Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชา การจัดดำเนินการการซ่อมบำรุง

วิชา การจัดดำเนินการการซ่อมบำรุง

Published by qacavalry, 2021-10-28 02:43:31

Description: วิชา การจัดดำเนินการการซ่อมบำรุง เล่มที่ ๑
รหัสวิชา ๐๑๐๒๒๔๐๖๐๑
หลักสูตร นายสิบยานยนต์
แผนกวิชายานยนต์ กศ.รร.ม.ศม.

Search

Read the Text Version

ห น ้ า | 97 ตอนท่ี 3 เครอ่ื งดบั เพลิง 1. กล่าวท่ัวไป เพลิงท่ีเกิดลุกไหม้ขึ้นในรถเป็นอันตรายอย่างย่ิง และน่ากลัวที่สุด สำหรับหน่วยยานยนต์ ดังน้ันหากเกิดเพลิงไหม้ขึ้นจะต้องรีบดับเสียก่อนที่จะลุกลามใหญ่โต โดยใช้เคร่ืองดับเพลิงประจำรถ และ เจ้าหน้าที่ผู้เก่ียวข้อง ควรจะมีความเข้าใจอย่างถ่องแท้เกี่ยวกับประเภทต่าง ๆ ของเพลิง ชนิดของเครื่อง ดับเพลิง และวธิ ีการดบั เพลิงที่กำลังลุกไหม้ จะต้องทราบวธิ ีการใช้เคร่อื งดับเพลิง และอุปกรณ์ปอ้ งกันเพลิง โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การระงับความตนื่ ตระหนกตกใจอันเป็นสาเหตใุ หน้ ำความรูไ้ ปใช้ในการดบั เพลงิ ไม่ได้ 2. หลักทัว่ ไปในการดับเพลิง เมื่อเร่ิมเกดิ เพลิงไหมล้ ุกไหมข้ ้ึน 2.1 คุมสติ 2.2 แบ่งประเภทของเพลงิ 2.3 เลอื กเครอ่ื งดบั เพลิงทีถ่ ูกตอ้ ง 2.4 เข้าไปใหใ้ กล้เพลิงท่สี ดุ 2.5 เปดิ เครือ่ งดับเพลิง 2.6 ฉีดไปท่ตี ้นเพลงิ 3. การแบ่งประเภทของเพลิง 3.1 เพลิงประเภท \"ก\" (CLASS \"A\") เพลิงประเภทน้ีเกิดจากวัสดุที่ติดไฟ เช่น ผ้า กระดาษ ไม้ ฯลฯ 3.2 เพลิงประเภท \" ข \" (CLASS \" B \") เพลิงประเภทนเ้ี กดิ จากสารไวไฟ เชน่ น้ำมันแก๊สโซลนี และ น้ำมนั เช้อื เพลิง หรือนำ้ มนั หลอ่ ลืน่ ฯลฯ 3.3 เพลงิ ประเภท \" ค \" (CLASS \" C \") เพลิงประเภทนีเ้ กดิ จากกระแสไฟฟ้า 3.4 เพลิงประเภท \"ง\" (CLASS \"D\") เพลิงประเภทน้ีเกิดจากโลหะที่ติดไฟ เช่น โลหะแมกนีเซียม ฯลฯ 4. ชนิดของเครือ่ งดับเพลงิ 4.1 ชนิดป๊ัมน้ำ (WATER TYPE) เคร่ืองดับเพลิงชนิดน้ีใช้น้ำเป็นตัวดับเพลิง อย่าใช้เคร่ือง ดับเพลิงชนดิ ใชน้ ำ้ ในการดบั เพลงิ ทเ่ี กดิ จากกระแสไฟฟา้ หรือนำ้ มนั เชอ้ื เพลงิ 4.2 ชนิดโซดา และกรด (SODA - ACID) เคร่ืองดับเพลิงชนิดน้ีใช้น้ำเป็นตัวดับเพลิง ภายใน เคร่ืองดับเพลิงตอนบนจะมีขวดโซดาไบคาร์บอเนต (NaHCO3) และกรดกำมะถัน (H2SO4 ) ซึ่งแยกกันอยู่ เมื่อควำ่ เครือ่ งดบั เพลงิ ลงจะทำให้โซดา และน้ำกรดผสมทำปฏิกิรยิ ากัน เกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ขน้ึ ขบั ดนั ให้น้ำพุ่งออกจากเคร่ืองดับเพลิง อย่าใช้เคร่ืองดับเพลิงชนิดโซดา และกรด ดับเพลิงท่ีเกิดจากกระแสไฟฟ้า หรอื นำ้ มันเชือ้ เพลงิ 4.3 ชนิดฟองเหลว (FOAM) เคร่ืองดับเพลิงชนิดน้ีใช้สารเคมีซึ่งเป็นฟองเหลวซ่ึงประกอบด้วย น้ำยาโซเดียมไบคาร์บอเนต (NaHCO3) กับน้ำยาแมกนีเซียมซัลเฟต (MgSO4 ) โดยปกติน้ำยาท้ังสองชนิดน้ี จะบรรจุยู่ในภาชนะแยกกันอยู่ เมื่อควำ่ เคร่ืองดับเพลิงลง จะทำให้น้ำยาสองชนิดผสมกัน ทำปฏิกิริยาเกิด แก๊ส และฟองเหลวขับดันออกจากเครื่องดับเพลิง เครอื่ งดับเพลิงชนิดน้ีมีขนาด และรูปร่างเหมือน กับเครื่อง ดบั เพลิงชนดิ โซดา และกรด 4.4 ชนิด โบรไมไตรฟลูออโรมีเธน (CF3C) เครื่องดับเพลิงชนิดนี้ใช้สารโบรไมไตรฟลูออโรมีเธน ซ่ึงรู้จักท่ัวไปในช่ือของฟรีออน 1301 หรือ เฮลอน 1211 ในรูปของแก๊สเหลวเป็นตัวดับเพลิง และใช้ดับเพลิง ประเภท ข และ ค ที่ให้ความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพดีเป็นพเิ ศษ แตค่ วรหลีกเลี่ยงการหายใจ เอา

