ห น ้ า | 98 การตรวจระหว่างใชง้ าน (ตอ่ ) ( ถ.M60A1/A3 ) ลาดบั รายการ * 50. คันบังคบั เลีย้ วอยู่ในตาแหนง่ กลางหรือไม่ * 51. รถถังวง่ิ เฉไปทางซา้ ยหรือทางขวาหรือไม่ * 52. คันเกยี ร์ตอบสนองการเปลยี่ นเกียร์หรือไม่ * 53. คันเกยี ร์ทางานได้ถูกตอ้ งหรือไม่ 54. ระบบน้ามันหา้ มล้อทางานเรียบร้อยหรอื ไม่ * 55. ควันไอเสียมสี ดี าผดิ ปกตหิ รอื ไม่ * 56. เคร่อื งยนต์กาลังตกหรอื ไม่ 57 ช่องเก็บกระสุนปืนชารดุ หรือไม่ 58. ราวเก็บกระสนุ พร้อมรบชารดุ หรือไม่ * 59. ยางรองจานท้ายกระสุนปืนใหญม่ ีหรอื ไม่ * 60. ท่นี ัง่ พลยิงมหี รือไม่ * 61. ที่นง่ั ผบ.รถ มหี รือไม่ * 62. เครื่องติดต่อภายในรถใช้งานไดห้ รอื ไม่ * 62 ชดุ วิทยใุ ช้งานไดเ้ รียบร้อยหรือไม่ 63. กลอนยึดป้อมตรวจการณ์ ผบ.รถใช้งานได้ทงั้ ทางทิด และทางสูงหรือไม่ 64. ปอ้ มตรวจการณ์ ผบ.รถใช้งานได้เรียบรอ้ ย 65. การใหท้ างสงู และทางทศิ ปก. 50 นว้ิ ทางานได้เรยี บร้อยหรอื ไม่ 66. มาตราและขดี หลกั บนเคร่อื งต้งั มุมยงิ M13A2 อา่ นได้ชัดเจนหรอื ไม่ 67. ฝาครอบหลอดระดับใชง้ านไดห้ รือไม่ 68. หลอดระดบั ใช้งานได้เรยี บร้อยหรือไม่ 69. ปุม่ ปรบั เคร่ืองใหแ้ สงสว่างใชไ้ ด้หรือไม่ 70. กระจกครอบเครื่องวดั มมุ ภาคของทดิ ชารุดหรอื ไม่ 71. ปุม่ ปรบั เครอื่ งให้แสงสว่างใชไ้ ดห้ รือไม่ * 72. การรวั่ ไหลของระบบน้ามันไฮดรอลิกในปอ้ มปนื 73. แรงดันของหม้อตนุ กาลงั ไฮดรอลิกอา่ นค่าได้ 900-1250 ปอนด์/ตรนวิ้ . หรอื ไม่ 74. ชดุ คนั บังคบั ปอ้ มปนื ของพลยิงใชง้ านได้เรียบร้อยหรือไม่ * 75. สวิตช์ตัดวงจรการบงั คับปอ้ มปนื ของ ผบ.รถ ใช้ได้หรอื ไม่ 76. การรวั่ ไหลของน้ามันเชอื้ เพลงิ เคร่ืองทาความอบอุ่น
ห น ้ า | 99 การตรวจระหว่างใช้งาน (ตอ่ ) ( ถ.M60A1/A3 ) ลาดบั รายการ 77. ควนั ไอเสยี ของเครือ่ งทาความอบอุน่ 78. ความสกปรก และการชารุดของกระจกเลนส์กลอ้ งตรวจการณ์ และกลอ้ งเล็งภายนอกรถ ทงั้ หมด การตรวจหลังใชง้ าน ลาดบั รายการ 79. ความถูกต้องของระดับนา้ มนั เครื่องยนต์ 80. น้ามนั เคร่อื งยนตส์ ูงกวา่ ขดี เตม็ เล็กน้อย เม่ือเคร่ืองยนต์เดินเบาหรอื ไม่ * 81. ความมนั่ คงของฝาบานเกลด็ ปดิ ท้ายหอ้ งเคร่อื งยนต์ 82. การสญู หายของเครือ่ งยดึ ตรงึ ฝาบานเกลด็ ประตูท้ายหอ้ งเครอ่ื งยนต์ 83. การชารุดของเครื่องยดึ ตรึงฝาบานเกลด็ ประตูท้ายหอ้ งเคร่ืองยนต์ 84. การรว่ั ไหลของหีบเฟืองขับข้นั สดุ ท้าย * 85. การขาดของหลักเกลียวยดึ หบี เฟืองขับขั้นสดุ ทา้ ย * 86. ดุมหบี เฟืองขบั ขน้ั สดุ ทา้ ยร้อนจัดหรอื ไม่ * 87. การแตกร้าวหรือการหักของซ่เี ฟอื งขับสายพาน * 88. ยางลอ้ กดสายพาน แหว่ง หรือหลดุ ลอ่ น 89. การสึกหรองของรูสลักเกลยี วยึดลอ้ กดฯ * 90. ดมุ ลอ้ กดสายพานร้อนจดั หรือไม่ 91. รอยเปรอะเปอ้ื นของไขข้นท่ขี อบดา้ นหลงั ของดมุ ล้อกดสายพาน * 92. การสูญหายของล้อกดสายพาน * 93. การคดงอหรือสญู หายของแขนลอ้ กดสายพาน 93.1 การแตกหัก หรือสญู หายของเครื่องผอ่ นแรงสะเทอื น * 94. การสญู หายของสลักกนั หลุด และการร่วั ไหลของนา้ มันเคร่อื งผอ่ นแรงสะเทือน * 95. การหลวมคลอน หรือสูญหายของล้อรบั สายพาน 96. การหลุดลอ่ นของยางลอ้ รับสายพาน 97. การร้อนจดั ของดมุ ล้อรับสายพาน 98. การหลวมคลอน แตกรา้ วหรอื สญู หายของข้อตอ่ สายพาน 99. ส่ิงช้ีสอบท่แี สดงการหลวมคลอนของลมิ่ และสลักเกลยี วยึดล่ิมสลักสายพาน
การตรวจหลังใช้งาน (ต่อ) ห น ้ า | 100 ลาดับ รายการ ( ถ.M60A1/A3 ) *100. การสญู หายของล่ิมและสลักเกลียวยึดล่มิ สลกั สายพาน 101. ลมิ่ สลักสายพานเขา้ ท่ไี ม่สนทิ *102. การหลวมคลอน แตกร้าว หัก ของเดอื ยนาสายพาน 103. การขาดแหวง่ และหลุดหายของยางรองสายพาน *104. การแตกหกั หรือหลุดหายของกา้ นโยงแขนปรบั สายพาน 105. การสูญหายของสลักกันหลดุ ที่ปลายสลกั หูกา้ นโยงแขนปรบั สายพาน 106. มขี อ้ สายพานตาย 107. ข้อสายพานหัก หรอื แตกร้าว 108. รอยเปรอะเปือ้ นของไขข้นที่ขอบดา้ นหลงั ของดมุ ลอ้ ปรับสายพาน 109. ดุมล้อปรบั สายพานร้อนจดั * เครื่องหมายน้ี แสดงว่ารถไม่อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน ถ้ามีการ แตกหัก สูญหาย ทางานบกพร่อง เสอ่ื มสภาพ หรือมกี ารรัว่ ไหลระดับ 3 ในรายการนนั้ ๆ
ห น ้ า | 101 แผนกวิชายานยนต์ กองการศึกษา โรงเรยี นทหารม้า ศนู ยก์ ารทหารม้า คา่ ยอดศิ ร สระบุรี ----------------------------------- รถสายพานกซู้ ่อม M88A1 (คท.9-2350-256 -10 และ 20-1) คุณลกั ษณะทั่วไป และมาตรทานรถ เอกสารเพิม่ เตมิ 1. กล่าวทวั่ ไป รถสายพานกู้ซ่อม M88A1 เป็นรถกซู้ ่อมขนาดกลาง มีเกราะหนา ทรวดทรงต่า ใช้ในภารกิจ กูภ้ ัย และกูซ้ ่อม รถถังกลาง รถถงั เบา และยานพาหนะอ่นื ๆ ดว้ ยการยก การกว้าน และการลากจูง นอกจากน้ี ยงั ใช้สนบั สนุนหน่วยรถถังขนาดกลาง หรือหน่วยรถถังเบาเพอ่ื เพ่ิมขดี ความสามารถในการกู้ซ่อมในสนาม และ ประกอบด้วยเครื่องอุปกรณ์ต่าง ๆ สาหรับสนับสนุนการซ่อมแก้ยานพาหนะในสนาม รถสายพานกู้ซ่อม M88A1 ใชป้ ฏบิ ัตกิ ารด้วยพลประจารถ 4 นาย คอื ผูบ้ ังคับรถ พลขับ ช่าง และนายสิบก้ซู อ่ ม 2. ขบวนส่งกาลัง ใช้เครื่องยนต์ดเี ซลคอนติเนนตัลแบบ AVDS 1790-2DR 12 กระบอกสูบ รูปตัว วี “V” จุด ระเบิดดว้ ยกาลงั อัด ระบายความรอ้ นดว้ ยอากาศ มเี คร่ืองเพม่ิ ไอดี กาลงั จากเครื่องยนตจ์ ะถูกส่งไปยังชดุ เฟอื ง ขับขั้นสุดท้าย และเฟืองขับสายพานผ่านทางเครื่องเปล่ียนความเร็วแบบขับขวาง อัลลิสัน XT1410-4 ซึ่ง ประกอบด้วยเครื่องเปลี่ยนความเรว็ เครื่องทดเลย้ี ว เคร่อื งบงั คบั เลีย้ ว และเครื่องหา้ มล้อ การเลอื กตาแหน่ง เกยี ร์ การบังคับเลี้ยว และการห้ามล้อจะกระทาโดยใช้คันบังคับ และชดุ กา้ นโยงซ่ึงตอ่ เชื่อมโยงจากห้องพลขับ ไปยังเครือ่ งเปลี่ยนความเร็ว 3. เครอ่ื งพยงุ ตัวรถ ระบบเครอ่ื งพยุงตัวรถแต่ละขา้ งจะประกอบด้วยล้อกดสายพาน 6 ล้อ ลอ้ รับสายพาน 3 ล้อ ลอ้ ปรับสายพาน 1 ลอ้ กา้ นโยง และเครื่องปรบั สายพาน 1 ชุด ลอ้ ขบั สายพาน 1 ล้อ และสายพาน 1 เส้น การเคลือ่ นท่ขี ึ้นลงของลอ้ กดสายพาน ขนั้ แรกจะควบคมุ ดว้ ยคานรบั แรงบดิ ของล้อกดสายพานแต่ละลอ้ และขั้น ท่ี 2 จะควบคุมด้วยแหนบหยุดแขนล้อกดสายพาน แบบแหนบแผ่นขดจานวน 2 ตัวท่ีลอ้ กดท่ี 1 และล้อกดที่ 6 และมเี หล็กหยดุ แขนล้อกดสายพานติดตง้ั ไว้เหนือแขนล้อกดสายพาน ลอ้ ท่ี 2 และล้อที่ 5 โดยเช่ือมติดไว้กับตัว รถ เพ่ือจากัดการเคล่ือนท่ขี องคานรับแรงบิด เครือ่ งผ่อนแรงสะเทือนจะติดต้ังอยู่ระหว่างแขนล้อกดสายพาน กับตัวรถ ท่ีล้อกดท่ี 1 ล้อกดที่ 2 และล้อกดที่ 6 สายพานแต่ละเส้นจะประกอบด้วยข้อสายพาน 84 ข้อ สายพานแต่ละข้อจะยึดติดกันด้วยข้อต่อสายพาน และล่ิมสลักสายพาน สายพานแต่ละข้อจะมีเดือยนา สายพานซึ่งเคลอ่ื นที่ผ่านระหว่างกลางของล้อตา่ ง ๆ เพื่อรักษาแนวของสายพาน 4. ตัวรถ ตัวรถสร้างข้ึนโดยการหล่อด้วยเหล็กเกราะ และแผ่นเกราะเหล็กกล้า เชื่อมประสานให้เป็นหน่วย เดียวกัน แผ่นเกราะท่ีจัดต้ังไว้ในตาแหนง่ ต่าง ๆ นั้นสามารถปอ้ งกนั พลประจารถ และเครอื่ งอุปกรณ์จากการ ยิงของอาวุธนาดเล็ก สะเก็ดกระสนุ ปืนใหญ่ขนาดกลาง และทนุ่ ระเบิดดกั รถถังขนาด 20 ปอนด์ รถสายพานกู้ซ่อม M88A1 แบง่ เป็น 3 ตอน คือ - ห้องพลประจารถ - ห้องกว้าน และเคร่ืองอุปกรณไ์ ฮดรอลิก - หอ้ งเครอ่ื งยนต์
ห น ้ า | 102 หอ้ งพลประจารถ เปน็ ท่ีอยขู่ องพลประจารถ และเป็นทต่ี ิดตงั้ เครอ่ื งควบคุม และคนั บังคับทง้ั หมดของ เคร่ืองอุปกรณ์กู้ซ่อมประจารถ ป้อมตรวจการณ์ของ ผบ.รถ หม้อกรองอากาศของเคร่ืองยนต์ เครอื่ งทาความ อบอุ่นฯ พัดลมระบายอากาศ ฝาปิดช่องหลบหนี 3 ช่อง ประตูข้างละ 2 บาน แผงยึด ช้ันเก็บของ ช่องเก็บ กระสุนปืนเล็ก และยุทโธปกรณ์ขั้นมูลฐานประจารถ นอกจากน้ีห้องพลประจารถยังเป็นท่ีติดตั้งหม้อน้ายา ดบั เพลิง และเครือ่ งอปุ กรณ์ทศั นะต่าง ๆ ทีต่ ดิ ต้ังอยูท่ ่ตี ัวรถ คือ กล้องตรวจการณ์ M17 จานวน 7 กล้อง กล้อง ตรวจการณ์อินฟราเรด M24 จานวน 2 กลอ้ ง แทง่ แก้วตรวจการณ์ 10 อัน (รวมท้ังแท่งแกว้ ตรวจการณ์รอบ ปอ้ มตรวจการณ์ ผบ.รถ 6 อัน) ห้องกว้าน และเครื่องอุปกรณ์ไฮดรอลิก จะแบ่งแยกจากห้องพลประจารถด้วยแผ่นเหล็กปิดพ้ืนรถ ภายในห้องกว้าน และเครื่องอุปกรณ์ไฮดรอลิก จะเป็นที่ติดต้ังองค์ประกอบสาคัญท้ังหมด ของระบบไฮดรอ ลกิ หลัก กระบอกบังคับเครื่องค้ายนั กว้านปั้นจน่ั กว้านหลกั หัวต่อ ข้อต่อท่อน้ามันไฮดรอลิกของอุปกรณ์ ตา่ ง ๆ ล้นิ ถ่าย และถังน้ามันเชอ้ื เพลงิ ดา้ นหน้า หอ้ งเครื่องยนต์ จะถูกแยกจากห้องกว้าน และเครอื่ งอุปกรณ์ไฮดรอลิกโดยผนังก้ันทาด้วยแผ่นเหล็ก ภายในห้องเครื่องยนต์เป็นที่ตดิ ตั้งเคร่ืองยนต์หลัก และเครอื่ งเปลี่ยนความเรว็ เคร่อื งกาเนิดกาลงั สารองระบบ ไฮดรอลิกสารอง กระบอกบังคับคานป้ันจ่ัน แบตเตอร่ีประจารถจานวน 6 หม้อ ถังน้ามันเช้ือเพลิงด้านซ้าย และดา้ นขวา และท่อนา้ มันเช้อื เพลิง ท่อนา้ มนั ไฮดรอลิก ตลอดจนชดุ สายไฟตา่ ง ๆ 5. ระบบไฮดรอลกิ ของอปุ กรณ์กู้ซอ่ ม กล่าวท่ัวไป รถสายพานกู้ซ่อม M88A1 ประกอบด้วยระบบไฮดรอลิก ยกจากกัน 2 ระบบ คือ ระบบ ไฮดรอลิก หลัก “ MAIN HIDRAULIC SYSTEM ” และระบบ ไฮดรอ ลิก สารอง “ AUXILIARY HYDRAULIC SYSTEM ” 5.1 ระบบไฮดรอลิกหลัก ระบบนี้จะได้รบั กาลังขับจากเครื่องส่งกาลังออก “ POWER TAKE OFF” ทางห้องเคร่ืองประกอบของเครื่องยนต์ เคร่ืองอุปกรณ์ที่ทางานด้วยระบบไฮดรอลิกหลัก ได้แก่ เคร่ืองค้ายัน “ SPADE” คานปัน้ จั่น “BOOM” กวา้ นหลัก “ MAIN WINCH” และกว้านปน้ั จนั่ “ HOIST WINCH ” 5.2 ระบบไฮดรอลิกสารอง ระบบนจี้ ะได้รับกาลังขบั จากเคร่อื งยนต์ชว่ ย ผ่านทางเครือ่ งส่งกาลงั ออก ชุดโซ่และเฟืองขับ เครื่องอุปกรณ์ท่ีทางานด้วยระบบไฮดรอลิกสารอง ได้แก่ ป๊ัมสูบถ่ายน้ามันเช้ือเพลิง “REFUEL DEFUEL PUMP ” และกุญแจไฮดรอลิก “ HYDRAULIC IMPACT WRNCH ”นอกจากนี้ เคร่ืองค้า ยนั ปั้นจ่ัน และกว้าน ยังสามารถทางานด้วยระบบไฮดรอลิกสารองได้ในกรณีฉุกเฉินเม่ือเครื่องยนต์หลักเกิด ขดั ขอ้ ง 6. อุปกรณ์กู้ซอ่ มประจารถ รถสายพานก้ซู อ่ ม M88A1 จะมีอปุ กรณ์กู้ซ่อมต่าง ๆ คือ เครอื่ งคา้ ยนั กว้านหลัก คานป้ันจ่ัน และกวา้ นปั้นจ่ัน ซ่ึงอปุ กรณ์ทั้งหมดทก่ี ล่าวมานี้จะทางาน และควบคมุ การทางานด้วยกาลังไฮดรอ ลกิ ท้ังสิน้ 6.1 เคร่ืองคายัน “ SPADE” อุปกรณ์นี้ติดตั้งอยู่ในส่วนท่ีเป็นกระพุ้งของหน้ารถ โดยยึดติดกับแขน เครื่องค้ายันซ่ึงเป็นจุดหมุน 2 ข้าง แขนเครื่องค้ายันนี้จะทางานด้วยกระบอกไฮดรอลิกของเครื่องค้ายัน ซ่ึง ติดตั้งอยทู่ ่ีกว้านหลกั ในหอ้ งอุปกรณ์ไฮดรอลิก เครือ่ งค้ายันจะควบคุมการทางานโดยพลขับ เพ่อื ใช้เป็นสมอ บกของรถเพื่อต้านแรงดึงของกว้านหลัก และใช้ค้ายันรถให้ได้สมดุล ในขณะยกสิ่งของด้วยคานป้ันจั่น และ กว้านป้ันจั่น นอกจากนี้ใบมีดของเคร่ืองค้ายันอาจใช้ทาการถากถาง หรอื ปรับระดับพื้นดิน ท่ีเป็นงานเบา ใน
