ีกําหนดใน ตรากาํ หนดเกบ็ หนงั สอื ตามขอ ๕๕.๑ ๕๕.๒.๘ หมายเหตุ ใหบ ันทึกขอ ความอื่นใด (ถา ม)ี ขอ ๕๖ การเกบ็ ไวเ พอ่ื ใชใ นการตรวจสอบ คอื การเกบ็ หนงั สอื ทปี่ ฏบิ ตั เิ สรจ็ เรยี บรอ ยแลว แตจ ําเปน จะตอ งใชใ นการตรวจสอบเปน ประจํา ไมส ะดวกในการสง ไปเกบ็ ยงั หนว ยเกบ็ ของสว นราชการ ตามขอ ๕๔ ใหเจาของเร่ืองเก็บเปนเอกเทศ โดยแตงต้ังเจาหนาท่ีข้ึนรับผิดชอบก็ได เม่ือหมด ความจาํ เปนท่ีจะตองใชในการตรวจสอบแลว ใหจัดสงหนังสือน้ันไปยังหนวยเก็บของสวนราชการ โดยใหถอื ปฏบิ ัติตามขอ ๕๔ และขอ ๕๕ โดยอนุโลม ขอ ๕๗๑๑ อายุการเก็บหนังสือ โดยปกติใหเก็บไวไมนอยกวา ๑๐ ป เวนแตหนังสือ ดงั ตอ ไปนี้ ๕๗.๑ หนงั สอื ทตี่ อ งสงวนเปน ความลบั ใหป ฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย ระเบยี บวา ดว ย การรักษาความปลอดภัยแหง ชาติ หรอื ระเบยี บวา ดว ยการรักษาความลับของทางราชการ ๕๗.๒ หนังสือท่ีเปนหลักฐานทางอรรถคดี สาํ นวนของศาลหรือของพนักงาน สอบสวนหรือหนังสืออ่ืนใดท่ีไดมีกฎหมายหรือระเบียบแบบแผนกําหนดไวเปนพิเศษแลว การเก็บ ใหเปนไปตามกฎหมายและระเบยี บแบบแผนวาดว ยการน้ัน ๕๗.๓ หนังสือท่ีมีคุณคาทางประวัติศาสตรทุกสาขาวิชา และมีคุณคาตอ การศึกษา คนควา วจิ ัย ใหเก็บไวเ ปนหลักฐานสําคัญทางประวัติศาสตรของชาตติ ลอดไป หรือตามที่ สํานักหอจดหมายเหตุแหง ชาติ กรมศิลปากร กําหนด ๕๗.๔ หนงั สอื ทไ่ี ดป ฏบิ ตั งิ านเสรจ็ สน้ิ แลว และเปน คสู ําเนาทมี่ ตี น เรอ่ื งจะคน ได จากทอ่ี ื่น ใหเ กบ็ ไวไ มน อยกวา ๕ ป ๕๗.๕ หนังสือที่เปนเรื่องธรรมดาสามัญซึ่งไมมีความสําคัญ และเปนเร่ืองที่ เกดิ ขึน้ เปนประจําเมื่อดําเนนิ การแลวเสรจ็ ใหเก็บไวไ มน อยกวา ๑ ป ๕๗.๖ หนังสือหรอื เอกสารเกย่ี วกับการเงิน การจายเงนิ หรอื การกอ หนีผ้ กู พนั ทางการเงินท่ีไมเปนหลักฐานแหงการกอ เปล่ียนแปลง โอน สงวน หรือระงับซ่ึงสิทธิในทางการเงิน รวมถึงหนังสือหรือเอกสารเกี่ยวกับการรับเงิน การจายเงิน หรือการกอหนี้ผูกพันทางการเงินที่หมด ความจาํ เปนในการใชเปนหลักฐานแหงการกอ เปล่ียนแปลง โอน สงวน หรือระงับซ่ึงสิทธิในทาง การเงินเพราะไดมีหนังสือหรือเอกสารอ่ืนท่ีสามารถนาํ มาใชอางอิงหรือทดแทนหนังสือหรือเอกสาร ๑๑ ขอ ๕๗ ความเดิมถูกยกเลกิ โดยขอ ๑๐ แหง ระเบียบสาํ นกั นายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘ และใหใ ชความที่พมิ พไวแ ทน
๒๖ เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๒๑ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานุเบกษา ดงั กลา วแลว เมอ่ื สํานกั งานการตรวจเงนิ แผน ดนิ ตรวจสอบแลว ไมม ปี ญ หา และไมม คี วามจําเปน ตอ งใช ประกอบการตรวจสอบหรือเพอื่ การใดๆ อีก ใหเ กบ็ ไวไมน อ ยกวา ๕ ป หนังสือที่เกี่ยวกับการเงิน ซ่ึงเห็นวาไมมีความจําเปนตองเก็บไวถึง ๑๐ ป หรือ ๕ ป แลวแตก รณีใหทาํ ความตกลงกบั กระทรวงการคลงั ขอ ๕๘๑๒ ทุกปปฏิทินใหสวนราชการจัดสงหนังสือท่ีมีอายุครบ ๒๐ ป นับจากวันท่ีได จดั ทําขน้ึ ทเี่ กบ็ ไว ณ สว นราชการใด พรอ มทง้ั บญั ชสี ง มอบหนงั สอื ครบ ๒๐ ป ใหส ํานกั หอจดหมายเหตุ แหงชาติ กรมศลิ ปากร ภายในวันที่ ๓๑ มกราคม ของปถัดไป เวนแตหนงั สือดงั ตอไปน้ี ๕๘.๑ หนงั สอื ทต่ี อ งสงวนเปน ความลบั ใหป ฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย ระเบยี บวา ดว ย การรักษาความปลอดภยั แหง ชาติ หรือระเบยี บวาดวยการรกั ษาความลบั ของทางราชการ ๕๘.