- ในระบบควบคมุ ไฮดรอลกิ ห น ้ า | 148 ๒.๘ – ๒.๙ (๑๘ – ๑๙) เมกะปาสกาล (กิโลกรัม/ตร.ซม.) (MPa (kgf/cm²)) ชือ่ อปุ กรณ์ ระบบควบคุมการขบั เคลอื่ นของรถถัง (Tank movement control system) แบบ TIUS-D4T อิเล็กทรอนิกส์ มีไว้เพื่อใช้สาหรับเพิ่มความ คล่องแคล่วในการเคล่ือนท่ีและเป็นตัวประกอบ ในการควบคุมรถถัง อันเนื่องมาจากอัตราส่วน ระหว่างการใช้งานเคร่ืองยนต์และเคร่ืองเปลี่ยน ความเร็วในสภาพของถนนที่แตกต่างกัน ลด ความล้าของพลขับโดยลดการควบคุมในการ เคล่ือนท่ีของรถให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นลด ภาระในการควบคุมรถ และทาให้พลขับมี ความรู้สกึ งา่ ยตอ่ การขบั รถถงั แบบของการขบั เคล่อื น การขบั เคลื่อน (Running gear) สายพาน สายพานพรอ้ มมีเฟอื งขับสายพานอยดู่ า้ นหลัง ทามาจากเหล็ก พร้อมกับมีแผ่นรองแบบเก็บ - จานวนของข้อสายพานแตล่ ะเสน้ เสียงและข้อต่อสายพานที่ทาด้วยยางหรือแผ่น - ความกวา้ ง ยางรองถอดสายพานท่ีได้ และมีอะไหล่อยู่ในชุด - ลาดเฟอื ง (gear pitch) อุปกรณเ์ ครอื่ งมือท่ีถอดออกจากขอเก่ียวได้ ลอ้ ขบั สายพาน ๘๐ ขอ้ ๖๐๐ มม. จานวนฟันของลอ้ ขบั สายพาน ๑๖๔ มม. ล้อปรบั สายพาน สร้างขึ้นมาจากเหล็กหล่อ และมีแผ่นจานกันล้อ ลอ้ กดสายพาน กดสายพานสกึ แบบถอดออกได้ จานวน ๑๒ ฟัน ลอ้ รบั สายพาน สรา้ งขึน้ มาจากเหลก็ หลอ่ ขนึ้ รปู จานวน ล้อกดสายพานแบบจาน ๒ ล้อ - ระบบพยุงตัวรถ ๑๒ ลอ้ ล้อรับสายพานแบบล้อเด่ียว ๑๐ ลอ้ แรงสะเทอื น ๖ ตัว
ชนดิ ของวงจร ห น ้ า | 149 แรงเคลอื่ นของระบบ อุปกรณไ์ ฟฟา้ (Electrical equipment) ระบบปอ้ งกันวงจร ไฟฟ้ากระแสตรง, สายเด่ียว (สาหรับไฟฟ้าแสง สว่างฉกุ เฉนิ ), สองสาย ๒๒.๕ – ๒๘.๕ โวลต์ เครอ่ื งตัดตอ่ วงจรไฟฟ้าอตั โนมตั ิ และฟิวส์ การเก็บแบตเตอรี่ (Storage batteries) ชือ่ อปุ กรณ์ 12ST-85 แบบ หมุนเครื่องยนต,์ ตะก่ัว-กรด จานวน ๔ หม้อ การประจุไฟฟา้ ต่อแบตเตอร่ี ๑ หม้อ ๘๕ แอมแปร์-ช่ัวโมง การประจุไฟฟา้ ทง้ั หมดของแบตเตอร่ี ๓๔๐ แอมแปร์-ชว่ั โมง แรงเคล่อื นของแบตเตอรี่ ๒๔ โวลต์ เครื่องกาเนดิ ไฟฟ้าสาหรับติดเคร่อื งยนตก์ ระแสตรง (DC startergenerator) ชอื่ อุปกรณ์ SG-18-1S เมอ่ื อยูใ่ นสถานะเปน็ มอเตอร์หมนุ เครื่องยนต์ - แรงเคล่อื นต่าสุด ๒๐.๕ กิโลวตั ต์ เม่ืออยูใ่ นสถานะเครอ่ื งกาเนดิ ไฟฟ้า - แรงเคลื่อน ๒๖.๕ – ๒๘.๕ โวลต์ - กระแสทีค่ วามเรว็ รอบ ๑,๖๐๐ รอบ/นาที ๖๓๐ ± ๑๕ แอมแปร์ - กาลัง ๑๘ กโิ ลวตั ต์ อปุ กรณ์ควบคมุ การตดิ เคร่ืองยนต์ (Start-control equipment) หน่วยตอ่ ประสาน ร่นุ (Interface unit} brand) BK712M1-ST รเี ลย์ควบคมุ แรงเคลอ่ื น ร่นุ (Regulating relay brand) RN505M1-1T
รุน่ (Brand) ห น ้ า | 150 ชนดิ (Type) แผงอุปกรณข์ องพลขบั (Driver panel equipment) TIUS-PT อิเล็กทรอนิกส์ มีไว้เพ่ือควบคุมการเตรียมการ ก่อนทาการหมุนเคร่ืองยนต์และหมุนเคร่ืองยนต์ หลัก หมุนเครื่องยนต์ช่วย APU EA-10, ควบคุม ป้มั , หนว่ ยอาการดี, หน่วยในการป้องกันน้าไหล เข้าสาหรับการลุยข้ามลาน้าลึก, หน่วยส่ง สัญญาณความเร็วบนถนน และอุปกรณ์ในการ ส่องสว่างภายนอกรถ และมีไว้เพื่อแสดงผล เพื่อให้คาแนะนาเกี่ยวกับสภาพของเครื่องยนต์ หลัก และระบบป้องกัน , แสดงผลเพื่อให้ คาแนะนาในขอ้ จากัดของเคร่อื งยนตช์ ่วย EA-10, การดับเคร่ืองยนต์ช่วย EA-10 โดยอัตโนมัติ หลังจากติดเคร่อื งยนตห์ ลัก อุปกรณ์ควบคุมระดับนา้ มันเชือ้ เพลิงและนา้ มนั หลอ่ ล่นื (Fuel and oil level control equipment) ชื่ออปุ กรณ์ TIUS-UT แบบ อิเล็กทรอนิกส์มีไว้เพ่ือสาหรับการวัดจาก ระยะไกลของระดับน้ามันเชื้อเพลิง และ ระดับ นา้ มนั หลอ่ ลื่น พร้อมกับมีหลอดไฟเตอื น อปุ กรณ์นาร่อง (Navigation equipment) ช่อื อปุ กรณ์ TIUS-NMT แบบ ดาวเทยี ม จานวนเสน้ ทางในการกาหนดท่หี มายปลายทางสงู สุด ๕๔ การหาตาแหน่ง - ค่าความเบ่ียงเบนมาตรฐานในการหาตาแหนง่ ในขณะ ปฏิบตั กิ ารแต่ต่างกนั ระหว่างระบบดาวเทียมนาร่องทใ่ี ช้ - GLONASS/GPS NAVSTAR ๒๐ ม. - GLONASS ๓๐ ม. - GPS NAVSTAR ๔๐ ม. - ค่าความเบีย่ งเบนแบบมาตรฐานในการกาหนดค่าเสน้ ช้นั ๘๐ ม. ความสูงเหนือระดบั นา้ ทะเล
ห น ้ า | 151 แผนกวิชายานยนต์ กองการศกึ ษา โรงเรียนทหารม้า ศนู ย์การทหารมา้ ค่ายอดิศร สระบรุ ี ---------- คุณลกั ษณะ และมาตราทาน รถถัง วีท4ี กลา่ วท่ัวไป รถถังหลัก แบบ VT4 เป็นผลิตภัณฑ์รถถังหลักรุ่นใหม่ล่าสุดของบริษัท นอริงโก้ ท่ีทางบริษัทได้มุ่งเน้นการ พัฒนาในการผลิตมาอย่างต่อเน่ือง เพ่ือใหเ้ ป็นยุทโธปกรณ์ทเ่ี ป็นเลิศในด้านความทันสมัย ซ่งึ จะกอ่ ให้เกิดความ เชื่อมั่นตอ่ การนาไปใช้งาน โดยมีความโดดเด่นในเรื่องของ การปฏิบัติการรบ ซึ่งประกอบด้วยอานาจการยิงท่ี รุนแรง และเหนือกว่า ขีดความสามารถของเกราะป้องกันท่ีใช้เทคโนโลยี่สูงในการผลิต ซ่ึงจะก่อให้เกิดการ ป้องกันทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพอย่างดเี ย่ียม มคี วามรวดเร็ว คล่องแคล่วในการเคล่ือนที่สงู , มีความทันสมัยของอุปกรณ์ ท่ีใช้รบั -ส่ง แจง้ เตอื นของสนามรบ ซ่ึงเป็นปัจจัยทจี่ าเป็น และสาคญั ในการตอบสนองเพือ่ เพิ่มขีดความสามารถ ในการปฏิบตั กิ ารในสนามรบ ระบบน้ีทาให้ทราบถึงข้อมูลที่เกิดข้ึนมาแล้ว, ข้อมูลปัจจบุ ัน, และข้อมลู ทคี่ ลาดว่า จะเกิดขึ้นในอนาคต ซ่ึงข้อมูลดังกล่าวจะเป็นคาตอบท่ีทาให้สามารถปฏิบัติการตอบโต้ต่อภัยคุกคามได้ทุก รูปแบบ และทุกมติ ิของการรบ ดงั นน้ั จากการทีไ่ ดผ้ สมผสานทกุ ๆ ส่ิงที่มอี ยู่ รวมถงึ การออกแบบ ท่ีทนั สมัยของรถถัง VT4 ซง่ึ เป็นสิง่ ท่ีทาให้เกิดความเชื่อมน่ั ของเหล่ากาลังรบ ที่จะนารถถงั นีไ้ ปใช้งาน อีกทั้งยัง สามารถปรบั ปรงุ และพัฒนาให้ใชง้ านไดอ้ ยา่ งตอ่ เนื่องจนถึงกลางยคุ ของศตวรรษท่ี 21
ห น ้ า | 152 คุณลกั ษณะหลักของรถถัง แบบ VT4 (Main Feature) อานาจการยงิ : รถถงั ติดตงั้ ปืนใหญ่ ขนาด 125 มม. แบบลากลอ้ งเรียบ ท่ีใช้งานร่วมกับคอมพิวเตอร์ คานวณ ขปี นวิธีที่มีเอกลักษณ์เฉพาะ สามารถเลือกกระสนุ ได้หลายชนิด เช่น กระสุนเจาะเกราะสลัดครอบทิ้ง เอง (APFSDS), กระสุนระเบดิ ตอ่ สู้รถถงั (HEAT), และกระสนุ ระเบิด (HE), นอกจากน้นั แล้วสามารรถยงิ กระสุน จรวดนาวิถีด้วยเลเซอร์ (Laser-Guided Missile) จากลากล้องปืนใหญ่รถถัง โดยกระสุนนี้สามารถยิงทาลาย เป้าหมายในระยะไกลได้อยา่ งแมน่ ยา ความรวดเร็ว และความคล่องแคล่วในการเคลื่อนที่ : ด้วยกาลังขับเคลื่อนของเครื่องยนต์ 1200 แรงม้า ทที่ างานร่วมกับเคร่อื งเปลยี่ นความเร็วอตั โนมัติ ทาให้รถถงั VT4 มคี วามรวดเรว็ , และคล่องแคลว่ ในการ เคลือ่ นทอี่ ันเป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะของรถถัง แบบ VT4 ซ่งึ สามารถทาความเร็วสงู สุดไดใ้ นทกุ สภาพของพนื้ ที่ ไม่ ว่าจะเป็นพื้นดนิ แข็ง หรอื พ้ืนดินอ่อนนุ่ม, พ้ืนที่ปกคลุมด้วยหิมะ, ทราย หรือลุยข้ามพื้นที่ท่ีมีน้าปกคลุมระบบ ป้องกัน : การผสมผสานกันระหว่างอุปกรณ์ท่ีเป็นเกราะป้องกันในพ้ืนที่ป้องกันหลัก (ด้านหน้าของตัวรถและ ป้อมปืน, ดา้ นบนของตัวรถ) จะติดต้ังด้วยเกราะป้องกนั แบบผสม (Composite) ส่วนพ้ืนทีป่ ้องกนั รองลงมาเช่น ดา้ นข้างของตัวรถก็ใช้ชดุ เกราะปฏกิ ิริยาท่ีเป็นแผน่ เกราะแบบบรรจุดินระเบิด (ERA) ติดต้ังในการปอ้ งกนั ตัวรถ นอกเหนือจากเกราะป้องกันแล้ว รถถงั ยงั ติดตงั้ ระบบป้องกนั นชค. (NBC) ระบบดบั เพลงิ อัตโนมัติ,ระบบยับยั้ง การระเบิดจากภายในตัวรถ, ระบบทาฉากควัน, เคร่ืองยิงลูกระเบิดควัน และระบบแจ้งเตือนเม่ือถูกตรวจจับ ด้วยแสงเลเซอร์ อุปกรณ์ท่ีติดตั้งอยู่ท้ังหมดดังที่กล่าวมานี้จะช่วยให้เพ่ิมขีดความสามารถในการดารงความอยู่ รอดในสนามรบอย่างมีประสิทธิภาพระบบควบคุมการยิงแบบดิจติ อล : ในรถถังตดิ ตง้ั ระบบควบคุมการยิงแบบ ดิจิตอลที่ทางานร่วมกับกล้องเล็งที่มีระบบรักษาการทรงตัวของภาพเล็ง (ImageStabilized Fire Control System) ซ่ึงในระบบจะประกอบด้วยกล้องเล็งของพลยิงที่มีระบบรักษาการทรงตัวร่วมกับระบบเล็งเกาะ เป้าหมายแบบอัตโนมัติ ส่วนระบบกล้องเล็งของผู้บังคับรถจะเป็นแบบพาโนรามิคที่มีเคร่ืองรักษาการทรงตัว แบบสองแกนพร้อมระบบตดั การทางานในการควบคุมการยงิ ของพลยิง ระบบคอมพวิ เตอร์คานวณขีปนวิธแี บบ ดิจิตอล และระบบตรวจวัดค่าต่าง ๆ (Sensor) โดยระบบต่าง ๆ เหล่านี้จะทางานร่วมกันกับระบบรักษาการ ทรงตัวของปืนใหญ่ ทาให้รถถังแบบ VT4 ทาการยงิ ในขณะท่รี ถถังอยูก่ ับที่หรอื เคล่ือนท่ีได้ต่อเป้าหมายทีอ่ ย่กู ับ ที่ หรือเคลื่อนท่ีได้ นอกจากน้ัน ผบ.รถ ยังสามารถควบคุมการเล็งยิงปืนใหญ่รถถังได้ในทันทีที่ต้องการด้วย ระบบ Hunter-Killer การแจง้ เตือนในสนามรบ : เปน็ ระบบทต่ี ิดต้งั ในรถถังเพ่อื ใช้ในการรับ-สง่ ข้อมูลตา่ ง ๆ ซ่ึง จะทาใหพ้ ลประจารถและรถถงั คันอื่น ๆ ในกลุ่มเดียวกันเข้าถึงขอ้ มูลของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึน้ ในสนาม รบโดยพร้อมเพรยี งกนั ทาให้เกดิ การประสานสอดคล้องในการควบคุมและการสง่ั การในการรบ อานาจการยงิ (Fire Power) 1.1 อาวุธหลัก (Main armament) 1.1.1 ปืนใหญ่ลากล้องเรียบขนาด 120 มม. : เป็นอาวุธหลักของรถถัง แบบ VT4 ตัวลา กล้องปืนใหญ่จะห่อหุ้มลากล้องปืนใหญ่ด้วยปลอกควบคุมอุณหภูมิของลากล้อง และหม้อระบายแก๊สตกค้าง สามารถทาการยงิ กระสุนธรรมดาได้ 3 ชนิด คือ กระสุนเจาะเกราะสลัดครอบทิ้งเอง (APFSDS), กระสุนระเบิด ตอ่ สู้รถถัง(HEAT),และกระสุนระเบิด (HE) นอกจากนี้ยังสามารถทาการยิงกระสุนพิเศษผ่านลากล้องปืนใหญ่ได้ อีก 1ชนิด คอื กระสุนจรวดนาวิถดี ้วยแสงเลเขอร์ (Laser-Guided Missile) ขนาด 125 มม.- กระสุนขนาด 125 มม. เป็นกระสนุ แบบไม่ครบนัด โดยจะทาการบรรจุตวั ลกู กระสุนเขา้ ไปกอ่ นตามด้วยดินส่งกระสุนพร้อมปลอก
ห น ้ า | 153 แบบก่ึงเผาไหม้ได้ ดังน้ันภายหลังที่ทาการยิงกระสุนออกไปแล้วจะเหลือเพียงฐานของจานท้ายปลอกดินส่ง กระสุนออกมาเทา่ นัน้ 1.1.2 เครื่องบรรจุกระสุนอัตโนมัติ เคร่ืองบรรจุกระสุนอัตโนมัติติดต้ังอยู่บนพ้ืนป้อมปืน ด้านหน้าของตะกร้าเกบ็ อุปกรณ์ทา้ ยปอ้ มปนื ตัวลูกกระสุนจะบรรทุกอยภู่ ายในราวเก็บดา้ นล่าง ในขณะท่ีดินส่ง กระสนุ จะบรรทุกอยู่ในราวเก็บด้านบน ราวทใ่ี ช้เก็บตัวลกู กระสนุ และดินส่งสามารถบรรทกุ กระสนุ และดินส่ง ได้ 22 นัด เม่ือเครื่องจะทาการบรรจุกระสุนปืนใหญ่เหล็กส่งจะดันตัวลูกกระสุน และดินส่งเข้าไปพร้อมกัน อตั ราการยิงทาได้6 -8 นดั /นาที 2. เคร่ืองกาเนิดกาลงั (Power Pack) เคร่ืองยนต์ของรถถงั VT4 บริษทั นอริงโก้ ไดพ้ ฒั นา และจดั สร้าง โดยมีขีดความสามารถ และคุณภาพเท่าเทยี ม กับเคร่ืองยนต์ท่ีผลติ มาจากทางทวีปยุโรป เปน็ เคร่ืองยนต์ขนาด 1200 แรงมา้ , เครื่องเปล่ียนความเร็วเปน็ แบบ อัตโนมัติ, ระบบระบายความร้อน, ระบบหล่อลื่นเครื่องยนต์, มีเครื่องกรองอากาศ 2 ชุด เคร่ืองยนต์จะติดต้ัง และวางเครอ่ื งตามแนวนอน โดยสามารถยกออก และติดต้ังกลับคืนไดภ้ ายในเวลา 50 นาที 2.1 เคร่ืองยนต์ (Engine) เป็นเคร่ืองยนต์ดีเซล แบบ FW150, 12 กระบอกสูบ, 4 จังหวะรอบ, ระบายความร้อนด้วยน้า, มีระบบขับ เทอร์โบชารจ์ โดยประเทศจีนได้นาเอาเทคนคิ ใหมข่ องเครอื่ งยนต์ที่ประสบความสาเรจ็ ในการพฒั นามาจดั สร้าง โดยเครอื่ งยนตท์ าความเร็วไดส้ ูงกวา่ , มีค่าแรงบดิ สูง, ดงั นัน้ จงึ ใหก้ าลังในการใชง้ านทดี่ ีกว่า และส้ินเปลอื งน้ามัน เชอื้ เพลิง และนา้ มันหลอ่ ลื่นน้อยกว่า 2.2 เครือ่ งเปล่ียนความเรว็ (Transmission) เครื่องเปล่ียนความเร็วแบบเชิงกลร่วมของเหลว (Hydro-mechanic) แบบ CH1000B เป็นเครื่องเปล่ียน ความเร็วที่ประเทศจีนได้พัฒนามากว่า 20 ปี จนประสบความสาเร็จ และข้ึนมาเป็นผ้นู าในระดับแนวหน้า ใน ปัจจบุ นั โดยมีคุณสมบัตดิ งั น้ี 1. นาเอาเคร่ืองเปล่ียนแปลงแรงบิดทางานด้วยน้ามันไฮดรอลิคพร้อมคลัตช์ล๊อคมาใช้งาน, เพื่อเพิ่ม อัตราเรง่ และเพิ่มขดี ความสามารถในการเคลอื่ นที่ผ่านภูมปิ ระเทศทุรกนั ดาร และเพ่ิมอายุการใชง้ านของเครือ่ ง เปลี่ยนความเรว็ 2. อุปกรณ์ควบคุมเครื่องกลไกเปลี่ยนเฟืองเกียร์บริวาร ประกอบไปด้วย เฟืองเกียร์บริวาร 4 แถว, และชุดควบคุม 6 ตวั , มเี กียรเ์ ดินหน้า 6 เกยี ร์ และเกียร์ถอยหลัง 2 เกยี ร์, คันควบคุมการเปลยี่ นเกียรเ์ ป็นแบบ น้ามันร่วมไฟฟ้า (Electro-hydraulic) และระบบควบคุมไฟฟ้าจะเร่ิมต้นการทางานโดยคันบังคับหลายหน้าที่, ท้ังการบังคับดว้ ยมือ หรือแบบอตั โนมตั ิ 3. ผสานการทางานของระบบบังคับเลี้ยวไฮดรอลิคโดยใช้ป๊ัมมอเตอร์ และชุดต่อประกบ ไฮดรอลิค เลื่อนไปมาในการบังคับเลี้ยว ทาให้จุดหมุนในการเล้ียว และอัตราส่วนการบังคับเล้ียวกับตาแหน่ง เกียรท์ ี่เลือกใช้งานน้อยลง 4. สายพานเฟืองควบคมุ ความเร็วในการขับเคล่ือนพรอ้ มกบั คลัตชเ์ ฟืองทา้ ยแบบเปียก จัดทาไวเ้ พ่ือให้ สายพานเฟอื งควบคมุ ความเร็วโดยจะข้นึ อยกู่ ับอณุ หภูมิของนา้ เพ่ือทาใหก้ ารสูญเสยี กาลังงานลดลง
ห น ้ า | 154 5. ล้ินควบคุมการหน่วงน้ามันไฮดรอลิคจัดทาไว้ให้รถถังหยุดได้ที่ความเรว็ สงู คุณลักษณะเฉพาะแบบ เครื่องเปล่ียนความเร็วแบบเชิงกลร่วมของเหลวการเลือกเกียร์แบบผสม, การบังคับเลี้ยว และห้ามล้อ วิธีการ ควบคุมวิธีหลักใช้การเลือกตาแหน่งแบบอัตโนมัติ, พร้อมกับคันเลือกตาแหน่งด้วยมือ และคันเลือกตาแหน่ง เกียร์ฉุกเฉินจานวนเกียร์ 6 เกียร์เดินหน้า, 2 เกียร์ถอยหลังค่าสัมประสิทธ์ิของการแปลงค่าแรงบิดของเคร่ือง แปลงแรงบดิ ไฮดรอลิค 2.5การบงั คบั เลี้ยว (ดว้ ยพวงมาลยั ) ช่วงสนั้ , ร่วมกับการทางานดว้ ยมอเตอร์ป๊มั น้ามนั ไฮ ดรอลิค และชุดตอ่ ประกบเล่อื นไปมาด้วยไฮดรอลคิ 3. ระบบขับเคลื่อน และพยุงตัวรถ (Running and Suspension System) อุปกรณ์ที่ใช้ในการ ขับเคล่ือนสายพานใช้เพื่อเปล่ียนแรงบิดซ่ึงถ่ายทอดออกมาจากเคร่ืองเปลี่ยนความเร็วเพ่ือขับเคลื่อนล้อขับ สายพานให้เกิดแรงดึงเพื่อทาให้รถถังเคล่ือนที่ โดยจัดทาให้เกิดทั้งแรงดึง และแรงหยุด และปรับปรุงขีด ความสามารถในการเคลื่อนท่ีของรถถังในสภาวะเง่ือนไขของภูมิประเทศที่แตกต่างกันอุปกรณ์ที่ใช้ในการ ขบั เคล่ือนสายพานประกอบด้วยล้อขับสายพาน 2 ลอ้ , สายพาน 2 เส้น, ล้อกด 12 ล้อ, ล้อรับสายพาน 8 ล้อ, (ด้านนอก 4 ล้อ,ด้านใน 4 ล้อ) ล้อปรับสายพานพร้อมตัวปรับ 2 ล้อ ระบบพยุงตัวรถเป็นระบบที่ใช้ลด แรงส่นั สะเทือนท่ีเชือ่ มต่อกับตวั รถด้วยล้อกดสายพาน ใชเ้ พอื่ รองรับแรงสนั่ สะเทือนที่กระทบกับพ้นื ดนิ และส่ง ต่อไปยังตัวรถผ่านสายพาน และล้อกดในระหว่างที่รถเคลื่อนที่ เพื่อลดการสน่ั สะเทือนของรถทาให้ม่ันใจได้ว่า รถถังเคล่ือนทไ่ี ด้อยา่ งราบเรียบ ระบบพยุงตัวรถประกอบด้วย คานรับแรงบิด, กระบอกรับแรงสะเทือนไฮดรอ ลคิ , เครื่องรบั น้าหนักกระแทกไฮดรอลคิ , และเครื่องประกอบชุดแขนลอ้ ปรับสมดุลพร้อมปลอกรับระบบพยงุ ตัว รถประกอบด้วย คานรับแรงบิด 12 อัน (ข้างละ 6 อัน) เคร่ืองประกอบชุดแขนล้อปรับสมดลุ พรอ้ มปลอกรบั 12 ชดุ , กระบอกรับแรงสะเทือนไฮดรอลิค 6 ตัว, และเครอ่ื งรบั แรงกระแทก 6 ตัว คณุ ลกั ษณะเฉพาะ ระบบพยงุ ตัวรถ คานรับแรงบิดสูงมาก 12 อัน กระบอกรบั แรงสะเทือน 6 ตัว เครื่องรับแรงกระแทก 6 ตวั ระบบขบั เคล่ือน ล้อกดสายพาน 12 ล้อ ลอ้ รับสายพาน 8 ล้อ ลอ้ ปรบั สายพาน 2 ลอ้ ล้อขบั สายพาน 2 ล้อ 4. การป้องกนั (Protection) 4.1 เกราะปอ้ งกนั (Armor protection) รถถังจะติดตั้งท้ังเกราะแบบผสม และเกราะปฏิกิริยาอยู่บนตัวรถ และบนป้อมปืน แผ่นยางป้องกัน ด้านข้างติดตั้งอยู่ทั้งสองด้านของตัวรถ และติดตั้งตะแกรงป้องกันเป็นเคร่ืองป้องกันช่วยอยู่บนป้อมปืนเกราะ
ห น ้ า | 155 แบบผสม สร้างข้ึนด้วยโลหะท่ีมคี วามแข็งแรงสงู และความหนาแน่นต่า และวสั ดุที่ไม่ใช้โลหะ โดยสรา้ งขนึ้ ดว้ ย คุณลักษณะของมุมเอียงมาก และทาช่องว่างเพ่ือให้เกดิ ความไม่สมดุล กนั มุมตกกระทบของกระสนุ หรอื กระแส ไอพ่นของระเบิดท่พี น่ ออกมา ทาให้กระสุน หรอื กระแสไอพน่ ถกู ขดั ขวางดว้ ยความคงทีข่ องตวั เกราะที่ทาให้แรง ลดน้อยลง เป็นสาเหตุที่ทาให้ความลกึ ในการเจาะเกราะจากกระสุน และกระแสไอพ่นส้ันลง เพ่ือวัตถุประสงค์ ในการปอ้ งกัน และเพิม่ ความมั่นใจในการอยรู่ อดของรถถัง และทาใหพ้ ลประจารถปลอดภัยเกราะปฏิกิริยาเป็น เกราะชนิดหนึ่งทีข่ ึ้นรูปขึ้นมาโดยการตดิ ต้ังเขา้ กับกล่องปฏิกริ ิยา, ฐานติดต้ัง, หน้าทใ่ี นการทางาน คือ ต่อต้าน กระสุนระเบิด เพ่ือทาให้ทิศทางเปล่ียนไป และทาลายประสิทธิภาพจากการสะสมแรงระเบิดที่เกิดข้ึน ดังนั้น ความลึกในการเจาะเกราะจากลูกกระสุน และกระแสไอพ่นจะส้นั ลงเพื่อวัตถุประสงค์ในการป้องกัน และเพิ่ม ความมั่นใจในการอยู่รอดของรถถัง และทาให้พลประจารถปลอดภัยแผ่นยางกาบังด้านข้างตืดต้ังอยู่ด้านข้าง ของตัวรถทั้งสองข้าง และติดต้ังตะแกรงป้องกันอยู่บนป้อมปืนโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพ่ือทาให้เกิดปฏิกิริยา จากการระเบิดของกระสุนระเบิดต่อสู้รถถังทเ่ี ขา้ มากระทบเพื่อลดความเสยี หายท่ีจะเกิดข้นึ กับตัวรถ และป้อม ปืน 4.2 ระบบดับเพลิง และระบบหยุดยังการระเบิด (Firing extinguishing and explosion suppressionsystem) กล่องควบคุมแบบผสมท่ีติดตั้งอยู่บนป้อมปืน และกล่องควบคุมเคร่ืองดับเพลิงในแคร่รถสามารถรับสัญญาณ เตือนไฟไหม้หลายคร้ังเพื่อหยุดย้ังการระเบิด ถังน้ายาเคมี และถังน้ายาดับเพลิงในแคร่รถ เพื่อทาให้การ ดับเพลิงในหอ้ งหอรบ และห้องจ่ายกาลงั เพ่ือให้แนใ่ จไดว้ ่ารถถงั ปลอดภยั 4.3 อปุ กรณ์ตรวจวดั นชค. (Collective NBC) กล่องควบคุมอุปกรณ์ตรวจวัด นชค. ในป้อมปืนติดต้ังอุปกรณ์ควบคุมการหยุดย้ังการระเบิด, การตรวจวัด นชค., ระบายอากาศในหอ้ งหอรบ, ควันไอเสยี , เครื่องปรับอากาศ, เครอื่ งกรอง นชค.. และระบายอากาศใหก้ ับ หอ้ งตา่ ง ๆ โดยมหี นา้ กากป้องกัน นชค. ส่วนบคุ คลตดิ ต้ังไว้ในหอ้ งของพลประจารถ 4.4 ระบบเตอื นภัยจากเลเซอร์ (Laser warning system) ตวั ระบบประกอบด้วยหีบควบคุม และเครือ่ งตรวจจบั แสงเลเซอร์ เมอื่ เครอ่ื งตรวจจับลาแสงเลเซอรท์ ี่ปรากฏได้ ระบบจะแจ้งเตือนด้วยเสียง และทศั นสัญญาณ ในขณะเดียวกันสามารถทาการยิงลูกระเบิดควันออกไปได้โดย ใช้กล่องควบคุมด้วยมือ หรือการยิงแบบอัตโนมัติ เพื่อรบกวนการตรวจการณ์ของข้าศึก จากการเล็ง และการ ปลอ่ ยอาวุธ 5.ระบบเคร่อื งปรบั อากาศของพลประจารถ (Crew Air Condition System) ระบบเครื่องปรับอากาศของพลประจารถจะประกอบไปด้วย คอยลร์ ้อนดา้ นนอก, เคร่ืองปรับอากาศภายในห้อง พลขับ, เครื่องปรับอากาศสาหรับ ผบ.รถ, และพลยิง, และหีบควบคุมความเย็นของเครื่องปรับอากาศ 3.2 กโิ ลวตั ต์ จัดเตรียมไว้เพื่อทาให้เกิดอุณหภมู ิท่ีสบายสาหรบั พลประจารถ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการดารง อยู่ในสนามรบได้อย่างยาวนาน
ห น ้ า | 156 6.ระบบกาเนดิ ขอ้ มลู ในรถถงั (Vehicle-born information system) ระบบข้อมูลสาหรับติดตั้งบนยานรบสาหรับรถถัง VT4 ทาหน้าท่ีสร้างโครงข่ายของข้อมูลภายในเพ่ือให้พล ประจารถปฏิบัตภิ ารกิจจากจอแสดงภาพภารกิจ เปรียบเสมือนศูนยก์ ลางในการจัดทาข้อมูลคาส่ังทีส่ มบูรณ์ของ รถถงั โดยจะดาเนินการคน้ หา, สง่ , ประมวลผล, วิเคราะหข์ ีดความสามารถ และประโยชน์ดา้ นอ่นื ๆ ของขอ้ มูล โดยจะทาให้สิ้นสุดกระบวนการในการควบคุมได้อย่างสมบูรณ์มีประสิทธิภาพ และจัดส่งข้อมูลทั้งมวลให้กับ รถถัง และส่งขอ้ มูลไป-มาระหวา่ งรถถังโดยพลประจารถ จะเปน็ แกนหลักในการควบคุม และทาให้การประสาน การทางานบรรลุผลสาเรจ็ , มีโหมดควบคุมการปฏิบัติการ และการค้นหาสาเหตุข้อบกพรอ่ งในรถถังเป็นระบบ สารองเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการควบคุมสั่งการ และเพ่ิมขีดความสามารถในการสนับสนุนให้กับรถถัง นอกจากนี้ยังสามารถควบคุมการตรวจการณ์ สภาพของสนามรบ และประสานการปฏิบัติการเพื่อใช้ในการ ปฏิบัติภารกิจผ่านระบบการส่ังการระหว่างรถถังระบบข้อมูลสาหรับการติดต้ังบนยานรบสาหรับรถถัง VT4 ประกอบไปด้วย ระบบสารองทางอิเล็กทรอนิคแบบรวมการ และระบบควบคุมส่ังการ และการติดต่อสื่อสาร ระบบควบคมุ สั่งการ และการติดตอ่ สอ่ื สารประกอบดว้ ย เครือ่ งติดตอ่ ภายใน, ชุดวิทยุ, ฯลฯ ระบบสารองทางอิ เล็กทรอนคิ แบบรวมการ ประกอบดว้ ยจอแสดงภาพ และควบคุมของ ผบ.รถ จอแสดงภาพของพลขบั และวงจร บัสจอแสดงภาพ และควบคุมของ ผบ.รถ ทาหน้าที่เชื่อมต่อชุดวิทยุผ่านทางช่องทางแบบอนุกรม เพื่อจัดตั้ง ระบบส่ือสาร จอแสดงภาพ และควบคุมของ ผบ.รถ และจอแสดงภาพของพลขับจะเช่ือมต่อกับวงจรระบบ CAN เพ่ือสร้างข่ายข้อมูลภายในด้วยการแจกจ่ายข้อมูลผ่านอุปกรณ์อิเล็คทรอนิคทั้งหมด หรือหน่วยควบคุม อิเล็คทรอนิค และเครื่องนาทาง ฯลฯ ในขณะเดียวกันสามารถส่งข้อมูลระหว่างรถถัง และติดต่อส่ือสารด้วย เสียงผ่านทางข่ายชดุ วิทยุ เพื่อประสานการยิงและแลกเปลีย่ นขอ้ มลู ระหวา่ งยานรบข้างเคียง และระหว่างยาน รบแบบเดียวกันในระบบข้อมูลของสนามรบ 7.ช่องทางส่งขอ้ มูล (Data bus) อุปกรณ์ท่ีดาเนินกรรมวิธีข้อมูล เช่น คอมพิวเตอร์ควบคุมการยิง, กล่องควบคุมโปรแกรม, เครื่องมือ รวบรวมข้อมูล, อุปกรณ์นาทาง และบอกตาแหน่ง จะส่งข้อมูลผ่านไปยังช่องทางส่งข้อมูลของระบบ CAN ทั้ง สองช่องทาง และสร้างภาพในเวลาปัจจุบัน หรือสร้างข้อมูลท่ีเป็นตัวเลข หรืออักษรของระบบท่ีสัมพันธ์กันให้ ปรากฏบนจอแสดงภาพของพลขับ และจอแสดงภาพ และควบคุมของ ผบ.รถ ผ่านช่องทางส่งข้อมูล และ ตัว ของระบบข้อมูลเอง ทาให้ ผบ.รถ สามารถดาเนินการส่ังการ และควบคุมภารกจิ ของรถถังได้ง่ายในฐานะที่เป็น ส่วนหนง่ึ ของระบบอุปกรณก์ าเนิดข้อมูลบนยานรบ อุปกรณร์ ะบุตาแหน่ง และนาทางจะถูกตดิ ตง้ั บนรถถงั โดย ทีร่ ะบบนาทางด้วยแรงเฉี่อยจะติดต้ังอยู่ในห้องพลขับ และอุปกรณ์ระบุตาแหน่ง GPS จะถูกติดต้ังบนป้อมปืน โดยจะแจ้งตาแหน่งที่ถูกต้องในทุกสภาพเง่ือนไขที่ซับซ้อนของภูมิประเทศให้กับพลประจารถ ระบบระบุ ตาแหน่ง และนาทางประกอบไปดว้ ย เครื่องนาทาง, สายไฟฟ้าของระบบเคร่ืองนาทาง, สายวงจรบัสของเคร่อื ง นาทาง, และสายมิโลมิเตอร์ของเครอื่ งนาทาง ระบบระบุตาแหน่งด้วยดาวเทียมของรถถัง VT4 เป็นอุปกรณ์ท่ี จดั เตรยี มตาแหนง่ ให้กบั รถถังเพอื่ ใชง้ านบนภาคพืน้ ดิน โดยหน้าที่หลัก คอื การแจง้ ตาแหนง่ ของยานรบในขณะ เคลื่อนที่ และส่งข้อมูลพิกัดปัจจุบันของรถถัง (ด้วยระบบพิกัด แบบ WGS-4) รวมถึงละติจูด และลองติจูด, ทิศทาง, ความสงู , เวลา, ตาแหน่ง ฯลฯ โดยจะระบุขอ้ มูลปจั จุบันผ่านระบบบัสของ CAN
ห น ้ า | 157 8.ระบบพสิ จู นฝ์ ่าย, ฝ่ายเรา หรอื ข้าศึก (FREIND-OR-FOE IDENTIFICATION SYSTEM) ระบบพิสูจน์ฝ่ายว่าเป็นฝ่ายเรา หรือข้าศึก ประกอบด้วย อุปกรณ์หลักติดตั้งบนยานรบ, อุปกรณ์ส่งสัญญาณ สอบถามขอ้ มลู ผ่านเครอ่ื งปลายทางดา้ นหน้าตดิ ตัง้ บนยานรบ, อปุ กรณร์ บั สัญญาณการสอบถามข้อมลู ปลายทาง ด้านหนา้ และเครือ่ งมอื ปรบั ต้งั การเชอ่ื มตอ่ 1. อุปกรณ์หลักในการพิสูจน์ฝ่าย, ฝ่ายเรา หรือข้าศึก : ใช้สาหรับการผลิตข้อมูล, เข้ารหัส, เพิ่มกาลัง สัญญาณที่สง่ ออก, กระบวนการท่ีจะทาให้เกิดความสอดคล้อง และสง่ สัญญาณสอบถามข้อมูล/ตอบสัญญาณ และรับสัญญาณ, เพ่มิ กาลังสัญญาณทไี่ ดร้ ับ, การผสานคล่นื ความถขี่ องสญั ญาณทส่ี อบถาม/ตอบสนองสัญญาณ สามารถแยกสัญญาณเพ่ือคานวณตามเง่อื นไข และส่งขอ้ มูลจากผลทไี่ ดจ้ ากการพิสูจนฝ์ า่ ย ฯลฯ โดยใชเ้ คร่อื งมือ ปรบั ตัง้ การเช่ือมต่อกบั จอแสดงผลตามภารกิจของ ผบ.รถ 2. อุปกรณ์ส่งสัญญาณสอบถามข้อมูลผ่านเครื่องปลายทางด้านหน้าติดตั้งบนยานรบ อุปกรณ์น้ีใช้ สาหรบั สง่ สัญญาณสอบถามข้อมูลสถานีปลายทาง และรับสญั ญาณทีต่ รงกันที่ตอบกลบั มาจากปลายทาง 3. อปุ กรณ์รับสญั ญาณสอบถามขอ้ มูลปลายทางด้านหน้า : อปุ กรณ์นี้ใช้สาหรับรับข้อมูลท่ีสอบถามไป ยังสถานีปลายทางที่เคร่ืองส่งสัญญาณสอบถามออกไป อุปกรณ์รับสัญญาณสอบถามข้อมูลปลายทางดา้ นหน้า โดยปกติแล้วจะติดตง้ั อยู่ดา้ นบนของฐานตดิ ตัง้ และห้ามทาการพรางรอบ ๆ บรเิ วณทีต่ ดิ ตั้งอุปกรณ์ 9. การส่อื สารแบบดจิ ิตอล (Digital communication) ใชว้ ิทยทุ หารปรงุ คลนื่ ความถ่ี VHF/FM แบบกา้ วกระโดด 50 วตั ต์ 10. คุณลกั ษณะเฉพาะทางเทคนิค กลา่ วท่ัวไป นา้ หนกั พร้อมรบ 52 ตัน พลประจารถ 3 นาย กาลงั เคร่อื งยนต์ 833 กโิ ลวตั ต์ (1,200 แรงม้า) อัตราสว่ นกาลงั ต่อ นา้ หนัก 23 แรงมา้ /ตัน ความยาวเมื่อปืนใหญอ่ ยู่ดา้ นหนา้ 10.1 เมตร ความยาวเมอ่ื ปืนใหญ่อยูด่ า้ นหลัง 9.750 เมตร ความกว้าง พร้อมแผน่ กาลังด้านข้าง 3.5 เมตร ไมม่ แี ผ่นกาบงั ด้านข้าง 3.4 เมตร ความยาวของสายพานสมั ผัสพน้ื 4.747 เมตร ระยะสูงพ้นพ้นื (สายพานยาง) 0.51 เมตร ความสงู (ด้านบนปอ้ งปนื ) 2.4 เมตร น้าหนกั กดพนื้ 0.88 กโิ ลกรมั /ตร.ซม. ความคล่องแคลว่ ในการเคลอื่ นที่ ความเร็วสงู สุดบนถนน 70 กม./ชม.
ห น ้ า | 158 ความเร็วสงู สดุ ในภูมิประเทศ 33-45 กม./ชม. อตั ราเร่ง .-32 กม./ชม. ในเวลา 12 วนิ าที ระยะปฏิบตั ิการไกลสดุ (ในภูมิประเทศ) มากกว่า 400 กม. ไตล่ าดชัน 60 % ไต่ลาดข้าง 40 % ข้ามคูกวา้ ง 2.7 เมตร ขา้ มเคร่ืองกดั ขวางทางดง่ิ สูง 0.85 เมตร ลุยขา้ มนาลกึ ไม่ไดเ้ ตรียมการ 1.2 เมตร เตรียมการในเวลา 5 นาที 1.8 เมตร ใชท้ อ่ หายใจ, ลยุ ข้ามน้าลึก 5 เมตร ได้ในระยะทาง 600 เมตร เคร่ืองยนต์ 1,200 แรงมา้ , เปลยี่ นเครื่องยนต์ดเี ซล, มีเทอรโ์ บชารต์ เครอื่ งเปลี่ยนความเรว็ อัตโนมตั ิ, เกยี ร์เดินหน้า 6 เกียร์, ถอยหลงั 2 เกียร์ เครอ่ื งพยงุ ตวั รถ คานรบั แรงบิด, พรอ้ มเครอื่ งรับแรงกระแทกไฮดรอลคิ และกระบอกรบั แรงสนั่ สะเทือน ระบบบงั คบั เลีย้ ว Stepless เบรก ระบบเบรกแบบผสม สายพาน แบบมีแผน่ ยางรองสายพาน อานาจการยิง อาวุธหลกั ปนื ใหญร่ ถถังลากลอ้ งเรยี บ ขนาด 125 มม. การบรรจกุ ระสนุ แบบอตั โนมัติ บรรทกุ กระสนุ ได้ 38 นัด อาวุธรอง ปืนกลร่วมแกน ขนาด 7.62 มม. ปนื กลต่อสู้อากาศยาน ขนาด 12.7 มม. ควบคมุ การยงิ จากภายในรถ การอยรู่ อด เกราะป้องกนั แผน่ เกราะแบบผสม, แผ่นเกราะปฏิกริ ยิ า การป้องกนั นชค. แบบรวมการ ระบบดับเพลงิ และหยดุ ยงั การระเบดิ ห้องเคร่อื งยนต์ เครอื่ งตรวจจับด้วยเสน้ ลวดความรอ้ น ห้องหอรบ เครอ่ื งตรวจจับแบบกลอ้ งตรวจจับ ระบบปอ้ งกนั เชิงรุก ระบบเตือนภัยจากเลเซอร์ เครือ่ งยิงลกู ระเบดิ ควัน 6X2 (12 ท่อ) มเี คร่ืองทาฉากควนั มี ระบบควบคมุ การยิง
ห น ้ า | 159 กล้องเล็งพลยงิ การรกั ษาการทรงตวั เครือ่ งรักษาการทรงตัวแบบ 2 แกน กล้องเล็งกลางวัน 6°-10° (10X-6X) กล้องเล็งกลางคนื กลอ้ งเล็งภาพความรอ้ น เครือ่ งหาระยะดว้ ยแสงเลเซอร์ แบบติดตง้ั ในตัว กลอ้ งเล็งพาโนรามคิ ของ ผบ.รถ การรกั ษาการทรงตัว เคร่ืองรกั ษาการทรงตัวแบบ 2 แกน กล้องเล็งกลางวัน 5.5° (10X), 10° (6X), ซมู ภาพต่อเน่อื ง กล้องเลง็ กลางคนื กลอ้ งเล็งภาพความร้อน เคร่ืองหาระยะดว้ ยแสงเลเซอร์ แบบติดตง้ั ในตวั คอมพิวเตอร์คานวณขีปนวธิ ี แบบ DSP คานวณคา่ ตัวแก้ขปี นวธิ อี ัตโนมตั ิ เครื่องตรวจวัดอัตโนมตั ิ เครอ่ื งตรวจวดั สภาพอากาศ, เคร่ืองตรวจวดั อุณหภูมิ ดนิ ส่ง, เครื่องวดั มุมเอยี ง, เคร่อื งตรวจวคั วามเรว็ เชิงมุมเปา้ หมาย, ระบบจดุ อ้างอิง ฯลฯ ระบบเล็งเกาะเปา้ หมายอัตโนมัติ มี หน้าทใ่ี นการทางานแบบ Hunter-Killer มี ระบบรักษาการทรงตัวของปนื ใหญ่ แบบใช้ไฟฟ้าขบั ทงั้ มมุ สงู และมมุ ทศิ เบด็ เตล็ด ระบบนาร่อง GPS & INS ระบบกาเนดิ ขอ้ มูลของรถถัง มี กล้องตรวจการณด์ า้ นหนา้ มี กล้องตรวจการณ์ดา้ นหลัง มี ระบบเครือ่ งปรบั อากาศ มี จอแสดงภาพเอนกประสงค์สาหรบั ผบ.รถ และพลขับ มี ระบบพิสจู นผ์ า่ ย ผ่ายเรา หรือขา้ ศึก มี
ห น ้ า | 160 แผนกวชิ ายานยนต์ กองการศกึ ษา โรงเรยี นทหารมา้ ศนู ยก์ ารทหารม้า คา่ ยอดศิ ร สระบรุ ี ---------- คุณลักษณะ และมาตราทาน รถเกราะลอ้ ยาง 8×8 VN1 1. กล่าวนา (Introduction) รถเกราะลอ้ ยาง 8x8 แบบ VN1 เป็นรถเกราะล้อยางรุ่นล่าสดุ ที่พัฒนา โดยบริษัท นอริงโก้ เพ่อื นาเสนอในตลาดต่างประเทศ โดยรถเกราะรุ่นนี้เนน้ ให้มขี ีดความสามารถในการบรรทุก น้าหนักเพ่ิมมากข้ึน มีความคล่องแคล่วในการเคลื่อนท่ีสูงสามารถเคล่ือนที่ในน้า ได้มีระบบป้องกันตัวรถท่ีมี ประสิทธิภาพ, มีความง่ายสะดวกสบาย ต่อการใช้งาน และใช้เทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความ สะดวกสบายในการขับเคลื่อน, ระบบพยุงตัวรถมคี วาม นุ่มนวล, มีความเรว็ สูง, สามารถเคลอ่ื นทีไ่ ปได้ในทกุ ภูมิ ประเทศ, เกณฑ์สิ้นเปลืองน้ามันเชื้อเพลิงและ น้ามันหล่อลื่นเคร่อื งยนต์, งา่ ยต่อการปรนนบิ ัติบารงุ , ออกแบบ ให้มีโครงสร้างที่กะทัดรัด, มีประสิทธิภาพของความ อยู่รอดในสนามรบสูงทาให้เกิดความม่ันใจในการนาไปใช้ งานด้วยองคป์ ระกอบและคุณสมบตั ิตา่ งๆ เหล่าน้ี จึงทาให้รถเกราะชนิดนี้มขี ีดความสามารถในการรองรับการ ปฏิบตั งิ าน อาวุธ ปนื ใหญอ่ ตั โนมตั ิ ขนาด 30 มม. เครือ่ งยิงลูกระเบิดอัตโนมัตขิ นาด 40 มม. เคร่อื งยงิ ลูกระเบดิ ควัน ขนาด 76 มม. ปืนกลรว่ มแกนขนาด 7.62 มม. ฐานตดิ ต้ังจรวจนาวิถี HJ73D คณุ ลกั ษณะหลักของรถเกราะชนดิ น้มี ดี ังนี้ - เป็นรถเกราะ ขับเคล่ือน แบบ8x8ล้อมีระบบพยุงตัวรถแบบอิสระ มีระบบ ล็อคเฟืองท้าย ระหวา่ ง แกนเพลากับล้อ ทาให้มคี วามแขง็ แกร่งและทนทานตอ่ การขับเคลือ่ นในทกุ สภาพภูมิประเทศ - ติดตั้งเคร่ืองยนต์ดีเซลระบายความร้อนด้วยน้าแบบ DEUTZ BF6M1015CP และเครื่องเปลี่ยน ความเร็วแบบอตั โนมัติทาให้รถเกราะชนดิ น้มี ีคุณลักษณะ เหมาะสมทีจ่ ะปฏิบัตงิ านในพ้ืนที่เขตรอ้ น, พนื้ ทที่ เ่ี ป็น ทะเลทรายและในพ้ืนท่ที ่เี ปน็ ที่ราบสูงทรุ กนั ดารได้เปน็ อย่างดี - ใชร้ ะบบควบคุมการบังคับเล้ียวแบบไฮดรอลิค จึงทาใหก้ ารขับเคลือ่ นรถมีความสะดวกสบายและงา่ ย ตอ่ การควบคุม - ใช้ระบบห้ามล้อด้วยลมอัดแบบสองวงจร (dual pneumatic circuit brake System) เป็นตัวเพิ่ม ขีด ความสามารถในการห้ามลอ้ จงึ ทาใหผ้ ใู้ ชเ้ กิดความม่นั ใจในการใช้งาน - ติดตั้งระบบปอ้ งกันตัวรถแบบ สมบูรณ์ทั้งระบบซ่ึงประกอบดว้ ยระบบป้องกัน นชค. ในตวั รถ, ระบบ ดับเพลิงอัตโนมัติ - ใช้ล้อยางแบบยางสงครามท่ีไมม่ ียางใน (Run Flat) เพอื่ เพิ่มขดี ความสามารถใน การอยู่รอดใหก้ บั รถ - ตัวรถและป้อมปืนสรา้ งด้วยแผน่ เกราะแบบเหล็กกล้าชนิดแขง็ พเิ ศษ จึงทาให้มีประสิทธิภาพอยา่ งสูง ในการปอ้ งกนั ให้กบั ตวั รถ
ห น ้ า | 161 - ด้านทา้ ยของรถเกราะตดิ ตั้งใบจักรทาใหส้ ามารถเคลอ่ื นทใี่ นน้าได้ - ติดตง้ั ระบบเตมิ ลมและปล่อยลมลอ้ ยางจากระบบควบคมุ ภายในรถจงึ ทาใหส้ ามารถตรวจสอบแรงดัน ,เตมิ ลมและปล่อยลมออกจากล้อยางได้โดยอตั โนมัติ ติดตั้งเคร่ืองปรบั อากาศท่ีทาความเยน็ ได้สูงเพอื่ ทาให้เกิด ความสบายให้กับกาลังพล และพลประจารถ ติดตั้งเครื่องกาหนดตาแหน่งท่ีอยู่แบบ GPS เป็นระบบนาร่อง ให้กับรถ ติดต้ังสถานีควบคุมระบบอาวุธประจารถจากระยะไกล (RCWS), ซ่ึงประกอบด้วยปืนใหญ่อัตโนมัติ ขนาด 30 มม., ระบบอาวุธนาวิถีต่อสู้รถถังแบบ 73, ปืนกลร่วมแกนขนาด 7.62 มม.เครื่องยิงลูกระเบิด อตั โนมัติ และเครื่องยิงลูกระเบิดควัน จึงทาให้รถเกราะนี้มีอานาจในการยิงที่แม่นยา และรุนแรง รถเกราะใน ตระกูลนีส้ ามารถดัดแปลงเป็นรถ แบบอ่นื ๆได้อกี หลาบแบบ เช่น รถ บงั คับการ, รถกซู้ ่อม รถพยาบาล ฯลฯ 2. คุณลักษณะเฉพาะทางเทคนิค (Technical Specification) เป็นรถเกราะสะเทินน้าสะเทินบก ตัวป้อมปืนตดิ ตัง้ ปนื ใหญอ่ ตั โนมตั ิ ขนาด 30มม. เป็นอาวุธหลักในการใชง้ าน รปู ท่ี 2-1 ภาพหน้าตดั ด้านตา่ งๆ ของ VN1 ตัวรถแบ่งออกเป็น 3 ตอนดงั น้ี : ห้องพลขับ, ห้องเคร่ืองยนตแ์ ละหอ้ งโดยสาร ของกาลังพลมีช่องทาง เช่ือมต่อกับห้องพลขับ อยู่ทางด้านซ้ายของหอ้ งเคร่ืองยนต์ ห้องพลขับอยู่ด้านหน้า ทางซ้ายของตัวรถ ภายใน หอ้ งพลขับจะประกอบดว้ ยท่นี ั่งพลขับ, ที่นั่งผูบ้ ังคับรถ ทางด้านหลังของท่ีนั่งพลขับ ในตาแหน่งท่ีนั่งพลขับจะ ติดต้ังอปุ กรณ์ควบคุมรถ, เครือ่ งมอื ตรวจการณ์ มาตรวัดต่างๆ, ชุดวิทยุ, ระบบปอ้ งกัน นชค. และกล่องควบคุม อปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ในตาแหน่งท่ีน่ังของพลขับและ ผบ.รถจะมชี ่องตรวจการณ์แบบแท่งแก้ว (Periscope) ใช้ตรวจ การณ์ด้วยสายตา ด้านบนตรงตาแหน่งเหนือที่นั่งของพลขับและ ผบ.รถจะติดตั้งฝาปิด-เปิดช่องทางเข้า- ออกเป็นแบบบานพับ พลขับและ ผบ.รถ จะใช้ช่องทางนี้เป็นทางเข้า – ออกจากตัวรถ ห้องเครื่องยนต์อยู่ ทางด้านขวาของห้องพลขับ จะติดตั้งเครื่องยนต์ดีเซลระบายความร้อนด้วยน้าแบบ DEUTZ BF6M1015CP และเคร่ืองเปลี่ยนความเร็วแบบอัตโนมัติ (มีเกียร์เดินหน้า 9 ตาแหน่ง และ ถอย หลงั 1 ตาแหน่ง)อุปกรณ์ อัด
ห น ้ า | 162 ไอดแี ละไอเสียของเครื่องยนต์ (Turbo Charger), ป้ัมไฮดรอลิค, อุปกรณ์ ตรวจจับเปลวเพลงิ , ทอ่ ทางเดินของ น้ายาเครอ่ื งดับเพลิงอัตโนมัติพรอ้ มหวั ฉีดฯลฯ ตวั หอ้ งเครอ่ื งยนต์จะ ตดิ ตง้ั ฝาครอบหอ้ งเคร่ืองยนต์ทางด้านบน และฝากั้นทางด้านข้างของห้องเครื่องยนต์เพ่ือแยกห้อง เคร่ืองยนต์ออกจากส่วนต่างๆของตัวรถ และฝาครอบ และแผ่นก้ันน้ีสามารถถอดออกเพ่ือทาการปฏิบัติ บารุงและซ่อมบารุงเครื่องยนต์ได้ ท่ีน่ังของกาลังพลในรถ จานวน 11 ท่จี ะอยทู่ ต่ี าแหนง่ ผบ.รถ 1 ที่น่งั , อยู่ด้านหน้าป้อมปืน 2 ท่นี ัง่ และอยู่ ด้านหลังป้อมปนื จานวน 8 ท่ี น่ัง คณุ ลกั ษณะทว่ั ไปขนั้ ตน้ 2 + 11 นาย พลประจารถ / กาลังพล 8 x 8 ล้อ (สามารถ เปล่ียนเปน็ ขับเคล่อื น 8 x 4 ล้อได)้ รปู แบบในการขับเคลื่อน 19.5 ตนั นา้ หนักรถ 24.5 ตัน นา้ หนกั 8000 มม. ความยาวตัวรถ 3000 มม. ความกวา้ งตัวรถ 3300 มม. ความสูงตวั รถ 450มม. ความสงู ของรถจากพื้น 1420มม.+2000มม.+1420มม. ระยะหา่ งระหวา่ งช่วงล้อ 2600มม. ระยะหา่ งระหวา่ งลอ้ ซา้ ย – ขวา - 20° C - + 50° C อณุ หภูมิสภาพแวดล้อมในการใชง้ าน รูปท่ี 2-2 ภาพหนา้ ตดั ด้านบนของรถเกราะลอ้ ยาง 8x8 แบบ VN1 1.พลขับ, 2. ผบ.รถ, 3.กาลังพลผู้โดยสาร, 4. พลยิง
ห น ้ า | 163 3. ความคล่องแคล่วในการเคลือ่ นท่ี (Mobility Performance) เกิดจากการผสมผสานเครื่องยนต์ที่มีกาลังมาก ทางานร่วมกับ เครื่องเปลี่ยนความเร็วแบบอัตโนมัติ และ ระบบเสริมสมรรถนะต่างๆ เข้าดว้ ยกัน ตัวเครอื่ งยนตม์ รี ะบบระบายความรอ้ นที่ มปี ระสิทธภิ าพ , มีระบบ อัดอากาศในการส่งกาลังเช้ือเพลิงให้กับ เครื่องยนต์ ประกอบกับระบบหัวฉีดน้ามันไฟฟ้าจึงทาให้เคร่ืองยนต์ สามารถส่งกาลังออกไปได้อย่างเต็มที่ เพลาล้อตัวที่ 1 และ 2 ติดต้ังระบบ พยุงตัวรถอิสระแบบ คอยล์สปริง ทางานร่วมกบั โช้คอัพ Strut-Type Suspension)เพลาล้อท่ี 3 และ 4เป็นแบบ ใช้กระบอกรับแรง ทางานดว้ ย นา้ มนั กับอากาศ ( Hydro - Pneumatic) การออกแบบระบบพยุงตัวรถใช้การออกแบบให้มีคุณลักษณะพิเศษเป็นแบบอิสระโดยนาเอา ผลกระทบที่ เกิดขึ้นจากการขับเคล่ือน ในสภาพ ภูมิประเทศ,การบรรทุกน้าหนักพรอ้ มรบ และการใชอ้ าวธุ มา เปน็ ข้อพิจารณาในการออกแบบ เพ่ือให้รถมีขดี ความสามารถในการขับเคล่ือน ในลกั ษณะภมู ปิ ระเทศต่างๆได้ดี และสามารถปรบั เปลย่ี นได้ตามสภาพของภูมปิ ระเทศทผ่ี นั แปรไป รูปที่ 3-1 ภาพการเคลอ่ื นทใ่ี นภมู ปิ ระเทศแบบตา่ งๆ ของรถเกราะล้อยาง 8x8 แบบ VN1 กาลงั งานที่เครือ่ งยนต์ผลิตข้นึ จะถูกถา่ ยทอดจากหบี เฟอื งถา่ ยทอดกาลังผ่านหีบเฟืองเกียร์ แล้วสง่ ต่อ เข้าหบี เครอ่ื งเพิ่มกาลงั เขา้ ชดุ เฟืองบังคบั เลย้ี วแล้วออกไปชดุ เฟืองขบั เพลาลอ้ ที่ 2 แล้วส่งไปชุดเฟอื งขับ ออกไป ด้านหน้าเพ่ือสง่ ไปยงั หีบเครือ่ งเพลาล้อท่ี 1ขณะเดียวกนั กส็ ง่ กาลังขับออกไปทางด้านหลังเพ่ือไปยังชดุ เฟือง ขับ เพลาล้อที่ 3 และ 4 หีบชุดเฟืองขับท่ีเพลาล้อจะทาหน้าท่ีลดความเร็วเพ่ิมกาลัง และเปล่ยี นทิศทางกาลงั ออก ด้านขา้ งสู่ดมุ ล้อแต่ละล้อ เครื่องกาเนิดกาลัง จะประกอบด้วยเคร่ืองยนต์ (พร้อมอุปกรณ์ประกอบชุดของเคร่ืองยนต์ เช่น มอเตอร์สตาร์ท, คอมเพรสเซอร์, เคร่ืองควบคุมอปุ กรณ์ไฟฟ้า, ป้ัม ไฮดรอลิกช่วยการบังคบั เล้ียว ฯลฯ) ระบบ ชว่ ยเพ่มิ ประสิทธภิ าพเคร่อื งยนต์ (หม้อน้า, เครือ่ งเพ่ิมกาลงั อัดอากาศ, เครื่องชว่ ยระบายความรอ้ น อากาศก่อน เข้าห้องเผาไหม้, หม้อพักน้า, เคร่ืองระบายความร้อนน้ามันไฮโดรลิก, เคร่ืองกรองฝุ่น ฯลฯ), หีบ เฟืองเกียร์, เครือ่ งกาเนดิ ไฟฟ้า (Generator) ฯลฯ
ห น ้ า | 164 รูปที่ 3 -2 เครอ่ื งกาเนิดกาลงั มมุ ถึงลาด(หน้ารถ) 45 มุมจากลาด (ท้ายรถ) 38 อัตรากาลังต่อํน้าหนกั 22.4แรงมา้ /ตนั ความเรว็ สงู สดุ บนท้องถนน 100กม./ชม. ความเรว็ สูงสดุ ในภมู ปิ ระเทศ 60กม./ชม. ความเรว็ สูงสดุ ในนา้ 8กม./ชม. ไตล่ าดชัน 60% ไต่ลาดเอียง 30% ขา้ มคูกวา้ ง 1.8 ม. ขา้ มเคร่ืองกีดขวางทางดิง่ 0.55 ม. รศั มีวงเลี้ยวต่าสุด 11 ม. ระยะเบรก 15 ม. (ที่ความเรว็ 40 กม./ชม.), 29ม. (ที่ความเร็ว 60 กม./ชม.) อัตราการเรง่ จาก 0 – 400 ม. 29วนิ าที ความสน้ิ เปลืองนา้ มนั เช้ือเพลงิ บนถนน (44 ล./100 กม.), ภมู ิประเทศ (60 ล./100 กม.) ระยะปฏิบตั ิการบนทอ้ งถนน 900 กม. รปู ที่ 3 -3 ขดี ความสามารถในการเคลอื่ นที่ของรถเกราะลอ้ ยาง 8x8 แบบ VN1
ห น ้ า | 165 3.1 เครื่องยนต์ (Engine) คุณลกั ษณะเฉพาะทางเทคนคิ ของเครอื่ งยนต์ แสดงไวใ้ นตารางท่ี 1 ตารางที่ 1 คุณลกั ษณะเฉพาะทางเทคนิคของเครอื่ งยนต์ รายการ เครื่องยนตแ์ บบ DEUTZ BF 6 M1015CP ประเภท เครื่องยนตด์ ีเซล 4 จังหวะรอบ ระบายความรอ้ นด้วยนา้ , มเี ครือ่ งเพมิ่ กาลงั อัดเครอ่ื งยนต์ (Turbo Charger) จานวนกระบอกสบู , การจัดวาง 6 กระบอกสูบ วางแบบรูปตัว V,“90” ปรมิ าตรกระบอกสูบ 11,906 ล. ความเร็วรอบสูงสุด 2,100 รอบ/นาที กาลัง 448 แรงม้า (330 kW.) น้าหนกั 1,050 กก. (รวมน้ามันเครื่อง) ขนาด 1,170 × 950 × 1,173 มม. มลภาวะ Europe 2 วิธกี ารควบคมุ ควบคุมความเรว็ ดว้ ยอิเล็กทรอนิกส์ ระบบช่วย เพ่ิมประสทิ ธภิ าพเครื่องยนต์ ประกอบด้วยระบบระบายความร้อน, ระบบไอด,ี ระบบไอเสีย , ระบบน้ามนั เชอ้ื เพลงิ , ระบบผลติ ลมสารอง ฯลฯ 3.2 ระบบเครื่องเปล่ยี นความเรว็ (Transmission System) ระบบเครื่องเปลย่ี นความเรว็ ถือเปน็ หวั ใจ ในการขับเคล่ือน และจ่ายกาลังให้กับรถ ประกอบด้วย หีบเฟือง เกียร์, ห้องถ่ายทอดกาลัง, หีบเครื่องเปลี่ยน ความเรว็ ดา้ นข้าง, ชดุ เฟอื งขับทีเ่ พลาล้อ ฯลฯ หบี เฟืองเกยี รต์ ดิ ตง้ั อยู่ร่วมกบั เคร่อื งกาเนิดกาลงั 3.2.1 หีบเฟืองเกียร์ (Gear box) หบี เฟืองเกียรเ์ ป็นเครื่องเปล่ียนความเรว็ แบบอัตโนมตั ิ ข้อดี ของเครื่องเปลีย่ นความเรว็ แบบอัตโนมัติมีดงั นี้ - โหมดใชง้ านงา่ ยตอ่ การใชง้ านโดยพลขบั ไมต่ ้องมี การฝกึ เพม่ิ เตมิ รถสามารถจับคู่ในตาแหน่ง ของเกียร์อัตโนมัติได้อย่างเหมาะสม, ทาให้เพ่ิมขีดความสามารถในการขับเคลื่อนที่นอกจากน้ันพลขับยัง สามารถเปล่ยี นการควบคมุ ไปใช้การควบคุมด้วยมือเพอ่ื ปรับเปลี่ยนการขับเคลื่อนไปตามสภาพพิเศษ ของถนน ไดง้ า่ ย - การทางานภายในหบี เฟอื งเกยี ร์ความสกึ หรอในการทางานของเฟืองและ เครอ่ื งกลไกเชิงกล อนื่ ๆ จะมีน้อยมาก ทาให้ลดค่าใช้จา่ ยและงา่ ยต่อการปรนนบิ ัติบารงุ ยืดระยะเวลาในการใช้งาน - หีบเฟอื งเกียรม์ ีประสทิ ธิภาพสงู ทาให้ในการเปลีย่ นเกียรจ์ ะไม่ทาใหส้ ูญเสยี กาลงั ในการถ่ายทอด 3.2.2 เคร่ืองเปลี่ยนความเร็วแบบ H - Type เครื่องเปลี่ยนความเร็วแบบ H - Type ประกอบดว้ ยหีบถ่ายทอดกาลัง 1 ตัว และหบี เฟืองขับขั้นสดุ ท้าย 8 ตวั เนื่องจากความตอ้ งการในการขับเคลือ่ น ล้อทุกล้อ 8x8 ล้อ โครงสร้างของหีบถ่ายทอดกาลังจึงออกแบบ ให้อยู่ร่วมกับแกนเพลาของหีบเฟืองขับขั้น สุดท้าย 2 ชุด 3.2.3 เพลาเคร่ืองเปล่ียนความเร็ว (Transmission shaft) เพลาเครื่องเปล่ียนความเร็วทา หน้าที่เป็นเพลาส่งกาลังของรถ ทาให้เกิดข้อดีในการเปล่ียนความเร็วแบบ คงท่ี, ให้ความถูกต้องสูง, ให้การ เคล่อื นทที่ ่สี มดุลและลดเสยี งทีจ่ ะเกิดจากการสน่ั สะเทอื น
ห น ้ า | 166 3.2.4 ระบบใบจกั ร (Propelling System) ตวั รถติดตง้ั ใบจกั รแบบใบจักรคู่เพอ่ื ใช้งานในการ ขบั เคลอ่ื นในน้าโดยการใชม้ อเตอรแ์ บบไฮดรอลกิ ซ่ึงทาให้มี ขดี ความสามารถในการเคล่ือนท่ีในนา้ ได้ แผ่นกัน คลืน่ ติดตั้งไว้บนด้านหน้าของตัวรถ และติดตั้งป้มั สูบนา้ ใน ตัวรถไว้ 3 เคร่ือง ทางด้านหน้า กลางและดา้ นท้าย ของตวั รถ เมื่อเคลือ่ นที่ในนา้ พลขบั จะใช้คนั บังคบั เพ่ือ ทาให้เกดิ มุมและทิศทางท่แี ตกตา่ งกนั ในการควบคุม ความเร็วและทศิ ทางของใบจกั รทง้ั สองด้าน ทาให้ สามารถขบั เคลอื่ นเดินหน้า ถอยหลงั และหมนุ ตวั ในนา้ ได้ 3.3 ระบบขบั เคลือ่ น (Running Gear) ระบบขับเคลือ่ นประกอบด้วย อุปกรณเ์ ครื่องพยุงตวั รถ, ลอ้ และระบบเตมิ ลม และปลอ่ ยลมยางจากการ ควบคมุ ภายในตวั รถ 3.3.1 ระบบพยุงตัวรถ (Suspension) อุปกรณ์ประกอบเคร่ืองพยุงตวั รถจะถูกเชอ่ื มต่อตัวรถ กับล้อทาหน้าท่ีถ่ายทอด/แบกรับํน้าหนักและแรงบิด ตา่ งๆ ที่เกดิ ข้ึนซึ่งระบบนี้จะทาให้เกิดความยืดหยุน่ ลดแรง กระแทกและแรงสั่นสะเทือนที่เกิดข้ึนในระหว่าง การขับเคลื่อนไปบนถนน และภูมิประเทศอย่างนุ่มนวล อปุ กรณป์ ระกอบชุด ของเคร่อื งพยุงตัวรถจะติดตง้ั แบบอิสระกบั แกนเพลาแต่ละแกนบนตวั ถังของรถแกนเพลา ที่หน่ึงและสองใช้เครอื่ งพยุงตัวรถแบบ คอยล์สปริงทางานร่วมกบั โช้คอัพ (strut type) ตดิ ต้ังเป็น อิสระ โดยมี แขนรบั แรงแบบปีกนกร่วมกับโช้คไฮดรอลิกและตวั กันกระแทก พร้อมดว้ ยแหนบแบบคอยลส์ ปริง ทาหน้าที่เป็น ตัวยืดหยุ่นแกนเพลาท่ีสามและสี่ติดตั้งแบบอิสระด้วยเคร่ืองพยุงตัวรถแบบคานรับแรงแกนเดียวพร้อมกับ กระบอกสูบ รบั แรงด้วยของเหลว และลม (hydro-pneumatic) ทาหน้าทีเ่ ป็นตัวยืดหย่นุ 3.3.2 ล้อยาง (Tyre) เป็นยางแบบยางสงครามท่ีไมม่ ยี างใน (Runflat) ขนาด 14.00R20 - 18PR เติมลมเต็มท่ดี ว้ ยแรงดันลม 87 ป./ตร.นว้ิ (0.6 MPa) แรงดนั ลมยาง นา้ หนักกดพ้ืน ท่ี 21.75 ป./ตร.น้ิว (0.15MPa) 23.2 ป./ตร.น้วิ (0.16MPa) ท่ี 87 ป./ตร.น้ิว (0.6MPa) 37.3 ป./ตร.นิ้ว (0.26MPa) 3.3.3 ระบบเตมิ ลมและปล่อยลมยางจากระบบควบคมุ (Central tire inflation &deflation system) ระบบเตมิ ลมและปลอ่ ยลมยางจากระบบควบคมุ สามารถเตมิ และปลอ่ ยลมใหก้ ับล้อยางแตล่ ะลอ้ หรอื พร้อม กันทกุ ลอ้ โดยใชอ้ ปุ กรณใ์ นการควบคุมด้วยไฟฟา้ และอปุ กรณน์ วิ แมติค เมอ่ื หยุดรถหรอื ในขณะที่รถ เคลื่อนท่ี เพอ่ื ความสะดวกตามความต้องการในการใชล้ มยางในการขับเคลือ่ นรถบนถนนแตล่ ะประเภท ทา ให้ รถมขี ดี ความสามารถในการขับเคลือ่ นไป บนสภาพภมู ปิ ระเทศพิเศษไดท้ ุกแบบ ยา่ นการปรบั แรงดนั ลมยางของ ระบบเติมลมและปล่อยลมยางจากระบบควบคมุ 21.75 ป./ตร.นิ้ว – 87 ป./ตร.นิ้ว ระยะเวลาในการเตมิ ลม (21.75 ป./ตร.นว้ิ – 87 ป./ตร.นิ้ว) 30 นาที ระยะเวลาในการถา่ ยลม ( 87 ป/ตร.น้วิ – 21.75 ป./ตร.นว้ิ ) 15 นาที 3.4 ระบบปฏิบตั กิ ารและควบคุม (Operation & Control System) ระบบปฏิบัติการและการควบคุม ประกอบดว้ ย ระบบห้ามล้อ, ระบบบงั คับเลย้ี ว, เคร่ืองกลไกในการควบคุมหีบ เฟืองเกียร์, เครอ่ื งกลไกในการ ควบคมุ น้ามันเชอ้ื เพลิง, ระบบพัดลมไฮดรอลกิ ส์, ระบบใบจักรไฮดรอลิก, กว้าน ฯลฯ ระบบควบคุมหา้ มลอ้ เปน็ แบบ ผ้าเบรก/ดรั้มเบรก และระบบการห้ามล้อแบบท่อลมคู่ เมื่อลงที่ลาดชนั จะใช้ ระบบห้ามลอ้ ด้วยไอเสีย รว่ มด้วย มีระบบเบรกเพื่อหยดุ พกั รถ เพือ่ ซ่อมบารุงรถหรือจอดรถอยูก่ ับท่ี ระบบ ควบคุมการห้ามล้อแบบท่อลมค่ทู าให้ม่นั ใจไดว้ ่าการควบคมุ การห้ามล้อสามารถทาได้ตามปกตเิ มื่อ แม้ว่าจะมี
ห น ้ า | 167 ทอ่ ลมท่อใดทอ่ หนง่ึ ชารุด ระบบห้ามล้อด้วยไอเสียสามารถใชเ้ ปน็ ห้ามล้อสารองเมอ่ื ขับรถไปตามทางลาดลง เนนิ 3.4.1 ระบบบังคับเลย้ี ว (Steering System) ระบบบังคบั เล้ยี วใชแ้ รงดันไฮดรอลิก ร่วมกบั คัน ชกั คนั สง่ เพอื่ ช่วยในการบงั คบั เลี้ยวและมีเครอื่ งกลไกในการ ควบคุมด้านหน้าด้วยเฟอื งขอ้ ตอ่ รปู ส่ีเหลี่ยมคาง หมู 4 ตวั ในการบงั คบั เล้ียวท้งั 4 ลอ้ รศั มวี งเลีย้ วตา่ สุดคือ 11 ม. 3.4.2 ระบบห้ามลอ้ และระบบห้ามลอ้ ชว่ ยดว้ ยลม (Brake system and auxiliary air System) ระบบห้ามล้อแบบดร้ัมเบรกหา้ มลอ้ ด้วยแรงดันลม ตดิ ต้ังเปน็ ระบบห้ามลอ้ หลกั ในการใชง้ าน โดยมี หา้ มลอ้ สาหรับจอดรถและหา้ มลอ้ ด้วยไอเสียจากเครื่องยนตเ์ ปน็ ห้ามลอ้ ชว่ ยเมอ่ื ลงท่ลี าดชัน ระบบวงจรเบรก ดว้ ยแรงดันลมแบบท่อค่ใู นระบบห้ามล้อ ทาให้สามารถมัน่ ใจไดว้ ่าการควบคมุ การใชง้ าน สามารถทางานได้ตอ่ เนือ่ งเมื่อวงจรใดวงจรหน่งึ ชารุด นอกจากนีย้ ังตดิ ตงั้ อปุ กรณห์ า้ มลอ้ ดว้ ยไอเสยี บน เคร่ืองยนต์ ใช้สาหรบั ลด ความเรว็ และใช้เป็นห้ามล้อสารองในขณะทีร่ ถกาลังเคลอ่ื นท่ีลงท่ีลาดชัน 3.4.3 กวา้ น (Winch) แบบของกว้าน TCJ-MD-70 ชนิดของการลดแรง TCJ-70-JS ความยาวลวด 55 ม. เส้นผา่ ศูนยก์ ลางลวดดึง 14 มม. อตั รากาลงั ในการกวา้ น 6 ตนั 4. ระบบปอ้ งกัน (Protection performance) รถเกราะล้อยาง 8x8 VN1 ตดิ ตง้ั แผน่ เกราะเหล็กกล้า ชนดิ แขง็ พเิ ศษและ เสรมิ โครงสร้าง ของตวั รถด้วยแผน่ เกราะแบบถอดเกบ็ ได้ การออกแบบติดตัง้ แผน่ เกราะใน ลกั ษณะนี้จะ สะท้อนให้เห็นถงึ แนวคิดในการใช้แผ่นเกราะแบบผสมผสาน เพื่อเพมิ่ ขีดความสามารถในการ ป้องกันใหก้ ับตัวรถได้ อยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพซงึ่ จะเปน็ ไปตามแบบของการพัฒนายานเกราะในเวทีโลกดา้ นข้าง ของตัวรถติดตงั้ เครอ่ื งยงิ ลกู ระเบดิ ควันข้างละ 3 ท่อ ลูกระเบดิ ควันสามารถสรา้ งฉากควันสขี าวเทาในระยะ 50 เมตรจากตัวรถ เพื่อ จากดั การตรวจการณ์และการเล็งยิงของขา้ ศึก ตัวรถติดตัง้ ระบบป้องกนั นชค. และระบบ ดับเพลงิ อตั โนมตั ิ โดยระบบปอ้ งกนั นชค.มขี ดี ความสามารถใน การแจ้งเตอื นและสรา้ งแรงดนั อากาศภายใน ตัวรถ เมอ่ื เกดิ เหตกุ ารณ์สงคราม นค., ระบบดบั เพลิงแบบ อตั โนมัตสิ ามารถใชง้ านได้ท้ังแบบอตั โนมตั ิและ บังคบั ด้วยมอื หลังจากเซนเซอรต์ รวจพบสญั ญาณเพลงิ ไหม้ ระบบดบั เพลงิ อตั โนมตั จิ ะเรม่ิ ตน้ ทางานโดย อตั โนมัติหรอื ใช้มอื ควบคมุ เพ่ือดับเพลงิ ในระยะเวลาแจ้งเตอื น น้อยกว่า 5 วนิ าที ติดตงั้ แผน่ เกราะปอ้ งกันชนดิ โลหะผสมแบบถอดได้ (Removable Composite Armor) สามารถปอ้ งกนั ได้ ในระดบั 3 ตามมาตรฐานนาโต้ 4569 4.1 ตัวรถ (Hull) ตัวรถประกอบด้วยเครื่องประกอบชดุ ของตวั รถ, แผน่ ปดิ ก้ันห้องเครื่องยนต์, พืน้ รถ, พืน้ ผวิ ภายในตวั รถ, แผน่ กันคล่ืน, ท่ีน่งั สาหรับพลประจารถ, ผู้โดยสารหรือกาลงั พลท่บี าดเจบ็ ฯลฯ ตวั รถตดิ ตั้งฝาปดิ -เปิด ช่องทางเขา้ - ออก ของพลขับ, ผบ.รถ, พลยงิ , ประตูเข้า-ออก ทางดา้ นหลังรถของ กาลังพล , ชอ่ งทางเขา้ -ออกฉุกเฉนิ ดา้ นบนตวั รถ, พัดลมเทอร์โบ,แผน่ เกราะดา้ นซา้ ย/ขวา, ฝาปดิ ห้อง เครื่องยนตท์ างดา้ นบน , แผน่ กน้ั ลอ้ ยางและเก้าอนี้ ่งั , ชอ่ งตรวจการณ์ ช่องยงิ และชอ่ งติดต้ังอุปกรณ์ตรวจ การณส์ ารอง ฯลฯ
ห น ้ า | 168 ตัวโครงสรา้ งของ รถสรา้ งจากแผน่ เหล็กกลา้ ทม่ี คี วามแข็งสูง ด้านหน้าสามารถปอ้ งกนั กระสนุ เจาะเกราะ แบบ API ขนาด 12.7x108 มม. ได้ทร่ี ะยะ 100 ม. และดา้ นขา้ ง (ซา้ ย/ขวา) สามารถปอ้ งกันกระสุนเจาะ เกราะแบบ AP ขนาด 7.62x51 มม. ไดท้ ่ีระยะ 150 ม. ช่องทางเขา้ - ออกทางด้านหลงั รถสามารถเปดิ -ปิดไดอ้ ย่างรวดเรว็ และเพ่ิมความปลอดภัยในการขน้ึ หรือลง จากรถใหก้ ับกาลังพล 4.2 การปอ้ งกนั ลูกระเบิดขว้างและทนุ่ ระเบิด (Grenade and Mine Resistance) รถเกราะ ลอ้ ยางลาเลียงพลแบบ 8x8 VN1 ไดน้ าเอาแผ่นเกราะเหล็กแบบตารางและโครงสรา้ งเกราะแบบ ถอดได้มา ติดตงั้ สะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงแนวคิดในการออกแบบโมดลู ของเกราะในการปอ้ งกัน เพื่อเพมิ่ ประสทิ ธิภาพในการ ป้องกันใหก้ บั ตวั รถ ให้มคี วามแขง็ แรงเพียงพอต่อการป้องกันการระเบิดของลูกระเบิดขว้าง และท่นุ ระเบดิ แบบ ขดี ความสามารถในการปอ้ งกนั ทุ่นระเบิด มาตรฐาน VN1 ปอ้ งกันลูกระเบิดขวา้ ง, สะเก็ดระเบดิ ของ NATO Standard no. 4569 level 1 (แผ่นเกราะเดมิ ของ กระสนุ ปืนใหญ่, และการระเบดิ ของท่นุ ระเบิด รถ) สังหารบุคคลใต้ตวั รถเกราะ 4.3 ระบบปอ้ งกนั นชค. (NBC Protection System) เป็นระบบที่ควบคุมการทางานแบบ กึ่งอตั โนมตั ิในการป้องกนั พลประจารถ และกาลังพล รวมทงั้ ยุทโธปกรณ์ ทอ่ี ยู่ภายในตัวรถจากความเสยี หายท่ี จะเกดิ ขึน้ ในระหวา่ งสงคราม นชค. และยังสามารถนามาใชง้ านเพื่อ ระบายอากาศภายในตัวรถเมื่อไมอ่ ยู่ใน สภาวะสงคราม นชค. ได้ 4.4 ระบบดบั เพลงิ อตั โนมตั ิ (Automatic Fire Extinguisher System) ระบบดบั เพลงิ สามารถทางานได้ทัง้ แบบอตั โนมตั ิและบงั คบั ดว้ ยมือ หลงั จากทีเ่ คร่ืองตรวจจบั ตรวจพบเปลว เพลิงตวั เครอ่ื งจะ ทางานโดยอัตโนมตั พิ ร้อมทัง้ สง่ สญั ญาณเตือนไปยังพลประจารถและกาลงั พลด้วยสัญญาณ ไฟและเสียง นอกจากนนั้ ยงั มีถงั ดบั เพลิงแบบเคลื่อนทไี่ ด้อีก3 ถงั เพื่อใหก้ าลงั พลท่ีอยใู่ นรถใชด้ บั เพลิง 4.5 ระบบเคร่ืองปรับอากาศ (Air Conditioner) ระบบเคร่ืองปรบั อากาศประกอบดว้ ยชดุ ควบคมุ คอมเพรสเซอร์, ระบบระบายอากาศภายนอก 1 ชดุ , ระบบ ปรับอากาศภายใน 3จดุ ตรงตาแหนง่ พลขับ, ผู้บงั คบั รถ, ในห้องโดยสารของกาลังพล เคร่ืองปรบั อากาศสามารถระบายอากาศ และปรับอณุ หภูมิให้กับกาลงั พลและยทุ โธปกรณ์ภายในรถทาให้ สภาพแวดลอ้ มภายในรถมบี รรยากาศทส่ี บาย ขดี ความสามารถในการทาความเยน็ 10 kW. ใชไ้ ฟกระแสตรง 26 + 4 V. อุณหภมู ิแวดลอ้ ม 18 °C – 55 °C นา้ ยาหล่อเยน็ R134a ชอ่ งระบายอากาศชุดที่1 ติดต้งั หนา้ ตัวรถ เพื่อปรบั อากาศให้กบั พลขับและ ผบ.รถ ชอ่ งระบายอากาศชุดที่ 2 ติดตงั้ อยทู่ างด้านซ้ายของหอ้ งโดยสารใช้สาหรบั เพมิ่ ความสะดวกสบายให้กับ กาลงั พลในเรือ่ งของสภาพอากาศแวดลอ้ ม
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171