ห น ้ า | 98 ไอระเหยของแก๊สดับเพลิงชนิดนี้เข้าไป เน่ืองจากแก๊สนี้เป็นพิษ รถซ่ึงใช้เคร่ืองดับเพลิงชนิดนี้คือรถตระกูล รถถังเบา 21 (สกอร์เปี้ยน) ทุกแบบ รถถงั 30 (T96-2) และ รถสายพานกู้ซ่อม T 653 รวมทั้งเครื่องดบั เพลิง ชนิดมือถือขนาด 2 3/4 ปอนด์ ท่ีใช้อยูก่ บั รถต่าง ๆ 4.5 ชนิด ผงเคมแี ห้ง (DRY CHEMICAL) เครื่องดับเพลิงชนิดน้ใี ช้สารเคมีบางชนิดเช่นโซเดียมไบ คาร์บอเนต หรอื โปแตสเซ่ียมไบคาร์บอเนต เปน็ ตัวดับเพลิง โดยใช้แก๊สไนโตรเจน เป็นตัวขับดันผงเคมีออก จากเครอ่ื งดบั เพลิง รถซ่ึงใช้เครอ่ื งดับเพลงิ ชนิดน้ีคือรถเกราะ ว-ี 150 ทกุ แบบ และรถถงั เบา 32 \"สตงิ เรย\"์ 4.6 ชนิด คาร์บอนเทตระคลอไรด์ (CCL3) ปัจจบุ นั เลิกใช้ เคร่ืองดับเพลิงชนิดนีใ้ ช้สารคาร์บอนเท ตระคลอไรด์ ซ่ึงเป็นของเหลวระเหยเร็วเป็นตัวดับเพลิง ปกตินิยมบรรจุสารดับเพลิงน้ีไว้ในขวดแก้ว และใช้ ดับเพลิงด้วยการขว้างเข้าไปในเพลิงให้ขวดแตก เม่ือสารดับเพลิงได้รับความร้อนก็จะระเหยอย่างรวดเร็ว ครอบคลุมเพลิงไว้ ป้องกนั มิให้ออกซิเจนในอากาศเขา้ ไปทำปฏิกิริยากบั เชื้อเพลิง เมื่อขาดออกซเิ จนเพลิงกจ็ ะ ดับ 4.7 ชนิด คาร์บอนไดอ๊อกไซด์ (CO2) เคร่ืองดับเพลิงชนิดนี้ใช้แก๊สคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ ซึ่งมี คุณสมบัติไม่ช่วยให้ติดไฟ และหนักกว่าอากาศเป็นตัวดับเพลิง โดยปกติจะบรรจุแก๊สคาร์บอนได อ๊อกไซด์ท่ถี กู อัดตัวจนเป็นแกส๊ เหลวไว้ในเครื่องดับเพลงิ ซึ่งเปน็ ทอ่ โลหะรูปทรงกระบอก เครื่องดบั -เพลิงชนิด คารบ์ อนไดอ๊อกไซด์ ที่ใชก้ ับยานยนต์ทหาร มอี ยู่ 2 ขนาด คือ - เคร่อื งดับเพลงิ ประจำท่ี บรรจนุ ำ้ ยาดับเพลิง 10 ปอนด์ - เครอ่ื งดับเพลิงเคลือ่ นย้ายได้ บรรจนุ ำ้ ยาดบั เพลงิ 5 ปอนด์ หมายเหตุ ก่อนใช้เคร่ืองดับเพลิง ซึ่งเกิดลุกไหม้ข้ึนในห้องเคร่ืองยนต์ จะต้องดับเครื่องยนต์เสียก่อน และ ต้องปดิ สวติ ซ์แบตเตอรปี่ ระจำรถ ด้วย 5. ตารางการใช้เครอ่ื งดบั เพลิง ชนดิ ของเครอื่ งดบั เพลิง เพลงิ ประเภท เพลิงประเภท เพลิงประเภท เพลงิ ประเภท “ก” “ข” “ค” “ง” - นำ้ ดี ห้ามใช้ ห้ามใช้ ห้ามใช้ - โซดา และกรด ดีมาก หา้ มใช้ ห้ามใช้ ห้ามใช้ - คารบ์ อนไดออ๊ กไซด์ ดี ดมี าก ดีมาก ดี - ฟองเหลว (โฟม) ห้ามใช้ ดมี าก ดมี าก หา้ มใช้ - โบรโมไตรฟลอู อโรมีเทน ห้ามใช้ ดมี าก ดีมาก ห้ามใช้ - กรวดทราย ดี ห้ามใช้ หา้ มใช้ ดี - คาร์บอนเทตระคลอไรด์ ดี ดี ดี หา้ มใช้ – ผงเคมแี หง้ ดีมาก ดมี าก ดีมาก ต้องใชเ้ คมี พิเศษ 6. หลักการใชเ้ ครอ่ื งดบั เพลิง และขอ้ ควรระมดั ระวัง 6.1 ใช้เคร่อื งดบั เพลิงให้ถกู ตอ้ งตามประเภทของเพลงิ 6.2 อยา่ เปิดเครื่องดบั เพลงิ กอ่ นพรอ้ มทีจ่ ะใชง้ าน 6.3 อยา่ วางเครือ่ งดบั เพลงิ ไว้กับพ้นื แลว้ ถอื ทีป่ ลายสาย 6.4 เข้าไปให้ใกลเ้ พลิงมากท่สี ุด 6.5 ฉดี น้ำยาเข้าทตี่ น้ เพลิง ไม่ใชฉ่ ีดที่เปลวเพลงิ