๒ หนังสือท่ีมีกฎหมาย ขอบังคับ หรือระเบียบท่ีออกใชเปนการท่ัวไป กําหนดไวเ ปน อยางอ่นื ๕๘.๓ หนงั สอื ทส่ี ว นราชการมคี วามจําเปน ตอ งเกบ็ ไวท สี่ ว นราชการนน้ั ใหจ ดั ทาํ บญั ชหี นงั สอื ครบ ๒๐ ปท ขี่ อเกบ็ เอง สง มอบใหส ํานักหอจดหมายเหตแุ หงชาติ กรมศิลปากร ขอ ๕๙๑๓ บัญชีสงมอบหนังสือครบ ๒๐ ป และบัญชีหนังสือครบ ๒๐ ปที่ขอเก็บเอง อยา งนอ ยใหม ตี น ฉบบั และสาํ เนาคฉู บบั เพอ่ื ใหส ว นราชการผมู อบและสาํ นกั หอจดหมายเหตแุ หง ชาติ กรมศิลปากร ผรู บั มอบยึดถอื ไวเปนหลกั ฐานฝายละฉบบั ๕๙.๑ บัญชีสง มอบหนังสอื ครบ ๒๐ ป ใหจัดทําตามแบบท่ี ๒๑ ทา ยระเบยี บ โดยกรอกรายละเอยี ดดงั น้ี ๕๙.๑.๑ ชือ่ บญั ชสี งมอบหนงั สอื ครบ ๒๐ ป ประจาํ ป ใหลงตัวเลขของ ปพุทธศกั ราชที่จดั ทาํ บัญชี ๕๙.๑.๒ กระทรวง ทบวง กรม กอง ใหลงช่ือสว นราชการทจ่ี ัดทําบญั ชี ๕๙.๑.๓ วันที่ ใหล งวัน เดือน ปท จ่ี ัดทําบญั ชี ๕๙.๑.๔ แผน ที่ ใหลงเลขลาํ ดับของแผนบัญชี ๕๙.๑.๕ ลําดับที่ ใหลงเลขลาํ ดบั เรอื่ งของหนงั สอื ทีส่ ง มอบ ๕๙.๑.๖ รหสั แฟม ใหล งหมายเลขลําดบั หมขู องการจดั แฟม เกบ็ หนงั สอื ๕๙.๑.๗ ที่ ใหล งเลขท่ีของหนังสอื แตล ะฉบับ ๕๙.๑.๘ ลงวันท่ี ใหลงวนั เดือน ปของหนังสอื แตล ะฉบบั ๕๙.๑.๙ เลขทะเบียนรบั ใหล งเลขทะเบยี นรบั ของหนงั สือแตละฉบับ ๑๒ ขอ ๕๘ ความเดิมถูกยกเลกิ โดยขอ ๑๐ แหง ระเบยี บสํานักนายกรฐั มนตรี วาดวยงานสารบรรณ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘ และใหใชค วามท่พี มิ พไวแทน ๑๓ ขอ ๕๙ ความเดิมถกู ยกเลกิ โดยขอ ๑๐ แหง ระเบยี บสาํ นกั นายกรัฐมนตรี วา ดวยงานสารบรรณ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘ และใหใ ชค วามทพ่ี ิมพไวแ ทน
๒๗ เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๒๒ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานเุ บกษา ๕๙.๑.๑๐ เรื่อง ใหลงช่ือเรื่องของหนังสือแตละฉบับ ในกรณีท่ีไมมี ชอื่ เรอ่ื งใหลงสรปุ เรือ่ งยอ ๕๙.๑.๑๑ หมายเหตุ ใหบันทึกขอ ความอ่นื ใด (ถา ม)ี ๕๙.๑.๑๒ ลงชอ่ื ผมู อบ ใหผ มู อบลงลายมอื ชอ่ื และวงเลบ็ ชอื่ และนามสกลุ ดว ยตัวบรรจง พรอมทง้ั ลงตําแหนงของผมู อบ ๕๙.๑.๑๓ ลงชอ่ื ผรู บั มอบ ใหผ รู บั มอบลงลายมอื ชอ่ื และวงเลบ็ ชอื่ และ นามสกลุ ดว ยตวั บรรจงพรอมทงั้ ลงตําแหนง ของผูร ับมอบ ๕๙.๒ บัญชีหนังสือครบ ๒๐ ป ท่ีขอเก็บเอง ใหจัดทําตามแบบที่ ๒๒ ทา ยระเบยี บ โดยกรอกรายละเอียดดังน้ี ๕๙.๒.๑ ชอื่ บญั ชหี นงั สอื ครบ ๒๐ ป ทขี่ อเกบ็ เองประจาํ ป ใหล งตวั เลข ของปพทุ ธศักราชที่จดั ทาํ บญั ชี ๕๙.๒.๒ กระทรวง ทบวง กรม กอง ใหลงช่ือสว นราชการทจ่ี ดั ทําบญั ชี ๕๙.๒.๓ วนั ท่ี ใหล งวนั เดอื น ปท ่ีจดั ทาํ บญั ชี ๕๙.๒.๔ แผน ที่ ใหล งเลขลําดบั ของแผนบัญชี ๕๙.๒.๕ ลําดับท่ี ใหล งเลขลาํ ดับเรื่องของหนงั สอื ที่ขอเก็บเอง ๕๙.๒.๖ รหสั แฟม ใหล งหมายเลขลําดบั หมขู องการจดั แฟม เกบ็ หนงั สอื ๕๙.๒.๗ ที่ ใหล งเลขท่ีของหนงั สือแตละฉบับ ๕๙.๒.๘ ลงวนั ท่ี ใหล งวนั เดอื น ปของหนงั สอื แตละฉบบั ๕๙.๒.๙ เร่ือง ใหลงชื่อเร่ืองของหนังสือแตละฉบับ ในกรณีที่ไมมี ชื่อเรอ่ื งใหลงสรปุ เรือ่ งยอ ๕๙.๒.๑๐ หมายเหตุ ใหบันทึกขอความอ่นื ใด (ถา ม)ี ขอ ๖๐ หนงั สอื ทยี่ งั ไมถ งึ กาํ หนดทําลายซง่ึ สว นราชการเหน็ วา เปน หนงั สอื ทม่ี คี วามสําคญั และประสงคจ ะฝากใหก องจดหมายเหตแุ หง ชาติ กรมศิลปากร เกบ็ ไว ใหป ฏบิ ตั ดิ งั น้ี ๖๐.๑ จัดทาํ บัญชีฝากหนังสือตามแบบท่ี ๒๓ ทายระเบียบ อยางนอยไมมี ตน ฉบับและสาํ เนาคูฉบบั โดยกรอกรายละเอียดดงั น้ี ๖๐.๑.๑ ช่ือบัญชีฝากหนังสือประจําป ใหลงตัวเลขของปพุทธศักราช ท่จี ดั ทาํ บัญชี ๖๐.๑.๒ กระทรวง ทบวง กรม กอง ใหลงชื่อสว นราชการท่ีจดั ทาํ บัญชี ๖๐.๑.๓ วนั ที่ ใหล งวนั เดอื น ปท ่จี ัดทําบญั ชี ๖๐.๑.๔ แผน ท่ี ใหลงเลขลาํ ดบั ของแผนบัญชี ๖๐.๑.๕ ลําดับท่ี ใหล งเลขลาํ ดับเรอื่ งของหนังสอื
๒๘ เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๒๓ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘ ราชกจิ จานุเบกษา ๖๐.๑.๖ รหสั แฟม ใหล งหมายเลขลําดบั หมขู องการจดั แฟม เกบ็ หนงั สอื ๖๐.๑.๗ ที่ ใหล งเลขที่ของหนงั สอื แตละฉบับ ๖๐.๑.๘ ลงวนั ที่ ใหล งวัน เดอื น ปของหนงั สือแตล ะฉบบั ๖๐.๑.๙ เลขทะเบียนรับ ใหลงเลขทะเบียนรบั ของหนังสือแตละฉบับ ๖๐.๑.๑๐ เรื่อง ใหลงชื่อเรื่องของหนังสือแตละฉบับ ในกรณีท่ีไมมี ช่อื เรอื่ งใหล งสรุปเร่ืองยอ ๖๐.๑.๑๑ หมายเหตุ ใหบนั ทึกขอความอ่นื ใด (ถาม)ี ๖๐.๑.๑๒ ลงชอ่ื ผฝู าก ใหผ ฝู ากลงลายมอื ชอื่ และวงเลบ็ ชอื่ และนามสกลุ ดวยตัวบรรจง พรอมทัง้ ลงตําแหนง ของผฝู าก ๖๐.๑.๑๓ ลงชื่อผูรับฝาก ใหผูรับฝากลงลายมือชื่อและวงเล็บช่ือและ นามสกลุ ดวยตวั บรรจงพรอมทง้ั ลงตําแหนง ของผูรับฝาก ๖๐.๒ สง ตน ฉบบั และสาํ เนาคฉู บบั บญั ชฝี ากหนงั สอื พรอ มกบั หนงั สอื ทจี่ ะฝาก ใหก องจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศลิ ปากร ๖๐.๓ เม่ือกองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร ตรวจหนังสือและรับฝาก หนังสือแลว ใหล งนามในบญั ชฝี ากหนงั สอื แลว คืนตน ฉบบั ใหส วนราชการผูฝากเก็บไวเ ปน หลกั ฐาน หนังสือที่ฝากเก็บไวท่ีกองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร ใหถือวาเปนหนังสือของ สวนราชการผูฝาก หากสวนราชการผูฝากตองการใชหนังสือหรือขอคืน ใหทําไดโดยจัดทาํ หลักฐาน ตอกันไวใ หช ดั แจง เมื่อถงึ กาํ หนดการทําลายแลว ใหส ว นราชการผูฝากดําเนนิ การตามขอ ๖๖ ขอ ๖๑ การรกั ษาหนงั สอื ใหเ จา หนา ทร่ี ะมดั ระวงั รกั ษาหนงั สอื ใหอ ยใู นสภาพใชร าชการ ไดทุกโอกาส หากชาํ รุดเสียหายตองรีบซอมใหใชราชการไดเหมือนเดิม หากสูญหายตองหาสําเนา มาแทน ถาชาํ รุดเสียหายจนไมสามารถซอมแซมใหคงสภาพเดิมได ใหรายงานผูบังคับบัญชาทราบ และใหหมายเหตไุ วในทะเบียนเกบ็ ดว ย ถาหนังสือท่ีสูญหายเปนเอกสารสิทธิตามกฎหมายหรือหนังสือสาํ คัญที่เปนการแสดง เอกสารสิทธใิ หดาํ เนินการแจง ความตอ พนักงานสอบสวน ʋǹ·èÕ ò ¡ÒÃÂÁ× ขอ ๖๒ การยืมหนงั สอื ทีส่ ง เก็บแลว ใหป ฏิบัติดังน้ี ๖๒.๑ ผูยืมจะตอ งแจง ใหทราบวาเร่อื งทย่ี ืมนั้นจะนําไปใชใ นราชการใด
๒๙ เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๙๙ ง หนา ๒๔ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานุเบกษา ๖๒.๒ ผยู มื จะตอ งมอบหลกั ฐานการยมื ใหเ จา หนา ทเี่ กบ็ แลว ลงชอื่ รบั เรอื่ งทย่ี มื ไวใ นบัตรยมื หนงั สือ และใหเ จา หนา ท่เี ก็บรวบรวมหลักฐานการยมื เรียงลาํ ดับวนั เดอื นปไวเ พอ่ื ตดิ ตาม ทวงถาม สวนบัตรยืมหนังสือน้นั ใหเ ก็บไวแทนท่ีหนงั สือท่ถี ูกยมื ไป ๖๒.๓ การยืมหนังสือระหวางสวนราชการ ผูยืมและผูอนุญาตใหยืมตองเปน หัวหนาสวนราชการระดบั กองขนึ้ ไป หรือผทู ่ไี ดรับมอบหมาย ๖๒.๔ การยมื หนงั สอื ภายในสว นราชการเดยี วกนั ผยู มื และผอู นญุ าตใหย มื ตอ งเปน หวั หนาสวนราชการระดบั แผนกขึ้นไป หรือผทู ่ีไดรบั มอบหมาย ขอ ๖๓ บตั รยมื หนงั สอื ใหจ ดั ทําตามแบบท่ี ๒๔ ทา ยระเบยี บ โดยกรอกรายละเอยี ดดงั นี้ ๖๓.๑ รายการ ใหล งช่ือเรื่องหนงั สอื ที่ขอยมื ไปพรอมดว ยรหสั ของหนังสือน้ัน ๖๓.๒ ผยู ืม ใหล งชอ่ื บุคคล ตําแหนง หรือสว นราชการทยี่ มื หนงั สอื น้นั ๖๓.๓ ผูรับ ใหผูรับหนังสือนั้นลงลายมือชื่อ และวงเล็บชื่อกํากับพรอมดวย ตําแหนงบรรทัดถัดไป ๖๓.๔ วันยืม ใหล งวนั เดือนปที่ยมื หนงั สอื นั้น ๖๓.๕ กาํ หนดสงคืน ใหล งวันเดอื นปท ี่จะสงหนงั สอื นั้นคนื ๖๓.๖ ผูส งคนื ใหผ สู งคืนลงลายมอื ช่อื ๖๓.๗ วนั สงคนื ใหล งวันเดอื นปทสี่ งหนงั สือคืน ขอ ๖๔ การยืมหนังสือท่ีปฏิบัติยังไมเสร็จหรือหนังสือที่เก็บไวเพื่อใชในการตรวจสอบ ใหถ ือปฏิบัติตามขอ ๖๒ โดยอนโุ ลม ขอ ๖๕ การใหบ คุ คลภายนอกยมื หนงั สอื จะกระทํามไิ ด เวน แตจ ะใหด หู รอื คดั ลอกหนงั สอื ท้งั น้ี จะตอ งไดรับอนุญาตจากหัวหนาสว นราชการระดบั กองข้นึ ไป หรอื ผทู ไ่ี ดรบั มอบหมายกอ น สǹ·èÕ ó ¡ÒÃทําÅÒ ขอ ๖๖ ภายใน ๖๐ วนั หลงั จากวนั สนิ้ ปป ฏทิ นิ ใหเ จา หนา ทผ่ี รู บั ผดิ ชอบในการเกบ็ หนงั สอื สาํ รวจหนังสือที่ครบกาํ หนดอายุการเก็บในปน้ัน ไมวาจะเปนหนังสือท่ีเก็บไวเองหรือท่ีฝากเก็บไวท่ี กองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร แลวจัดทําบัญชีหนังสือขอทําลายเสนอหัวหนาสวนราชการ ระดับกรมเพ่ือพิจารณาแตงตั้งคณะกรรมการทาํ ลายหนังสอื บญั ชหี นงั สอื ขอทาํ ลายใหจ ดั ทําตามแบบท่ี ๒๕ ทา ยระเบยี บ อยา งนอ ยใหม ตี น ฉบบั และ สาํ เนาคูฉบับโดยกรอกรายละเอียดดังน้ี
๓๐ เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๒๕ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานุเบกษา ๖๖.๑ ชอื่ บญั ชหี นงั สอื ขอทําลายประจาํ ป ใหล งตวั เลขของปพ ทุ ธศกั ราชทจี่ ดั ทาํ บญั ชี ๖๖.๒ กระทรวง ทบวง กรม กอง ใหล งชือ่ สว นราชการทจ่ี ัดทําบัญชี ๖๖.๓ วันที่ ใหล งวัน เดือน ปท ่ีจดั ทําบัญชี ๖๖.๔ แผน ท่ี ใหลงเลขลาํ ดับของแผนบญั ชี ๖๖.๕ ลําดบั ที่ ใหล งเลขลาํ ดับเรอื่ งของหนังสอื ๖๖.๖ รหัสแฟม ใหล งหมายเลขลําดับหมูข องการจดั แฟม เก็บหนงั สือ ๖๖.๗ ที่ ใหล งเลขที่ของหนงั สอื แตล ะฉบบั ๖๖.๘ ลงวันท่ี ใหล งวัน เดอื น ปข องหนงั สอื แตละฉบับ ๖๖.๙ เลขทะเบียนรับ ใหลงทะเบียนรับของหนงั สอื แตละฉบบั ๖๖.๑๐ เรอ่ื ง ใหลงช่อื เรื่องของหนังสือแตล ะฉบบั ในกรณีทไี่ มมชี ่อื เร่อื งใหลง สรุปเร่อื งยอ ๖๖.๑๑ การพจิ ารณา ใหค ณะกรรมการทาํ ลายหนงั สือเปน ผกู รอก ๖๖.๑๒ หมายเหตุ ใหบนั ทกึ ขอ ความอืน่ ใด (ถาม)ี ขอ ๖๗ ใหหัวหนาสวนราชการระดับกรมแตงตั้งคณะกรรมการทาํ ลายหนังสือ ประกอบดว ย ประธานกรรมการ และกรรมการอีกอยา งนอยสองคน โดยปกตใิ หแ ตงตง้ั จากขาราชการ ตั้งแตร ะดับ ๓ หรอื เทยี บเทาขนึ้ ไป ถาประธานกรรมการไมสามารถปฏิบัติหนาท่ีไดใหกรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการ คนหนึ่งทาํ หนา ทป่ี ระธาน มติของคณะกรรมการใหถือเสียงขางมาก ถากรรมการผูใดไมเห็นดวยใหทาํ บันทึก ความเหน็ แยง ไว ขอ ๖๘ คณะกรรมการทาํ ลายหนังสือ มีหนา ทด่ี งั น้ี ๖๘.๑ พิจารณาหนงั สือที่จะขอทําลายตามบัญชหี นังสอื ขอทําลาย ๖๘.๒ ในกรณที ค่ี ณะกรรมการมคี วามเหน็ วา หนงั สอื ฉบบั ใดไมค วรทาํ ลายและ ควรจะขยายเวลาการเก็บไว ใหลงความเห็นวาจะขยายเวลาการเก็บไวถึงเม่ือใด ในชองการพิจารณา ตามขอ ๖๖.๑๑ ของบญั ชหี นงั สอื ขอทําลาย แลว ใหแ กไ ขอายกุ ารเกบ็ หนงั สอื ในตรากําหนดเกบ็ หนงั สอื โดยใหประธานกรรมการทําลายหนังสือลงลายมอื ชอื่ กาํ กับการแกไ ข ๖๘.๓ ในกรณีท่ีคณะกรรมการมีความเห็นวาหนังสือเรื่องใดควรใหทาํ ลาย ใหก รอกเครอ่ื งหมายกากบาท (X) ลงในชองการพิจารณา ตามขอ ๖๖.๑๑ ของบัญชหี นังสือขอทาํ ลาย ๖๘.๔ เสนอรายงานผลการพิจารณาพรอมทั้งบันทึกความเห็นแยงของ คณะกรรมการ (ถา มี) ตอหวั หนาสว นราชการระดับกรมเพ่อื พิจารณาสัง่ การตามขอ ๖๙
๓๑ เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๒๖ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานุเบกษา ๖๘.๕ ควบคุมการทาํ ลายหนังสือซ่ึงผูมีอาํ นาจอนุมัติใหทาํ ลายไดแลว โดยการเผาหรอื วธิ อี น่ื ใดทจี่ ะไมใ หห นงั สอื นนั้ อา นเปน เรอ่ื งได และเมอ่ื ทําลายเรยี บรอ ยแลว ใหท าํ บนั ทกึ ลงนามรว มกนั เสนอผมู ีอํานาจอนุมตั ทิ ราบ ขอ ๖๙ เมื่อหัวหนา สวนราชการระดับกรมไดร ับรายงานตามขอ ๖๘.๔ แลว ใหพจิ ารณา ส่งั การ ดังนี้ ๖๙.๑ ถา เห็นวาหนงั สอื เรอื่ งใดยังไมควรทาํ ลาย ใหส่งั การใหเก็บหนงั สอื น้นั ไว จนถึงเวลาการทําลายงวดตอไป ๖๙.๒ ถาเห็นวาหนังสือเรื่องใดควรทาํ ลาย ใหสงบัญชีหนังสือขอทาํ ลายให กองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร พจิ ารณากอ น เวน แตห นงั สือประเภทที่สว นราชการนั้นไดข อ ทาํ ความตกลงกบั กรมศลิ ปากรแลว ไมต อ งสงไปใหพ ิจารณา ขอ ๗๐ ใหกองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร พิจารณารายการในบัญชีหนังสือ ขอทาํ ลายแลว แจงใหส ว นราชการท่สี งบัญชีหนังสอื ขอทําลายทราบดังนี้ ๗๐.๑ ถากองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร เห็นชอบดวย ใหแจงให สว นราชการนนั้ ดําเนนิ การทําลายหนงั สอื ตอ ไปได หากกองจดหมายเหตแุ หง ชาติ กรมศลิ ปากร ไมแ จง ใหท ราบอยา งใด ภายในกาํ หนดเวลา ๖๐ วนั นบั แตว นั ทสี่ ว นราชการนน้ั ไดส ง เรอื่ งใหก องจดหมายเหตุ แหงชาติ กรมศิลปากร ใหถ ือวา กองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศลิ ปากร ไดใ หความเห็นชอบแลว และ ใหสวนราชการทําลายหนงั สือได ๗๐.๒ ถา กองจดหมายเหตแุ หง ชาติ กรมศลิ ปากร เหน็ วา หนงั สอื ฉบบั ใดควรจะ ขยายเวลาการเกบ็ ไวอ ยา งใดหรอื ใหเ กบ็ ไวต ลอดไป ใหแ จง ใหส ว นราชการนน้ั ทราบ และใหส ว นราชการ นน้ั ๆ ทําการแกไ ขตามทก่ี องจดหมายเหตแุ หง ชาติ กรมศลิ ปากร แจง มา หากหนงั สอื ใดกองจดหมายเหตุ แหงชาติ กรมศิลปากร เห็นควรใหสงไปเก็บไวท่ีกองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร ก็ให สวนราชการน้นั ๆ ปฏิบตั ติ าม เพ่ือประโยชนในการน้ี กองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร จะสงเจาหนาท่ีมารวม ตรวจสอบหนังสือสว นราชการน้ันกไ็ ด ËÁÇ´ ô ÁÒμðҹμÃÒ áºº¾ÔÁ¾ áÅЫͧ ขอ ๗๑ ตราครฑุ สาํ หรับแบบพมิ พใหใชตามแบบที่ ๒๖ ทายระเบยี บ มี ๒ ขนาด คอื ๗๑.๑ ขนาดตวั ครฑุ สงู ๓ เซนติเมตร ๗๑.๒ ขนาดตัวครฑุ สงู ๑.๕ เซนติเมตร
๓๒ เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๙๙ ง หนา ๒๗ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานเุ บกษา ขอ ๗๒ ตราช่ือสว นราชการใหใชต ามแบบที่ ๒๗ ทา ยระเบยี บ มีลักษณะเปนรปู วงกลม สองวงซอนกันเสน ผาศูนยก ลางวงนอก ๔.๕ เซนติเมตร วงใน ๓.๕ เซนติเมตร ลอมครุฑตามขอ ๗๑.๑ ระหวางวงนอกและวงในมีอักษรไทยชื่อกระทรวง ทบวง กรม หรือสวนราชการท่ีเรียกช่ืออยางอ่ืน ท่มี ีฐานะเปนกรมหรือจงั หวัดอยขู อบลางของตรา สว นราชการใดทม่ี กี ารตดิ ตอ กบั ตา งประเทศ จะใหม ชี อื่ ภาษาตา งประเทศเพม่ิ ขนึ้ ดว ยกไ็ ด โดยใหอักษรไทยอยขู อบบนและอักษรโรมันอยขู อบลา งของตรา ขอ ๗๓ ตรากาํ หนดเก็บหนังสือ คือ ตราท่ใี ชประทับบนหนงั สือเก็บเพือ่ ใหท ราบกาํ หนด ระยะเวลาการเกบ็ หนังสอื นั้นมคี าํ วา เก็บถึง พ.ศ. .... หรอื คาํ วา หา มทาํ ลาย ขนาดไมเ ล็กกวาตัวพิมพ ๒๔ พอยท ขอ ๗๔ มาตรฐานกระดาษและซอง ๗๔.๑ มาตรฐานกระดาษโดยปกติใหใชกระดาษปอนดขาว นํา้ หนัก ๖๐ กรัม ตอ ตารางเมตร มี ๓ ขนาด คือ ๗๔.๑.๑ ขนาดเอ ๔ หมายความวา ขนาด ๒๑๐ มิลลิเมตร x ๒๙๗ มิลลิเมตร ๗๔.๑.๒ ขนาดเอ ๕ หมายความวา ขนาด ๑๔๘ มิลลิเมตร x ๒๑๐ มลิ ลเิ มตร ๗๔.๑.๓ ขนาดเอ ๘ หมายความวา ขนาด ๕๒ มิลลิเมตร x ๗๔ มิลลิเมตร ๗๔.๒ มาตรฐานซอง โดยปกตใิ หใ ชก ระดาษสขี าวหรอื สนี ํา้ ตาล นํา้ หนกั ๘๐ กรมั ตอ ตารางเมตร เวน แตซ องของขนาด ซี ๔ ใหใ ชก ระดาษนํา้ หนกั ๑๒๐ กรมั ตอ ตารางเมตร มี ๔ ขนาด คอื ๗๔.๒.๑ ขนาดซี ๔ หมายความวา ขนาด ๒๒๙ มิลลิเมตร x ๓๒๔ มลิ ลเิ มตร ๗๔.๒.๒ ขนาดซี ๕ หมายความวา ขนาด ๑๖๒ มลิ ลเิ มตร x ๒๒๙ มิลลเิ มตร ๗๔.๒.๓ ขนาดซี ๖ หมายความวา ขนาด ๑๑๕ มิลลิเมตร x ๑๖๒ มลิ ลิเมตร ๗๔.๒.๔ ขนาดดแี อล หมายความวา ขนาด ๑๑๐ x ๒๒๐ มิลลิเมตร ขอ ๗๕ กระดาษตราครุฑใหใชกระดาษขนาดเอ ๔ พิมพครุฑตามขอ ๗๑.๑ ดวยหมึก สีดาํ หรอื ทาํ เปน ครุฑดนุ ท่กี ่ึงกลางสว นบนของกระดาษตามแบบที่ ๒๘ ทายระเบยี บ ขอ ๗๖ กระดาษบนั ทึกขอความ ใหใชก ระดาษขนาด เอ ๔ หรือ ขนาด เอ ๕ พมิ พค รฑุ ตามขอ ๗๑.๒ ดวยหมึกสดี าํ ทม่ี ุมบนดา นซาย ตามแบบที่ ๒๙ ทายระเบยี บ
๓๓ เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๙๙ ง หนา ๒๘ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๘ ราชกิจจานุเบกษา ขอ ๗๗ ซองหนังสอื ใหพมิ พค รฑุ ตามขอ ๗๑.๒ ดว ยหมึกสีดําทมี่ ุมบนดา นซายของซอง ๗๗.๑ ขนาดซี ๔ ใชส าํ หรบั บรรจหุ นงั สอื กระดาษตราครฑุ โดยไมต อ งพบั มชี นดิ ธรรมดาและขยายขา ง ๗๗.๒ ขนาดซี ๕ ใชสาํ หรบั บรรจหุ นังสอื กระดาษตราครฑุ พับ ๒ ๗๗.๓ ขนาดซี ๖ ใชส าํ หรับกระดาษตราครุฑพบั ๔ ๗๗.๔ ขนาดดแี อล ใชส ําหรบั บรรจุหนงั สือกระดาษตราครุฑพับ ๓ สว นราชการใดมคี วามจําเปน ตอ งใชซ องสําหรบั สง ทางไปรษณยี อ ากาศโดยเฉพาะ อาจใช ซองพิเศษสําหรบั สง ทางไปรษณยี อ ากาศและพมิ พต ราครฑุ ตามที่กลาวขา งตนไดโดยอนุโลม ขอ ๗๘ ตรารับหนังสือ คือ ตราที่ใชประทับบนหนังสือ เพื่อลงเลขทะเบียนรับหนังสือ ตามแบบที่ ๑๒ ทา ยระเบยี บ มลี ักษณะเปนรูปสเ่ี หลีย่ มผืนผา ขนาด ๒.๕ เซนติเมตร x ๕ เซนตเิ มตร มชี ื่อสว นราชการอยตู อนบน ขอ ๗๙ ทะเบียนหนังสือรับ ใชสําหรับลงรายการหนังสือท่ีไดรับเขาเปนประจาํ วัน โดยเรยี งลําดับลงมาตามเวลาท่ไี ดรบั หนงั สือ มขี นาดเอ ๔ พิมพสองหนา มสี องชนดิ คือ ชนดิ เปนเลม และชนดิ เปน แผนตามแบบท่ี ๑๓ ทายระเบยี บ ขอ ๘๐ ทะเบียนหนังสือสง ใชสาํ หรับลงรายการหนังสือที่ไดสงออกเปนประจําวัน โดยเรียงลําดบั ลงมาตามเวลาทไ่ี ดส ง หนงั สือ มขี นาดเอ ๔ พิมพสองหนา มีสองชนิด คือ ชนิดเปน เลม และชนิดเปนแผนตามแบบที่ ๑๔ ทา ยระเบยี บ ขอ ๘๑ สมุดสงหนังสือและใบรับหนังสือ ใชสําหรับลงรายการละเอียดเกี่ยวกับการสง หนังสือ โดยใหผนู าํ สง ถอื กาํ กบั ไปกับหนงั สือเพื่อใหผูเซน็ รบั แลวรับกลบั คนื มา ๘๑.๑ สมุดสงหนังสือ เปนสมุดสาํ หรับใชลงรายการสงหนังสือ มีขนาดเอ ๕ พิมพสองหนา ตามแบบที่ ๑๖ ทา ยระเบยี บ ๘๑.๒ ใบรบั หนงั สอื ใชส าํ หรบั กาํ กบั ไปกบั หนงั สอื ทน่ี ําสง โดยใหผ รู บั เซน็ ชอ่ื รบั แลวรบั กลบั คนื มา มขี นาดเอ ๘ พมิ พหนา เดียว ตามแบบที่ ๑๘ ทายระเบียบ ขอ ๘๒ บัตรตรวจคน เปนบัตรกาํ กับหนังสือแตละรายการเพื่อใหทราบวาหนังสือนั้นๆ ไดมีการดาํ เนินการตามลาํ ดับข้ันตอนอยางใด จนกระทั่งเสร็จสิ้น บัตรน้ีเก็บเรียงลาํ ดับกันเปนชุด ในท่ีเก็บโดยมีกระดาษติดเปนบัตรดรรชนี ซ่ึงแบงออกเปนตอนๆ เพื่อสะดวกแกการตรวจคน มขี นาดเอ ๕ พมิ พส องหนา ตามแบบท่ี ๑๘ ทายระเบยี บ ขอ ๘๓ บัญชีหนังสือสงเก็บ ใชสําหรับลงรายการหนังสือท่ีจะสงเก็บ มีขนาดเอ ๔ พมิ พห นา เดียวตามแบบที่ ๑๙ ทา ยระเบยี บ ขอ ๘๔ ทะเบียนหนังสือเก็บ เปนทะเบียนที่ใชลงรายการหนังสือเก็บ มีขนาดเอ ๔ พมิ พสองหนามสี องชนดิ คอื ชนิดเปน เลม และชนิดเปนแผน ตามแบบที่ ๒๐ ทา ยระเบียบ
๓๔ เลม ๑๒๒ ตอนพเิ ศษ ๙๙ ง หนา ๒๙ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๘ ราชกจิ จานเุ บกษา ขอ ๘๕ บัญชีสงมอบหนังสือครบ ๒๕ ป เปนบัญชีที่ใชลงรายการหนังสือที่มีอายุครบ ๒๕ ป สงมอบเก็บไวที่กองจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร มีลักษณะเปนแผนขนาดเอ ๔ พิมพส องหนา ตามแบบที่ ๒๑ ทายระเบยี บ ขอ ๘๖ บัญชีหนังสือครบ ๒๕ ป ท่ีขอเก็บเอง เปนบัญชีท่ีใชลงรายการหนังสือ ที่มีอายุครบ ๒๕ ป ซ่ึงสวนราชการน้ันมีความประสงคจะเก็บไวเอง มีลักษณะเปนแผนขนาดเอ ๔ พิมพส องหนา ตามแบบที่ ๒๒ ทายระเบยี บ ขอ ๘๗ บัญชีฝากหนังสือ เปนบัญชีท่ีใชลงรายการหนังสือที่สวนราชการนาํ ฝากไวกับ กองจดหมายเหตแุ หง ชาติ กรมศิลปากร มลี ักษณะเปน แผน ขนาดเอ ๔ พมิ พสองหนา ตามแบบท่ี ๒๓ ทา ยระเบยี บ ขอ ๘๘ บัตรยืมหนังสือ ใชสาํ หรับเปนหลักฐานแทนหนังสือท่ีใหยืมไป มีขนาดเอ ๔ พมิ พห นา เดยี ว ตามแบบที่ ๒๔ ทายระเบยี บ ขอ ๘๙ บญั ชหี นงั สอื ขอทําลาย เปน บญั ชที ลี่ งรายการหนงั สอื ทคี่ รบกาํ หนดเวลาการเกบ็ มีลกั ษณะเปน แผน ขนาดเอ ๔ พิมพส องหนา ตามแบบที่ ๒๕ ทา ยระเบยี บ º·à©¾ÒСÒÅ ขอ ๙๐ แบบพมิ พ และซอง ซง่ึ มอี ยกู อ นวนั ทรี่ ะเบยี บนใ้ี ชบ งั คบั ใหใ ชไ ดต อ ไปจนกวา จะหมด ประกาศ ณ วันที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๖๑๔ พลเอก เปรม ติณสูลานนท นายกรฐั มนตรี ๑๔ ระเบียบสาํ นกั นายกรัฐมนตรี วา ดวยงานสารบรรณ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘ ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๑ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๔๘ พันตํารวจโท ทักษณิ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
๓๕ เลม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๓๒๕ ง หนา ๕ ๒๙ ธนั วาคม ๒๕๖๐ ราชกจิ จานุเบกษา ÃÐàºÂÕ ºสาํ นัก¹Ò¡ÃѰÁ¹μÃÕ Ç‹Ò´ÇŒ §ҹÊÒúÃó (©ººÑ ·Õè ó) ¾.È. òõöð โดยที่เปนการสมควรแกไขเพ่ิมเติมระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๒๖ เพอ่ื ระบตุ าํ แหนง ประเภทตําแหนง และระดบั ตําแหนง ของขา ราชการพลเรอื น และพนกั งาน สว นทอ งถนิ่ ใหส อดคลอ งกบั ตําแหนง ประเภทตําแหนง และระดบั ตาํ แหนง ของขา ราชการพลเรอื นหรอื พนักงานสวนทองถิน่ นนั้ รวมทัง้ กาํ หนดใหพนกั งานราชการและเจา หนา ที่ของรฐั อ่นื มีหนา ทท่ี าํ สําเนา หนงั สอื และรับรองสาํ เนาหนังสอื นน้ั ไดด ว ย อาศยั อํานาจตามความในมาตรา ๑๑ (๘) แหง พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการแผน ดนิ พ.ศ.๒๕๓๔ นายกรัฐมนตรโี ดยความเหน็ ชอบของคณะรฐั มนตรจี งึ ออกระเบยี บไว ดังตอ ไปนี้ ขอ ๑ ระเบยี บนเ้ี รยี กวา “ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรวี า ดว ยงานสารบรรณ (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ.๒๕๖๐” ขอ ๒ ระเบยี บนใ้ี หใชบังคับต้งั แตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตน ไป ขอ ๓ ใหย กเลกิ ความในวรรคสองของขอ ๓๑ แหง ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรวี า ดว ย งานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๒๖ และใหใ ชค วามดังตอ ไปนีแ้ ทน “สาํ เนาหนังสือตามวรรคหน่ึงใหมีคาํ รับรองวา สาํ เนาถูกตอง โดยใหขาราชการพลเรือน หรือพนักงานสวนทองถิ่นประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ หรือประเภทท่ัวไป ระดับชํานาญงาน ขน้ึ ไป หรอื เจา หนา ทข่ี องรฐั อนื่ ทเ่ี ทยี บเทา หรอื พนกั งานราชการ ซงึ่ เปน เจา ของเรอื่ งทที่ าํ สําเนาหนงั สอื นนั้ ลงลายมอื ชอ่ื รบั รอง พรอ มทง้ั ลงชอ่ื ตวั บรรจง ตาํ แหนง และวนั เดอื น ปท ร่ี บั รอง ไวท ขี่ อบลา งของหนงั สอื ” ขอ ๔ ใหย กเลกิ ความในวรรคหนง่ึ ของขอ ๖๗ แหง ระเบยี บสํานกั นายกรฐั มนตรวี า ดว ย งานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๒๖ และใหใ ชความดังตอไปน้แี ทน “ใหหัวหนาสวนราชการระดับกรมแตงต้ังคณะกรรมการทําลายหนังสือ ประกอบดวย ประธานกรรมการและกรรมการอีกอยางนอยสองคน โดยปกติใหแตงตั้งจากขาราชการพลเรือนหรือ พนักงานสวนทองถิ่นประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ หรือประเภททั่วไป ระดับชาํ นาญงาน ขึ้นไป หรือเจาหนาทขี่ องรฐั อนื่ ท่เี ทียบเทา ” ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี
๓๖ ʋǹÊÃ»Ø การปฏบิ ตั งิ านหนงั สอื ตามระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรี วา ดว ยงานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๒๖ และทีแ่ กไขเพ่มิ เตมิ ฉบบั ท่ี ๒ พ.ศ.๒๕๔๘ (ฉบบั ที่ ๓ พ.ศ.๒๕๖๐) ทาํ ใหง านเอกสารเกิดความเปน ระเบียบ เปน ไปตามแนวทางและรูปแบบเดียวกัน ซ่ึงจะทาํ ใหการบริหารงานเอกสารเกดิ ประสิทธภิ าพ และประสิทธผิ ล บรรลวุ ตั ถุประสงคข องทางราชการ ¡¨Ô ¡ÃÃÁá¹Ðนาํ ๑. ทําแบบประเมนิ ผลกอ นเรยี น ๒. ระดมความคิดรวมกันสรุปบทเรยี น
๓๗ Ẻ·ÒŒ ÂÃÐàºÕº (Ẻ·èÕ ñ - òù)
๓๘
๓๙
๔๐
๔๑
๔๒
๔๓
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166