ห น ้ า | 103 ยามฉกุ เฉนิ ได้ด้วย เม่อื ไมใ่ ช้งานเครอื่ งคา้ ยนั จะถูกยกขึ้นไว้ในตาแหน่งเกบ็ และยึดไว้ดว้ ยกลอนแบบบงั คบั ด้วย แรงแหนบ ทางด้านนอกของรถ กลอนยึดน้ีปลดกลอนไดด้ ้วยสายลวดดงึ ซ่งึ มีคนั บงั คบั อยูใ่ นหอ้ งพลขบั 6.2 กว้านหลัก “ MAIN WINCH ” อุปกรณ์นี้ติดต้ังอยู่ในห้องกว้าน และเคร่ืองอุปกรณ์ไฮดรอลิกใต้ ห้องพลประจารถ กวา้ นหลักสามารถฉุดลากนา้ หนักได้ 90,000 ปอนด์ เมือ่ ใช้การดึงโดยตรง ลวดกว้านหลกั มี ความยาว 200 ฟุต เส้นผ่าศูนย์กลาง 1 1/4 น้ิว สามารถทนแรงดึงได้ถึง 132,000 ปอนด์ ลวดกว้านหลักจะ ได้รับการจัดเรียงให้พันรอบล้อกว้านอย่างสม่าเสมอกันด้วยเครื่องเรียงลวดกว้าน ซ่ึงมีการทางานร่วมกันกับ กว้านหลัก ทางออกของลวดกว้านหลัก จะอยู่ที่ช่องเปิดทางด้านหน้ารถ และที่ปลายลวดกว้านจะมีหูห่วง สาหรับยึดติดกบั สิ่งของหรือภารกรรมที่ตอ้ งการกว้าน 6.3 คานปนั้ จ่ัน “ BOOM ” คานป้นั จั่นทาด้วยท่อเหล็กกลา้ เป็นรูปตัวเอ “ A ” และยึดติดกบั ตวั รถ ทัง้ 2 ด้านดว้ ยกระเดื่องหมุน และแขนกระเด่ืองจะต่อย่ืนลงไปทางดา้ นลา่ ง เพ่ือต่อเข้ากับก้านสูบของกระบอก ไฮดรอลิกบังคับป้ันจั่น โดยกระบอกบังคับป้ันจั่นด้านลา่ งจะยึดติดอยู่กบั ตัวรถในห้องพลประจารถ คานปั้นจ่ัน จะยกข้นึ และลดต่าลงด้วยแรงดันไฮดรอลิกจากการยืด และการหดตัวของก้านสบู กระบอกบังคับปั้นจั่น 2 ตัว ปลายด้านบนสุดของคานป้ันจ่ัน จะมีลวดรั้งคานปั้นจั่นยึดติดอยู่ และปลายอีกด้านหนึ่งจะยึดติดเข้ากับแขน กระเดื่องของกระบอกไฮดรอลกิ บังคับลวดร้งั คานปั้นจ่นั เพ่อื ทาให้คานป้ันจัน่ สามารถยกน้าหนักไดถ้ ึง 50,000 ปอนด์ เม่ือจักรอกกว้านปนั้ จ่ันให้มีเส้นดึง 4 เสน้ การทางานของคานปั้นจ่ันจะควบคุมได้ด้วยคันบงั คบั ภายใน หอ้ งพลประจารถ 6.4 กวา้ นป้ันจนั่ “ HOIST WINCH ” อปุ กรณ์น้ตี ิดต้ังอย่ภู ายในห้องกวา้ น และอุปกรณไ์ ฮดรอลิกของ รถ กว้านป้ันจั่นสามารถยกนา้ หนักได้ 12,500 ปอนด์ เม่ือใชเ้ ส้นดึงเด่ียว และลวดกว้านขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 5/8 น้ิว และจะยกนา้ หนักได้ 50,000 ปอนด์ เม่ือจัดรอกกว้านปั้นจั่นให้มีเส้นดึง 4 เสน้ ล้อกวา้ นจะตดิ ต้ังอยู่ ระหว่างใต้พ้ืนรถ และช่องเปิดของตัวรถในห้องพลประจารถ ด้านบนของล้อกว้านจะมีลูกกลิ้ง 2 อันเพ่ือ ปอ้ งกันไม่ให้ลวดกวา้ นเสียดสกี ับหลังคารถ ลวดกว้านป้ันจั่น ยาว 200 ฟตุ และสามารถทนแรงดึงได้ 34,000 ปอนด์ 7. อาวุธ รถสายพานกู้ซ่อม M88A1 จะติดต้ังปืนกล แบบ M2 ขนาด .50 น้ิว ทางด้านบนของป้อมตรวจ การณข์ อง ผบ.รถ การบรรจกุ ระสุน และการยิงจะต้องกระทาโดยเปดิ ฝาปิดป้อมตรวจการณอ์ อก 8. ยทุ โธปกรณช์ ว่ ย 8.1 เคร่ืองกาเนิดกาลังสารอง รถสายพานกู้ซ่อม M88A1 จะติดต้ังเคร่ืองกาเนิดกาลังสารอง ประกอบด้วยเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้า และปั๊มไฮดรอลิกสารอง ซ่ึงขับหมุนด้วยเคร่ืองยนต์ดีเซล 2 กระบอกสูบ ระบายความร้อนด้วยอากาศ โดยเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้าจะเป็นแหล่งจ่ายกาลังไฟฟ้า และใช้สาหรับประจุ แบตเตอร่ีประจารถ จ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับชุดวิทยุ และอุปกรณ์เคร่ืองใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ เมื่อเคร่ืองยนต์หลัก ขดั ขอ้ ง และปั๊มไฮดรอลกิ จะเป็นแหล่งกาเนิดกาลังไฮดรอลิกของระบบไฮดรอลิกสารอง เครอ่ื งยนต์ของเครื่อง กาเนิดกาลงั สารองจะได้รับนา้ มนั เช้ือเพลงิ จากถังน้ามนั เชื้อเพลิงประจารถ 8.2 ป๊ัมสูบถ่ายนามันเชือเพลิง ป๊ัมน้ามันเชื้อเพลิงน้ี เป็นปั๊มแบบกลีบเฟืองหมุน ติดต้ังอยู่ในห้อง ด้านขวาของรถ ปั๊มจะทางานด้วยแรงดันไฮดรอลิกจากเครื่องกาเนิดกาลังสารอง และใช้สาหรับสูบน้ามัน เช้อื เพลงิ ให้แก่รถท่ีมารบั การสนับสนนุ หรือใชส้ บู นา้ มันออกจากรถได้ตามความต้องการ
ห น ้ า | 104 8.3 พัดลมระบายอากาศ พัดลมระบายอากาศทางานด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า จะติดตั้งอยู่บนผนังตอน หนา้ ขวาของหอ้ งพลประจารถ เพอ่ื ใช้ในการระบายอากาศ ออกจากห้องพลประจารถ 8.4 เคร่ืองทาความอบอุ่น เครื่องทาความอบอุ่นเป็นแบบติดตั้งทางด่ิงใช้น้ามันดีเซล จะติดตั้งอยู่ ด้านหลังทางขวาของหอ้ งพลประจารถ และไดร้ ับนา้ มนั เชื้อเพลงิ จากถงั น้ามันเช้อื เพลิงประจารถ 8.5 เครอื่ งดบั เพลิง ระบบเครอ่ื งดบั เพลิง มี 2 ชนิด คือ - เคร่ืองดับเพลิงประจาที่ เป็นระบบบังคับใช้งานได้ 2 คร้งั ซงึ่ สามารถบังคับใชง้ านได้ท้ังจาก ภายในห้องพลประจารถ และจากภายนอกรถ เมื่อทางานระบบจะฉีดแก๊สคารบ์ อนไดออ๊ กไซด์ผ่านหัวฉดี 2 หัว เข้าไปในห้องกว้าน และอุปกรณ์ไฮดรอลิก ใต้ห้องพลประจารถ และฉีดผ่านหัวฉีดอีก 5 หัว เข้าไปในห้อง เคร่อื งยนต์ - เคร่ืองดับเพลิงเคล่ือนย้ายได้ จะมีอยู่ 2 อัน ติดตั้งไว้กับแผงยึดในห้องพลประจารถ ใกล้ กบั ประตูแตล่ ะขา้ งของรถ 8.6 เคร่อื งตดิ ต่อส่ือสาร รถสายพานกู้ซอ่ ม M88A1 จะตดิ ต้ังเครื่องตดิ ตอ่ สือ่ สารซ่ึงสามารถใช้ทาการ ตดิ ตอ่ ภายในรถ และภายนอกรถได้ โดยมีชดุ วิทยุบนแครว่ ทิ ยอุ ยทู่ างตอนกลางดา้ นขวาของห้องพลประจารถ 8.7 แผ่นป้ายช่ือ คาเตือน และคาแนะนาการใช้งานต่าง ๆ ในตัวรถ ที่เคร่ืองอุปกรณ์ และแผง ควบคมุ ตา่ ง ๆ จะมีแผน่ ป้ายชื่อ คาเตือน และคาแนะนาการใชง้ านประจาอปุ กรณ์นั้น ๆ ตดิ อยดู่ ว้ ย 9. มาตรทานรถ และรายละเอียด อาวธุ ……………………. ปืนกล M2 ขนาด .50 นวิ้ จานวน 1 กระบอก พลประจารถ……………. 4 นาย เคร่ืองยนต์……………… ดีเซล วี 12 สีจ่ งั หวะรอบ ระบายความรอ้ นดว้ ยอากาศ มีเคร่อื งเพ่มิ ไอดี แบบ AVDS 1790-2DR แรงมา้ …………………. 750 แรงม้า เมื่อหมุน 2,600 รอบ/นาที เคร่อื งเปล่ยี นความเร็ว…. ขบั ขวาง แบบ XT-1410-4 มเี กยี ร์เดนิ หนา้ 3 ตาแหนง่ ถอยหลัง 1 ตาแหนง่ ชุดเฟอื งเปลี่ยนความเรว็ เครื่องทดเล้ียว เครอ่ื ง บังคบั เล้ียวและเครอื่ งห้าม ลอ้ รวมอยเู่ ปน็ หน่วยเดยี วกัน นา้ หนกั นา้ หนกั พรอ้ มรบ ( รถบรรทุกเต็มทพ่ี ร้อมดว้ ยพลประจารถ และสง่ิ บรรทุก) 112,000 ปอนด์ นาหนกั รถ ( รถพร้อมดว้ ยอาวุธ กระสุน น้ามนั เชื้อเพลิง และหลอ่ ลนื่ ไม่มีพลประจารถ และสงิ่ บรรทกุ ) 105,000 ปอนด์ นา้ หนกั บรรทกุ ( นา้ หนกั สิง่ บรรทกุ และพลประจารถ)………… 7,000 ปอนด์ ขนาด ความยาว……………………. 315 .5 นิว้ (27 ฟุต 1 ½ นว้ิ ) ความกวา้ ง………………….. 135 นว้ิ (11 ฟุต 3 นวิ้ ) ความสงู ……………………. 123 นว้ิ (10 ฟุต 3 นิ้ว) ระยะห่างใต้ทอ้ งรถ………… 17 นว้ิ นา้ หนักกดพน้ื ……………… 10.9 ปอนด์/ตร.น้ิว
ห น ้ า | 105 ระบบไฟฟ้า………………… 24 โวลท์ เครอ่ื งกาเนิดไฟฟา้ …………. 28 .7 โวลท์ ไฟตรง แบตเตอรี่ 12 โวลท์………… จานวน 6 หมอ้ ความจุ (โดยประมาณ เมอ่ื เติมใหม)่ ถงั นา้ มนั เช้อื เพลงิ (รวมทัง้ หมด) 400 แกลลอน (US.) ถงั ด้านหนา้ ……………………. 252 แกลลอน ถังด้านหลังขวา………………… 74 แกลลอน ถงั ด้านหลงั ซ้าย..………………. 74 แกลลอน อ่างน้ามันเครือ่ งยนต์หลกั ……… 16.5 แกลลอน เครอื่ งเปล่ยี นความเร็ว…………. 17 แกลลอน กวา้ นหลัก…………………….. 11 แกลลอน กวา้ นปนั้ จน่ั …………………… 3 แกลลอน อ่างน้ามนั เครอ่ื งยนตช์ ่วย …….. 3 .5 ควอต ถังน้ามนั ไฮดรอลกิ …………… 95 แกลลอน หีบเฟอื งขับปม๊ั ไฮดรอลกิ ……. 1 แกลลอน สายพาน และเคร่อื งพยุงตัวรถ จานวนขอ้ สายพานแต่ละเสน้ …. 84 ข้อ ล้อกดสายพาน (ลอ้ คู่)………… 12 ลอ้ ล้อรับสายพาน(ลอ้ คู่)………… 6 ลอ้ การพยงุ ตัวรถ……………….. คานรับแรงบิด สมรรถนะ ความเรว็ สงู สุด…………………26 ไมล์/ชม. ระยะปฏบิ ัติการ………………………. 300 ไมล์ ลุยน้าลกึ (ไมต่ ดิ ตงั้ อปุ กรณล์ ยุ น้า) …… 56 นิว้ (ตดิ ตง้ั อปุ กรณล์ ุยนา้ ลึก) …… 102 นิ้ว การปนี ลาด…(ลาดตรง)……………… 60 เปอร์เซ็นต์ ขา้ มเครอ่ื งกดี ขวางทางด่งิ (ด้านหนา้ )… 42 นวิ้ ขา้ มคูกว้าง……………………………. 103 นวิ้ ( 8 ฟุต 7 นิว้ ) รัศมวี งเลย้ี ว…………………………... หมนุ เล้ียวอยู่กับที่ ความส้นิ เปลืองนา้ มันเชอ้ื เพลิง………. 0.7 ไมล์/แกลลอน ความส้ินเปลืองน้ามันหล่อล่นื ของ เคร่อื งยนตห์ ลักทอี่ นมุ ัติให้)…………. 0.2 แกลลอน/ชม.
ห น ้ า | 106 นา้ หนกั ฉุดลากของรถ ………………. 90,000 ปอนด์ คานป้ันจน่ั คานปน้ั จ่ันรบั นา้ หนกั ได้………………25 ตนั ความสามารถในการยกของกวา้ นปนั้ จ่นั ไมใ่ ช้เครื่องค้ายัน เสน้ ดึงเด่ยี ว………… 6 ตัน ไมใ่ ช้เคร่อื งคา้ ยนั ประกอบชดุ รอก ใหม้ ีเสน้ ดงึ 4 เสน้ ……………………… 20 ตัน ใช้เครื่องคา้ ยนั ประกอบชดุ รอก ให้มีเส้นดงึ 4 เสน้ ……………………… 25 ตนั ความสูงของคานปน้ั จนั่ ที่ระยะ 8 ฟตุ ………………………….. 22.54 ฟุต ที่ระยะ 4 ฟุต …………………………. 25.125 ฟตุ กวา้ นปั้นจ่ัน ขนาดเสน้ ผ่าศนู ย์กลางของลวดกว้าน… 5/8 นิ้ว ความยาว …………………………….. 200 ฟุต น้าหนกั ฉดุ ลาก และความเร็วในการดึงเม่ือใชเ้ ส้นดึง 4 เส้น ทลี่ วดกว้านชน้ั แรก……………………….. 50,000 ปอนด์ 9 ฟุต/นาที ทล่ี วดกว้านช้นั บนสดุ …………………….. 30,000 ปอนด์ 13 ฟตุ /นาที กวา้ นหลกั ขนาดเส้นผ่าศูนยก์ ลางของลวดกว้าน…….. 1 1/4 น้วิ ความยาว …………………………………. 200 ฟุต น้าหนักฉุดลาก และความเรว็ ในการดงึ ทล่ี วดกวา้ นชัน้ แรก……………………….. 90,000 ปอนด์ 20 ฟตุ /นาที ทล่ี วดกวา้ นช้ันบนสุด…………………….. 54,100 ปอนด์ 42 ฟุต/นาที เคร่อื งทัศนะ กล้องตรวจการณ์ M17 จานวน…………… 7 กลอ้ ง กลอ้ งตรวจการณอ์ นิ ฟราเรด M24 ……….. 2 กล้อง ยุทโธปกรณ์ช่วย เคร่อื งดบั เพลงิ ประจาท่ี (2 ฝง่ั , ฝง่ั ละ 4 หมอ้ ).. 8 หม้อ แบบ…………………………………………. คารบ์ อนไดอ๊อกไซด์ นา้ หนกั …………. ….……………………….. 10 ปอนด์ (หม้อละ) นา้ หนกั รวม (หมอ้ บรรจุ และน้ายาดบั เพลิง)…. 45 ปอนด์ (หมอ้ ละ) เคร่อื งดับเพลิงเคลื่อนยา้ ยได้ ………………… 2 หม้อ
ห น ้ า | 107 แบบ…………………………………………. คาร์บอนไดออ๊ กไซด์ น้าหนกั …………. ….……………………….. 5 ปอนด์ (หม้อละ) นา้ หนักรวม (หมอ้ บรรจุ และน้ายาดบั เพลงิ )…. 15.5 ปอนด์ (หมอ้ ละ) เครื่องตดิ ตอ่ สื่อสาร ชดุ วิทยุ AN/VRC-44, 46 หรือ 64 พร้อมเคร่ืองปอ้ งกันวงจร MX-7778A และ เครื่องติดต่อภายในรถ AN/VIC-1 -----------------------------
ห น ้ า | 108 * เครื่องหมายนี้ แสดงวา่ รถไม่อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน ถา้ มกี ารแตก หกั สูญหาย ทางานบกพร่อง เสือ่ มสภาพ หรือมีการร่ัวไหล ระดบั 3 ในรายการนั้น ๆ การตรวจก่อนใชง้ าน ( รถสายพานก้ซู อ่ ม M88A1 ) ลาดบั รายการ * 1. ตรวจความตึงของสายพาน และจดั ปรับความตงึ ตามความจาเปน็ * 2. ตรวจความม่ันคง และความเรียบร้อยของล้อขับสายพาน และล้ออื่น ๆ รวมท้ังจุกเกลียว และแปน้ เกลยี ว สลักเกลยี วของล้อตา่ ง ๆ * 3. ตรวจความม่นั คงของฝาดมุ ลอ้ ตา่ ง ๆ และเครอื่ งผอ่ นแรงสะเทือน * 4. ตรวจความมน่ั คงของบงั โคลนรถ * 5. ตรวจระดับนา้ มันเครอื่ งยนต์ เคร่อื งเปล่ียนความเรว็ และเตมิ นา้ มนั ตามความตอ้ งการ * 6. ตรวจการร่วั ไหลของน้ามันหล่อลนื่ และน้ามนั เช้ือเพลิง * 7. ตรวจระดบั นา้ มนั ในถังน้ามนั เชอ้ื เพลงิ * 8. ตรวจการร่วั ไหลของเครอื่ งกาเนดิ กาลงั สารอง (APU) * 9. ตรวจความม่นั คงของเคร่อื งดบั เพลิงในที่เกบ็ * 10. ตรวจความมนั่ คง และความคลอ่ งตัวในการใช้งาน และการจัดปรับของที่นัง่ พลขับ * 11. ตรวจความเรยี บร้อยและการตดิ ตง้ั อยา่ งถกู ตอ้ งของเครอื่ งควบคุม ต่าง ๆ ในห้องพลขบั * 12 ตรวจความมั่นคงของแบตเตอรี่ และการตอ่ ขวั้ สายไฟ 13. ตรวจความเรยี บร้อยในการทางาน และความม่ันคงของฐานตดิ ตง้ั ปนื กล 14. ตรวจความเรยี บร้อยในการเก็บ และยดึ ตรึงของกระสุนปนื เครอ่ื งมอื เคร่อื งใช้ และ ชิ้นส่วนอะไหล่ การตรวจระหว่างใช้งาน ลาดับ รายการ * 15. ตรวจความเรียบร้อยในการทางานของเครื่องยนต์ท่ีรอบความเร็วต่าง ๆ และการร่ัวไหลที่ เคร่ืองยนต์ ความเรียบร้อยในการทางานของเคร่ืองวัด และไฟเตือนการทางานของระบบ ตา่ ง ๆ * 16 ตรวจความคล่องตวั และความเชือ่ ถอื ไดใ้ นการทางานของเครอ่ื งบังคับเล้ยี ว และเครอ่ื ง หา้ มลอ้ * 17. ตรวจความเรยี บร้อยในการทางานของ พดั ลมระบายความรอ้ น แตร และโคมไฟ สอ่ งสวา่ ง
ห น ้ า | 109 การตรวจระหว่างใช้งาน ( ต่อ ) ( รถสายพานกซู้ อ่ ม M88A1 ) ลาดับ รายการ * 18. ตรวจความเรียบรอ้ ยในการทางาน และความม่ันคงของชุดวิทยุ และเครอ่ื งติดตอ่ ภาย ในรถ * 19. การทางานโดยทั่วไป จงต่ืนตัวต่อเสียงดังผดิ ปกติ และการทางานทไี่ ม่ถูกต้องของคันบงั คับ เลย้ี ว แป้นห้ามลอ้ หรอื คนั บงั คับเครอื่ งเปล่ยี นความเร็ว * 20. การทางานผดิ ปกติ อน่ื ๆ การตรวจขณะหยดุ พกั ลาดับ รายการ * 21. ตรวจการรวั่ ไหลของนา้ มันหล่อลนื่ และน้ามันเชือ้ เพลิงในตัวรถ ตรวจความมั่นคงของกระสุน ปืน องค์ประกอบ อปุ กรณต์ า่ ง ๆ และเครอ่ื งดบั เพลิงประจารถ * 22. ตรวจความมั่นคง และความครบถ้วนของเครื่องมือเคร่ืองใช้ องค์ประกอบ และอุปกรณ์ ไฟฟา้ ต่าง ๆ ท่ตี ิดตั้งอยู่นอกรถ * 23. ตรวจการแตกร้าวของขอ้ สายพาน การหลดุ หายของยางรองสายพาน สลักเกลียวยึดล่ิมสลัก สายพาน และความตงึ หยอ่ นของสายพาน * 24. ตรวจความมนั่ คงของลอ้ ขับสายพาน และฝาดมุ ล้อทกุ อนั ตรวจการร่ัวไหลของสาร หลอ่ ลื่น และตรวจการร้อนผิดปกติของหีบเฟืองขับขั้นสดุ ทา้ ย ดุมลอ้ ตา่ ง ๆ และเครอ่ื ง ผอ่ น แรงสะเทือน โดยสมั ผัสดว้ ยมือ * 25. เคร่ืองพยุงตัวรถ ตรวจสภาพการชารุดเสียหายของคานรับแรงบิด แหนบหยุดแขนล้อกด สายพาน เครอื่ งผอ่ นแรงสะเทือน ล้อกดสายพาน ลอ้ ปรับสายพาน และลอ้ ขบั สายพาน * 26. การทางานผิดปกติ ตรวจสอบ และแก้ไข หรือรายงานข้อบกพร่องใด ๆ ท่ีสังเกตเห็น ระหวา่ งการใชง้ าน การตรวจหลงั ใช้งาน ภายนอกรถ ถ้าได้นารถเข้าปฏิบัติการ หรือเคลื่อนท่ีผ่านบริเวณท่ีมีการใช้สารเคมี ชีวะ รังสี จะต้องดาเนิน กรรมวิธชี าระลา้ งสารพิษนั้นเสยี ก่อนทจี่ ะทาการปรนนบิ ัตบิ ารุง ลาดับ รายการ * 27. เชด็ และล้างฝ่นุ โคลนภายนอกรถให้สะอาด * 28. ตรวจความมั่นคง ความเรียบร้อย และการเก็บรกั ษาเคร่ืองมือโยธาสนาม, ถงั นา้ มันเช้ือเพลิง ภายนอกรถ, ขอ้ สายพานอะไหล่, ฐานปนื กล, ผ้าใบคลมุ อุปกรณ์ และลวดลากจูง