ห น ้ า | 99 6.6 เม่ือเพลิงดับแล้ว อย่าปิดเครื่องดับเพลิงทันที ให้ฉีดต่อไปจนละอองน้ำยาจับคลุมทั่ว จุดต้นเพลิง 6.7 เครอื่ งดับเพลิงทีใ่ ชแ้ ลว้ ตอ้ งสง่ ไปทำการบรรจุใหมโ่ ดยเรว็ 6.8 อย่าทดสอบเคร่อื งดับเพลงิ ดว้ ยการฉีดดู 6.9 ถ้าได้รับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ โดยการหายใจเข้าไปมากจนเกิดอาการวิงเวียนศีรษะหรือ หน้ามืด จะต้องรีบชว่ ยเหลือทันที โดยรีบนำผู้ป่วยออกสู่อากาศบริสุทธ์ิ แล้วผายปอด เช่นเดยี วกับการช่วยคน จมน้ำ 6.10 เครื่องดับเพลิงแบบคาร์บอนไดออกไซด์ จะต้องเก็บไว้ในที่มีการระบายอากาศอย่างเพียงพอ เพื่อปอ้ งกนั แก๊สร่วั ไหล และตอ้ งเก็บไวใ้ นที่มอี ุณหภมู ไิ ม่เกนิ 140 องศา ฟ. 7. การตรวจสภาพเครอื่ งดับเพลิง 7.1 เครื่องดับเพลิงชนิดใช้น้ำ ให้ตรวจสภาพภายนอกด้วยสายตา และตรวจการใช้งาน ประจำเดอื น 7.2 เคร่ืองดับเพลิงชนิดโซดา และกรด ให้ตรวจสภาพภายนอกด้วยสายตา เปิดฝาครอบออก ตรวจขวดน้ำกรด และน้ำยาภายในเคร่ืองดับเพลิง ประจำเดือน และการตรวจประจำปี จะต้องถ่ายน้ำยาเก่า ทงิ้ และเปลย่ี นนำ้ ยาใหม่ 7.3 เคร่ืองดับเพลิงชนิดฟองเหลว ให้ตรวจสภาพภายนอกด้วยสายตา เปิดฝาครอบออกตรวจดู ขวดนำ้ กรด และนำ้ ยาภายในเครื่องดับเพลิงประจำเดือน 7.4 เคร่ืองดับเพลิงชนิดเคมีผง ให้ตรวจสภาพของลวด และตะกั่วผนึกกระเด่ืองบังคับท่อแก๊ส เครื่องวดั แรงดัน ท่อยาง และหัวฉีด สารดบั เพลิงประจำเดือนทุก 6 เดอื น ให้ถอดท่อบรรจุผงเคมีช่ังน้ำหนัก ถา้ นำ้ หนกั ขาดหายไปมากกวา่ 10 เปอร์เซ็นต์ ใหเ้ ปล่ยี นทอ่ บรรจุผงเคมใี หม่ 7. 5 เครือ่ งดบั เพลิงชนดิ คาร์บอนเทตระคลอไรด์ ให้ตรวจสภาพภายนอก ประจำเดอื น 7.6 เครื่องดับเพลิงชนิดโบรไมไตรฟลูออโรมีเธน ให้ตรวจสภาพภายนอกด้วยสายตา และต้อง ตรวจสอบด้วยการชั่งน้ำหนักทุก 6 เดือน ถ้าน้ำหนักขาดหายไปมากกว่า 10 เปอร์เซ็นต์ ให้เปล่ียนท่อน้ำยา ดบั เพลงิ หรือนำไปบรรจุใหม่ 7.7 เคร่ืองดับเพลิงชนิดคาร์บอนไดออกไซด์ ให้ตรวจสภาพของลวดร้อย และตะกั่วผนึกกระเดื่อง บังคับล้ินเปิดน้ำยาและสภาพภายนอกโดยท่ัวไปของเครื่องดับเพลิง ถ้าผนึกตะก่ัวและลวดร้อยหลุดออก ให้ ถอดท่อน้ำยาดับเพลิงออกชั่งตรวจสอบน้ำหนัก โดยปกติต้องตรวจด้วยการชั่งน้ำหนักทุก 6 เดือนถ้าน้ำหนัก ขาดหายไปมากกวา่ 10 เปอรเ์ ซ็นต์ ให้เปลี่ยนท่อนำ้ ยาดับเพลงิ หรือนำไปบรรจใุ หม่ เคร่อื งดับเพลิงประจำที่ขนาด 10 ปอนด์ น้ำหนกั ท่อบรรจุ 26 ปอนด์ น้ำหนักของน้ำยาดับเพลิง 10 ปอนด์ น้ำหนักรวม 36 ปอนด์ ฉีดได้นาน 28 วนิ าที หมายเหตุ เม่ือนำไปชง่ั ถา้ น้ำหนักรวมนอ้ ยกวา่ 35 ปอนด์ ใหส้ ง่ ไปบรรจใุ หม่ เครอ่ื งดบั เพลิงเคล่ือนย้ายไดข้ นาด 5 ปอนด์ นำ้ หนักท่อบรรจุ 11.5 ปอนด์ น้ำหนักของนำ้ ยาดับเพลิง 4 ปอนด์ นำ้ หนักรวม 16.5 ปอนด์

ห น ้ า | 100 ฉีดไดน้ าน 18 วินาที หมายเหตุ เม่อื นำไปชั่ง ถา้ นำ้ หนักรวมนอ้ ยกวา่ 16 ปอนด์ ใหน้ ำไปบรรจุใหม่ การตรวจเครอ่ื งดบั เพลิงประจำทขี่ องยานยนตส์ ายพาน ให้ตรวจเคร่ืองบังคับการทำงานของเครื่องดับเพลิงท้ังภายนอกและภายในรถ โดยตรวจลวดร้อย และผนึกตะก่ัวของคันดึงสายลวดบังคับล้ินเปิดน้ำยาดับเพลิง จะต้องอยู่ในสภาพเรียบร้อย และพร้อมท่ีจะใช้ งานได้ ตรวจความเรียบร้อย ความมั่นคง และการขันแน่นของเหล็กรัดท่อน้ำยาดับเพลิง หัวต่อและท่อน้ำยา ดบั เพลงิ และหวั ฉดี ตา่ ง ๆ ***********


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook