Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชา การจัดดำเนินการการซ่อมบำรุง

วิชา การจัดดำเนินการการซ่อมบำรุง

Published by qacavalry, 2021-10-28 02:43:31

Description: วิชา การจัดดำเนินการการซ่อมบำรุง เล่มที่ ๑
รหัสวิชา ๐๑๐๒๒๔๐๖๐๑
หลักสูตร นายสิบยานยนต์
แผนกวิชายานยนต์ กศ.รร.ม.ศม.

Search

Read the Text Version

โรงเรียนทหารม้า วชิ า การจัดดำเนนิ การการซอ่ มบำรงุ เลม่ ที่ ๑ รหสั วิชา ๐๑๐๒๒๔๐๖๐๑ หลักสตู ร นายสบิ ยานยนต์ แผนกวิชายานยนต์ กศ.รร.ม.ศม. ปรัชญา รร.ม.ศม. “ฝกึ อบรมวิชาการทหาร วทิ ยาการทนั สมยั ธำรงไวซ้ ่ึงคณุ ธรรม”

ปรัชญา วสิ ัยทศั น์ พนั ธกจิ วัตถปุ ระสงค์การดำเนินงานของสถานศึกษา เอกลกั ษณ์ อัตลกั ษณ์ ๑. ปรชั ญา ทหารม้าเป็นทหารเหล่าหนึ่งในกองทัพบกท่ีใช้ม้าหรือส่ิงกำเนิดความเร็วอ่ืน ๆ เป็นพาหนะเป็นเหล่าท่ีมีความสำคัญ และจำเป็นเหล่าหน่ึง สำหรับกองทหารขนาดใหญ่ เช่นเดียวกับเหล่าทหารอ่ืน ๆ โดยมีคุณลักษณะท่ีมีความ คล่องแคล่ว รวดเร็วในการเคลื่อนที่ อำนาจการยิงรุนแรง และอำนาจในการทำลายและข่มขวัญ อันเป็น คณุ ลักษณะท่ีสำคัญและจำเป็นของเหล่า โรงเรียนทหารมา้ ศูนยก์ ารทหารม้า มีปรชั ญาดงั น้ี “ฝึกอบรมวิชาการทหาร วิทยาการทนั สมยั ธำรงไว้ซึ่งคุณธรรม” ๒. วสิ ัยทัศน์ “โรงเรียนทหารม้า ศูนย์การทหารม้า เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้วิชาการเหล่าทหารม้าท่ีทันสมัย ผลติ กำลงั พลของเหลา่ ทหารมา้ ให้มลี กั ษณะทางทหารทด่ี ี มีคณุ ธรรม เพ่ือเป็นกำลงั หลกั ของกองทพั บก” ๓. พนั ธกิจ ๓.๑วิจยั และพัฒนาระบบการศกึ ษา ๓.๒ พัฒนาคณุ ภาพครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา ๓.๓ จัดการฝกึ อบรมทางวิชาการเหล่าทหารม้า และเหล่าอน่ื ๆ ตามนโยบายของกองทัพบก ๓.๔ผลติ กำลังพลของเหลา่ ทหารม้า ให้เปน็ ไปตามวัตถุประสงคข์ องหลักสตู ร ๓.๕ พัฒนาสอื่ การเรียนการสอน เอกสาร ตำราของโรงเรียนทหารมา้ ๓.๖ปกครองบังคับบัญชากำลังพลของหน่วย และผู้เข้ารับการศึกษาหลักสูตรต่างๆ ให้อยู่บนพื้นฐาน คณุ ธรรม จริยธรรม ๔. วัตถุประสงคข์ องสถานศกึ ษา ๔.๑เพ่ือพัฒนาครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ให้กับผ้เู ข้ารับการศกึ ษาได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ๔.๒ เพอื่ พฒั นาระบบการศึกษา และจดั การเรียนการสอนผ่านส่ืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ ใหม้ ีคุณภาพอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ๔.๓ เพ่ือดำเนินการฝึกศึกษา ให้กับนายทหารชั้นประทวน ที่โรงเรียนทหารม้าผลิต และกำลังพลท่ีเข้ารับ การศกึ ษา ให้มคี วามรู้ความสามารถตามทห่ี นว่ ย และกองทัพบกตอ้ งการ ๔.๔ เพ่ือพฒั นาระบบการบรหิ าร และการจัดการทรพั ยากรสนบั สนุนการเรยี นรู้ ให้เกิดประโยชนส์ ูงสุด ๔.๕ เพ่อื พัฒนาปรับปรุงสื่อการเรียนการสอน เอกสาร ตำรา ให้มคี วามทนั สมยั ในการฝึกศึกษาอยา่ งตอ่ เนื่อง ๔.๖เพ่ือพัฒนา วิจัย และให้บริการทางวิชาการ ประสานความร่วมมือ สร้างเครือข่ายทางวิชาการกับ สถาบนั การศกึ ษา หน่วยงานอื่นๆ รวมทั้งการทำนบุ ำรงุ ศลิ ปวัฒธรรม ๕. เอกลกั ษณ์ “เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้ทางวิชาการ และผลิตกำลังพลเหล่าทหารม้าอย่างมีคุณภาพเป็นการ เพม่ิ อำนาจกำลงั รบของกองทพั บก” ๖. อัตลกั ษณ์ “เดน่ สง่าบนหลังม้า เกง่ กลา้ บนยานรบ”

สารบัญ หน้า 1 ลำดับ วิชา 15 1 ระบบซอ่ มบำรุงของกองทัพบก 22 2 เอกสารซ่อมบำรงุ 38 3 การซ่อมบำรงุ ทางธรุ การ และ แบบพิมพ์ประวตั ิ 91 4 การสง่ กำลงั บำรงุ ช้ินสว่ นซ่อม 5 การระมดั ระวงั ความปลอดภยั และ เครอ่ื งดังเพลงิ ...................................................

หน้า |1 แผนกวชิ ายานยนต์ กองการศกึ ษา โรงเรียนทหารมา้ ศูนยก์ ารทหารมา้ คา่ ยอดศิ ร สระบรุ ี ---------- เอกสารนำ วิชา ระบบซอ่ มบำรงุ ของกองทพั บก หมายเลขวชิ า ยน……………… ----------------------- 1. ขอ้ แนะนำในการศกึ ษา วิชา ระบบซ่อมบำรุงของกองทัพบก จะทำการสอนแบบเชิงประชุมโดยมี ความมุ่งหมายเพ่ือสอนให้ นักเรียนทราบถึงระบบการซ่อมบำรุงของกองทัพบกไทยโดยเฉพาะอย่างย่ิงการซ่อมบำรุงข้ันที่ 1 และขั้นท่ี 2 ซึ่งเป็นการซ่อมบำรุงระดับหน่วย เพ่ือให้นักเรียนเข้าใจในระบบ การซ่อมบำรุง และสามารถดำเนินงานการ ตรวจสภาพ การกำกบั ดแู ลกิจการซอ่ มบำรุงในหนว่ ยได้ 2. หวั ขอ้ สำคัญในการศึกษา 2.1 ให้นักเรียนศึกษาระเบียบ ทบ.วา่ ด้วยการซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์ พ.ศ. 2524 ลง 22 เม.ย.24 และคำสั่ง ทบ.ท่ี 200/9932 ลง 8 ส.ค.04 เรื่องหลกั การซอ่ มบำรุงยุทโธปกรณ์สายสรรพาวธุ ในโครงการฯ 2.2 ให้นกั เรยี นทราบ 2.2.1 คำจำกดั ความท่สี ำคัญ 2.2.2 หลกั การซอ่ มบำรุง 2.2.3 ประเภทการซ่อมบำรงุ และข้ันการซอ่ มบำรุง 2.2.4 ความรับผิดชอบในการซอ่ มบำรุงยทุ โธปกรณ์ 2.2.5 วธิ ีการปฏบิ ัติตามลำดับขัน้ การซอ่ มบำรงุ 2.2.6 ความรับผิดชอบทางเทคนคิ 2.2.7 การตรวจสภาพยุทโธปกรณ์ และการรายงานผลการตรวจ 2.2.8 การดดั แปลงแกไ้ ขยทุ โธปกรณ์ 2.2.9 ตารางประมาณเวลาการซ่อมบำรงุ 3. งานมอบ ให้นักเรยี นอ่าน 3.1 ระเบียบกองทัพบก ว่าดว้ ยการซ่อมบำรุงยทุ โธปกรณ์ พ.ศ.2524 ลง 22 เม.ย.24 3.2 คำส่ังกองทพั บก ท่ี 200/9932 ลง 8 ส.ค.04 3.3 คำสัง่ กองทพั บก ท่ี 400/2507 ลง 9 พ.ย.07 และ คท.37 - 2810 3.4 เอกสารเพ่ิมเติม 4. เอกสารจา่ ยพร้อมเอกสารนำ: เอกสารเพ่ิมเติม ***************

หน้า |2 แผนกวชิ ายานยนต์ กองการศึกษา โรงเรียนทหารม้า ศนู ยก์ ารทหารมา้ คา่ ยอดิศร สระบุรี ---------- เอกสารเพมิ่ เตมิ วชิ า ระบบซอ่ มบำรงุ ของกองทัพบก หมายเลขวิชา ยน……. ---------- 1. กล่าวนำ เหล่าทหารม้า กองทัพบกไทย มีอาวุธยุทโธปกรณ์ใช้งานอยู่หลายชนิด หลายประเภท ยุทโธปกรณ์เหล่าน้ีจะต้องได้รับการซ่อมบำรุงท่ีดีอย่างต่อเนื่องกัน เพื่อให้สามารถใช้ราชการได้ดี และมีอายุ ยาวนานท่ีสุด ดังน้ันพลประจำยุทโธปกรณ์ เจ้าหน้าที่ซ่อมบำรุงและเจ้าหน้าที่ผู้เก่ียวข้องจะต้องเข้าใจหลักการ ซ่อมบำรุง และขอบเขตในการซอ่ มบำรุงในหน่วยตามหน้าท่ซี ง่ึ ตนรับผดิ ชอบอยูโ่ ดยถอ่ งแท้ 2. ความมุ่งหมายและมาตรฐานที่ต้องการ เพื่อให้นักเรียนทราบระบบการซ่อมบำรุงของกองทัพบกไทย ทุก ประเภท และทุกข้ันตอน โดยเฉพาะอย่างย่ิงการซ่อมบำรุงระดับหน่วย ข้ันที่ 1 และขั้นท่ี 2 ซึ่งเป็น การซ่อม บำรุงข้ันมูลฐาน จนสามารถดำเนินงานการซ่อมบำรุง ตรวจสภาพ และกำกับดูแลกิจการซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามคำสั่ง ทบ.ท่ี 200/9932 ลง 8 ส.ค.04, คำส่ัง ทบ. ที่ 400/2507 ลง 9 พ.ย.07 และระเบียบ ทบ.วา่ ด้วยการซอ่ มบำรงุ ยุทโธปกรณ์ พ.ศ.2524 ลง 22 เม.ย.24 3. ระเบยี บ และคำส่ัง ทบ. เก่ียวกบั การซอ่ มบำรุงยุทโธปกรณ์ 3.1 ใหย้ กเลกิ คำส่ัง ทบ.ท่ี 337/24721 ลง 22 พ.ย. 98 เรอื่ ง การซอ่ มบำรุงส่ิงอปุ กรณ์ และยทุ โธปกรณ์ 3.2 ข้อความในระเบียบ คำสั่ง คำชี้แจงและคำแนะนำอ่ืนใดของ ทบ. ที่ขัดแย้งกับระเบียบน้ี หรือท่ีกำหนด ไว้ในระเบยี บนีแ้ ล้ว ให้ใชข้ ้อความในระเบียบน้แี ทน ตอนที่ 1 4. คำจำกัดความทีส่ ำคญั 4.1 ยุทโธปกรณ์ (Equipment) หมายถึง ส่ิงอุปกรณ์ (สป.) ที่จัดประจำบุคคล หรือประจำหน่วยตามที่ กำหนดไว้ในอัตราการจัดและยุทโธปกรณ์ (อจย.) ตามอัตราส่ิงอุปกรณ์ (อสอ.) หรือ ตามอัตราอ่ืนใด และ หมายรวมถึงสิ่งอุปกรณ์ประเภท 4 ส่ิงอุปกรณ์ในการพัฒนาและส่ิงอุปกรณ์ในความรับผิดชอบของคลังสายยุทธ บรกิ าร เว้นเครื่องบิน 4.2 การซ่อมบำรุง (Maintenance) หมายถึง การกระทำใด ๆ ท่ีมุ่งหมายจะรักษายุทโธปกรณ์ ต่าง ๆ ให้ อยู่ในสภาพที่ใช้การได้หรือมุ่งหมายท่ีจะทำให้ยุทโธปกรณ์ท่ีชำรุดกลับคืนมาอยู่ในสภาพที่ใช้การได้ และให้ หมายรวมถึงการตรวจสภาพ การทดสอบ การบริการ การซ่อมแก้ การซ่อมใหญ่ การซ่อมสร้าง การดัดแปลง และการซอ่ มคืนสภาพ 4.3 การตรวจสภาพ (Inspection) หมายถึง การพิจารณาถึงสภาพการใช้การได้ของยุทโธปกรณ์โดยการ เปรยี บเทยี บคุณลักษณะทางฟสิ ิกส์ ทางเคมี ทางจกั รกล และทางไฟฟา้ ตาม มาตรฐานทีไ่ ดก้ ำหนดไว้ 4.4 การทดสอบ (Test) หมายถึง การพิสูจน์ทราบสภาพการใช้การได้ของยุทโธปกรณ์ และการ ค้นหา ขอ้ บกพร่องทางไฟฟ้า ทางเคมี และทางจักรกล โดยการใชเ้ คร่อื งมอื หรอื วธิ กี ารทดสอบตา่ ง ๆ 4.5 การบริการ (Service) หมายถึง การทำความสะอาด การดูแลรักษาการประจุไฟฟ้า การเติมน้ำมัน เชื้อเพลิง น้ำมันหล่อล่ืน การเติมสารระบบความเย็น และการเติมลม การเติมก๊าซ นอกจากน้ัน ยังหมาย รวมถงึ ความต้องการบริการพเิ ศษตา่ ง ๆ ที่กำหนดข้ึนตามความจำเปน็ เช่นการพน่ สี การหล่อล่นื ฯลฯ เปน็ ตน้ 4.6 การซ่อมแก้ (Repair) หมายถึง การซ่อมยุทโธปกรณ์ชำรุดให้ใช้การได้และยังหมายรวมถึง การปรับ การถอดเปลยี่ น การเช่อื ม การยำ้ และการทำให้แขง็ แรง

หน้า |3 4.7 การซ่อมใหญ่ (Overhaul) หมายถึง การซ่อมยุทโธปกรณ์ท่ีชำรุดให้ใช้การได้อย่างสมบูรณ์ โดยกำหนด มาตรฐานการซ่อมบำรุงไว้เป็นเอกสารโดยเฉพาะการซ่อมใหญ่อาจกระทำให้เสร็จได้โดย การแยกส่วนประกอบ การตรวจสภาพสว่ นประกอบ การประกอบส่วนประกอบย่อย และชน้ิ สว่ นต่าง ๆ ทั้งนีจ้ ะต้องมีการตรวจสภาพ และทดสอบการปฏบิ ตั ิการประกอบดว้ ย 4.8 การซ่อมสร้าง (Rebuild) หมายถึง การซ่อมยุทโธปกรณ์ท่ีชำรุดให้กลับคืนสู่สภาพมาตรฐาน อัน ใกลเ้ คยี งกบั สภาพเดิม หรอื เหมอื นของใหม่ ท้งั ในรูปร่าง คณุ สมบตั ิในการทำงาน และอายขุ องการ ใชง้ าน การ ซ่อมสร้างอาจกระทำให้สำเร็จได้โดยการถอดช้ินส่วนของยุทโธปกรณ์น้ันออก เพ่ือนำไป ตรวจสภาพช้ินส่วน และส่วนประกอบ และทำการซ่อมแก้ หรือเปลี่ยนชิ้นส่วน และส่วนประกอบที่ชำรุด หรอื ใช้การไม่ได้แล้วนำมา ประกอบเปน็ ยุทโธปกรณ์ชน้ิ ต่อไป 4.9 การดัดแปลงแก้ไข (Modification) หมายถึง การเปล่ียนแปลงยุทโธปกรณ์ตามคำส่ัง การดัดแปลงน้ี ต้องไม่เปลี่ยนลักษณะมูลฐานเดิมของยุทโธปกรณ์ เพียงแต่เพ่ือเปล่ียนภารกิจ หรือความ สามารถในการ ทำงาน และเพิ่มความปลอดภยั แก่ผู้ใชแ้ ละเพื่อผลทีต่ ้องการตามแบบทีก่ ำหนดให้เปล่ียนแปลงน้ัน 4.10 การซ่อมคืนสภาพ (Reclamation) หมายถึง การดำเนินกรรมวิธีซ่อมยุทโธปกรณ์ท่ีใช้การไม่ได้ เลิกใช้ ละทิ้ง หรือเสียหายแล้วให้ใช้ประโยชน์ได้ หรือซ่อมชิ้นส่วนส่วนประกอบ หรือองค์ ประกอบของ ยทุ โธปกรณเ์ หล่าน้ัน ใหใ้ ช้ประโยชนไ์ ด้ และนำกลบั คนื สายสง่ กำลงั ตอ่ ไป 4.11 การปรนนิบตั ิบำรงุ (Preventive Maintenance) หมายถงึ การดแู ล และการให้บรกิ ารโดยเจ้าหน้าที่ เพื่อมุ่งประสงค์ท่ีจะรักษายุทโธปกรณ์ และเคร่ืองมือเครื่องใช้ให้อยู่ในสภาพท่ีใช้การได้ดี โดยจัดให้มีระบบการ ตรวจสภาพ การตรวจคน้ และการแก้ไขขอ้ บกพร่องกอ่ นท่ีจะเกดิ ข้ึน หรอื ก่อนที่ 4.12 ถอดปรน (Canibilization) หมายถึง การถอดช้ินส่วน และส่วนประกอบตามท่ีได้รับอนุมัติจาก ยุทโธปกรณ์ครบชุด หรือองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง ซ่ึงสามารถซ่อมได้แต่ไม่คุ้มค่าหรือท่ีจำหน่าย แล้วเพ่ือ นำไปใชป้ ระโยชนใ์ ห้แก่ยทุ โธปกรณอ์ ื่น 4.13 ยุบรวม (Control Exchange) หมายถึง การถอดชิ้นส่วนใชก้ ารได้จากยุทโธปกรณ์หนึ่งไปประกอบกับ อีกยทุ โธปกรณ์หนึ่ง 5. หลกั การซอ่ มบำรงุ 5.1 การซ่อมบำรงุ ต้องปฏิบตั ติ ามคมู่ ือท่กี รมฝา่ ยยทุ ธบรกิ าร หรือกรมฝา่ ยกจิ การพิเศษท่ีรับผดิ ชอบ ได้จัดพิมพ์ข้ึน หรือจัดหามาแจกจ่าย โดยให้ทำการซ่อมบำรุงได้ไม่เกินท่ีกำหนดไว้ และให้สอดคล้องกับ สถานการณ์ทางการยทุ ธ 5.2 การซ่อมแก้ ต้องพยายามกระทำ ณ ท่ีซึ่งยุทโธปกรณ์นั้นต้ังอยู่ เพ่ือให้ยุทโธปกรณ์น้ันกลับใช้งานได้ โดยเรว็ 5.3 ยุทโธปกรณ์ที่ชำรุดเกินขีดความสามารถของหน่วยที่จะทำการซ่อมบำรุง ให้ส่งซ่อมท่ีหน่วยซ่อมบำรุง ประเภทสูงกว่า หรอื ขอใหห้ นว่ ยซอ่ มบำรุงที่สงู กวา่ มาทำการซ่อมให้ 5.4 ห้ามทำการซอ่ มแบบยุบรวม เวน้ แต่ 5.4.1 ไดร้ บั อนุมตั จิ ากผมู้ อี ำนาจให้กระทำได้ หรือ 5.4.2 ในกรณีฉุกเฉิน และสถานการณ์ทางยุทธวิธีบังคับ ซ่ึงไม่สามารถที่จะติดต่อกับหน่วยท่ีมีหน้าที่ สนับสนุนได้รวดเร็ว ทันเหตุการณ์ แต่ต้องรายงานให้ผู้มีอำนาจให้กระทำได้ทราบ โดยผ่านหน่วยสนับสนุน ใน โอกาสแรกท่สี ามารถทำได้ 6. ประเภทของการซอ่ มบำรุง ให้แบง่ การซอ่ มบำรงุ ออกเปน็ 4 ประเภท 5 ขั้น ดงั น้ี 6.1 การซอ่ มบำรุงระดับหน่วย (Unit Maintenance) ขน้ั ท่ี 1 และขัน้ ที่ 2 6.2 การซ่อมบำรงุ สนบั สนนุ โดยตรง (Direct Support) ขั้นท่ี 3 6.3 การซ่อมบำรุงสนับสนนุ ท่วั ไป (General Support) ขนั้ ท่ี 4

หน้า |4 6.4 การซ่อมบำรงุ ระดับคลงั (Depot) ขัน้ ท่ี 5 7. การซ่อมบำรุงระดับหน่วย คือ การซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์ท่ีอยู่ในความครอบครองของหน่วยท่ีใช้ ยุทโธปกรณ์น้ัน โดยผู้ใช้หรือพลประจำยุทโธปกรณ์ และช่างซ่อมของหน่วย การซ่อมบำรุงประเภทนี้ ประกอบด้วย การตรวจสภาพ การทำความสะอาด การบรกิ าร การรกั ษา การหลอ่ ลื่น การปรบั ตามความ จำเป็น การเปล่ียนชน้ิ สว่ นซ่อม เลก็ ๆ น้อย ๆ การซอ่ มบำรงุ ระดับหน่วย จะกระทำอยา่ งจำกัด ตามค่มู ือหรือ คำส่ัง หรือผังการซอ่ มบำรงุ (Maintenance Allocation Chart) ทอี่ นุญาตให้กระทำได้ในระดบั น้ี 8. การซ่อมบำรุงสนับสนุนโดยตรง คือ การซ่อมบำรุงท่ีอนุมัติให้กระทำต่อยุทโธปกรณ์ท่ีอยู่ในความ รบั ผิดชอบการซ่อมบำรุงของหน่วยสนับสนุนโดยตรงซ่ึงเปน็ หน่วยที่กำหนดขึน้ ตามอัตราการจัดและยุทโธปกรณ์ (อจย.) หรือ อัตราเฉพาะกิจ (อฉก.) และบ่งถึงภารกิจการซ่อมบำรุงดังกล่าวไว้ การซ่อมบำรุงสนับสนุนโดยตรง เป็นการซ่อมแก้อย่างจำกัดต่อยุทโธปกรณ์ครบชุดหรือซ่อมแก้ส่วนประกอบที่ใช้งานไม่ได้ รวมท้ังการซ่อม และ การเปลี่ยนส่วนประกอบยอ่ ย (Subassemblies) และส่วนประกอบธรรมดา (Assemblies) 9. การซ่อมบำรุงสนับสนุนท่ัวไป คือ การซ่อมแก้ยุทโธปกรณ์ท่ีใช้งานไม่ได้ ที่เกินขีดความสามารถ ของการ ซ่อมบำรุงสนับสนุนโดยตรงเพื่อส่งกลับเข้าสายการส่งกำลังหรือเพื่อสนับสนุนการแลกเปลี่ยน โดยตรง (Direct Exchange) รวมทั้งทำการซอ่ มสว่ นประกอบใหญ่ และส่วนประกอบยอ่ ยเพอื่ สง่ เขา้ สายการส่งกำลัง 10. การซ่อมบำรุงระดับคลัง คือ การซ่อมบำรุงโดยหน่วยซ่อมขั้นคลังของกรมฝ่ายยุทธบริการ ซ่ึงจะทำการ ซ่อมใหญ่ยุทโธปกรณ์ที่ใช้งานไม่ได้ ให้กลับคืนอยู่ในสภาพท่ีใชง้ านได้อย่างสมบรู ณ์ตามคู่มือทางเทคนิค หรือ ทำการซ่อมสร้างยทุ โธปกรณ์ให้อย่ใู นสภาพเหมอื นของใหม่ 11. หน้าที่ และความรับผิดชอบ การซ่อมบำรุงระดับหน่วย เป็นความรับผิดชอบของผู้บังคับหน่วย หน่วย ใชย้ ทุ โธปกรณ์น้ัน จะต้องจัดให้มีการดำเนนิ การ ดงั นี้ 11.1 ทำการปรนนิบัติบำรุงยุทโธปกรณ์ตามคู่มือการปรนนิบัติบำรุง หรือคำสั่งการหล่อล่ืนสำหรับ ยุทโธปกรณ์ชนดิ นัน้ โดยเคร่งครดั 11.2 ทำการซ่อมบำรุงระดบั หน่วยตามท่ีกำหนดไว้ในคู่มือทางเทคนิค หรอื ตามท่สี ายยุทธบริการ กำหนดให้ กระทำ 11.3 ถ้ายุทโธปกรณ์ชำรุด หรือจำเป็นตอ้ งปรนนิบตั ิบำรุงเกินกว่าที่กำหนดไว้ ให้ส่งไปรับการ ซ่อม หรือรับ การปรนนบิ ัติบำรงุ ท่ีหนว่ ยสนบั สนุนโดยตรง 11.4 กอ่ นยทุ โธปกรณ์ไปดำเนนิ การตาม ขอ้ 11.3 ให้หนว่ ยใชแ้ จง้ ให้หน่วยสนับสนนุ โดยตรง ทราบก่อนเมื่อ ได้รับแจง้ ให้ส่งยุทโธปกรณ์ไปทำการซ่อมแล้วจงึ จดั สง่ ไป ในกรณีท่ีหน่วยสนับสนุนโดยตรงสามารถส่งชดุ ซ่อมมาซ่อมยังหน่วยใช้ได้ ก็อาจจะส่งชุดซ่อม มาทำการ ซ่อมให้ ทงั้ นีห้ นว่ ยสนบั สนุนโดยตรงจะต้องพิจารณาถงึ การประหยัด และสถานการณด์ ว้ ย 11.5 ก่อนส่งยุทโธปกรณ์ไปซ่อมที่หน่วยสนับสนุนโดยตรง หน่วยใช้จะต้องทำการปรนนิบัติบำรุง และทำ การซอ่ มบำรงุ ในขนั้ ของตนใหเ้ รยี บร้อยเสียกอ่ น 11.6 ชิ้นส่วนซ่อมตามอัตราพิกัด เม่ือใช้ไปแล้วให้ทำการเบิกทดแทนไปยังหน่วยสนับสนุนโดย ตรงทันที การเบกิ ใหป้ ฏบิ ตั ติ ามระเบียบกองทัพบก วา่ ดว้ ยการสง่ กำลงั ส่ิงอุปกรณป์ ระเภท 2 และ 4 11.7 การส่งยุทโธปกรณไ์ ปซ่อมใหป้ ฏิบัตติ ามระเบยี บกองทัพบกว่าด้วยการ รับ-ส่ง สิ่งอปุ กรณ์ พ.ศ.2500 11.8 ในการซ่อมบำรงุ หรอื การปรนนิบตั บิ ำรงุ ข้ันหน่วยนน้ั พลประจำยทุ โธปกรณ์มีหน้าที่ชว่ ยเหลือ ชา่ งซ่อม ของหน่วย 11.9 ขอบเขตของการซ่อมบำรุง ให้ปฏิบตั ิตามคมู่ อื คำสัง่ หรือระเบยี บทกี่ ำหนดไว้เปน็ รายยุทโธปกรณ์ 12. การซ่อมบำรุงสนับสนุนโดยตรง ผู้บังคับหน่วยซ่อมบำรุงสนับสนุนโดยตรงมีหน้าท่ีรับผิดชอบการ ซ่อม บำรุงยุทโธปกรณ์ที่ส่งมาซ่อมยังหน่วยของตน และมีหน้าที่รับผิดชอบในการส่งกำลังช้ินส่วนซ่อม หน่วยซ่อม บำรงุ สนบั สนนุ โดยตรงต้องให้การสนับสนนุ โดยใกล้ชดิ ต่อหน่วยใชด้ งั นี้