ห น ้ า | 110 การตรวจหลงั ใช้งาน ( ต่อ ) ( รถสายพานก้ซู อ่ ม M88A1 ) ลาดบั รายการ * 29. ตรวจความมั่นคง และความเรียบร้อยของโคมไฟใหญ่, ไฟพรางขับ, ไฟท้าย, แตร และฐาน เสาอากาศ * 30. ตรวจความคลอ่ งตัว และความม่ันคงในการเปิด-ปิด ฝาปิดชอ่ งทางต่าง ๆ ใหก้ ารหล่อล่ืนบาน พบั , กลอน และสลกั กลอนของฝาปดิ ช่องทางต่าง ๆ * 31. ตรวจความชารุดเสียหาย การแตกรา้ ว และผิดรปู ของตัวรถ * 32. ล้างทาความสะอาด สายพาน และเคร่ืองพยุงตัวรถ ตรวจการรั่วไหลของเครื่องผ่อนแรง สะเทือน, ดุมล้อกดสายพาน ตรวจการฉีกขาด และหลุดล่อนของยางหุ้มล้อกดสายพาน ตรวจการสึกหรอ และการแตกรา้ วของเฟืองล้อขับสายพาน * 33 ตรวจความตึงหยอ่ นสายพาน, ตรวจการแตกรา้ ว และผิดรูปของขอ้ สายพาน, การแตกหักของ ข้อต่อสายพาน และการสูญหายของลิ่มสลกั สายพาน 34. ตรวจสภาพไขข้นของดมุ ล้อกดสายพาน และดมุ ล้อรับสายพาน ภายหลงั การ ลยุ ข้ามนา้ *35. การทางานผิดปกติ ตรวจสอบ และแก้ไข หรือรายงานข้อบกพร่องใด ๆ ที่สังเกตเห็น ระหวา่ งการใชง้ าน * 36. ตรวจระดับน้ามนั เครอื่ งยนต์ ตรวจการรวั่ ไหลของนา้ มนั เครื่องยนต์ และเติมน้ามันตามความ ต้องการ * 37. ให้การหล่อล่ืน ( ตามสภาพการใช้งาน ) * 38. ตรวจ ทาความสะอาดฝุ่นผง และสิง่ สกปรกต่าง ๆ ในหอ้ งเคร่อื งยนต์ และทาความสะอาดไส้ กรองอากาศ ตรวจความมั่นคงของขอ้ ต่อ และทอ่ ยางระหว่างหม้อกรองอากาศ * 39. ตรวจการรัว่ ไหลของนา้ มันเคร่ืองกาเนิดกาลงั สารอง, เครือ่ งเปลี่ยนความเร็ว และหีบเฟืองขับ ขน้ั สดุ ทา้ ย * 40. ตรวจระดับน้ามัน และสภาพของน้ามันหีบเฟืองขับขั้นสุดท้าย ถ้ามีการเจือปนของน้า หลังจากทาการลุยข้ามน้าให้ทาการเปลี่ยนถ่ายน้ามันตามความจาเป็น และ ตรวจสอบจุดท่ี เกิดการร่วั ไหล แล้วแกไ้ ขให้เรียบรอ้ ย * 21. ตรวจการร่วั ไหลของนา้ มันหล่อล่ืน และนา้ มันเช้อื เพลิงในตวั รถ ตรวจความมั่นคงของกระสุน ปนื องค์ประกอบ อุปกรณ์ต่าง ๆ และเคร่อื งดบั เพลิงประจารถ * 22. ตรวจความม่ันคง และความครบถ้วนของเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ องค์ประกอบ และอุปกรณ์ ไฟฟ้าต่าง ๆ ทีต่ ิดต้ังอยนู่ อกรถ
ห น ้ า | 111 การตรวจขณะหยดุ พัก ( ต่อ ) ( รถสายพานกูซ้ ่อม M88A1 ) ลาดบั รายการ * 23. ตรวจการแตกร้าวของขอ้ สายพาน การหลดุ หายของยางรองสายพาน ลิ่มสลกั สายพาน และ ความตงึ หยอ่ นของสายพาน * 24. ตรวจความม่นั คงของล้อขับสายพาน และฝาดมุ ล้อทุกอนั ตรวจการร่วั ไหลของสาร หลอ่ ลื่น และตรวจการร้อนผิดปกติของหีบเฟืองขับขั้นสุดทา้ ย ดุมล้อต่าง ๆ และเครื่อง ผ่อน แรงสะเทือน โดยสมั ผัสดว้ ยมอื * 25. เครื่องพยุงตัวรถ ตรวจสภาพการชารุดเสียหายของคานรับแรงบิด แหนบหยุดแขนล้อกด สายพาน เครอื่ งผ่อนแรงสะเทอื น ล้อกดสายพาน ล้อปรบั สายพาน และลอ้ ขับสายพาน * 26. การทางานผิดปกติ ตรวจสอบ และแก้ไข หรือรายงานข้อบกพร่องใด ๆ ท่ีสังเกตเห็น ระหวา่ งการใช้งาน การตรวจหลงั ใชง้ าน ภายนอกรถ ถ้าได้นารถเข้าปฏิบัติการ หรือเคล่ือนที่ผ่านบริเวณที่มีการใช้สารเคมี ชีวะ รังสี จะต้องดาเนิน กรรมวิธชี าระล้างสารพิษน้ันเสียก่อนที่จะทาการปรนนบิ ตั บิ ารุง ลาดับ รายการ * 27. เชด็ และล้างฝุ่น โคลนภายนอกรถใหส้ ะอาด * 28. ตรวจความม่ันคง ความเรยี บร้อย และการเกบ็ รักษาเครื่องมือโยธาสนาม, ถังน้ามนั เชื้อเพลิง ภายนอกรถ, ข้อสายพานอะไหล่, ฐานปนื กล, ผ้าใบคลุมอปุ กรณ์ และลวดลากจงู * 29. ตรวจความม่ันคง และความเรียบร้อยของโคมไฟใหญ่, ไฟพรางขับ, ไฟท้าย, แตร และฐาน เสาอากาศ * 30. ตรวจความคลอ่ งตัว และความมั่นคงในการเปิด-ปิด ฝาปิดชอ่ งทางต่าง ๆ ใหก้ ารหลอ่ ลื่นบาน พับ, กลอน และสลกั กลอนของฝาปดิ ช่องทางตา่ ง ๆ * 31. ตรวจความชารุดเสียหาย การแตกรา้ ว และผิดรปู ของตัวรถ * 32. ล้างทาความสะอาด สายพาน และเครื่องพยุงตัวรถ ตรวจการรั่วไหลของเคร่ืองผ่อนแรง สะเทือน, ดุมล้อกดสายพาน ตรวจการฉีกขาด และหลุดล่อนของยางหุ้มล้อกดสายพาน ตรวจการสึกหรอ และการแตกร้าวของเฟอื งลอ้ ขบั สายพาน
ห น ้ า | 112 การตรวจหลงั ใชง้ าน (ตอ่ ) ( รถสายพานกู้ซอ่ ม M88A1 ) ลาดับ รายการ 41. ตรวจการทางานของชดุ วิทยุ เครือ่ งติดต่อภายในรถ และหมวกพลประจารถ 42. ทาความสะอาดช้ินสว่ นต่าง ๆ ภายในห้องพลขับ,หอ้ งกว้าน, กระจกกลอ้ งตรวจการณข์ อง ชอ่ งตรวจการณท์ กุ ชอ่ ง และแบตเตอรี่ , ตรวจการทางานของชดุ ไฟเตือน ต่าง ๆ * 43. ตรวจการรว่ั ไหลของนา้ มนั หลอ่ ลื่น และน้ามนั เชอื้ เพลิงในตวั รถ ตรวจความม่ันคงของกระสุน ปนื องคป์ ระกอบ อุปกรณ์ต่าง ๆ และเคร่ืองดบั เพลิงประจารถ * 44. เติมน้ามนั เชอ้ื เพลิงตามความต้องการ 45. หลังการลุยข้ามน้าลึก หรือการลุยข้ามลาธารติดต่อกันเป็นเวลานาน หรือใช้งานรถในสภาพ อากาศช้ืนแฉะ ในพื้นที่เป็นหล่มโคลน ให้ตรวจเคร่ืองยนต์ เครื่องเปล่ียนความเร็ว และหีบ เฟืองขบั ขัน้ สดุ ท้ายว่ามนี า้ เข้าไปเจอื ปนในน้ามันเครื่อง เน่ืองจากการร่วั ไหล หรือการ กลัน่ ตวั ของไอน้าในอากาศ * 46. ตรวจสอบ และแกไ้ ข หรอื รายงานข้อบกพร่องใด ๆ ท่ีสังเกตเหน็ ระหวา่ งการใชง้ าน * เครอื่ งหมายนี้ แสดงว่ารถไม่อยู่ในสภาพพร้อมใชง้ าน ถ้ามีการแตกหกั สญู หาย ทางานบกพรอ่ ง เสือ่ มสภาพ หรือมีการรว่ั ไหลระดับ 3 ในรายการนั้น ๆ
ห น ้ า | 113 แผนกวิชายานยนต์ กองการศึกษา โรงเรยี นทหารม้า ศูนย์การทหารมา้ คา่ ยอดศิ ร สระบุรี ---------- คท.ถ.เบา คอมมานโด สติงเรย์ ฉบับปรับปรุงแกไ้ ขครงั ที่ 2 ค.ศ.1988 รถถงั เบา 32 (สติงเรย)์ 1. คุณลักษณะทั่วไป 1.1 กลา่ วนา รถถงั เบา 32 (สตงิ เรย)์ เปน็ ยานรบประเภทสายพาน ที่มีความคล่องแคลว่ ในการเคล่อื นทสี่ ูง ให้ความอ่อนตัวในการใช้ปฏิบัติภารกิจหลายรูปแบบ ไต่ลาดตรงได้ 60 % ไต่ลาดข้างได้ 40 % เคลื่อนที่ไปใน ภูมิประเทศยากลาบาก เชน่ หล่มโคลน หิมะ หรือลุยข้ามน้าได้สะดวกสามารถข้ามคูกว้าง 213 ซม.(84 นิ้ว) ข้ามเครือ่ งกีดขวางทางด่ิงสูง 76 ซม.(30 นิ้ว) และลุยขา้ มน้าลกึ 107 ซม.(42 นว้ิ ) รถถังเบา 32 (สติงเรย์)มีขนาดเล็กและน้าหนักน้อย จึงสามารถเคลื่อนที่ผ่านสะพาน ถนน และภูมิ ประเทศอน่ื ๆ ซึ่งรถถงั ทีม่ ขี นาดใหญแ่ ละหนกั กวา่ ไม่สามารถกระทาได้ 1.2 ตัวรถ (HULL) ตัวรถสรา้ งขน้ึ จากแผ่นเกราะเหล็กกลา้ (CADLOY) ดว้ ยการตัด และดดั ข้ึนรปู แล้วเชอื่ ม ประสานเข้าดว้ ยกัน สามารถป้องกนั กระสุนของอาวุธขนาดเล็ก ลูกระเบิดขว้าง และทุ่นระเบิดสังหารบคุ คล ตวั รถและป้อมปืนออกแบบให้มีลักษณะทรวดทรงและมุมลาด เพ่อื ใหเ้ กิดการแฉลบของกระสนุ ปนื ได้มากท่สี ุด ด้านบนของตัวรถจะมีช่องเปิดและฝาปิด เพ่ือเป็นช่องทางเข้า-ออก ของพลขับ และเป็นช่องทางเข้าสู่เครื่อง กาเนิดกาลังขับเคลื่อนรถ ท่ีนั่งพลขับสามารถปรับเล่ือนได้ท้ังทางดิ่งและทางระดับ และยังสามารถพับไป ขา้ งหนา้ ได้ ทีพ่ น้ื รถใตท้ นี่ ั่งพลขับจะมชี ่องหลบหนีของพลขับ 1 ชอ่ ง 1.3 เครอื่ งยนต์ (ENGINE) รถถังเบา 32 (สติงเรย)์ ใช้เครอ่ื งยนต์ดีเซล 2 จงั หวะรอบ 8 กระบอกสูบ ระบาย ความร้อนด้วยนา้ ใหก้ าลงั 535 แรงมา้ (400 กโิ ลวตั ต)์ 1.4 เคร่ืองเปลี่ยนความเร็ว (TRANSMISSION) เปน็ เครื่องเปลี่ยนความเร็วก่ึงอัตโนมัติ แบบ XTG 411- 4A มีเกียร์เดินหน้า 4 ตาแหน่ง เกียร์ถอยหลัง 2 ตาแหน่ง เกียร์ว่าง 1 ตาแหน่ง ความเร็วสูงสุดบนถนน 69 กม./ชม.(43 ไมล์/ชม.) ระบบกาลังขับเคลื่อนประกอบดว้ ย หบี เฟืองถ่ายทอดกาลัง ซ่งึ ทาหน้าที่ถา่ ยทอดกาลัง ออกจากเครอื่ งยนตไ์ ปยังหบี เฟอื งเปลย่ี นความเร็ว ซึง่ มีองค์ประกอบสาคัญ ไดแ้ ก่ เครอื่ งแปลงแรงบิด ชุดเฟอื ง เปลี่ยนความเร็ว ชุดเฟืองบังคับเลี้ยว และชุดห้ามล้อเนื่องจากเป็นเคร่ืองเปล่ียนความเร็วก่ึงอัตโนมัติ การ เปล่ียนเกียร์ทุกตาแหน่งจะตอ้ งกระทาด้วยมือทัง้ ส้ิน 1.5 ระบบไฟฟ้า (ELECTRICAL SYSTEM) เป็นระบบไฟตรง 24 โวลท์ จากแบตเตอร่ี 12 โวลท์ จานวน 4 หม้อ ต่อเป็นวงจรแบบอันดับ-ขนาน แบตเตอรี่จะได้รับการประจุไฟด้วยเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้าขนาด 650 แอมปร์ ะบายความร้อนดว้ ยนา้ มนั เครอ่ื งเปล่ยี นความเร็ว ขบั หมุนด้วยเพลา เครอ่ื งกาเนดิ ไฟฟ้าติดต้งั อยบู่ นหีบ เฟืองถา่ ยทอดกาลัง เต้าพ่วงไฟจะติดต้ังอยภู่ ายในหอ้ งแบตเตอร่ี ซึ่งอยู่ทางด้านซ้ายของตัวรถ 1.6 ระบบนา้ มนั เช้ือเพลิง (FUEL SYSTEM) ประกอบด้วยถังน้ามนั เชือ้ เพลิงหลัก ความจุ 606 ลติ ร (106 แกลลอน) และถังนา้ มันเชือ้ เพลงิ สารอง ความจุ 151 ลติ ร (40 แกลลอน) ถังน้ามนั เชื้อเพลงิ หลกั เป็นช่องวา่ ง ระหว่างผนังกั้นห้องเคร่ืองยนต์และห้องพลประจารถ ถังน้ามันเชื้อเพลิงสารองติดต้ังอยู่ทางด้านหน้าซ้าย
ห น ้ า | 114 ภายในห้องพลขับ เครื่องวัดระดับของน้ามันเช้ือเพลิงของถังหลกั จะติดอยู่ที่แผงเครอื่ งวัดของพลขับ ชดุ หม้อ กรองน้ามันเช้ือเพลิง ซึ่งประกอบด้วย หม้อกรองแยกน้า 1 ตัว และหม้อกรองน้ามัน 1 ตัว จะติดต้ังอยู่บน เคร่ืองกาเนดิ กาลังดา้ นซา้ ย การถ่ายน้ามนั เชื้อเพลงิ จากถังสารองไปยังถังหลักจะใช้ปั๊มไฟฟ้า ซง่ึ มีสวติ ช์ควบคุม อยู่ท่ีแผงเครื่องวัดของพลขับและเมื่อน้ามันในถังสารองถูกสูบออกไปหมดแล้ว ป๊ัมไฟฟ้าน้ีจะหยุดทางานโดย อตั โนมตั ิ 1.7 ระบบระบายความร้อน(COOLING SYSTEM) ระบบระบายความร้อนของเคร่ืองยนต์ประกอบด้วย หม้อน้ารงั ผ้งึ ถังเก็บน้าล้น ปั๊มน้า ล้ินควบคุมอุณหภมู ิ จานวน 4 ตัว พดั ลมระบายความร้อน และกรอบพัด ลม ท่อนา้ ข้อตอ่ และปลอกรัดตา่ ง ๆ อากาศจากภายนอกรถจะถกู ดูดเข้ามาภายในห้องเครื่องยนต์ และเป่า ผา่ นหม้อน้ารังผง้ึ ดว้ ยพัดลม จานวน 2 ตัว แล้วระบายออกไปทางตะแกรงปดิ หม้อน้ารงั ผ้งึ ดา้ นทา้ ยรถ หม้อเก็บ นา้ ล้นจะรับนา้ ท่ขี ยายตัวจากระบบระบายความร้อน และรกั ษาใหห้ มอ้ น้ารังผึ้งมีน้าเตม็ อย่ตู ลอดเวลา การผ่อน คลายแรงดนั สูงมากเกนิ ควรภายในหม้อน้ารังผึ้งและภายในฝาเรือนสูบของเครื่องยนต์จากการเดือดของน้าภาย หลงั จากการดับเครอ่ื งยนตท์ ยี่ งั รอ้ นจดั อยู่ กระทาด้วยการตอ่ ทอ่ เล็กๆ ระหว่างหมอ้ น้ารงั ผึง้ และเรือนลนิ้ ควบคมุ อณุ หภูมเิ ขา้ กบั หมอ้ เกบ็ น้าลน้ 1.8 ระบบไอดี (AIR INTAKE SYSTEM) ประกอบดว้ ยหม้อกรองอากาศแบบแห้ง จานวน 1 หม้อ ติดตั้งอยู่ ภายในห้องเครื่องยนต์ทางดา้ นขวาของตัวรถ และเคร่ืองเพิ่มไอดีแบบกังหัน จานวน 2 ตวั (TURBOCHARGED) ขบั หมนุ ด้วยแรงดนั ไอเสีย เพื่อทาหน้าท่ีดูดอากาศจากหม้อกรองอากาศ แล้วส่งไปยังเคร่อื งยนต์ทางท่อรว่ มไอดี ฝนุ่ ละอองทต่ี กคา้ งอยูใ่ นหมอ้ กรองขัน้ แรกจะถกู ระบายทง้ิ ไปทางหม้อเก็บเสยี งด้วยการชกั นาของไอเสีย 1.9 ระบบไอเสยี (EXHAUST SYSTEM) ประกอบดว้ ยทอ่ ร่วมไอเสีย 2 ชดุ ต่อเขา้ โดยตรงกบั เคร่ืองเพมิ่ ไอดี ด้านกงั หันไอเสียแต่ละตัว แล้วจึงต่อเขา้ ไปยังหม้อเกบ็ เสยี ง ซงึ่ ติดต้งั อยูบ่ นบังโคลนท่ีทา้ ยรถด้านขวา 1.10 ระบบพยุงตัวรถและสายพาน (SUSPENSIONS SYSTEM AND TRACK) รถถังเบา 32 (สติงเรย์)ใช้ ระบบพยุงตัวรถด้วยคานรับแรงบิดมีล้อกดสายพานข้างละ 6 ล้อ สายพานด้านบนรองรับไว้ระหว่างล้อขับ สายพาน และล้อปรบั สายพานด้วยล้อรับสายพานข้างละ 3 ล้อ ลอ้ ต่าง ๆในระบบพยุงตัวรถเป็นแบบล้อคู่ ที่ สามารถถอดแยกออกจากกันได้สายพานเป็นสายพานแบบสลักคู่และถกู ขับด้วยเฟืองของล้อขบั สายพานซ่ึงอยู่ ดา้ นท้ายรถ ลอ้ ปรับสายพานซ่ึงอยู่ทางดา้ นหนา้ รถแต่ละข้างจะมกี ระบอกปรับสายพานตอ่ โยงอยรู่ ะหวา่ งตัวรถ กับข้อเหวี่ยงของดุมแขนล้อกดสายพาน ในระบบพยุงตัวรถแต่ละข้างจะมีเคร่ืองผ่อนแรงสะเทือน เพ่ือผ่อน คลายแรงสะเทือนเมอ่ื รถถังเคลอ่ื นทไ่ี ปในภมู ิประเทศขรุขระ ท่แี ขนลอ้ กดฯ ล้อท่ี 1 ล้อที่ 2 และลอ้ ท่ี 6 1.11 เครื่องสูบน้าพื้นรถ (BILGE PUMP)เคร่ืองสูบนา้ ซึง่ ขับด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า จานวน 2 ตัว จะติดต้งั ไวใ้ นห้อง หอรบหลังทน่ี ่ังพลขับ 1 ตัว และในห้องเคร่อื งยนต์ 1 ตัว เพื่อสบู น้าที่อาจร่วั ไหลเขา้ มาในตัวรถ เครอ่ื งสูบน้า แต่ละตัวสามารถสูบน้าได้ 174 ลิตร/นาที และเครื่องสูบน้าทั้ง 2 ตัวน้ีจะทางานพร้อมกัน และควบคุมด้วย สวติ ชท์ ่ีแผงเครือ่ งวัดของพลขับ 1.12 ขอลากจูง,หูห่วงลากจูงและหูห่วงยกรถ (TOWING PINTLE,TOWING SHACKLES AND LIFTING EYES) รถถังแต่ละคนั จะมีขอพ่วง 1 ตัว ติดต้งั อยู่กึ่งกลางด้านล่างของท้ายรถ หูห่วงลากจูง 4 ตัว อยู่ท่ีด้าน ท้ายรถ 2 ตัว และดา้ นหนา้ รถ 2 ตัว และหูห่วงยกรถ 4 ตัว และเช่ือมติดไว้ที่ตัวรถดา้ นหนา้ และด้านหลังแต่ละ มมุ
ห น ้ า | 115 1.13 ระบบเครื่องดบั เพลิงประจาที่ (FIXED FIRE EXTINGUISHER SYSTM) ระบบเครอื่ งดับเพลิงประจาที่ ทาหน้าที่ดับเพลิงท่ีเกิดข้ึนภายในห้องเครื่องยนตด์ ว้ ยสารดับเพลิงชนิดผงเคมแี ห้ง ทบี่ รรจไุ ว้ในหม้อดับเพลิง ซ่ึง ติดตั้งอยู่ภายในป้อมปืนและมีท่อส่งสารดับเพลิงต่อไปยังหัวพ่น 4 หัว ภายในห้องเคร่ืองยนต์ ระบบดับเพลิง ประจาที่สามารถทางานได้ด้วยระบบอัตโนมัติและระบบบังคับด้วยมือการบังคับด้วยมือจะมีชุดบังคับ ซ่ึงอยู่ ภายในหอ้ งพลขบั 1 ชุด และภายในหบี โทรศัพท์ท้ายรถอีก 1 ชุด 2. มาตราทานและคุณลกั ษณะเฉพาะ 2.1 ตัวรถ วัสดุ แผ่นเกราะเหล็กกลา้ แคดลอย \"CADLOY\" ตัดและ ดัดข้ึนรปู แลว้ เชอื่ มประสานเขา้ ดว้ ยกันเปน็ ตัวรถ จานวน และตาแหน่ง 8 (1) ห้องพลขับ (1) ชอ่ งหลบหนี (1) ห้องหม้อ กรองอากาศ (1) หอ้ งเครื่องกรอง นชค. (1) หอ้ งเก็บแบตเตอรี่ (1) ช่องระบายอากาศ ระบบระบายความรอ้ นนา้ มนั เครื่องเปลย่ี นความเร็ว (1) ชอ่ งรบั อากาศระบบระบายความร้อนเคร่ืองยนต์ และเครอ่ื งเปลย่ี นความเร็ว (1) ช่องระบายอากาศ ระบบระบายความร้อนเครื่องยนต์ แบบของประตู และฝาปิด แผ่นเดยี่ วและ แผ่นบานเกล็ด ขัดกลอนภายใน หรือขดั ด้วยสลัก 2.3 เครื่องตรวจการณ์ จานวนและตาแหน่งของกล้องตรวจการณ์ตัวรถ (ติดตั้งบนฝาปิดห้องพลขับ) 3 กล้อง แบบ แผ่นแก้ว เรียงซ้อนกัน 2.4 น้าหนัก นา้ หนกั รถ(พร้อมด้วยพลขบั และนา้ มันเช้อื เพลงิ 19,545 กก.(43,000 ปอนด)์ นา้ หนกั รวม (นา้ หนักพรอ้ มรบสงู สดุ ) 21,364 กก.(47,000 ปอนด)์ นา้ หนักกดพ้นื ดนิ 0.756 กก./ตร.ซม.(10.8 ปอนด์/ตร.นวิ้ ) 2.5 ขนาด ความยาว (รวมทั้งปืนใหญ)่ 930 ซม. (366 นิว้ ) (ไมร่ วมท้งั ปืนใหญ่) 645 ซม. (253 นว้ิ ) ความกวา้ ง 271 ซม. (106.5 นิว้ ) ความสูง (ถงึ หัวกล้องเล็ง ผบ.รถ) 255 ซม. (100.5 น้ิว) (สามารถลดลงให้เหลอื ) 240 ซม. ( 94.4 นวิ้ ) ความยาวของสายพานท่สี มั ผสั พ้ืน 363 ซม. (143 นว้ิ ) ความกวา้ งจากจุดกง่ึ กลางของสายพานทงั้ 2 ข้าง 231 ซม. ( 91 น้วิ ) ระยะห่างใต้ทอ้ งรถ 43 ซม. ( 17 นว้ิ ) มุมถงึ ลาด 90 องศา
ห น ้ า | 116 มมุ จากลาด 50 องศา 2.6 หนว่ ยกาลังขบั เคลอื่ น เครื่องยนต์ DDA 8V 92 TA, 400 กิโลวตั ต์ ท่ี2300/นาที (535 แรงมา้ ที่ 2,300 รอบ/นาที) หบี เฟอื งถา่ ยทอดกาลงั รวมอยกู่ ับเคร่ืองเปลี่ยนความเรว็ เครื่องเปลี่ยนความเรว็ DDA XGT 411-4A เครอ่ื งบงั คบั เลี้ยว และเคร่อื งหา้ มล้อ รวมอยกู่ ับเครือ่ งเปล่ียนความเร็ว หบี เฟืองขับขั้นสดุ ท้าย ชุดเฟอื งเกียร์บรวิ าร ทดเฟอื ง 4 : 1 2.7 ระบบไฟฟ้า แบบ 24 โวลท์ ขั้วลบลงดนิ ป้องกันน้า และการรบกวนทางคลื่นวิทยุ แบตเตอร่ี 4 หม้อ แรงเคลอื่ นไฟฟา้ หมอ้ ละ 12 โวลท์ แบบ 6 TN อัตราการจา่ ยกระแสไฟ (หม้อละ) 100 แอมป/์ ชม. เครอ่ื งกาเนิดไฟฟา้ 28 โวลท์ 650 แอมป.์ หลอ่ ล่นื และระบายความรอ้ นด้วย น้ามนั เครอื่ งเปล่ยี นความเร็ว ขับหมุนดว้ ยเพลา 2.8 ระบบแสงสว่าง ไฟใหญ่ ชดุ โคมไฟคู่ ประกอบด้วย ไฟสูง ไฟตา่ ไฟพรางขบั และไฟพรางจอด ไฟทา้ ย ชดุ โคมไฟทา้ ย ประกอบด้วย ไฟทา้ ยไฟหา้ มล้อไฟพรางจอด และไฟหา้ มลอ้ พรางขบั ไฟสญั ญาณเล้ียว ดา้ นหน้า และดา้ นหลงั รถพร้อมดว้ ยไฟสัญญาณฉุกเฉนิ กระพริบพรอ้ มกัน 4 ดวง 2.9 สายพานและเครือ่ งพยงุ ตัวรถ แบบ แขนลอ้ กด ทางานเปน็ อสิ ระพรอ้ มดว้ ยคานรบั แรงบิด ล้อรบั สายพาน (ดา้ นละ) 3 ลอ้ (ล้อค่)ู ล้อกดสายพาน (ดา้ นละ) 6 ลอ้ (ลอ้ ค)ู่ เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลางล้อกดสายพาน 16 ซม.(24 นวิ้ ) สายพานแบบ T136 สลกั คทู่ าด้วยเหลก็ กลา้ เปล่ียนยางรองสายพานได้ ข้อสายพานกว้าง 15 ซม.( 6 นิ้ว) หนา้ สายพานกวา้ ง 38 ซม.(15 นว้ิ ) จานวนขอ้ สายพาน (ด้านละ) 84 ข้อ ความตงึ หยอ่ นของสายพาน 3/8 น้ิว (9.5 มม.) เครื่องผอ่ นแรงสะเทอื น (ด้านละ) 3 อนั 2.10 เครอื่ งสบู น้าบนพืน้ รถ แบบ ทางานดว้ ยไฟฟา้ อัตราการสูบน้า(ตัวละ) 174 ลติ ร(46 แกลลอน/นาท)ี
ห น ้ า | 117 2.11 สมรรถนะ ความเร็ว บนถนนพนื้ แข็งผวิ เรียบ 69 กม./ชม.(43 ไมล์/ชม.) บนลาดตรง 10 % 31 กม./ชม.(19 ไมล์/ชม.) บนลาดตรง 60 % 8 กม./ชม.( 5 ไมล/์ ชม.) อัตราการเรง่ 0 ถึง 32 กม./ชม.ในเวลา 10 วนิ าที ระยะปฏิบัติการ (ความเร็ว 40 กม./ชม.) หรอื (ความเรว็ 25 ไมล/์ ชม.) 483 กม.(300 ไมล์) รศั มีวงเล้ียว (หมุนอยูก่ ับท)ี่ 406 ซม.(160 นิ้ว) ความสามารถในการไตล่ าด (ลาดตรง) 60 % (ลาดเอยี ง) 40 % ข้ามเครือ่ งกีดขวางทางดง่ิ 76 ซม.(30 นิว้ ) ข้ามคกู วา้ ง 213 ซม.(85 นว้ิ ) ลยุ ขา้ มนา้ ลึก 107 ซม.(42 น้วิ ) 2.1 เครอ่ื งยนต์ แบบ ดีเซล V 8 แบบ DDA 8V 92 TA, 2 จังหวะรอบ ระบาย ความร้อนดว้ ยนา้ ให้กาลงั 535 แรงมา้ (400 กิโลวตั ต)์ กาลัง 535 แรงมา้ ที่ 2,300 รอบ/นาที ปริมาตรในกระบอกสูบ 12.2 ลิตร (736 ลบ.น้วิ ) ความเรว็ สูงสุด (มีภารกรรม) 2,300 รอบ/นาที (ไมม่ ภี ารกรรม) 2,450 รอบ/นาที รอบเดินเบา 650 รอบ/นาที นา้ มันเชอ้ื เพลิง ดเี ซล เบอร์ 2 ระบบระบายความรอ้ นเคร่ืองยนต์ ความจุ 91 ลิตร (96 ควอต) ลิ้นควบคุมอุณหภูมิทางาน 77 - 85 องศา ซ.(170 - 185 องศา ฟ.) แรงดันฝาปดิ หมอ้ น้า 15 ปอนด์/ตร.น้วิ (103 กิโลปาสกาล) 2.2 ระบบน้ามนั เช้ือเพลงิ ถงั นา้ มนั เชือ้ เพลงิ (ด้านหลัง) 606 ลิตร (160 แกลลอน) 1 ถัง เปน็ ส่วน ประกอบของตัวรถ (ดา้ นหนา้ ) 151 ลติ ร (40 แกลลอน) 1 ถัง ยึดติดกับตวั รถ ดว้ ยเหลก็ รดั สบู ป้อนน้ามนั เชอื้ เพลงิ ขบั ดว้ ยเครือ่ งยนต์ สูบถา่ ยเทนา้ มนั เชื้อเพลิง ทางานด้วยไฟฟ้า หม้อกรองนา้ มันเชื้อเพลงิ หม้อกรองคู่ เปลีย่ นไสก้ รองได้
ห น ้ า | 118 2.13 เครอื่ งดับเพลงิ เครื่องดับเพลิงประจาท่ีดับเพลิงในห้องเครื่องยนต์แบบผงเคมีแห้ง ทางานโดยอัตโนมัติและสามารถ บังคบั ใชง้ าน ด้วยมือจากภายในและภายนอกรถ เครือ่ งดับเพลิงยกย้ายได้ 2 หม้อ แบบ เฮลอน 1211 ขนาด (หม้อละ) 1.1 กก.(2.5 ปอนด)์ 2.14 ความจุ ระบบหล่อล่ืนเครอ่ื งยนต์ 27 ลติ ร (28 ควอต) ระบบระบายความรอ้ นเคร่ืองยนต์ 91 ลิตร (96 ควอต) ถังน้ามันเชือ้ เพลงิ (หลัง) 606 ลิตร (160 แกลลอน) (หน้า) 151 ลติ ร (40 แกลลอน) เครอื่ งเปลี่ยนความเรว็ 55 ลติ ร (58 ควอต) หบี เฟอื งขับขัน้ สดุ ทา้ ย (ตัวละ) 2.6 ลิตร (2.75 ควอต) หบี เฟอื งขับพัดลม (ตวั ละ) 0.510 ลิตร (18 ออนซ)์ 2.15 ความสน้ิ เปลืองน้ามันเชือ้ เพลงิ บนถนน 1.5 ลิตร/กม. ในภมู ปิ ระเทศ 3 - 3.5 ลติ ร/กม. ************
ห น ้ า | 119 * เคร่ืองหมายนี้ แสดงว่ารถไม่อยู่ในสภาพพร้อมใชง้ าน ถา้ มีการแตกหัก สูญหาย ทางานบกพร่อง หรอื มีการ รั่วไหลระดับ 3 ในรายการน้นั ๆ การตรวจกอ่ นใชง้ าน ( ถ.เบา 32 ) ลาดับ รายการ * 1. ตัวรถ ตรวจรอบตัวรถ และใต้ท้องรถเพ่ือหารอยหยดเปื้อนท่ีแสดงการรั่วไหล ตรวจการ ชารดุ เสียหาย และสภาพผิดปกตติ า่ ง ๆ * 2. พืนผิวที่เป็นสีกันล่ืน ตรวจพ้ืนผิวท่ีเป็นสีกันลื่นให้แน่ใจว่าสีมีสภาพกันลื่นได้ดี ไม่มีจดุ ท่ีเรียบ เปน็ มัน * 3. ตรวจให้มั่นใจวา่ ได้ใสจ่ ุกเกลยี วปดิ ชอ่ งถ่ายนา้ และแผน่ ปิดชอ่ งต่าง ๆ ไวค้ รบถ้วน 4. ตรวจการคดงอ หรือแตกหักของขอลากจูง ตรวจว่ากระเดื่องกลอนฝาปิดขอลากจูงทางานได้ สะดวก และมสี ลักนิรภัยเรียบร้อย * 5. สายพาน ข้อต่อสายพาน ยางรองสายพาน และเดือยนาสายพาน ตรวจความ หลวมคลอน แตกรา้ ว หรือสญู หาย 6. ตรวจการแตกรา้ วของตวั โคม หรือกระจกครอบ ตรวจหาโคมไฟทีไ่ สห้ ลอดขาด * 7. ทาความสะอาดกล้องตรวจการณใ์ ห้สะอาด ไม่มโี คลน ฝุ่นทราย น้ามัน หรอื ไขขน้ ติดอยู่ 10. ตะแกรง บานเกล็ด ฝาปดิ ห้องอปุ กรณ์ต่าง ๆ ตรวจสภาพความเรยี บร้อยและความคล่องตัวใน การเปดิ -ปดิ ของฝาปดิ กลอนยดึ ฝาปิด ตรวจสภาพยางกันรัว่ และปะเกน็ ฝาปดิ 11. ระบบไอเสีย ตรวจหารอยแตกร้าว คดงอ หรือเป็นรูทะลุของส่วนประกอบต่าง ๆ และสิ่งปิด กัน้ ทางออกของไอเสีย * 12. ระบบระบายความร้อน ตรวจการร่วั ไหลของน้าระบายความร้อน ตรวจระดับน้าในหม้อน้า ถ้ามรี ะดับตา่ ให้เติมดว้ ยน้าสะอาดผสมน้ายากนั สนมิ ในอัตราสว่ น 50:50 * 13. ถงั นามันเชือเพลิง เปิดฝาปิดถงั นา้ มันเช้ือเพลงิ ตรวจฝาปิดช่องเตมิ น้ามัน และตะแกรงกรอง ควรเติมนา้ มันใหเ้ ต็มถังเพอื่ ป้องกนั การเกดิ นา้ จากการกลัน่ ตวั ของไอนา้ * 14. หม้อกรองนามันเชือเพลิง ถ่ายนาและส่ิงตกตะกอนที่สะสมอยู่ ออกจากหม้อกรองแยกนา (ตวั แรก) ตรวจการรวั่ ไหลของข้อต่อทอ่ ทางเดนิ นา้ มันและขันแนน่ ขอ้ ตอ่ ทรี่ ว่ั ไหล * 15. สายไฟ ตรวจหาขั้วสายไฟท่ีโผล่พน้ จากฉนวนหุ้ม และปลอกรัดสายไฟ ตรวจหารอยแตก ฉีก ขาด หรอื หลุดหลวมของขว้ั สายไฟ
ห น ้ า | 120 การตรวจก่อนใช้งาน ( ต่อ ) ( ถ.เบา 32 ) ลาดับ รายการ * 16. แบตเตอร่ี ตรวจความสะอาด ความม่ันคง การผุกรอ่ นของขั้วแบตเตอรี่ ถาดรองแบตเตอรี่ และสลักเกลียวยดึ เหลก็ ประกับแบตเตอรี่ * 17. ประตูและฝาปิด ตรวจความคล่องตัวในการ เปิด-ปิด ของประตูฝาปิด และเคร่ืองขัดกลอน ต่าง ๆ ตรวจความม่นั คงในการขัดกลอน ของฝาปิดปอ้ ม * 18. ทนี่ งั่ พลขบั ตรวจให้มั่นใจวา่ ท่ีน่งั พลขับสามารถปรบั เล่อื นไดค้ ลอ่ ง 19. เครอ่ื งวัดการอุดตันของหมอ้ กรองอากาศ ตรวจการแสดงคา่ และการทางานของเครือ่ งวดั ฯ * 20. ระดับนามันหล่อลื่น ตรวจระดับน้ามันหล่อลื่นของเครื่องยนต์ เคร่ืองเปล่ียนความเร็ว หบี เฟอื งชว่ ย ตรวจการรว่ั ไหลของหีบเฟืองขับขนั้ สดุ ทา้ ย และหบี เฟืองขับพดั ลม * 21. เครอ่ื งดบั เพลงิ ประจาท่ี และหบี ควบคุมการทางานของระบบเครอื่ งดับเพลิง * 22. เฟืองขับสายพาน ตรวจความสึกหรอของเฟืองขับสายพาน และความหลวมคลอน 23. ราวเก็บกระสนุ ปืน ตอ้ งตรวจให้ม่ันใจวา่ เหลก็ ปดิ จานทา้ ยกระสุน ถูกใสเ่ ขา้ ท่เี รียบร้อย การตรวจระหว่างใช้งาน ลาดับ รายการ * 24. แผงเครอ่ื งวดั ตรวจเครอื่ งวัดความดัน, เครอ่ื งวดั อุณหภมู ิ, เคร่อื งวดั น้ามันเช้ือเพลงิ , เคร่ืองวดั รอบเครื่องยนต์ เคร่ืองวัดไฟฟ้า และไฟเตือนบนแผงเครอื่ งวดั 25. เครื่องสูบนาพืนรถ ตรวจการทางานของมอเตอรข์ ับเครอื่ งสูบน้า 26. ระบบแสงสว่างและแตร ตรวจความเรยี บร้อยในการทางานของสวติ ช์ควบคมุ ระบบ แสงสว่าง และโคมไฟทุกตาแหน่ง ตรวจไฟ สูง-ต่า และไฟส่องหน้าปัดเคร่ืองวัด ตรวจการ ทางานของแตร และไฟสัญญาณเล้ยี ว 27. สวิตช์นิรภัยวงจรหมุนเครื่องยนต์ ตรวจให้ม่ันใจว่ามอเตอร์หมุนเครื่องยนต์ทางานเมื่อคัน เกียรเ์ ปลีย่ นความเร็วอยู่ในตาแหนง่ ว่าง“ N “ เทา่ น้ัน * 28. มอเตอร์หมนุ เคร่อื งยนต์ ตรวจความเรยี บร้อยในการทางานของมอเตอร์หมนุ เครื่องยนต์ * 29. พดั ลมระบายความร้อน ตรวจความเรียบร้อยในการทางานของพัดลมระบายความรอ้ นต่าง ๆ เมื่อเคร่อื งยนตต์ ิดแล้ว * 30. เครื่องบงั คับเลียว ตรวจว่าเคร่ืองบังคับเลี้ยวใช้งานได้คล่อง และกลับคืนสู่ตาแหนง่ เดิมเองได้ โดยไมต่ ดิ ขัด
ห น ้ า | 121 การตรวจระหว่างใช้งาน ( ตอ่ ) ( ถ.เบา 32 ) ลาดับ รายการ * 31. เคร่ืองห้ามล้อ ตรวจ ประสิทธิภาพในการหยุดรถรถโดยแฉลบหรือเซไปข้างใดข้างหนึ่ง และ การยดึ รถของคันหา้ มลอ้ จอดรถบนพ้นื ลาดเอียง * 32. เคร่ืองเปลย่ี นความเร็ว สังเกตสมรรถภาพในการทางานและการสนองตอบของรถเม่ือบังคับ เลย้ี ว และเปลี่ยนเกยี ร์ 33. การดับเครือ่ งยนต์ * 34. เครือ่ งติดต่อภายในรถ และชุดวิทยุ การตรวจหลงั ใชง้ าน ลาดับ รายการ * 35. ตัวรถ ตรวจรอบตัวรถ และใต้ท้องรถเพื่อหารอยหยดเปื้อนที่แสดงการรั่วไหล ตรวจการ ชารุดเสยี หาย และสภาพผิดปกตติ า่ ง ๆ * 36 ตรวจความหลวมคลอนของขอ้ ต่อสายพาน โดยใช้ค้อนเล็กเคาะ ตรวจความหลวมคลอนของ ลิ่มสลักสายพาน และขันให้แน่น ตรวจการแตกร้าวของข้อสายพาน ตรวจความสึกหรอ และการหลุดหายของยางรองสายพาน ตรวจการแตกร้าว และการหลุดหายของข้อต่อ สายพาน และเดอื ยนาสายพาน *37. ไฟใหญ่ ไฟท้าย และไฟสัญญาณเลี้ยว ตรวจการแตกร้าวของตัวโคม หรือกระจกครอบ ตรวจหาโคมไฟทีไ่ สข้ าด 38. กล้องตรวจการณ์ ทาความสะอาดกล้องตรวจการณ์ให้สะอาด ไม่มีโคลน ฝุ่นทราย น้ามัน หรือไขขน้ ติดอยู่ 39. ตะแกรง บานเกลด็ ฝาปดิ ห้องอุปกรณ์ต่าง ๆ * 40. ถังน้ามันเชื้อเพลิง เปิดฝาปิดถังนามันเชือเพลิง ตรวจฝาปิดช่องเติมนามันและ ตะแกรงกรอง ควรเตมิ นามันให้เต็มถัง เพอื่ ปอ้ งกนั การเกดิ น้าจากการกลน่ั ตัวของไอนา้ จากที่ ว่างในถงั * 41. หม้อกรองนามันเชือเพลิง ถ่ายน้าและสิ่งตกตะกอนท่ีสะสมอยู่ ออกจากหม้อกรองแยกน้า (ตวั แรก) ตรวจการรั่วไหลของขอ้ ต่อท่อทางเดนิ นา้ มนั และขันแนน่ ขอ้ ตอ่ ทีร่ ั่วไหล 42. สายไฟ ตรวจสภาพความเรียบรอ้ ยของสายไฟ 43. แบตเตอร่ี ตรวจความสะอาด ความมั่นคง การผุกร่อนของข้ัวแบตเตอรี่ ถาดรองแบตเตอรี่ สลักเกลยี วยดึ เหลก็ ประกับแบตเตอร่ี และตรวจระดบั น้ากรดแบตเตอรี่
ห น ้ า | 122 การตรวจหลังใชง้ าน (ต่อ) ( ถ.เบา 32 ) ลาดับ รายการ 44. เคร่ืองวัดการอุดตันของหม้อกรองอากาศ ตรวจการแสดงค่าและการทางานของเครอื่ งวัดฯ ให้ทาความสะอาดไส้กรองอากาศ หรอื เปลยี่ นไส้กรองฯ ถา้ เครอ่ื งวดั อา่ นคา่ ไดถ้ งึ 20 นิว้ /นา้ * 42. ระดับนามันหลอ่ ลื่น ตรวจระดับน้ามนั หลอ่ ลนื่ ของเครื่องยนต์ เครอื่ งเปลี่ยนความเรว็ หีบเฟืองช่วย ตรวจการร่ัวไหลของหีบเฟืองขับขั้นสุดท้าย และหีบเฟืองขับพัดลม ตามที่ กาหนดไว้ในคาสงั่ การหลอ่ ลื่นประจารถ หมายเหตุ การตรวจระดับน้ามนั เครอ่ื งยนตท์ ีถ่ ูกต้องจะกระทาได้ เมอื่ เครอื่ งยนตเ์ ยน็ เทา่ นน้ั * 43. ทาการแก้ไขขอ้ บกพรอ่ งท่ี ตรวจพบในระหวา่ งการใชง้ าน และรายงานข้อบกพร่อง ท่แี กไ้ ขไม่ได้ * เคร่ืองหมายน้ี แสดงว่ารถไม่อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน ถ้ามีการแตกหัก สูญหาย ทางานบกพร่อง เสอื่ มสภาพ หรือมีการรัว่ ไหลระดบั 3 ในรายการน้ัน ๆ ……………………….
ห น ้ า | 123 แผนกวชิ ายานยนต์ กองการศกึ ษา โรงเรยี นทหารม้า ศนู ย์การทหารมา้ ค่ายอดศิ ร สระบรุ ี ---------- คณุ ลกั ษณะและมาตราทาน รถถัง 30 (T69-2 ) 1. กล่าวนา รถถัง 30 (T69-2 ) เป็นยานรบประเภทสายพานมีอานาจการยิงรุนแรง สร้างด้วยแผ่นเกราะ เหล็กกล้า มีลักษณะทรวดทรงต่าและมีมุมลาดเพ่ือป้องกันตน มคี วามคล่องแคล่วในการเคล่อื นท่ี ใช้สาหรับ การรุกรบทาลายกาลังขา้ ศึกและเป้าหมายแข็งแรงต่างๆ เช่น รถถังหรือป้อมสนาม ติดตั้งอาวุธหลัก คือ ปืน ใหญร่ ถถัง ขนาด 100 มม. และอาวุธรอง คือ ปืนกลร่วมแกน ขนาด 7.62 มม. จานวน 1 กระบอก, ปืนกลหน้า ขนาด 7.62 มม.จานวน 1 กระบอก และปืนกลต่อสู้อากาศยาน ขนาด 12.7 มม.จานวน 1 กระบอก บน ปอ้ มปืน หน้าชอ่ งทางเขา้ -ออก ของพลบรรจุ ปฏบิ ัติการด้วยพลประจารถ 4 นาย คอื ผู้บงั คบั รถ พลยงิ พลขับ และพลบรรจุ 2. คุณลักษณะท่วั ไป รถถัง 30( 69-2 ) แบ่งออกเปน็ 4 สว่ น คอื 2.1 ส่วนหน้า เป็นหอ้ งพลขับซ่ึงเป็นท่ีติดตง้ั แผงเคร่ืองวัด แผงสวิตชค์ วบคุมวงจรไฟฟ้า กล่องควบคุม ระบบเครื่องดับเพลงิ เครื่องควบคุมและคันบังคับต่าง ๆ ท่ใี ช้ในการควบคุมการทางานของเครอ่ื งยนต์ และการ ขับรถ ปืนกลหน้า ทางด้านขวาของพลขับจะเป็นท่ีติดต้ังห้องเก็บแบตเตอร่ี ถังน้ามันเชื้อเพลิง และราวเก็บ กระสนุ ฯลฯ 2.2 สว่ นกลาง เป็นท่ตี ิดต้งั ป้อมปนื และภายในป้อมปืนจะตดิ ต้ังระบบอาวธุ ได้แก่ ปืนใหญร่ ถถังปืนกล รว่ มแกน เคร่อื งควบคมุ การยิง เคร่ืองตรวจการณ์และเครือ่ งเลง็ เครื่องอุปกรณต์ ดิ ตอ่ สอ่ื สารเคร่อื งทาความรอ้ น ถงั น้ามนั เชอ้ื เพลิง ทนี่ ่ังพลยงิ และท่ีน่ังผู้บงั คบั รถ ฯลฯ ภายนอกปอ้ มปืน จะติดตงั้ ปืนกลตอ่ สูอ้ ากาศยาน ขนาด 12.7 มม. เคร่ืองหาระยะด้วยเลเซอรไ์ ฟฉาย อินฟราเรด ฯลฯ 2.3 ส่วนหลัง เป็นห้องระบบขับเคลื่อนรถ ซึ่งติดต้ังเคร่ืองยนต์ หบี เฟืองถ่ายทอดกาลังขับคลตั ชห์ ลัก เครอื่ งเปล่ียนความเรว็ ชุดหีบเฟอื งบังคบั เล้ียว หีบเฟอื งขับขัน้ สุดทา้ ย พดั ลมระบายความรอ้ นของเครือ่ งยนต์ หมอ้ นา้ รังผึง้ เคร่อื งระบายความร้อนน้ามันเครอ่ื งยนต์ หมอ้ กรองอากาศ ฯลฯ 2.4 ส่วนล่าง เป็นท่ีติดต้ังสายพาน และระบบพยุงตัวรถ ซึ่งประกอบด้วย ล้อขับสายพาน ล้อปรับ สายพาน ล้อกดสายพาน แขนล้อกดสายพานและคานรบั แรงบิด เคร่ืองผ่อนแรงสะเทือน และสายพานบนบัง โคลนทัง้ สองด้าน จะตดิ ต้งั ถังนา้ มันเชื้อเพลิงชดุ นอก หบี เครอ่ื งมือเคร่ืองใช้ประจารถหบี ชิ้นสว่ นอะไหล่ และโคม ไฟส่องสว่าง เครื่องพยุงตัวรถแต่ละขา้ งจะมีแผ่นครอบสายพานทาด้วยยางซ่ึงถอดแยกจากกันได้เพื่อป้องกัน เครือ่ งพยงุ ตัวรถจากการยงิ ทาลายด้วยกระสุนเจาะเกราะด้วยความรอ้ น (HEAT) 3. ตัวรถและป้อมปืน ตัวรถและป้อมปืนสร้างด้วยแผ่นเกราะเหล็กกล้า เพ่ือเป็นท่ีติดตั้งองค์ประกอบและ เครื่องกลไกต่างๆ และป้องกันพลประจารถ ระบบอาวธุ กระสุนปนื ตลอดจนเครอ่ื งกลไกและสิ่งต่างๆ ภายใน ตัวรถและป้อมปนื จากอานาจการยิง
ห น ้ า | 124 3.1 ตัวรถ สร้างด้วยแผ่นเกราะเหล็กกล้าขนาดความหนาต่าง ๆ เช่ือมประสานเข้าด้วยกัน ประกอบด้วยแผ่นเกราะด้านหน้า แผ่นเกราะดา้ นข้าง แผ่นเกราะด้านหลงั แผ่นเกราะปดิ ห้องเคร่ืองยนต์และ แผ่นเกราะใต้ท้องรถ 3.2 ป้อมปืน สร้างด้วยเหล็กกลา้ หลอ่ ข้ึนรปู เป็นช้นิ เดียว ทางดา้ นหน้ามชี ่องเปิดสาหรบั ปนื ใหญ่ปืนกล รว่ มแกน และกล้องเล็งทางด้านขา้ งป้อมปืนมรี าวเหล็กสาหรับเกาะ และหูห่วงสาหรับยกป้อมปนื ทางดา้ นบนมี ป้อมตรวจการณ์ของผบู้ ังคับรถ และฐานติดตั้งแท่นปืนกลตอ่ สู้อากาศยาน กลอ้ งตรวจการณก์ ล้องเล็งกลางคืน ฐานไฟฉายอนิ ฟราเรด ฐานเสาอากาศและเต้าเสยี บ ชดุ เครื่องตดิ ต่อสอ่ื สารของทหารราบ ฯลฯ 4. การกาหนดด้านหน้า,ด้านหลัง,ด้านซ้าย และด้านขวาของรถ ด้านหน้า ด้านหลัง ด้านซ้าย และ ด้านขวาของรถถัง 30(T69-2) ท่ีถูกกล่าวถึงตามบริเวณท่ัวไปหรือด้านนั้น ๆ ของรถจะกาหนดได้ด้วยการหัน หน้าเข้าหาท้ายรถซ่ึงเรียกว่าด้านหลัง ยกเว้นการกาหนดด้านต่างๆ ของเครื่องยนต์ ให้เรียกด้านที่ติดต้ังชุด เฟืองขับเครื่องประกอบว่าด้านหน้า และด้านเพลาขับหีบเฟืองถ่ายทอดกาลังเป็นด้านหลัง ส่วนดา้ นซ้ายและ ดา้ นขวาจะกาหนดได้ดว้ ยการหันหน้าเขา้ หาเรือนเฟืองขับห้องเคร่อื งประกอบ 5. ระบบหน่วยกาลงั ระบบหน่วยกาลังของรถถัง 30 (T69-2 ) ประกอบด้วยเครื่องยนตด์ ีเซล 12 สบู V- 60 ระบายความร้อนด้วยน้า จุดระเบิดด้วยกาลังอัด แบบ 12150 L-7 BW 4 จังหวะรอบ กาลัง 580 แรงมา้ ณ 2,000 รอบ/นาที รอบเดนิ เบา 500-600 รอบ/นาที รอบใช้งาน 1,700 ถงึ 1,800 รอบ/นาที 6. ระบบนามนั เชือเพลิง ระบบน้ามันเชื้อเพลงิ ประกอบดว้ ย ถงั นา้ มันเช้ือเพลิง จานวน 4 ชุด ความจุรวมทั้ง สน้ิ 935 - 950 ลิตร คือ 6.1 ชุดหน้า ติดต้ังอยู่ทางด้านหน้าขวาภายในตัวรถ ประกอบด้วย ถังน้ามันเช้ือเพลิง ความจุ 15 ลติ ร ถงั หนา้ ซา้ ยความจุ 138 ลติ ร ถังหนา้ ขวาความจุ 144 ลิตร ความจุรวม 297 ลติ ร 6.2 ชุดถังน้ามันเช้ือเพลิง และราวเก็บกระสุน ติดต้ังอยู่ทางด้านหลงั ของถังน้ามันเช้ือเพลิงชุดหน้า ประกอบด้วย ถังซา้ ยและถังขวา ความจุรวม 287 ลติ ร 6.3 ชดุ กลาง ตดิ ตง้ั อยู่ทางดา้ นขวาของห้องหอรบ มีความจุ 81 ลิตร ถงั น้ามนั ชุดกลางจะมที ่อรบั น้ามัน เช้ือเพลิงจากถงั น้ามันเชื้อเพลิงชดุ นอก 6.4 ชุดนอก ติดตั้งอยบู่ นบังโคลนด้านขวาของรถ ประกอบด้วยถังนา้ มนั เช้ือเพลิง จานวน 3 ถงั ความ จถุ งั ละ 90-95 ลิตร ความจรุ วม 270-285 ลติ ร ท่ีถังด้านหลังจะมีทอ่ ส่งน้ามันเชอ้ื เพลิงไปยงั ถังน้ามันเชอื้ เพลิง ชดุ กลาง 7. ระบบไอดี-ไอเสีย ระบบไอดี-ไอเสีย ประกอบด้วยหม้อกรองอากาศแบบแห้ง จานวน 1 หม้อ ติดตั้งอยู่ทางด้านหน้าขวา ภายในห้องเครอื่ งยนต์ เป็นหม้อกรองชนดิ กรองสองข้ันตอน ฝุ่นผงท่ีสะสมอยู่ในหม้อกรองอากาศขัน้ แรกจะ ถกู ระบายออกไปทางทอ่ ไอเสียดว้ ยการชกั นาจากแรงดันของทอ่ ไอเสีย 8. ระบบระบายความร้อน ระบบระบายความร้อนประกอบด้วย หม้อน้ารังผึ้งของเครื่องยนต์ เคร่ืองระบายความร้อนของน้ามัน เครื่องยนต์ และพัดลมระบายความร้อน นอกจากน้ีในระบบระบายความร้อนยังมเี ครอื่ งทาความร้อนด้วยการ เผาไหม้นา้ มันเช้ือเพลิง เพ่ืออุ่นน้าระบายความร้อน น้ามันเคร่ืองยนต์และห้องพลประจารถ เมื่อปฏิบัติงานใน เขตหนาว
ห น ้ า | 125 9. หบี เฟืองถ่ายทอดกาลงั ,คลัตช์,เครือ่ งเปล่ียนความเรว็ ,ชดุ เฟอื งบงั คับเลยี ว และห้ามล้อและหีบเฟอื งขับ ขันสดุ ทา้ ย 9.1 หีบเฟืองถ่ายทอดกาลัง ทาหน้าที่ถ่ายทอดกาลังขับและเพ่ิมรอบความเร็วจากเคร่ืองยนต์ให้มาก ขึน้ แลว้ สง่ กาลงั ผ่านคลตั ช์ไปยังเครอ่ื งเปลย่ี นความเรว็ 9.2 คลตั ช์หลัก เป็นคลัตช์แห้งถ่ายทอดกาลังด้วยความฝืด ทาด้วยแผ่นเหล็กรูปจานหลายแผ่นวาง ซ้อนกัน ทาหน้าทีต่ ัด-ต่อกาลังขับระหว่างหีบเฟืองถ่ายทอดกาลังและเคร่ืองเปล่ียนความเร็ว ท่ีจานคลตั ช์อัน นอกจะมีเฟืองวงแหวนฟันนอก เพ่ือรับกาลังขับจากชุดเฟืองขับของมอเตอร์หมุนเคร่ืองยนต์การควบคุมและ บังคับการทางานของคลตั ชก์ ระทาโดยคันคลัตชแ์ ละชดุ กา้ นโยงในหอ้ งพลขับ 9.3 เครือ่ งเปลย่ี นความเร็ว เป็นแบบธรรมดา มเี กียรเ์ ดินหน้า 5 ตาแหนง่ และเกยี ร์ถอยหลัง 1 ตาแหน่ง ในตาแหน่งเกียร์ 2,3,4 และ 5 จะมีชุดเฟืองปรับความเรว็ (SYNCHROMESH) ประกอบอยู่ด้วยเพ่ือ ช่วยให้เข้าเกยี ร์ได้สะดวกข้ึน การควบคุมและบังคับการทางานของเครื่องเปล่ียนความเรว็ กระทาโดยคันเกียร์ และชดุ ก้านโยงในหอ้ งพลขับ 9.4 หีบเฟืองบังคับเล้ียวและห้ามล้อ ประกอบด้วยชุดเฟืองเกยี ร์บริวาร จานห้ามล้อเล็ก จานห้ามล้อ ใหญ่ และคลัตช์ หน้าท่ีสาคัญของชุดเฟืองบังคับเล้ียวและห้ามล้อก็คือทาให้เกิดการบังคับเล้ียว การห้ามล้อ การหมุนเลย้ี วอยู่กบั ท่ี และการทดรอบความเรว็ เพือ่ เพม่ิ กาลังขบั เคลื่อน การควบคมุ และการบังคบั การทางาน ของชุดเฟืองบงั คบั เลี้ยวกระทาได้ด้วยชุดก้านโยง คนั บงั คับเล้ียว และคนั ห้ามลอ้ ในห้องพลขบั 9.5 หีบเฟืองขับข้ันสุดท้าย เป็นแบบชุดเฟืองเกียร์บริวารทาหน้าท่ีรับกาลังขับจากชุดเฟืองบังคับ เลี้ยวและห้ามล้อ แลว้ ทดรอบความเรว็ ให้ช้าลง เพ่ือเพิ่มแรงบิดขบั เคล่ือนให้แก่ล้อขับสายพานซ่ึงทาหนา้ ท่ีหมุน ขบั สายพานท้ังสองขา้ ง 10. ระบบพยงุ ตัวรถและสายพาน รถถัง 30 (T 69-2) ใช้ระบบพยุงตัวรถดว้ ยคานรบั แรงบิด ประกอบดว้ ยล้อ กดสายพานข้างละ 5 ล้อ ล้อขับสายพานอยู่ด้านหลังรถ และล้อปรับสายพานอยู่ด้านหน้ารถ ล้อต่าง ๆ ใน ระบบพยงุ ตวั รถเปน็ ล้อคู่แบบถอดแยกไม่ได้ สายพานทั้งสองข้างเป็นสายพานเหล็กแบบสายพานตาย ข้างละ 91 ข้อ ซ่ึงถูกขับด้วยซ่ีเฟืองของล้อ ขับสายพาน ที่ล้อปรับสายพานแต่ละข้างจะมีชุดปรับสายพานประกอบด้วยชุดเฟืองตัวหนอน และข้อเหวี่ยง ปรับสายพาน ระยะเคลื่อนท่ีของลอ้ กดสายพานแต่ละลอ้ จะถูกจากดั ด้วยเหล็กหยุดแขนลอ้ กดสายพาน ที่แขน ล้อกดสายพานท่ี 1 และลอ้ ที่ 5 จะมีเครอ่ื งผอ่ นแรงสะเทือน เพื่อช่วยดูดกลืนความสน่ั สะเทอื นเมือ่ รถเคล่ือนที่ ไปในภมู ิประเทศ 11. ระบบไฟฟ้า เป็นระบบไฟตรง ซึ่งทางานเก่ียวข้องและสัมพันธ์กันติดตั้งอยู่ภายในห้องพลขับห้องหอรบ และห้องเครื่องยนต์ เช่น ระบบแบตเตอรี่ ระบบหมุนเคร่อื งยนตด์ ้วยกระแสไฟฟ้า ระบบประจไุ ฟ ระบบแสง สว่าง ระบบเคร่อื งวดั และสญั ญาณเตอื น เปน็ ต้น 12. ระบบเคร่ืองดับเพลิงประจารถ เคร่ืองดับเพลงิ ประจาที่ ใช้ดบั เพลงิ ท่ีเกิดขึ้นภายในหอ้ งหอรบและภายใน หอ้ งเคร่ืองยนต์เปน็ ระบบเคร่ืองดบั เพลิงที่ใชง้ านไดท้ ้ังแบบอัตโนมัติและก่งึ อตั โนมตั ิสารดบั เพลิง 1211 สามารถ ดับเพลิงที่เกิดจากกระแสไฟฟ้าและการลุกไหม้ของน้ามันต่างๆ ระบบเครื่องดับเพลงิ ประกอบด้วยหม้อน้ายา ดับเพลงิ จานวน 3 หม้อ ตดิ ตั้งอยทู่ างทา้ ยรถด้านขวาในห้องเครื่องยนต์ ในกรอบพัดลมระบายความร้อนและมี กล่องควบคุมการทางานอยู่ภายในห้องพลขับ ท่ีหัวหม้อน้ายาดับเพลิงทั้ง 3 หัว จะมีชุดบังคับการทางานด้วย
ห น ้ า | 126 เชื้อประทุไฟฟ้าและมีท่อส่งน้ายาดับเพลิงต่อเข้าไปยังหัวฉีดน้ายาดับเพลิง ซ่ึงติดตั้งอยู่ที่ตาบลต่างๆ ภายใน หอ้ งเคร่ืองยนต์ 4 แหง่ และภายในหอ้ งหอรบ 4 แห่ง ระบบเครอ่ื งดบั เพลงิ เม่ือใช้งานในแบบอัตโนมัติ จะรับสัญญาณความรอ้ นจากชุดสง่ สัญญาณด้วยความ ร้อน ซ่งึ ติดตงั้ อยูใ่ นที่ตา่ งๆ ภายในห้องเครอ่ื งยนต์และห้องหอรบ สญั ญาณนี้จะถกู ขยายด้วยกล่องควบคุมและ สง่ ไฟยังเชื้อประทุไฟฟ้าให้ระเบิดข้ึน ทาให้สารดับเพลิงถูกส่งไปยังบริเวณที่เกิดเพลิงไหม้ การใช้งานในแบบ กึ่งอตั โนมัตเิ มอื่ พลขับหรือพลประจารถสังเกตเหน็ เพลิงไหมข้ ึน้ ภายในห้องเครื่องยนต์หรือภายในห้องหอรบแห่ง ใดแห่งหน่ึง พลขับสามารถกดสวติ ช์ดับเพลิงเพื่อบังคบั ให้ระบบดบั เพลงิ ส่งสารดบั เพลิงไปยังบริเวณท่ีเกิดเพลิง ไหม้ได้ตามความต้องการ การบังคับใช้งานระบบเครื่องดับเพลิงในแบบก่ึงอัตโนมัติจะกระทาได้ด้วยสวิตช์ ดบั เพลงิ บนกลอ่ งควบคมุ ฯ ในหอ้ งพลขบั 13. ระบบกล้องตรวจการณ์ด้วยแสงอินฟราเรด รถถัง 30 (T 69-2) ระบบกล้องตรวจการณ์ด้วยแสง อินฟราเรดสาหรับการขับรถ หรือการตรวจการณ์ในเวลากลางคืน ซ่ึงในขณะใชง้ านจะติดต้ังเขา้ กับฐานติดต้ัง หนา้ ห้องพลขบั และใช้ประกอบกับโคมไฟอนิ ฟราเรด ซึ่งสามารถปรบั ระดับสาแสงไฟ สงู -ต่า ได้ 14. ระบบเครื่องทาควัน ใช้สาหรับสร้างม่านควันพรางรถด้วยการฉีดน้ามันเชื้อเพลิงเข้าไปในท่อร่วมไอเสีย ของเครื่องยนต์ให้ระเหยเป็นไอน้ามัน เม่ือถูกขับออกมาพร้อมกับไอเสียและกระทบกระทบ กับความเย็นของ อากาศ ไอน้ามันจะกลั่นตัวเปน็ ควันขาวปนเทาหนาทบึ ระบบเครือ่ งทาควันจะใชน้ ้ามันเชอ้ื เพลิงจากถงั น้ามัน เชื้อเพลิงชุดหน้าภายในรถ การบังคับใช้งานเคร่ืองทาควันกระทาได้ดว้ ยสวิตช์เครื่องทาควันบนแผงสวิตช์ของ พลขบั 15. มาตราทานรถ น้าหนักพรอ้ มรบ 36.5-37 ตัน พลประจารถ 4 นาย อัตราส่วนกาลงั ขับเคลอ่ื น 11.53-11.68 (กโิ ลวัตต/์ ตนั ) 15.67-15.89 (กิโลวัตต์/ตนั ) น้าหนกั กดพน้ื ดนิ (12.08 ปอนด์/ตร.น้วิ ) 0.82-0.83 กก./ตร.ซม. ขนาด ความยาว (ปนื ใหญอ่ ยู่ดา้ นหนา้ รถ) 8.657 เมตร (ปืนใหญ่อยดู่ า้ นหลงั รถ) 8.498 เมตร ความกว้าง (รวมทัง้ แผน่ ครอบสายพาน) 3.306 เมตร (ไม่รวมทั้งแผ่นครอบสายพาน) 3.270 เมตร ความสูง (ไม่รวมไฟฉายอินฟราเรดของผู้บังคับรถ) 2.400 เมตร (รวมไฟฉายอนิ ฟราเรดของผ้บู ังคับรถ) 2.534 เมตร (เมือ่ ปก.ตอ.ขนานกบั พน้ื ) 2.807 เมตร (เมอ่ื ปก.ตอ.เงยขึน้ สูงสุด) 3.909 เมตร ระยะจากก่ึงกลางสายพานด้านซา้ ย-ขวา 2.640 เมตร สายพานสัมผสั พ้นื 3.845 เมตร ความสงู ใตท้ อ้ งรถ 0.425 เมตร สมรรถนะ
ระยะปฏบิ ัติการไกลสดุ (บนถนน) ห น ้ า | 127 (ในภูมปิ ระเทศ) 420 - 440 กม. 290 - 320 กม. ความเรว็ ในตาแหน่งเกียร์ต่างๆ (เคร่ืองยนตห์ มุน 1,800 รอบ/นาท)ี เกียร์ 1 6.85 กม./ชม. เกียร์ 2 14.7 กม./ชม. เกียร์ 3 20.2 กม./ชม. เกยี ร์ 4 28.8 กม./ชม. เกยี ร์ 5 45.5 กม./ชม. เกียรถ์ อยหลงั 6.85 กม./ชม. ความเรว็ เดินทางโดยเฉลี่ย (บนถนน) 32-35 กม./ชม. (ในภูมิประเทศ) 22-27 กม./ชม. ความเร็วสูงสดุ บนถนน 50 กม./ชม. ความสามารถในการปีนลาด (ลาดตรง) 32 องศา (ลาดข้าง) 30 องศา ขา้ มเคร่อื งกีดขวางทางด่ิง 0.800 เมตร ขา้ มคกู ว้าง 2.700 เมตร ลยุ ข้ามนา้ ลกึ 1.400 เมตร อาวธุ ประจารถ ปืนใหญ่รถถัง ขนาด 100 มม. 1 กระบอก ปนื กลร่วมแกน ขนาด 7.62 มม. 1 กระบอก ปืนกลหน้า ขนาด 7.62 มม. 1 กระบอก ปนื กลตอ่ สู้อากาศยาน ขนาด 12.7 มม. 1 กระบอก จานวนกระสุนปนื ทีบ่ รรทุกเก็บได้ ขนาด 100 มม. จานวน 44 นัด ขนาด 7.62 มม. จานวน 3,000 นดั ขนาด 12.7 มม. จานวน 500 นัด ระบบเครอ่ื งควบคมุ การยิงและเครือ่ งตรวจการณ์ เครื่องหาระยะด้วยเลเซอร์ (ระยะใช้งาน) 300-3,000 เมตร (ความคลาดเคลอื่ น) 10 เมตร (ความถใ่ี นการใช้งาน) 7 ครั้ง/นาที เครื่องคานวณขีปนวิธี (ระยะใชง้ าน) 300-3,000 เมตร (ความคลาดเคล่ือน) 0.05 มิล ชนิดกระสุนทเ่ี ก็บขอ้ มลู ไว้ HE,APS,HEAT,APDS,MG กลอ้ งเลง็ กลางวัน (กาลังขยาย) 3.5 เท่า และ 7 เท่า
(ย่านการเห็น) ห น ้ า | 128 เครือ่ งรักษาการทรงตวั จากปืนใหญ่ 18 องศา และ 9 องศา ความคลาดเคลอ่ื น (ทางสงู ) 1 มลิ (ทางทศิ ) 1 มลิ ความเรว็ ในการต้ังปืนต่อเป้าหมายด้วยมือ (ทางสงู ) 0.07 องศา/วินาที (ทางทิศ) 0.09 องศา/วนิ าที ความเรว็ ในการตงั้ ปืนตอ่ เป้าหมายดว้ ยกาลงั (ทางสงู ) 4.5 องศา/วนิ าที (ทางทศิ ) 15 องศา/วนิ าที กล้องเลง็ กลางคืนของพลยงิ (กาลังขยาย) 7 เท่า (ยา่ นการเหน็ ) 6 องศา (ระยะใช้งาน) 800 เมตร กลอ้ งตรวจการณ์กลางวนั /กลางคืนของ ผบ.รถ กาลังขยาย (กลอ้ งกลางวนั ) 5 เท่า (กล้องกลางคืน) 6 เท่า ยา่ นการเหน็ (กล้องกลางวนั ) 12 องศา (กลอ้ งกลางคืน) 8 องศา ระยะใช้งานกล้องกลางคนื 350 เมตร ความสิน้ เปลืองกาลังไฟฟา้ ของไฟฉายอินฟราเรด 200 วตั ต์ กล้องตรวจการณ์เวลากลางคืนของพลขับ (กาลังขยาย) 1 เทา่ (ยา่ นการเห็น) 30 องศา (ระยะใชง้ าน) 60 เมตร ความสนิ้ เปลอื งกาลังไฟฟ้าของโคมไฟอินฟราเรด (ดวงละ 80 วัตต์) ระบบไฟฟา้ ระบบไฟตรง 24 โวลท์ แบตเตอรี่ แบบ 65 จานวน 4 หม้อ - แรงเคลือ่ น (หมอ้ ละ) 12 โวลท์ - อัตราการจา่ ยกระแสไฟ (หม้อละ) 140 แอมป/์ ชม. - แรงเคลื่อนรวม 24 โวลท์ - อัตราการจา่ ยกระแสรวม 280 แอมป์/ชม. เครอ่ื งกาเนิดไฟฟ้า -กระแสสลบั ประกอบดว้ ยเครือ่ งเรยี งกระแส ( RECTIFIER ) - แรงเคลอื่ น 28 โวลท์ - อตั ราการจ่ายกระแส 215 แอมป์(6,000 วัตต)์
ห น ้ า | 129 ชดุ วิทยปุ ระจารถ ระยะการตดิ ตอ่ ส่ือสาร เมอ่ื ใชช้ ดุ วทิ ยุแบบเดียวกบั (รถถังอยู่กับท)ี่ 25 กม. (รถถงั เคลอื่ นท)ี่ 20 กม. ระบบปอ้ งกนั นชค. การป้องกนั คล่ืนกระแทกจากแรงระเบดิ ป้องกนั ดว้ ยการปิดชอ่ งทางเขา้ -ออกของพลขับและ ป้อมปนื การป้องกนั ฝนุ่ ละอองกัมมันตภาพรังสี ป้องกันดว้ ยเครือ่ งกรองอากาศและระบบสรา้ งแรงดนั ภายในรถถงั ด้วยแรงดนั ไมเ่ กนิ 0.0015 กก./ตร.ซม. การควบคุมบังคบั การทางานของเคร่อื งกลไก ควบคุมโดยอัตโนมตั ิด้วยเคร่ืองของระบบปอ้ งกนั กมั มันตภาพรังสี ตรวจวดั รงั สี จานวน 2 ตัว พดั ลมสร้างแรงดนั อากาศภายในตัวรถ แบบแรงเหว่ียง การป้องกันเคมแี ละเชือ้ โรค ใชห้ น้ากากปอ้ งกันสว่ นบคุ คล ระบบเครื่องดับเพลิงอตั โนมตั ิ การใชง้ าน ใชง้ านไดท้ ง้ั อัตโนมัตแิ ละกงึ่ อตั โนมตั ิ ความไวในการสง่ สัญญาณเพลงิ ไหม้ 3-4 วินาที ระยะเวลาในการฉีดสารดับเพลิง (1 หม้อ) 10-15 วนิ าที (3 หม้อ) 30-35 วินาที ระบบเคร่อื งทาควนั ขนาดของกลมุ่ ควนั 200 เมตร ความคงทนของควนั 2-4 นาที ระยะเวลาใชง้ านต่อเน่ือง (ไม่เกนิ ) 10 นาที ความสนิ้ เปลืองนา้ มนั เช้อื เพลิง 10 ลติ ร/นาที ความจแุ ละแรงดนั ระบบน้ามนั เชื้อเพลิง (ภายในรถ) 665 ลติ ร ลติ ร (ภายนอกรถ) 275-285 ลติ ร ลิตร (ความจุรวม) 935-950 55 ลิตร 13 ลิตร ระบบหล่อล่นื เครือ่ งยนต์ (ความจ)ุ 78 20 ลิตร 35 ลิตร (ถงั นา้ มันเครอ่ื งยนต)์ 70-90 องศา ซ. 100 องศา ซ. (อา่ งนา้ มนั เครอ่ื งยนต)์ 6-10 กก./ตร.ซม . (ระดบั น้ามันตา่ สุดในถังนา้ มันเคร่อื ง) (ถังนา้ มันเครื่องสารอง) (อณุ หภมู ใิ ชง้ านปกต)ิ (อณุ หภมู ิสงู สุด (ใช้งานชวั่ คราว) (แรงดันใช้งานปกต)ิ
(ความส้นิ เปลอื งน้ามันเคร่ืองยนต์) ห น ้ า | 130 ระบบระบายความรอ้ นเครื่องยนต์ 1-7 ลติ ร/ซม. ความจขุ องระบบระบายความร้อน อุณหภมู ิใชง้ านปกติ 75-85 ลติ ร อณุ หภูมิสูงสุด (ใชง้ านชว่ั คราว) 70-90 องศา ซ. เคร่ืองเปล่ียนความเรว็ 105 องศา ซ. หีบเฟอื งถ่ายทอดกาลัง 12.5-13.5 ลติ ร หีบเฟอื งบังคบั เลยี้ วและห้ามล้อ (ตัวละ) 6.5-7 ลิตร หีบเฟืองขบั ข้ันสุดท้าย (ตัวละ) 2.5 ลติ ร กก.) 4.8 ลิ ต ร ( 4 .5 ถงั นา้ มันไฮดรอลกิ บงั คบั เลย้ี ว เคร่อื งผอ่ นแรงสะเทอื น (ตัวละ) 18 ลิตร ถังลมติดเครื่องยนต์ (ถงั ละ) 1.2 ลิตร 5 ลิตร ***********
ห น ้ า | 131 แผนกวิชายานยนต์ กองการศึกษา โรงเรยี นทหารมา้ ศนู ยก์ ารทหารมา้ คา่ ยอดิศร สระบรุ ี ---------- รถสายพานกู้ซ่อม แบบ 653 (ARV TYPE 653) 1. คุณลักษณะท่ัวไปและมาตราทาน รถสายพานกู้ซ่อม แบบ 653 ใช้สาหรับกู้ซ่อมรถถังขนาดกลางและ ยานพาหนะอื่น ๆ ซ่ึงชารุดเสียหายจากการกระทาของข้าศึก หรือจากเคร่ืองกีดขวางต่าง ๆ ในภูมิประเทศ และใช้สนับสนุนงานซอ่ มบารุงรถถัง เชน่ การยกองค์ประกอบที่มนี ้าหนักมาก เช่น เครือ่ งยนต์ เครื่องเปลี่ยน ความเรว็ และปอ้ มปืนรถถัง ฯลฯ ตัวเกราะสร้างด้วยแผ่นเกราะเหล็กกล้าเช่ือมประสานเข้าด้วยกัน มีลักษณะ ทรวดทรงต่าและมีมุมลาดเพ่ือป้องกันการทะลุทะลวงจากกระสุนปืนรถสายพานกู้ซ่อม แบบ 653 ใชต้ วั รถและ ระบบขบั เคลื่อนของ รถถัง 30 (T 69-2)และใช้ปฏิบตั ิการดว้ ยพลประจารถ 5 นาย อาวุธประจารถคือ ปืนกล ขนาด 12.7 มม.จานวน1 กระบอก ติดต้ังที่ป้อมตรวจการณ์ของพลปืนกล อุปกรณ์กู้ซ่อมประจารถคือ กว้าน หลัก กว้านเลก็ ปัน้ จ่ัน ใบมดี และคานลากจูง รถสายพานก้ซู ่อม แบบ 653 แบ่งได้เปน็ 3 ตอน ดงั น้ี - ตอนหน้า เป็นห้องพลขบั จะติดต้ังแผงเคร่ืองวัด แผงสวิตช์ควบคุมวงจรไฟฟ้า กล่องควบคุมระบบ เคร่ืองดับเพลิง แตรเตือนและไฟเตือนเครื่องควบคุม และคันบังคับต่างๆ ที่ใช้ในการควบคุมการทางานของ เครื่องยนต์และการขับรถ ชดุ ล้ินควบคุมและคันบงั คบั กวา้ นเล็ก ปั้นจนั่ ใบมีด และกว้านหลักจะ ติดต้งั อยูท่ าง ขวามือของพลขับ คนั บงั คับปั๊มไฮดรอลิกกู้ซ่อม และคันบังคับหีบเฟืองขบั กวา้ นหลกั จะติดตั้งอยบู่ นพื้นรถดา้ น ทีน่ ั่งพลขับ ถังน้ามันเชื้อเพลิงชุดหนา้ และปั๊มสูบลอ่ จะตดิ ตั้งอยทู่ างขวามอื ของพลขบั - ตอนกลาง เป็นห้องพลประจารถซึ่งตดิ ตั้งถงั นา้ มันเชื้อเพลิงชุดกลาง ถงั น้ามันไฮดรอลกิ ระบบกู้ซอ่ ม รังผ้ึงระบายความร้อนด้วยน้ามันไฮดรอลิก ท่ีน่ังพลประจารถ เคร่ืองทาความร้อน เครื่องอุปกรณ์ ติดตอ่ ส่ือสารประจารถ ถังลม กวา้ นหลกั แผงควบคมุ ปั้นจัน่ ทางด้านบนของพลประจารถจะติดตั้งปืนกลตอ่ สู้ อากาศยานและโคมไฟอินฟราเรด ฯลฯ - ตอนหลัง เป็นห้องระบบขับเคลื่อนรถ ซึ่งติดตั้งเครื่องยนต์ หีบเฟืองถ่ายทอดกาลังขับ ชุดเฟือง บังคับเลี้ยวและห้ามล้อรถ หีบเฟืองขับข้ันสุดท้าย พัดลมระบายความร้อนของเครื่องยนต์ หม้อน้า รังผ้ึงของ เครอื่ งยนต์ ถังน้ามนั หล่อลนื่ ของเครอื่ งยนต์ ถงั น้ามนั ไฮดรอลิกบงั คับเลีย้ วและห้ามล้อ 2. องค์ประกอบหลักของรถสายพานกซู้ ่อม แบบ 653 มีองคป์ ระกอบหลกั 5 อย่าง ดงั นี้ 2.1 เครื่องควบคุมและคันบังคับรถ ติดต้ังอยู่ภายในห้องพลขับทางด้านหน้าซ้ายของรถ ภายใน ประกอบดว้ ย ระบบเคร่อื งควบคมุ และคนั บังคับตา่ งๆ แผงเครือ่ งวัดและไฟเตือน ทน่ี ่งั พลขับ ฯลฯ 2.2 หน่วยกาลังและองค์ประกอบ ติดตั้งอยู่ภายในห้องเคร่ืองยนต์ทางด้านหลังรถภายใน ประกอบดว้ ยเครือ่ งยนต์ หีบเฟืองถ่ายทอดกาลัง เครื่องเปล่ยี นความเร็ว คลัตช์ ชุดเฟืองบังคับเล้ียวและห้ามล้อ หบี เฟืองขับขั้นสุดท้าย พัดลมระบายความร้อนของเครอ่ื งยนต์ ถังน้ามันไฮดรอลกิ บังคบั เลย้ี วและหา้ มล้อ หม้อ นา้ รงั ผึง้ เคร่ืองระบายความร้อนน้ามันเคร่ืองยนต์ หมอ้ กรองอากาศ ฯลฯ 2.3 เครื่องพยุงตัวรถและสายพาน ประกอบด้วย ล้อขับสายพาน ล้อปรับสายพาน ลอ้ กดสายพานคานรับ แรงบิด เครอ่ื งผอ่ นแรงสะเทือนและสายพาน ฯลฯ
ห น ้ า | 132 2.4 ห้องพลประจารถ ติดต้ังอยู่บริเวณกึ่งกลางตัวรถ ภายในประกอบด้วย ถังน้ามันเชื้อเพลิงถังน้ามัน ไฮดรอลิกกู้ซ่อม เคร่ืองระบายความร้อนน้ามันไฮดรอลิก ที่นั่งพลประจารถ เครื่องทาความร้อน เครื่องสือ่ สาร ประจารถ ถังลมตดิ เครอ่ื งยนต์ กว้านหลัก ปั๊มไฮดรอลิกกซู้ ่อม ชุดลิ้นควบคุม และคันบังคับปั้นจั่น ด้านบนจะ ติดตงั้ ปก.ขนาด 12.7 มม.จานวน 1 กระบอก และโคมไฟส่องสวา่ งระบบอินฟราเรด 2.5 ตัวรถดา้ นนอก - ดา้ นหน้ารถ ตดิ ต้งั ใบมีด ทางานดว้ ยระบบไฮดรอลกิ และขอลากจูง 2 อนั - ดา้ นหลังรถ ติดตงั้ ขอพ่วง สาหรบั ลากจงู ดว้ ยคานลากจงู และมขี อลากจงู 2 อนั - ด้านขวารถ ติดต้งั ระบบปัน้ จ่นั - ด้านซา้ ยรถ ติดตงั้ คานลากจูง บนบงั โคลนท้งั สองข้าง เปน็ ทีต่ ิดตงั้ ถงั น้ามันเช้ือเพลิงด้านนอก หบี เครื่องอะไหล่ หบี เครอื่ งมือเครอื่ งใช้ ประจารถ โคมไฟท้าย และแผ่นครอบสายพานทาด้วยยาง เพื่อป้องกันเครื่องพยุงตัวรถ จากการทาลายด้วย กระสุนเจาะเกราะดว้ ยความร้อน (HEAT) 3. เกราะป้องกัน ตัวรถสร้างด้วยแผ่นเกราะเหล็กกล้าเช่ือมประสานกันเพื่อเป็นท่ีติดตั้งองค์ประกอบและ เคร่ืองกลไกต่าง ๆ และป้องกันพลประจารถ ตลอดจนสิ่งต่าง ๆ ภายในรถจากอานาจการยิงนอกจากนี้ยังทา หน้าท่ีรองรับภารกรรมต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นในขณะใช้งานอุปกรณ์กู้ซ่อม แผ่นเกราะตัวรถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ดงั น้ี 3.1 แผน่ เกราะด้านหน้า ประกอบด้วยแผ่นเกราะ 2 แผ่น คอื แผ่นเกราะบนและแผ่นเกราะล่าง ความ หนา 99 มม. 3.2 แผ่นเกราะด้านข้าง ประกอบด้วย แผ่นเกราะด้านซ้ายและด้านขวา สามารถป้องกันกระสุนขนาด 12.7 มม.ที่ระยะ 160 เมตร 3.3 แผ่นเกราะด้านหลัง ประกอบด้วยแผ่นเกราะ 3 ตอน คือ ตอนบน,ตอนล่าง,ตอนกลางตอนล่างและ เกราะกันหีบเฟอื งขับข้ันสดุ ทา้ ยทั้งสองขา้ ง 3.4 แผ่นเกราะใตท้ ้องรถ ประกอบด้วยแผ่นเกราะ 3 ตอน คอื ตอนหน้า ตอนกลางตอนหลังแผ่นเกราะ ใต้ท้องรถจะมีช่องออกฉุกเฉินและแผ่นปิดใต้ท้องรถ ซ่ึงถอดออกได้ตามบริเวณท่ีติดต้ังองค์ประกอบต่างๆ เพ่ือให้การบริการต่อองค์ประกอบน้ัน ๆ เช่น ระบบน้ามันเชื้อเพลิง ระบบไฮดรอลิก ระบบหล่อล่ืน ระบบ ระบายความร้อน ท่อไอเสียของเคร่ืองทาความร้อน ช่องตรวจเครื่องยนต์ และช่องตรวจคลัตช์ ฯลฯ 3.5 แผ่นเกราะด้านบน ประกอบดว้ ยแผ่นเกราะปิดห้องเคร่ืองยนต์ แผน่ เกราะปิดเคร่ืองเปล่ียนความเร็ว และแผ่นเกราะด้านขวาหน้า ซึง่ เป็นท่ีติดตั้งฐานรองรับแท่นป้ันจั่น ความหนาของแผน่ เกราะด้านบนประมาณ 20-30 มม.สามารถป้องกันสะเก็ดกระสุนปืนใหญ่ขนาดโต 20 มม.ได้ แผ่นเกราะปิดเครอื่ งเปล่ียนความเร็ว จะ เปน็ ชุดบานเกลด็ บงั คับหมุนเปดิ -ปดิ ได้ เพอื่ จัดปรมิ าณอากาศไหลผ่านหมอ้ น้ารงั ผึ้งให้เหมาะสมกับสภาพการใช้ งาน การเปดิ -ปดิ แผ่นบานเกลด็ จะกระทาโดยใชค้ นั บงั คบั ภายในหอ้ งพลขับ 4. การกาหนดดา้ นหน้า ด้านหลัง ด้านซ้าย และด้านขวาของรถ ด้านหน้า ด้านหลัง ด้านซ้าย และด้านขวา ของรถสายพานกู้ซ่อม แบบ 653 ทีถ่ กู กลา่ วถงึ ตามบรเิ วณท่วั ไปหรอื ดา้ นนน้ั ๆ ของรถจะกาหนดได้ด้วยการหัน หน้าเขา้ หาดา้ นหลงั ของหอ้ งเครื่องยนต์ ซ่งึ เรียกว่าด้านหลัง ยกเว้นการกาหนดด้านตา่ ง ๆ ของเคร่ืองยนต์ โดย ให้เรียกด้านที่ติดต้ังชุดเฟืองขับเคร่ืองประกอบฯ ว่าเป็นด้านหน้าของเคร่ืองยนต์และด้านหีบเฟืองถ่ายทอด
ห น ้ า | 133 กาลังเป็นด้านหลัง ส่วนด้านซ้ายและด้านขวาจะกาหนดได้ด้วยการมองหันหน้าเข้าหาเรือนเฟืองขับเคร่ือง ประกอบฯ 5. ระบบหนว่ ยกาลัง 5.1 ระบบหน่วยกาลังของรถสายพานกู้ซ่อม แบบ 653 ประกอบด้วยเครื่องยนต์ดีเซล 12 สูบV-60 ระบายความร้อนด้วยน้า จุดระเบิดด้วยกาลังอัดแบบ 12150 L-7 BW 4 จังหวะรอบกาลัง 580 แรงม้า ณ 2,000 รอบ/นาที รอบเดินเบา 500-600 รอบ/นาที รอบใชง้ าน 1,600-1,800 รอบ/นาที 5.2 ระบบน้ามันเชอื้ เพลิง ประกอบดว้ ยถังนา้ มันเช้อื เพลิง จานวน 3 ชุด คอื - ชุดหน้า ติดตั้งอยู่ทางด้านหน้ารถ ประกอบดว้ ยถังขวาและถังซ้าย ถังชุดหน้าจะมีเคร่ืองวัดระดับ นา้ มันเชอ้ื เพลิง ซง่ึ ประกอบด้วยลูกลอย และท่อใส ซ่งึ มขี ีดบอกปริมาณน้ามันไว้ด้วยถงั หน้าซ้ายความจุ 130 ลติ ร และข้างหนา้ ขวาความจุ 140 ลติ ร - ชุดหลัง ติดตั้งอยู่ทางตอนหลังใต้แผ่นปิดพ้ืนห้องพลประจารถ ประกอบด้วยถังหลังซ้าย ความจุ 200 ลติ ร และถังหลงั ขวา ความจุ 75 ลิตร - ชุดนอก ตดิ ต้งั อย่บู นบงั โคลนด้านขวาของรถ ประกอบด้วยถังเล็ก 4 ถงั ความจถุ ังละ 90-95 ลิตร 5.3 ระบบไอดี-ไอเสีย ประกอบดว้ ยหม้อกรองอากาศแบบแห้ง จานวน 1 หม้อ ติดตง้ั อยู่ภายในห้อง เคร่ืองยนต์ และฝุ่นผงที่สะสมอยู่ภายในหม้อกรองอากาศข้ันแรกจะถูกระบายออกไปทางทอ่ ไอเสียด้วยการชัก นาจากแรงดันของท่อไอเสยี 5.4 ระบบระบายความร้อน ประกอบด้วยพัดลมระบายความร้อน ทาหน้าที่ดูดอากาศให้ไหลผ่าน หม้อน้ารังผ้ึงของเคร่ืองยนต์ และเครื่องระบายความร้อนของน้ามันไฮดรอลิกระบบกู้ซ่อมในระบบระบาย ความร้อนจะมเี คร่อื งทาความร้อนด้วยการเผาไหม้นา้ มนั เชื้อเพลิง เพือ่ อุ่นน้าระบายความร้อนน้ามันเครอ่ื งยนต์ และหอ้ งพลประจารถ เมือ่ ปฏบิ ตั ิงานในเขตหนาว 5.5 หีบเฟืองถ่ายทอดกาลัง คลัตช์ เครื่องเปลี่ยนความเร็ว ชุดเฟืองบังคับเลี้ยวและห้ามล้อและหีบ เฟอื งขับข้ันสดุ ท้าย - หีบเฟืองถ่ายทอดกาลังทาหน้าที่ถ่ายทอดกาลังขับและเพ่ิมรอบความเร็วจากเครื่องยนต์ ให้มากขึ้น แล้วจึงส่งกาลังขับผ่านคลัตช์ไปยังเคร่ืองเปลี่ยนความเร็ว นอกจากนี้ยังส่งกาลังขับผ่านชุดตัด-ต่อกาลังให้กับ ปมั๊ ไฮดรอลกิ กซู้ อ่ ม - คลตั ช์ เปน็ คลัตช์แห้งถ่ายทอดกาลงั ด้วยความฝืด ทาด้วยแผ่นเหล็กรูปจานหลายแผ่นวางซ้อนกันทา หน้าท่ีตัด-ต่อกาลังขับระหว่างหีบเฟืองขบั ถ่ายทอดกาลงั และเครื่องเปล่ียนความเร็ว ที่จานคลัตช์อันนอกจะมี เฟืองวงแหวนเพื่อรับกาลังขับจากชุดเฟืองขับของมอเตอร์หมุนเครื่องยนต์ การควบคุมและบังคับการทางาน ของคลัตช์กระทาได้ด้วยชุดก้านโยง และคันคลัตชใ์ นห้องพลขบั - เครื่องเปล่ยี นความเร็ว เป็นแบบธรรมดา ซึง่ สามารถเลอื กใช้เกยี ร์เดินหนา้ ได้ 5 ตาแหน่ง และเกยี ร์ ถอยหลังได้ 1 ตาแหน่ง ในตาแหน่งเกียร์ 2-3 และเกียร์ 4-5 จะมีชุดเฟืองปรับความเร็ว (SYNCHROMESH) ประกอบอยู่ด้วย เพ่ือช่วยให้เข้าเกียร์ได้ง่ายขึ้น การควบคุมและบังคับการทางานของเครื่องเปล่ียนความเร็ว กระทาได้ด้วยชุดก้านโยงและคันเกียรใ์ นหอ้ งพลขับ - ชุดเฟืองบังคับเล้ียวและห้ามล้อ ทาหน้าที่ถ่ายทอดกาลังขับระหว่างเคร่ืองเปลี่ยนความเร็วและหีบ เฟืองขับขน้ั สุดท้ายแต่ละขา้ ง หีบเฟืองบังคบั เลยี้ วและห้ามล้อ ประกอบด้วยชุดเฟืองเกียร์บริวารจานหา้ มล้อ
ห น ้ า | 134 เล็ก จานห้ามล้อใหญ่ และคลัตช์ หน้าที่สาคัญของชุดเฟืองบังคับเลี้ยวและห้ามล้อ ก็คือทาให้เกิดการบังคับ เลย้ี ว การหา้ มล้อ การหมนุ เลี้ยวอยู่กับที่ และการทดรอบความเร็ว เพอ่ื เพ่ิมกาลังขบั เคลอื่ น การควบคุมและการบังคับการทางานของชุดเฟืองบังคับเล้ียวกระทาไดด้ ้วยชุดก้านโยง คันบังคับเลี้ยว และคัน ห้ามลอ้ ในห้องพลขับ - หบี เฟืองขับขั้นสดุ ท้าย เป็นแบบชุดเฟอื งเกียร์บริวาร ทาหนา้ ทีร่ ับกาลงั ขับจากชุดเฟอื งบังคับเลี้ยวและ ห้ามลอ้ แล้วทดรอบความเรว็ ให้ช้าลงเพื่อเพิ่มแรงบิดขบั เคลื่อนให้แกล่ อ้ ขับสายพานซ่งึ ทาหน้าที่หมุนเฟอื งขับ สายพานทง้ั สองขา้ ง 5.6 ระบบพยุงตัวรถและสายพาน รถสายพานกู้ซ่อม แบบ 653 ใช้ระบบพยุงตัวรถด้วยคานรับ แรงบิด ประกอบด้วยล้อกดสายพานข้างละ 5 ล้อ ล้อขับสายพานอยู่ด้านหลังรถ และล้อปรับสายพานอยู่ ดา้ นหนา้ รถ ล้อต่าง ๆ ในระบบพยุงตวั รถเป็นล้อค่แู บบถอดแยกไม่ได้ - สายพานทั้งสองข้าง เป็นสายพานเหล็กแบบสายพานตาย ขา้ งละ 91 ข้อ ซงึ่ ถกู ขับด้วยซ่เี ฟืองของ ล้อขับสายพาน ท่ีชุดล้อปรบั สายพานจะมีชุดเฟืองตัวหนอนและข้อเหวยี งปรับสายพานระยะเคลือ่ นทข่ี องล้อ กดสายพานแต่ละล้อจะถูกจากดั ดว้ ยเหล็กหยุดแขนลอ้ กดสายพาน ท่ีแขนลอ้ กดสายพานล้อที่ 1 และลอ้ ท่ี 5 จะ มเี ครื่องผ่อนแรงสะเทอื นเพ่ือลดแรงกระแทกเมอื่ รถเคล่ือนท่ไี ปในภูมปิ ระเทศ 5.7 ระบบไฟฟ้า เป็นระบบไฟตรง 24 โวลท์ ซึ่งประกอบด้วยระบบต่าง ๆ ซ่ึงทางานเกี่ยวข้องและ สมั พันธ์กนั ติดต้ังอย่ภู ายในห้องพลขับ ห้องพลประจารถและห้องเคร่ืองยนต์ เช่น ระบบแบตเตอร่ีระบบหมุน เครอื่ งยนตด์ ้วยกระแสไฟฟา้ ระบบประจไุ ฟ ระบบแสงสว่าง ระบบเครอื่ งวดั และสัญญาณเตือน เป็นต้น 5.8 ระบบเคร่ืองดบั เพลิงประจารถ เป็นระบบใชง้ านได้ทัง้ แบบอตั โนมตั แิ ละกึ่งอตั โนมัติ สารดับเพลิง 1211 สามารถดับเพลิงท่ีเกิดจากกระแสไฟฟ้าและน้ามันต่างๆ ระบบดับเพลิงฯ ประกอบด้วยหม้อน้ายา ดับเพลิงจานวน 3 หม้อ ติดตั้งอยู่ทางท้ายรถด้านขวาในห้องเคร่ืองยนต์ใต้พัดลมระบายความร้อนพร้อมด้วย กลอ่ งควบคุมการทางานซงึ่ อยู่ในห้องพลขับ ที่หัวหมอ้ น้ายาดับเพลิงท้งั 3 หัว จะมีชุดบังคับการทางานดว้ ยเชื้อ ประทุไฟฟ้า และมีท่อส่งน้ายาดับเพลิงต่อเข้าไปยังหัวฉีดน้ายาดับเพลิงซ่ึงติดตั้งอยใู่ นตาบลต่าง ๆ ภายในห้อง เครื่องยนต์ 5 แห่ง และภายในห้องพลประจารถ 5 แห่ง - ระบบเครื่องดับเพลิง เม่ือใช้ในแบบอัตโนมัติจะรบั สัญญาณความร้อนจากชุดส่งสัญญาณความร้อน ซ่ึงติดต้ังอยู่ในตาบลต่างๆ ภายในเครื่องยนต์และห้องพลประจารถ สัญญาณน้ีจะถูกขยายด้วยกล่องควบคุม และส่งไปบังคับให้เชื้อประทุไฟฟ้าจุดระเบิดข้ึน ทาให้น้ายาดับเพลิงถูกส่งไปยังท่ีเกิดเพลิงไหม้ขึ้นภายในห้อง เครื่องยนต์หรือภายในห้องพลประจารถแห่งใดแห่งหนึ่ง พลขับสามารถกดสวิตช์ดับเพลิง เพ่ือบังคับให้ระบบ ดบั เพลงิ ส่งนา้ ยาดบั เพลิงไปยงั บริเวณทเ่ี กดิ เพลงิ ไหม้ได้ตามความตอ้ งการใช้งาน - การบังคับใชง้ านระบบดบั เพลิงแบบก่ึงอัตโนมัติ จะกระทาได้ดว้ ยสวติ ช์ดับเพลิงแบบปมุ่ กดบนกล่อง ควบคุมฯ ในห้องพลขบั 5.9 ระบบกลอ้ งตรวจการณด์ ้วยแสงอนิ ฟราเรด รถสายพานกซู้ ่อม แบบ 653 จะมีระบบกล้อง ตรวจ การณ์ด้วยแสงอินฟราเรด สาหรับการขับรถหรือการปฏิบัติงานในเวลากลางคืน ซึ่งขณะใช้งานจะติดต้ังเข้า กบั ฐานติดตั้งหนา้ หอ้ งพลขับและใชป้ ระกอบกบั โคมไฟอนิ ฟราเรด ซ่ึงสามารถปรับระดับลาแสงไฟสูง-ต่าได้ 5.10 ระบบเคร่อื งทาควัน ใชส้ ร้างม่านควนั พรางรถ ด้วยการฉีดนา้ มนั เชอื้ เพลิงเขา้ ไปท่อร่วมไอเสีย
ห น ้ า | 135 ของเครื่องยนต์ใหร้ ะเหยเปน็ ไอน้ามันเมื่อถกู ขบั ออกมาพร้อมกับไอเสยี กระทบกับความเย็นของอากาศภายนอก ไอน้ามนั จะกลั่นตวั กลายเปน็ ควนั สีขาวปนเทาหนาทึบ - ระบบเคร่ืองทาควัน จะใชน้ ้ามันเชอื้ เพลิงดีเซลจากถังนา้ มนั เชอื้ เพลงิ กลุ่มกลางภายในรถการบงั คบั ใช้ งานเครือ่ งทาควนั จะกระทาได้ด้วยสวิตช์เครือ่ งทาควนั บนแผงสวิตช์ของพลขบั 6. มาตราทาน พลประจารถ (พลขับ 1 พลยิง ปก.1 ช่าง 2 ผบ.รถ 1) 5 นาย น้าหนักพร้อมรบ 38 ตัน น้าหนักกดพ้นื 0.85 กก./ตร.ซม.(12.08 ปอนด/์ ตร.นิว้ ) ขนาด ความยาว 7.75 เมตร ความสูง (รวม ปกตอ.12.7 มม.) 3.00 เมตร ความกวา้ ง (รวมแผ่นครอบสายพาน) 3.33 เมตร ระยะจากก่ึงสายพาน ด้านซ้าย-ขวา 2.64 เมตร สายพานสัมผสั พืน้ 3.845 เมตร ความสงู ใตท้ ้องรถ 0.425 เมตร อตั ราสว่ นกาลงั ขบั เคลอ่ื น : น้าหนกั 15.46 แรงม้า/ตนั อาวุธประจารถ ปกตอ. ขนาด 12.7 มม 1 กระบอก กระสุน ปกตอ.(พร้อมหีบกระสุน) 500 นัด ลกู ระเบดิ ขว้าง 20 ลูก เครือ่ งยนต์ ดเี ซล 12 สบู , V-60,ระบายความรอ้ นดว้ ยน้า แบบ 12150 L-7 BW กาลงั 580 แรงม้า ณ 2,000 รอบ/นาที รอบเดนิ เบา 500-600 รอบ/นาที รอบใช้งาน 1,600 ถงึ 1,800 รอบ/นาที เครอื่ งเปล่ียนความเรว็ แบบซินโครเมช เกยี ร์เดินหน้า 5 ตาแหน่งเกียร์ถอยหลัง 1 ตาแหนง่ ระบบไฟฟา้ 24 โวลท์ แบตเตอร่ี จานวน 4 หม้อ แบบ 65, 12 โวลท์ 140 แอมป/์ ชม. เครื่องกาเนิดไฟฟา้ แบบ GFT-6,000,28 โวลท์ 215 แอมป์(6,000 วัตต์) รอบหมุนใชง้ านตา่ สุด 4,000 รอบ/นาที รอบหมุนใช้งาน สูงสดุ 6,000 รอบ/นาที รอบหมนุ สงู สดุ ไมเ่ กนิ 10 นาที 7,000 รอบ/นาที ทิศทางการหมนุ ตามเข็มนาฬิกา เคร่ืองควบคุมกระแสไฟฟา้ แบบ JFT-204 แรงเคลื่อนควบคุม 24 โวลท์ ปรบั แรงเคลือ่ น ควบคุมได้ 1.5 โวลท์ สมรรถนะ ความเรว็ ในตาแหนง่ เกยี ร์ตา่ ง ๆ (เครอื่ งยนตห์ มนุ 1,800 รอบ/นาท)ี
ห น ้ า | 136 - เกยี ร์ 1 6.85 กม./ชม. - เกยี ร์ 2 14.7 กม./ชม. - เกยี ร์ 3 20.2 กม./ชม. - เกยี ร์ 4 28.9 กม./ชม. - เกียร์ 5 45.5 กม./ชม. - เกียร์ถอยหลงั 6.85 กม./ชม. ความเร็วสงู สุด 50.00 กม./ชม. ความสน้ิ เปลืองนา้ มนั เชอื้ เพลิง (บนถนน) ประมาณ 175 กรมั /แรงม้า-ชม. หรอื 101.5 กรมั /ชม. หรอื 2.4 ลติ ร/กม. หรอื 102 ลิตร/ชม. ความสนิ้ เปลืองนา้ มันเครอื่ งยนต์ ประมาณ 8 กรัม/แรงมา้ -ชม. หรือ 4.65 กรมั /ชม. หรอื 4.5 ลิตร/ชม. ระยะปฏิบัติการไกลสดุ (บนถนน) 370 กม. ความสามารถในการปนี ลาด (ลาดตรง) 30 องศา (ลาดข้าง) 30 องศา ข้ามเคร่ืองกดี ขวางทางดิ่ง 0.60 เมตร ข้ามคูกวา้ ง 2.60 เมตร ลยุ ข้ามนา้ ลึก 1.40 เมตร รศั มวี งเลย้ี ว สามารถหมนุ เล้ยี วอยู่กบั ท่ี กล้องตรวจการณแ์ ละขบั รถในเวลากลางคืนของพลขับ ระบบอนิ ฟราเรด ย่านการเหน็ 30 องศา ระยะตรวจการณ์ 60 เมตร ระบบเครือ่ งดับเพลิงประจารถ แบบ อัตโนมัตแิ ละกงึ่ อตั โนมตั ิ สารดบั เพลิง (เฮลอน) 1211 ความไวในการดบั เพลิง 3 - 5 วนิ าที ระยะเวลาในการฉีดสารดบั เพลิง (แตล่ ะทอ่ ) 10 - 15 วินาที ระยะเวลาในการฉีดสารดบั เพลิง (ทงั้ 3 ทอ่ ) 30 - 35 วินาที น้าหนักของสารดบั เพลงิ (แตล่ ะทอ่ ) 1.5 กก. เคร่อื งทาควนั ดว้ ยระบบไอเสยี สารสร้างควัน นา้ มันเช้อื เพลิงดเี ซล ความคงทนของควนั (ประมาณ) 2 - 4 นาที ระยะเวลาใช้งานตอ่ เน่อื ง (ไมเ่ กิน) 10 นาที ความสนิ้ เปลอื งสารสรา้ งควนั (ประมาณ) 10 ลิตร/นาที ความจุ
ถังน้ามันเช้ือเพลิง ห น ้ า | 137 ถงั หน้า ถังหลัง 965 - 885 ลิตร ถงั นอก 270 ลิตร (ขวา 140 ลิตร ซา้ ย 130 ลิตร) ระบบหลอ่ ลนื่ เคร่อื งยนต์ 235 ลติ ร (หน้า 200 ลติ ร หลัง 35 ลติ ร) อา่ งน้ามันเครือ่ งยนต์ 360 - 380 ลติ ร (ถงั ละ 90 ลติ ร - 95 ลติ ร) ถงั นา้ มันเคร่อื งสารอง หบี เฟืองถา่ ยทอดกาลงั 78 ลติ ร เคร่ืองเปลยี่ นความเรว็ 13 ลิตร หบี เฟืองบงั คบั เลยี้ วและห้ามล้อ (ตัวละ) 35 ลิตร หบี เฟอื งขบั ขัน้ สดุ ทา้ ย (ตวั ละ) 6 - 7 ลติ ร ถงั นา้ มันไฮดรอลิกบังคับเล้ยี วและหา้ มล้อ (11 - 12 กก.) 12.5 - 13.5 ลิตร หีบเฟืองขับกวา้ นหลกั 2.5 ลติ ร ถงั ลมตดิ เคร่ืองยนต์ (ถงั ละ) 4.8 ลติ ร อปุ กรณก์ ู้ซอ่ มประจารถ 18 ลิตร กวา้ นหลกั 2.1 ลิตร ความสามารถในการฉดุ ลาก 5 ลติ ร ลวดกวา้ น (เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง) ความยาวลวดกว้าน ควบคมุ และทางานดว้ ยระบบไฮดรอลกิ กวา้ นเล็ก 32 - 35 ตนั ความสามารถในการฉุดลาก 28.5 มม. ลวดกวา้ น (เสน้ ผ่าศูนยก์ ลาง) 130 เมตร ความยาวลวดกวา้ น ป้นั จ่นั ควบคมุ และทางานด้วยระบบไฮดรอลิก ความสามารถในการยก 1 ตนั การหมนุ แทน่ ปนั้ จั่น 6.2 มม. รศั มีคานปนั้ จั่น (มมุ ยกศูนยอ์ งศา) 265 เมตร ความสูงจากพน้ื ถงึ ปลายคานปนั้ จ่ัน ควบคมุ และทางานด้วยระบบไฮดรอลกิ ระดับความสงู ในการยก 10 ตนั ความเรว็ ในการยก (สงู สุด) ลวดกวา้ นปั้นจ่ัน (เสน้ ผา่ ศูนยก์ ลาง) 360 องศา (เม่ือคานปั้นจ่ันทามมุ 36.5 องศา) ความยาวลวดกวา้ น สูงสุด 6.5 เมตร, ตา่ สดุ 2.2 เมตร (มุมยก 66 องศา) ความยาวของคานป้ันจน่ั 8.075 เมตร (เมอ่ื คานปัน้ จัน่ ทามมุ 66 องศา) ใบมดี คา้ ยัน ความลึกในการขดุ พื้นดนิ (ไมน่ ้อยกวา่ ) 6 เมตร 8 เมตร/นาที 15 มม. 50 เมตร ประมาณ 7 เมตร (ตวั นอก 5 เมตร ตวั ใน 2 เมตร) ควบคมุ และทางานดว้ ยระบบไฮดรอลิก 20 ซม.
ปรมิ าณการขุดพ้นื ดินแห้ง (ไมน่ ้อยกว่า) ห น ้ า | 138 ความสามารถในการรับน้าหนกั ค้ายนั (ไมน่ ้อยกวา่ ) คานลากจงู 100 ลบ.ม./ซม. ความสามารถในการรบั นา้ หนัก (สูงสดุ ) 70 ตัน ความสามารถในการลากจงู รถถัง (บนถนนชั้น 1) 35 - 38 ตนั (บนถนนช้ัน 2) 25 - 28 กม./ชม. ระยะลากจงู โดยตอ่ เนอ่ื งสงู สดุ 20 กม. ความสามารถในการปนี ลาด(เมื่อลากจูงรถถงั ) 18 กม./ชม. ณ อุณหภมู ิ 35 องศา ซ. ลาดตรง 15 องศา ลาดขา้ ง 17 องศา ***********
ห น ้ า | 139 รถถงั หลัก 57 (T-84 OPLOT) คุณลักษณะท่วั ไป (GENERAL DESCRIPTION) รถถังแบบ บีเอ็ม อ๊อพล็อต-ที (BM OPLOT-T) เป็นรถถังหลักที่ถูกออกแบบไว้สาหรับจัดหาให้ลูกค้า ต่างประเทศภายใต้สัญญาทางเศรษฐกิจ เปน็ รถถังซ่ึงสามารถปฏิบัติภารกจิ ในขอบเขตของการรบได้ท้ังการรบ ด้วยวิธรี กุ และวิธรี บั ไดอ้ ยา่ งกวา้ งขวาง ทง้ั ในเวลากลางวนั และเวลากลางคืน ภายใต้สภาวะเงือ่ นไขของลกั ษณะ ภูมิประเทศและเส้นทางท่ีแตกต่างกัน (รวมถึงสภาพอากาศที่ร้อนหรือฝุ่น) เช่นเดียวกับการปฏิบัติการภายใต้ สภาพของการใช้อาวุธทาลายล้างสงู (MDW) และส่งิ กีดขวางที่เป็นน้าได้อีกด้วย ตัวรถถังติดต้งปืนใหญ่ลากล้องเรียบขนาด ๑๒๕ มม. แบบ KBA3 พร้อมด้วยระบบรักษาการทรงตัว แบบสองแกน, ปืนกลร่วมแกนขนาด ๗.๖๒ มม. แบบ KT-7.62 และปืนกลต่อสู้อากาศยานขนาด ๑๒.๗ มม. แบบ NAVT-12.7 พรอ้ มระบบรักษาการทรงตัวทั้งทางทิศ และทางระยะ ซ่ึงใชก้ ารควบคุมการยิงจากตาแหน่ง ของ ผบ.รถ ในขณะท่ที าการปิดป้อมด้วยคันบงั คบั ของกลอ้ งเลง็ แบบ TKN-6 รถถงั ตดิ ต้ังเครอื่ งยนตท์ ี่ใหก้ าลังสงู โดยใช้น้ามนั เช้อื เพลิงได้หลายชนดิ แบบ 6TD-2E พรอ้ มทง้ั อุปกรณ์ที่ เปน็ หัวฉดี ขนาดเล็กท่ใี ห้ในการดาเนินการกอ่ นติดเครอ่ื งยนต์ ทาความรอ้ นและติดเคร่ืองยนต์ (ติดต้งั ด้วยระบบ ควบคุมความเร็วของเคร่อื งยนต์ดว้ ยไฟฟา้ และไฮดรอลิกเชงิ กล) โดยจะทางานรว่ มกับเคร่ืองเปล่ียนความเร็วใน ทิศทางตรงกับข้ามที่มีประสิทธิภาพสูง (พร้อมเครื่องตรวจวัดแบบ IDKP-2 และ IDCHV-3M) อุปกรณ์ควบคุม การเคลื่อนท่ีและระบบเฟืองขับเคลื่อนเพื่อให้แน่ใจได้ว่าสามารถเคลื่อนท่ีได้ด้วยความเร็วสูง นุ่มนวล มีขีด ความสามารถในกรดาเนินกลยุทธ์และครอ่ มข้ามภมู ิประเทศในสภาพเงื่อนไขของเส้นทางและสภาพแวดล้อมที่ แตกตา่ งกนั ได้ รถถังยังติดตั้งเครื่องกาเนิดกาลังสารองแบบ EA-10-1 ซึ่งสามารถจ่ายกาลังไฟไปยังอุปกรณ์ต่างๆ ได้ เมือ่ ดบั เครือ่ งยนต์หลัก หอ้ งพลขบั (Driver’s Compartment) ห้องพลขบั ตดิ ต้งั อยู่ดา้ นหน้าของตวั รถ ทางดา้ นซา้ ยจะตดิ ตัง้ ถงั นา้ มนั เชือ้ เพลงิ และชอ่ งเก็บแบตเตอรี่ท่ี วางอยู่บนชนั้ วาง พร้อมด้วยอปุ กรณ์ติดเคร่ืองยนต์และอุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคมุ จากลาดด้านหนา้ ของตัวรถ ไปทางขวาจะติดต้ังถังน้ามันเช้ือเพลิงและช่องเก็บกระสุนด้านหลังพลขับจะเป็นแผ่นปิด-เปิดได้ ซ่ึงอยู่ติดกับ เครอื่ งกลไกในการบรรจกุ ระสุนของรางขนสง่ กระสุน การเข้า – ออก ห้องพลขับได้จัดทาให้เข้า – ออกผ่านทางฝาปิด – เปิดช่องทางเข้า – ออก ซ่ึงจะติด ตั้งอยบู่ นดาดฟา้ ด้านหนา้ ของตวั รถ ท่ีนั่งของพลขบั จะตดิ ตง้ั อยู่ตรงกบั ฝาปดิ ชอ่ งทางเข้า – ออก บนพืน้ รถ อุปกรณ์ติดตัง้ อยดู่ า้ นหน้าทนี่ ง่ั ของพลขับมดี งั น้ี ๑. ขนั บังคบั เลี้ยวตดิ ตงั้ ประจาทอ่ี ยดู่ า้ นในของแผ่นกนั โคลน ๒. แป้นเหยยี บหา้ มลอ้ พรอ้ มทง้ั คันห้ามลอ้ ดว้ ยมือ ๓. ในห้องพลขับบนพ้ืนรถ – แป้นเหยียบคลัตช์ใช้เพ่ือปลดเกียร์ของเคร่ืองเปลี่ยนความเร็ว, แป้นเหยียบคันเร่งน้ามัน, อ่างเก็บน้าของระบบทาความสะอาดด้วยน้าและแรงลม ภาชนะสาหรับเก็บกล่อง อาหารสองชุด, คันเลือกตาแหนง่ เกยี ร์พร้อมคันเข้าเกียรใ์ นตาแหน่งถอยหลงั พร้อมกบั แผงควบคมุ สญั ญาเครอื่ ง เปล่ียนความเรว็ แบบ PST602
ห น ้ า | 140 ๔. เคร่ืองระบบอากาศและลิ้นพร้อมก๊อกและรีเลย์ของระบบทาความสะอาดด้วยน้าและ แรงลม กล้องตรวจการณ์ ๓ กลอ้ ง แบบ TNPO-160 ติดต้ังอยู่ด้านหนา้ ของฝาปิดช่องทางเขา้ – ออก ของพล ขับ แผงควบคุม PAS และ 1KVI-T ติดตัง้ อยบู่ นชอ่ งหน้าต่าง เหนอื กลอ้ งตรวจการณ์ แบบ TNPO-160 ทางด้านซา้ ยของฝาปดิ ชอ่ งทางจะติดตั้งแผงควบคุม PIU ทางด้านซ้ายของลาดด้านหน้าแผ่นกันโคลนจากด้านบนลงล่างจะติดต้ังเครื่องมือดังต่อไปนี้ ก๊อก ๓ ตาแหนง่ ของระบบทาความสะอาดด้วยนา้ และแรงลม (HPC) และไจโรนาร่องทีต่ ิดตั้งอยู่บนฐานตดิ ตง้ั สวิตชไ์ ฟส่องสว่างของคันเลือกตาแหน่งเกียร์พร้อมคันเลือกตาแหน่งเกียร์ถอยหลังติดตัง้ อย่แู ผงติดต้ัง ทางดา้ นขวา ด้านซ้ายของพลขับติดตั้งอุปกรณ์ตังต่อไปนี้ บนพื้นรถ – คันเร่งน้ามันด้วยมือ – ดับเคร่ืองยนต์, ปม๊ั น้ามันเช้ือเพลิงหลกั , กรองน้ามันเชื้อเพลงิ พร้อมก๊อกจ่ายน้ามันไปยงั ระบบอุ่นไอด,ี ก๊อกจา่ ยน้ามนั เช้ือเพลิง และก๊อกถ่ายน้ามันเชื้อเพลิง – แยกน้า ต่อจากก๊อกจะเป็นข้อต่อของเคร่ืองประกอบชุดสาหรับติดต้ังระบบ เครอ่ื งกวาดทุ่นระเบิด (KMT) แผงควบคุมของพลขับจะติดตั้งอยบู่ นฐานติดตั้งพรอ้ มดว้ ยอุปกรณ์ควบคุมน้ามนั เช้ือเพลิงด้านบนของ อปุ กรณ์น้ีจะติดตั้งจอแสดงตาแหน่งเกียร์แบบ PNP02 แผงควบคุมถังลมติดต้ังอยู่บนแผงควบคุมอุปกรณ์ของ พลขับ ชั้นวางแบตเตอรี่ติดตั้งอยู่ทางด้านซ้ายของแผงควบคุมโดยจะมฝี าปิดทาด้วยแผ่นโลหะปิดอยู่ ด้านหลัง ห้องเกบ็ แบตเตอรีต่ ิดตง้ั อยทู่ างด้านซ้ายของแผงควบคุมโดยจะมผี าปดิ ทาด้วยแผ่นโลหะปดิ อยู่ ดา้ นหลงั หอ้ งเก็บ แบตเตอร่ีจะเป็นอุปกรณ์ดูดก๊าซแบบสุญญากาศทางด้านซ้ายของชั้นวางแบตเตอรี่มีภาชนะสาหรับจัดเก็บ อาหารสารองฉุกเฉิน บนแผ่นปิดด้านหลังพลขับจะติดต้ังคันปลดกลอนยึดรางขนส่งกระสุนของระบบบรรจุ กระสนุ อตั โนมัติ ด้านบนของช้นั วางแบตเตอรี่จะมีอุปกรณ์ตอ่ ไปนี้ ๑. สวติ ชแ์ บตเตอรี่ ๒. หบี ควบคุมวงจรไฟฟ้าและสวิตชค์ วบคุม BK712M1-3-1T ๓. สวติ ช์ติดเครื่องยนต์หลัก SG1 (ME), สารอง SG2 (APU) – BK712M1-ST ๔. แผงควบคุมวงจรไฟฟา้ ดา้ นนอก BK712M1-V-1T ทางดา้ นขวามือของพลขับมีอุปกรณ์ควบคุมเคร่ืองมือดับเพลิง (FFE) และแผงสัญญาณเตอื น P708-1 ที่แผ่นกนั โคลงลาดดา้ นหน้ามีหีบควบคมุ ระบบปรับอากาศ อปุ กรณ์ต่อไปน้จี ะติดตั้งจากทางดา้ นขวาของที่น่ังพลขับจากดา้ นหน้าไปยังดา้ นหลงั - บนพนื้ รถ – คันควบคมุ ทอ่ บายพาสส่งแกส๊ และลน้ิ ไล่อากาศ - ทางด้านขวาของถังน้ามันเช้ือเพลิง – หีบควบคุมเครื่องเป่าในช่องของถังน้ามันเชื้อเพลิงติดตั้ง อุปกรณ์เครื่องตรวจจบั การแผร่ งั สแี ละสารเคมีของระบบป้องกัน นชค. แผงเครือ่ งวดั และหีบจ่ายกาลงั ไฟฟา้ ด้านหลังของถังน้ามันเชอ้ื เพลงิ จะตดิ ตัง้ ถังลม, ถงั ดกั ความชน้ื และมาตรวดั , กลอ่ งเก็บกล้องตรวจการณ์ แบบ TVN-5 และ TNPO-160 ด้านหลงั ถังลมไปทางท้ายรถจะเป็นชน้ั วางถงั ซ่งึ ทางดา้ นขวาบนจะเปน็ คันปิด – เปิดลิ้นควบคุม FVU
ห น ้ า | 141 บนเพดานของตัวรถทางด้านขวาของฝาปิดช่องทางเข้า – ออกของพลขับ จะเป็นแกนของฝาปิดช่อง ทางเข้า – ออก และบนแผน่ เกราะด้านบนของดาดฟ้าจะเป็นช่องทางเข้าของเครื่องตรวจวดั อากาศของการแผ่ รงั สแี ละสารเคมี ท่ีตัวรถด้านหลังของฝาปิดช่องทางเข้า – ออกของพลขับจะติดตั้งโคมไฟฉุกเฉินกล่องควบคุมเครื่อง ติดต่อภายในแบบ BV37T-M ของเคร่ืองรับแบบ R-174T, สวิตช์ดับเครื่องยนต์และสวิตช์ป้องกันการแข็งตัว และเต้าเสยี บสายพ่วงภายนอกรถ ด้านหลังที่น่ังของพลขับท่ีพ้ืนรถจะติดต้ังช่องทางออกฉุกเฉิน ซึ่งบนฝาปิดช่องทางจะติดตั้งพล่ัวและ คอ้ น คานรับแรงบิดจะวางตามแนวตวั รถดา้ นล่างในหอ้ งพลขับ และอุปกรณ์เชอ่ื มต่อตลอดด้านขา้ ง บนแผ่นป้องกันรางขนส่งกระสุน (หลักท่ีน่ังพลขับ) จะติดตั้งอุปกรณ์ดังน้ี ชุดอุปกรณ์ป้องกันเคมี (รองเท้าและถุงมือ), หนา้ กากป้องกันไอพิษ, ถุงเอกสารและแผ่นกรองแสงไฟสาหรับอุปกรณ์ตรวจการณ์แบบ TNPO-160 ห้องเครือ่ งยนต์ (Engine Compartment) หอ้ งเครือ่ งยนต์วางอยใู่ นตัวรถถังทางดา้ นหลัง และจดั ทาแยกสว่ นออกจากห้องหอรบโดยใช้ผนงั ภายใต้ แรงอัดของอากาศ หอ้ งเคร่ืองยนต์จะถูกปิดด้วยแผน่ บานพับของดาดฟ้าและเปน็ ตัวเรอื นของอปุ กรณด์ ังตอ่ ไปน้ี ๑. ระบบดดี ของเสียจากหม้อนา้ ของระบบระยายความรอ้ นของนา้ และน้ามันเครอื่ ง ๒. ห้องฟอกอากาศหลัก ๓. ถงั เกบ็ ระบบระยายความร้อน ๔. ท่อทางเดินบายพาสของแกส๊ ในระบบปล่อยไอเสยี ๕. ระบบน้าและระบบนา้ มนั เครอ่ื งของเครอ่ื งยนต์ ๖. ระบบควบคุมไฮดรอลกิ และระบบหลอ่ ลน่ื ของเครอื่ งเปล่ียนความเร็ว เครื่องยนต์แบบ 6TD-2E พร้อมด้วยเครอื่ งกาเนิดกาลังในการติดเครื่องยนต์, หบี เฟืองเปล่ียนตาแหน่ง เกียร์พร้อมเครื่องกลไกจ่ายกาลัง, อ่างน้ามันเคร่ืองระบบน้ามันหล่อล่ืนเคร่ืองยนต์ และอุปกรณ์ควบคุม ไฮดรอลิกของเคร่ืองเปล่ียนความเรว็ และระบบหล่อลน่ื ทง้ั หมดจะถูกติดต้งั อย่ใู นหอ้ งเครื่องยนต์ ในห้องควบคุมและอ่างเก็บระบบน้ามันหล่อลื่นเครื่องเปล่ียนความเร็วจะติดต้ังหม้อกรองแรงเหว่ียง และหม้อกรองแรงดันไวใ้ นแนวเดียวกัน ระหว่างหม้อกรองจะมีล้ินควบคุมข้อต่อสาหรับเติมน้ามันของอ่างเก็บ น้ามันเครือ่ งเปล่ียนความเร็วตดิ ต้ังอยู่ใกล้ ๆ กับหม้อกรองอากาศ หม้อกรองอากาศจะติดต้ังแผน่ กรองถอดได้ สาหรับกรองสิ่งสกปรกขนาดใหญ่จากท่อนาอากาศเข้าแบบยืดเข้า – ออกได้ใต้เครื่องยนต์ (จากด้านข้างของ หม้อกรองอากาศ ) ป้ัมกรองหยาบของเครอ่ื งยนตแ์ ละกรองหยาบของน้ามันเชอื้ เพลงิ ทางด้านขวาของตวั รถจะ เป็นท่อไอเสยี ของเคร่อื งยนต์
ห น ้ า | 142 คุณลกั ษณะเฉพาะทางเทคนิคและตัวแปรหลกั (MAIN PARAMETERS AND TECHNICAL SPECIFICATIONS) กลา่ วท่ัวไป (General) รถถังหลัก แบบ ๕๒.๑±๐.๕% น้าหนกั รวม ๓ นาย พลประจารถ ๑๘.๐๒ (๒๓.๔๘) kW/t (hp/t) อัตราส่วนกาลงั Power-to-rate ratio ๙๗.๑๒ (๐.๙๙) kPa (kgf/cm²) น้าหนกั กดพน้ื เฉลย่ี Specific ground pressure, สงู สุด มติ ิเบื้องต้น (Basic dimensions) ๙,๗๒๐ มม. ความยาว ๙,๗๕๐ มม. ๗,๐๗๕ มม. - ปืนอยดู่ า้ นหน้า - ปืนอยู่ด้านหลัง ๓,๔๐๐ มม. ความยาวตวั รถ ๔,๑๗๖ มม. ความกว้างรถถัง ๒,๘๐๐ มม. -พร้อมสายพาน ๔,๒๙๐ มม. -พร้อมแผ่นเกราะปอ้ งกันสายพาน ๔๗๐ – ๕๐๐ มม. ความสงู ของรถถัง (กลอ้ งเลง็ ผบ.รถ TKN-6) ๒,๘๐๐ มม. ระยะความยาวของฐานล้อกด ระยะสูงพ้นพ้นื ความกวา้ งของสายพาน ขอ้ มลู การปฏิบัตกิ าร (Operational data) (สาหรบั รถถังในสภาวะเงื่อนไขของสภาพถนนที่แตกตา่ งกัน) ความเร็วเดนิ ทาง - บนถนนพืน้ ดนิ อ่อน ๔๐ – ๔๕ กม./ชม. - ความเรว็ สงู สุดบนถนนพ้ืนแขง็ ๗๐ กม./ชม. ความเร็วเกยี รถ์ อยหลงั - ต่าสุด ๓.๕ กม./ชม. - สูงสุด ๓๐ กม./ชม. ความสิน้ เปลืองน้ามนั เชื้อเพลงิ เมอื่ ว่ิง ๑๐๐ กม.,สงู สุด - บนถนนพนื้ ดินอ่อน ๓๗๐ ลิตร
ห น ้ า | 143 - บนถนนพ้ืนแขง็ ๓๐๐ ลติ ร ความสิน้ เปลอื งน้ามันเครอื่ งเมื่อว่งิ ๑๐๐ กม ๗ – ๑๙ ลติ ร - บนถนนพน้ื ดินอ่อน ๔ – ๑๑ ลิตร - บนถนนพ้ืนแขง็ ๓๕๐ ลติ ร ความจนุ า้ มันเช้ือเพลงิ , ตา่ สุด ๔๕๐ ลิตร บนพื้นถนนดินออ่ น ๔๐๐ ลติ ร - ถงั นา้ มนั เช้อื เพลงิ หลกั ๕๐๐ ลติ ร - พรอ้ มถงั นอกเพิ่มเติม บนถนนพื้นแขง็ - ถงั นา้ มนั เชอ้ื เพลงิ หลัก - พร้อมถงั นอกเพมิ่ เติม เครอื่ งกีดขวาง (Obstacles) ไต่ลาดสูงสุด ๓๒ องศา มมุ เอยี งสูงสดุ ๒๕ องศา ขา้ มคูได้กว้างสงู สุด ๒.๘๕ ม. ไตก่ าแพงได้สูงสดุ ๑ ม. ลุยขา้ มน้าได้ลึก (ไมม่ กี ารเตรียมการ) ๒.๘ ม. ลยุ น้าลกึ พรอ้ มอปุ กรณเ์ คร่อื งปั๊มน้าในการขับเคลื่อน ๕ ม. ความกว้างของเครื่องกดี ขวางที่เปน็ น้า ไม่จากดั คณุ ลกั ษณะและความเชื่อถอื ได้ในการปรนนิบัติบารงุ (Reliability and maintenance characteristics) อายกุ ารใช้งานในการซ่อมสร้าง, ต่าสดุ ๑๔,๐๐๐ กม. คา่ ตวั แปรท่ใี ชใ้ นการคานวณความบกพรอ่ งเพือ่ ซ่อมสร้าง ๑ ขอ้ บกพร่อง ต่อ ๑,๐๐๐ กม. อตั ราของจานวนช้นิ ส่วนแต่ละชนิดของการปรนนิบตั บิ ารงุ ๒,๕๐๐ กม. หว้ งระยะเวลาในการปรนนบิ ตั ิบารุง,สูงสุด - ตรวจ (CH) ๐.๒ ชม. - ปรนนบิ ัตบิ ารุงประจาวัน (DM) ๒.๕ ชม. - ปรนนบิ ัตบิ ารุงหมายเลข ๑ (MT1) ๖.๓ ชม. - ปรนนิบตั บิ ารงุ หมายเลข ๒ (MT2) ๘ ชม.
ห น ้ า | 144 เครือ่ งกาเนดิ กาลงั (Power pack) เครอ่ื งยนต์ (Engine) ชอื่ อุปกรณ์ ๖ ทดี ี-๒ อี (6TD-2E) แบบ เคร่ืองยนต์ดีเซล ๒ จังหวะรอบ ๖ กระบอกสูบ วางกระบอกสูบแบบแถวเรียงเด่ียวในแนวนอน และมีลูกสูบเคลื่อนท่ีอยู่ภายใน ใช้น้ามันเชื้อเพิง แบบหลายแระเภท ระยายความร้อนด้วย ของเหลว (น้า) พร้อมกับมีเครื่องเพิ่มอากาศดี เป็ น เค รื่ อ ง ย น ต์ ที่ ใช้ ก าร สู บ ฉี ด น้ า มั น โด ย ต ร ง พ ร้ อ ม กั บ มี ก า ร ก ว า ด ข อ ง แ ก๊ ส ไ อ เสี ย ให้ ไ ห ล ออกไปจากกระบอกสูบด้วยกาลังอัดของอากาศดี กาลงั สงู สดุ เมอื่ ทาการทดสอบบนแท่นทดสอบ ๘๘๒ (๑,๒๐๐) กิโลวัตต์ (แรงมา้ ) kW (hp) ความเรว็ ในการหมุนของเพลาขอ้ เหวี่ยงทกี่ าลงั ม้าสูงสุด ๒,๖๐๐ รอบ/นาที (rpm) ความเร็วสูงสุดของเพลาขอ้ เหวี่ยง ๒,๙๕๐ รอบ/นาที (rpm) -สาหรบั น้ามนั เชื้อเพลงิ ดีเซล และเคร่อื งบิน ๘๐๐ รอบ/นาที (rpm) -สาหรับน้ามันเช้ือเพลิงเบนซิน A-27 และ A-76 เช่น ๑,๐๐๐ รอบ/นาที (rpm) น้ามันเช้ือเพลิงเบนซิน Al-93, A-80 และ A-92 ผสมกับ น้ามนั เชื้อเพลงิ ดเี ซล ๒๕ เปอร์เซน็ ต์ โดยปรมิ าตรตา่ สดุ ยา่ นการเปลย่ี นแปลงในการหมนุ ของเพลาขอ้ เหวย่ี งในการ ใช้งาน -การใช้งานปกติ ๑,๒๐๐ – ๒,๙๕๐ รอบ/นาที (rpm) -ย่านควรจาสาหรับการใช้งาน ๑,๖๐๐ – ๒,๔๐๐ รอบ/นาที (rpm) ความเร็วรอบของเคร่ืองยนตท์ อี่ นุญาตให้เพ่ิมขึน้ เปน็ ระยะเวลาสน้ั , สูงสดุ ๓,๔๐๐ รอบ/นาที (rpm) ความสนิ้ เปลอื งน้ามันเชื้อเพลงิ เฉพาะที่สภาวะจา่ ยกาลงั ๒๐๔ – ๒๒๕ (๑๕๐ – ๑๖๕) แกลลอน/กโิ ลวตั ต์ สงู สุดบนแท่นทดสอบ ชม. (แกลลอน/แรงมา้ -ชม.(g/kW h (g/hp h)) ความสิ้นเปลอื งน้นามันหล่อลน่ื เมอื่ ยใู่ นสภาวะกรรม ๒.๕ – ๔.๐ (๒.๘ – ๔.๕) กโิ ลกรบั /ชั่วโมง (ลิตร/ ภายนอกทค่ี วามเร็วรอบของเพลาข้อเหว่ยี ง ๒,๔๐๐ ช่ัวโมง) (kg/h) (lt/h) ± ๑๐ รอบ/นาที ทอ่ี ณุ หภูมนิ ้ามันหลอ่ ล่ืน ๓๗๘ – ๓๘๓ องศาเคลวนิ (๑๐๕ – ๑๑๐ องศาเซลเซียส) มิตริ วม (Overall dimensions) -ความยาว (length) ๑,๖๐๒ มม. (mm) -ความกว้าง (width) ๙๕๕ มม. (mm) -ความสงู (height) ๕๘๑ มม. (mm)
ห น ้ า | 145 น้าหนังเมอื่ เครอ่ื งยนตแ์ ห้ง (Dry weight) ๑,๑๘๐ – ๑,๒๔๐ กโิ ลกรบั (kg) ระบบตดิ เครอ่ื งยนต์ (Starting system) วิธีการตดิ เครอ่ื งยนต์ -วธิ กี ารหลัก ติดเครื่องยนตด์ ้วยไฟฟา้ จากแบตเตอร่ี ๔ หม้อ -วธิ ีการช่วย ติดเครอ่ื งยนต์โดยใช้ลมอัดจากถังลม -วธิ กี ารรวม ติ ด เค รื่ อ ง ย น ต์ โด ย ใช้ วิ ธี ก า ร ส ลั บ ร ะ ห ว่ า ง ติ ด เครื่องยนต์ด้วยไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ทั้ง ๔ หม้อ และอากาศอดั จากถังลม เครือ่ งมอื ชว่ ยในการติดเครอื่ งยนต์ เครื่องอุ่นอากาศ, ระบบทาความอบอุ่น, ฉีด น้ามนั หล่อล่นื เข้าไปในกระบอกสูบ การตดิ เครื่องยนต์เมอื่ อากาศเย็นโดยไม่ตอ้ งใชก้ ารอุ่นอากาศก่อนเขา้ หอ้ งเผาไหม้ - ใช้นา้ มันหลอ่ ล่นื GALOL M-40 42 TD,M16IHP-3 AZMOL GARANT M4042 VT - ใช้น้ามันหลอ่ ลื่น M8B2C ไม่ตา่ กวา่ -25 C น้ามันเชอื้ เพลงิ น้ามันเชื้อเพลิงดีเซล เกรด L, Z และ A สาหรับ น้ามันเชื้อเพลิงเคร่ืองบิน เกรด TS-1, T-2, RT และน้ามันเช้ือเพลิงเบนซิน A-27, A-76 โดยทา การผสมกับน้ามันเช้ือเพลิงดีเซลในทุกอัตราส่วน น้ามันเชื้อเพลิงเบนซิน AI-93, A-80, A-92 โดย ผสมกับน้ามันเช้ือเพลิงดีเซล (ประกอบไปด้วย น้ามันเชื้อเพลิงดีเซลผสมต่าสุด 25 เปอร์เซ็นต์ ของปรมิ าตร) ความจุของระบบนา้ มนั เชื้อเพลิง (Fuel system capacity) - รวมทั้งหมด (total) ๑,๑๖๐ ลิตร ความจุของถงั นา้ มันเชอ้ื เพลิง (Inclusive of): - ถงั น้ามนั เชอ้ื เพลิงดา้ นใน (Inner tanks) ๕๗๓ ลติ ร ระบบปอ้ งกันเครอ่ื งยนต์ (Engine protection System) แบบ อิเล็กทรอนิกส์ จัดเตรียมไว้เพ่ือให้พลขับมีความ ระมัดระวัง โดยใช้หลอดไฟเตือนแสดงและเสียง ดังเมอ่ื เคร่อื งยนต์หลัก หรอื เครือ่ งยนต์ช่วยอยู่ใน สภาวะเกิดเหตุฉุกเฉินเม่ือใช้งาน เช่น เกิดเพลิง ไหม้ภายในห้องเครื่องกาเนิดกาลัง และเกิดการ กระจายของแก๊สพิษบนพ้ืนดิน
ห น ้ า | 146 ระบบควบคมุ การเคล่ือนทร่ี วม (Combined movement control system) แบบ ทางานาด้วยไฟฟ้า – ไฮดรอลิก – ทางกล มีการ ใช้งานอยู่ ๒ สถานะ ควบคุมการเคล่ือนท่ีของ รถถัง-ทางานอัตโนมัติ (หลัก) และ ทางานด้วย มอื (ฉกุ เฉนิ ) เครอื่ งเปลี่ยนความเร็ว (Transmission) แบบ หีบเฟอื งบรวิ ารมีตาแหน่งเกยี ร์ ๗ ตาแหน่งเกียร์ พร้อมกับมีตาแหน่งเกียร์ถอยหลัง ๑ ตาแหน่ง และมีตาแหน่งเกียร์ท่ีติดต้ังร่วมกับหีบเฟืองขับ ขั้นสุดท้าย โดยเพิ่มเอาตาแหน่งเกียร์ถอยหลัง เป็น ๔ ตาแหนง่ เกยี ร์และติดตง้ั อย่ใู นส่วนของหีบ เฟืองเครื่องเปลี่ยนความเร็วของอุปกรณ์ควบคุม การเคลือ่ นทข่ี องรถถัง หีบเฟอื ง (Gear box) แบบ เฟืองบริวารพร้อมกับการทางานและปลดการ ทางานของคลัตช์แบบความผิดและควบคุมการ ทางานด้วยนา้ มันไฮดรอลกิ จานวน ๒ อัตราทดเกียร์ - ทีต่ าแหนง่ เกียร์ ๑ ๘.๑๗๑ - ที่ตาแหน่งเกียร์ ๒ ๔.๔๐๐ - ทตี่ าแหน่งเกยี ร์ ๓ ๓.๔๘๕ - ทต่ี าแหนง่ เกยี ร์ ๔ ๒.๗๘๗ - ทต่ี าแหนง่ เกยี ร์ ๕ ๒.๐๒๗ - ที่ตาแหน่งเกียร์ ๖ ๒.๔๖๗ - ที่ตาแหนง่ เกยี ร์ ๗ ๑.๐๐๐ - ที่ตาแหนง่ เกยี รถ์ อยหลงั ๑๔.๓๖๗ จานวนของแผ่นคลัตชค์ วามฝดื ในเครื่องเปล่ยี นความเร็ว - locking ๒ - braking ๔ วธิ ีการบงั คับเลี้ยว การบังคับเลี้ยวอัตโนมัติจะทาที่คลัตช์ความฝืด ส่วนขับเคล่ือน คืน คันบังคับเล้ียวพร้อมกับ เคร่ืองตรวจจับสัญญาณตาแหน่งของคันบังคับ
ห น ้ า | 147 เล้ียว มีการตรวจจับข้อมูลเพื่อป้อนกลับจาก ความถ่ีในการหมุนของเฟืองขับ การบังคับเลี้ยว จะทาให้แน่ใจได้โดยการทางานของคันเปลี่ยน ตาแหน่งเกียร์ใน หีบเฟืองเกี ยร์ (GB) ที่อ ยู่ ด้านข้างของฉนวนหุ้มป้องกันความร้อนของ สายพาน ในตาแหน่งเกียร์ ๑ และเกียร์ถอยหลัง การหมุนรอบตัวเองข้างสายพานท่ีหยุดอยู่กับที่ และการหมุนรอบจุดหมุน เน่ืองจากจานวน สาหรับการถ่ายทอดการทางานในการเดินหน้า และถอยหลังของสายพาน มอี ุปกรณ์ควบคมุ การ บังคบั เลยี้ วอตั โนมตั ิทที่ างานร่วมกันเป็นคจู่ ากคัน บงั คับเลย้ี วโดยการใช้การจัดปรบั แรงดันในเครอ่ื ง กลไกของฉนวนห้มุ กนั ความรอ้ นดา้ นขา้ ง เครื่องควบคมุ การขับเคลื่อน (Control drives) การเปลี่ยนเกียร์ และการบังคับเล้ียวจะใช้ระบบ ไฟฟ้าร่วมกับไฮดรอลิกพร้อมกับมีระบบเชิงกล สารองย่านในการปฏิบตั กิ ารทง้ั หมดของอัตราทด ของเคร่ืองเปลี่ยนความเร็ว คลัตช์, ห้ามล้อ และ การขับเคล่ือนถอยเป็นการทางานแบบเชิงกล ร่วมกับไฮดรอลิก เฟอื งขับขน้ั สุดทา้ ย (Final drive) แบบ เฟืองบริวาร พร้อมกลไกชุดเฟืองบริวารและตัว ต่อเพื่อทางานในตาแหน่งเกียร์ถอยหลัง ๒ ชุด (เปลี่ยนทิศทางของการขับของเพลาขับหีบเฟือง ขัน้ สุดทา้ ย) อัตราทดเฟือง - เดินหนา้ ๔.๘ - ถอยหลงั - ๓.๘ ระบบควบคุมไฮดรอลกิ และระบบหลอ่ ล่นื (Hydraulic control and lubrication system) น้ามนั หล่อลื่นท่ใี ช้ AEIAN EMT-8 หรอื MT-8∏ หรือ TSZp-8 ความจถุ งั นา้ มันหลอ่ ล่ืน ๕๕ ลติ ร แรงดนั นา้ มันหลอ่ ลื่น - ในท่อทางเดินน้ามนั หล่อลื่น ๐.๒ – ๐.๒๕ (๒ – ๒.๕) เมกะปาสกาล (กิโลกรมั /ตร.ซม.) (MPa (kgf/cm²))
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171