หน้า |5 12.1 ทำการซ่อมยุทโธปกรณ์ที่หนว่ ยใช้ ในความรับผิดชอบส่งมาซ่อม 12.2 พิจารณาจัดชุดซ่อมเคลื่อนที่ไปทำการซ่อม ณ ที่ต้ังหน่วยใช้ถ้าสามารถทำได้ และประหยัดกว่า การ ใหห้ น่วยใช้ยุทโธปกรณ์มาซอ่ มท่ีหนว่ ยสนับสนนุ โดยตรง หรือซ่อมโดยการแลกเปลีย่ นโดยตรง 12.3 ให้ความชว่ ยเหลอื ทางเทคนคิ แกห่ น่วยใช้ เพื่อลดขอ้ ขัดขอ้ ง และทำใหเ้ ครือ่ งมอื ปฏิบตั ิงาน ไดด้ ีข้ึน 12.4 ช่วยเหลอื หนว่ ยใชใ้ นการหาสาเหตขุ ้อขัดขอ้ งของยุทโธปกรณ์ 12.5 ทำการกู้ซอ่ มยทุ โธปกรณ์ของหน่วยใช้ เม่ือไดร้ บั การร้องขอ 12.6 ทำการซอ่ มแบบยบุ รวม เมือ่ จำเปน็ และได้รับอนุมตั แิ ลว้ 12.7 สนบั สนนุ ชนิ้ ส่วนซ่อมตามอัตราพกิ ัด และช้ินส่วนซอ่ มตามความตอ้ งการ ให้แกห่ น่วยใช้ 12.8 ยุทโธปกรณ์ท่ีซ่อมเสร็จแล้วให้ส่งกลับคืนหน่วยใช้การส่งคืนให้ปฏิบัติตามระเบียบกองทัพบก ว่าด้วย การรับส่ิงอุปกรณ์ พ.ศ.2500 หรือส่งไปเป็นส่ิงอุปกรณ์สำรองการซ่อม (Maintenance Float) ในกรณีท่ีได้ทำ การซอ่ ม โดยการแลกเปลี่ยนกบั หน่วยใช้ 12.9 รักษาระดับการสะสมชน้ิ สว่ นซ่อมตามท่ีไดร้ บั อนมุ ตั ิ (ASL) 12.10 ขอบเขตการซอ่ มบำรุงให้ปฏบิ ัตติ ามคูม่ อื ระเบียบหรอื คำสั่งท่ีกำหนดไวเ้ ป็นราย ยุทโธปกรณ์ 13. การซ่อมบำรงุ สนับสนุนท่ัวไป ผู้บงั คับหน่วยซ่อมบำรุงสนับสนุนท่ัวไปมีหน้าท่ีรับผิดชอบในการสนับสนุน หน่วยซอ่ มบำรุงสนับสนนุ โดยตรง ในเขตพืน้ ที่รับผดิ ชอบขอบเขตหนา้ ที่ของหน่วยซ่อมบำรงุ สนับสนุนท่ัวไป มี ดังน้ี 13.1 รบั ยทุ โธปกรณ์เพ่อื ทำการซอ่ ม หรอื ทำการซ่อมใหญ่จากหน่วยซ่อมบำรุงสนบั สนุนโดยตรง จากตำบล รวบรวมหน่วยส่งกำลงั และหน่วยอื่น ๆ ท่ีมีความรบั ผดิ ชอบในการซอ่ มบำรุง 13.2 ทำการซอ่ มใหญ่ 13.3 สง่ ยุทโธปกรณ์ทซี่ ่อมเสร็จแล้ว เข้าสายการสง่ กำลงั 14. การซ่อมบำรุงระดับคลัง ดำเนินการซ่อมบำรุงโดยหน่วยที่มีหน้าท่ีซ่อมตามอัตราการจัดให้ทำการ ซ่อม บำรุงระดับคลัง โดยกรมฝ่ายยุทธบริการหรือกรมฝ่ายกิจการพิเศษน้ัน เป็นผู้รับผิดชอบการซ่อม บำรุงระดับ คลัง ใหด้ ำเนินการ ดงั นี้ 14.1 กรมฝ่ายยุทธบริการเป็นผู้พิจารณาวา่ ยุทโธปกรณ์ใดที่มีอยู่ในความรับผิดชอบของตน จะมี การซ่อม ระดบั คลัง 14.2 ทำการซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์ให้ได้มาตรฐาน ตามที่ได้กำหนดไว้ในคู่มือประจำยุทโธปกรณ์ น้ัน หรือ ตามคมู่ ือของบรษิ ทั ผผู้ ลิต 14.3 กรมฝ่ายยุทธบริการรับผิดชอบพิจารณากำหนดแนวความคิดในการซ่อมบำรุงระดับคลังเม่ือ ได้ แจกจ่ายยทุ โธปกรณน์ นั้ ให้หนว่ ยใช้ โดยกำหนดว่าจะต้องทำการซ่อมบำรงุ ระดับคลังเมื่อใด 14.4 ยุทโธปกรณท์ ี่จะนำมาซ่อมนี้ค่าซอ่ มไมค่ วรเกิน 65% ของราคาจดั หาใหม่ 14.5 กรมฝ่ายยุทธบริการรับผิดชอบการวางแผนในรายละเอียด ได้แก่ จำนวนยุทโธปกรณ์ที่จะ เข้ารับการ ซ่อม ความต้องการชิน้ ส่วนซ่อม ตลอดจนแผนการซ่อมโดยต้องจัดทำให้แล้วเสร็จก่อนถึง กำหนดการซ่อมไม่ นอ้ ยกว่า 3 ปี และใหเ้ สนอความต้องการในการซอ่ มเข้ารบั การจดั สรรงบประมาณ ล่วงหน้า 3 ปี 14.6 เมอื่ ซอ่ มเสรจ็ แล้วใหส้ ง่ ขึ้นบัญชคี ุมของกรมฝ่ายยุทธบริการ เพ่ือการแจกจ่ายใหม่ 15. กรมฝา่ ยยทุ ธบรกิ าร และกรมฝา่ ยกิจการพเิ ศษ ที่รับผิดชอบสงิ่ อุปกรณ์ ตามระเบียบกองทัพบก ว่า ดว้ ยความรับผดิ ชอบในส่งิ อุปกรณ์ พ.ศ.2518 มหี นา้ ที่ และความรับผดิ ชอบในการซ่อมบำรงุ ดังนี้ 15.1 กำหนดหลักการ และคำสง่ั หรือคำแนะนำทางเทคนคิ ไดแ้ ก่ 15.1.1 แผนผังการแบ่งมอบการซ่อมบำรุงระดบั ตา่ ง ๆ ( Maintenance Allocation Chart ) 15.1.2 คู่มอื การใช้ยทุ โธปกรณ์

หน้า |6 15.1.3 คู่มือทางเทคนิค 15.1.4 คำสัง่ การหล่อลน่ื 15.1.5 คำสง่ั การดดั แปลงยุทโธปกรณ์ 15.1.6 คำแนะนำทางเทคนคิ เก่ียวกบั คณุ ลกั ษณะและการใช้เครือ่ งมือเครอื่ งทดสอบและเครือ่ งอุปกรณ์ 15.1.7 คำแนะนำเก่ยี วกับเทคนิคของการซ่อมบำรงุ วิธดี ำเนนิ การ และการวางผังโรงงานซ่อม 15.1.8 บญั ชีรายชอ่ื ชิน้ ส่วนซอ่ มที่ใชใ้ นการซ่อมบำรงุ ทกุ ประเภท 15.2 ตรวจสอบทางเทคนคิ เก่ยี วกับการซ่อมบำรุงยทุ โธปกรณข์ องหนว่ ยตา่ ง ๆ 15.3 ให้ความช่วยเหลือและคำแนะนำแก่ผู้บังคับหน่วยทหาร ในเรื่องท่ีเก่ียวกับการซ่อมบำรุง ระดับหน่วย การซอ่ มบำรงุ สนับสนนุ โดยตรงและการซอ่ มบำรุงสนับสนุนทัว่ ไป 15.4 ทำการตรวจการซอ่ มบำรงุ ให้เปน็ ไปตามทรี่ ะเบยี บการซอ่ มบำรุงกำหนดไว้ 16. ผู้บัญชาการกองพล รบั ผิดชอบการซ่อมบำรงุ ยุทโธปกรณ์ ของหนว่ ยซอ่ มบำรุงในกองพล 17. ผ้บู ัญชาการกองบญั ชาการชว่ ยรบ รับผิดชอบการซ่อมบำรุงของหน่วยซอ่ มบำรงุ สนบั สนนุ ทวั่ ไป 18. แมท่ ัพภาค รับผดิ ชอบการซอ่ มบำรุงเปน็ ส่วนรวมในกองทพั ภาคของตน 19. กรมฝา่ ยยุทธบริการ รบั ผดิ ชอบทางเทคนิคท้งั ปวง และการซ่อมบำรงุ ระดับคลงั 20. ใหก้ รมส่งกำลงั บำรุงทหารบก รกั ษาการณใ์ ห้เป็นไปตามระเบยี บน้ี

หน้า |7 ตอนท่ี 2 ความรับผดิ ชอบในการซอ่ มบำรุง 21. กล่าวท่ัวไป ความรบั ผิดชอบในการซอ่ มบำรุงยทุ โธปกรณ์ มดี ังต่อไปน้ี 21.1 ความรับผิดชอบของผบู้ ังคบั บัญชา ผู้บงั คับบัญชาทุกชน้ั จะต้องสอดส่องดูแลกวดขันจนเปน็ ที่ แนใ่ จ ว่ายุทโธปกรณ์ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของผู้ใต้บังคับบัญชาได้รับการปรนนิบัติบำรุง และซ่อมบำรุงให้อยู่ใน สภาพใช้การไดต้ ลอดเวลา นอกจากนั้นยังจะต้องควบคุมดูแลให้การระวังรักษา และการใช้ ยุทโธปกรณ์เป็นไป โดยถกู ตอ้ งอีกด้วย 21.2 ความรับผิดชอบโดยตรง ความรับผิดชอบโดยตรง ซ่ึงแตกต่างไปจากความรับผิดชอบของ ผบู้ ังคบั บญั ชานัน้ ไดแ้ ก่ความรับผิดชอบของผ้ทู ไ่ี ดร้ บั มอบโดยตรงแบง่ ออกไดด้ ังน้ี 21.2.1 ความรับผิดชอบส่วนบุคคล ได้แก่ความรับผิดชอบของผู้ที่ได้รับมอบยุทโธปกรณ์ไว้ใช้ประจำ และอยภู่ ายใต้การระวงั รกั ษาของผูน้ ั้นโดยตรง 21.2.2 ความรับผิดชอบทางกำกับการ ได้แก่ความรับผิดชอบของผู้บังคับหน่วยซ่ึงมีต่อยุทโธปกรณ์ที่ อยใู่ นความดูแลของตน 22. การปรนนิบตั ิบำรุงยทุ โธปกรณ์ 22.1 ผู้บังคับบัญชาทุกชั้นจะต้องรับผิดชอบในการควบคุมดูแลให้ผู้ใต้บังคับบัญชาของตนปฏิบัติตาม คำแนะนำ และระเบียบปฏิบัติอันเก่ียวกับการปรนนิบัติบำรุง โดยเคร่งครัด และจะต้องรับผิดชอบในการ ควบคุมกำกับการให้ ผู้ใต้บังคับบัญชาของตนซ่ึงทำหน้าท่ีเป็นผู้ใช้ผู้สอน หรือพลประจำยุทโธปกรณ์ ต่าง ๆ ไดร้ ับการฝึกจนสามารถปรนนิบตั ิบำรุงยุทโธปกรณ์ท่ีไดร้ ับมอบไดโ้ ดยถกู ตอ้ งเรียบร้อยกับต้องรบั ผิดชอบในการ กำหนดเวลาสำหรบั ทำการปรนนิบตั บิ ำรงุ ให้เพยี งพอแก่ความจำเปน็ อกี ด้วย 22.2 เม่ือการปรนนิบัติบำรุงยุทโธปกรณ์ไม่อาจกระทำได้โดยพลประจำยุทโธปกรณ์นั้น ๆ ด้วย เหตุใดก็ดี ผู้ บังคบั หน่วยจะตอ้ งจัดเจ้าหน้าท่ีผูอ้ น่ื หรอื ชุดอื่นให้ทำการปรนนิบัตบิ ำรงุ ตามความจำเปน็ 22.3 ผู้บังคับบัญชาทุกชั้นต้องรับผิดชอบ ในการป้องกันมิให้มีการใช้ยุทโธปกรณ์ในทางที่ผิด เมื่อ ปรากฏ หลักฐานซึ่งแสดงว่ามีการใช้ยุทโธปกรณ์ในทางท่ีผิดขึ้น ต้องดำเนินการสอบสวน และแก้ไขทันที การใช้ ยทุ โธปกรณ์ในทางทผ่ี ิดท่วั ไปมีดงั น้ี 22.3.1 ใช้ไม่ถกู ต้องเหมาะสมกับคุณลักษณะ หรือวธิ ีการใช้ยทุ โธปกรณ์ไม่ระมัดระวังใช้ หรือปฏิบตั กิ าร โดยประมาท 22.3.2 ขาดการหล่อลน่ื หลอ่ ลน่ื มากเกินไปหรือใช้วสั ดหุ ลอ่ ลน่ื ที่ทางราชการมิไดก้ ำหนด ใหใ้ ช้ 22.3.3 ไม่ตรวจสภาพการซอ่ มบำรงุ ยุทโธปกรณ์ให้พอเพยี งแก่ความจำเป็น 22.3.4 บกพรอ่ งในการซ่อมบำรงุ รวมท้ังขาดการบรกิ าร และการปรับท่ีถกู ตอ้ ง 22.3.5 ให้ผู้ท่ีปราศจากคุณวุฒิทำการซ่อมแก้ และใชเ้ ครื่องมือ หรอื เครื่องอุปกรณ์ในการซ่อมไม่ถกู ตอ้ ง เหมาะสม 22.3.6 ไมม่ อบหมายความรับผิดชอบโดยตรงในการซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์ 23. วิธีการปฏิบตั ติ ามลำดบั ขนั้ การซอ่ มบำรงุ 23.1 การปฏบิ ตั ิการซอ่ มบำรงุ ข้นั ท่ี 1 23.1.1 ปฏบิ ัตใิ นหน่วยระดบั หมวด โดยผใู้ ช้ (พลขับ และพลประจำรถ) 23.1.2 ทำการปรนนิบัติบำรงุ ประจำวันและประจำสัปดาห์ 23.1.3 ใช้ตารางการปบ.การตรวจ และการบรกิ ารในค่มู อื พลประจำยทุ โธปกรณแ์ ตล่ ะชนิด รว่ มกับแบบ พิมพ์ สพ.110 (ทบ.468-310) บตั รการใช้รถประจำวนั เป็นแนวทางในการปรนนิบัตบิ ำรงุ 23.2 การปฏิบัตกิ ารซอ่ มบำรุงขนั้ ท่ี 2 ระดับกองร้อย

หน้า |8 23.2.1 ทำการปรนนิบัติบำรุงโดยใช้เคร่ืองมือประจำหน่วย ชิ้นส่วนซ่อมและอุปกรณ์ที่มีอยู่ตามอัตรา ของหนว่ ย 23.2.2 ปรนนิบัติบำรุง 1,000 ไมล์(ประจำเดือน)สำหรับยานยนต์ล้อ และ 250 ไมล์ (ประจำเดือน) สำหรับยานยนต์สายพาน ตามที่กำหนดไว้ในตารางการปบ.การตรวจและการบริการในคู่มือ-20 ทำการ เปลย่ี นชิ้นส่วนซ่อมยอ่ ย การปรับตา่ ง ๆ และการซ่อมแก้ยอ่ ย การกรู้ ถในสนามและ การส่งกลบั ตลอดจนกำกับ ดแู ลพลขบั หรือพลประจำยุทโธปกรณใ์ นการปรนนบิ ัตบิ ำรงุ ขนั้ ท่ี 1 23.2.3 ใช้แบบพมิ พใ์ นการปรนนบิ ัติบำรงุ ดงั น้ี - แบบพิมพ์ สพ.460 (ทบ.468-360) เปน็ แบบพิมพก์ ำหนดการปรนนบิ ัติบำรุงยุทธภัณฑ์ - แบบพมิ พ์ สพ.461 (ทบ.468-361) เปน็ แบบพิมพร์ ายการ ปบ. และตรวจสภาพทางเทคนิคของ ยานยนตล์ ้อ - แบบพิมพ์ สพ.462 (ทบ.468-362) เปน็ แบบพิมพ์รายการ ปบ. และตรวจสภาพทางเทคนิคของ ยานยนตส์ ายพาน - ซองประวัตยิ ุทธภัณฑ์ สพ.478 (ทบ.468-378) 23.3 การปฏบิ ัตกิ ารซอ่ มบำรงุ ข้ันท่ี 2 ระดับกองพนั 23.3.1 ทำการปรนนิบัติบำรุงโดยใช้ชุดเครื่องมือประจำหน่วย ช้ินส่วนซ่อม และอุปกรณ์ท่ีมีอยู่ตาม อัตราของหนว่ ย และใชแ้ บบพมิ พ์เช่นเดียวกบั ทกี่ ำหนดไวใ้ นข้อ 23.2.3 23.3.2 ปรนนิบัติบำรุงประจำ 6,000 ไมล์ (6 เดือน) สำหรบั รถลอ้ และ 750 ไมล์ (3 เดอื น) สำหรบั ยาน ยนตส์ ายพาน ตามที่กำหนดไว้ในตารางการปบ.การตรวจและการบริการในคู่มอื -20 ทำการเปลย่ี นชิ้นส่วนซ่อม การปรับต่าง ๆ การซอ่ มแก้ การกรู้ ถในสนาม การส่งกลบั และงานพิเศษทก่ี องร้อยขอรบั การสนบั สนนุ 23.4 การปฏบิ ตั ิการซอ่ มบำรงุ ข้ันท่ี 3 23.4.1 ปฏิบตั ิการซ่อมโดยโรงซ่อมเคล่ือนที่ของหน่วยสรรพาวุธ และสะสมช้ินส่วนซ่อม ตามที่กำหนด ไว้ และตามสถิตกิ ารใช้ 23.4.2 ทำการซ่อมแก้ ยุทโธปกรณ์ที่ส่งซ่อม เพื่อคืนให้หน่วยใช้ เปล่ียนชิ้นส่วนใหญ่ และช้ินส่วนย่อย จัดหน่วยตรวจเม่ือผู้บังคับบัญชาต้องการความสนับสนุน และจ่ายช้ินส่วนซ่อมให้กับหน่วยซ่อมขั้นต่ำกว่า ทำ การก้รู ถในสนาม ตลอดจนการส่งกลับภายในเขตจำกัด 23.5 การปฏบิ ัตกิ ารซ่อมบำรุงขน้ั ที่ 4 23.5.1 ปฏิบัติการซ่อมโดยโรงซ่อมกึ่งเคล่ือนที่ และสะสมชิ้นส่วนซ่อมของยุทโธปกรณ์ทุกชนิดสำหรับ จา่ ยให้หน่วยซอ่ มขั้นตำ่ กวา่ 23.5.2 ทำการซ่อมช้ินส่วนย่อย ส่วนประกอบใหญ่ เพ่ือส่งคืนให้หน่วยใช้ตามสายการส่ง กำลัง หรือ เพอ่ื สง่ คนื เข้าคลัง และให้การสนบั สนุนหนว่ ยซอ่ มขนั้ ตำ่ กว่าโดยใกลช้ ดิ 23.6 การปฏบิ ตั ิการซ่อมบำรงุ ข้นั ที่ 5 23.6.1 ปฏิบัติการซ่อมโดยโรงงานประจำที่ในเขตภายในโดยการซ่อมสร้างยุทโธปกรณ์ และสนับสนุน สายการสง่ กำลังโดยสง่ เข้าคงคลัง 23.6.2 จัดหาชิ้นส่วนซ่อม และยุทโธปกรณเ์ พอ่ื จ่ายให้กบั หนว่ ยซอ่ มขน้ั ตำ่ กวา่ ให้มใี ช้อยู่ ตลอดเวลา

หน้า |9 ตอนท่ี 3 ความรบั ผดิ ชอบทางเทคนิค 24. กล่าวทั่วไป กรมสรรพาวุธทหารบกมีหน้าท่ีรับผิดชอบทางเทคนิคเกี่ยวกับการซ่อมบำรุงบำรุง ยทุ โธปกรณส์ ายสรรพาวธุ 25. หลักการทางเทคนิค 25.1 กรมสรรพาวุธทหารบก มีหน้าท่ีกำหนดการทางเทคนิคเก่ียวกับ การซ่อมบำรุงตามท่ีได้ รับมอบ อำนาจจากกองทัพบก ซึ่งไดแ้ กก่ ารจัดทำ 25.1.1 คู่มอื ทางเทคนคิ 25.1.2 คำสง่ั การใชน้ ำ้ มันหล่อล่นื 25.1.3 คำสงั่ ดัดแปลงแก้ไขยุทโธปกรณ์ 25.1.4 คำแนะนำทางเทคนิคเกย่ี วกับเคร่อื งมือ เครื่องทดสอบ และเคร่ืองอปุ กรณ์ในโรงซ่อม 25.1.5 คำแนะนำในการใช้ เคร่อื งมอื เครอื่ งทดสอบ และเคร่อื งอปุ กรณใ์ นโรงซ่อม 25.1.6 คำแนะนำเกย่ี วกบั เทคนิคของการซ่อมบำรุง วิธีดำเนนิ การ และการวางผงั โรงซอ่ ม 25.1.7 บญั ชีรายชือ่ ชน้ิ อะไหลท่ ่ีใชใ้ นการซอ่ มบำรงุ ทุกประเภท และทุกขั้น 25.2 การปฏิบัติตามหลักการทางเทคนิคท่ีกรมสรรพาวุธทหารบกได้ออกไว้แล้วเป็นหน้าท่ี และความ รับผิดชอบของผู้บังคับหน่วยทุกขั้นท่ีเกี่ยวข้องกับการซ่อมบำรุงที่จะต้องควบคุมดูแลให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติ ตามโดยเคร่งครดั และถกู ต้อง 25.2.1 คำส่ังการหล่อล่ืน และคู่มอื ทางเทคนคิ เกีย่ วกบั การใช้ยุทโธปกรณ์นัน้ มีอำนาจบงั คบั เหนือคำส่ัง หรือคำแนะนำใด ๆ ท้ังสิน้ ถ้าสามารถปฏบิ ัตไิ ด้ให้ปิดหรอื เก็บไว้กับยุทโธปกรณ์นั้น ๆ หรือ เกบ็ ไว้ ณ ที่ ๆ จะ ปฏิบัติการซ่อมบำรุงในหนว่ ยโดยให้สามารถหยบิ ใชไ้ ด้ทันที 25.2.2 เจ้าหน้าที่ผู้ทำการตรวจสภาพจะต้องตรวจคำสั่งหล่อล่ืน และคู่มือฯ เหล่านว้ี ่าหน่วยมีใชอ้ ยู่ครบ ครันเพียงใด และได้ใช้คำส่ังหล่อลื่นกับ คู่มือทางเทคนิคตามวตั ถุประสงค์หรือไม่แล้วให้บนั ทึกลงในรายงานผล การตรวจสภาพด้วย 25.2.3 นอกจากนั้นผู้บังคับหน่วยทุกระดับ อาจกำหนดวิธีปฏิบัติปลีกย่อยเพ่ือให้เหมาะสมกับ สถานการณ์ หรอื สภาพของหนว่ ยแต่ละหน่วยข้นึ ใช้ เป็นการภายในไดแ้ ตท่ ้ังน้ีต้องไม่ขัดตอ่ หลักการทางเทคนิค ซึง่ กรมสรรพาวุธทหารบกได้กำหนดไว้ 26. การกำกับดูแลทางเทคนคิ 26.1 เจ้ากรมสรรพาวุธทหารบก นอกจากจะเป็นผู้รับผิดชอบในการซ่อมบำรุงประจำที่แล้ว ยังต้อง รับผิดชอบในการตรวจสอบทางเทคนิคเก่ียวกับการซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์ของหน่วยต่าง ๆ ใน กองทัพบกดว้ ย การตรวจสอบทางเทคนิคของการซ่อมบำรุงน้ีได้แก่ การวางมาตรฐานเกี่ยวกับสภาพใช้ การของยุทโธปกรณ์ ความส้ินเปลืองในการซ่อม ระเบียบปฏบิ ัตใิ นการตรวจสภาพที่แสดงให้เห็นผลของ การซ่อมบำรุงประจำหน่วย ในสนามประจำท่ี และสภาพใช้การของยุทโธปกรณ์ไดโ้ ดยแนช่ ัด 26.2 เจ้ากรมสรรพาวุธทหารบกจะต้องให้ความช่วยเหลือ และคำแนะนำแก่ผู้บังคับหน่วยทหาร ในเรื่อง เกย่ี วกบั การซอ่ มบำรงุ ประจำหนว่ ย และในสนาม 26.3 เจ้ากรมสรรพาวุธทหารบก หรือผู้แทน จะต้องออกตรวจเพ่ือให้ความช่วยเหลือแนะนำแก่ หน่วย สรรพาวุธซ่อมบำรุงในสนาม โดยความมุ่งหมายท่ีจะทำให้หน่วยสรรพาวุธซ่อมบำรุงในสนาม สามารถ ดำเนนิ การตามภารกจิ โดยมปี ระสิทธิภาพสงู ทสี่ ดุ ท้งั นีใ้ หก้ ระทำอย่างน้อยปลี ะ 1 ครั้ง 26.4 ให้เจ้ากรมสรรพาวุธทหารบก หรือผู้แทนไปตรวจเย่ียมหน่วยต่าง ๆ ตามความจำเป็นให้ ทราบสภาพ ยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธ สภาพการปรนนิบัติบำรุงสภาพการซ่อมบำรุง และสภาพการส่ง กำลังในส่วนที่

ห น ้ า | 10 เก่ียวข้องกับยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธ ทั้งน้ีให้หน่วยต่าง ๆ ให้ความร่วมมือ และชี้แจง ข้อเท็จจริงในเรื่องท่ี เกยี่ วขอ้ ง ตอนท่ี 4 การตรวจสภาพยทุ โธปกรณ์ และการรายงานผลการตรวจ 27. กล่าวทัว่ ไป ผู้บังคับหน่วยทุกข้ันมีอำนาจทำการตรวจสภาพยุทโธปกรณ์ของหน่วยภายใต้การบังคับบัญชา และใช้ผล การตรวจสภาพน้ีเป็นเคร่ืองวัดสภาพอนั แท้จรงิ ของยุทโธปกรณ์ และประสิทธภิ าพในการซ่อมบำรงุ ยุทโธปกรณ์ ในหน่วยใต้บังคับบัญชาของตน การตรวจสภาพซ่ึงทุกหน่วยต้องได้รับการตรวจอย่างเป็นทางการและต้องมี รายงานผลการตรวจเปน็ ลายลักษณอ์ กั ษรตามท่กี องทพั บกได้กำหนดไวโ้ ดยละเอียดน้นั มีอยู่ 2 ประเภท คอื 27.1 การตรวจสภาพการซ่อมบำรุงยุทโธปกรณส์ ายสรรพาวธุ โดยผู้บังคับบญั ชา 27.2 การตรวจสภาพเฉพาะอยา่ งยุทโธปกรณส์ ายสรรพาวธุ การตรวจสภาพการซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์สายสรรพาวธุ โดยผบู้ งั คบั บญั ชา 27.1.1 การตรวจสภาพการซ่อมบำรุง ฯ โดยผู้บังคับบัญชาเป็นการตรวจ เพ่ือให้เป็น ที่แน่ใจว่าการใช้ ยุทโธปกรณ์เป็นไปในทางท่ีถูกที่ควร การใช้สิ่งอุปกรณ์เป็นไปโดยประหยัด และการ ดำเนินการใด ๆ เกี่ยวกับ ยุทโธปกรณ์และสิ่งอุปกรณ์ท้ังปวงเป็นไปตามหลักการซ่อมบำรุงและส่งกำลัง ที่กองทัพบกได้กำหนดไว้ใน ระเบียบ คำส่งั คำแนะนำ ค่มู ือและแบบธรรมเนยี มต่าง ๆ กบั เพ่ือ ประเมินค่าความพร้อมรบของหน่วย 27.1.2 การตรวจสภาพการซ่อมบำรุง ฯ โดยผู้บังคับบัญชานั้นให้กระทำตามคำส่ังกองทัพบก (คำส่ัง ช้ีแจง) ท่ี 13/1692 ลง 6 ก.พ.04 เรือ่ ง การตรวจสภาพการซ่อมบำรุง ฯ โดยผู้บงั คับบัญชา การตรวจสภาพ เฉพาะอยา่ งยทุ โธปกรณส์ ายสรรพาวุธ 27.2.1 การตรวจสภาพเฉพาะอย่าง ฯ มีความมุ่งหมายให้ผู้บังคับบัญชาใช้เป็นเครื่องตรวจสอบความ เพียงพอ และประสิทธภิ าพของ การซอ่ มบำรงุ ประจำหนว่ ย 27.2.2 การตรวจสภาพเฉพาะอย่าง ฯ นั้น ให้กระทำตามคำสั่งกองทัพบก (คำชี้แจง) ท่ี 19/15790 ลง 13 ก.ค. 03 เร่อื ง การตรวจสภาพเฉพาะอย่างยุทโธปกรณ์สายสรรพาวธุ 27.2.3 ผู้บังคับบญั ชาชนั้ ผบ.นขต.ทบ. และ ผู้บงั คบั บญั ชาช้ัน ผบ.พล หรอื เทยี บเท่าเปน็ ผู้รับผิดชอบใน การจัดให้มีการตรวจสภาพเฉพาะอย่างแก่ยุทโธปกรณ์ และหน่วยภายใต้การบังคับบัญชาของตนตาม กำหนดการท่ีบง่ ไวใ้ นคำสั่งกองทัพบก 27.2.4 การตรวจสภาพเฉพาะอย่าง ฯ น้ัน ต้องกระทำโดยเจ้าหน้าที่ซึ่งมีความรู้ความสามารถในทาง เทคนคิ ของยทุ โธปกรณแ์ ละการซอ่ มบำรงุ โดยมนี ายทหารช้นั สญั ญาบตั ร ซง่ึ มคี ุณวุฒิเหมาะสมเปน็ ผกู้ ำกับการ 28. นอกจากการตรวจสภาพดังกล่าวแล้ว ในข้อ 27.1,27.2 น้ัน ยังมีการตรวจสภาพอีกประเภทหนึ่ง ซึ่งแม้ว่า กองทัพบกยังไมก่ ำหนดวิธกี ารไว้โดยแน่นอน แต่ผูบ้ ังคับหนว่ ยทุกระดับจะต้องกระทำเป็นประจำคือ การตรวจ สภาพโดยผู้บังคับหน่วย ซ่ึงมีความมุ่งหมายท่ีจะตรวจสอบสภาพความพร้อมรบของ ยุทโธปกรณ์สาย สรรพาวุธ อีกท้ังเป็นการตรวจสภาพการใช้ การปรนนิบัติบำรุงและการซ่อมบำรุง ซ่ึง ผู้บังคับหน่วยต้อง รับผิดชอบ ในฐานะของผู้บังคับบัญชาตามที่กำหนดไว้ในตอนท่ี 3 แห่งคำสั่งนี้ว่าเป็นไปโดยถูกต้อง และสม ความมุ่งหมายของทางราชการ วิธปี ฏบิ ัติการตรวจสภาพโดยผูบ้ ังคับหน่วยโดยละเอียดน้ัน ให้เป็นอภิสิทธิข์ องผู้ บังคบั หน่วยนั้น ๆ ที่จะกำหนดข้ึนตามความเหมาะสม ส่วนการตรวจสภาพทางเทคนิคนั้น ได้แก่การตรวจสภาพ ซึ่งหน่วยซ่อมบำรุงกระทำต่อ ยุทโธปกรณ์ท่ี หน่วยทหารนำมาส่งซ่อม หรอื ในขณะท่ีหนว่ ยซ่อมบำรุงในสนามส่งชุดซ่อมออกไปปฏิบตั ิงาน ณ ทีต่ ้ังของหน่วย รบั การสนับสนุน ทัง้ นี้ เพอ่ื ให้สามารถประมาณความต้องการ และวางแผนการซ่อมบำรงุ ไดถ้ กู ต้อง

ห น ้ า | 11 29. การรายงานผลการตรวจสภาพ และการตรวจเย่ียม 29.1 การรายงานผลการตรวจสภาพน้ัน ต้องพยายามกระทำให้ส้ันและชัดเจน และให้ผู้ทำการตรวจ เป็น ผู้ทำรายงานเสนอให้ผู้บังคับบัญชาช้ันเหนือต่อข้ึนไปจากหน่วยรับตรวจทราบ เพื่ออำนวยการแก้ไขขอ้ บกพร่อง ต่างๆ ที่มีอยู่ การรายงานผลการตรวจสภาพเฉพาะอย่าง ฯ และการตรวจสภาพการซ่อมบำรุง ฯ โดย ผู้บงั คบั บญั ชา น้ัน ใหป้ ฏิบตั ติ ามคำส่งั กองทัพบกวา่ ด้วยการตรวจสภาพน้นั ๆ 29.2 ผบู้ ังคบั หนว่ ยทุกหน่วย เป็นผู้ดำเนินการตามความจำเปน็ เพอื่ ให้เป็นท่แี นน่ อนว่าไดม้ ีการ ตรวจสภาพ ตามท่กี ลา่ วไว้แล้วน้นั ให้หน่วยท่ีทำการตรวจสภาพเกบ็ สำเนารายงานผลการตรวจแตล่ ะประเภท ครั้งสุดท้าย ทีไ่ ดก้ ระทำตอ่ หนว่ ยตา่ ง ๆ ไว้ 1 ฉบบั เสมอ 29.3 เม่ือเจ้ากรมสรรพาวธุ ทหารบกหรือผ้แู ทนไดต้ รวจเยยี่ มหน่วยต่าง ๆ ตามท่ีไดก้ ล่าวมาในข้อ 26.5 แล้ว ให้รายงานผลการตรวจเย่ียมพร้อมด้วยข้อเสนอแนะขึ้น 3 ชุด นำเสนอ ทบ. 1 ชุด ส่งให้หน่วยรับการตรวจ ทราบ 1 ชุด เก็บไว้ทีก่ รมสรรพาวธุ ทหารบก 1 ชดุ 30. การปอ้ งกันการตรวจซ้ำ 30.1 ผบ.นขต.ทบ. และผู้บังคับบัญชาชั้น ผบ.พล หรือเทียบเท่า และเจ้ากรมสรรพาวุธทหารบก จะต้อง พิจารณาดำเนินการ ให้มกี ารตรวจสภาพภายในขอบเขตของการตรวจสภาพแตล่ ะประเภทดัง ได้กล่าวไวแ้ ล้ว 30.2 ผู้บังคับบัญชาที่ทำการตรวจสภาพการซ่อมบำรุงฯ โดยผู้บังคับบัญชาจะต้องพิจารณา และนำ เอาผล ของการตรวจสภาพเฉพาะอย่าง ฯ ที่ได้กระทำขึ้นเม่ือก่อนหน้าในระยะเวลาอันใกล้พอสมควร มาใช้ในการ กำหนดจุดอนั ควรสนใจเปน็ พิเศษในการตรวจสภาพการซ่อมบำรุงโดยผูบ้ งั คบั บัญชาทีต่ น จะกระทำข้นึ 31. การรายงานขอ้ บกพร่องของยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธ 31.1 ในกรณีท่ีเกิดการบกพร่องข้ึนในยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธ อันเน่ืองมาจากความไม่ เหมาะสมในการ ออกแบบ วัสดุที่ใช้ในการผลิต หรือฝีมือช่าง การสึกหรือการผุเปื่อยมากผิดปกติหรือ อาจจะเกิดอนั ตรายอย่าง ร้ายแรงขึ้นแก่บุคคล และทรัพย์สินให้ผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดหา การใช้การ ซ่อมบำรุง การเก็บรักษา และ แจกจ่าย ทำรายงานข้อบกพร่องเสนอตามสายบริการสรรพาวุธ จนถึง กรมสรรพาวธุ ทหารบกโดยเร็วทสี่ ดุ 31.2 ให้กรมสรรพาวุธทหารบกกำหนดวิธีการรายงานข้อบกพร่องของยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธ ซ่ึง จำเปน็ ต้องดดั แปลงแก้ไขขึ้นเพ่ือให้ผู้ทเี่ ก่ยี วขอ้ งสามารถรายงานไดโ้ ดยถกู ตอ้ ง 31.3 ในการตรวจสภาพการซ่อมบำรุงฯ โดยผู้บังคับบัญชาและการตรวจสภาพเฉพาะอย่าง ฯ เจ้าหน้าที่ ผู้ตรวจจะต้องทดสอบความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าท่ีในหน่วยรับตรวจ และหน่วยสนับสนุน เก่ียวแก่ การ รายงานขอ้ บกพรอ่ งยุทโธปกรณ์สายสรรพาวธุ ด้วย

ห น ้ า | 12 ตอนท่ี 5 การดัดแปลงแก้ไขยทุ โธปกรณ์ 32. ความม่งุ หมาย ยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธที่ใช้ในกองทัพบกนั้น อาจมีความจำเปน็ ที่จะตอ้ งทำการดดั แปลงแก้ไข เพ่ือเพิ่ม ความปลอดภยั แกผ่ ใู้ ช้ ลดงานซอ่ มบำรงุ หรอื เพือ่ เพม่ิ ประสิทธภิ าพในการรบหรือการใช้งาน 33. การดัดแปลงแก้ไขยุทโธปกรณ์น้ัน ให้ทำตามคำส่ังกองทัพบกว่าด้วยการดัดแปลงแก้ไขยุทโธปกรณ์ นั้นๆ ซ่ึงกองทัพบกจะได้ออกคำสั่งเป็นครั้งคราวตามความจำเป็น โดยกำหนดยุทโธปกรณ์ ซ่ึงจะต้อง ทำการ ดัดแปลงแก้ไข ส่วนที่จะต้องทำการดัดแปลงแก้ไข ชิ้นส่วนท่ีจะต้องทำการดัดแปลงแก้ไข และ ผู้รับผิดชอบใน การดัดแปลงแก้ไข รวมทัง้ วธิ ีดดั แปลงแกไ้ ขโดยละเอียด และเมื่อมีคำสง่ั ใหด้ ดั แปลง แก้ไขยุทโธปกรณ์แล้ว ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการดัดแปลงแก้ไขต้องดำเนินการตามคำส่ังทันทีจะละเว้น หรือ เพิกเฉยเสยี มิได้ 34. ห้ามมิให้ทำการดดั แปลงแก้ไขยุทโธปกรณ์โดยมิไดร้ ับคำสั่งหรือผิดแผกนอกเหนือไปจากแบบแผน ในคำส่ัง ท่ีเก่ียวข้อง ในกรณีที่พิจารณาเห็นว่าถ้าหากฝืนใช้ยุทโธปกรณ์นั้น ๆ ต่อไปแล้วอาจเกิดอันตราย อย่างร้ายแรง แก่ชีวิต และทรัพย์สินแล้ว ให้งดใช้การยุทโธปกรณ์น้ันทันที แล้วรีบรายงานไปตามสาย การบังคับบัญชา พร้อมท้ังขอ้ บกพรอ่ งของยุทโธปกรณส์ ายสรรพาวธุ 35. การดัดแปลงแกไ้ ขยทุ โธปกรณ์จัดตามลำดบั ความเร่งดว่ นออกเปน็ 2 ประเภท คอื 1. ประเภทดัดแปลงแกไ้ ขทนั ที และ 2. ประเภทปกติ 35.1 ประเภทดัดแปลงแก้ไขทันที เม่ือมีคำส่ังให้ดัดแปลงแก้ไขทันที ผู้รับผิดชอบต้องดำเนินการ ดัดแปลง แก้ไขยุทโธปกรณ์ในหน่วยใช้ทันทีก่อนท่ีจะใช้งานยุทโธปกรณ์ต่อไป สำหรับยุทโธปกรณ์ท่ีเก็บรักษาไว้คงคลัง นนั้ ผู้รับผิดชอบในการเก็บรักษา และแจกจ่าย ต้องจัดการให้ยุทโธปกรณ์นั้นได้รับการดดั แปลงแก้ไขก่อน ท่ีจะ จ่ายให้หน่วยทหาร ทั้งนี้นอกจากคำส่ังดัดแปลงแก้ไขเฉพาะยุทโธปกรณ์แต่ละอย่างจะได้กำหนดไว้เป็นอย่าง อ่นื 35.2 ประเภทปกติ การดัดแปลงประเภทน้ี ให้ผู้รับผิดชอบดำเนินการดัดแปลงแก้ไขโดยเร็วท่ีสุด เท่าที่จะ ทำได้ ทั้งน้ีโดยไม่ทำให้เสียผลในการฝึกหรือการปฏิบัติตามภารกิจของหน่วยทหาร ส่วน ยุทโธปกรณ์ที่บรรจุ หีบห่อเพื่อการเก็บรักษาไว้ในคลังสรรพาวุธนั้นไม่ต้องนำมาดัดแปลงแก้ไข ท้ังนี้ นอกจากคำส่ังดัดแปลงแก้ไข เฉพาะยทุ โธปกรณ์แต่ละอยา่ งจะไดก้ ำหนดไว้เป็นอย่างอ่นื 35.3 ให้กรมสรรพาวุธทหารบก รับผิดชอบในการตรวจสอบ และติดตามผลการดัดแปลงแก้ไข ให้เป็นไป ตามคำส่งั โดยถูกตอ้ ง และตามกำหนดเวลา 36. การเสนอแนะให้มีการดดั แปลงแกไ้ ข 36.1 ผู้มีหน้าที่เกยี่ วกับยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธ มีสิทธทิ์ ่ีจะเสนอแนะให้มีการดดั แปลงแก้ไข ยุทโธปกรณ์ เพื่อความมุ่งหมายดงั ได้กลา่ วมาแล้วขา้ งตน้ 36.2 ให้กรมสรรพาวุธทหารบกกำหนดวิธีการรายงานข้อบกพร่องของยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธ พร้อมทั้ง สง่ิ ทค่ี วรดัดแปลงแกไ้ ขขึน้ เพ่ือใหห้ นว่ ยต่าง ๆ ยดึ ถอื เป็นหลกั ปฏิบตั ติ ่อไป 36.3 เจ้ากรมสรรพาวุธทหารบกมีหน้าท่ี พิจารณาข้อเสนอแนะในการดัดแปลงแก้ไขยุทโธปกรณ์ และ ดำเนินการทางเทคนคิ อันเหมาะสม เพื่อใหบ้ รรลุผลสมความม่งุ หมายดงั กล่าวมาแล้ว *************

ห น ้ า | 13 ตารางประมาณเวลาปฏิบัตงิ านซ่อมบำรงุ ยทุ โธปกรณ์ ทบ.สหรัฐ การบริการหรอื การซ่อม ยานยนตส์ ายพาน ยานยนตล์ อ้ 15 นาที (พลขับ) บริการกอ่ นใชง้ าน 30 นาที (พลประจำรถ) 20 นาที (พลขับ) 5 นาที (พลขับ) บริการหลงั ใชง้ าน 1 ชม (พลประจำรถ) 1 ชม. (พลขบั ) 1-2 วนั (ชา่ ง 1 พลขบั 1) บรกิ ารขณะหยุดพัก 15 นาที (พลประจำรถ) 1-2 วนั (ชา่ ง 1 พลขบั 1) 1-2 วนั (ช่าง 1 พลขบั 2) บรกิ ารประจำสัปดาห์ 4 ชม. (พลประจำรถ) - 3 ชม. (ช่าง 2) บริการประจำเดอื น 1 วัน (ชา่ ง 1 พลประจำรถ 2) - 30 นาที (ชา่ ง 2) บรกิ ารประจำ 3 เดือน 1-1 1/2 วนั (ชา่ ง 1 พลประจำรถ 2) - บรกิ ารประจำ 6 เดอื น - - 15 นาที (พลขับ) การยกเครอ่ื งยนตอ์ อกจากรถ 4 ชม. (ช่าง 1 พลประจำรถ 2) - - ถอดและเปลย่ี นเครอ่ื งยนต์ - ถอดเปลย่ี นเฟืองขับขนั้ สุดทา้ ย 6 ชม. (ชา่ ง 1 พลประจำรถ 2) ถอดเปล่ียนเคร่ืองผ่อนแรง 1 ชม. (พลประจำรถ) สะเทอื น ถอดเปลี่ยนคานรบั แรงบดิ 1 ชม. (พลประจำรถ) ถอดเปลี่ยนลอ้ กดสายพาน 1 ชม. (พลประจำรถ) ถอดเปลี่ยนลอ้ - ถอดเปลย่ี นสายพาน 1 ข้าง 6 ชม. (พลประจำรถ) บรกิ ารสายพาน 1 ขา้ ง 30 นาที (พลประจำรถ) สรปุ 1. การซ่อมบำรงุ มคี วามมุ่งหมายเพื่อรกั ษายุทโธปกรณท์ ่ชี ำรดุ ให้กลบั คืนสสู่ ภาพใช้การ ไดร้ วมถึงการตรวจสภาพ การทดสอบ การบริการ การคัดแยกสภาพใชก้ ารได้ การ ซอ่ มแก้ การซ่อมสร้าง การดดั แปลงแกไ้ ขและการซอ่ มคืนสภาพ 2. หนว่ ยซ่อมบำรงุ ขนั้ สงู สนบั สนนุ หนว่ ยซ่อมบำรงุ ข้นั ต่ำ 3. การซอ่ มบำรงุ เป็นความรับผิดชอบของผบู้ งั คับบัญชา 4. ถ้าการซอ่ มบำรุงระดบั หนว่ ยเลว ระบบการซ่อมบำรงุ ของกองทัพบกกล็ ม้ เหลว 5. การซอ่ มบำรุงขั้นที่ 1 นับว่าสำคัญทสี่ ุดกว่าทกุ ขั้น *************

สรปุ ระบบซ่อมบำรุงของกองทัพบก การซอ่ มบำรุง การซอ่ มบำรงุ ระดบั หนว่ ย การซ่อมบำรงุ สนับสนุนโด 3 ข้ันที่ 1 2 เคลื่อนท่ี ท่ไี หน ทีต่ ้งั ยทุ โธปกรณ์ หนว่ ยใช้ ผบู้ ัญชาการกองพล ใคร ผใู้ ช้, พลประจำ หน่วยใช้ (ผูร้ ับผดิ ชอบ) ยทุ โธปกรณ์ อะไร ทำการ ปรนนิบัติบำรุงเพื่อป้องกัน ซ่อมแก้เล็ก ๆ ซอ่ มแกย้ ทุ ธภณั ฑ์หลกั แล นอ้ ย ๆ และดแู ลรกั ษาไวใ้ ห้พร้อมรบ หน่วยใช้ อย่างไร - ทำการปรนนิบัติบำรุงตามท่ีกำหนดไว้ในคู่มือทาง - ทำการซ่อมแก้ให้หน่วย เทคนิคของยุทโธปกรณน์ ั้น ๆ - จัดชุดซ่อมเคล่ือนทไ่ี ปช - ทำการซ่อมบำรุงระดับหน่วย - ใหค้ วามชว่ ยเหลือทางเท - ดำเนินการส่งซอ่ มไปยังหน่วยเหนือและแจ้งให้ - ชว่ ยเหลือหน่วยคน้ หาข หน่วยสนับสนนุ โดยตรงทราบ - ทำการกซู้ อ่ มเมอ่ื หน่วยร - ทำการปรนนิบตั ิบำรงุ ก่อนสง่ ซ่อม - ทำการซ่อมแบบยุบรวม - รกั ษาระดับชนิ้ สว่ นซ่อมตามอตั ราพกิ ดั - สนบั สนุนชน้ิ ส่วนซอ่ มต พกิ ดั - ซอ่ มเสรจ็ แล้วส่งคืนหน ขอบเขต ให้ปฏบิ ตั ติ ามคู่มือ คำส่ัง หรือระเบยี บทีก่ ำหนดไว้ ให้ ป ฏิ บั ติ ต าม คู่ มื อ ระเบยี บทกี่ ำหนดไว้

ห น ้ า | 14 ดยตรง การซ่อมบำรงุ สนับสนุนท่ัวไป การซอ่ มบำรุงระดับคลงั 45 กึ่งเคลื่อนท่ี โรงงาน ผู้บัญชาการ กองบัญชาการช่วยรบ และ กรมฝ่ายยทุ ธบรกิ าร แมท่ ัพภาครบั ผดิ ชอบเป็นสว่ นรวม ลว้ สง่ คนื ซ่อมแก้ยทุ ธภณั ฑ์หลัก แล้วสง่ คนื ซอ่ มสร้างเพอ่ื เก็บเปน็ อปุ กรณ์ ตามสายการสง่ กำลงั คงคลงั ของสายยุทธบริการ ยใช้ - ทำการซ่อมแกใ้ หญ่ - กรมฝ่ายยทุ ธบริการพจิ ารณา ชว่ ยหนว่ ยใช้ - ทำการซ่อมใหญ่ การซ่อม ทคนิค - ซอ่ มเสร็จแล้วสง่ เขา้ สายการสง่ กำลัง - ทำการซอ่ มสร้างใหเ้ ขา้ ข้อขดั ขอ้ ง มาตรฐานของยุทโธปกรณ์ ร้องขอ - ค่าซ่อมไม่ควรเกิน 65 % ของ ม ราคาจัดหาใหม่ ตามอตั รา - วางแผนการจัดหาและแผนการ ซ่อมสร้างไว้ลว่ งหน้าไม่นอ้ ยกว่า นว่ ยใช้ 3 ปี - ซ่อมเสรจ็ แล้วเก็บเข้าคงคลงั ค ำสั่ ง ห รือ ให้ปฏิบตั ิตามคมู่ ือ คำส่งั หรือระเบียบท่ี ให้ปฏิบัติตามคู่มือ คำส่ัง หรือ กำหนดไว้ ระเบยี บทก่ี ำหนดไว้

ห น ้ า | 15 แผนกวิชายานยนต์ กองการศึกษา โรงเรียนทหารม้า ศนู ยก์ ารทหารมา้ ค่ายอดศิ ร สระบุรี ---------- เอกสารเพ่ิมเตมิ วชิ า เอกสารการซอ่ มบำรุง หมายเลขวิชา ยน…………….. 1. กลา่ วโดยทั่วไป เอกสารซ่อมบำรงุ เปน็ สิ่งสำคญั ยิ่งสำหรับการดำเนนิ การซ่อมบำรงุ ยุทโธปกรณ์ใหส้ ามารถใช้ราชการได้ อย่างมีประสิทธิภาพและมีอายุยาวนาน เอกสารซ่อมบำรุงนั้นจะต้องทันสมัย หน่วยใดที่มียุทโธปกรณ์ไว้ใน ครอบครอง แต่ปราศจากเอกสารซ่อมบำรุง หรือไม่นำเอกสารซ่อมบำรุง มาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อ ยุทโธปกรณ์แล้ว ย่อมเป็นไปไม่ได้ท่ียุทโธปกรณ์ของหน่วยน้ัน จะใชง้ านได้อย่างสมบูรณ์ ผู้บังคับหน่วยหรือ ผู้รับผิดชอบต่อการซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์จะต้องมีหลักประกันว่าในหน่วยของตนมีเอกสารซ่อมบำรุงฉบับที่ ถกู ต้อง และทนั สมยั ตามจำนวนที่เหมาะสม 2. ชนิดของเอกสาร เอกสารทีใ่ ชร้ าชการอยู่ในกองทัพบก มอี ยเู่ ปน็ จำนวนมากในรปู แบบของ - ระเบียบ - คำสงั่ - คำช้แี จง - คูม่ ือทางเทคนคิ (คท.) - คู่มือราชการสนาม (รส.) - แบบพิมพต์ า่ ง ๆ สำหรบั การปรนนิบตั ิบำรงุ และส่งกำลัง 2.1 ระเบยี บกองทพั บกจะออกระเบยี บเก่ียวกบั การซ่อมบำรุงไวโ้ ดยแนน่ อน เชน่ - ระเบียบ ทบ.วา่ ด้วยการสง่ กำลงั สง่ิ อุปกรณ์ 2 - 4 พ.ศ. 2534 - ระเบยี บ ทบ.วา่ ดว้ ยการรับสง่ิ อุปกรณ์ พ.ศ. 2534 2.2 คำส่ัง คำส่ังเกี่ยวกับการซ่อมบำรุงท่ีจะนำมาเปน็ หลักฐาน และยึดถือเป็นหลักปฏิบั ติ เช่นคำส่ัง ทบ. ท่ี 400/2507 ลง 9 พ.ย.07 เร่ือง ใหใ้ ช้คู่มอื ทางเทคนิค คท.37-2810 ในการตรวจสภาพ และการปรนนบิ ัติ บำรุงยานยนต์ เป็นตน้ 2.3 คำส่ังช้ีแจง ทบ.จะออกคำส่ังช้ีแจง เชน่ คำส่ัง ทบ.(คำชี้แจง) ท่ี 13/1693 ลง 6 ก.พ. 04 เร่ืองการ ตรวจสภาพยุทโธปกรณส์ ายสรรพาวุธ โดยผู้บังคบั บัญชา 2.4 คู่มอื ทางเทคนิค (คท.)เปน็ เอกสารซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์ ซึ่งจะกำหนดชนิดของเอกสารต่าง ๆ ไว้เป็น ระบบจำนวนตัวเลข ทั้งนเี้ พื่อให้งา่ ยตอ่ การคน้ หา และการนำไปใช้ปฏิบัติ เอกสารซ่อมบำรุงน้ียังกำหนดตวั ย่อ ของชนดิ เอกสารไว้ เพ่ือมิใหเ้ กดิ ความสับสนในการนำไปใชอ้ ีกดว้ ย เช่น 2.4.1 ตวั ย่อ - คู่มอื ทางเทคนิค (คท.) (TM ) ย่อมาจาก TECHNICAL MANUAL - คำสั่งการหลอ่ ล่นื (คล.) (LO ) ย่อมาจาก LUBRICATION ORDER - คำสัง่ ดัดแปลงแก้ไขยุทธภัณฑ์ (MWO ) ยอ่ มาจาก MODIFICATION WORK ORDER

ห น ้ า | 16 2.4.2 การกำหนดระบบจำนวนตัวเลข แทนความหมายของเหล่าต่าง ๆ เพื่อมิให้เกิดสับสน และมี ปัญหายุ่งยากในการค้นหาหลักฐานอ้างอิงสำหรับการปรนนิบัติบำรุงและซ่อมบำรุง การส่งกำลังยุทโธปกรณ์ นั้น จึงไดก้ ำหนดจำนวน ตวั เลขซึ่งมีความหมายแทนเหล่าตา่ ง ๆ ดงั ตอ่ ไปนี้ - TM ทม่ี ีตัวเลขต่อทา้ ยดว้ ยเลข 3 เป็นคมู่ ือของเหล่า วทิ ยาศาสตร์ - TM ท่ีมตี ัวเลขตอ่ ทา้ ยด้วยเลข 5 เป็นคมู่ ือของเหลา่ ชา่ ง - TM ที่มีตัวเลขต่อท้ายด้วยเลข 9 เป็นคู่มือของเหล่า สรรพาวุธ หรือหน่วยที่เก่ียวข้อง และ ขอรบั การสนับสนนุ การซ่อม และการสง่ กำลังจากสรรพาวธุ - TM ทม่ี ีตวั เลขต่อท้ายดว้ ยเลข 10 เปน็ คมู่ อื ของเหลา่ พลาธิการ - TM ท่มี ีตวั เลขต่อทา้ ยด้วยเลข 11 เปน็ คู่มือของเหล่า สอื่ สาร - TM ทีม่ ตี ัวเลขต่อท้ายด้วยเลข 55 เปน็ คมู่ อื ของเหลา่ ขนสง่ 1.4.3 ความหมายของ TM 9-2350-257-20-1 เพื่อให้ผ้บู ังคับบัญชา เจ้าหน้าที่เกี่ยวขอ้ งและรับผิดชอบต่อการซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์ตา่ ง ๆ ของ หน่วยได้มีความเข้าใจในการนำเอกสารคู่มือประจำยุทโธปกรณ์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ถูกต้อง จึงจำเป็น อย่างย่ิงท่ีจะต้องทราบความหมายของตัวย่อและระบบจำนวนตัวเลขดังตัวอย่าง ข้างต้นซึ่งจะมีปรากฏที่ ส่วนบนของหนา้ ปก เอกสารค่มู ือทางเทคนิค และเอกสารคมู่ อื ส่งกำลัง เช่น - TM ยอ่ มาจากคำวา่ TECHNICAL MANUAL หนงั สือค่มู อื ทางเทคนคิ (คท.) - 9 หมายถึง สายการบรกิ ารทางเทคนคิ (เหลา่ สรรพาวุธ) - 2350 กลุ่มตัวเลข 4 ตัว หมายถึง ประเภท และพวกยุทธภัณฑ์ (FEDERAL SUPPLY CLASSIFICATION ) เรียกชื่อย่อเป็นภาษาอังกฤษสั้นๆ ว่า (FSC) เลข 2 ตัวแรกของกลุ่มตัวเลข 4 ตัว หมายถึง พวก หรือกลุ่ม (GROUP) ซึ่งมีประมาณ 76 กว่าพวก ขอยกตัวอย่างให้พอเข้าใจ 6 พวกแรก ได้แก่ 2.4.3.1. - 23 หมายถึง ยานยนต์ รถพ่วง รถจกั รยานยนต์ 2.4.3.2. - 24 หมายถงึ รถแทรคเตอร์ (ล้อยาง) 2.4.3.3. - 28 หมายถึง เครอ่ื งยนตแ์ กส๊ โซลนี (เครอื่ งกำเนดิ กำลงั ) และส่วนประกอบ 2.4.3.4. - 30 หมายถงึ รถแทรคเตอร์ (สายพาน) 2.4.3.5. - 49 หมายถงึ เครอื่ งซ่อมบำรุง และเคร่อื งมือซอ่ มเครอ่ื งยุทธภัณฑป์ ระจำโรงงาน 2.4.3.6. - 61 หมายถึง เคร่ืองกำเนิดไฟฟ้า เครื่องควบคุมและอุปกรณ์จ่ายกระแสไฟฟ้า เลข 2 ตัวหลังของกลุ่มตัวเลข 4 ตัว หมายถึง ประเภท (CLASS) ประเภทนั้นจะมีหลายประเภทแต่จะต้อง ยกตัวอยา่ ง พอให้เข้าใจ 4 ประเภท ดงั น้ี 2.4.3.7. - 00 หมายถงึ ยานยนต์ประเภทสายพาน รถสายพาน รถสายพานลำเลียงพล และรถอตั ตาจร (คมู่ ือเกา่ ) 2.4.3.8. - 20 หมายถึง ยานยนตป์ ระเภทล้อ 2.4.3.9. - 30 หมายถึง รถพ่วงบรรทุกและรถชานตำ่ 2.4.3.10. - 50 หมายถึง รถถัง และรถสายพานลำเลียงพล (คมู่ อื ใหม่) - 257 หมายถึง ลำดับท่ขี องหนงั สือคู่มือประจำชนดิ ของยทุ โธปกรณ์ - 20 หมายถึง ตัวเลขท่ีกำหนดไวส้ ำหรับข้นั การซอ่ มบำรงุ ซึ่งแบ่งข้นั การซ่อมบำรงุ ออกเปน็ 5 ข้นั ซง่ึ มีตวั เลขกำหนดไว้ ดังน้ี

ห น ้ า | 17 10 สำหรับ ข้นั ท่ี 1 20 สำหรบั ขัน้ ท่ี 2 30 สำหรับ ขั้นที่ 3 40 สำหรับ ขนั้ ที่ 4 50 สำหรับ ข้ันท่ี 5 หมายเหตุ ปกตติ ัวเลขที่กำหนดขั้นการ ซบร.ของหน่วย สรรพาวุธ น้ันจะเขียนตวั เลข 34 หมายถึงใช้ได้ ขั้น 3 และ ข้ัน 4 หรือ 35 คือใช้ได้ ต้ังแต่ข้ัน 3 ขั้น 4 และข้ัน 5 โดยอาจมีตัวเลขต่อท้ายตัวเลขที่กำหนดข้ัน การ ซบร. ไว้ -1 -2 - 1 หมายถึง ตัวรถ ( AUTOMOTIVE ) - 2 หมายถงึ ปอ้ มปนื ( TURRET ) 3. การใชค้ ู่มอื ทางเทคนคิ ประจำยทุ โธปกรณ์ และคูม่ ือสง่ กำลงั 3.1 TM 9 ท่ีมีตัวเลขลงท้ายด้วยเลข 10 เป็นหนังสือคู่มือแสดงข้อมูลรายละเอียดทางเทคนิคของ ยุทธภัณฑ์แต่ละชนิด โดยจะรวบรวมคำแนะนำในการใช้ยุทโธปกรณ์ และการปรนนิบัติบำรุงยุทโธปกรณ์ ให้แกพ่ ลประจำรถ พอสรปุ เปน็ ขอ้ ๆ ไดด้ งั น้ี 3.1.1 แสดงขา่ วสาร คณุ ลักษณะ รายละเอียด มาตราทานของยทุ โธปกรณ์ (ประกอบภาพ) 3.1.2 ให้คำแนะนำการในเตรียมการกอ่ นท่จี ะนำยุทโธปกรณ์ไปใชง้ าน 3.1.3 ใหค้ ำแนะนำในการปรนนบิ ตั บิ ำรงุ ขน้ั ที่ 1 ของพลประจำรถ 3.1.4 กำหนดแผนการหล่อลืน่ 3.1.5 แสดงรายการเครื่องมือ เคร่อื งใช้ประจำยทุ โธปกรณต์ ลอดจนการเกบ็ รกั ษา 3.1.6 แนะนำรายละเอียด วิธีการขนสง่ ยุทโธปกรณ์ 3.1.7 แนะนำวธิ ีการทำลายจดุ สำคัญของยุทโธปกรณ์ เพอื่ ป้องกนั มิใหข้ า้ ศกึ นำไปใช้ประโยชน์ 3.1.8 แนะนำวิธีการใชย้ ุทโธปกรณใ์ นสภาพดินฟา้ อากาศผิดปกติ 3.1.9 อธบิ ายข้อขัดขอ้ ง สาเหตแุ ละวธิ กี ารแกไ้ ข ตัวอยา่ ง คู่มือทางเทคนคิ ของพลประจำรถ รสพ.M113A2 --------------------------------------------------- TM 9-2350-261-10 OPERATOR'S MANUAL CARRIER, PERSONNEL,FULL TRACK ARMORED M113A2 ( 2350-01-068-4077 ) CARRIER,COMMANDPOST,LIGHT,TRACKED M577A2 ( 2350-01-068-4089 ) CARRIER,MORTAR,107-MM,SELF-PROPELLED M106A2 ( 2350-01-069-6931 ) CARRIER,MORTAR,81-MM,SELF-PROPELLED M125A2

ห น ้ า | 18 ( 2350-01-068-4078 ) HEAD QUARTERS,DEPARTMENT OF THE ARMY 8 MAY 1962 --------------------------------------------------- 3.2 คู่มือทางเทคนิค การซ่อมบำรุงที่มีเลขลงทา้ ยด้วย 20 เป็นคู่มือทางเทคนิคสำหรับการซ่อมบำรงุ ระดับ หนว่ ย ซ่งึ อธิบายใหท้ ราบถงึ รายละเอยี ดของยุทโธปกรณ์ ซง่ึ พอสรปุ เป็นข้อ ๆ ดังน้ี 3.2.1 อธบิ ายถึงคณุ ลกั ษณะ รายละเอยี ดและมาตราทานของยุทโธปกรณ์ (ประกอบภาพ) 3.2.2 แนะนำการบริการ และการซ่อมบำรงุ ยทุ โธปกรณร์ ะคบั หน่วย 3.2.3 แนะนำการดำเนนิ กรรมวิธเี มื่อแรกรับตอ่ ยทุ โธปกรณ์ ก่อนทีจ่ ะไปใช้งาน 3.2.4 แสดงรายละเอียด วธิ กี ารขนส่ง และการบรรทกุ ยทุ โธปกรณ์ 3.2.5 แนะนำวธิ ีการทำลายจุดสำคัญ ของยุทโธปกรณ์เพื่อป้องกนั มิให้ข้าศกึ นำไปใช้ประโยชน์ 3.2.6 กำหนดผังแบ่งมอบการซอ่ มบำรุง ระดบั ตา่ ง ๆ ( MAINTENANCE ALLOCATION CHART ) 3.2.7 แสดงรายการเครอื่ งมอื พเิ ศษ สำหรับการซ่อมบำรุงระดับหนว่ ย 3.2.8 อธบิ ายข้อขดั ข้อง สาเหตุและวิธกี ารแกไ้ ข ตวั อย่าง คู่มอื ทางเทคนคิ สำหรบั การซ่อมบำรงุ ระดับหน่วยของ รถถัง M60A3 (ปอ้ มปนื ) TM 9-2350-253-20-2 TECHNICAL MANUAL ORGANIZATION MAINTENANCE TANK, COMBAT, FULL TRACKED: 105-MM GUN, M60A3 NSN 2350-00-148-6548 AND NSN 2350-01-061-2306 (TTS) TURRET HEADQUARTERS,DEPARTMENT OF THE ARMY DECEMBER 1979 3.3 คู่มือทางเทคนิค TM 9 ท่ีลงท้ายด้วยอักษร P เป็นเอกสารการส่งกำลังบอกรายการช้ินส่วนซ่อม ซึ่ง อนุมตั ิให้หน่วยทีท่ ำการซ่อมบำรุงยทุ โธปกรณ์ ไดเ้ บิกชน้ิ ส่วนต่าง ๆตามรายการท่ีได้กำหนดไว้ แตล่ ะระดับช้ัน การซ่อมบำรุง เก็บสะสมหรือเบิกทดแทนหมุนเวียน เพ่ือใช้ในการซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์ ปกติคู่มือทาง เทคนิค TM 9 ที่ลงท้ายด้วยอักษร P จะมีประจำยุทโธปกรณ์ทุกชนิดและจะต้องทันสมัยและผู้ใช้คู่มือทาง เทคนิคน้ีคือเจ้าหน้าที่ซ่อมบำรุงฯและนายสิบส่งกำลังสาย สพ.ของหน่วยทุกระดับมีรายละเอียดพอสรุปเป็น ข้อ ๆได้ คือ 3.3.1 มสี ารบัญ รายการทีต่ อ้ งการทราบ 3.3.2 แสดงตารางรายการชิ้นสว่ นซอ่ ม ท่อี นมุ ัตใิ หห้ น่วยเบิกสะสมชิ้นสว่ นซอ่ มอะไหล่ ให้ลด คงคลงั ( PLL. Prescribed load list ) 3.3.3 มรี ปู ภาพชน้ิ ส่วนประกอบใหญ่ และชนิ้ ส่วนประกอบยอ่ ย 3.3.4 แสดงตารางหมายเลข และควบคมุ ชิ้นส่วน ชอื่ ชนิ้ ส่วนและตัวเลขอนุมัตใิ หห้ น่วย 3.3.5 แสดงรายการเครอ่ื งมอื พเิ ศษ สำหรบั การซอ่ มบำรุงระดับหนว่ ย

ห น ้ า | 19 ตัวอย่าง คู่มอื ทางเทคนิค TM 9 ทล่ี งท้ายด้วยอกั ษร P รถถงั M60A3 (ตัวรถ) --------------------------------------------------------------- TM 9-2350-253-20P-1 TECHNICAL MANUAL ORGANIZATION MAINTENANCE TANK,COMBAT,FULL TRACKED: 105-MM GUN, M60A3 NSN 2350-00-148-6548 AND NSN 2350-01-061-2306 (TTS) HULL HEAD QUARTERS DEPARTMENT OF THE ARMY DECEMBER 1979 --------------------------------------------------- 3.4 คำส่งั การหลอ่ ลื่น( LUBRICATION ORDER) [ (LO) (คล.) ] คำสั่งการหล่อล่ืน จะทำเป็นรปู แผนผัง สำหรับให้พลประจำรถหรือผู้ปฏิบัติการหล่อลืน่ ไดป้ ฏิบตั ิตามคำสั่ง ทร่ี ะบุไวใ้ นแผนผัง ปกตจิ ะมีประจำยทุ โธปกรณท์ กุ ชนดิ โดยมรี ายละเอียดสรปุ เปน็ ข้อ ๆ ได้ดังน้ี 3.4.1 แสดงตำบล หรอื จดุ สำคัญที่จะต้องทำการหล่อลนื่ และชนิดของวสั ดุหลอ่ ลน่ื ทใ่ี ช้ 3.4.2 บอกระยะเวลา จำนวนไมลแ์ ละชั่วโมงใช้งานของยุทโธปกรณ์ท่ีตอ้ งได้รับการหลอ่ ลนื่ 3.4.3 แนะนำวธิ หี ล่อลน่ื และการใชว้ สั ดุหลอ่ ลื่น ตามสภาพอุณหภูมทิ อ้ งถนิ่ ทีใ่ ช้ยทุ โธปกรณ์ 3.4.4 บอกจำนวนจดุ หลอ่ ลน่ื และปริมาณวัสดุหลอ่ ล่ืนทใี่ ช้ ตวั อย่าง คำสั่งการหลอ่ ล่ืน รสพ.M113A2 ---------------------------------------------------- LO 9-2350-261-12 10 JULY 1990 CARRIER,PERSNONEL,FULL TRACKED,ARMORED,M113A2 2350-01-068-4077 CARRIER,COMMAND POST,LIGHT, TRACKED, M577A2 2350-01-068-4089 CARRIER,MORTAR,107-MM,SELF,PROPELLED,M106A2 2350-01-069-6931 CARRIER,MORTAR,81-MM,SELF-PROPELLED,M125A2 2350-01-068-4087 ------------------------------------ 3.5 อตั ราการจดั และยุทโธปกรณ์ (อจย.) TABLE OF ORGANIZATION AND EQUIPMENT (TOE)

ห น ้ า | 20 อัตราการจัดและยทุ โธปกรณ์โดยปกติจะแสดงใหท้ ราบถึง ภารกจิ โครงสร้างการจัดหน่วย อตั ราอนุมตั ิ ให้มียทุ โธปกรณ์และเจา้ หน้าทีป่ ระจำหนว่ ยทหาร เอกสารน้แี บ่งออกเป็น 4 ตอน คือ ตอนท่ี 1 กลา่ วทวั่ ไป ตอนท่ี 2 ผังการจดั ตอนท่ี 3 อัตรากำลงั พล ตอนท่ี 4 อัตรายทุ โธปกรณ์ ตัวอย่าง อตั ราการจดั และยทุ โธปกรณ์ (อจย.) หมายเลข 17 - 15 กองพันทหารม้า (รถถัง) ที่______ ตอนที่ 1 กลา่ วท่วั ไป 1. ภารกิจ 2. การแบง่ มอบ 3. ขดี ความสามารถ 4. อัตราลด 5. ยทุ โธปกรณ์ ตอนท่ี 2 ผงั การจดั ตอนที่ 3 อัตรากำลังพล ตอนที่ 4 อัตรายุทโธปกรณ์ หมายเหตุ อจย.จดั อยใู่ นขั้นความลับประเภท ลบั 3.6 คำสง่ั การดดั แปลงแกไ้ ขยทุ โธปกรณ์ “MODIFICATION WORK ORDER” (MWO) 3.6.1 ความมงุ่ หมาย ยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธที่ใช้อยู่ในกองทัพบกน้ัน ให้มีการดัดแปลงแก้ไขได้เมื่อเกิดความจำเป็น ในการป้องกันมิให้ยุทโธปกรณ์ชำรุดเสียหาย เพื่อเพ่ิมความปลอดภัย เพื่อลดงานซ่อมบำรุง และเพ่ือเพิ่ม ประสทิ ธภิ าพในการใชง้ านใหส้ ูงข้ึน 3.6.2 การเสนอแนะ และการอนุมตั ิใหม้ กี ารดัดแปลงแก้ไขยทุ โธปกรณ์ 3.6.2.1 ผู้ที่มีหน้าที่เก่ียวข้องกับยุทโธปกรณ์ มีสิทธเ์ิ สนอแนะให้มีการดัดแปลงแก้ไขยุทโธปกรณ์ ดว้ ยความมงุ่ หมายดงั กลา่ วมาขา้ งตน้ โดยปฏบิ ตั ติ ามวิธีการซึ่งกรมสรรพาวุธกำหนดข้ึน 3.6.2.2 เจ้ากรมสรรพาวุธทหารบก มีหน้าที่พิจารณาข้อเสนอแนะในการดัดแปลงแก้ไข ยทุ โธปกรณ์ และดำเนินการทางเทคนิคอนั เหมาะสม เพือ่ ใหบ้ รรลุผลตามความมุง่ หมายดงั กล่าว 3.6.3 การดดั แปลงแก้ไขยุทโธปกรณ์ ให้กระทำตามคำส่ังกองทัพบก ว่าด้วยการดัดแปลงแก้ไขยุทโธปกรณ์ในส่วนน้ัน ๆ และเม่ือมี คำส่ังใหด้ ดั แปลงยทุ โธปกรณ์แล้ว ผู้มหี นา้ ที่ในการดัดแปลงแกไ้ ขตอ้ งดำเนนิ การตามคำสั่งทันที จะละเวน้ หรือ เมินเฉยเสียมไิ ด้ 3.6.4 ห้ามทำการดัดแปลงแก้ไขยุทโธปกรณ์ โดยมิได้มีคำส่ังหรือทำการดัดแปลงแก้ไขให้ผิดแปลก นอกเหนือไปจากแบบแผนในคำสั่งที่เกีย่ วขอ้ ง ในกรณีที่พิจารณาเห็นวา่ อาจเกิดอนั ตรายอย่างร้ายแรงแก่ชวี ิต แลทรพั ยส์ ิน ให้งดใชย้ ุทโธปกรณส์ ายสรรพาวธุ นัน้ แล้วรายงานตามสายการบังคบั บญั ชาโดยเรว็ ทส่ี ดุ 3.6.5 การดัดแปลงแกไ้ ขยุทโธปกรณ์ตามลำดับความเรง่ ดว่ น แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คอื

ห น ้ า | 21 (1.) ประเภทตอ้ งดดั แปลงทนั ที และ (2.) ประเภทปกติ 3.6.5.1 ประเภทต้องดัดแปลงทันที เมื่อมีคำสั่งให้มีการดัดแปลงประเภทนี้ ผู้ท่ีรับผิดชอบในการ ดัดแปลง ต้องดำเนินการดัดแปลงตามคำส่ังต่อยุทโธปกรณ์ในหน่วยใช้ก่อนท่ีจะใช้งานยุทโธปกรณ์ต่อไป สำหรับยุทโธปกรณ์ท่ีเก็บรักษาไวใ้ นคลังสรรพาวุธนั้น ผู้รับผิดชอบในการรักษาและแจกจ่าย ตอ้ งจัดให้มีการ ดัดแปลงกอ่ นท่ีจะจ่ายยทุ โธปกรณอ์ อกไปยงั หน่วยใช้ ทั้งน้นี อกจากคำส่ังดดั แปลงแก้ไขเฉพาะยุทโธปกรณ์แต่ ละอย่างจะได้กำหนดไว้เป็นอย่างอื่น ให้กรมสรรพาวุธรับผิดชอบในการตรวจสอบและการติดตามผลการ ดัดแปลงประเภทนี้ ให้เปน็ ไปตามกำหนดการทบ่ี ง่ ไว้ในคำส่งั ดัดแปลง 3.6.5.2 ประเภทปกติ การดดั แปลงประเภทนี้ ให้ผู้รับผดิ ชอบการดัดแปลงดำเนนิ การดัดแปลง โดยเร็วเท่าที่จะปฏิบัติได้ หรือดำเนินการให้ทันตามกำหนดท่ีบ่งไว้ในคำส่ัง ส่วนยุทโธปกรณ์ที่บรรจุหีบห่อ เพ่ือการศึกษาไว้ในคลังสรรพาวุธนั้นไม่ต้องนำมาดัดแปลง นอกจากคำสั่งการดัดแปลงแก้ไขเฉพาะ ยทุ โธปกรณ์แต่ละอยา่ งจะกำหนดไวเ้ ป็นอยา่ งอน่ื 3.7 คู่มือราชการสนาม (รส.) FIELD MANUAL (FM) คู่มือราชการสนาม เป็นหนังสือคู่มือ และจัดว่าเป็นเอกสารเก่ียวกับหลักนิยมทางทหารยุทธวิธี และ เทคนิคตา่ ง ๆ คมู่ อื ราชการสนามนี้จะบรรจคุ ำแนะนำ ขา่ วสารและเอกสารอา้ งองิ ตา่ ง ๆ ซง่ึ เกยี่ วกบั การฝึกปฏิบตั ขิ องหนว่ ย และเหลา่ ตา่ งๆ ในการปฏิบัตทิ างทหารและมรี ะบบจำนวนตวั เลขกำกับเอกสารของแต่ละเหล่า เช่น - ทหารม้ายานเกราะ ขนึ้ ต้นด้วยเลข 17 (รส.17 ----------) - ทหารราบ ข้นึ ตน้ ดว้ ยเลข 7 (รส.7 -----------) - ทหารทุกเหล่าใชไ้ ด้ ขนึ้ ต้นดว้ ยเลข 20 (รส.20 ----------) 3.8 แบบพมิ พ์ตา่ ง ๆ สำหรับใชใ้ นการปรนนิบตั ิบำรงุ ตามคำสั่ง ทบ. ท่ี 400/2507 ลง 9 พ.ย.07 4. เอกสาร และค่มู ือสำหรับการซ่อมบำรุงระดับหนว่ ย เอกสาร และคู่มือสำหรับการซ่อมบำรุงระดับหน่วย จะต้องมีไว้เป็นหลักฐานอ้างอิงและใช้ปฏิบัติเกี่ยวกับ การปรนนิบัติบำรุง การซ่อมบำรุง และการส่งกำลัง โดยเอกสารน้ันต้องทันสมัยและต้องนำมาใช้ให้เป็น ประโยชนม์ ากท่สี ุด สรปุ เอกสารซ่อมบำรุง เป็นสิ่งจำเป็นอย่างย่ิงสำหรับ เจ้าหน้าท่ีของหน่วยต่าง ๆ ซึ่งมีหน้าที่เก่ียวข้องกับ การปฏิบตั ิการปรนนิบัติบำรุง การซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์ ตา่ ง ๆ เชน่ ยานยนต์ และอาวุธ ฯลฯจำเปน็ ต้องใช้ เอกสารคู่มือทางเทคนิคประกอบการปฏิบัติทางเทคนิคทุกคร้ัง และการท่ีหน่วยต่างๆ ไม่มีเอกสารคู่มือทาง เทคนคิ และค่มู อื การส่งกำลงั จะเกิดปญั หาต่าง ๆ ขึน้ ได้ เช่น - ทำใหก้ ารปรนนิบัตบิ ำรุง การซ่อมบำรุง และการสง่ กำลังไมเ่ ป็นไปอยา่ งถูกต้องและมีมาตรฐานเดียวกัน - ทำใหก้ ารซ่อมบำรุง ไม่มีประสิทธภิ าพ อาจประสบความล้มเหลว - อาจเปน็ ผลเสียหายต่อยุทโธปกรณ์ มีประสิทธิภาพการใช้งานตำ่ และมีอายุการใชง้ านน้อยไม่เปน็ ไปตาม เวลาทไ่ี ดร้ ับการออกแบบไว้ **************

ห น ้ า | 22 แผนกวชิ ายานยนต์ กองการศกึ ษา โรงเรียนทหารมา้ ศูนยก์ ารทหารมา้ คา่ ยอดิศร สระบุรี ---------- เอกสารเพิ่มเตมิ วชิ า การซอ่ มบำรงุ ทางธุรการ และแบบพิมพป์ ระวัติ หมายเลขวชิ า ยน. …………………… 1. กล่าวทว่ั ไป การศึกษาวิชาการซ่อมบำรุงทางธุรการและแบบพิมพ์ประวัติ นักเรียนจะทราบถึงวิธีการปฏิบัติ เก่ียวกับการใช้ยานยนต์ การบันทึกแบบพิมพ์ ต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องรวมทั้งคู่มือ และคำสั่งต่างๆ ท่ีกองทัพบกได้ กำหนดข้ึน เพ่ือวางหนทางปฏิบัติให้เป็นไปในแนวเดียวกันเอกสารและแบบพิมพ์ประวัติซึ่งได้บันทึกไว้น้ีจะ ช่วยให้ผู้ท่ีเก่ียวข้องทราบถึง ปัญหาข้อเท็จจริงและการแก้ไขท่ีถูกต้อง ข้อสำคัญก็คือรู้ว่าเม่ือว่าท่านต้องการ ทราบเรอ่ื งใด จะตรวจสอบไดท้ ่ไี หน โดยใช้เวลาน้อยทีส่ ดุ 2. ความม่งุ หมาย เพื่อให้มคี วามร้เู ก่ียวกับ 2.1 ระเบยี บปฏิบัตกิ ารใชแ้ บบพิมพ์ ซ่ึง ทบ.ไดก้ ำหนดแนวทางไว้ 2.2 ความรับผดิ ชอบทุกระดับการบังคบั บญั ชา ในระบบการซอ่ มบำรุง 2.3 วิธีการปฏบิ ตั เิ ก่ียวกบั การใชย้ านยนต์ การ ปบ.และการบนั ทึกแบบพิมพ์ 2.4 การใชค้ ู่มือ ระเบยี บ และคำสั่งที่เกี่ยวขอ้ ง 3. คำสั่ง คำส่ังทีเ่ กีย่ วข้องกบั แบบพมิ พ์ และรายงาน ทคี่ วรทราบ มดี ังนี้ - คำสั่ง ทบ.ท่ี 313/22986 เร่ือง วิธีการสง่ กำลังสาย สพ. ลง 1 พ.ย.98 - คำสง่ั ทบ.ท่ี 320/23630 เรอื่ ง วธิ ีการซ่อมบำรงุ ยุทโธปกรณส์ าย สพ. ลง 1 พ.ย.98 - คำสั่ง ทบ.ที่ 19/15790 เร่อื ง การตรวจสภาพเฉพาะอยา่ งยทุ โธปกรณ์สาย สพ. ลง 13 ก.ค.03 - คำสง่ั ทบ.ท่ี 200/9932 เรือ่ ง หลักการซอ่ มบำรุงยทุ โธปกรณส์ าย สพ. ลง 8 ส.ค.04 - คำสง่ั ทบ.ท่ี 13/1693 เร่ือง การตรวจสภาพการซอ่ มบำรุงสาย สพ.ลง 6 ก.พ.04 - คำสง่ั ทบ.ท่ี 23/1150 เรื่อง กำหนดขนั้ การซ่อมบำรงุ ลง 28 มิ.ย.05 - คำสั่ง ทบ.ที่ 400/2507 เรอื่ ง การตรวจสภาพและการ ปบ.ยานยนต์ ลง 9 พ.ย. 07 - คำสง่ั ทบ.ท่ี 33/2510 เร่ืองรายงานยานยนตง์ ดใชก้ ารประจำเดอื น ลง 7 ก.พ.10 4. แบบพิมพ์ แบบพมิ พ์ซ่ึงใชซ้ ่อมบำรุงประจำหน่วยนั้นมคี วามมงุ่ หมายในการใช้ สรปุ เป็นข้อ ๆ ได้ ดังน้ี 4.1 ใชค้ วบคมุ การใชร้ ถ และการ ปบ.ให้เปน็ ไปอย่างถูกตอ้ ง 4.2 กำหนดวิธีการตรวจสภาพ และการ ปบ. ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน 4.3 เป็นหลักฐานแสดงถึง สมรรถภาพของหนว่ ย 4.4 เปน็ หลกั ฐานในการรายงานการสอบสวน 4.5 ใช้ในการพจิ ารณาแบ่งประเภทของยานยนต์ ตามสภาพการใช้งาน 4.6 เพือ่ เป็นหลักฐานการเบิกจา่ ย 5. เอกสารการซ่อมบำรุงทางธุรการ เอกสารการซ่อมบำรุงทางธุรการ หมายรวมถึงแบบพิมพ์สภาพ และ รายงานเอกสาร คู่มือทั้งหมดซึ่งกองทัพบกให้มีไว้เพือ่ กำหนด วธิ ีปฏิบตั ิเกี่ยวกับการ ปบ.ของหน่วย ใช้ซ่ึงแยก ประเภทได้ 4 ประเภท คือ (ดูแผนผังประกอบ)

ห น ้ า | 23 5.1 แบบพมิ พค์ วบคมุ การใช้รถ และการ ปบ. 5.2 แบบพมิ พส์ ำหรับบริการ 5.3 แบบพมิ พ์การสง่ กำลงั 5.4 แบบพมิ พ์บนั ทึกสถิติ-รายงาน 6. แบบพิมพ์ที่ใช้ในการซ่อมบำรุงประจำหน่วย แบบพิมพ์ประเภทต่าง ๆ ท่ีกล่าวมาแล้ว ถ้าแบ่งตาม ลักษณะการใชง้ านทางการซอ่ มบำรุง แบง่ ไดเ้ ปน็ 3 อยา่ ง คอื 6.1 แบบพมิ พ์ใช้ในการซ่อมบำรุงขนั้ ท่ี 1 6.2 แบบพิมพใ์ ช้ในการซ่อมบำรุงข้ันที่ 2 6.3 แบบพิมพ์ใชใ้ นการสง่ กำลัง 6.1 แบบพิมพใ์ ช้ในการซ่อมบำรุงข้ันท่ี 1 (1.1 ) แบบพิมพ์ บัตรการใช้รถประจำวัน ทบ.468 - 310 (สพ.110) บัตรน้ีเปรียบเสมือนบัตร อนุญาตให้พลขับนำรถออกใช้งานนอกหน่วยได้ มีรายละเอียดการบันทึกและเกี่ยวข้องกับบุคคลหลายฝ่าย ซึง่ การการบันทึกนัน้ ต้องสามารถเชือ่ ถือได้ ไม่มีการปลอมแปลง ทั้งน้ีเพอ่ื ให้เจ้าหน้าที่ผู้เกยี่ วขอ้ งปฏบิ ัติงานได้ ถกู ต้อง และผูบ้ งั คับบัญชาได้ทราบถงึ สถานการณ์ท่ีแทจ้ ริง ( 1.1.1) การบนั ทึกบตั รการใช้รถประจำวนั เปน็ การบันทกึ เพอ่ื วางแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับ - การบันทกึ - เวลาการใช้งาน - จำนวนระยะทางการใชง้ าน - ความสิน้ เปลอื ง สป.3 - รายงานการ ปบ.ข้นั ท่ี 1 - ขอ้ บกพร่องท่เี กิดข้ึน และการแก้ไข (1.1.2) กรณียกเวน้ ไมต่ ้องใช้บัตรการใชร้ ถประจำวนั - การปฏบิ ตั กิ ารทางยทุ ธวธิ ี - ขบวนในความควบคุม หมายเหตุ กรณีไม่ต้องใช้แบบพิมพ์นี้ พลขับจะต้องทำการ ปบ.ตามรายการท่ีระบุไว้ทุกนตอน เช่นเดียวกัน แต่ไม่ต้องบันทึกแบบพิมพ์ ถ้าสถานการณ์ทางยุทธวิธีไม่เอ้ืออำนวย ให้งดเว้นการ ปบ.ได้บาง รายการ แต่จะงดเวน้ ไม่ ปบ.เลยไม่ได้ (1.1.3) แบบพิมพ์บัตรใช้รถประจำวันใช้ทำการ ปบ.ประจำสัปดาห์ด้วย ถ้าใช้แบบพิมพ์บันทึกการ ปบ. ประจำสัปดาห์ จะต้องเก็บเป็นหลักฐานไว้ในซองประวัติยุทธภัณฑ์ จนกว่าจะทำการ ปบ.ประจำเดือน แล้ว จงึ จะทำลายได้ แบบพมิ พน์ ้ีใช้บนั ทกึ การ ปบ.ยานพาหนะได้ทุกชนิด (1.1.4) กรณีเกิดอุบัติเหตุ ในการนำรถออกใช้งานแล้วเกิดอุบัติเหตุข้ึน ต้องเก็บแบบพิมพ์น้ีไว้ กับ รายงานอบุ ตั เิ หตุ สพ.91 จนกวา่ คดจี ะสนิ้ สดุ (1.1.5) ลกั ษณะรายละเอยี ด และการบันทกึ แบบพมิ พ์นมี้ รี ายการบนั ทึกท้งั สองหนา้ แบ่งเป็นส่วน ๆ 4 สว่ น ฉีกแยกจากกันได้ (รายละเอียดการบนั ทกึ ดูเอกสารแบบพิมพ์ ทบ.468-310 ประกอบ) สว่ นที่ 1 ส่วนท่ี 2

ห น ้ า | 24 ส่วนท่ี 3 สว่ นที่ 4 ( 2 ) แบบพิมพ์รายงานอุบัติเหตุ ทบ.468 - 702 (สพ.91) แบบพิมพ์รายงานอุบัติเหตุ ใช้สำหรับบันทึก กรณีท่ีเกิดอุบตั ิเหตุข้ึน ฉะนั้นพลขับจะต้องนำแบบพิมพ์ รายงานอบุ ัตเิ หตุน้ีติดไปกับรถทุกครั้งท่ีนำรถออก ใช้งานนอกหน่วย พลขับเป็นผู้บันทึกการรายงานนี้เสนอต่อผู้บังคับบัญชา กรณีท่ีเกิดอุบัติเหตุทำให้เกิด ทรัพย์สินเสียหาย ได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิต หรือรถของตนมีส่วนเก่ียวข้องกับอุบัติเหตุน้ัน โดยต้อง ดำเนนิ การ ดงั น้ี (2.1) บนั ทกึ แบบพมิ พ์รายงานอบุ ตั ิเหตุทนั ทีหลงั จากเกดิ อุบัติเหตุ (2.3) พยายามบนั ทกึ ในสถานทเ่ี กดิ เหตุนน้ั (2.4) รบี ย่ืนรายงานน้เี สนอต่อ ผบ.ชา ทนั ที (2.3) การบันทึกแบบพิมพ์รายงาน จะตอ้ งบนั ทกึ ทกุ ครง้ั ที่มอี ุบัติเหตุ ไมม่ ีข้อยกเว้น (2.4) กรณีท่ีพลขับไม่สามารถบันทึกรายงานน้ีได้ เช่นได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิต ให้ผบ.ชา โดยตรงของพล ขบั (หรอื ผอู้ าวุโสในขณะนนั้ ) เปน็ ผู้บนั ทกึ แทน (2.5) ถ้ามผี บู้ าดเจ็บใหพ้ ลขับรบี ดำเนนิ การชว่ ยเหลอื ผบู้ าดเจ็บกอ่ นแลว้ รีบบนั ทึกรายงานน้ีทันที ทีม่ โี อกาส (2.6) การบนั ทึกรายงาน ต้องบนั ทึกตามขอ้ เท็จจรงิ (2.7) บันทึกรายงานน้ีใช้เป็นหลักฐานของคณะกรรมการในการสอบสวนอุบัติเหตุ เพ่ือพิจารณาถึงความ รบั ผดิ ชอบ ฉะน้ันต้องเกบ็ แบบพิมพน์ ี้ จนกวา่ คดีจะส้นิ สุด (2.8) ลักษณะรายละเอียด และการบันทกึ (2.8.1) สัญลกั ษณ์ (2.8.2) หวั ข้อท่ีพลขบั ต้องบนั ทึก (2.8.3) หลกั ฐานของฝา่ ยตรงขา้ ม และช่ือทอ่ี ยขู่ องพยาน ( 3.) คำสั่งการหลอ่ ลื่น หรอื แผนการหลอ่ ล่ืน (คล.) (LO) คำสั่งการหล่อล่ืน ปกติจะทำเป็นรปู แผนผงั หรือ ทำเป็นเล่มแบบคู่มือ จะลงท้ายด้วยเลข 10 และ 12 สำหรับให้พลประจำรถ หรือช่างผู้ทำการหล่อลื่นได้ ปฏิบัติตามท่ีกำหนดไว้ คำส่ังการหล่อลื่นจะมีประจำยุทโธปกรณ์ทุกชนิด โดยมีรายละเอียดสรุปเป็นข้อ ๆ ได้ ดังน้ี (3.1) แสดงจุดท่ีต้องใหก้ ารหล่อลื่น และชนดิ ของวสั ดุท่ีใช้ทำการหลอ่ ล่นื (3.2) บอกระยะเวลา หรอื จำนวนระยะทางใช้งานของยุทโธปกรณ์ซึ่งจะต้องไดร้ ับการหล่อลื่นหรือบริการเม่ือ ครบทกี่ ำหนดไว้ (3.3) ให้คำแนะนำวิธีการหลอ่ ลืน่ และการใชว้ สั ดุหล่อล่ืนตามอุณหภมู ิและสภาพของทอ้ งถิ่นทีใ่ ช้ยทุ โธปกรณ์ (3.4) บอกจำนวนของวสั ดุหล่อล่ืน (ความจ)ุ (3.5) ใหค้ ำอธบิ ายและแสดงภาพประกอบรวมทงั้ ข้ันตอนในการปฏิบัติ ( 4.) คู่มือทางเทคนิคประจำยุทโธปกรณ์ (คท.) (TM) คู่มือทางเทคนิคประจำยุทโธปกรณ์ ที่มีตัวเลข กำหนดขั้นการซ่อมบำรุงลงท้ายด้วยเลข 10 เป็นหนังสือคู่มือแสดงข้อมูลรายละเอียดทางเทคนิคของ ยุทโธปกรณ์ ข้อมูลต่าง ๆ น้ีจะรวมคำแนะนำ วิธีใช้ยุทโธปกรณ์ และการปรนนิบัติบำรุงยุทโธปกรณ์แก่พล ประจำรถ สรปุ เปน็ ขอ้ ๆ ได้ ดงั น้ี (4.1) แสดงรายละเอียด คณุ ลักษณะ มาตราทานของยุทโธปกรณ์และภาพประกอบ (4.2) ใหค้ ำแนะนำในการเตรยี มการก่อนนำยุทโธปกรณ์ออกใช้งาน

ห น ้ า | 25 (4.3) ให้คำแนะนำการใชย้ ทุ โธปกรณใ์ นสภาพดินฟา้ อากาศผิดปกติ (4.4) ใหค้ ำแนะนำการ ปบ.ข้นั ที่ 1 (4.5) กำหนดแผนการหล่อล่นื (4.6) แสดงรายละเอียดเครอื่ งมือเคร่ืองใช้ประจำยทุ โธปกรณ์ การเก็บรกั ษา การติดตงั้ (4.7) ใหค้ ำแนะนำรายละเอียด วธิ ีการขนสง่ (4.8) ให้คำแนะนำวธิ ีการทำลายจุดสำคัญของยทุ โธปกรณ์ เพ่อื มใิ ห้นำไปใช้ประโยชนไ์ ด้อกี ใบอนญุ าตขบั ข่ยี านยนตท์ หาร ใบอนุญาตขับขี่ยานยนต์ทหารนี้ กรมการขนส่งทหารบก เป็นผู้ทำการสอบคุณวุฒิ และออกให้แก่ บคุ คลที่ผ่านการทดสอบและรับรองคุณวฒุ ิแล้วเท่าน้ัน มีลักษณะคล้ายใบขับขี่ของกรมตำรวจ พลขับจะต้อง นำใบอนุญาตขับขี่ยานยนต์ทหารติดตัวไปด้วยทุกครั้งเม่ือขณะทำการขับขี่ เพื่อแสดงว่าตนได้รับอนุญาตให้ ทำการขับข่ียานยนตท์ หารประเภทน้นั ๆ ได้ เพราะใบขบั ข่ียานยนตท์ หารนม้ี ีอยดู่ ว้ ยกันหลายประเภท 6.2 แบบพมิ พใ์ ชใ้ นการซอ่ มบำรงุ ขั้นท่ี 2 แบบพิมพ์ท่ใี ช้ในการซ่อมบำรุงขัน้ ที่ 2 ประกอบดว้ ย (6.2.1) แบบพมิ พ์ที่ใชใ้ นการซ่อมบำรุง หรือตรวจสภาพ (6.2.2) แบบพมิ พ์ท่ีใช้ในการควบคมุ การปฏิบัตกิ ารซอ่ มบำรงุ ยานพาหนะ (1.) แบบพมิ พก์ ารจา่ ยรถประจำวัน ทบ.468-375 (สพ.9-75) ก. แบบพมิ พน์ ีผ้ ู้จา่ ยรถใช้สำหรบั บนั ทึกควบคุมรายละเอยี ด ในการใช้รถประจำวนั ของหน่วย ข. ผจู้ า่ ยรถ(ผ้ทู ่มี ีลายเซ็นปล่อยรถในบัตร สพ.110) จะรวบรวมการบันทกึ การขอรถ ลงในแบบพมิ พน์ ้ี และ พยายามรวมการขนส่งเข้าดว้ ยกัน โดยพิจารณาถึง ประสิทธิภาพของยานพาหนะ เส้นทาง ความส้ินเปลือง และการสึกหรอ รวมท้ังการจัดชนิดของยานยนต์ พลขับ ตามความเหมาะสม เพอ่ื การประหยัดและให้การใช้ รถ บงั เกิดผลคุม้ คา่ มากท่ีสุด ค. การตรวจสอบหลังจากการใช้รถ พลขับจะนำบัตรใช้รถ สพ.110 มาคืนแก่ผู้จ่ายรถ ๆ ต้อง ตรวจสอบรายละเอยี ดการบนั ทึกของพลขับ จำนวนระยะทางการใช้งานทัง้ หมด เพ่ือการวางแผนเกย่ี วกับการ นำยานพาหนะเข้ารับการ ปบ. ตามจำนวนระยะทาง หรือวันที่กำหนด หากพลขับรายงานข้อบกพร่องของ ยานยนต์ ผจู้ า่ ยรถจะฉีกท่อนล่าง พร้อมทำใบของานเสนอตอ่ นายสิบยานยนต์เพือ่ ดำเนินการแกไ้ ขตอ่ ไป ง. การเก็บแบบพิมพ์การจ่ายรถประจำวัน ปกติจะเก็บไว้ 1 เดือนจึงทำลายได้ยกเว้น ถ้าเกิดอุบัติเหตุ จะ บนั ทกึ รายการในหมายเหตุ และเก็บไว้จนกวา่ คดีจะส้นิ สุด จ. ลักษณะรายละเอียดการบนั ทึก การจ่ายรถข้ามวัน ผู้จ่ายรถจะต้องบันทึกการจ่ายรถในแบบพิมพ์ทุกวันจนกว่ายานยนต์นั้นจะกลับ ในช่อง หมายเหตุ และหากยานยนต์น้ัน มีรายงานข้อบกพร่อง มีส่ิงผิดปกติหรือเกิดอุบัติเหตุ ผู้จ่ายรถจะ บันทกึ ในช่องหมายเหตุ ดงั นี้ ยานยนต์บกพร่อง - ดูใบของาน เกดิ อุบตั เิ หตุ - ดูรายงานอบุ ตั ิเหตุ - ดูรายงานสอบสวน (2.) แบบพมิ พร์ ายการตรวจสภาพเฉพาะอย่าง ยานยนต์ล้อ ทบ.468 - 368 (สพ.9-68) ยานยนตส์ ายพาน ทบ.468 - 369 (สพ.9-69)

ห น ้ า | 26 ก. แบบพมิ พร์ ายการตรวจสภาพเฉพาะอย่างท้ัง 2 แบบนี้ ใช้สำหรับบนั ทึกผลการตรวจสภาพเฉพาะ อย่าง หรือการตรวจสภาพของ ผบ.ชา ซ่ึงปกติทำการตรวจอยา่ งน้อยปีละครั้ง แบบพิมพ์นเ้ี ปน็ เคร่อื งมืออย่าง หนง่ึ ของ ผบ.ชา ในการหาขา่ วสารเก่ียวกบั สถานภาพยทุ โธปกรณ์ ข. การตรวจ จนท.ช่าง หรือผู้ที่มีความรู้ทางเทคนิคเป็นผู้ตรวจและลงเครื่องหมายที่ระบุไว้ตาม รายการท่ีตรวจ พร้อมทั้งบันทึกการชำรุดส้ันๆ ในช่องหมายเหตุ ส่วนวิธีการปฏิบัติโดยละเอียดน้ัน ดูจาก คมู่ อื ทางเทคนคิ ประจำรถ TM-20 และ TM 37-2810 ค. การเก็บแบบพิมพ์น้ีหลังจากทำการตรวจสภาพแล้ว จนท.จะส่งคืนมาพร้อมสรุปผลการตรวจซึ่ง จะตอ้ งเกบ็ ไวใ้ นซองประวตั ิยุทธภณั ฑ์ จนถึงการตรวจคร้งั ต่อไปเพ่ือติดตามผลการตรวจและแกไ้ ข ง. ลกั ษณะรายละเอยี ดการบนั ทึก ในแบบพิมพท์ ี่ใช้บันทกึ ผลการตรวจสภาพเฉพาะอย่างน้ี แยกเปน็ ตอนๆ 5 ตอน คือ 1. หอ้ งพลขบั 2. หอ้ งเครอื่ งยนต์ 3. เคร่ืองบงั คบั การส่งกำลงั การหลอ่ ลืน่ หอ้ งรบ (รถสายพาน) 4. ลกั ษณะภายนอก และอาวุธประจำ ระบบเครือ่ งพยงุ ตวั รถ 5. ล้อ เคร่ืองพยุงตัวรถและอุปกรณ์เครื่องมือและเคร่ืองประกอบ (รถสายพาน) ในหัวข้อแต่ละตอน จะมีรายการตรวจประมาณ 10 - 12 รายการ ที่ว่างไว้ 3 รายการ เพื่อให้ผู้ตรวจเลือกตรวจเพิ่มเติม จาก แบบพมิ พ์ สพ.461 และแบบพมิ พ์ สพ. 462 เครือ่ งหมาย  เรียบร้อย  ตอ้ งปรบั  ต้องเปลย่ี นหรือซ่อม  แกไ้ ขเรยี บร้อยแล้ว 3. ตารางกำหนดการ ปบ.ยุทธภณั ฑ์ (ทบ.468-360) (สพ.460) ก. การ ปบ.ยุทธภัณฑ์ จะต้องกระทำโดยต่อเนื่องตามกำหนดเวลาเป็นวงรอบสม่ำเสมอ ในวันหนึ่งๆ จะต้องมียานยนต์เข้ารับการ ปบ. จำนวนเฉล่ียเท่ากัน จึงจำเป็นต้องใช้แบบพิมพ์นี้ควบคุมระยะเวลา และจำนวนยานพาหนะ เข้ารับการบริการหล่อลื่น โดยนายสิบยานยนต์เป็นผู้จัดทำในการควบคุม ของนายทหารยานยนต์ และต้อง ทำใหส้ มบูรณ์ล่วงหน้า 1 เดือน (1) การใช้การปรนนิบัติบำรุงยุทธภัณฑ์ ต้องกระทำในเวลาต่างๆ กัน (ประจำวัน ประจำสัปดาห์ ประจำเดือน รอบ 3 เดือน และรอบ 6 เดือน) ให้ใช้แบบพิมพ์ท่ีกำหนดเวลาการ ปบ. ยานยนตล์ ้อ ยานยนต์ สายพาน เครื่องยนตห์ รือยทุ โธปกรณใ์ ด ๆ ที่มีเครอื่ งยนต์ตดิ ตั้งอยู่ (2) วิธีลงกำหนดการ ปบ.ให้ลงกำหนดการ ปบ. พร้อมทั้งประเภทการ ปบ.ไว้ล่วงหน้าด้วยตัวดินสอ ตลอดทง้ั เดือนเมือ่ ไดท้ ำการ ปบ.ไปแล้วจงึ ลงหมึก พยายามแบ่งเฉลีย่ การ ปบ.แต่ละประเภทให้ดีพอท่จี ะไมท่ ำ ให้ยานยนต์ หรือยุทโธปกรณ์ท่ีเข้ารับการ ปบ.แต่ละวันนั้น มีจำนวนแตกต่างกันมากเกินไป การลงอักษรย่อ ประกอบการซ่อมบำรงุ นั้นให้ปฏบิ ัตดิ งั นี้ ส1 ส2 ส3 หมายถงึ การ ปบ.ประจำสปั ดาหท์ ่ี 1 ท่ี 2 และ ท่ี 3 ด1 ด2 ด3 ด4 ด5 หมายถึง การ ปบ.รอบเดอื นท่ี 1-2-3-4-5 ตามลำดบั 3 หมายถงึ การ ปบ.รอบ 3 เดือน (รถสายพาน)

ห น ้ า | 27 6 หมายถงึ การ ปบ.รอบ 6 เดอื น (รถลอ้ ) ชช. หมายถงึ ยานยนต์ชำรุด เพราะขาดชนิ้ ส่วนอะไหล่ ชส. หมายถึง ยานยนตช์ ำรุด เพราะสง่ ซ่อม ชอ. หมายถึง ยานยนต์ชำรุด เพราะอุปัทวเหตุ (3) การปฏิบัติงาน นายทหารยานยนต์ นายสิบยานยนต์ หรือผู้มีหน้าท่ีรับผิดชอบควบคุมการ ปบ. จะต้องตรวจการ ปบ. ทุกวันว่าได้มีการ ปบ.ถูกต้องตามที่ได้กำหนดไว้หรือไม่ และลงนามกำกับไว้ในช่องผู้ ควบคุมรับผิดชอบ แล้วลงหมึกทับตัวดินสอเพื่อแสดงให้เห็นว่า ได้ปฏิบัติการ ซ่อมบำรุงไปเป็นการเสร็จสิ้น เรียบรอ้ ยแล้ว กรณีท่ีไมส่ ามารถจะทำการ ปบ.ไดต้ ามกำหนดเวลาให้ใช้หมกึ เขียนวงกลมล้อมรอบตัวอักษรย่อ ไว้ และให้รบี ทำการ ปบ.ทนั ทีเม่อื สามารถทำได้ และห้ามมใิ ห้เล่อื นกำหนดการ ปบ.ครั้งตอ่ ไปออกไป ข. หลักการทำตารางกำหนดการ ปบ.ยทุ ธภณั ฑ์ (1) ต้องทราบจำนวนยุทโธปกรณ์ทง้ั หมด (2) ทำทันทเี มอื่ ได้รับยุทโธปกรณ์ (3) ทำครงั้ แรก 2 ฉบับ (เดอื นปัจจบุ ัน - ล่วงหนา้ 1 เดอื น) (4) ทำล่วงหนา้ 1 เดือน (5) ใชป้ ฏทิ ินกำหนดวนั หยุด เสาร-์ อาทิตย์ เป็นแนวทาง (6) กำหนดเกณฑว์ ันเฉลยี่ ส. ด. 3. 6. (7) ด้านตารางวนั ท่ลี งด้วยดินสอดำ (8) เว้นชอ่ งอะไหล่ 2 ชอ่ ง ค. ลกั ษณะรายละเอียดการ ปบ.ยานยนตต์ อ้ งกำหนดลงไวต้ ลอดทง้ั เดือน มีรายการแบบพมิ พด์ ังน.ี้ - (1) พลขบั 1 พลประจำ (2) ผู้รับผิดชอบ 1 ควบคุมการ ปบ. (3) ชื่อยทุ ธภัณฑ์ (4) วันหรอื ระยะทาง(ไมล์) ปบ.ครงั้ สดุ ท้าย (5) หมายเลขภายในหน่วย (6) กำหนดการ ปบ.ครั้งต่อไปในรอบเดอื น (1,000 ไมล์) หรือ 6 เดือน (6,000 ไมล์) (7) หมายเลขทะเบียนยานพาหนะ (8) ลงช่องกาเพียง 25 ช่อง อีก 2 ชอ่ งเหลอื ไวเ้ พอ่ื การโอนหรือบันทกึ สง่ิ จำเปน็ (9) ช่องวนั ทด่ี า้ นขวา ใชห้ มึกระบายทับ วนั เสาร-์ อาทติ ย์ ใช้ลงจำนวนเลขไมล์ทว่ี ่งิ มาแลว้ (10) การลงกำหนดการ ปบ.ของรถแต่ละคัน ลงช่องวันท่ีด้านขวา บรรทัดเดียวกับหมายเลข ทะเบียน (ไมเ่ ว้นวนั หยดุ ) (11) เครอื่ งหมาย (คำแนะนำข้อ 2) (12) กรณียานยนต์ไปราชการท่ีอ่ืนเม่ือกลับมาต้องนำ สพ.461, สพ.462 มาบันทึกลงในตาราง กำหนดการ ปบ.ด้วย (13) ยานยนตช์ ำรุดเพราะขาดชนิ้ ส่วน ตอ้ งทำการ ปบ.และ ชช.ไว้ตั้งแต่วนั ชำรุดจนกว่าจะคนื สภาพ (14) ยานยนต์ชำรุดเพราะส่งซ่อมให้ลง ชส.ไว้ตั้งแต่วันที่ส่งซ่อม เม่ือรับกลับมามีผลเท่ากับการ ปบ. รอบ 6 เดอื น ให้ลง 6. ในชอ่ งวนั ทร่ี ับกลบั (15) ชำรุดเพราะอุปัทวเหตุ ซึ่งกำลังรอการสอบสวนลงช่อง ชอ.ช่องวันที่ๆ ชำรุดเมื่อถึงกำหนดการ ปบ.ใหท้ ำการ ปบ.ด้วยยกเว้นกรณที ท่ี ำใหห้ ลกั ฐานทางคดีมีผลเสยี

ห น ้ า | 28 (16) ความสม่ำเสมอในการ ปบ. ให้พยายามทำการ ปบ.ตามกำหนดเวลาให้ได้ หากมีความจำเป็น ไม่สามารถทำได้ เพราะไปราชการนอกหน่วยให้กระทำทันทีเม่ือยานยนต์กลับมา แต่ต้องไม่เปล่ียนแปลง กำหนดการ ปบ.ทก่ี ำหนดไว้เดิม (17) การเตรียมการ ปบ. จนท.จ่ายรถจะตอ้ งตรวจสอบจำนวนระยะทางท่ีใช้งานอยู่เสมอเช่น วงิ่ ไป แล้วเหลืออีก 10% ของ 1,000 ไมล์ วิ่งไปแล้วเหลืออีก 5% ของ 6,000 ไมล์ ให้เตรียมการเรียกรถเข้ารับ การ ปบ.และไม่จ่ายรถใช้งานทางไกลจนกลับไม่ทันเข้ารับการ ปบ.อย่าว่ิงเกิน 10% ของ 1,000 ไมล์ และ อยา่ ว่ิงเกิน 5% ของ 6,000 ไมล์ โดยมไิ ดท้ ำการ ปบ.เป็นอันขาด 4. แบบพมิ พ์รายงาน ปบ.และตรวจสภาพทางเทคนิค - ยานยนต์ล้อ ทบ.468 - 361 ( สพ.461 ) - ยานยนต์สายพาน ทบ.468 - 362 ( สพ.462 ) ก. แบบพิมพ์ท้ัง 2 ชนดิ ไม่ใชเ้ ป็นหลักฐานรายละเอียดสำหรับทำการ ปบ.เพียงใช้บนั ทกึ ผลการ ปบ. และการตรวจสภาพทางเทคนิคเท่านั้น ส่วนวิธีการปฏิบัติ ปบ.โดยละเอียดน้ัน ต้องปฏิบัติตามคำสั่ง ทบ.ที่ 400/2507 เรื่อง การตรวจสภาพและการ ปบ.ยานยนต์ประกอบคู่มือ (TM-20) รวมทั้งการตรวจ การ ปรับเปลยี่ นช้นิ สว่ น ทงั้ น้เี พ่ือปอ้ งกันมใิ หเ้ กิดขอ้ ผิดพลาด อันเปน็ สาเหตใุ ห้เกดิ การชำรุด ข. แบบพิมพน์ ใ้ี ช้บันทกึ ผลการ ปบ.หรือตรวจสภาพทางเทคนิคได้ 3 อย่างด้วยกนั (1) บนั ทึกผลการ ปบ.ประจำรอบเดอื น(ด1 ด2 ด3 ด4 ด5) (2) บันทึกผลการ ปบ.ประจำรอบ 3 - 6 เดอื น (3. 6.)โดยชา่ งประจำหน่วย (3) บนั ทึกผลการตรวจสภาพทางเทคนคิ (ทบ.) จนท.หน่วยซ่อมบำรงุ ขน้ั ที่ 3 หมายเหตุ การ ปบ.รอบ 3. 6. เดือน และการตรวจสภาพทางเทคนิคมีลักษณะคล้ายกันจึงใช้รายการ เดียวกนั แต่เลอื กใช้ตามความมงุ่ หมาย โดยขดี ฆา่ หัวข้อที่ไม่ตอ้ งการ คือ ทน. และ ค. ค. วิธปี ฏิบัตกิ ารบันทึกท่วั ไป (ขอ้ 14 คำส่ัง ทบ. ท่ี 400/1407) การบันทกึ (1) ทำการ ปบ.หรือตรวจสภาพตามรายการท่ีระบไุ ว้ในแบบพิมพ์ (2) บันทึกรายละเอียดของยานยนต์ (3) เลอื กใช้ช่องท่ีทำการตรวจ ด ทน. ค.ให้ถูกตอ้ งโดยขดี ฆ่าหัวข้อทไ่ี มต่ ้องการออกเสียยานยนตค์ ัน ใดไม่มรี ายการทีร่ ะบขุ ีดฆ่าออก (4) ช่องสี่เหล่ียมตรงข้ามกับรายการ แสดงว่ารายการนั้นจะได้รับการ ปบ.อย่างใด หรือใช้ตรวจ สภาพ และแกไ้ ขข้อบกพร่องตามความจำเปน็ หากมีสัญลักษณ์จะต้องได้รับการ ปบ. เพ่ิมเตมิ ตามสัญลักษณ์ แสดงไว้ (5) รายการตามแบบพิมพ์ท่ีไม่ขีดฆ่าออกให้ทำการ ปบ.ตามลำดับท่ีกำหนดไว้ตามคู่มือของรถน้ันๆ หากในคู่มอื ไมก่ ำหนดหมายเลขให้ถอื ปฏิบัตติ ามค่มู อื น้ี หากจำเปน็ ให้เปลยี่ นแปลงไดต้ ามความเหมาะสม (6) ถา้ ตรวจพบขอ้ บกพร่องตอ้ งแกไ้ ขทนั ทีหรือรายงาน ผบ.ชา หรอื ส่งหนว่ ยเหนอื ทนั ที (7) เมื่อตรวจสภาพ ทราบสถานภาพ ตามรายการในแบบพมิ พ์แลว้ ใหใ้ ชเ้ ครื่องหมายต่างๆ เหลา่ น้ี ลงในช่องสีเ่ หล่ียม - ข้อบกพร่องท่ีพบซ่ึงยังแก้ไขไม่ได้ หรือจำเป็นต้องส่งซ่อมหน่วยเหนือ ให้บันทึกเหตุผลส้ันๆ ลงในช่อง หมายเหตุดา้ นหลังลงหมายเลขไว้ด้วย เพื่อสะดวกในการค้นหาเมื่อชา่ งประจำ หน่วยหรือหน่วยซ่อมขั้นเหนือ ไดซ้ อ่ มเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้เขยี นวงเลบ็ ล้อมสญั ลักษณ์ แลว้ ลงนามรบั รองทับขอ้ บกพรอ่ งนั้น นายทหาร ผู้รับผดิ ชอบควบคมุ กำกบั ดแู ลต้องลงนามรบั รองด้วย

ห น ้ า | 29 - การเขยี นคำอธิบายในชอ่ งหมายเหตุใหเ้ ขียนเฉพาะรายการท่ียังไม่สามารถแก้ไขได้ทนั ทีน้ัน - รายการ ปบ.พเิ ศษ เมื่อทำการ ปบ.แล้วให้วงเล็บรอบตัวอักษรเช่นกัน เพื่อแสดงให้ทราบวา่ ได้ทำเสร็จ เรียบรอ้ ยแล้ววิธปี ฏบิ ัติ - การ ปบ.ยานยนต์ ปกติห้ามมิให้ถอดแยกช้ินส่วน นอกจากที่คู่มือประจำรถกำหนด ถ้าจำเป็นต้อง ถอดแยก ตอ้ งเปลี่ยนปะเก็นทุกครง้ั - การเปล่ียนส่วนประกอบขนาดเล็กที่ซ่อมใหม่หรือเปล่ียนใหม่ ต้องตรวจให้แน่ใจวา่ สะอาด ได้หล่อล่ืน และปรับถกู ตอ้ งแลว้ - หลังตรวจสภาพทางเทคนิคแล้ว จะต้องทำให้ยานยนต์นั้นคืนสภาพใช้งานได้ทันที นอกจากยานยนต์ นน้ั งดใช้การ เพราะขาดชน้ิ ส่วน ง. การตรวจสภาพทว่ั ๆ ไป คือการตรวจชิ้นส่วนและส่วนที่ยึดและรองรับส่วนนั้นๆ ด้วย เช่น สภาพท่ัวๆไป การติดตั้งถูกต้อง มน่ั คง ไม่สึกหรอเกินควร จ. คำจำกัดความ (1) สภาพเรียบร้อย ได้แก่ การตรวจสภาพภายนอกด้วยสายตาเพื่อจะดูว่าส่ิงนั้นไม่ชำรุดเสียหายจน ใช้ราชการไม่ได้ และพิจารณาถึงสาเหตุการชำรุด สภาพเรียบร้อย อาจอธิบายเพิ่มเตมิ ไดว้ ่า ไม่บิด คด งอ ฉีก ขาด หกั และได้รบั การหลอ่ ลนื่ ถกู ตอ้ ง (2) ติดต้งั ถูกต้องได้แก่ การตรวจสภาพภายนอกดว้ ยสายตาว่าสงิ่ น้ัน ติดตั้งอยู่ในตำบลท่ีถูกต้อง และ ในลกั ษณะท่คี วรจะตดิ ต้งั อย่ตู ามปกติ (3) ติดตั้งม่ันคงคือการตรวจสภาพภายนอกด้วยการจับเขย่า ใช้เหล็กลองงัด หรือใช้กุญแจลองขัน เพือ่ ตรวจดูการหลวมคลอน ตามแท่นโครงรับ แหวนกนั คลายแป้นเกลียวและสลักยึด (4) สึกหรอเกินควร หมายถึงการสึกหรอจนเกือบจะเกินขอบเขตพกิ ัดหรือ เกนิ เขตพิกัดของสภาพใช้ ราชการได้ และอาจทำให้เกิดการชำรุดเสียหายขึ้นได้ก่อนถึงกำหนดการปรนนิบัติบำรุงรอบต่อไป ถ้าหากไม่ เปลยี่ น ฉ. สญั ลกั ษณ์และการ ปบ.พเิ ศษ สัญลักษณ์ซ่ึงทำไวค้ รบกับรายการที่จะต้องทำการ ปบ.ตามระยะเวลานั้น แสดงวา่ ส่วนน้ันจะต้องได้ทำการ ปบ.พเิ ศษตามอกั ษรทรี่ ะบุ ซึ่งมคี วามหมายอธบิ ายไว้ในแบบพมิ พ์ ป. = ปรับ อ. = ทำความสะอาด ล. = หลอ่ ล่ืนพเิ ศษนอกเหนอื จากทีก่ ำหนดในคำสัง่ การหล่อล่นื หรอื สว่ นที่ถอดแยก บ. = บริการ การกระทำพิเศษนอกเหนือจากการ ปบ.เช่น เติมน้ำกล่ัน น้ำมันห้ามล้อ ถ่าย หรือเติม นำ้ มันหลอ่ ล่นื เปลี่ยนหรอื ทำความสะอาดไส้กรองนำ้ มันเครอ่ื ง ข. = ขนั แนน่ ปกติใช้กญุ แจวดั แรงบดิ เลือกกุญแจถูกขนาด มแี หวนหรอื แปน้ เกลียวกันคลาย ช. สถานการณ์ทางยุทธวิธี สถานการณ์ทางยุทธวิธีอาจทำให้ไม่สามารถทำการ ปบ.ทั้งหมดในคราวเดียว อาจแบ่งเป็นตอนๆ โดยวางแผนให้แล้วเสร็จใน 1 สัปดาห์ หรือใช้เวลาเท่าที่หาได้ทำให้ได้ทั้งหมด หาก สถานการณ์ทางยุทธวิธีบังคับ ไม่สามารถทำการ ปบ.ได้ท้ังหมด ให้ทำการ ปบ.แยกที่มีสัญลักษณ์พิเศษเป็น อนั ดับแรก

ห น ้ า | 30 หมายเหตุ การบันทึกและวิธีปฏิบัติโดยละเอียด ดูจากคำส่ัง 400/2507 เร่ือง การตรวจสภาพและ การ ปบ.ยานยนตป์ ระกอบคูม่ ือประจำรถ ซ. การเก็บแบบพมิ พ์ แบบพิมพ์ 2 อย่างน้ี เมอื่ บนั ทกึ ผลการ ปบ.แล้วตอ้ งเก็บไว้ในซองประวตั ติ ามห้วงระยะเวลา ดงั น้ี (1) บนั ทึกผลการ ปบ.รอบเดอื นเก็บไว้ การ ปบ. 3. 6. ครงั้ ตอ่ ไป (2) บันทึกผลการ ปบ.รอบ 3. เก็บไว้ถงึ การ ปบ. 3. 6. ครงั้ ตอ่ ไป (3) บันทึกผลการตรวจสภาพทางเทคนคิ ต้องเก็บไว้ถงึ การตรวจสภาพคร้งั ตอ่ ไป 5. ซองประวัติยทุ ธภัณฑ์ ทบ.468-378 (สพ.478) ก. ซองประวัติยุทธภัณฑ์มีประจำรถทุกคันและยุทธภัณฑ์หลักบางชนิด ปกติหน่วยซ่อมบำรุงเป็นผู้เก็บ รักษา มีความมุง่ หมายในการใช้ ดงั นี้ (1) ใช้บันทึกประวัติการซ่อมบำรุงของ จนท.สพ.ที่ทำการซ่อมแก้ เปลี่ยน หรือดัดแปลงท่ีได้กระทำ มาแลว้ โดย บนั ทึกเฉพาะสว่ นประกอบทสี่ ำคัญเท่าน้ัน (2) การโอน การส่งซอ่ ม หรือส่งคืน ขน้ั เหนือต้องสง่ ซองประวัตไิ ปพร้อมกบั ยานยนต์ (3) ใช้เก็บแบบพมิ พก์ าร ปบ.และตรวจสภาพ (4) รับตรวจ ข. ซองประวัติยุทธภัณฑ์เป็นแหล่งข่าวสารสำคัญของ ผบ.ชา เกี่ยวกับการ ปบ.เพราะเก็บเอกสารแบบ พมิ พต์ ่างๆ ไวค้ ือ (1) บตั รใชร้ ถทมี่ ีรายงานขอ้ บกพร่อง และใช้ ปบ.ประจำสปั ดาห์ (สพ.110) (2) รายการ ปบ.และตรวจสภาพทางเทคนิคประจำรอบเดือน 3. 6.(สพ.461 สพ.462 อย่างใดอย่าง หนง่ึ ) (3) ใบสง่ ซ่อม สพ.811 (4) คำสั่งการหลอ่ ลนื่ ( คล. LO ) (5) รายงานอุบัตเิ หตุ สพ.91 (6) รายการตรวจสภาพเฉพาะอยา่ ง (สพ.9-68) (สพ.9-69) (7) ใบของาน (สพ.9-76) ค. ลกั ษณะรายละเอยี ดการบนั ทกึ ( ดตู ัวอย่าง ) 6. ใบสง่ ซอ่ มและสง่ั งาน ทบ.468-311 (สพ.811) ใบส่งซ่อมและสั่งงานน้ี ตามคำส่ัง ทบ.ที่ 400/2507 ระบุให้เป็นแบบพิมพ์ท่ีใช้ในการซ่อมบำรุงขั้นท่ี 2 ซึ่ง ต้องเก็บไว้ในซองประวัติ แต่ในทางปฏิบัติเกี่ยวกับวิธีการดำเนินการน้ัน เก่ียวข้องกับการส่งกำลังด้วย จึงขอ นำไปกล่าวถงึ ในเร่ืองแบบพมิ พ์ทใี่ ชใ้ นการสง่ กำลงั แบบพมิ พท์ ีใ่ ช้ในการส่งกำลงั ก. แบบพมิ พ์ท่ใี ช้ในการส่งกำลัง ตามคำส่งั ทบ.ที่ 400/2507 ระบไุ วเ้ พยี ง 4 อยา่ งคอื (1) ใบเบิก ทบ.400-006 (สพ.446) (2) ใบส่งคนื ทบ.400-013 (สพ.447) (3) ปา้ ยแลกเปลี่ยน หรือป้ายชอ่ื ชนิ้ ส่วน ทบ.468-281 (สพ.9-81) (4) บัตรบัญชคี มุ ช้นิ ส่วนซอ่ มและสิ่งอปุ กรณ์ใช้ส้ินเปลือง ทบ.400-068

ห น ้ า | 31 ข. แบบพมิ พท์ เ่ี กย่ี วขอ้ งกับการส่งกำลงั เพ่มิ เติมในปจั จุบนั นอกเหนือจากทีร่ ะบุไว้ คือ. (1) ทะเบียนส่งกำลัง ทบ.400-002 ( สพ.272 ) (2) ใบเบิกชิ้นส่วนภายใน ทบ.468-201 ( สพ.9-79) (3) ใบติดตามใบเบิก ทบ.400-071 (4) ใบของาน สพ.9-76 (5) ใบเบิกหรือใบสง่ คืน ทบ.400-007-1 และ - ใบเบิกพร้อมขอการขนส่ง ทบ.400-007 - แบบรายการขออนุมัตจิ ำหนา่ ย - ทะเบยี นใบสง่ งาน สพ.9-77 - บันทกึ งานของช่าง ค. แบบพิมพ์ท่ีใช้ในการส่งกำลังมไี ว้สำหรับใช้ในการเบิก การส่งคืน การควบคุมยอดส่ิงอุปกรณ์ การเก็บ รักษา และการแจกจ่าย รวมทงั้ การควบคุมการซ่อมบำรุงประจำหนว่ ย 1. ใบเบิก ทบ.400-006 (สพ.446) (ก) ใบเบิกนี้ ไว้ใหห้ น่วยใชเ้ บิกสิง่ อุปกรณต์ ามสายการส่งกำลังทกุ สายงานไปยงั หนว่ ยสนบั สนุน (ข) หนว่ ยใชเ้ บกิ ไปยัง มทบ.จทบ.หรอื มทบ.จทบ.ใชเ้ บิกไปยังคลังฝ่ายยุทธการ (ค) การใช้ (1) การเบิก ผเู้ บิกและผู้รบั ของ จะต้องมีตัวอยา่ งลายเซ็น ให้สายงานไว้ตรวจสอบดว้ ย (2) ต้องใช้ใบเบกิ ให้ถกู ต้อง คือ ทบ.400-006 หรือ ทบ.400-007-1 (3) ตรวจสอบรายละเอยี ดวา่ ไดก้ รอกรายการในใบเบกิ ครบถว้ นเช่น (4) หมายเลขสงิ่ อปุ กรณ์ (5) หมายเหตใุ ห้ชดั เจน (6) การเบิกยทุ ธภณั ฑห์ ลักและชิน้ สว่ นใหแ้ ยกเบิก (7) สป.ทหี่ น่วยจัดหาไดเ้ องหา้ มทำการเบกิ (8) การส่งใบเบิกไม่ต้องมีหนังสือกำกับ เพราะใบเบิก มีรายละเอียดเพียงพอแล้ว และอาจทำให้ ลา่ ช้าเพราะกรรมวธิ ี (9) ลักษณะแบบพิมพ์ แบบพิมพ์ 1 ชุด มี 4 สี คอื ชมพู,ขาว,เขยี ว และ ฟา้ สชี มพู และ สเี ขยี ว หน่วยจา่ ยเกบ็ เป็นหลกั ฐานทางบญั ชี สฟี ้า สง่ คืนหนว่ ยเบิก พรอ้ มรบั ของ สีขาว หนว่ ยเบกิ เกบ็ ไวเ้ ป็นหลักฐานการเบกิ และตดิ ตาม 2. ทะเบียนสง่ กำลัง ทบ.400-002 ( สพ.272 ) (ก) ทะเบียนส่งกำลังใช้สำหรับลงที่ใบเบิกของหน่วยท่ีได้เบิกสิ่งอุปกรณ์ ไปยังหน่วยสนับสนุน มีความมุ่ง หมายเช่นเดียวกับทะเบียนหนังสือราชการ ใช้บันทึกใบเบิกท้ังหมดในรอบปี สรุปความมุ่งหมายในการใช้ เปน็ ขอ้ ๆ ดงั น้ี (1) บันทกึ หลกั ฐานใบเบกิ (2) ใช้ตรวจสอบการรบั ของค้างจา่ ย และติดตาม (3) ใช้ดัดแปลงเปน็ ทะเบยี นใบส่งคนื ได้ (ข) ลกั ษณะรายละเอยี ด

ห น ้ า | 32 3. แบบพิมพใ์ บตดิ ตามใบเบิก ทบ.400-071 (ก) แบบพิมพ์ใบติดตามใบเบิกมีไวเ้ พือ่ ให้ใชต้ ามสายการส่งกำลังทุกสายงาน เพื่อติดตามใบเบิกไปยังหน่วย สนบั สนุน (ข) หน่วยใช้ติดตามใบเบิกไปยัง จทบ.มทบ.หรือ จทบ.มทบ.ติดตามใบเบิกไปยังคลังไปยังสายงานยุทธ บริการ หมายเหตุ รายละเอียดอยู่ในคำสงั่ ทบ.ที่ 289/2511 เร่อื ง การตดิ ตามใบเบกิ (ค) วธิ ีใช้และการกรอกแบบพมิ พ์ (1) วิธีใช้หน่วยเบิกไปแล้ว 45 วัน ต้องสอบทาน 1 ครั้ง (ทุกๆ 45 วัน) ให้ติดตามใบเบิก โดยใช้แบบ พมิ พ์ แบบ ก.ถา้ เกินกวา่ 90 วนั ยังไม่ได้รบั สป.ใหต้ ดิ ตามใบเบกิ ดว้ ยแบบพิมพ์ แบบ ข. - หนว่ ยใชเ้ ขยี นแบบพมิ พ์ จำนวน 2 ใบ เกบ็ ไว้ทหี่ น่วยเบกิ 1 ใบ เสนอหนว่ ยจ่าย 1 ใบ - หน่วยจ่ายเมื่อไดร้ ับใบติดตามใบเบิก ใหบ้ ันทกึ ชแ้ี จงในแบบ ก.(ช่องท่ี 6) และ ชอ่ งท่ี 7 แบบ ข. (2) วธิ กี รอกแบบพิมพ์ แบบ ก. ดตู วั อยา่ ง ---------------------------------- (3) วิธกี รอกแบบพิมพ์ แบบ ข. ดูตัวอยา่ ง ---------------------------------- ************** 4. ใบส่งคืน ทบ.400-013 (สพ.447) (ก) ใบสง่ คืนมีไว้เพอ่ื ใชส้ ง่ คนื ยทุ โธปกรณ์ทกุ ชนิด ตามสายการสง่ กำลังไปยงั หนว่ ยสนบั สนนุ (ข) หนว่ ยใช้นำสิ่งอุปกรณส์ ่งคืน มทบ.จทบ.หรอื มทบ.จทบ.นำส่งคืนคลงั ฝา่ ยยุทธบริการหรอื ฝ่ายกจิ การ พเิ ศษ (ค) ใชน้ ำส่งคืน ยทุ โธปกรณ์ชำรุด เกินอตั รา หรอื ยืม (ง) การใช้ (1) ตรวจสอบการกรอกรายการในใบส่งคนื ใหถ้ กู ตอ้ ง (2) สง่ คืน สป.พรอ้ มกับหลักฐานใบสง่ คืน (3) หมายเหตุ ให้ชดั เจนว่า สง่ คนื เพราะเหตุใด ตามช่องระบุไวห้ รอื อาจเพิ่มข้อความตามความจำเปน็ (4) หาก สป.ที่ส่งคืนนั้น ได้เบิกรับของไปแล้ว ให้หมายเหตุด้วยว่า ได้เบิกรับของไปแล้ว ตามใบเบิก ท่ี.........เมอื่ ........................ (5) การสง่ คืนไม่ต้องมหี นังสอื กำกบั เพราะใบส่งคืนมีรายละเอยี ดเพยี งพอแล้ว และอาจทำใหล้ ่าชา้ (6) รายละเอียดท่ีไม่กลา่ วถงึ หน่วยจา่ ยเปน็ ผู้บันทกึ (7) ลกั ษณะแบบพิมพ์ - 1 ชุดมี 4 สี ชมพ,ู เขยี ว,ขาว และฟ้า - สชี มพู และสีเขยี ว หน่วยสนับสนุนเกบ็ ไวเ้ ปน็ หลักฐาน - สฟี า้ และ สีขาว หนว่ ยนำสง่ คนื เกบ็ เป็นสำเนา 5. ใบเบิกและใบส่งคืน ทบ.400-007-1

ห น ้ า | 33 (ก) ใบเบกิ และใบส่งคืน มีความมุ่งหมายในการใช้เช่นเดียวกับใบเบกิ และใบส่งคืนดังกล่าวแล้ว แตกต่างกัน ทแ่ี บบพมิ พน์ ้ีใชเ้ ปน็ ทงั้ ใบเบิก และใบส่งคนื (ข) แบบพิมพ์น้ีเบิกส่ิงอุปกรณ์ได้เพียงรายการเดียว วิธีปฏิบัติเช่นเดียวกับการทำใบเบิกใบส่งคืน สพ.446 และ สพ.447 (ค) การใช้ ลกั ษณะแบบพิมพ์ (1) ชุดหนึง่ มี 4 สี เชน่ เดยี วกนั (2) การดำเนนิ กรรมวิธีทางเอกสาร เชน่ เดียวกนั 6. บตั รแลกเปลี่ยนช้ินส่วนหรอื ปา้ ยชื่อช้ินสว่ น สพ.9-81 (ทบ.468-281) (ก) บัตรแลกเปลี่ยนชิ้นส่วน มีไว้เพื่อใช้เบิกสิ่งอุปกรณ์จากหน่วยสนับสนุนโดยตรงด้วยวิธีการแลกเปล่ียน โดยตรง ซึ่งการใชบ้ ัตรแลกเปล่ียนน้ีหน่วยสนับสนุนจะแจ้งให้หน่วยทราบว่าสิ่งอุปกรณ์อะไรบา้ งที่ใชบ้ ัตรนี้ทำ การเบกิ แบบแลกเปลีย่ นได้ (ข) ใชผ้ ูกกับชิน้ สว่ นทเี่ กบ็ ไว้ในชอ่ งตามตู้ ในคลงั ชิ้นส่วน (ค) การใช้ (1) ผเู้ บกิ และรับของต้องมีตัวอย่างลายเซน็ ไว้ตรวจสอบ (2) ตรวจสอบการกรอกรายการใหถ้ กู ตอ้ ง (ง) ลกั ษณะรายละเอียด (1) บตั รนแี้ บง่ เปน็ 3 สว่ น มีเลขกำกบั 1,2,3 หมายเลข 3 ผูกตดิ ชนิ้ ส่วนส่งคืน หมายเลข 2 หนว่ ยจ่ายเก็บ หรอื ผกู กับช้นิ ส่วนท่ีจ่ายให้ หมายเลข 1 หน่วยเบกิ เก็บไวเ้ พือ่ ตดิ ตาม (2) ข้อความทั้ง 2 ส่วน คลา้ ยคลงึ กนั ยกเว้น หมายเลข 2 มขี อ้ ความเพิ่มเติม 5 ขอ้ ดังนี้ ข้อ 5 ข้อ 6 ขอ้ 7 ขอ้ 8 ข้อ 9 (3) การกรอกขอ้ ความ - ชนดิ ของยานยนต์ - หมายเลขทะเบยี น - ชื่อชิน้ ส่วน - หมายเลขช้นิ ส่วน - วนั แลกเปลย่ี นและส่งคืน หมายเหตุ ทีด่ ้านหลงั ของหมายเลข 3 7. บตั รบญั ชีคุมชิน้ ส่วนซ่อมและสิง่ อปุ กรณใ์ ช้สน้ิ เปลอื ง ทบ.400-068 (ก) บตั รบญั ชคี มุ ช้ินส่วนซ่อม และส่ิงอุปกรณ์ใช้สนิ้ เปลือง มีไว้เพ่ือใช้ควบคุมจำนวนช้ินสว่ นตามอัตราพิกัด ที่หนว่ ยมอี ยู่ในครอบครอง ตามบญั ชีช้นิ ส่วนที่ สพ.กำหนดไว้ (ข) ใชค้ วบคมุ การเบกิ จา่ ย และค้างรบั ค้างจ่าย ของเจา้ หนา้ ทส่ี ง่ กำลงั

ห น ้ า | 34 (ค) แจ้งสถานท่ีเกบ็ เพ่อื สะดวกในการค้นหาและตรวจสอบ (ง) ลกั ษณะรายละเอียด (วิธีเขยี นแบบพิมพ)์ (1) หมายเลขส่งิ อปุ กรณ์ (ตาม บช.อพ.) (2) รายการที่ใช้แทนกนั ได้ (3) ชนดิ แบบ และ ปี ยทุ ธภณั ฑ์ (4) คลัง แถว หรอื รถ (5) ตอน หรอื ตู้ (6) ช่องหรือลิน้ ชัก (7) ระดบั สะสมอนุมตั ิ (เขียนด้วยดนิ สอดำ จาก บช.อพ.) (8) คมู่ อื (TM 9-20P) (9) วนั , เดือน, ปี (10) รบั (จำนวนที่ไดร้ ับ) (11) จ่าย (จำนวนท่จี า่ ยไป) (12) คงคลงั (จำนวนในครอบครอง) (13) ทีห่ ลกั ฐานหรอื หมายเลขยุทธภณั ฑเ์ ลขงานท่ีนำช้นิ ส่วนไปใช้ (14) วัน,เดอื น,ปี (ใบเบิกชนิ้ สว่ น) (15) คา้ งรับ (ยงั มไิ ดร้ ับของ) (16) คา้ งจา่ ย (ยงั ไม่ได้จา่ ย) (17) ท่ีหลกั ฐาน (เลขทใ่ี บเบิก) (18) ทะเบยี นหนว่ ยจา่ ย (เลขทใี่ บสั่งจา่ ย) หมายเหตุ แผ่นบันทึกน้ี ควรทำให้มีขนาดเล็กพอที่จะเก็บไว้ในลิ้นชักหรือโต๊ะเก็บบัตรมาตรฐาน เป็น กระดาษแขง็ ใชไ้ ด้ 2 หนา้ 8. ใบเบิกชิ้นสว่ นภายใน ทบ.468-201 ( สพ.9-79 ) (ก) ใบเบิกช้ินส่วนภายใน ปกติใช้ควบคู่กับใบของาน ในกรณีท่ีการซ่อมบำรุงในคราวน้ันต้องการเปลี่ยน ชิ้นส่วน นายสิบยานยนต์เป็นผู้ทำใบเบิก 1 แผ่น ใบของาน 1 แผ่น เสนอต่อผู้มีอำนาจในการสั่งจ่ายช้ินส่วน ช่างประจำหน่วยท่ีทำการซ่อม หรือพลประจำรถ นำใบเบิกและของานนี้มอบกับ จนท.ส่งกำลังพร้อมของ ชำรุด เม่ือเจ้าหน้าท่ีส่งกำลังตรวจสอบแล้ว จะรับของชำรดุ พรอ้ มกับจา่ ยชิ้นส่วนที่เบกิ ให้ผู้เบิกลงท้ายรับของ แล้วเกบ็ ใบเบิกช้นิ สว่ นภายในและใบของานเป็นหลกั ฐาน เพื่อดำเนินการทางบัญชีต่อไป (ข) ใบเบิกชิ้นสว่ นภายใน มีความมุ่งหมายในการใช้สรุปเปน็ ข้อๆ ดังน้ี (1) ใช้เบกิ ชนิ้ ส่วนจากเจ้าหน้าท่ีสง่ กำลังกรณีการซ่อมน้ันจำเปน็ ต้องเปลย่ี นชน้ิ ส่วน (2) ป้องกนั มใิ หม้ กี ารสบั เปล่ยี นชิ้นสว่ น (3) ป้องกนั การทุจรติ (4) ใช้เป็นหลักฐานการเบิกจ่าย การตัดยอดบัญชีคุมในบัตรบัญชีคุมและส่ิงอุปกรณ์ใช้สิ้นเปลือง ทบ.400-068 (ค) ลกั ษณะรายละเอียด 9. ใบของาน สพ.9-76 (ก) แบบพิมพ์ใบของานนี้มีไว้เพ่ือขออนุมัติการซ่อมภายในหน่วยต่อขั้นสูงกว่า แต่ต้องไม่เกินข้ัน 2 ของ หนว่ ย

ห น ้ า | 35 (ข) สามารถใชเ้ ป็นหลกั ฐานตรวจสอบการชำรุดของยานพาหนะในรอบปีได้ (เพราะตอ้ งเก็บในซองประวตั )ิ (ค) กรณีการซ่อมนั้น จำเป็นต้องเปล่ียนช้ินส่วน นายสิบยานยนต์ ต้องทำใบของานอีก 1 ใบ ควบคู่กับใบ เบิกช้ินส่วนภายใน เพ่อื เสนอผู้มีอำนาจในการส่งั จ่ายชน้ิ ส่วน จนท.ส่งกำลังจะเกบ็ ใบเบิกชิ้นส่วนการใชแ้ ละใบ ของานนเ้ี ปน็ หลกั ฐานเพ่อื ดำเนินการทางบัญชี (ง) ผบ.หน่วย ใช้บนั ทึกการส่งซ่อม (จ) จนท.ใชเ้ ป็นหลักฐานการเบิกจ่าย (ฉ) ลกั ษณะรายละเอยี ด หน่วยของาน --------------------- หนว่ ยซ่อม -------------------- 10. ใบส่งซ่อมและส่งั งาน ทบ.468-311 ( สพ.811 ) (ก) ใบส่งซ่อมและส่ังงาน มีไว้เพ่ือใชใ้ นการนำยุทโธปกรณ์ท่ีชำรุดส่งซ่อมตามสายงานการส่งกำลังทุกสาย งานไปยังหน่วยสนับสนนุ (ข) การใช้ ใบสง่ ซอ่ มและสั่งงานนี้ ตอ้ งนำส่งพรอ้ มกบั ยานยนตท์ ่ชี ำรุดและซองประวตั ยิ ทุ ธภณั ฑ์ (ค) ผบ.หนว่ ย เทียบเท่า ผบ.พนั .หรอื ผบ.ร้อย.อิสระ เปน็ ผู้มอี ำนาจในการส่งั การซอ่ ม (ง) ฝอ.4 หรือนายทหารยานยนต์ เป็นผนู้ ำส่งซ่อม (จ) หลักการพจิ ารณาการส่งซ่อม ดจู ากคำสัง่ ทบ.ที่ 140/2526 เรอ่ื ง การแบ่งชนั้ การซ่อมบำรงุ ยานยนต์ (ฉ) ลักษณะรายละเอียด และการบันทึกคำส่ัง ทบ.ที่ 320/23630 เร่ือง วิธีการซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์ สาย สพ. (ช) การเก็บแบบพิมพ์ใบส่งซ่อมและส่ังงานน้ี ต้องเก็บไว้ในซองประวัติ ยุทธภัณฑ์จนถึงส้ินปี (สีเหลือง) เมอ่ื ครบปแี ลว้ แยกมาเก็บในแฟม้ การส่งซ่อมอีก 1 ปี จงึ ทำลายได้ ************

ห น ้ า | 36 (สำเนา) คำสง่ั กองทัพบก ท่ี 289/2511 เรือ่ ง การติดตามใบเบกิ ------------- เนื่องจาก การดำเนินการเบิกสิ่งอุปกรณ์ของหน่วยตา่ งๆ ในกองทัพบกขณะน้ียังไม่มีแบบพิมพ์ในการ ติดตามใบเบิกเป็นมาตรฐานเดียวกัน จึงทำให้เกิดความยุ่งยากและล่าช้า ในด้านการส่งกำลังบำรุง เพื่อขจัด ปญั หาดงั กล่าวใหห้ มดไป จงึ ให้ดำเนนิ การดังต่อไปนี้ 1. ให้หน่วยเบิกใช้แบบพิมพใ์ นการตดิ ตามใบเบิก ตดิ ตามใบเบิกได้ทุกสายงาน 2. การใช้แบบพิมพ์ตดิ ตามใบเบกิ ให้ใชต้ ามสายการสง่ กำลงั ซึง่ แบ่งออกเปน็ สาย คอื 2.1 หน่วยใชต้ ิดตามใบเบิกไปยงั หน่วยสนับสนุนโดยตรง หน่วยสนับสนุนติดตามใบเบิกไปยังหน่วย สนับสนนุ สว่ นรวมหรือคลังฝา่ ยยทุ ธบรกิ าร หรอื ฝา่ ยกิจการพเิ ศษ 2.2 หน่วยใช้ตดิ ตามใบเบิกไปยัง มทบ.จทบ.หรือ มทบ.จทบ. ติดตามใบเบิกไปยังคลังสายงานฝ่าย ยทุ ธบริการ หรอื ฝ่ายกจิ การพิเศษ 3. แบบพิมพก์ ารติดตามใบเบิก ใชต้ ามแบบพมิ พค์ ำสั่งน้ี 4. ลกั ษณะและการใช้แบบพิมพ์ 4.1 ชื่อแบบพิมพ์ ติดตามใบเบิก 4.2 อกั ษรยอ่ และหมายเลขแบบพมิ พ์ ทบ.400-071 4.3 แบบพิมพ์ตดิ ตามใบเบิก ทบ.400-071 ใช้ตามแบบพมิ พ์ทา้ ยคำส่ังน้ี 4.4 วธิ ีใชด้ ูคำอธิบายหลังแบบพมิ พป์ ระกอบคำส่ัง

ห น ้ า | 37 แผนกวชิ ายานยนต์ กองการศึกษา โรงเรยี นทหารมา้ ศูนยก์ ารทหารม้า สระบุรี ------------------------------ เอกสารนำ วิชา เอกสารการซ่อมบำรงุ , การซ่อมบำรงุ ทางธุรการ และแบบพิมพป์ ระวตั ิ 1 .ความมงุ่ หมาย เพ่ือให้นักเรียนทราบวธิ ีปฏิบัติเก่ียวกับการใชเ้ อกสารการซ่อมบำรุงและ แบบพิมพ์ตา่ ง ๆ ที่ใชใ้ นการซ่อมบำรุงระดบั หน่วย 2.ขอบเขตการศึกษา ใหน้ ักเรยี นมีความรใู้ นเร่อื ง 2.1 เอกสารการซ่อมบำรุง 2.2 แบบพิมพท์ ่ีใช้ในการซอ่ มบำรงุ ขนั้ ที่ 1 ดังตอ่ ไปน้ี 2.2.1 บตั รการใช้รถประจำวนั ทบ.468-310 2.2.2 รายงานอบุ ตั ิเหตุ ทบ.468-702 2.2.3 คำสัง่ การหลอ่ ลน่ื 2.2.4 คมู่ ือทางเทคนคิ ประจำยุทโธปกรณ์ 2.2.5 ใบอนญุ าตขบั ขี่ยานยนตท์ หาร 2.3 แบบพมิ พ์ทใ่ี ชใ้ นการซอ่ มบำรุงข้นั ที่ 2 ดังต่อไปนี้ 2.3.1 รายการจา่ ยรถประจำวนั ทบ.468-375 2.3.2 รายการตรวจสภาพเฉพาะอยา่ ง - ยานยนต์ลอ้ ทบ.468-368 - ยานยนตส์ ายพาน ทบ.468-369 2.3.3 ตารางกำหนดการปบ.ยุทธภณั ฑ์ ทบ.468-360 2.3.4 รายการปบ.และตรวจสภาพทางเทคนคิ - ยานยนตล์ ้อ ทบ.468-361 - ยานยนตส์ ายพาน ทบ.468-362 2.3.5 ซองประวตั ยิ ุทธภณั ฑ์ ทบ.468-378 2.3.6 ใบส่งซ่อมและสงั่ งาน ทบ.468-311 3.ระยะเวลาการศึกษา - ช่ัวโมง 4.หลักฐาน - คท.37-2810 - คำสงั่ ทบ.ท่ี 400/2507 ลง 9 พ.ย.07 เรอื่ งใหใ้ ช้ คท.37-2810 เกี่ยวกบั การตรวจสภาพ และการปบ.ยานยนต์ 5.งานมอบ ใหน้ กั เรยี นศึกษา - คำสัง่ ทบ.ท่ี 400/2507 ลง 9 พ.ย.07 เรอ่ื งให้ใช้ คท.37-2810 เกีย่ วกบั การตรวจสภาพ และการปบ.ยานยนต์ - ศึกษาและทำความเข้าใจกบั แบบพมิ พท์ ใ่ี ช้ในการซบร.ขั้นท่ี 1 และขนั้ ท่ี 2 - อา่ นเอกสารเพ่มิ เติม วิชา เอกสารการซ่อมบำรุง การซอ่ มบำรงุ ทางธุรการและแบบพมิ พป์ ระวัติ 6.เอกสารจา่ ยพรอ้ มเอกสารนำ เอกสารเพม่ิ เติม ---------------------------------

ห น ้ า | 38 แผนกวิชายานยนต์ กองการศึกษา โรงเรยี นทหารม้า ศูนย์การทหารม้า สระบรุ ี ----------------------------- เอกสารนำ วชิ า การสง่ กำลังบำรงุ ชิน้ สว่ นซ่อม หมายเลขวิชา ยน. ........................... 1. ความมุ่งหมาย เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นทราบถึงวิธกี ารปฏิบัติ เกี่ยวกับการสง่ กำลังชนิ้ สว่ นซ่อมยุทโธปกรณ์ สายสรรพาวธุ 2. ขอบเขต ใหน้ ักเรยี นมีความรู้ในเรอ่ื งต่าง ๆ ดังน้ี 2.1 คำจำกัดความตา่ ง ๆ 2.2 การสง่ ซอ่ มยทุ โธปกรณส์ ายสรรพาวุธ 2.3 การเบกิ จ่าย 2.4 การยืม 2.5 การสง่ คืน 2.6 การขอจำหน่าย 2.7 การทำรายงานสอบสวน 3. ระยะเวลาการศึกษา - ช่ัวโมง 4. หลักฐาน 4.1 ระเบยี บกองทัพบก ว่าด้วย การส่งกำลังส่งิ อุปกรณ์ ประเภท 2 และ 4 พ.ศ. 2534 4.2 คำสั่ง ทบ.ท่ี 320/23630 ลง 9 พ.ย. 98 เร่ือง วธิ ีซอ่ มบำรุงยุทโธปกรณ์ สายสรรพาวธุ 4.3 ระเบียบ ทบ.ว่าด้วยชิ้นส่วนซ่อมตามอัตราพิกัด และช้ินส่วนซ่อมท่ีสะสม พ.ศ.2512 5. งานมอบ ใหน้ กั เรียนศกึ ษา 5.1 ระเบยี บกองทัพบก วา่ ด้วย การสง่ กำลงั สิ่งอุปกรณ์ ประเภท 2 และ 4 พ.ศ. 2534 5.2 คำสัง่ ทบ.ท่ี 320/23630 ลง 9 พ.ย. 98 เรอื่ ง วิธซี อ่ มบำรงุ ยุทโธปกรณส์ ายสรรพาวุธ 5.3 ระเบียบ ทบ.ว่าด้วยชินส่วนซ่อมตามอัตราพิกัด และช้ินส่วนซ่อมท่ีสะสม พ.ศ.2512 6. เอกสารจา่ ยพร้อมเอกสารนำ เอกสารเพิ่มเตมิ -----------------------------

ห น ้ า | 39 แผนกวิชายานยนต์ กองการศกึ ษา โรงเรยี นทหารมา้ ศนู ยก์ ารทหารม้า สระบุรี ----------------------------- เอกสารเพ่ิมเตมิ 1. กล่าวท่วั ไป การส่งกำลัง และการซ่อมบำรุงประจำหน่วย เป็นกิจการ 2 ประการที่เก่ียวข้องสัมพันธ์จน ไม่อาจแยกออกจากกันได้ เนื่องจากการซ่อมบำรุงจะดำเนินการไปได้ดี ย่อมต้องอาศัยการส่งกำลังที่มี ประสทิ ธภิ าพดีดว้ ย 2. ขอบเขต ใหน้ ักเรยี นทราบแนวทางปฏิบัติ ในการดำเนนิ การเกยี่ วกบั 2.1 วธิ ีการส่งกำลงั สายสรรพาวธุ 2.2 การใช้แบบพมิ พส์ ง่ กำลงั 2.3 วิธกี ารเบิกเปลย่ี นช้นิ ส่วน 3. อธบิ าย การส่งกำลังท่ีดำเนินการอยู่ในกองทัพบกยึดถือหลัก 4 ประการเป็นแนวทางกำหนด วงรอบ การปฏิบัติ คือ 3.1 การเสนอความต้องการ 3.2 การจดั หา 3.3 การเก็บรกั ษา 3.4 การแจกจ่าย 3.1 การส่งกำลังชิ้นส่วนซ่อมสำหรับการซ่อมบำรุงระดับหน่วย ความต้องการส่ิงอุปกรณ์ชนิ้ ส่วน ซ่อมของหน่วยจะลดลงเป็นอย่างมาก ถ้าหน่วยมีการซ่อมบำรุงที่ดี กล่าวคือเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการซ่อม บำรุงข้ันที่ 1 และ ข้ันท่ี 2 ได้ปฏิบัติหน้าที่ของตนอย่างเรียบร้อยสมบูรณ์ ตามที่กำหนดไว้ในตารางการ ปรนนิบัติบำรุง การตรวจ และการบริการ (PMCS) ของยุทโธปกรณ์แต่ละชนิด โดยมีการกำกับดูแลตามสาย การบงั คับบัญชา อย่างเครง่ ครัด 3.2 การควบคุม เจ้าหน้าท่ีผู้เกี่ยวข้องกับการส่งกำลังจะต้องควบคุมการปฏิบัติต่าง ๆ เก่ียวกับ ช้ินสว่ นซ่อม ในเร่ืองการเก็บรักษา และการเบิกจ่ายชน้ิ ส่วนทนี่ ำไปใช้ในการซอ่ ม ให้ดำเนนิ ไปโดยถูกต้อง และ เรียบร้อยตามระเบียบทีไ่ ดว้ างไว้ 3.3 ระเบียบ คำส่ัง และคำชี้แจง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการส่งกำลังจะต้องทราบระเบียบ คำส่ัง และคำช้ีแจงต่าง ๆ ทกี่ องทพั บกได้กำหนดไว้ และตอ้ งนำมาใชเ้ ป็นแนวทาง และหลกั ในการปฏิบัติ ดงั นี้ (1) คำส่ัง ทบ.ท่ี 320/23630 ลง 9 พ.ย. 2498 เร่ือง วิธีซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์ สาย สรรพาวธุ (2) ระเบยี บกองทัพบก วา่ ด้วยการรบั สิ่งอปุ กรณ์ พ.ศ. 2500 (3) ระบียบ ทบ.ว่าด้วยชนิ สว่ นซ่อมตามอัตราพิกดั และชน้ิ สว่ นซอ่ มที่สะสม พ.ศ.2512 (4) ระเบยี บกองทพั บก วา่ ดว้ ยการสง่ กำลงั สงิ่ อปุ กรณ์ประเภท 2 และ 4 พ.ศ. 2534 3.4 การส่งกำลังระดับหน่วย การส่งกำลังระดับหน่วยมีขอบเขตจำกัด โดยหน่วยจะทำการเบิกจ่าย ชน้ิ ส่วนซ่อม เฉพาะเท่าท่ีจำเป็นตอ้ งใชใ้ นการซอ่ มบำรุงของหน่วยเท่าน้ัน ตามปกติหน่วยใช้ยุทโธปกรณ์มักจะ เป็นหน่วยทางยุทธวิธี ต้องการความคล่องแคล่วในการเคล่ือนที่สูง ดังน้ันเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ และช้ินส่วนซ่อม ที่หน่วยได้รับอนุมัติให้มีอยู่ในครอบครองตามอัตรา จึงจำนวนเหมาะสมกับภารกิจ ซึ่งศึกษาข้อมูลได้จาก อจย. หรือ อสอ. ของหน่วย และ คท.9-20 P หรอื คูม่ ือสง่ กำลังชิน้ ส่วนซ่อมของยทุ โธปกรณ์ น้ัน ๆ

ห น ้ า | 40 3.5 ความล่าช้าในการส่งกำลัง ปัญหาสำคัญที่สุดในการบำรุงรักษายุทโธปกรณ์ ให้อยู่ในสภาพใช้ การได้ตลอดเวลาน้ัน อยู่ท่ีประสิทธิภาพในการซ่อมบำรุงระดับหน่วย อย่างไรก็ตามหน่วยย่อมไม่สามารถทำ การซ่อมได้ทันที หากไม่มีชิ้นส่วนซ่อมมาทดแทนสิ่งที่ชำรุด และหน่วยสรรพาวุธที่สนับสนุนไม่มีช้ินส่วนซ่อม จ่ายให้ ย่อมไม่ใช่ความผิดของหน่วยเบิก โดยท่ัวไปสาเหตุของความล่าช้าอันเนื่องมาจากหน่วยใช้ หรือหน่วย เบิก มดี งั น้ี 3.5.1 ลงลกั ษณะประจำสงิ่ อุปกรณ์ผิด (ช่ือ และหมายเลขชนิ้ สว่ น) 3.5.2 ใช้เอกสารคู่มอื สง่ กำลงั ที่ล้าสมัย 3.5.3 ถว่ งเวลาในการเบกิ ไวจ้ นนาทีสดุ ท้าย 3.5.4 คำนวณสิทธิการในการเบกิ ผดิ 3.5.5 สะสมในเบิกไวค้ ราวละมาก ๆ หรือไมน่ ำส่งหนว่ ยเบิกตามกำหนดเวลา 3.5.6 ทำใบเบิกแล้วไม่นำสง่ ทันที 3.5.7 เจ้าหนา้ ท่ไี ม่มคี วามรูใ้ นเรอ่ื งการสง่ กำลังดพี อ 3.5.8 ลา้ ชา้ เพราะรอผู้บงั คับบัญชาลงนาม 3.5.9 ไม่ไปรับชนิ้ ส่วนทนั ที เม่อื ได้รบั แจ้ง 3.5.10 การประสานงานระหว่างหนว่ ยเบิก และหน่วยจ่ายไมใ่ กล้ชิดพอ ปญั หาท้ังหมดท่ีกล่าวมานี้ อยู่ในวิสัยที่ผู้บังคับหน่วยจะแก้ไขได้ไม่ยากด้วยการตรวจ และกำกับดูแล อย่าง ใกล้ชิด โดยใช้สายการบังคับบัญชาในการซ่อมบำรุง สำหรับสาเหตุอื่น ๆ ยังมีอีกมากเช่น ปัญหาของหน่วย สนบั สนุนเป็นตน้ -------------------------------------------- แบบพมิ พ์ทใี่ ช้ในการส่งกำลงั ก. แบบพมิ พท์ ่ีใชใ้ นการส่งกำลงั ตามคำส่งั ทบ.ที่ 400/2507 ระบไุ ว้เพยี ง 4 อยา่ งคือ (1) ใบเบกิ ทบ.400-006 (สพ.446) (2) ใบสง่ คนื ทบ.400-013 (สพ.447) (3) ปา้ ยแลกเปลยี่ น หรอื ป้ายช่อื ชน้ิ ส่วน ทบ.468-281 (สพ.9-81) (4) บตั รบัญชีคุมชิ้นส่วนซอ่ มและสิง่ อุปกรณใ์ ช้ส้ินเปลอื ง ทบ.400-068 ข. แบบพมิ พท์ ่เี ก่ียวขอ้ งกบั การสง่ กำลงั เพ่มิ เตมิ ในปัจจบุ ัน นอกเหนือจากท่ีระบุไว้ คอื . (1) ทะเบียนส่งกำลัง ทบ.400-002 ( สพ.272 ) (2) ใบเบกิ ชิ้นสว่ นภายใน ทบ.468-201 ( สพ.9-79) (3) ใบตดิ ตามใบเบิก ทบ.400-071 (4) ใบของาน สพ.9-76 (5) ใบเบิกหรอื ใบสง่ คืน ทบ.400-007-1 และ - ใบเบกิ พรอ้ มขอการขนสง่ ทบ.400-007 - แบบรายการขออนมุ ัตจิ ำหน่าย - ทะเบียนใบสง่ งาน สพ.9-77 - บันทึกงานของช่าง

ห น ้ า | 41 ค. แบบพิมพ์ที่ใช้ในการสง่ กำลงั มไี วส้ ำหรบั ใชใ้ นการเบิก การส่งคืน การควบคุมยอดส่ิงอุปกรณ์ การเกบ็ รักษา และการแจกจา่ ย รวมทั้งการควบคมุ การซอ่ มบำรงุ ประจำหน่วย 1. ใบเบิก ทบ.400-006 (สพ.446) (ก) ใบเบิกน้ี ไวใ้ ห้หน่วยใช้เบกิ สิง่ อปุ กรณ์ตามสายการส่งกำลังทุกสายงานไปยังหน่วยสนับสนุน (ข) หน่วยใชเ้ บิกไปยัง มทบ.จทบ.หรอื มทบ.จทบ.ใช้เบิกไปยงั คลังฝา่ ยยุทธการ (ค) การใช้ (1) การเบกิ ผเู้ บิกและผรู้ บั ของ จะต้องมตี วั อย่างลายเซ็น ใหส้ ายงานไว้ตรวจสอบด้วย (2) ตอ้ งใช้ใบเบกิ ใหถ้ กู ต้อง คือ ทบ.400-006 หรอื ทบ.400-007-1 (3) ตรวจสอบรายละเอียดวา่ ไดก้ รอกรายการในใบเบกิ ครบถ้วนเชน่ (4) หมายเลขสงิ่ อปุ กรณ์ (5) หมายเหตุใหช้ ัดเจน (6) การเบกิ ยุทธภณั ฑ์หลักและชิ้นส่วนใหแ้ ยกเบิก (7) สป.ท่ีหนว่ ยจัดหาได้เองหา้ มทำการเบิก (8) การส่งใบเบิกไม่ต้องมีหนังสือกำกับ เพราะใบเบิก มีรายละเอียดเพียงพอแล้ว และอาจทำให้ ลา่ ชา้ เพราะ กรรมวธิ ี (9) ลักษณะแบบพิมพ์ แบบพิมพ์ 1 ชุด มี 4 สี คือ ชมพู,ขาว,เขยี ว และ ฟา้ สชี มพู และ สเี ขยี ว หนว่ ยจ่ายเก็บเปน็ หลักฐานทางบญั ชี สีฟ้า ส่งคนื หน่วยเบิก พรอ้ มรับของ สขี าว หน่วยเบิกเก็บไว้เปน็ หลักฐานการเบิกและติดตาม 2. ทะเบียนสง่ กำลัง ทบ.400-002 ( สพ.272 ) (ก) ทะเบียนส่งกำลังใช้สำหรับลงที่ใบเบิกของหน่วยท่ีได้เบิกส่ิงอุปกรณ์ ไปยังหน่วยสนับสนุน มีความมุ่ง หมายเช่นเดียวกับทะเบียนหนังสือราชการ ใช้บันทึกใบเบิกท้ังหมดในรอบปี สรุปความมุ่งหมายในการใช้ เป็นขอ้ ๆ ดังน้ี (1) บันทกึ หลักฐานใบเบิก (2) ใช้ตรวจสอบการรับของค้างจา่ ย และติดตาม (3) ใช้ดดั แปลงเปน็ ทะเบยี นใบส่งคนื ได้ (ข) ลกั ษณะรายละเอียด 3. แบบพมิ พใ์ บตดิ ตามใบเบิก ทบ.400-071 (ก) แบบพิมพ์ใบติดตามใบเบิกมีไว้เพอ่ื ให้ใชต้ ามสายการส่งกำลังทุกสายงาน เพ่ือติดตามใบเบิกไปยังหน่วย สนับสนุน (ข) หน่วยใช้ติดตามใบเบิกไปยัง จทบ.มทบ.หรือ จทบ.มทบ.ติดตามใบเบิกไปยังคลังไปยังสายงานยุทธ บริการ หมายเหตุ รายละเอียดอยูใ่ นคำสงั่ ทบ.ที่ 289/2511 เรือ่ ง การติดตามใบเบกิ (ค) วิธใี ช้และการกรอกแบบพมิ พ์ (1) วิธีใช้หน่วยเบิกไปแล้ว 45 วัน ต้องสอบทาน 1 คร้ัง (ทุกๆ 45 วัน) ให้ติดตามใบเบิก โดยใช้แบบ พมิ พ์ แบบ ก.ถา้ เกินกว่า 90 วัน ยงั ไม่ไดร้ ับ สป.ให้ตดิ ตามใบเบิกด้วยแบบพิมพ์ แบบ ข.

ห น ้ า | 42 - หนว่ ยใช้เขยี นแบบพมิ พ์ จำนวน 2 ใบ เกบ็ ไวท้ ่หี น่วยเบิก 1 ใบ เสนอหนว่ ยจ่าย 1 ใบ - หนว่ ยจา่ ยเมอ่ื ไดร้ บั ใบตดิ ตามใบเบิก ให้บนั ทกึ ชีแ้ จงในแบบ ก.(ชอ่ งที่ 6) และ ชอ่ งที่ 7 แบบ ข. (2) วธิ กี รอกแบบพิมพ์ แบบ ก. ดูตัวอย่าง ---------------------------------- (3) วธิ ีกรอกแบบพิมพ์ แบบ ข. ดูตวั อย่าง ---------------------------------- ************** 4. ใบสง่ คนื ทบ.400-013 (สพ.447) (ก) ใบสง่ คนื มีไว้เพอ่ื ใชส้ ่งคืนยทุ โธปกรณท์ ุกชนดิ ตามสายการสง่ กำลังไปยังหนว่ ยสนับสนุน (ข) หน่วยใช้นำสิ่งอปุ กรณส์ ่งคืน มทบ.จทบ.หรอื มทบ.จทบ.นำสง่ คืนคลงั ฝา่ ยยทุ ธบรกิ ารหรอื ฝา่ ยกิจการ พิเศษ (ค) ใชน้ ำสง่ คืน ยุทโธปกรณ์ชำรดุ เกนิ อัตรา หรอื ยมื (ง) การใช้ (1) ตรวจสอบการกรอกรายการในใบส่งคนื ใหถ้ ูกต้อง (2) ส่งคนื สป.พรอ้ มกับหลักฐานใบสง่ คนื (3) หมายเหตุ ให้ชดั เจนวา่ สง่ คืนเพราะเหตใุ ด ตามชอ่ งระบุไว้หรอื อาจเพ่ิมขอ้ ความตามความจำเป็น (4) หาก สป.ที่ส่งคืนนั้น ได้เบิกรับของไปแล้ว ให้หมายเหตุด้วยว่า ได้เบิกรับของไปแล้ว ตามใบเบิก ที่........เมอ่ื ........................ (5) การส่งคนื ไมต่ อ้ งมีหนงั สอื กำกบั เพราะใบส่งคืนมีรายละเอยี ดเพียงพอแลว้ และอาจทำใหล้ า่ ช้า (6) รายละเอียดท่ีไมก่ ล่าวถึง หนว่ ยจ่ายเปน็ ผู้บันทกึ (7) ลกั ษณะแบบพิมพ์ - 1 ชดุ มี 4 สี ชมพ,ู เขยี ว,ขาว และฟ้า - สีชมพู และสีเขยี ว หนว่ ยสนบั สนนุ เก็บไว้เป็นหลักฐาน - สฟี ้า และ สีขาว หนว่ ยนำส่งคืนเก็บเป็นสำเนา 5. ใบเบิกและใบสง่ คืน ทบ.400-007-1 (ก) ใบเบกิ และใบส่งคืน มีความมุ่งหมายในการใชเ้ ช่นเดียวกับใบเบกิ และใบส่งคืนดังกล่าวแล้ว แตกต่างกัน ท่ีแบบพิมพ์นีใ้ ช้เปน็ ท้ังใบเบิก และใบส่งคืน (ข) แบบพิมพ์นี้เบิกส่ิงอุปกรณ์ได้เพียงรายการเดียว วิธีปฏิบัติเช่นเดียวกับการทำใบเบิกใบส่งคืน สพ.446 และ สพ.447 (ค) การใช้ ลกั ษณะแบบพมิ พ์ (1) ชดุ หนงึ่ มี 4 สี เชน่ เดียวกนั (2) การดำเนนิ กรรมวธิ ีทางเอกสาร เชน่ เดยี วกนั

ห น ้ า | 43 6. บตั รแลกเปล่ียนช้ินส่วนหรอื ปา้ ยชอื่ ชิ้นส่วน สพ.9-81 (ทบ.468-281) (ก) บัตรแลกเปลี่ยนช้ินส่วน มีไว้เพ่ือใช้เบิกส่ิงอุปกรณ์จากหน่วยสนับสนุนโดยตรงด้วยวิธีการแลกเปล่ียน โดยตรง ซ่ึงการใช้บัตรแลกเปลี่ยนนี้หน่วยสนับสนุนจะแจ้งให้หน่วยทราบวา่ สิ่งอุปกรณ์อะไรบา้ งท่ีใชบ้ ัตรนี้ทำ การเบกิ แบบแลกเปลี่ยนได้ (ข) ใช้ผกู กบั ชน้ิ ส่วนทเ่ี ก็บไว้ในชอ่ งตามตู้ ในคลงั ช้ินสว่ น (ค) การใช้ (1) ผเู้ บิกและรบั ของต้องมีตัวอยา่ งลายเซน็ ไวต้ รวจสอบ (2) ตรวจสอบการกรอกรายการใหถ้ ูกตอ้ ง (ง) ลักษณะรายละเอียด (1) บตั รนแ้ี บง่ เปน็ 3 สว่ น มีเลขกำกบั 1,2,3 หมายเลข 3 ผูกติดชิน้ ส่วนส่งคืน หมายเลข 2 หน่วยจ่ายเกบ็ หรอื ผูกกบั ช้นิ สว่ นที่จ่ายให้ หมายเลข 1 หน่วยเบิกเกบ็ ไวเ้ พื่อตดิ ตาม (2) ขอ้ ความท้ัง 2 สว่ น คลา้ ยคลึงกนั ยกเวน้ หมายเลข 2 มขี อ้ ความเพ่ิมเตมิ 5 ข้อ ดงั นี้ ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7 ขอ้ 8 ขอ้ 9 (3) การกรอกข้อความ - ชนดิ ของยานยนต์ - หมายเลขทะเบียน - ชือ่ ชน้ิ ส่วน - หมายเลขช้ินสว่ น - วนั แลกเปล่ียนและสง่ คืน หมายเหตุ ท่ดี ้านหลังของหมายเลข 3 7. บัตรบัญชคี ุมชนิ้ ส่วนซ่อมและสง่ิ อปุ กรณใ์ ชส้ ิน้ เปลือง ทบ.400-068 (ก) บัตรบัญชีคุมช้ินส่วนซ่อม และส่ิงอุปกรณ์ใช้ส้ินเปลือง มีไว้เพ่ือใช้ควบคุมจำนวนชิ้นส่วนตามอัตรา พิกดั ทห่ี นว่ ยมอี ย่ใู นครอบครอง ตามบญั ชีชนิ้ ส่วนท่ี สพ.กำหนดไว้ (ข) ใชค้ วบคมุ การเบิกจ่าย และค้างรับ ค้างจา่ ย ของเจ้าหน้าทีส่ ่งกำลัง (ค) แจ้งสถานที่เก็บเพ่ือสะดวกในการคน้ หาและตรวจสอบ (ง) ลกั ษณะรายละเอยี ด (วธิ เี ขียนแบบพมิ พ)์ (1) หมายเลขสง่ิ อุปกรณ์ (ตาม บชอพ.) (2) รายการท่ีใช้แทนกันได้ (3) ชนดิ แบบ และ ปี ยุทธภณั ฑ์ (4) คลัง แถว หรือ รถ (5) ตอน หรือ ตู้ (6) ชอ่ งหรือลนิ้ ชกั

ห น ้ า | 44 (7) ระดับสะสมอนุมัติ (เขียนดว้ ยดนิ สอดำ จาก บช.อพ.) (8) ค่มู อื (TM 9-20P) (9) วัน, เดือน, ปี (10) รบั (จำนวนทีไ่ ดร้ บั ) (11) จา่ ย (จำนวนที่จา่ ยไป) (12) คงคลงั (จำนวนในครอบครอง) (13) ที่หลกั ฐานหรอื หมายเลขยุทธภณั ฑ์เลขงานท่ีนำช้นิ ส่วนไปใช้ (14) วัน,เดอื น,ปี (ใบเบิกชนิ้ ส่วน) (15) ค้างรับ (ยงั มไิ ดร้ บั ของ) (16) คา้ งจ่าย (ยงั ไม่ได้จ่าย) (17) ทีห่ ลักฐาน (เลขทีใ่ บเบิก) (18) ทะเบียนหนว่ ยจา่ ย (เลขทีใ่ บสั่งจ่าย) หมายเหตุ แผ่นบันทึกน้ี ควรทำให้มีขนาดเล็กพอท่ีจะเก็บไว้ในล้ินชักหรือโต๊ะเก็บบัตรมาตรฐาน เป็น กระดาษแข็งใชไ้ ด้ 2 หนา้ 8. ใบเบิกช้นิ ส่วนภายใน ทบ.468-201 ( สพ.9-79 ) (ก) ใบเบิกช้ินส่วนภายใน ปกติใช้ควบคู่กับใบของาน ในกรณีท่ีการซ่อมบำรุงในคราวนั้นต้องการเปลี่ยน ชิ้นส่วน นายสิบยานยนต์เป็นผู้ทำใบเบิก 1 แผ่น ใบของาน 1 แผ่น เสนอต่อผู้มีอำนาจในการสั่งจ่ายชิ้นส่วน ช่างประจำหน่วยที่ทำการซ่อม หรือพลประจำรถ นำใบเบิกและของานนี้มอบกับ จนท.ส่งกำลังพร้อมของ ชำรุด เม่ือเจ้าหน้าท่ีสง่ กำลังตรวจสอบแล้ว จะรับของชำรดุ พรอ้ มกับจา่ ยช้ินส่วนท่ีเบิก ให้ผู้เบิกลงทา้ ยรับของ แลว้ เก็บใบเบกิ ชิน้ ส่วนภายในและใบของานเปน็ หลกั ฐาน เพ่อื ดำเนินการทางบัญชีตอ่ ไป (ข) ใบเบกิ ชนิ้ ส่วนภายใน มคี วามมุง่ หมายในการใช้สรุปเป็นขอ้ ๆ ดังนี้ (1) ใชเ้ บิกช้นิ สว่ นจากเจ้าหน้าทีส่ ่งกำลงั กรณีการซอ่ มน้นั จำเป็นตอ้ งเปลีย่ นช้ินส่วน (2) ปอ้ งกันมิให้มกี ารสับเปลย่ี นชน้ิ ส่วน (3) ปอ้ งกนั การทจุ ริต (4) ใช้เป็นหลักฐานการเบิกจ่าย การตัดยอดในบัตรบัญชีคุมชิ้นส่วนซ่อมและสิ่งอุปกรณ์ใช้ส้ินเปลือง ทบ.400-068 (ค) ลักษณะรายละเอียด 9. ใบของาน สพ.9-76 (ก) แบบพิมพ์ใบของานนี้มีไว้เพื่อขออนุมัติการซ่อมภายในหน่วยต่อข้ันสูงกว่า แต่ต้องไม่เกินขั้น 2 ของ หนว่ ย (ข) สามารถใช้เป็นหลักฐานตรวจสอบการชำรดุ ของยานพาหนะในรอบปไี ด้ (เพราะต้องเก็บในซองประวัต)ิ (ค) กรณีการซ่อมน้ัน จำเป็นต้องเปล่ียนชิ้นส่วน นายสิบยานยนต์ ต้องทำใบของานอีก 1 ใบ ควบคู่กับใบ เบิก ชิ้นส่วนภายใน เพ่ือเสนอผู้มีอำนาจในการสั่งจ่ายชนิ้ ส่วน จนท.ส่งกำลังจะเก็บใบเบิกช้ินส่วนการใช้และใบขอ งานนเี้ ป็นหลกั ฐานเพ่ือดำเนินการทางบัญชี (ง) ผบ.หนว่ ย ใช้บันทกึ การส่งซ่อม (จ) จนท.ใชเ้ ปน็ หลกั ฐานการเบิกจา่ ย (ฉ) ลักษณะรายละเอยี ด

ห น ้ า | 45 หน่วยของาน --------------------- หน่วยซ่อม -------------------- 10. ใบส่งซ่อมและสัง่ งาน ทบ.468-311 ( สพ.811 ) (ก) ใบส่งซ่อมและสั่งงาน มีไว้เพื่อใช้ในการนำยุทโธปกรณ์ที่ชำรุดส่งซ่อมตามสายงานการส่งกำลังทุกสาย งานไปยงั หนว่ ยสนบั สนนุ (ข) การใช้ ใบส่งซอ่ มและสัง่ งานนี้ ต้องนำส่งพร้อมกับยานยนตท์ ีช่ ำรุดและซองประวัติยทุ ธภณั ฑ์ (ค) ผบ.หนว่ ย เทยี บเทา่ ผบ.พนั .หรอื ผบ.ร้อย.อสิ ระ เปน็ ผู้มีอำนาจในการส่งั การซอ่ ม (ง) ฝอ.4 หรือนายทหารยานยนต์ เป็นผนู้ ำสง่ ซ่อม (จ) หลักการพจิ ารณาการส่งซอ่ ม ดจู ากคำสัง่ ทบ.ที่ 140/2526 เรอ่ื ง การแบ่งช้นั การซอ่ มบำรงุ ยานยนต์ (ฉ) ลักษณะรายละเอียด และการบันทึกคำสั่ง ทบ.ท่ี 320/23630 เร่ือง วิธีการซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์ สาย สพ. (ช) การเก็บแบบพิมพ์ใบส่งซ่อมและสั่งงานนี้ ต้องเก็บไว้ในซองประวัติ ยุทธภัณฑ์จนถึงส้ินปี (สีเหลือง) เมอื่ ครบปแี ลว้ แยกมาเก็บในแฟม้ การส่งซอ่ มอีก 1 ปี จงึ ทำลายได้ ************

ห น ้ า | 46 (สำเนา) คำสง่ั กองทพั บก ที่ 289/2511 เร่ือง การติดตามใบเบกิ ------------- เน่ืองจาก การดำเนินการเบิกส่ิงอุปกรณ์ของหน่วยตา่ งๆ ในกองทัพบกขณะนี้ยังไม่มีแบบพิมพ์ในการ ติดตาม ใบเบิกเป็นมาตรฐานเดียวกัน จึงทำให้เกิดความยุ่งยากและล่าช้า ในด้านการส่งกำลังบำรุง เพื่อขจัดปัญหา ดงั กล่าวใหห้ มดไป จงึ ใหด้ ำเนินการดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ใหห้ นว่ ยเบกิ ใชแ้ บบพิมพ์ในการติดตามใบเบิก ตดิ ตามใบเบกิ ไดท้ ุกสายงาน 2. การใช้แบบพมิ พ์ติดตามใบเบิก ใหใ้ ช้ตามสายการสง่ กำลัง ซึ่งแบง่ ออกเปน็ สาย คอื 2.1 หน่วยใช้ติดตามใบเบิกไปยังหน่วยสนับสนุนโดยตรง หน่วยสนับสนุนติดตามใบเบิกไปยัง หน่วยสนบั สนนุ ส่วนรวมหรอื คลงั ฝ่ายยุทธบรกิ าร หรือฝา่ ยกจิ การพิเศษ 2.2 หน่วยใช้ตดิ ตามใบเบกิ ไปยัง มทบ.จทบ.หรอื มทบ.จทบ. ตดิ ตามใบเบกิ ไปยังคลังสายงานฝ่าย ยุทธบริการ หรือฝา่ ยกจิ การพิเศษ 3. แบบพิมพ์การตดิ ตามใบเบกิ ใชต้ ามแบบพมิ พ์คำส่งั นี้ 4. ลักษณะและการใชแ้ บบพิมพ์ 4.1 ช่อื แบบพิมพ์ ตดิ ตามใบเบกิ 4.2 อักษรยอ่ และหมายเลขแบบพิมพ์ ทบ.400-071 4.3 แบบพิมพต์ ิดตามใบเบกิ ทบ.400-071 ใชต้ ามแบบพมิ พ์ท้ายคำสงั่ น้ี 4.4 วิธใี ช้ดูคำอธิบายหลงั แบบพมิ พป์ ระกอบคำส่ัง ทัง้ นีใ้ หถ้ ือปฏิบัตติ ามคำส่งั น้ี ต้ังแต่บัดนเี้ ป็นตน้ ไป ส่งั ณ วนั ท่ี 28 สิงหาคม 2511 รับคำสง่ั ผบ.ทบ. (ลงชื่อ) พล.อ. ท. โกสนิ านนท์ (ทวนชัย โกสินานนท์)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook