Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชา หลักการยานยนต์

วิชา หลักการยานยนต์

Published by qacavalry, 2021-10-27 02:42:24

Description: วิชา หลักการยานยนต์
รหัสวิชา ๐๑๐๒๒๓๐๖๐๒
หลักสูตร พลประจำรถกู้และช่างเชื่อม
แผนกวิชายานยนต์ กศ.รร.ม.ศม.

Search

Read the Text Version

โรงเรียนทหารม้า วิชา หลักการยานยนต์ รหสั วิชา ๐๑๐๒๒๓๐๖๐๒ หลักสตู ร พลประจำรถก้แู ละชา่ งเชื่อม แผนกวชิ ายานยนต์ กศ.รร.ม.ศม. โรงเรยี นทหารม้า ศูนย์การทหารม้า เลม่ ที่ ๒ ปรชั ญา รร.ม.ศม. “ฝึกอบรมวิชาการทหาร วิทยาการทนั สมยั ธำรงไว้ซึ่งคุณธรรม”

ปรชั ญา วิสยั ทศั น์ พนั ธกิจ วตั ถุประสงค์การดำเนนิ งานของสถานศึกษา เอกลักษณ์ อตั ลกั ษณ์ ๑. ปรัชญา ทหารม้าเป็นทหารเหล่าหนึ่งในกองทัพบกที่ใช้ม้าหรือส่ิงกำเนิดความเร็วอื่นๆ เป็นพาหนะเป็นเหล่าท่ีมีความสำคัญ และจำเป็นเหล่าหน่ึง สำหรับกองทหารขนาดใหญ่ เช่นเดียวกับเหล่าทหารอ่ืน ๆ โดยมีคุณลักษณะท่ีมีความ คล่องแคล่ว รวดเร็วในการเคลื่อนที่ อำนาจการยิงรุนแรง และอำนาจในการทำลายและข่มขวัญ อันเป็น คุณลกั ษณะทส่ี ำคญั และจำเป็นของเหลา่ โรงเรยี นทหารมา้ ศูนย์การทหารมา้ มปี รชั ญาดงั นี้ “ฝึกอบรมวชิ าการทหาร วทิ ยาการทันสมัย ธำรงไวซ้ ึง่ คุณธรรม” ๒. วิสยั ทัศน์ “โรงเรียนทหารม้า ศูนย์การทหารม้า เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้วิชาการเหล่าทหารม้าที่ทันสมัย ผลติ กำลงั พลของเหล่าทหารม้า ให้มลี ักษณะทางทหารที่ดี มคี ณุ ธรรม เพ่อื เปน็ กำลังหลกั ของกองทพั บก” ๓. พันธกจิ ๓.๑วจิ ยั และพัฒนาระบบการศกึ ษา ๓.๒ พัฒนาคุณภาพครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ๓.๓ จดั การฝึกอบรมทางวชิ าการเหล่าทหารม้า และเหลา่ อน่ื ๆ ตามนโยบายของกองทัพบก ๓.๔ผลติ กำลังพลของเหล่าทหารมา้ ใหเ้ ป็นไปตามวัตถุประสงคข์ องหลักสูตร ๓.๕ พัฒนาสื่อการเรียนการสอน เอกสาร ตำราของโรงเรยี นทหารมา้ ๓.๖ปกครองบังคับบัญชากำลังพลของหน่วย และผู้เข้ารับการศึกษาหลักสูตรต่างๆ ให้อยู่บนพื้นฐาน คุณธรรม จรยิ ธรรม ๔. วตั ถปุ ระสงค์ของสถานศกึ ษา ๔.๑เพื่อพัฒนาครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ให้กับผู้เขา้ รับการศกึ ษาไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ๔.๒ เพ่อื พฒั นาระบบการศึกษา และจัดการเรียนการสอนผา่ นสื่ออิเล็กทรอนกิ ส์ ใหม้ คี ุณภาพอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ๔.๓ เพื่อดำเนินการฝึกศึกษา ให้กับนายทหารช้ันประทวน ท่ีโรงเรียนทหารม้าผลิต และกำลังพลท่ีเข้ารับ การศึกษา ใหม้ คี วามร้คู วามสามารถตามที่หนว่ ย และกองทพั บกต้องการ ๔.๔ เพือ่ พัฒนาระบบการบริหาร และการจดั การทรัพยากรสนบั สนนุ การเรยี นรู้ ใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด ๔.๕ เพือ่ พัฒนาปรับปรงุ สอ่ื การเรยี นการสอน เอกสาร ตำรา ให้มคี วามทันสมัยในการฝกึ ศึกษาอยา่ งตอ่ เน่อื ง ๔.๖เพื่อพัฒนา วิจัย และให้บริการทางวิชาการ ประสานความร่วมมือ สร้างเครือข่ายทางวิชาการกับ สถาบันการศกึ ษา หน่วยงานอ่ืนๆ รวมทั้งการทำนบุ ำรุงศิลปวัฒธรรม ๕. เอกลกั ษณ์ “เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้ทางวิชาการ และผลิตกำลังพลเหล่าทหารม้าอย่างมีคุณภาพเป็นการ เพิ่มอำนาจกำลังรบของกองทพั บก” ๖. อตั ลักษณ์ “เดน่ สง่าบนหลังม้า เก่งกลา้ บนยานรบ”

สารบญั หน้า 1 ลำดบั วชิ า 6 1 เคร่ืองมอื ซ่อมบำรุงข้นั ท่ี 2 15 2 การใชแ้ ละการดแู ลรักษาเครอ่ื งมอื 3 หลกั การของยานยนต์ และองคป์ ระกอบเบอื้ งตน้ ของยานยนตล์ ้อ 25 และยานยนต์สายพาน 60 4 ไฟฟ้าเบอ้ื งต้น วงจรไฟฟ้า และแบตเตอรี่ 5 หลักการกู้รถ และแกป้ ญั หา ...................................................

ห น้ า | 1 แผนกวิชายานยนต์ กองการศึกษา โรงเรียนทหารมา้ ศนู ย์การทหารม้า ----------------------------- เอกสารนำ วชิ า เครื่องมือซ่อมบำรงุ ข้นั ท่ี 2 หมายเลขวิชา ยน. ………………… 1. ความมุ่งหมาย เพือ่ ใหน้ ักเรยี นมีความรเู้ ก่ยี วกับเคร่ืองมือซ่อมบำรุงชดุ ตา่ ง ๆ ทจ่ี ่ายประจำหนว่ ย 2. ขอบเขต เพ่อื ใหน้ กั เรยี นมคี วามรใู้ นเรอ่ื งต่าง ๆ ดงั นี้ 2.1 เครอื่ งมือซอ่ มบำรงุ ขนั้ หน่วย 2.2 เครือ่ งมอื ชุด ตาม ชกท. 2.3 เคร่อื งมือซอ่ มบำรุงพเิ ศษ 3. ระยะเวลาในการศึกษา - ช่วั โมง 4. หลกั ฐาน - อจย. 17 - 21 พ. ( 28 พ.ค. 27 ) กรมทหารม้า - อจย. 17 - 55 ก. ( 10 ม.ิ ย. 28 ) กองพนั ทหารม้า ( ลาดตระเวน ) - อจย. 17 - 55 พ. ( 19 ต.ค. 22 ) กองพนั ทหารมา้ ( ลาดตระเวน ) - อจย. 17 - 15 ( 25 ม.ค. 19 ) กองพนั ทหารมา้ ( รถถงั ) - คท. 20 P ประจำยทุ โธปกรณ์ 5. งานมอบ ใหน้ ักเรียนอา่ นเอกสารเพมิ่ เตมิ วชิ า เครอื่ งมอื ซ่อมบำรงุ ขั้นที่ 2 และเครื่องมอื ซ่อมบำรงุ พิเศษ 6. เอกสารจ่ายประกอบเอกสารนำ - เอกสารเพม่ิ เตมิ ----------------------------------------

ห น้ า | 2 แผนกวชิ ายานยนต์ กองการศกึ ษา โรงเรียนทหารมา้ ศูนยก์ ารทหารม้า ----------------------------- เอกสารเพ่ิมเตมิ วชิ า เครื่องมอื ซ่อมบำรงุ ขนั้ ที่ 2 หมายเลขวิชา ยน. ………………… 1. กล่าวนำ หน่วยทหารทุกระดับจะต้องมีเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ประจำหน่วย ซึ่ง ทบ.อนุมัติให้มีไว้ตาม อจย. ของหน่วย รวมท้ังเคร่ืองมือซ่อมบำรุงขั้นท่ี 2 ในอัตราตามประเภทของหน่วย เพื่อใช้ในการซ่อมบำรุง ยุทโธปกรณ์ของหน่วยใหม้ สี ภาพสมบรู ณ์ใชร้ าชการได้ตลอดเวลา หน่วยทหารแตล่ ะหน่วย อาจมีเคร่ืองซ่อมบำรุงในอตั ราแตกตา่ งกัน ตามลักษณะ และขนาดของหน่วย เคร่ืองมือต่าง ๆ น้ี ช่างประจำหน่วยเป็นผู้ใช้ทำการซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์ภายใต้การกำกับดูแลของนายทหาร ยานยนต์ นายทหารซ่อมบำรุงฯ และนายสิบยานยนต์ อย่างไรก็ดี แม้ว่าหน่วยจะได้รับเคร่ืองมือท่ีดเี ลิศเพียงใด แต่ถ้าผู้ใช้ ใช้ไม่ถูกวธิ ี ขาดความระมัดระวังในการใช้ ไม่เก็บรักษาให้ถูกต้อง ก็จะทำให้เคร่ืองมือเครื่องใช้ชำรุด เสียหาย หรือเสื่อมคุณภาพอย่างรวดเร็ว เป็นผลกระทบกระเทือนต่อประสิทธิภาพในการซ่อมบำรุงของหน่วย ไปดว้ ย 2. อธิบาย เครื่องมือเครื่องใช้สำหรับการซ่อมบำรุงระดับหน่วยนั้น กองทัพบกได้อนุมัติให้หน่วยได้รับตาม อัตราการจดั และยทุ โธปกรณข์ องหนว่ ย (อจย.) โดยทัว่ ไปประกอบด้วยเครอื่ งมอื ชดุ ต่าง ๆ ดังน้ี - เครื่องมือชดุ ซอ่ มบำรงุ ขน้ั หนว่ ย - เคร่ืองมือชุดตาม ชกท. - เครื่องมอื ซอ่ มบำรุงพเิ ศษ 2.1 เคร่ืองมือชุดซ่อมบำรุงข้ันหน่วย เครื่องมือชุดน้ีใช้สำหรับทำการซ่อมบำรุงข้ันท่ี 2 มีชื่อเรียกอีก อยา่ งหนึ่งว่า เครอ่ื งมอื ซอ่ มบำรงุ ขนั้ ที่ 2 และแจกจ่ายตาม อจย. ของแต่ละหนว่ ยมี 8 ชนดิ ดังน้ี 2.1.1 เครื่องซ่อมบำรุงขั้นหน่วย หมายเลข 1 ท่ัวไป หรือเรียกอกี อย่างหนึ่งว่า เครื่องมือซ่อม บำรุงข้ัน 2 ชุดหมายเลข 1 ธรรมดา (TOOL KIT ORG. MAINT. SET NO.1 COMMON) เคร่ืองมือชุดน้ีจะ แจกจ่ายให้กับหนว่ ยระดับกองรอ้ ย เพ่ือใช้ในการซ่อมบำรงุ ประจำเดือนยานยนตล์ ้อ และยานยนต์สายพานของ หน่วย ซ่งึ มรี ถ 8 - 75 คนั และชา่ งยานยนต์ 1 - 8 นาย 2.1.2 เครื่องมือซ่อมบำรุงข้ันหน่วย หมายเลข 1 ท่ัวไป เพิ่มเติม หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เคร่อื งมอื ซ่อมบำรงุ ขนั้ ท่ี 2 ชุดหมายเลข 1 เพมิ่ เติม (TOOL KIT ORG. MAINT. SET NO.1 SUPPLEMENTAL) เครอื่ งมือชดุ นีจ้ ะแจกจ่ายควบคกู่ ับเคร่ืองมอื ซ่อมบำรงุ ขนั้ หนว่ ย หมายเลข 1 ทวั่ ไป เพอ่ื ใช้ในการ ปบ. 6 เดือน ยานยนต์ลอ้ และ ปบ. 3 เดอื น ยานยนตส์ ายพาน 2.1.3 เครื่องมือชุดซ่อมบำรุงข้ันหน่วย หมายเลข 1 ท่ัวไป เสริม หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องมือซ่อมบำรุงข้ันท่ี 2 ชุดหมายเลข 1 เสริม (TOOL KIT ORG.MAINT.SET NO.1 AUGMENTATION) เครื่องมือชุดน้ีจะแจกจ่ายควบคู่กับเครื่องมือชุดซ่อมบำรุงข้ันหน่วย หมายเลข 1 ท่ัวไป เพ่ือใช้ในการ ปบ. 6 เดือน ยานยนต์ล้อญี่ปุน่ 2.1.4 เคร่ืองมือชุดซ่อมบำรุงขั้นหน่วย หมายเลข 2 ท่ัวไป หรือเรียกอีกอย่างหน่ึงว่า เคร่ืองมือซ่อมบำรุงข้ันที่ 2 ชุดหมายเลข 2 ธรรมดา (TOOL KIT ORG. MAINT. SET NO.2 COMMON) เคร่ืองมือชุดน้ีจะแจกจ่ายให้กับหน่วยระดับกองพัน และกรม เพ่ือใชใ้ นการซ่อมบำรุงประจำเดือน ยานยนต์ล้อ และประจำเดอื น ยานยนตส์ ายพาน ซงึ่ มรี ถ 75 - 350 คนั ชา่ งยานยนต์ 8 - 26 นาย

ห น้ า | 3 2.1.5 เครื่องมือซ่อมบำรุงขั้นหน่วย หมายเลข 2ทั่วไป เพิ่มเติม หรือเรียกอีกอย่างหน่ึงว่า เครื่องมือซ่อมบำรุงข้ันที่ 2 ชดุ หมายเลข 2 เพมิ่ เตมิ (TOOL KIT ORG. MAINT. SET NO.2 SUPPLEMENTAL) เคร่ืองมือชุดน้ีจะแจกจ่ายควบคู่กับเคร่ืองมือซ่อมบำรุงขั้นหน่วย หมายเลข 2 ทั่วไปเพื่อใช้ในการ ปบ. 6 เดือน ยานยนต์ลอ้ และ ปบ. 3 เดือน ยานยนต์สายพาน 2.1.6 เครื่องมือชุดซ่อมบำรุงขั้นหน่วยหมายเลข 2 ท่ัวไป เสริม หรือเรียกอีกอย่างหน่ึงว่า เครื่องมือซ่อมบำรุงขั้นที่ 2 ชุดหมายเลข 2 เสริม (TOOL KIT ORG.MAINT.SET NO.2 AUGMENTATION) เครื่องมือชุดน้ีจะแจกจ่ายควบคู่กับเครื่องมือชุดซ่อมบำรุงข้ันหน่วย หมายเลข 2 ท่ัวไป เพื่อใช้ในการ ปบ. 6 เดือน ยานยนต์ล้อญี่ปนุ่ 2.1.7 เคร่ืองมือชุดซอ่ มบำรงุ ข้ันหนว่ ย หมายเลข 5 หรือเรียกอีกอย่างหน่วยวา่ เครื่องมอื ชา่ ง เชื่ อ ม ห ม าย เล ข 5 (TOOL KIT ORG. MAINT. NO. 5 OR TOOL KIT WELDER SET NO. 5) เป็ น ชุ ด เคร่ืองมอื เชื่อมแก๊สออ๊ กซอี ะเซททลี ีน เครอื่ งมือชดุ นจ้ี ะแจกจ่ายให้กับหน่วยระดบั กองร้อย 2.1.8 เครื่องมือชุดซ่อมบำรุงขั้นหน่วย หมายเลข 7 (TOOL KIT ORG. MAINT. NO.7) เป็น ชุดโครงรอกใช้ประกอบบน รยบ.2 1/2 ตัน ใช้สำหรบั การกซู้ อ่ ม หรือยกย้ายอุปกรณ์ หรือยานยนตข์ นาดเบา 2.2 เคร่ืองมือชุดตาม ชกท. คือ เคร่ืองมือชุดที่แจกจ่ายให้แก่ เจ้าหน้าท่ีซ่อมบำรุงเพื่อใช้ในการ ปฏิบตั ิงานตาม ชกท.ของตน ปกติอยู่ในความรับผิดชอบ และการดูแลรักษาของเจ้าหน้าท่ีผู้ไดร้ ับจ่ายเคร่ืองมือ ชุดไวใ้ ชป้ ระจำตัว ได้แก่ 2.2.1 เคร่ืองมือชุดช่างท่ัวไป (TOOL KIT GEN. MECH.)จะแจกจ่ายให้กับช่างยานยนต์ตาม อัตรา 1 หีบ ต่อชา่ งยานยนต์ 1 นาย 2.2.2 เครื่องมือชุดช่างท่ัวไป เสริม (TOOL KIT GEN. MECH. AUG.) แจกจ่ายควบคู่กับ เครื่องมอื ชดุ ช่างทั่วไป 2.2.3 เครื่องมือชุดช่างอาวุธ หรือเครื่องมือซ่อมอาวุธเบา (TOOL KIT AMORER) จะ แจกจา่ ยตาม อจย.ของหน่วย 2.2.4 เครอื่ งมอื ชดุ ชา่ งซอ่ มปืนใหญ่ขน้ั ต้น จะแจกจ่ายตาม อจย.ของหน่วย 2.2.5 เครอื่ งมอื ชดุ ชา่ งปอ้ มปืนใหญร่ ถถงั จะแจกจา่ ยตาม อจย.ของหนว่ ย 2.3 เครื่องซ่อมบำรุงพิเศษ (SPECIAL TOOL SET) เป็นเคร่ืองมือพิเศษสำหรับใช้ในการซ่อมบำรุง ข้ันท่ี 2 ของยานพาหนะแตล่ ะชนิดโดยเฉพาะ เคร่ืองมือชุดนม้ี ิได้แจกจ่ายประจำตวั แก่ช่างยานยนต์ เคร่อื งซ่อม บำรงุ พิเศษ มี 2 ชนิด ดังนี้ 2.3.1 เครื่องมือซ่อมบำรุงพิเศษชุด A หรือเรียกอีกอย่างหน่ึงว่า เครื่องมือชุดซ่อมบำรุงข้ันที่ 2 พเิ ศษ A (SPECIAL TOOL SET A) เคร่อื งมือชดุ นี้จะแจกจ่ายให้หน่วยระดบั กองรอ้ ย เพอื่ ใชใ้ นการซ่อมบำรุง ประจำเดือน จำนวน 1 ชุด ต่อยานพาหนะแต่ละชนิดท่ีหน่วยมีอยู่ เคร่ืองซ่อมบำรุงพิเศษชุด A จะปรากฏ รายละเอียดอยู่ในคู่มือทางเทคนิค 20P ของยานพาหนะ ตามปกติเครื่องมือชุดน้ีจะประกอบด้วยเคร่ืองมือ จำนวนเล็กนอ้ ย 2.3.2 เครื่องซ่อมบำรุงพิเศษชุด B หรือเรียกอีกอย่างหน่ึงว่า เคร่ืองมือชุดซ่อมบำรุงข้ันที่ 2 พเิ ศษชุด B (SPECIAL TOOL SET B) เคร่ืองมือชุดน้ีจะแจกจ่ายให้แก่หน่วยระดับกองพัน หรือ กรม เพ่ือใช้ใน การซ่อมบำรุงประจำ 3 เดือน ยานยนต์สายพาน เครื่องซ่อมบำรุงพิเศษชดุ B จะปรากฏรายละเอยี ดอยู่ในคู่มือ ทางเทคนิค 20P ของยานพาหนะ เคร่ืองมือชุดน้ีจะประกอบด้วยเคร่ืองมือจำนวนมากกว่าเคร่ืองมือซ่อมบำรุง พิเศษชดุ A หมายเหตุ สำหรบั คมู่ ือเทคนคิ 20P รุน่ ใหม่ จะปรากฏรายการเฉพาะเครื่องมอื ซ่อมบำรุงพเิ ศษ สำหรับใช้ในการซอ่ มบำรงุ ขน้ั ที่ 2 เทา่ น้นั โดยไมแ่ ยกรายการออกเปน็ เครอื่ งมือ ชดุ A และเคร่อื งมือชดุ B

ห น้ า | 4 3. ตวั อยา่ ง อตั ราจ่าย เครือ่ งมอื ซ่อมบำรงุ ข้ันหนว่ ย ของกองพนั ทหารม้า (รถถัง) อจย. 17 - 15 ( 25 ม.ค. 19 ) 3.1 กองบังคับการกองร้อย ร้อย.บก.พัน.ถ. จะมีเจ้าหน้าท่ีซ่อมบำรุงขั้นที่ 2 ประกอบด้วย นาย สบิ ยานยนต์ 1 นาย (จ.), ช่างยานยนต์ล้อ 4 นาย (จ. 1, ส.อ.3) และเสมียนสง่ กำลงั (ชิ้นส่วน) 1 นาย (ส.อ.) ทำ หน้าทตี่ รวจสภาพ, กำกับดแู ล, ซอ่ มบำรุง และสง่ กำลังชิน้ สว่ นซอ่ มยานยนตล์ ้อ ในส่วน บก.รอ้ ย. จะมเี คร่ืองมือ ดังน้ี 3.1.1 เครอ่ื งมอื ชุดชา่ งอาวธุ 2 ชดุ 3.1.2 เครอ่ื งมือชดุ ชา่ งทว่ั ไป 2 ชุด 3.1.3 เครื่องชดุ ช่างทวั่ ไป เสรมิ 2 ชุด 3.1.4 เครื่องมอื ชุดซ่อมบำรงุ ขั้นหน่วย หมายเลข 1 ท่วั ไป 1 ชดุ 3.1.5 เครื่องมือชุดซ่อมบำรุงขน้ั หนว่ ย หมายเลข 1 ทั่วไป เพม่ิ เตมิ 1 ชดุ 3.1.6 เครอ่ื งมอื ชดุ ซอ่ มบำรุงขน้ั หน่วย หมายเลข 7 1 ชดุ 3.2 ตอนซ่อมบำรุง ร้อย.บก.พนั .ถ. จะมเี จ้าหนา้ ท่ซี ่อมบำรงุ ขั้นที่ 2 ประกอบดว้ ย นายสบิ ยานยนต์ 1 นาย (จ.), ช่างยานยนต์สายพาน 6 นาย (จ.2, ส.อ.4), นายสิบรถกู้ 2 นาย (จ.2), ชา่ งซ่อมปนื ใหญ่รถถัง 2 นาย (จ.1, ส.อ.1), นายสิบช้ินส่วนสาย สพ. 1 นาย (ส.อ.) ทำหน้าท่ีตรวจสภาพ, กำกับดูแล, ซ่อมบำรงุ และส่งกำลัง ช้นิ สว่ นซ่อมยานยนตส์ ายพาน ในตอนซอ่ มบำรุงจะมเี ครื่องมือ ดงั น้ี 3.2.1 เครอ่ื งมือชุดซอ่ มบำรงุ ขั้นหนว่ ย หมายเลข 2 ทั่วไป 1 ชุด 3.2.2 เครอ่ื งมอื ชดุ ซ่อมบำรงุ ข้นั หน่วย หมายเลข 2 เพ่ิมเติม 1 ชดุ 3.2.3 เครื่องมือชดุ ซ่อมบำรุงขนั้ ที่ 2 พิเศษ ชดุ B สำหรบั ถ.M41 1 ชุด 3.2.4 เครอ่ื งมอื ชดุ ซอ่ มบำรุงขน้ั ที่ 2 พิเศษ ชดุ B สำหรับ รสพ.M577 1 ชดุ 3.2.5 เครือ่ งมือชดุ ซ่อมบำรงุ ขน้ั ท่ี 2 พเิ ศษ ชุด B สำหรบั รถสายพานกู้ซ่อม M578 1 ชุด 3.2.6 เครอ่ื งมอื ชุดซอ่ มบำรุงขน้ั ที่ 2 พเิ ศษ ชุด B สำหรับ รถกู้ 5 ตัน M543 1 ชดุ 3.2.7 เครอ่ื งมือชดุ ซ่อมบำรุงข้ันที่ 2 พิเศษ ชดุ B สำหรบั รถพยาบาล M718 1 ชดุ 3.2.8 เครื่องมอื ชดุ ซอ่ มบำรงุ ขั้นที่ 2 พิเศษ ชุด B สำหรับ รยบ. 1/4 ตนั 1 ชดุ 3.2.9 เคร่อื งมือชดุ ซ่อมบำรงุ ขน้ั ที่ 2 พิเศษ ชุด B สำหรับ รยบ. 3/4 ตนั 1 ชุด 3.2.10 เครอ่ื งมอื ชดุ ซอ่ มบำรงุ ข้นั ที่ 2 พเิ ศษ ชุด B สำหรบั รยบ. 2 1/2 ตัน 1 ชุด 3.3 รอ้ ย.ถ. หม่ซู อ่ มบำรุง ร้อย.ถ. จะมีเครือ่ งมอื ดงั นี้ 3.3.1 เครือ่ งมือชุดชา่ งอาวธุ 1 ชุด 3.3.2 เครื่องมอื ชุดชา่ งซ่อมปนื ใหญ่รถถัง 1 ชุด 3.3.3 เครอ่ื งมอื ชดุ ชา่ งป้อมปนื ใหญร่ ถถัง 1 ชุด 3.3.4 เครื่องมอื ชุดช่างท่วั ไป 12 ชุด 3.3.5 เครอ่ื งมือชดุ ช่างทั่วไป เสรมิ 12 ชุด 3.3.6 เคร่ืองมอื ชุดซอ่ มบำรุงขน้ั หนว่ ย หมายเลข 1 ทัว่ ไป 1 ชุด 3.3.7 เครอ่ื งมอื ชดุ ซ่อมบำรุงขั้นหน่วย หมายเลข 1 ท่ัวไป เพิม่ เตมิ 1 ชุด 3.3.8 เครื่องมอื ชุดซ่อมบำรงุ ขัน้ หน่วย หมายเลข 2 เสริม 1 ชุด เพื่อใชท้ ำการ ปบ. 3 เดอื น ยานยนตส์ ายพาน โดยชุดนี้จะมีเคร่อื งมือบางชิ้น เพม่ิ ข้ึน เช่น ชดุ เครื่องเชอ่ื มไฟฟ้า และชุดเคร่ืองมอื ตรวจสอบระบบไฟฟา้ 3.3.9 เครอ่ื งมือชุดซอ่ มบำรุงขนั้ หนว่ ย หมายเลข 5 (ชุดเช่อื มแก๊ส) 1 ชดุ 3.3.10 เครื่องมือชุดพเิ ศษ สำหรับ ถ.M41 1 ชดุ

ห น้ า | 5 4. สรปุ ขีดความสามารถของเคร่อื งมือชดุ ซ่อมบำรุงขน้ั ที่ 2 4.1 เครื่องมือชุดซอ่ มบำรงุ ขนั้ หนว่ ย หมายเลข 1 ท่วั ไป ใช้ทำการ ปบ.ประจำเดอื น 4.2 เครื่องมือชุดซ่อมบำรุงขั้นหน่วย หมายเลข 1 ทั่วไป และชุดเคร่ืองมือซ่อมบำรุงขั้นหน่วย หมายเลข 1 ทั่วไป เพ่ิมเติม รวมกันมีขีดความสามารถในการ ปบ.ประจำ 3 เดือน ยานยนต์สายพาน หรือ ประจำ 6 เดอื น ยานยนต์ล้อ เชน่ เดยี วกับเคร่อื งมือชดุ ซ่อมบำรุงขัน้ หนว่ ย หมายเลข 2 ----------------------------------------------

ห น้ า | 6 แผนกวชิ ายานยนต์ กองการศกึ ษา โรงเรียนทหารมา้ ศนู ย์การทหารมา้ ----------------------------- เอกสารนำ วชิ า การใช้ และการดแู ลรักษาเครือ่ งมอื หมายเลขวชิ า ยน. ………………… 1. ความมุง่ หมาย วชิ านม้ี คี วามมงุ่ หมายเพื่อใหน้ กั เรียนมีความรู้ และคุ้นเคยกับเคร่อื งมอื ชนิด ตา่ ง ๆ การใช้ และการดูแลรักษาเครื่องมือทถ่ี ูกวิธี 2. ขอบเขตการศกึ ษา ให้นักเรยี นมคี วามรใู้ นเรือ่ งต่าง ๆ ดังนี้ 2.1 การแบ่งประเภทของเคร่อื งมอื 2.2 ชอ่ื ของเคร่อื งมอื และความมุ่งหมายในการใชง้ าน 2.3 การใช้เครื่องมือท่ีถกู วิธ,ี ปลอดภยั และมีประสิทธภิ าพสูงสุด 2.4 การตรวจสภาพเครือ่ ง และการดแู ลรกั ษา 3. ระยะเวลาในการศกึ ษา 3 ชว่ั โมง 4. หลกั ฐาน - คท. 9 - 243 การใชแ้ ละการดูแลรกั ษาเคร่ืองมือ และเครอ่ื งวดั 5. งานมอบ ให้นักเรียนอา่ นเอกสารเพม่ิ เตมิ วิชาการใช้และการดแู ลรักษาเคร่อื งมอื ชา่ ง 6. เอกสารจ่ายประกอบเอกสารนำ - เอกสารเพิ่มเติม ----------------------------------------------

ห น้ า | 7 แผนกวิชายานยนต์ กองการศกึ ษา โรงเรยี นทหารม้า ศูนย์การทหารมา้ ----------------------------- เอกสารเพมิ่ เตมิ วิชา การใช้ และการดูแลรกั ษาเคร่อื งมอื หมายเลขวชิ า ยน. ……………………. 1. กลา่ วทั่วไป การซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์ต่าง ๆ ให้มีสภาพดี สามารถใช้ราชการได้ยาวนานนั้น เคร่ืองมือ ย่อมเป็นสิ่งจำเป็น และมีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานซ่อมบำรุงให้บรรลุผลสำเร็จได้อย่างมีประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตามแม้ว่าหน่วยงานนั้นจะมีเครื่องมือท่ีมีคุณภาพดีเลิศเพียงใด แต่ถ้าผู้ใช้ใช้ไม่ถูกวิธี หรือไม่มีความ ระมัดระวังในการใช้ และไม่เก็บรักษาให้ถูกต้อง ย่อมจะทำให้เครื่องมือต่าง ๆ ชำรุดเสียหาย และเส่ือมสภาพ ก่อนถงึ กำหนดเวลาอันควร หรอื ไมอ่ ย่ใู นสภาพพรอ้ มทีจ่ ะใช้งานได้ตลอดเวลา 2. ขอบเขต ให้นักเรียนมีความรู้ความคุ้นเคยกับเคร่ืองมือชนิดต่าง ๆ ซ่ึงช่างได้รับจ่ายไว้ใช้ประจำตัวหรือ ได้รบั อนุมตั ิให้ใชใ้ นเร่อื ง คุณลักษณะ, หน้าที่, ประโยชน์ในการใช้งาน และวิธกี ารใช้ที่ถูกต้อง การระมัดระวังใน การใช้เคร่ืองมืออย่างปลอดภัยไม่เกิดอันตรายแก่ เครื่องมือ, ยุทโธปกรณ์ หรือ ผู้ใช้ รวมท้ังการเก็บรักษา การ ซ่อมบำรุงให้เครื่องมือมสี ภาพดเี สมอ เกดิ ประโยชน์ และประสทิ ธิภาพในการใช้สูงสดุ 3. การแบ่งประเภทเครื่องมือ เครื่องมือช่างสามารถแบ่งประเภทได้ตามลักษณะการใช้งานได้ 6 ประเภท ดงั นี้ - เครื่องมือประเภทใชต้ ี เช่น ค้อน, เหล็กตอกสกัด, เครื่องกระแทก ฯลฯ - เครื่องมอื ประเภทใช้จบั เช่น ปากกาจับของ, คีม, กุญแจชนดิ ต่าง ๆ และไขควง - เคร่ืองมอื ประเภทใช้ตดั เช่น มดี , เล่อื ย, เหล็กสกดั , กรรไกร, ตะไบ, หนิ ลบั เครือ่ งมอื - เครือ่ งมอื ประเภทใช้เจาะ เช่น ดอกสว่านชนิดตา่ ง ๆ - เครือ่ งมือประเภทใชว้ ดั เช่น กุญแจวัดแรงบดิ , ไมบ้ รรทัด, ฟลิ เลอร์เกจ, เครอื่ งวัดมมุ สอบลอ้ , เคร่อื งวัดความสกึ ของดอกยาง, เครอ่ื งวดั ไฟฟ้า ฯลฯ - เครอ่ื งมอื ประเภทอน่ื ๆ เช่น เครื่องมอื พเิ ศษ 3.1 เครอื่ งมือประเภทใช้ตี 3.1.1 ค้อน (HAMMERS) 3.1.1.1 การแบง่ ประเภทของคอ้ น แบ่งตามชนดิ , ขนาด และนำ้ หนกั 1) ชนิดแข็ง เช่น ค้อนท้ายตุ้ม, ค้อนท้ายแหลม, ค้อนตอกตะปู, ค้อน ชา่ งเหลก็ , คอ้ นชา่ งเช่อื ม เปน็ ตน้ 2) ชนิดอ่อน เช่น ค้อนทองเหลือง, ค้อนทองแดง, ค้อนตะกั่ว, ค้อน พลาสติก และคอ้ นไม้เปน็ ตน้ 3.1.1.2 การตรวจสภาพ ก่อนใชง้ านควรตรวจสภาพดคู วามสกปรกเปรอะเปอ้ื นไข ข้น หรือนำ้ มัน ความหลวมคลอนของด้ามค้อน รอยแตก รอยร้าวของดา้ มคอ้ น และตัวคอ้ น 3.1.1.3 การใช้ จับค้อนให้ถูกต้อง โดยจับที่บริเวณใกล้ปลายสุดของด้ามค้อน ซึ่ง ด้ามค้อนบริเวณน้ีจะทำให้เป็นรูปร่างเหมาะสมสำหรับการจับยึดโดยไม่ล่ืนหลุดจากมือในขณะใช้งาน นอกจากน้ีการจับค้อนท่ีถูกตอ้ งยังสามารถควบคุมค้อน และเกิดความหนักหน่วงในการตมี ากท่ีสุด โดยออกแรง น้อยท่ีสุด เล็ง และตีค้อนให้ตรงศูนย์กลางของจุดท่ีต้องการตีให้เต็มหน้าค้อน เพื่อป้องกันไม่ให้ค้อนแฉลบออก จากช้ินงาน 3.1.1.4 การดูแลรกั ษา

ห น้ า | 8 1) ตรวจรอยแตกร้าวท่ีด้ามค้อน และให้เปล่ียนด้ามค้อนท่ีแตกร้าว ตรวจ ความหลวมคลอนของหวั ค้อน เปลีย่ นหรอื ตอกอดั ล่มิ หัวค้อนให้แนน่ ถ้าแกไ้ ขไม่ไดใ้ ห้เปลยี่ นดา้ มค้อนใหม่ 2) ใช้น้ำมันลินสีด ชะโลมบางด้ามค้อนเป็นครั้งคราว เพื่อป้องกันไม่ให้ด้าม ค้อนท่ที ำดว้ ยไม้แห้งจนแตกร้าว และบิดตัว 3) เปล่ียนคอ้ นใหม่ ถ้าหวั ค้อนสึกหรอมาก แตก หรอื ปิน่ 4) ใช้น้ำมันหล่อล่ืนชะโลมบาง ส่วนท่ีเป็นโลหะของค้อน เมื่อจะต้องเก็บ รักษาไว้เป็นเวลานาน 5) เช็ดไขข้นหรือน้ำมันออกจากหัวค้อนยางให้สะอาด เพ่ือไม่ให้ยาง เสอ่ื มสภาพ 3.2 เครอ่ื งมือประเภทใชจ้ ับ 3.2.1 ไขควง (SCREW DRIVERS) 3.2.1.1 การแบง่ ประเภทไขควง 1) ไขควงแบบธรรมดาปากแบน 2) ไขควงปากจบี มปี ลายเปน็ จีบ 4 จีบ หรือไขควงฟิลลปิ 3) ไขควงปลายงอ (OFF SET SCREW DRIVERS) มีท้ังปากแบน และปาก จีบ 4) ไขควงแบบพิเศษ เช่น ไขควงแบบมีจำปายึดหัวหมุดเกลียวที่จะขัน หรอื ไขควงแบบใช้ตอกขันเข้า หรอื คลายออก 3.2.1.2 การตรวจสภาพ กอ่ นใชไ้ ขควงควรตรวจว่า 1) ไม่เป็นสนมิ , สกปรก, เปอ้ื นไขขน้ หรือนำ้ มัน 2) แต่งปลายไวอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 3) ดา้ มไขควงไมช่ ำรดุ แตกร้าวเน่ืองจากใชค้ ้อนตอก หรอื กา้ น ไขควงคดงอ เพราะการใชไ้ ขควงงดั แงะ 3.2.1.3 การใช้ 1) ใช้แรงบิดจากมือเท่านั้น (ยกเวน้ ไขควงงานหนักซ่งึ ตัวกา้ น ไขควงทำไว้เป็นเหลี่ยมสำหรับใช้กญุ แจจับเพ่อื ใหไ้ ดแ้ รงบิดเพ่ิมขึน้ ) 2) จบั ไขควงให้ดา้ มตงั้ ฉากกบั ช่องบากทหี่ ัวหมุดเกลยี ว เพอื่ ปอ้ งกันไมใ่ ห้หัวหมุดเกลียวปิ่น หรอื ปลายไขควงชำรุด 3) ไขควงนั้น มีวัตถุประสงค์เพ่ือใช้ขัน หรือคลายควงเกลียวอย่างเดียว เท่านน้ั อยา่ นำไปใช้สำหรับงัดแงะ หรือตดั ส่ิงของแทนสกัด หรือสว่ิ 3.2.1.4 การดแู ลรักษา 1) ชำระล้างด้วยน้ำมันทำความสะอาดเป็นครั้งคราว เช็ดแห้ง และชะโลม บางดว้ ยน้ำมนั ตรงสว่ นทีเ่ ป็นโลหะกอ่ นเกบ็ 2) ถ้าจำเป็นต้องตกแต่งปลายไขควง ควรกระทำให้เสร็จเรียบร้อยก่อนเข้า หบี เครอื่ งมือ ถา้ ตกแตง่ แกไ้ ขไม่ไดใ้ ห้เปล่ยี นอนั ใหม่ทดแทน 3.2.2 คมี (PLIERS) 3.2.2.1 การแบ่งประเภท คีมแบ่งประเภทตามลักษณะการสร้างใช้งาน เช่นใช้ สำหรับจบั ยึดอย่างเดยี ว หรือ สรา้ งให้ใช้ได้ทั้งจากจบั ยึด และการตดั ดว้ ย 3.2.2.2 การใช้

ห น้ า | 9 1) เลือกชนิด และขนาดของคมี ให้เหมาะกับชนิด และลกั ษณะของงานทจ่ี ะ ทำ 2) หลีกเล่ียงการใช้คีมกบั ของแข็ง ๆ เพราะจะทำให้ฟนั จบั ทื่อ หรือเยนิ ทำ ใหค้ ณุ สมบตั ิ และประสทิ ธิภาพในการจบั เสือ่ มลง 3) อย่าใช้คีมจับหัวแป้นเกลียว และสลักหัวเกลียวเพื่อขันแน่น หรือคลาย ออก 3.2.2.3 การดแู ลรกั ษา 1) ชำระล้างดว้ ยน้ำมนั ทำความสะอาดเป็นคร้งั คราว เพอ่ื ล้าง ส่ิงสกปรก หรือไขข้นออก 2) ทำความสะอาดบรเิ วณฟนั ปากคมี ดว้ ยแปรง เพอื่ ใหฟ้ ันจับได้แนน่ 3) หยดน้ำมนั หล่อลน่ื เลก็ น้อยที่สลักจดุ หมุนของปากคมี เพอื่ ใหข้ ยบั หมนุ ตัวไดค้ ลอ่ ง และสกึ หรอน้อยลง ให้ชะโลมบางดว้ ยน้ำหล่อลนื่ เพ่ือป้องกนั สนมิ เมือ่ ไม่ใช้งาน 3.2.3 กุญแจ (WRENCHES) 3.2.3.1 การแบ่งประเภท กญุ แจแบ่งตามลักษณะการสรา้ งไดด้ ังนี้ 1) กุญแจกระบอก (SOCKET WRENCHES) มีลักษณะรปู ทรงกระบอก - ด้านในกระบอกตัดร่องบากไว้เป็นอันดับเต็มรูปวงกลม กุญแจกระบอกมี หลายชนิด คือ 4, 6, 8 และ 12 เหล่ียม เรียกตามจำนวนร่องบากท่ตี ัดไว้ กุญแจกระบอก 12 เหลีย่ ม เป็นทรี่ ้จู ัก และแพรห่ ลายมาก แต่ในคณุ สมบัตใิ นการจบั ยึดจะไมม่ ัน่ คงเทา่ กญุ แจกระบอก 6 เหล่ยี ม - ตวั กระบอกทำด้วยโลหะผสมเหลก็ กลา้ เหนยี ว และแข็งแรงมาก - กญุ แจกระบอกมหี ลายขนาด และมชี อ่ งรบั ดา้ มกุญแจเป็นรู สี่เหลี่ยมท่ที า้ ยกระบอก (ขนาดรสู ี่เหลี่ยมมีขนาดตัง้ แต่ 1/4 - 1 นว้ิ ) - กุญแจกระบอกท่ีมีอยู่ในหีบเครื่องมือช่างท่ัวไป จะใช้คลายหรือขันแป้น เกลียว และสลกั เกลยี ว 4 หรือ 6 เหลีย่ มไดท้ ัง้ หมด - การขันแน่น หรือการคลายแปน้ เกลียว ถ้าทำได้ให้ใช้กุญแจกระบอกเสมอ เพราะแข็งแรง และมีกำลังขัน-คลายเกลยี วได้มาก 2) ด้ามกุญแจ (HANDLES) ด้ามกุญแจกระบอกมีหลายแบบ ตาม ลกั ษณะการใชง้ านดงั นี้ - ด้ามกุญแจกระบอกชนิดขัน-คลายได้ 2 ทาง (กรอกแกรก) ใชส้ ำหรับหมุน กุญแจกระบอกในบรเิ วณทแี่ คบไดโ้ ดยไมต่ ้องยกกุญแจกระบอกออกจากแปน้ เกลียว หรือสลกั เกลียว - ด้ามกุญแจกระบอกชนิดหัวต่อพับได้ ยาวประมาณ 18 น้ิว เม่ือใช้เป็นมุม ตง้ั ฉากกบั กญุ แจกระบอก จะออกแรงขันหรือคลายไดม้ าก - ด้ามกุญแจกระบอกแบบสว่าน ใช้สำหรับขัน-คลายเกลียวท่ีหลวมตัวอยู่ เขา้ หรอื ออกไดร้ วดเร็วข้ึน - ด้ามกุญแจกระบอกชนิดหัวต่อเลื่อนได้ (ด้ามตัว T) ช่วยให้ออกแรงขันได้ มากขนึ้ ในพ้ืนที่คบั แคบ - ข้อตอ่ ออ่ นกุญแจกระบอก ใชช้ ว่ ยใหส้ ามารถใชด้ า้ มกุญแจขนั -คลายแป้น เกลยี ว หรือสลักเกลยี วเป็นมมุ ต่าง ๆ ได้ 3) กุญแจแหวน (BOX WRENCHES)

ห น้ า | 10 - ใช้ขัน-คลายในพ้ืนที่แคบ ๆ สลักเกลียวหรือแป้นเกลียวอยู่ในท่ีจำกัด และ มีพนื้ ทีห่ มนุ กญุ แจได้เปน็ วงแคบ - ด้านในวงแหวนตัดเป็นบากชนิด 6 เหลี่ยม และ 12 เหลี่ยม ด้ามกุญแจ ยาวทำใหส้ ามารถออกแรงขัน- คลายไดม้ าก - ตัววงแหวนทำเปน็ มุม 15 องศากับด้ามกญุ แจ และทำไวเ้ ปน็ มุมกลบั กันใน แต่ละด้าน จึงทำให้สามารถถอดแป้นเกลียว และสลักเกลียวได้ แม้ในพื้นที่ในการหมุนจะจำกัด และสามารถ สอดเขา้ ถงึ ในทแี่ คบ ๆ ไดด้ ี - กุญแจแหวนมีประโยชน์เช่นเดียวกับกุญแจกระบอก ขนาดปากกุญแจทำ ไว้เป็นขนาดที่ถูกต้องสำหรับใช้งานเฉพาะ เม่ือสวมลงเต็มหัวแป้นเกลียว หรือสลักเกลียวจะไม่พลัดหลุดออก จากงาน 4) กญุ แจปากตาย (OPEN-END WRENCHES) - เป็นกญุ แจท่ีปรบั ขนาดไม่ได้ มปี ลายเปดิ ปาก มขี นาดตายตัว - โดยเฉลี่ยแล้วในหีบเคร่ืองมือจะมีกุญแจปากตาย 10 ตัว มีขนาดแตกต่าง กัน ตั้งแต่ 5/16 น้ิว ถงึ 1 นิ้ว (ปากของกุญแจจะใหญ่กว่าขนาดที่ประทับไว้ท่ีตวั กุญแจประมาณ 15/1,000 นิ้ว เพือ่ ใหส้ ามารถสวม หรอื ถอดกุญแจออกจากหวั แป้นเกลยี ว หรือหวั สลกั เกลียวไดง้ ่าย 5) กญุ แจเลื่อน (ADJUSTABLE-END WRENCHES) - เป็นกุญแจท่ีมีปลายเปิดปากราบเรียบไม่มีฟัน และสามารถปรับขนาดของ ปากกุญแจได้ - เมื่อใช้กุญแจเล่ือนให้สวมปากกุญแจเข้ากับหัวแป้นเกลียว โดยให้แรงดึง อย่ทู างด้านปากกญุ แจอันอย่กู บั ท่เี สมอ - เม่ือสวมปากกุญแจเข้ากับหัวแป้นเกลียวแล้ว ให้หมุนควงปรับจนตึง เพอ่ื ใหป้ ากกญุ แจเล่อื นจับหัวแปน้ เกลียวกระชบั 6) กญุ แจจับของกลม (PIPE WRENCHES) - ใชก้ บั วตั ถทุ ่มี ที รงกลมเท่านน้ั ปากมีฟนั สามารถปรับขนาดของกุญแจได้ - ฟนั ของปากกญุ แจจะปรากฏเป็นรอยอยู่บนสง่ิ ของท่ีใชก้ ุญแจจับเสมอ พงึ หลกี เล่ยี งอยา่ ใช้กุญแจจับของกลมจบั วัตถุสงิ่ ของทช่ี ำรดุ ไดง้ า่ ย - ลักษณะการใชจ้ บั ช้ินงาน ใหห้ ลกั การเชน่ เดียวกบั กญุ แจเล่อื น - กญุ แจจับของกลมจะมีแรงยดึ จับไดด้ ที ่ีสุดเม่อื ชนิ้ งานอยู่ตรง กึ่งกลางของปากกุญแจ 7) กุ ญ แ จ ห ก เห ล่ี ย ม (HEX KEY WRENCHES OR ALLEN KEY WRENCHES) - ตัวกุญแจเป็นหกเหล่ียมด้านเท่า งอเป็นรูปตัว L ด้านที่ใช้ขัน-คลายให้ใช้ ปลายอนั ส้นั - ตัวกุญแจมขี นาดต่าง ๆ กนั โดยมีตวั เลขบอกขนาดประทับไว้ทตี่ วั กญุ แจ - ต้องใช้กุญแจหกเหลี่ยมให้ถูกต้องตามขนาดของรูกระบอกของหัวสลัก เกลยี ว มิฉะนัน้ รกู ระบอกจะชำรดุ เสียหาย 3.2.3.2 หลักการใชก้ ญุ แจ 1) อย่าเพ่ิมแรงในการขันหรือคลายกุญแจชนิดใด ๆ โดยวิธีใช้ค้อนตีท่ีด้าม กุญแจ หรือสวมท่อเหล็กเสริมเข้ากับด้ามกุญแจ กุญแจสร้างข้ึนให้มีขนาดเหมาะสมกับแรงหมุนด้วยมือท่ีด้าม ของตัวกุญแจเทา่ น้ัน

ห น้ า | 11 2) เลือกใชก้ ุญแจท่ีมีขนาดถูกต้องกับชิ้นงานทุกคร้ัง อย่าใช้กุญแจปากปรับ ได้ เมื่อสามารถใชก้ ุญแจกระบอกทำงานนัน้ ได้ 3) สวมกุญแจให้จับชิ้นงานได้เต็มหน้าทางแบน และกระชับแน่นกับหัว ของแป้นเกลียว หรือสลักเกลียว หัวสลักเกลียวอาจบิ่น, ปากกุญแจอาจชำรุด, กุญแจกระบอก หรือกุญแจ แหวนอาจแตกรา้ วได้ ถ้าสวมกญุ แจเข้าที่ไม่สนทิ 4) เมื่อใชก้ ญุ แจปากปรับได้ ให้สวมกุญแจลงบนหัวแป้นเกลียว และขันควง เกลียวปรับปากกุญแจให้กระชับแน่นกับหัวแป้นเกลียว โดยให้ด้านออกแรงดึงอยู่ทางปากกุญแจอันอยู่กับท่ี เสมอ 5) ใหเ้ ลอื กใชก้ ุญแจกระบอก หรือกญุ แจแหวนกอ่ นเสมอ ถ้าใช้ไมไ่ ดจ้ งึ คอ่ ย ใช้กญุ แจปากตายในอนั ดบั ต่อไป ถ้าใช้กุญแจปากตายไมไ่ ดจ้ ึงคอ่ ยใชก้ ญุ แจปากปรับได้ 6) การออกแรงต่อด้ามกุญแจ ให้ใช้แรงดึงเข้าหาตัว อย่าใช้แรงดัน ออก จากตวั เพ่อื ลดอันตรายของข้อน้ิวมอื ซ่ึงอาจแตก หรือถลอกในกรณีท่กี ญุ แจหลุดจากช้ินงาน หรอื เมอื่ แปน้ เกลียว คลายตวั ออกอย่างกะทนั หนั 3.2.3.3 การดูแลรักษาเคร่อื งมือหลังการใชง้ าน 1) รักษากุญแจให้สะอาด เช็ดด้วยน้ำมันทำความสะอาด เม่ือเปรอะเป้ือน ไขข้นหรอื น้ำมัน 2) ตรวจความเสียหาย และซ่อมแกถ้ ้าสามารถทำได้ ถา้ ซ่อมไม่ได้ให้เปลี่ยน ใหม่ 3) ก่อนนำเข้าเก็บในหีบเครื่องมือ ควรชโลมบางด้วยน้ำมันเสียก่อน ถ้า กุญแจเปียกนำ้ ตอ้ งเชด็ ใหแ้ ห้งและชโลมน้ำมนั ทกุ ครง้ั 4) กุญแจปากปรับได้หรือกุญแจเลื่อน ต้องตรวจว่าปากกุญแจสามารถขัน ปรับไดแ้ นน่ และตวั ปรับควรสะอาด ไมฝ่ ดื หรือขัดตัว 3.2.4 ปากกา (BENCH VISE) เป็นเครื่องมือสำหรบั จับยดึ ส่ิงของไวใ้ หม้ ่ันคง 3.2.4.1 การใช้ เพื่อป้องกันไม่ให้ผิวของช้ินงานเป็นรอยเสียหาย ให้สวมครอบ ปากกาเสียก่อน ตัวครอบปากกาอาจทำด้วยทองแดง หรือโลหะเน้ือออ่ นชนิดอืน่ ก็ได้ ถ้าไม่มีครอบปากกาให้ใช้ เศษไม้หรือโลหะอ่อนกว่าชิ้นงานสอดค่ันระหว่างปากกากับช้ินงาน การใช้เหล็กสกัดหรือตะไบกับชิ้นงานที่ใช้ ปากกาจับยึดอยู่นั้น จะตอ้ งตอกสกดั หรือเขน็ ตะไบเข้าหาตัวปากกาเสมอโดยให้แรงท่ีใช้ในการทำงานเปน็ แรงท่ี ผลักหรือดันออกไปจากตัวของท่าน 3.2.4.2 การดูแลรักษา ต้องรักษาปลายปากกาให้สะอาดไม่มีน้ำมันหรือไขข้นทำ ความสะอาด กำจดั ผงตะไบ, เศษโลหะ หรือส่งิ สกปรกต่าง ๆ ซึ่งติดอยู่บนเกลียวตวั หนอนให้หมด แล้วทานำ้ มัน ชโลมบาง 3.3 เคร่ืองมือประเภทใช้ตดั 3.3.1 เหล็กสกดั (CHISELS) 3.3.1.1 การแบ่งประเภท เหล็กสกัดแบ่งประเภทตามลักษณะการสร้าง และการ ใชง้ านดงั น้ี 1) สกัดปลายกว้าง และปลายแบน ใช้ตดั หมดุ ยำ้ ตัด หรือถากโลหะ 2) สกัดปลายแคบ มีความกว้างของปลายน้อย ใช้ตัดช่องกุญแจ ทำร่อง ตัดมมุ สี่เหลย่ี ม 3) สกัดปลายกลม ใช้ตดั ทำร่องครงึ่ วงกลม และถากมุมดา้ นใน

ห น้ า | 12 4) สกัดปลายข้าวหลามตัด มีปลายสกัดตัดเฉือนไว้เป็นรูปส่ีเหล่ียมข้าว หลามตดั ใช้ตดั รอ่ งรปู ตัว V และมมุ สเ่ี หลยี่ ม 3.3.1.2 การตรวจสภาพ ก่อนใชง้ านควรตรวจสภาพความเรยี บรอ้ ยดังน้ี 1) สกัดสกปรก เปรอะเป้อื นน้ำมนั และเป็นสนมิ หรือไม่ 2) การลับปลายสกัดซ่ึงท่ือ หรือชำรุดด้วยหินเจียระไน ให้รักษารูปมุม ของของปลายที่ใชต้ ัดไว้ตามรูปเดิม อย่าให้ส่วนปลายซ่ึงเป็นเหล็กชบุ แข็งเกิดความร้อนสูง โดยทำให้เยน็ ลงด้วย การจมุ่ นำ้ เปน็ คร้งั คราว ขอบปลายสกัดควรจะโค้งเลก็ นอ้ ย ตอนกลางของสกัดสูงกว่าตรงริมทง้ั สอง 3) แตง่ หวั สกดั ทบ่ี านเป็นรูปดอกเหด็ ให้เขา้ รปู เดิมด้วยหนิ เจียระไน 3.3.1.3 การใช้ 1) การตอกเหล็กสกัด ให้ใช้ค้อนที่มีน้ำหนักเหมาะสมกับขนาดของเหล็ก สกัด (เหลก็ สกัดตวั ใหญต่ อ้ งใช้คอ้ นท่มี ขี นาดใหญข่ น้ึ ) 2) จบั เหลก็ สกัดใหเ้ ปน็ มุมท่ีเหมาะสม และสมั พนั ธก์ ับความลกึ ในการตดั 3) จับเหล็กสกัดโดยใช้นิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี้ และไม่จับจนแน่นตามองท่ี ปลายสกัด 4) ต้องสวมแว่นตาป้องกันสะเก็ด เพ่ือป้องกันดวงตาเมื่อใช้เหล็กสกัดทุก ครั้ง 3.3.1.4 การดแู ลรักษาหลังการใชง้ าน 1) เช็ดให้แห้งและสะอาด ถ้าสกปรกให้ล้างให้สะอาดด้วยน้ำมันทำความ สะอาด 2) ในบรเิ วณทอ้ งถ่ินทีม่ ีความช้ืนสูง ให้ชโลมเหลก็ สกดั ดว้ ยนำ้ มนั บาง ๆ เพ่อื กันสนมิ 3) ตบแต่งปลายสกัดท่ีทู่, เยิน, บิ่น และหัวสกัดที่บานเป็นรูปดอกเห็ดให้ เรยี บร้อยพรอ้ มทีจ่ ะใชง้ านต่อไป สวมครอบป้องกันคมสกดั กอ่ นนำเขา้ เก็บในหบี เครอ่ื งมอื 3.3.2 ตะไบ (FILES) 3.3.2.1 การแบง่ ประเภท ตะไบแบง่ ประเภทตามลักษณะของฟนั หรือแบ่ง ตามลกั ษณะการสร้างเป็น ตะไบแบน, ตะไบคร่งึ วงกลม, ตะไบหางหนู และตะไบสามเหลย่ี ม เปน็ ต้น 1) ตะไบฟันทางเดยี ว 2) ตะไบฟันไขว้ 3) ฟันของตะไบ แบ่งชั้นตามความหยาบ และความละเอียด เช่น หยาบ มาก, หยาบปานกลาง, ละเอียด และละเอยี ดมาก 4) ขนาดของตะไบแต่ละชนิดแตกต่างด้วยความยาวต้ังแต่ 3 - 18 น้ิว (ความยาวของตะไบกำหนดจากปลายหน้าถึงทา้ ยตะไบ) 3.3.2.2 การใช้ 1) จับชน้ิ งานทตี่ อ้ งการตะไบให้ม่ันคง หรอื ยึดดว้ ยปากกา 2) การตะไบโลหะท่ีแข็งมากให้ออกแรงดัน หรือเข็นตะไบไปทางด้านหน้า เท่านั้น (ฟันตะไบมีคมสำหรับใช้ตัดทางเดียวเท่านั้น) การออกแรงกดในขณะเข็นตะไบย้อนกลับจะทำให้ตะไบ ยกตวั ข้ึน เนือ่ งจากฟนั ตะไบครูดกลับ ซง่ึ ทำใหต้ ะไบท่อื เร็วกว่าปกติ 3) เมื่อตะไบโลหะอ่อน การออกแรงกดขณะดึงตะไบกลับ จะช่วยให้ผง ตะไบหลดุ ออกจากฟันตะไบ เรยี กวา่ การคายผงตะไบ

ห น้ า | 13 3.3.2.3 การตะไบด้วยวิธลี ากตะไบกลับ ใชส้ ำหรับการเกลาผิวโลหะใหร้ าบเรียบ เปน็ พิเศษ 1) ใช้มือท้ังสองข้างจับตะไบ ให้ต้ังฉากกับทิศทางการเข็นตะไบ โดย พยายามจับใหม้ อื ท้ังสองขา้ งอยู่ชิดกนั เพอ่ื ป้องกนั ไม่ให้ตะไบโกง่ หรือหัก 2) ไม่ควรออกแรงกดตะไบมากเกินไป และแรงกดตะไบจะต้องเท่ากันทั้ง การเขน็ ไปขา้ งหนา้ และดึงกลบั มาข้างหลงั ความเรว็ ในการเข็นตะไบไม่ใช้สิ่งสำคัญ และจำเปน็ ในการตะไบ 3) เมอ่ื ต้องใหผ้ วิ โลหะเรียบเปน็ พิเศษ ให้ใชผ้ ้าทรายละเอยี ดพนั รอบตะไบ 3.3.2.4 การดูแลรกั ษา 1) ตะไบใหม่เอ่ียมควรเริ่มใช้งานคร้ังแรกโดยตะไบโลหะอ่อน เช่น ทองเหลือง, บรอนซ์ หรือเหล็กออ่ นเสยี ก่อน 2) อยา่ ใช้ตะไบใหมใ่ นการตดั ครีบ หรือรอยขรขุ ระของเหลก็ หลอ่ 3) อยา่ ใช้ตะไบใหมก่ ับสนั โลหะทเี่ ปน็ แผน่ บาง จะทำคมตะไบท่ือ 4) หลังจากการใช้งานตะไบใหมจ่ ะมผี งโลหะหรือขตี้ ะไบอุดอย่เู ต็ม 5) การใช้ตะไบท่ีมีผงโลหะอุดอยู่เต็ม จะทำให้ผิวของชิ้นงานเป็นรอยครูด ไม่สม่ำเสมอกัน 6) วธิ ีเดียวท่ีจะป้องกันมิให้ผิวของช้ินงานเป็นครูด คือ ใชช้ อล์กถูฟันตะไบ เสียกอ่ นใชง้ าน 7) วิธีท่ีดีท่ีสุดสำหรับการทำความสะอาดตะไบ คือ การใช้แปรงลวด และ การลวดปลายแบนแคะออก 8) ก่อนเก็บตะไบเข้าหีบเครื่องมือ ให้ใช้กระดาษหรือผ้าพันตะไบเป็นการ ป้องกนั มใิ หต้ ะไบเสยี ดสกี บั เครื่องมืออนื่ ๆ ในหบี และควรเกบ็ ตะไบแยกตา่ งหากจากเครอ่ื งมืออ่ืน ๆ 9) อย่าใชต้ ะไบเพอื่ ทำงานอนื่ นอกจากการตะไบโลหะ 10) อย่าใช้ตะไบเคาะกับปากกา หรือวัตถุอ่ืนๆ เพื่อให้ผงตะไบหลุดออก เพราะจะทำให้ตะไบหัก เน่ืองจากตะไบทำจากโลหะที่แข็งมากและเปราะ จึงหักได้ง่าย ๆ ให้ทำความสะอาด ด้วยแปรงลวด หรอื ใชล้ วดแคะเทา่ นน้ั 11) อย่าใช้น้ำมันชโลมตะไบ เพราะน้ำมันที่ชโลมไว้จะเป็นตัวยึดสิ่งสกปรก และผงตะไบให้ตดิ แน่นอยใู่ นฟันตะไบมากขนึ้ 12) รักษาตะไบให้แห้งและสะอาดอยู่เสมอ เก็บตะไบให้พ้นจากความช้ืน และนำ้ ควรกระดาษพนั ตะไบเพื่อปอ้ งกันไมใ่ ห้หนา้ ตะไบสมั ผัสกันในทเ่ี ก็บ 3.3.3 เลอื่ ย (SAWS) 3.3.3.1 การแบ่งประเภท เล่ือยสามารถสามารถแบ่งออกได้เป็น เล่ือยตัดไม้ และ เลอ่ื ยตดั โลหะ 1) เลอื่ ยตดั ไม้ (HAND SAW) เปน็ เล่อื ยสำหรับงานชา่ งไม้ ใชต้ ัดไม้ 2) เลือ่ ยเหลก็ (HACK SAW) เปน็ เล่อื ยสำหรับงานช่างเหลก็ ใชต้ ัดโลหะ 3.3.3.2 การตรวจสภาพก่อนใชง้ าน 1) ฟันเลอ่ื ยต้องมีสภาพดี ฟันคม และไม่บ่ิน หรือหัก 2) ดา้ มเลอื่ ยไม่แตกรา้ ว และยดึ แน่นม่ันคง 3) ใบเลื่อย (สำหรับเล่ือยตัดเหล็ก) จะต้องยึดเข้ากับโครงเลื่อยโดยให้ฟัน เล่อื ยหันไปข้างหน้า และขันควงยึดใบเล่อื ยให้ตงึ

ห น้ า | 14 4) ใบเลื่อยที่หมดความคมแล้ว ไม่ควรนำมาใช้ เพราะจะทำให้งานล่าช้า และเปลอื งแรงงานมากกวา่ ปกติ 3.3.3.3 การใช้ 1) ฟันเล่ือยทำไว้สำหรับตัดได้ทางเดียวเท่าน้ันคือ เมื่อดันโครงเลื่อยไป ขา้ งหนา้ 2) ในจังหวะท่ีดึงกลับควรยกใบเลื่อยข้ึนเล็กน้อย พอพ้นจากผิววัตถุที่กำลัง เลอ่ื ยอยู่ อยา่ ออกแรงกดในขณะชกั เล่ือยกลับ 3) ขณะเลื่อยต้องรักษาใบเลื่อยให้ตรง อย่าให้ใบเล่ือยบิดตวั เพราะจะทำให้ ใบเล่ือยหัก ออกแรงกดเลื่อยให้สม่ำเสมอกันตลอดช่วง และไม่ต้องใช้แรงกดมากนัก จังหวะในการชักเลื่อยไม่ เกิน 40 - 50 คร้งั ตอ่ นาที 4) จับยึดวัตถุที่ต้องการตัดให้ม่ันคง อย่าให้ขยับตัวหรือบิดไปมา จะทำให้ใบ เลื่อยหัก 5) เพ่ือให้การเล่ือยเท่ียงตรง ควรใช้ตะไบบากตรงตำแหน่งที่ต้องการเลื่อย เสยี กอ่ น ใชค้ วามระมัดระวังให้มากเมอ่ื ชิ้นงานใกลจ้ ะขาด และออกแรงกดเลือ่ ยแต่นอ้ ย 3.3.3.4 การดูแลรกั ษา 1) เก็บรักษาใบเลื่อยไว้ในที่แห้ง และใช้น้ำมันชะโลมบางใบเลื่อยไว้เพื่อ ป้องกันสนิม 2) อยา่ ใช้เล่ือยไมต้ ดั ผา่ นตะปู หรือเศษโลหะท่ียังคาอยใู่ นไม้ 3) อย่าใช้ส่ิงของท่ีมีน้ำหนักมากกว่าวางทับเลื่อย จะทำให้เลื่อยคดได้ ในขณะหยุดพกั ให้วางเลอ่ื ยแบนราบกบั พนื้ ได้ หรือวางไว้ในจุดทจี่ ะไม่ทำฟนั เลื่อยชำรุดเสยี หาย 4) อย่าออกแรงกดดัน เม่ือใบเลื่อยติดเพราะถูกหนีบ ให้ใช้ล่ิมตอกแยกรอย ตัดใหถ้ า่ งออก 5) ดา้ มเลอ่ื ยทีช่ ำรุด, แตก, ร้าว หรอื หัก ตอ้ งเปลย่ี นใหมท่ นั ที 6) หม่นั ลบั ใบเลื่อยใหค้ มดว้ ยการถูตะไบเป็นครั้งคราว 7) คลายเกลียวยึดใบเล่อื ยเหล็กให้หย่อนเสมอเม่อื ไม่ได้ใช้งาน 8) ระวงั อยา่ ให้ฟนั เลื่อยสัมผสั หรือกระแทกกับโลหะอนื่ ๆ เพราะจะทำใหฟ้ นั เลอ่ื ยชำรุด

ห น้ า | 15 แผนกวิชายานยนต์ กองการศึกษา โรงเรยี นทหารม้า ศนู ยก์ ารทหารมา้ ค่ายอดิศร สระบรุ ี ---------- เอกสารเพม่ิ เตมิ หลักการของยานยนต์เบือ้ งตน้ และองคป์ ระกอบ 1. กลา่ วนำ วิชาหลักการยานยนต์ล้อและยานยนต์สายพาน และองค์ประกอบมีความจำเป็นอย่างยิ่งวิชาหนึ่งที่ จะต้องศึกษาไว้เป็นหลักพ้ืนฐานให้เข้าใจถึงองค์ประกอบที่สำคัญ ตำแหน่งการติดตั้ง หน้าท่ี และการทำงาน ขององค์ประกอบน้ัน ๆ เป็นอย่างดี เพราะจะต้องนำเอาความรเู้ บือ้ งต้นนี้ไปประกอบกับวิชาการปรนนิบัติบำรุง ยุทโธปกรณ์ ในระดับผูใ้ ช้ยานยนตใ์ นโอกาสตอ่ ไป 2. กล่าวทัว่ ไป การศึกษาวิชานเี้ ราจะศึกษาในขอบเขตของหลักสตู รนักเรียนนายสิบเท่าน้นั เพราะเมอ่ื จบการศึกษา แลว้ จะตอ้ งบรรจเุ ปน็ พลขบั เป็นส่วนมาก ในระดับพลขบั หรือผู้ใชย้ ุทโธปกรณจ์ ำเปน็ จะตอ้ งมีความ เขา้ ใจยานยนต์ทกุ ชนดิ ทีเ่ รามใี ช้อยู่ ไมว่ า่ จะเป็นยานยนตป์ ระเภทลอ้ หรือยานยนตป์ ระเภทสายพานก็ตาม ในปัจจุบันยานยนต์ได้มีการพัฒนาไปมาก และเราจะต้องติดตามศึกษาค้นคว้าเท่าท่ีเราสามารถกระทำได้ เพ่ือ จะได้เป็นบุคคลทมี่ ีประสิทธิภาพของหน่วยและมคี วามกา้ วหน้าในชวี ิตราชการสืบไป 3. อธบิ าย ยานยนตท์ เ่ี รามีใช้อยู่ในเหลา่ ทหารมา้ ปจั จบุ ันนี้ เราสามารถแบ่งออกไดเ้ ปน็ 2 ประเภท คือ ยานยนต์ประเภทล้อ และยานยนต์ประเภทสายพาน ยานยนตแ์ ตล่ ะประเภทมีองค์ประกอบแตกตา่ งกนั ออกไปดังนี้ 3.1 องคป์ ระกอบของยานยนตป์ ระเภทล้อ ประกอบด้วย 3.1.1 โครงรถหรือแคร่รถ ( CHASSIS ) 3.1.2 เครื่องกำเนิดกำลังและเครอื่ งส่งกำลัง (POWER PLANT AND POWERTRAINS) 3.1.3 ตวั ถังรถ ( BODY ) 3.1.4 เคร่ืองพยงุ ตวั รถ ( SUSPENSION SYSTEMS ) 3.1.5 องค์ประกอบอนื่ ๆ ( OTHER COMPONENTS ) 3.2 องค์ประกอบของยานยนต์ประเภทสายพาน ประกอบดว้ ย 3.2.1 ตัวรถ ( HULL ) 3.2.2 เครื่องกำเนิดกำลังและเครอ่ื งสง่ กำลงั ( POWER PLANT AND POWERTRAINS ) 3.2.3 เครือ่ งพยุงตัวรถ ( SUSPENSION SYSTEM ) 3.2.4 องค์ประกอบอืน่ ๆ ( OTHER COMPONENTS ) 3.3 เครื่องยนต์ ( ENGINE ) 3.3.1 คำจำกัดความ “ เคร่ืองยนต์คือเคร่ืองมือกลชนิดหน่ึง ซ่ึงสามารถเปล่ียนกำลังงานความร้อนให้ เปน็ กำลังงานกลได้ ” 3.3.2 เคร่ืองยนต์แบง่ ออกเปน็ 2 ชนิด คือ 3.3.2.1 เครอ่ื งยนตส์ นั ดาปภายใน ( INTERNAL COMBUSTION ENGINE ) 3.3.2.2 เคร่ืองยนตส์ ันดาปภายนอก( EXTERNAL COMBUSTION ENGINE ) เครือ่ งยนต์สนั ดาปภายใน มสี ว่ นสมั พันธ์ ดังนี้คือ

ห น้ า | 16 (1) กำลังงานความร้อนเปลี่ยนเป็นกำลังงานกลได้โดยอาศัยกฎทางวิชาฟิสิกส์ เบื้องต้น คือแก๊สจะขยายตัวเม่ือได้รับความร้อน สำหรับเคร่ืองยนต์นั้นกำลังดันของแก๊สท่ีอยู่ในขอบเขตจำกัด ภายในกระบอกสบู จะดนั ต่อหัวลูกสบู ทำใหล้ กู สบู เคลอื่ นท่ี ทำใหเ้ กดิ เป็นกำลังงานกลข้ึน (2) การเคล่ือนไหวในทางข้ึน-ลง เปลี่ยนเป็นการเคล่ือนไหวในทางหมุน การ เคลื่อนท่ีขึ้น-ลง ของลูกสูบภายในกระบอกสูบ สามารถเปล่ียนให้เป็นการเคลื่อนไหวในทางหมุนได้ โดยการ ออกแบบและการทำงานของเพลาข้อเหว่ียง ซ่ึงไดร้ บั กำลังงานจากลกู สบู ผ่านมาทางกา้ นสบู (3) จังหวะรอบ ( CYCLE ) การทำงานของเคร่ืองยนต์จะต้องครบตามจังหวะที่ กำหนดไว้ เรียกวา่ จังหวะรอบ มอี ยู่ 2 แบบ คือ - เคร่ืองยนต์ 4 จงั หวะรอบ ( 4 STROKE CYCLE ) - เครอื่ งยนต์ 2 จงั หวะรอบ ( 2 STROKE CYCLE ) (3.1)เคร่อื งยนต์ 4 จังหวะรอบ ประกอบดว้ ยการทำงานในจงั หวะตา่ ง ๆ ดงั นี้ (3.1.1) จังหวะดูด ( INTAKE STROKE ) เร่ิมต้นต้ังแต่ลูกสูบอยู่ ศูนย์ตายบน ( TDC ) เล่ือนลงไปยังศูนย์ตายล่าง ( BDC ) ล้ินไอดีเปิด ล้ินไอเสียปิด กล่าวคือเม่ือลูกสูบ เคล่ือนที่จากศูนย์ตายบนลงมายังศูนย์ตายล่าง ทำให้เกิดสุญญากาศข้ึนภายในกระบอกสูบ ส่วนผสมของ อากาศและนำ้ มันเช้อื เพลงิ จะไหลเข้าแทนที่ จนกระทง่ั ลูกสูบเลอื่ นทลี่ งถึงศนู ยต์ ายล่างเป็นการสน้ิ สดุ จังหวะดดู (3.1.2 ) จังหวะอัด ( COMMPRESSION STROKE ) เร่ิมต้นตั้งแต่ ลูกสูบอยู่ศูนย์ตายล่าง ( BDC ) เลื่อนข้ึนไปยังศูนย์ตายบน ( TDC ) ลิ้นไอดี และล้ินไอเสียปิด ทำให้ส่วนผสมท่ี อยู่ในกระบอกสบู ถูกอัดตวั ด้วยลกู สบู เมื่อลูกสูบเกอื บจะถงึ ศนู ยต์ ายบน ส่วนผสมจะถกู จดุ ทำให้เกิดการเผาไหม้ ดว้ ยประกายไฟทีก่ ระโดดขา้ มเข้ียวหวั เทยี น (3.1.3) จังหวะกำลัง ( POWER STROKE ) เม่ือส่วนผสมถูกจุดให้ เกิดการเผาไหม้ แก๊สที่เกิดข้ึนจากความร้อน และขยายตัวในจังหวะนี้ ซ่ึงลิ้นไอดี และล้ินไอเสียยังคงปิดอยู่ การขยายตัวของแกส๊ จะผลักดนั ตอ่ หัวลูกสบู ใหเ้ คล่อื นทจ่ี ากศนู ย์ตายบนไปยงั ศนู ยต์ ายล่าง (3.1.4) จังหวะคาย ( EXHAUST ) จงั หวะนล้ี กู สูบเคลอ่ื นท่ี จากศนู ยต์ ายลา่ งไปยังศูนยต์ ายบน ลิ้นไอดปี ดิ ลนิ้ ไอเสียเปิด เพอื่ ไลไ่ อเสียให้ออกจากกระบอกสูบ เมื่อ ลกู สูบไปถงึ ศูนย์ตายบนจะเป็นการส้ินสดุ จังหวะคาย และจะเร่ิมจังหวะดูดใหม่ จะเห็นได้ว่าลูกสูบเคล่ือนที่ข้ึนลง 4 ครั้ง และทำให้เพลาข้อเหว่ียงหมุน 2 รอบจะได้จังหวะ กำลัง หรือไดก้ ำลงั งานเพยี ง 1 ครั้ง (3.2) เครือ่ งยนต์ 2 จังหวะรอบ เคร่ืองยนต์ 2 จงั หวะ รอบส่วนมาก จะไม่มีล้ิน แต่จะใช้ชายที่ยอดของลูกสูบ ปิด - เปิด ช่องไอดี และช่องไอเสียท่ีเจาะไว้ข้างกระบอกสูบ มีการ ทำงาน 2 จงั หวะ คือ (3.2.1) จังหวะลกู สบู เล่อื นขนึ้ - จงั หวะดูด เมื่อลูกสบู เคลื่อนที่จากศูนย์ตายล่างไปยังศนู ย์ตายบน ชายของลูกสูบจะเปดิ ช่องไอดี เพือ่ ให้สว่ นผสมอากาศน้ำมันเช่ือเพลงิ เข้าไปในหอ้ งขอ้ เหวยี่ ง - จังหวะอัด ในขณะที่ลูกสูบเคล่ือนขึ้นไปยังศูนย์ตายบนก็จะปิด ช่องไอดี และไอเสีย และจะเป็นการเร่ิมจังหวะอดั จนกระท่ังลูกสบู เกือบจะถงึ ศูนย์ตายบนส่วนผสมก็จะถูกจดุ ให้ เกิกการเผาไหม้ (3.2.2) จังหวะลูกสบู เลื่อนลง - จังหวะกำลัง ( ระเบดิ ) เม่ือส่วนผสมถูกจุดให้เกิดการเผาไหม้ แกส๊ ก็จะขยายตัว ผลกั ดันให้ลูกสูบให้เลอ่ื นลงมา จนกระทัง่ ยอดของลูกสบู เล่อื นลงมาปดิ ชอ่ ง ไอเสยี กจ็ ะเปน็ การสน้ิ สดุ จงั หวะกำลัง

ห น้ า | 17 - จังหวะคาย เม่ือชายลูกสูบเปิดช่องไอเสีย ไอเสียก็จะไหลออก และเมื่อลูกสูบเล่ือนลงมาอีก จนกระทั่งเปิดช่องไอดี ไอดีท่ีอยู่ในห้องข้อเหวี่ยง ก็จะไหลเข้าไปในกระบอกสูบ และชว่ ยไล่ไอเสยี ที่อย่ใู นกระบอกสบู ออกไปดว้ ย การทำงานจะซ้ำกันอยู่เช่นน้ีตลอดไป เห็นได้วา่ ลูกสูบเคลื่อนท่ีข้ึนลง 2 คร้ัง เพลาข้อเหวี่ยง หมุนเพียง 1 รอบ ไดจ้ งั หวะกำลัง 1 ครั้ง 4. ระบบต่าง ๆ ของเครอื่ งยนต์ เคร่ืองยนต์จะทำงานได้สมบูรณ์ และมีประสิทธิภาพ จะต้องประกอบด้วยระบบต่าง ๆ ท่ีสำคัญ 5 ระบบ คือ 4.1 ระบบอากาศน้ำมันเชื้อเพลิง (AIR - FUEL SYSTEM) น้ำมันเชื้อเพลิงจะถูกดูดจากถัง โดยป๊ัมผ่าน หม้อกรองน้ำมันเช้ือเพลิงไปยังเครื่องปรุงเชื้อระเบิด ( CARBURETTER ) เพื่อผสมกับอากาศที่กรองแล้ว ใน อตั ราสว่ นท่เี หมาะสม แล้วส่งผา่ นท่อไอดี เขา้ ไปยังกระบอกสูบ สว่ นประกอบในระบบคือ 4.1.1 เคร่ืองปรุงเช้ือระเบิด (CARBURETTER) เป็นตัวทำให้น้ำมันเชื้อเพลิงเป็นฝอยละเอียด ผสมกับ อากาศในเครอ่ื งปรงุ เช้ือระเบดิ เครื่องปรงุ เช้ือระเบิดมี 5 วงจรคอื 4.1.1.1 วงจรลูกลอย ทำหน้าท่ีรักษาระดับน้ำมันเชื้อเพลิงภายในห้องลูกลอยให้มีระดับ ถูกตอ้ งอยูต่ ลอดเวลา เพอื่ ใหเ้ ครื่องยนตท์ ำงานไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 4.1.1.2 วงจรความเร็วต่ำ ทำหน้าท่ีส่งน้ำมันเช้ือเพลิงจากห้องลูกลอยไปผสมกับอากาศ ณ จดุ ซง่ึ อยู่ตำ่ กว่าล้ินเร่ง หรอื ส่งสว่ นผสมอากาศน้ำมนั เชอ้ื เพลงิ ให้แก่เครอ่ื งยนตใ์ นขณะทล่ี ิ้นเรง่ เกอื บจะปดิ 4.1.1.3 วงจรความเร็วสูง ทำหน้าทผี่ สมอากาศนำ้ มันเช้อื เพลงิ และส่งสว่ นผสม ในอตั ราทีส่ ูง กว่าวงจรความเร็วต่ำ วงจรน้ีจะส่งน้ำมันเช้ือเพลิงจากห้องลูกลอย ไปผสมกับอากาศท่ีท่อเวนจูรี่( VENTURI) 4.1.1.4 วงจรปัม๊ เร่ง วงจรนช้ี ่วยส่งนำ้ มนั เชอ้ื เพลงิ สำหรบั การเรง่ เครอื่ งยนตใ์ นทนั ทีทนั ใด 4.1.1.5 วงจรโช๊ค ช่วยเพิ่มปริมาณน้ำมันเชื้อเพลิงให้แก่ส่วนผสมมากขึ้นในขณะเริ่มติด เครื่องยนตใ์ นทีม่ อี ากาศหนาว 4.1.2 หม้อกรองอากาศ ( AIR CLEANER ) เป็นตัวกรองฝุ่นผงต่าง ๆ ของอากาศที่จะผ่านเข้าไปยัง เครื่องปรุงเชื้อระเบดิ มีอยู่ 2 ชนดิ คือ 4.1.2.1 ชนดิ เปยี ก ( WET TYPE ) 4.1.2.2 ชนิดแห้ง ( DRY TYPE ) 4.2 ระบบจดุ ระเบิด ( IGNITION SYSTEM ) การจุดส่วนผสมภายในกระบอกสูบสำหรับเครอื่ งยนต์แก๊สโซ ลีน เป็นการจุดระเบิดด้วยประกายไฟ กระทำโดยการผลิตแรงดันไฟฟ้าจากแรงดันต่ำ ๆ ให้มีแรงดันไฟฟ้าสูง ( 15,000 - 20,000โวลท์ ) ในขดลวดจุดระเบดิ หรือคอยล์ ( COIL ) 4.2.1 ระบบการจุดระเบดิ ดว้ ยแบตเตอร่ี มีองค์ประกอบอยู่ 2 วงจร คือ 4.2.1.1 วงจรขั้นเอก ( PRIMARY ) ประกอบด้วยแบตเตอรี่, เคร่ืองวัดไฟฟ้า , สวิตช์ จุดระเบิด , ขดลวดขัน้ เอกในคอยล์ และชดุ หนา้ ทองขาว 4.2.1.2 วงจรขั้นโท ( SECONDARY ) ประกอบด้วยขดลวดข้ันโทในคอยล์ , จาน จา่ ยไฟ, สายไฟหัวเทียน และหัวเทียน 4.2.2 ระบบการจุดระเบิดด้วยแมกนิโต แบบน้ีคล้ายกับการจุดระเบิดด้วยแบตเตอร่ี แต่ ใช้สนามแม่เหล็กจากแม่เหล็กถาวร ในการเหน่ียวนำกับขดลวด ทำให้เกิดไฟแรงสูงขึ้นในขดลวดน้ันและนำไป ทำการจุดระเบิดต่อไป

ห น้ า | 18 4.2.3 การจุดระเบดิ ด้วยกำลังอัด การจุดระเบดิ แบบนี้ใช้กับเครื่องยนตด์ เี ซล ด้วยผลของการ อัดอากาศ จะทำให้เกิดความร้อนสูงข้ึนในห้องเผาไหม้ประมาณ 1,000 องศาฟาเรนไฮท์ ซ่ึงทำให้เกิดการเผา ไหมข้ ้นึ ได้ จากการฉดี น้ำมนั เช้ือเพลิงให้เปน็ ฝอยเข้าไปยงั หอ้ งเผาไหม้ ข้อสงั เกต อตั ราการอดั ( COMPRESSION RATIO ) คืออตั ราสว่ นระหวา่ งปรมิ าตรทง้ั สิน้ ของกระบอกสบู กับ ปริมาตรชอ่ งว่างของกระบอกสบู หรอื อตั ราการอดั = ปริมาตรทงั้ สิน้ ของกระบอกสบู ปริมาตรชอ่ งว่างของกระบอกสบู การอัดอากาศของลูกสูบภายในกระบอกสูบจะทำให้อุณหภูมิเพ่ิมข้ึน 2 องศาฟาเรนไฮท์ ต่อความดันทุก ๆ 1 ปอนด์ตอ่ ตารางนวิ้ 4.3 ระบบระบายความรอ้ น ( COOLING SYSTEM ) เพื่อให้การทำงานของเครื่องยนต์มีประสิทธิภาพ และรักษาอุณหภูมิของเคร่ืองยนต์ให้มีอุณหภูมิปกติ คือ ไม่เย็น และไม่ร้อนจนเกินไป จนเกิดอนั ตรายต่อเคร่ืองยนตไ์ ด้ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการระบายความร้อน ท่ีมากเกนิ ไปออกจากเครอ่ื งยนต์บา้ ง การระบายความรอ้ นมี 2 แบบ คือ 4.3.1 การระบายความร้อนด้วยของเหลว ( FLUID COOLING ) โดยมากใช้น้ำเป็นตัว ระบายความร้อนโดยให้หมุนเวียนอยู่ในระบบ น้ำจะเป็นตัวนำความร้อนจากกระบอกสูบ ห้องเผาไหม้ ล้ินไอ เสยี และส่วนอน่ื ๆ โดยการขับของปมั๊ ให้ไหลผา่ นลน้ิ ควบคุมอณุ หภูมิ ( THERMOSTAT) ไปยงั รังผ้ึงระบายความร้อน และใช้พัดลมเป่าให้น้ำเย็นลงเสียก่อน ที่จะถูกส่งกลับเข้าไปยังเรือนสูบ และหมุนเวียน อยตู่ ลอดไป 4.3.2 การระบายความร้อนด้วยอากาศ ( AIR COOLING ) เคร่ืองยนต์ท่ีระบายความร้อน ดว้ ยอากาศ จะสร้างเป็นครีบไว้ รอบ ๆ กระบอกสูบ เพื่อให้มีพน้ื ผิวสัมผัสกับอากาศ เพ่ือระบายความร้อนออก ได้มากพอ เป็นเคร่ืองยนต์ท่ีต้องการให้มีน้ำหนักเบาและจะต้องมีพัดลมช่วยพัดให้อากาศไหลได้ผ่านสะดวก และรวดเรว็ 4.4 ระบบการหล่อล่นื (LUBRICATION SYSTEM ) ชน้ิ ส่วนต่าง ๆ ของเครอ่ื งยนตท์ ่เี คลอ่ื นไหว จำเปน็ จะต้องมีการหลอ่ ลื่นเพ่ือขจัดความฝืดระหว่างโลหะ การเสียดสขี องโลหะจะก่อให้เกิดความร้อนและการ สึกหรอได้เชน่ กัน 4.4.1 หนา้ ทข่ี องน้ำมนั หลอ่ ลนื่ 4.4.1.1 ทำการหลอ่ ล่นื 4.4.1.2 อุดชอ่ งว่างระหวา่ งแหวนลูกสบู กับผนังกระบอกสบู 4.4.1.3 ทำการระบายความร้อน 4.4.1.4 ทำความสะอาด 4.4.2 การหล่อล่นื มี 3 แบบ คือ 4.4.2.1 การหล่อล่ืนแบบรวม ( COBINATION LUBRICATION) การหล่อล่ืนแบบน้ี น้ำมันเครื่องจะถูกส่งไปยังชิ้นส่วนเคล่ือนท่ีบางชิ้นโดยการวิดสาด และโดยแรงดันทางท่อน้ำมันจากป๊ัม น้ำมันเคร่ือง 4.4.2.2 การหล่อลื่นแบบใช้กำลังดัน ( FORCE FEED SYSTEM) แบบนี้เคร่ืองยนต์ ได้รับการหล่อล่ืนโดยปั๊มน้ำมันเคร่ืองได้สมบูรณ์ยิ่งข้ึน โดยน้ำมันเคร่ืองจะถูกขับด้วยปั๊มน้ำมันเครื่อง จากห้อง ข้อเหว่ียงไปยังรองเพลาหลัก, รองเพลาก้านสูบ, รองเพลาลูกเบ้ียวตลอดจนกลไกบังคับล้ินในเครื่องยนต์ท่ีมีล้ิน อยบู่ นฝาสูบ

ห น้ า | 19 4.4.2.3 การหล่อลื่นแบบใช้แรงดันโดยตลอด ( FULL FORCE FEED ) การหล่อลื่น แบบใช้แรงดันโดยตลอดน้ี การหล่อล่ืนต่าง ๆ ก็เป็นไปเช่นเดียวกับข้อ 2 แต่ส่ิงที่เพ่ิมในระบบน้ีก็คือ มีการหล่อ ล่ืนต่อกา้ นสบู สลักก้านสูบ และสลักลูกสูบ ซ่ึงเปน็ การหลอ่ ลน่ื ภายใตค้ วามดนั 4.5 ระบบไฟฟ้าของเครื่องยนต์ ( ELECTRICAL SYSTEM ) เคร่ืองยนต์จำเป็นจะต้องนำไฟฟ้าไปใช้กับ ระบบต่างๆ เช่นระบบจุดระเบิด, ระบบหมุนเครื่องยนต์, ระบบประจุไฟ และอ่ืนๆ อีก ดังนั้น จึงมี สว่ นประกอบเกี่ยวกบั ไฟฟ้ามอี ยู่ 3 สว่ นคือ 4.5.1 แบตเตอรี่ ( BATTERY ) แบตเตอร่ีก็คืออุปกรณ์สำหรับเก็บสะสมกำลังงานไฟฟ้าเพื่อ นำไปใชก้ บั ระบบตา่ งๆ ดงั ไดก้ ล่าวแลว้ แบตเตอร่ใี ช้กับยานยนต์ก็มีอยู่ 2 ชนิด คือชนิด 6 โวลท์ และ 12 โวลท์ 4.5.2 เครื่องกำเนิดไฟฟ้า (GENERATOR) เคร่ืองกำเนิดไฟฟ้า จะเป็นตัวผลิตกระแสไฟไป ใหก้ บั ระบบตา่ ง ๆ ภายในยานยนต์ เครื่องกำเนดิ ไฟ จะมที ง้ั แบบกระแสไฟตรง และแบบกระแสไฟสลับ 4.5.3 เคร่ืองควบคุมเคร่ืองกำเนิดไฟ ( GENERATOR ) เม่ือเคร่ืองกำเนิดไฟผลิดกระแสไฟ เพ่ือประจใุ ห้กับแบตเตอรี่ แรงดัน และกระแสไฟฟ้าจะเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา ตามความเร็วของเคร่ืองยนต์ หรือบางคร้ังกระแสไฟจากแบตเตอรี่จะสูงกว่าเครื่องกำเนิดไฟ ก็จะทำให้กระแสไฟจากแบตเตอร่ีไหลกลับไปยัง เครื่องกำเนิดไฟ จะทำให้ไฟฟ้าจากแบตเตอร่ีหมด หรือให้เคร่ืองกำเนิดไฟชำรุดได้ และถ้าประจุไฟให้กับ แบตเตอร่ีเพียงพอแล้ว ก็จำเป็นต้องหยุดการประจุไฟ จากข้อยุ่งยากดังกล่าว จึงจำเป็นจะต้องมีเครื่องมือ ควบคมุ แรงดนั และกระแสไฟฟ้า เครอื่ งควบคุมฯ น้ีมีส่วนประกอบอยู่ 3 หนว่ ย คือ 4.5.3.1 เคร่ืองตัดต่อวงจร ( CUTOUT RELAY ) มีหน้าที่ต่อวงจรเพ่ือให้เครื่อง กำเนดิ ไฟประจุไฟให้แก่แบตเตอรี่ และตดั วงจรไม่ให้ไฟฟา้ จากแบตเตอรีไ่ หลกลบั มายงั เคร่ืองกำเนิดไฟ 4.5.3.2 เคร่ืองควบคุมแรงดันไฟฟ้า ( VOLTAGE REGULATOR ) มีหน้าท่ีควบคุม แรงดนั ไฟฟา้ จากเคร่ืองกำเนิดไฟฟา้ ไมใ่ ห้มีมากเกนิ กำหนด 4.5.3.3 เครื่องควบคุมกระแสไฟฟ้า ( CURRENT REGULATOR ) มีหน้าท่ีควบคุม กระแสไฟฟา้ ท่ผี ลิตจากเครอื่ งกำเนิดไฟไมใ่ หป้ ระจุแบตเตอรี่มากเกนิ กำหนด 5. ขบวนการสง่ กำลังของยานยนต์ประเภทล้อ ( POWER TRAIN ) ขบวนการส่งกำลังก็คือ การรับกำลังงานจากเคร่ืองยนต์เพ่ือส่งกำลังงานไปยังล้อและอุปกรณ์อื่นท่ีใช้ กำลังของเครื่องยนต์ เช่นเครื่องกวา้ น ยานยนต์ไดส้ ร้างขึ้นเพอ่ื ใหม้ ีกำลังฉุดลากสูง และสามารถว่งิ ด้วยความเร็ว สูง หรือวิ่งถอยหลังได้ ทั้งยังสามารถใช้งานในภูมิประเทศท่ีขรุขระได้ เช่นเดียวกับในพ้ืนท่ีราบเรียบ เพื่อสนอง ความต้องการอนั กวา้ งขวางน้ี จงึ จำเป็นจะต้องมีองคป์ ระกอบต่าง ๆ ดังนี้ 5.1 คลัตช์ ( CLUTCH ) คลัตช์ มีหน้าท่ีต่อ หรือปลดการติดต่อระหว่างเคร่ืองยนต์กับระบบการส่ง กำลังท้ังหมด เน่ืองจากเคร่ืองยนต์สันดาปภายในไม่สามารถก่อให้เกิดแรงหมุนที่สูง เพ่ือจะส่งกำลังไปให้แก่ ขบวนส่งกำลังในทันทีทันใดได้ จึงจำเป็นจะต้องปลดการติดต่อระหว่างเครื่องยนต์กับระบบการส่งกำลัง ออก จากกันเสียก่อน โดยปล่อยให้เคร่ืองยนต์ทำงานตามลำพังชั่วขณะหนึ่งจนกระท่ัง เคร่ืองยนต์มีแรงมากพอท่ีจะ ลบล้างแรงเฉ่ือยจากความต้านทานของยานยนต์ในขณะอยู่กับท่ี จึงจะต่อกำลังเข้ากับระบบส่งกำลัง และยัง สามารถ ให้พลขับเปลี่ยนตำแหน่ง เกียรใ์ หเ้ หมาะสมกับการขับตามสภาพต่างๆ ได้ 5.2 เครื่องเปล่ียนความเร็ว ( TRANSMISSION ) หน้าท่ขี องเครื่องเปลย่ี นความเรว็ คือสามารถ ให้ผขู้ ับ เลือกอัตราความสัมพันธ์ความเร็วของเคร่ืองยนต์กับล้อ เพ่ือให้ยานยนต์สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท่ีสดุ ทัง้ ภายใต้สภาพการขบั และภารกรรมตา่ ง ๆ เครอ่ื งเปลีย่ นความเร็วมอี ยู่ 2 แบบ คือ 5.2.1 เครื่องเปลี่ยนความเร็วแบบธรรมดา ( CONVENTIONAL TRANSMISSION ) หรือแบบ เล่ือนเฟือง ( SLIDING GEAR ) แบบน้ีการเปล่ียนความเร็วจากตำแหน่งหนึ่งไปยังอีกตำแหน่งหนึ่ง พลขับ จะต้องทำการเปล่ียนเกียร์เองทุกครั้ง เครื่องเปลี่ยนความเร็วแบบน้ีมีองค์ประกอบต่างๆ คือ หีบเครื่องเปล่ียน

ห น้ า | 20 ความเรว็ ฝาปิดและคนั บงั คับการเปล่ยี นความเร็ว เพลา และเฟอื งตา่ ง ๆ เพลา มี 3 เพลา คือเพลารับกำลัง ( CLUTCH SHAFT ) หรือ เพลาคลัตช์, เพลารอง ( COUNTER SHAFT ) และเพลาหลัก ( MAIN SHAFT ) ทง้ั 3 เพลา น้ีจะมเี ฟอื งอยู่บนเพลาและทำงานสัมพันธ์กัน 5.2.2 เครอื่ งเปลยี่ นความเร็วแบบไฮดราเมตคิ ( HYDRAMATIC TRANSMISSION เป็นเคร่อื งเปล่ยี นความเร็วแบบอตั โนมัติ ประกอบดว้ ยเครื่องเปลี่ยนแปลงแรงขบั และชุดเฟอื งเกียรบ์ รวิ าร ( PLANETARY GEAR ) 5.2.2.1 เครอื่ งเปล่ียนแปลงแรงขับ ( TORQUE CONVERTER ) ทำหน้าท่ีคล้ายคลัตช์ ของยานยนต์ท่ัวไป การทำงานของเครอื่ งเปลี่ยนแปลงแรงขับนี้ ยกตัวอย่างการทำงาน ไดโ้ ดยใช้พัดลม 2 ตวั หันหน้าเข้าหากัน โดยเปิดไฟให้หมุนเพียงตวั เดยี ว จะชักนำให้พดั ลมอีกตัวหนึง่ หมุนตาม ไปด้วย ในเครอื่ งเปลย่ี นแปลงแรงขับจะใช้น้ำมันเปน็ สื่อในการต่อกำลังหมุน เพอื่ ส่งกำลังไปให้แกช่ ดุ เฟืองเกียร์ บริวาร 5.2.2.2 ชุดเฟืองเกียร์บริวาร ( PLANETARY GEAR ) ประกอบด้วยเฟือง ตัวกลาง ( SUN GEAR ) เฟอื งวงแหวนฟนั ใน ( RING GEAR ) และชดุ เฟอื งหมูด่ าว ( PLANETARY GEAR SET ) เราสามารถที่จะส่งกำลังเข้าไปยังส่วนใดก็ได้ ในขณะเดียวกันก็ยึดส่วนหน่ึงไว้ให้ อยูก่ บั ที่ และสง่ กำลงั ออกไปยงั อีกส่วนหนึ่ง ทำให้เกดิ การเพิ่มและลดกำลังขับขึน้ ไดใ้ นชุดเฟอื งเกยี ร์บริวาร ถ้า ชุดเฟืองหมู่ดาวถูกยึดให้อยู่กับที่ ก็จะเกิดการหมุนกลับทิศทาง และถ้ายึดสองส่วนเข้าด้วยกันก็จะเกิดการขับ ตรง ชดุ เฟอื งแต่ละส่วนทำหน้าท่ีได้ 3 ประการ คือ (1) เป็นตัวรับกำลังเข้า ( INPUT MEMBER ) คือเป็นตัวรับกำลังจากภายนอกเข้าสู่ชุดเฟือง เกยี รบ์ รวิ าร (2) เป็นตัวส่งกำลังออก ( OUT PUT MEMBER ) คือเป็นตัวส่งกำลังออกจากชุดเฟืองเกียร์ บรวิ าร ไปใช้งาน (3) เป็นตัวหยุดอยู่กับท่ี ( STATIONARY MEMBER ) ด้วยคลัตช์ หรือ เบรก เพื่อให้อีกสอง สว่ นทำงาน 5.3 เครื่องเพ่ิมเพลาขับ ( TRANSFER ) ยานยนต์ท่ีขับได้ทุกล้อจะต้องมีเคร่ืองเพ่ิมเพลาขับ หรือ เรยี กอีกอย่างหนึ่งว่าหีบเฟืองช่วย เพอื่ ลดระดับของเพลาส่งกำลังทส่ี ่งไปขบั เพลาหน้า ( FRONT AXLE ) ให้ต่ำ กว่าห้องเพลาข้อเหวี่ยง นอกจากนี้ยังสามารถแบ่งกำลังงานไปขับท้ังเพลาหน้า และเพลาหลังได้พร้อมกัน และ ยงั ใชเ้ ป็นเครือ่ งทดกำลังของยานยนตอ์ กี ดว้ ย 5.4 เพลาส่งกำลัง ข้อตอ่ เล่อื น และข้อต่อออ่ น ( PROPELLER SHAFT, SLIP JOINT AND UNIVERSAL JOINT ) 5.4.1 เพลาส่งกำลัง (PROPELLER SHAFT ) กำลังงานที่ส่งออกมาจากหน่วยหน่ึง เพื่อส่ง ต่อไปยังอีกหน่วยหนง่ึ น้นั จะต้องส่งผ่านตัวถา่ ยทอดกำลัง ได้แก่เพลาสง่ กำลัง ซ่ึงมี 2 ชนดิ คือเพลากลวง และ เพลาตัน โดยท่ีเพลากลวงน้ันจะมีความแข็งแรงมากกว่าเพลาตัน ถ้ามีน้ำหนักเท่ากัน แต่ถ้าเพลาทั้งสองชนิด มี เสน้ ผ่าศนู ยก์ ลางเท่ากนั เพลาตันจะมคี วามแขง็ แรงมากกว่า 5.4.2 ข้อต่อเล่ือน (SLIP JOINT ) การอ่อนตัวของแหนบรถ จะทำให้เรือนเพลาล้อ เคลื่อน ตัวไปข้างหน้า และข้างหลังได้เล็กน้อย ดังนั้นจึงต้องมีข้อต่อเลื่อน เพื่อให้เพลาส่งกำลังยืด และหดตัวได้ตาม ความจำเป็น 5.4.3 ข้อต่ออ่อน (UNIVERSAL JOINT ) หน้าที่ของของข้อต่ออ่อน ก็คือทำให้เพลาส่งกำลัง สามารถถ่ายทอดการหมุนได้ในมุมต่าง ๆ หรือเปล่ียนมุมในการหมุนของเพลาส่งกำลัง นอกจากนี้ยังสามารถ ดูดกลนื ความสนั่ สะเทอื นของเพลาอกี ดว้ ย

ห น้ า | 21 5.5 เฟืองทดเล้ียวและเพลาขับ ( BEVEL GEAR DIFFERENTIAL AND AXLE SHAFT ) ในขณะยาน ยนต์เคล่ือนท่ี ล้อท้ังสองข้างจะมีความเร็วต่างกัน ในขณะท่ีรถเลี้ยว หรือวิง่ ในพื้นท่ีขรุขระ โดยที่ล้อทั้งสองข้าง ยังคงมีกำลังขับเช่นเดียวกัน ดังนั้นเฟืองทดเลี้ยว (BEVEL GEAR DIFFERENTIAL ) จึงมีหน้าที่ทำให้ล้อท้ังสอง ข้างหมุนดว้ ยความเร็วแตกต่างกนั ได้ สำหรับเพลาขบั (AXLE SHAFT ) นัน้ จะไดร้ ับกำลงั ขับตอ่ จากชดุ เฟอื งทด เลย้ี ว ไปขบั ใหล้ อ้ หมุน 6. ระบบเครื่องพยุงตวั รถ ของยานยนต์ประเภทล้อ ( SUSPENSION SYSTEM ) ระบบเคร่ืองพยุงตัวรถของยานยนตป์ ระเภทล้อ เปน็ เคร่ืองรองรบั น้ำหนักรถ และจะตอ้ งเคลื่อนท่ีไปใน ทุกสภาพภูมิประเทศ ดังน้ันระบบน้ีไม่เพียงแต่จะต้องดูดกลืนความสั่นสะเทือนเท่านั้น แต่ยังมีส่วนช่วยพยุงให้ การเล้ียวรถเป็นไปอย่างมปี ระสิทธิภาพไดท้ ุกยา่ นความเรว็ และทกุ สภาพภารกรรม ระบบเคร่ืองพยงุ ตัวรถของ รถลอ้ ประกอบด้วย องคป์ ระกอบ ดังนี้ 6.1 โครงรถ ( CHASSIS ) โครงรถเป็นฐานสำหรับยึดตัวถัง เครื่องยนต์ และหน่วยอื่น ๆ จึงต้องมี ความแข็งแรงในการต้านทานตอ่ แรงบิดท่ีผิดปกติ อยู่ตลอดเวลา และเปน็ ตัวรองรบั น้ำหนกั รถอนั ดบั แรก 6.2 แหนบ ( SPRING ) แหนบมีหน้าที่รองรับน้ำหนักต่อจากโครงรถ เพื่อส่งต่อไปยังเรือนเพลาล้อ แหนบยังลดอาการส่ันสะเทือนท่ีเกิดจากเพลาล้อให้น้อยลง ก่อนที่จะส่งไปยังโครงรถ กล่าวคือเมื่อรถได้รับการ สั่นสะเทอื นมาจากเพลาล้อ กจ็ ะมาเฉล่ยี อยทู่ ี่แหนบก่อน แลว้ จึงจะถึงโครงรถ 6.3 เรือนเพลาล้อ ( AXLE ) เรือนเพลาล้อเป็นตัวรับน้ำหนักตอ่ จากแหนบ หรือต่อจากโครงรถ เพ่ือ ส่งน้ำหนักไปยังล้อ และเป็นฐานติดตั้ง หรือห่อหุ้มเฟืองทดเลี้ยว และเพลาขับ เป็นท่ีเก็บน้ำมันหล่อลื่นของ เฟอื งทดเล้ียว และเป็นทตี่ ิดตั้งองคป์ ระกอบของระบบห้ามลอ้ อกี ด้วย 6.4 ล้อ ( WHEEL ) ล้อจะรับน้ำหนักท้ังหมดของรถ และขับเคล่ือนน้ำหนักท้ังหมดของรถให้ เคลอ่ื นท่ีไปได้ โดยใชค้ วามฝดื ระหวา่ งล้อกับพ้นื ถนน 6.5 เครื่องผ่อนแรงสะเทือน ( SHOCKABSORBER ) เคร่ืองผ่อนแรงสะเทือนมีหน้าท่ีช่วยบังคับการ กระเด้งตัวของแหนบให้ช้าลง เพื่อป้องกันไม่ให้แหนบเกิดการกระแทกอย่างรุนแรง ก่อนท่ีจะส่งต่อไปยังตัวรถ และสิ่งบรรทุก เคร่ืองผ่อนแรงสะเทือนมี 2 แบบ คือ แบบทำงานทางเดียว ( SINGLE ACTING ) และแบบ ทำงาน 2 ทาง ( DOUBLE ACTING ) 7. ระบบห้ามลอ้ ( BRAKE SYSTEM ) การห้ามล้อ คือการใช้แรงบังคับให้ยานยนต์ลดความเร็ว หรือให้หยุดอยู่กับที่ได้ เม่ือทำการห้ามล้อ จะ ทำให้เกิดความฝืดขึ้นระหว่างพื้นผิวสัมผัสทั้งสอง โดยการใช้แรงบังคับให้พ้ืนผิวสัมผัสที่อยู่กับท่ี สัมผัสกับพ้ืน ผิวสัมผัสที่อยู่กับที่ ทำให้พ้ืนผิวซึ่งกำลังเคลื่อนท่ี ช้าลง และหยุดได้ การห้ามล้อมิใช่ว่าจะทำให้รถหยุดได้แต่ เพียงอย่างเดียวเท่าน้ัน ยังต้องให้รถหยุดได้ในระยะท่ีส้ันท่ีสุด เท่าที่จะเป็นไปได้ด้วย ดังน้ันเคร่ืองห้ามล้อ จึง ต้องมีกำลังสูงกว่ากำลังของเคร่ืองยนต์ จึงจะสามารถหยุดรถ ได้ในระยะสั้น ๆ ห้ามล้อ มีหน่วยสำคัญอยู่ 2 หนว่ ย คือ หน่วยหมนุ ( ROTATING UNIT ) และหน่วยคงที่ ( NON ROTATING UNIT ) สำหรับวธิ ีการห้ามลอ้ น้ันมี 2 ชนิด คือ - ชนิดบีบภายนอก ( EXTERNAL CONTACTING BRAKE ) การห้ามล้อชนิดนี้ คือการที่เกือกห้ามล้อ หรือหน่วยคงที่ กระทำต่อด้านนอกของจานห้ามล้อท่ีหมุนตัวได้ กล่าวคือ ผิวห้ามล้อของหน่วยคงท่ี ถูกบีบให้ อัดตัวเข้ากบั จานห้ามล้อ หรอื หน่วยหมุน - ชนิดเบ่งภายใน ( INTERNAL CONTACTING BRAKE ) การห้ามล้อชนิดนี้ เกือกห้ามล้อ หรือหน่วย คงที่ จะอยภู่ ายในจานหา้ มล้อ และถกู บังคับให้เบง่ ออกไปอัดตัวเขา้ กบั จานห้ามลอ้ หรือหน่วยหมุน ซ่งึ ทำหน้าท่ี เปน็ ฝาครอบห้ามล้อไปดว้ ย

ห น้ า | 22 ห้ามล้อท่ีใช้กับยานยนต์ท่ัว ๆ ไปจะใช้การห้ามล้อท้ัง 2 ชนิดน้ี ในปัจจุบนั ระบบบังคับการทำงานของ ห้ามล้อ จะใช้ระบบใดระบบหนึ่ง หรือใช้หลายระบบประกอบกันก็ได้ และแบ่งระบบบังคับการทำงานได้ 5 ระบบ ดังนี้ 7.1 ระบบใช้เครื่องกลไก ( MECHANICAL SYSTEM ) ระบบน้ีที่ใชก้ ับยานยนตใ์ นปจั จุบนั ก็คือห้ามลอ้ มือ หรือห้ามล้อจอดรถ ( PARKING BRAKE ) จะติดตั้งอยู่ด้านหลังของเคร่ืองเปลี่ยนความเร็ว ใช้เมื่อจอดรถ อย่กู ับที่ หรือเมื่อหา้ มล้อหลักชำรุด หรอื เกดิ ขดั ข้อง 7.2 ระบบใช้ของเหลว ( HYDRAULIC SYSTEM ) ระบบนใ้ี ช้กำลังดันของ ของเหลว คือนำ้ มันไปดัน ตอ่ กลไกบังคับเกอื กห้ามล้อ ให้อดั ตวั เข้ากับจานห้ามล้อ กล่าวคือเมื่อพลขับเหยียบแป้นห้ามล้อ ก้านตอ่ กลไก จะไปดันต่อลูกสูบในแม่ปั๊ม ( MASTER CYLINDER ) ทำให้น้ำมันไหลตามท่อทางเดินเข้าไปยังกระบอกสูบล้อ หรอื ลูกปั๊มห้ามล้อ ( WHEEL CYLINDER ) ของทกุ ๆ ล้อ กำลังดันของ น้ำมันจะทำให้ลูกสูบในกระบอกสูบล้อเคลื่อนที่ไปดันต่อเกือกห้ามล้อ ให้อัดตัวกับจานห้ามล้อทำให้รถช้าลง หรือหยุดได้ ต่อเม่ือปลอ่ ยแป้นห้ามลอ้ แหนบจะรั้งเกือกห้ามล้อให้แยกตวั จากจานห้ามล้อ หุบเข้าท่ีเดมิ กดดัน ลกู สบู บบี นำ้ มันให้ไหลกลบั สู่แม่ปม๊ั ตามเดิม 7.3 ระบบใช้อากาศ ( AIR SYSTEM ) ระบบนี้จะมีเคร่ืองสูบลมเพ่ืออัดอากาศเก็บไว้ในถังลม โดยมี ความดันและปริมาณเพียงพอต่อการห้ามล้อ มีการทำงานโดยสรุปคือเม่ือพลขับเหยียบแป้นห้ามล้อ กลไกจะ เปดิ ลิ้นให้อากาศในถังลมไหลไปตามท่อทางเดนิ เข้าสู่ห้องห้ามล้อ ( BRAKE CHAMBER ) ซ่ึงมีแผ่นกระบังลม ( DIAPHRAM ) ก้ันไว้ แรงดันของอากาศจะผลักดนั แผน่ กระบังลมซ่ึงมีจานและกา้ นตอ่ บังคับกลไกไปทำให้เกือกห้ามล้อทำงานอีกทีหน่ึง ความดันของอากาศอาจสูงถึง 100 ปอนด์/ ตร.นิ้ว เพื่อให้ เกิดแรงดันมากพอทีจ่ ะใช้หา้ มล้อได้ 7.4 ระบบใชส้ ุญญากาศและบรรยากาศ ( VACUUM AND ATMOSPHERIC SYSTEM ) ระบบนี้จะใช้ ประกอบกับระบบน้ำมัน โดยระบบสุญญากาศและบรรยากาศ จะใชใ้ นการทำงานของหม้อทวกี ำลังห้ามล้อ ซึ่ง ช่วยให้พลขับออกแรงกดแป้นห้ามล้อน้อยลง และเมื่อระบบสุญญากาศเกิดการชำรุด ก็ยังสามารถทำการห้าม ล้อได้ แต่ต้องออกแรงในการหา้ มลอ้ มากขึน้ 7.5 ระบบไฟฟ้า ( ELECTRICAL SYSTEM ) ระบบน้ีจะใช้กระแสไฟจากแบตเตอร่ีของรถตอ่ เข้ากับ เครื่องบังคับ ( CONTROLLER ) กล่าวคือ เม่ือพลขับเหยียบแปน้ ห้ามล้อ กระแสไฟฟ้าจากเครื่องบังคับ จะเข้า ไปยังชุดขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าในเคร่ืองห้ามล้อไฟฟ้า ทำให้เกิดแรงดึงดูดต่อทุ่นอาร์มาเจอร์ ซ่ึงทุ่นนี้จะหมุนไป กับเรือนห้ามล้อ การดึงดูดระหว่างแม่เหล็กไฟฟ้ากับทุ่น จะทำให้แม่เหล็กไฟฟ้าหมุนตามทุ่นไปได้ในมุมจำกัด และการหมุนของแม่เหล็กไฟฟ้าจะไปบังคับให้กระเดื่องลูกเบี้ยวยกตัวให้ผ้าห้ามล้อขยายตัวออกไปอัดกับจาน ห้ามล้อ และแม่เหล็กไฟฟ้าจะหมดอำนาจ และหมุนกลับท่ีเดิมด้วยแรงแหนบ เม่ือพลขับปล่อยแป้นห้ามล้อ ทำให้ผา้ ห้ามล้อถอยตัวออกจากจานห้ามลอ้ กลับเข้าทเ่ี ดมิ ด้วยแรงแหนบ เช่นเดียวกนั 8. ขบวนการสง่ กำลังของยานยนต์ประเภทสายพาน ( POWER TRAIN ) ขบวนการส่งกำลังของยานยนต์ประเภทสายพาน ในที่นี้จะยกตัวอย่างขบวนการส่งกำลังของ รถถัง เอ็ม 41, รถถัง เอ็ม 48, รถถัง เอ็ม 60 และ รถสายพานกู้ซ่อม เอ็ม 88 ให้ทราบพอสังเขปซึ่งประกอบด้วย องคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ดงั นี้ 8.1 เคร่ืองเปลี่ยนความเร็ว ( TRANSMISSION ) เป็นเคร่ืองเปล่ียนความเร็วแบบขับขวาง ได้รับกำลัง ขับจากเคร่ืองยนต์ เป็นเคร่ืองเปลี่ยนความเร็วแบบก่ึงอัตโนมัติ โดยรวมหน่วยทำงานต่าง ๆ ไว้ภายในเรือน เดียวกัน คือ หน่วยบังคับเลี้ยวและหน่วยห้ามล้อ ประกอบด้วยป๊ัมน้ำมัน และหมู่เฟืองบริวาร เครื่องกลไก บังคับเลีย้ ว เครอื่ งกลไกห้ามลอ้ คลตั ชซ์ ง่ึ ทำงานดว้ ยนำ้ มนั และเครือ่ งเปลี่ยนแปลงแรงบิด 8.1.1 การเปลี่ยนความเร็ว กระทำโดยการเล่ือนคันบงั คับเคร่ืองเปล่ียนความเร็วซึ่งอยู่ในห้อง พลขับ และมีกลไกก้านโยงเช่ือมต่อไปบังคับการทำงานของเรือนลิ้นควบคุมการไหลของน้ำมัน ให้ส่งกำลังดัน

ห น้ า | 23 น้ำมันไปบังคับการทำงานของคลัตช์หมู่เฟืองเกียร์บริวาร ทำให้มีการเปล่ียนความเร็วในตำแหน่งต่างๆ ได้ตาม ความตอ้ งการ 8.1.2 การบังคับเลี้ยว การบังคับเลี้ยวกระทำได้ โดยการเปล่ียนทิศทางการไหลของ น้ำมัน โดยจะมีเรือนล้ินบังคับเล้ียวทั้งซ้าย และขวา เป็นลิ้นแบบบังคับปริมาณน้ำมัน เพ่ือส่งแรงดันของน้ำมัน จากระบบน้ำมันหลัก ไปยังคลัตช์บังคับเลี้ยวในอตั ราส่วนต่าง ๆ กัน การควบคุมการทำงานของล้ินบังคับเลี้ยว ใช้ก้านต่อกลไก เช่ือมโยงจากคันบงั คับเลี้ยวในหอ้ งพลขับ ไปยังเรือนลิน้ ท่เี คร่ืองเปล่ยี นความเร็ว 8.1.3 การห้ามล้อ หน่วยห้ามล้อซึ่งรวมอยู่ในเคร่ืองเปล่ียนความเร็ว ทำงานด้วยแรงกล ควบคุมการทำงานด้วยก้านต่อกลไกเชือ่ มโยงจากคนั ห้ามล้อในห้องพลขับ การทำงานของหน่วยห้ามล้อใชแ้ ผ่น ความฝืดหล่อล่ืนด้วยน้ำมัน ติดตั้งอยู่กับเพลาส่งกำลังออกท้ังสองข้างของเครื่องเปล่ียนความเร็ว เมื่อ พลขับ เหยียบคันห้ามล้อจะทำให้แผ่นความฝืดเกิดการเสียดสีกัน เกิดความต้านทานในการหมุนจึงทำให้เพลาส่งกำลัง ออกหมุนชา้ ลง หรือหยุดหมนุ ได้ตามนำ้ หนกั ในการกดเท้าของพลขบั 8.2 ข้อต่อออ่ น ( UNVERSAL JOINT ) มีหลักการทำงานและการสร้างเช่นเดียวกับข้อต่ออ่อนของ ยานยนต์ล้อ ทำหนา้ ท่รี บั กำลังหมนุ จากเครอ่ื งเปล่ียนความเร็ว สง่ ตอ่ ไปยังหีบเฟืองขบั ข้ันสดุ ทา้ ย 8.3 เฟืองขับขั้นสุดท้าย ( FINAL DRIVE ) กำลังขับจากข้อต่ออ่อนจะส่งเข้าไปยังหีบเฟืองขับข้ัน สุดท้ายซึ่งเป็นหมู่เฟือง ซ่ึงติดตั้งอยู่กับตัวรถ และเป็นตัวทดกำลังอันสุดท้ายก่อนท่ีจะส่งกำลังไปให้แก่ล้อขับ สายพาน ภายในหบี เฟืองขับขน้ั สุดทา้ ยจะมีน้ำมันให้การหลอ่ ลื่นอยภู่ ายในดว้ ย 9. ระบบเคร่อื งพยุงตัวรถของยานยนต์ประเภทสายพาน ( SUSPENSION SYSTEM ) ยานยนตส์ ายพานใช้ตัวรถเป็นแคร่รถไปในตัว ดังนั้นส่วนประกอบของระบบเคร่ืองพยุงตัวรถ จะตดิ อยู่ กับตัวรถ โดยที่ยานยนตป์ ระเภทสายพานมีน้ำหนักมากและถูกใช้ในภูมิประเทศที่ขรุขระเป็นส่วนใหญ่ ดังน้ัน ระบบเครอื่ งพยงุ ตวั รถจงึ จำเปน็ ตอ้ งมนั่ คง แข็งแรงเป็นพเิ ศษ และมอี งคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ดงั น้ี 9.1 สายพาน ( TRACK ) ทำดว้ ยเหลก็ กลา้ ลว้ น หรือทำดว้ ยเหลก็ ประกอบแผ่นยาง โดยสรา้ งเป็นข้อ ๆ มีสลักสายพานเพื่อให้ต่อเข้าด้วยกันเป็นเส้น ได้ด้วยสลักสายพาน และข้อต่อสายพาน สลักสายพานมีใช้ทั้ง แบบสลักเดี่ยว และแบบสลักคู่ สายพานจะได้รับการขับเคลื่อนจากซี่เฟืองของล้อขับสายพานซึ่งยึดติดอยู่กับ เฟอื งขบั ขั้นสดุ ทา้ ย แตล่ ะด้านของรถ 9.2 ล้อกดสายพาน ( ROAD WHEEL ) เป็นล้อชนิดหุ้มยาง ทำหน้าที่พยุงตวั รถและรับน้ำหนักรถแต่ ละข้างไว้ด้วย ล้อกดจะหมุนไปบนสายพานโดยไม่มีกำลังขับ ล้อกดติดต้ังเป็นคู่ ๆ อยู่กับดุมล้อของแขนล้อกด สายพานแตล่ ะตัว และท่ีแขนลอ้ กดนจ้ี ะมคี านรับแรงบดิ ติดต้ังไวอ้ ันหนง่ึ 9.3 คานรบั แรงบดิ ( TORSION BAR ) คานรบั แรงบดิ เปน็ ท่อนเหล็กตนั ทำด้วยเหล็กกล้าชนิดมแี รง แหนบ ด้านปลายแต่ละด้านจะเซาะเป็นร่องเฟืองไว้เพื่อสวมเข้ากับสมอบกด้านหนึ่ง และอีกด้านหนึ่งสวมเข้า กับแขนล้อกดสายพาน คานรับแรงบิดจะวางตัวอยู่ตามแนวขวางของรถ ทำหน้าท่ีเสมือนแหนบของรถ โดยรับ นำ้ หนักรถ รบั แรงสะเทอื นและการเคล่อื นไหวในทางดิ่งของแขนลอ้ กด สายพาน 9.4 ล้อรับสายพาน ( SUPPORT ROLLER ) เป็นล้อชนิดหุ้มยาง ติดต้ังเป็นคู่ อยู่แต่ละข้างของตัวรถ ทำหนา้ ท่รี องรับช่วงสายพานดา้ นบนท่ีเคล่ือนทจ่ี ากล้อขบั สายพานไปยังลอ้ ปรับสายพาน และล้อรบั สายพานจะ หมนุ ไปโดยไม่มีกำลงั ขับ 9.5 ล้อปรับสายพาน ( IDLER WHEEL ) ล้อนี้จะติดต้ังอยู่ทางส่วนหน้าแต่ละข้างของตัวรถ ประกอบด้วยเครอ่ื งกลไกตอ่ เชอ่ื มโยงแขนล้อปรับ เพอ่ื ใหส้ ามารถปรับสายพานให้ตงึ พอดตี ามเกณฑท์ ่ีกำหนดไว้ ได้

ห น้ า | 24 9.6 ล้อขับสายพาน ( SPROCKET WHEEL ) ล้อน้ีจะติดต้ังอยู่ทางส่วนท้ายแต่ละข้างของตัวรถ และ ถกู ขับโดยเฟอื งขบั ขั้นสดุ ท้าย ทล่ี อ้ ขบั จะมีเฟืองขับสายพาน 2 อัน ซ่งึ มซี ่ฟี นั สำหรบั ขับสายพานใหเ้ คล่อื นท่ไี ป 9.10 แหนบหยุดแขนล้อกดสายพาน ( BUMPER STOP ) เป็นแหนบขดรูปกรวย ยืดหยุ่นได้ ติดต้ัง อยู่กับแท่นรับที่ตัวรถ ดา้ นบนของแขนลอ้ กดสายพาน มีหนา้ ท่ยี ับยั้งแขนลอ้ กดไม่ให้เคลอื่ นทสี่ งู ข้ึนเกนิ ไปจนทำ ให้คานรับแรงบิดหัก เม่ือรถข้ามส่ิงกีดขวาง และยังป้องกันไม่ให้เครื่องผ่อนแรงสะเทือนยุบตัวลงต่ำมากเกินไป อีกดว้ ย 9.11 เครื่องผ่อนแรงสะเทือน ( SHOCKABSORBER ) มีหน้าท่ีดดู กลนื แรงกระแทก หรอื ผอ่ นอาการ สะเทือนใหก้ บั ตัวรถเม่อื ล้อกดสายพานกระแทกกบั สิง่ กดี ขวาง หรอื วง่ิ ไปในภมู ปิ ระเทศขรุขระ เครอ่ื งผอ่ นแรงสะเทอื น เปน็ แบบทำงานทางเดยี ว มที ้ังชนิดทำงานดว้ ยแหนบ และชนดิ ทำงานด้วยนำ้ มัน -------------------------------

ห น้ า | 25 แผนกวิชายานยนต์ กองการศกึ ษา โรงเรยี นทหารม้า ศูนย์การทหารม้า คา่ ยอดศิ ร สระบุรี --------------------------- เอกสารนำ วิชา หลักไฟฟา้ ยานยนต์ 1. กลา่ วทั่วไป วิชาระบบไฟฟ้ายานยนต์น้ี จะเปน็ การบรรยาย การแสดงและการ ปฏิบตั ิให้ทราบถึง หลกั การตา่ ง ๆ ของระบบไฟฟา้ ยานยนต์ และ องค์ประกอบของหนว่ ยสมั พนั ธ์ 2. ความมงุ่ หมาย เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นทราบหลักการ และการทำงานของบทเรยี นตา่ ง ๆ คือ 2.1 หลกั ไฟฟา้ เบ้ืองต้น 2.2 วงจรไฟฟา้ 2.3 แบตเตอร่ี 2.4 แม่เหลก็ 2.5 เครอื่ งกำเนดิ ไฟฟา้ เครื่องควบคมุ และระบบประจุ ไฟ 2.6 มอเตอร์หมุนเครอื่ งยนต์ และระบบหมุน เคร่อื งยนต์ 3. งานมอบ ใหน้ ักเรียนอา่ นเอกสารเพ่มิ เติม เพอื่ ทำความเข้าใจมาก่อนเข้า หอ้ งเรยี น 4. ส่งิ ท่ีจา่ ยร่วมกบั เอกสารนำ เอกสารเพิ่มเตมิ

ห น้ า | 26 ระบบไฟฟ้าและองค์ประกอบสัมพนั ธ์ ELECTRICAL SYSTEM AND RELATED UNITS หลกั การไฟฟา้ BASIC PRINCIPLES OF ELECTRICITY ตอนท่ี 1 ไฟฟ้า ELECTRICITY 11-1. สว่ นประกอบของสสาร (Composition Of Matter) 1. เพื่อให้เข้าใจเก่ียวกับเร่ืองของไฟฟ้า ประการแรกต้องทำความเข้าใจเก่ียวกับคุณสมบัติของสสาร, และ องค์ประกอบต่าง ๆ ของธาตุก่อน ทุกส่ิงทุกอย่างที่เป็นสสาร(ท้ังของแข็ง, ของเหลว และแก๊ส) ประกอบด้วย ส่วนเล็ก ๆ เรียกว่าปรมาณู หรืออะตอม(Atoms) เมื่ออะตอมจับตัวเข้าด้วยกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ตั้งแต่สอง อะตอมหรือมากกว่า เรียกว่าโมเลกุล (Molecules) อากาศประกอบด้วยโมเลกุลของแก๊สชนิดต่าง ๆ และ โมเลกุลของแก๊สแตล่ ะชนิดก็ประกอบด้วยอะตอมและอะตอมเหล่านี้ยังแยกส่วนต่อไปได้อีกเม่ือแยกอะตอมจะ ไดส้ ว่ นเลก็ ๆ หรืออนภุ าค(Particles) ซึ่งอนุภาคเหลา่ นพี้ วกหน่งึ มีประจุบวก และอีกพวกหน่ึงมปี ระจุลบ 2 ในจักรวาลน้ีมีสารพ้ืนฐานท่ีแตกต่างกันอยู่มากกว่า 100 ชนิด สารพ้ืนฐานเหล่าน้ีเรียกว่า ธาตุ(Elements) เหล็กเป็นธาตุ ชนิดหน่ึง, ทองแดง, อะลูมิเนียม, ออกซิเจน, ไฮโดรเจน และปรอท ต่างก็เป็น ธาตุ ทเี่ รียกว่าธาตุเพราะไม่สามารถแยกออกเปน็ สารพื้นฐาน(หรอื ธาตุ) อนื่ ใดได้อกี คือมโี มเลกลุ ท่ีประกอบดว้ ย อะตอมที่เหมือนกัน หรืออาจกล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่า ธาตพุ ื้นฐานมากกว่า 100 ชนิดเหล่าน้ี เป็นวัสดทุ ี่ใชใ้ นการ สร้างจกั รวาลขึ้นมา ถ้าศึกษาโครงสรา้ งของธาตเุ หล่านี้อย่างละเอียดลงไปอกี ก็จะพบวา่ ส่วนประกอบที่รวมกัน เป็นอะตอมของแต่ละธาตุ ต่างก็มีอนุภาคที่เหมือนกัน คืออนุภาคท่ีมีประจุบวก กับอนุภาคที่มีประจุลบ ดังที่ กล่าวมาแลว้ 3. อนุภาคพื้นฐานที่ประกอบเข้าด้วยกันเป็นอะตอมของธาตุทั้งหลาย ซึ่งธาตุทั้งหมดเหล่านี้ก็เป็น ส่วนประกอบของสรรพส่ิงทั้งหลายที่ปรากฏอยู่ในจักรวาลมี โปรตอน, อิเล็กตรอน และนิวตรอน โดยโปรตอน หน่ึงตัวเป็นอนุภาคท่ีมีประจุบวกหนงึ่ ประจุ กลุ่มของโปรตอนจงึ ให้ประจไุ ฟฟ้าบวก ในขณะท่ีอเิ ลก็ ตรอนหน่ึง ตัวเป็นอนุภาคท่ีมีประจุลบหน่ึงประจุ กลุ่มของอิเล็กตรอนจึงให้ประจุไฟฟ้าลบ ส่วนนิวตรอนเป็นอนุภาค พนื้ ฐานท่ีไม่มปี ระจุไฟฟ้า กลุ่มของนิวตรอนจงึ ไม่มีประจุไฟฟา้ 4. หากพิจารณาดูโครงสร้างของอะตอมของธาตุต่าง ๆ เร่ิมจากธาตุท่ีมีโครงสร้างง่ายมากท่ีสุดคือ อะตอมของไฮโดรเจนประกอบด้วยโปรตอนหนึง่ ตัวและมีอิเลก็ ตรอนหนึ่งตัววิ่งวนอยู่โดยรอบ(ภาพ 11-1) มีแรง ดึงดูดระหว่างอนุภาคท้ังสอง เพราะว่าประจุลบกับประจุบวกจะดึงดูดกันอยู่เสมอแรงเหว่ียงหนีศูนย์กลางที่ เกิดขึ้นขณะท่ีอิเล็กตรอนว่ิงวนอยู่รอบ ๆ โปรตอนน้ัน จะต้านกับแรงดึงดูดระหว่างอนุภาคท้ังสองและป้องกัน ไม่ให้อิเล็กตรอนวิ่งเข้าหาโปรตอน ลักษณะดังกล่าวน้ีเหมือนกับความสมดุลท่ีเกิดขึ้นเมื่อเอาเชือกผูกลูกบอล แล้วเหวี่ยงให้เป็นวงกลมไปรอบๆ ในอากาศ ในลักษณะน้ีแรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลางจะพยายามพาลูกบอลออก จากวงรอบ แต่ก็ถูกทำให้สมดุลด้วยเส้นเชือก(แรงดึงดูด) ถ้าเส้นเชือกขาดออกแรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลางก็จะพา ลูกบอลกระเด็นห่างออกไป ซึ่งลักษณะเช่นน้ีก็เกิดขึ้นได้กับอิเล็กตรอนเหมือนกัน ในบางคร้ังแรงดึงดูด ระหว่างอิเล็กตรอนกบั โปรตอนไมม่ ากพอทีจ่ ะยดึ อเิ ล็กตรอนไว้ในวงโคจร และอิเล็กตรอนกห็ ลุดกระเดน็ ออกไป

ห น้ า | 27 โปรตอน นิวตรอน (บวก) อเิ ลก็ ตรอน ไฮโดรเจน (ลบ) ภาพ 1ฮ1ีเ-ล1ียมสว่ นประกอบของสสาร ลิเธียม 4. ในภาพ 11-1 ภาพกลาง จะเห็นว่าอะตอมของฮีเลี่ยมจะมีโครงสร้างสลับซับซ้อนมากกว่า ไฮโดรเจนเล็กน้อย ให้สังเกตดูวา่ อะตอมของฮีเลี่ยมมีโปรตอนสองตัวตรงกลาง และมีอิเล็กตรอนสองตัววิ่งวน อยู่โดยรอบศูนย์กลาง เน่ืองจากตรงศูนย์กลางหรือนิวเคลียสของอะตอมมีโปรตอนเพ่ิมขึ้นมาอีกตัวหน่ึง เพื่อให้อะตอมมีความสมดุลทางไฟฟ้า จึงต้องมีอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้นอีกตัวหนึ่งด้วยในนิวเคลียสของฮีเลี่ยมยังมี อนุภาคเพ่ิมข้ึนอีกสองอนุภาค อนุภาคเหล่านี้เรียกว่านิวตรอน ท่ีจำเป็นต้องมีนิวตรอนก็เพ่ือไม่ให้โปรตอนสอง ตัวแยกออกจากกัน เนื่องจากอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเหมือนกันจะผลักกัน อิเล็กตรอนจะผลักกับอิเล็กตรอน และเช่นเดียวกัน ท่ีโปรตอนก็จะผลักกับโปรตอน ยกเว้นเม่ือมีนิวตรอนอยู่ด้วย แม้ว่านิวตรอนจะไม่มีประจุ ไฟฟ้าแต่ก็มีคุณสมบัตหิ กั ล้างแรงผลักกนั ระหว่างโปรตอนกบั โปรตอนในนิวเคลยี ส และชว่ ยให้โปรตอนยึดเกาะ อยดู่ ว้ ยกนั ได้ 5. ในภาพ 11-1 ภาพขวา แสดงให้เห็นอะตอมของลิเธี่ยมซ่ึงเป็นโลหะเบาเนื้ออ่อนท่ีมีโครงสร้าง อะตอมสลับซับซ้อนมากกว่าอะตอมของฮีเล่ียมข้ึนไปอีก จะเห็นว่าที่นิวเคลียสมีโปรตอนตัวที่สามเพิ่มข้ึนมา และที่วงโคจรรอบ ๆ นิวเคลียสมีอเิ ล็กตรอนตวั ท่ีสามเพิ่มขึ้นมา และยังมีนิวตรอนเพิ่มขึ้นท่ีนิวเคลียสอีกสองตัว เพ่ือช่วยยึดโปรตอนสามตัวเข้าด้วยกันอะตอมของธาตุอ่ืน ๆ ก็จะมีโครงสร้างในลักษณะเช่นน้ี เม่ือน้ำหนัก อะตอม(Atomic Number หรือ Atomic Scale) เพิ่มข้ึน นิวเคลียสก็จะมีโปรตอนและนิวตรอนเพิ่มขึ้นอย่าง ละหน่ึงตัว และมีอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้นท่ีวงโคจรด้านนอกด้วยอีกตัวหนึ่งเช่นเดียวกัน ธาตุลำดับต่อจากลิเธ่ียม คือ แบริลเลี่ยมมีโปรตอนส่ีตวั กับนิวตรอนห้าตัว, โบรอนมีโปรตอนห้าตัวกับนิวตรอนห้าตัว,คาร์บอน มีอย่างละ หกตัว, ไนโตรเจนมีอย่างละเจ็ดตัว ออกซิเจนมีอย่างละแปดตัว และธาตุในลำดับต่อไปจะมีอิเล็กตรอนกับ โปรตอนเพิ่มขึ้น เป็นเช่นนี้เร่ือยไป โดยในบรรดาธาตุท้ังหลายเหล่านี้ ในแต่ละธาตุนั้นอิเล็กตรอนที่ว่ิงวนอยู่ รอบนวิ เคลยี สจะมีจำนวนเทา่ กับโปรตอนในนวิ เคลียสเสมอ 11-2. องค์ประกอบของไฟฟ้า (Composition Of Electricity) (ภาพ 11-2) 1. เมื่อมีอเิ ล็กตรอนมากกว่าสองตัวในหน่ึงอะตอม อเิ ล็กตรอนสองตวั น้ันจะว่งิ วนอยู่รอบ ๆ นวิ เคลียส ด้วยวงโคจรท่ีมีขนาดแตกต่างกันกัน วงโคจรเหล่านี้เรียกว่าชั้น(Shell) ชั้นวงในสุดจะเป็นอิเล็กตรอนท่ีไม่หลุด ออกมาเป็นอิสระได้ง่าย และเรียกว่าอิเล็กตรอนพันธะ(Bond Electrons) ส่วนวงโคจรช้ันนอกสุดจะมี อิเล็กตรอนท่ีเรียกว่าอิเล็กตรอนอิสระ(Free Electron) อิเล็กตรอนอิสระแตกต่างจากอิเล็กตรอนพันธะ ตรงท่ี อิเล็กตรอนอสิ ระเหลา่ นส้ี ามารถหลุดออกจากวงโคจรได้ 2. ถา้ จดุ ใดจดุ หน่ึงที่มอี เิ ลก็ ตรอนมาก(ลบ) ตอ่ อยู่กบั จุดทขี่ าดอเิ ลก็ ตรอน(บวก) การไหลของ อเิ ล็กตรอน(กระแสไฟฟ้า) ก็จะไหลผ่านตวั นำจนกระท่ังระหวา่ งสองจุดดังกล่าวมีประจุไฟฟ้าเท่ากันประจุไฟฟ้า เกิดจะข้ึนเม่ือมีอิเล็กตรอนจำนวนมากหลุดเป็นอิสระจากอะตอมและรวมกันอยู่ในบริเวณเดียวกัน ในขณะท่ี

ห น้ า | 28 อิเล็กตรอนเริ่มเคล่ือนท่ีตามตัวนำไปในทิศทางหน่ึง(เช่น เคล่ือนตามสายไฟ) ผลท่ีได้ก็คือมีการไหลของ อิเล็กตรอนหรือกระแสไฟฟ้า อาจกล่าวเปรียบเทียบได้ว่าเคร่ืองกำเนิดไฟฟ้าหรือแบตเตอรี่เป็นป๊ัมสูบ อิเล็กตรอน เพราะวา่ ทำหน้าท่เี คลือ่ นยา้ ยอิเล็กตรอนจากส่วนหนึ่งไปยังอกี ส่วนหน่ึงของวงจรไฟฟ้า เชน่ เคร่อื ง กำเนดิ ไฟฟ้าทำให้อิเล็กตรอนเคลอื่ นออกจากจากขั้วบวกใหผ้ า่ นวงจรกลับไปยังข้วั ลบ อเิ ลก็ ตรอนอสิ ระ วงโคจรชนั้ นอกสดุ ขวั้ ลบ การไหลของอเิ ลก็ ตรอน ขวั้ บวก มอี เิ ลก็ ตรอนเกนิ ภาพ 11ผ-า่ 2นตอวังนคา์ปไรฟะฟก้าอบของไฟฟข้าาดอเิ ลก็ ตรอน 11-3. ทฤษฎอี ิเล็กตรอนของไฟฟ้า (Electron Of Electricity) (ภาพ11-2) เนื่องจากอิเล็กตรอนจะผลักดันระหว่างกัน(ประจุไฟฟ้าเหมือนกันผลักกัน) บรรดาอิเล็กตรอนท้ังหลายจึงถูกดัน ใหไ้ หลผา่ นวงจรไปยงั ขัว้ บวก(ประจไุ ฟฟา้ ต่างกันดูดกนั ) ดังนั้นเราจะเห็นได้ว่าทีจ่ ริงแล้วกระแสไฟฟ้าไหลจากขวั้ ลบไปยังข้ัวบวก ซึ่งทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้าดังที่ได้กล่าวมานั้นจะกลับกันกับความเชื่อเดิม ที่ นักวิทยาศาสตร์ในสมัยก่อนเข้าใจว่ากระแสไฟฟ้าไหลจากขั้วบวกไปหาข้ัวลบ แต่จากการศึกษาของ นักวิทยาศาสตร์ในสมัยต่อมาได้แสดงให้เห็นว่าเป็นการเข้าใจผิด เพราะนักวิทยาศาสตร์ในยุคหลังน้ีสามารถ พิสูจน์ได้ว่า กระแสไฟฟ้าคือการไหลของอิเล็กตรอนจากขั้วลบ(ท่ีมีจำนวนอิเล็กตรอนมากกว่า) ไปยังข้ัวบวก(ท่ี ขาดอเิ ล็กตรอน) 11-4. ตัวนำและฉนวน (Conductors And Insulators) (ภาพ 11-3) 1. กล่าวท่ัวไป วตั ถใุ ด ๆ ท่ียอมใหก้ ระแสของอิเลก็ ตรอนไหลผ่านได้ เรียกว่าตัวนำไฟฟ้า และวัตถุใดท่ี ไม่ยอมให้กระแสอิเล็กตรอนไหลผ่านไปได้เรียกว่าฉนวนไฟฟ้า ตัวนำไฟฟ้าถูกใช้ในรถยนต์เพื่อให้นำกระแส ไฟฟ้าไปยงั บรรดาอปุ กรณไ์ ฟฟ้าท้ังหลายของรถยนต์ ฉนวนไฟฟา้ กม็ คี วามจำเป็นตอ้ งใช้ดว้ ย เพ่อื ปอ้ งกนั ไม่ใหก้ ระแสไฟฟา้ ลดั วงจรเสียกอ่ น แทนที่จะไหลไปยังสว่ นท่ีตอ้ งการ คณุ สมบัติทางไฟฟา้ ของธาตุ ต่าง ๆ จะขึน้ อย่กู บั จำนวนอเิ ลก็ ตรอนในวงโคจรวงนอกทีส่ ดุ ของอะตอมเปน็ ส่วนใหญ่ โดยจะเปน็ วงโคจรวง นอกสุดทไ่ี ม่สามารถจะมีอิเลก็ ตรอนได้มากกวา่ แปดตัว

ห น้ า | 29 A.ทองแดงเป็นตวั นำ(วงโคจรนอกสดุ B.นอี อน เป็นฉนวน(วงโคจรนอกสดุ ไม่มี มอี เิ ลก็ ตรอนอสิ ระ 1 ตวั ) อเิ ลก็ ตรอนอสิ ระ) ภาพ 11-3 ตวั นำ และ ฉนวน 2. ตัวนำ (ภาพ 11-3 A) เมื่อใดก็ตามท่ีวงโคจรวงนอกสุดของธาตุชนิดใดชนิดหนึ่งมีอิเลคตรอนน้อยก วา่ ส่ตี ัว บรรดาอเิ ล็กตรอนเหลา่ นก้ี จ็ ะเปน็ อิสระได้ง่าย จากสภาพดังกล่าวของธาตุชนดิ นนั้ ที่ยอมให้อเิ ล็กตรอน เคล่ือนท่ีได้ง่ายก็จะทำให้เป็นธาตุที่เป็นตัวนำไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าไหลผ่านตัวนำในลักษณะของการ เคลื่อนท่ีของอิเล็กตรอนอิสระ ที่เคลื่อนย้ายจากอะตอมหน่ึงไปยังอีกอะตอมหนึ่ง ภายในตัวนำอิเล็กตรอนจะ เคล่ือนที่ไปยังอะตอมที่ติดกัน โดยจะเข้าไปแทนที่อิเล็กตรอนหน่ึงตัวหรือมากกว่าโดยการดันให้หลุดออกจาก วงโคจร อิเล็กตรอนตัวที่ถูกดันให้หลุดออกจากวงโคจรก็เข้าไปแทนที่อิเล็กตรอนในอะตอมถัดไปด้วยวิธีการ เดียวกันจนกระทั่งมีการเคลื่อนท่ีของอิเล็กตรอนตลอดความยาวของตัวนำทำให้เกิดการไหลของกระแสไ ฟฟ้า โลหะทองแดงเป็นตัวอย่างหนึ่งของตัวนำที่ดีเพราะว่าเปน็ โลหะชนิดเดียวท่ีวงนอกสุดมีอเิ ล็กตรอนอสิ ระหน่ึงตัว อิเล็กตรอนตัวน้ีไม่ถูกยึดเหน่ียวไว้อย่างเหนียวแน่นในวงโคจร และหลุดออกจากแรงยึดเหนี่ยวของนิวเคลียสได้ งา่ ย โลหะเงินเป็นตวั นำไฟฟ้าท่ีดกี วา่ ทองแดง แต่เงินก็มีราคาแพงไปสำหรับนำมาใชใ้ นปริมาณมาก ด้วยเหตุ น้ีทองแดงจึงเปน็ ตัวนำทีใ่ ชก้ ันอยา่ งกวา้ งขวางในระบบไฟฟ้าของรถยนต์ ------------------------------------- ตอนที่ 2 อุปกรณ์กึง่ ตัวนำ SEMICONDUCTOR DEVICES …………………………………………….. 11-5. หลักการพ้นื ฐาน(Fundamental Principles) 1. คุณลักษณะ ในข้อ 11-4 อธิบายว่าธาตุใด ๆ ท่ีวงโคจรนอกสุดของอะตอมมีอิเล็กตรอนน้อยกว่า สี่ ตัวจัดว่าเป็นตัวนำไฟฟ้า และยังกล่าวถึงธาตุที่มีอิเล็กตรอนมากกว่าสี่ตัวในวงโคจรวงนอกสุดของอะตอมเป็น ฉนวนไฟฟ้า ส่วนในตอนน้ีจะกล่าวถึงสารก่ึงตัวนำซ่ึงเป็นสารที่มีอิเล็กตรอนอยู่ส่ีตัวที่วงโคจรนอกสุดของ อะตอม สารกึ่งตัวนำถูกใช้ในอุปกรณ์ไฟฟ้าสมัยใหม่อย่างกว้างขวางและสารกึ่งตัวนำที่เป็นที่นิยมใช้กันมาก ที่สุดคอื ซลิ กิ อน 2. คุณลักษณะของสารกึ่งตัวนำ ธาตุซิลิกอนในสภาพท่ีบริสุทธ์ิไม่เป็นตัวนำหรือฉนวนท่ีดี แต่ด้วย วิธกี ารที่จะกล่าวถึงดงั ต่อไปน้ี กจ็ ะสามารถจดั ปรบั คุณสมบัตทิ เี่ ป็นฉนวนหรอื เป็นตัวนำของซิลิกอนให้เหมาะสม กับความต้องการได้

ห น้ า | 30 วงโคจรวงนอกมอี เิ ลก็ ตรอน 4 ตวั ภาพ 11-4 การยึดเหนี่ยวร่วมกันของอะตอมซิลกิ อน 2.1 เม่ือจำนวนอะตอมของซิลิกอนติดอยู่ด้วยกันในรูปของผลึก(คล้ายผลึกแก้ว) อะตอมเหล่านี้มีพันธะ รว่ มกัน(Covalent Bond) โดยอเิ ล็กตรอนในวงโคจรวงนอกของอะตอมหน่ึงจะใช้วงโคจรรว่ มกันกับอิเลก็ ตรอน ในวงโคจรวงนอกของอีกอะตอมหน่ึง ทำให้มีการใช้วงโคจรวงนอกร่วมกันระหว่างอะตอมทั้งหมด ภาพ 11-4 แสดงให้เห็นว่าการยึดเหน่ียวร่วมกัน ช่วยให้อะตอมแต่ละอะตอมมีอิเล็กตรอนแปดตัวในวงโคจรนอกสุด และทำให้วงจรมีลักษณะท่ีสมบูรณ์ซ่ึงในลักษณะเช่นน้ีก็จะทำให้ ซิลิกอนเป็นฉนวนเพราะวงโคจรของ อเิ ลก็ ตรอนวงนอก มีอิเลก็ ตรอนมากกว่าส่ตี วั 2.2 เมื่อนำสารบางชนิด เช่นฟอสฟอรัสทำปฏิกิริยากับผลึกของซิลิกอน โดยมีการควบคุมปริมาณอย่าง ประณีต สารประกอบที่ได้ก็จะกลายเป็นตัวนำ(ภาพ 11-5) ทั้งนี้เป็นเพราะว่าอะตอมของฟอสฟอรัส ซ่ึงมี อิเลก็ ตรอนห้าตัว จะทำให้เกิดการยึดเหนยี วรว่ มกนั กบั สารซิลกิ อน(ทีม่ ีอเิ ลก็ ตรอนสตี่ ัวในวงโคจรวงนอก) จะ ทำให้เกิดอิเล็กตรอนอิสระหนึ่งตัวต่อโมเลกุลและทำให้สารประกอบน้ันเป็นตัวนำไฟฟ้า กรรมวิธีในการเติม สารเจือปน (Impurities) เพื่อให้เป็นสารกึ่งตัวนำเรียกว่าการเติมหรือการโด๊ป(Doping) สารก่ึงตัวนำใด ๆ ก็ ตามท่ถี กู เติม (Doped) เพอื่ ทำใหม้ อี เิ ลก็ ตรอนอสิ ระจะถกู เรยี กวา่ เป็นสารก่งึ ตวั นำแบบ N อเิ ลก็ ตรอนอสิ ระ ซลิ กิ อน ฟอสฟอรสั ภาพ 11-5 ซิลกิ อนทีเ่ ติมดว้ ยฟอสฟอรัส

ห น้ า | 31 2.3 เม่ือนำโบรอน ซ่ึงมีอิเล็กตรอนสามตัวโคจรอยู่ในวงนอก มาเติมเข้ากับผลึกของซิลิกอน ทำให้ อิเล็กตรอนมีการยดึ เหนี่ยวร่วมกนั เจ็ดตวั ในชั้นนอกสุด และทำให้มีช่องว่างเปิดไวใ้ ห้อเิ ล็กตรอนตวั อน่ื หนึ่งตัวดัง แสดงในภาพ 11-6 ช่องว่างนี้เรียกว่าหลุมหรือโฮล (Hole) และถูกจัดว่ามี คุณสมบัติเป็นประจุบวก ใน ทำนองเดียวกันกบั สารก่งึ ตวั นำแบบ N ทมี่ อี เิ ล็กตรอนเกินอยู่หนึ่งตวั กถ็ กู จัดวา่ มคี ุณสมบตั เิ ปน็ ประจุลบ สารที่ มีหลุมอยู่ในชั้นของอิเล็กตรอนชั้นนอกสุดจะถูกเรียกว่าเป็นสารก่ึงตัวนำแบบ P ในการทำความเข้าใจ คุณลักษณะของสารกึ่งตัวนำแบบ P ให้คิดว่าหลุมเป็นตัวนำพากระแสไฟฟ้าบวก ในลักษณะเดียวกันกับ อเิ ล็กตรอนนำพากระแสไฟฟ้าลบ เมื่ออิเล็กตรอนเคลื่อนผ่านสารกึ่งตัวนำแบบ N หลุมก็จะเคล่ือนจากอะตอม หน่ึงไปสู่อะตอมหน่ึงในสารก่ึงตัวนำแบบ P ซ่ึงการเคลื่อนของหลุมผ่านสารก่ึงตัวนำแบบ P น้ันจะเคล่ือนจาก ข้วั บวกไปยังข้วั ลบ หลมุ หรอื โฮลไดร้ บั อเิ ลก็ ตรอนท่ี เกนิ อยู่ ซลิ กิ อน โบรอน ภาพ 11-6 ซลิ กิ อนเติมดว้ ยโบรอน ด้วยเหตุน้ีการวิเคราะห์ทางจรของสารกึ่งตัวนำแบบ P จึงให้กระแสไหลจากข้ัวบวกไปหาขั้วลบ(เหมือนความ เข้าใจเร่ืองทิศทางกระแสไหลแบบเก่า) ทฤษฎีการเคล่ือนของหลุม(ภาพ1-7) เมื่อแหล่งแรงเคล่ือนไฟฟ้า เช่น แบตเตอรี่ลูกหนึ่งถูกต่อกับสารก่ึงตัวนำแบบ N กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านได้ โดยกระแสไฟฟ้าท่ีไหลผ่านการก่ึง ตวั นำแบบ N จะเป็นการเคลอื่ นด้วยการผลักกันของอเิ ล็กตรอนอิสระ ซ่ึงเป็นไปในลักษณะเดียวกนั กับการไหล ของกระแสไฟฟ้าผา่ นตัวนำทางธรรมชาติเชน่ โลหะทองแดง แต่เมื่อนำแหล่งจ่ายไฟฟ้าท่ีมีแรงเคล่ือนสูงมากพอต่อกับสารก่ึงตัวนำแบบ P กระแสไฟฟ้าก็จะไหลผ่านได้ เหมือนกัน แต่กระแสไฟฟ้าท่ีไหลผ่านสารกึ่งตัวนำแบบ P จะดูเหมือนกับเป็นการไหลของหลุมประจุบวก โดยเมื่อหลุมเคล่ือนไปยังขั้วลบก็จะดูเหมือนว่า อิเล็กตรอนเคลื่อนเข้าสารก่ึงตัวนำแบบ P โดยผ่านออกทางข้ัว ลบเข้าไปเติมหลุมแล้วเคล่ือนต่อจากหลุมหนึ่งไปยังอีกหลุมหน่ึงตรงไปยังขั้วบวกเหมือนกับในสารก่ึงตัวนำแบบ N แต่การเคลื่อนท่ีของอเิ ล็กตรอนผ่านสารก่ึงตัวนำแบบไปยังข้ัวบวกน้ันเป็นการเคล่ือนดว้ ยการดูดของประจทุ ี่ ไมเ่ หมือนกัน การเคล่อื นทข่ี องอเิ ลก็ ตรอน การเคลอ่ื นทข่ี องหลุม ภาพ 11-7 ทฤษฎีการเคลอื่ นของหลุม

ห น้ า | 32 11-6. ไดโอด(Diodes) (ภาพ 11-8) 1. วัตถุประสงค์ ไดโอดเป็นอุปกรณ์ท่ียอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้เพียงทิศทางเดียวโดยอาจ เปรียบเทยี บไดว้ ่าไดโอดเปน็ ลนิ้ ทางเดียวในทางไฟฟ้า 2. โครงสร้าง ไดโอดทำข้ึนด้วยการนำสารก่ึงตัวนำแบบ N กับสารก่ึงตัวนำแบบ P มาประกบติดกัน โดยใหข้ วั้ ลบอยูท่ างดา้ นสาร N สว่ นข้วั บวกอยทู่ างดา้ นสาร P 3. ลกั ษณะการทำงาน เมอ่ื ตดิ ไดโอดในวงจร ทางดา้ นสาร N จะถกู ต่อเข้ากับดา้ นลบของวงจรและ ด้านบวกของวงจรจะตอ่ เข้ากับสาร P ลักษณะการตอ่ เชน่ นเ้ี รียกวา่ Forward Bias และไดโอดจะเป็นตัวนำที่ดี ท้ังนี้เป็นเพราะว่าหลุมประจุบวกในสารแบบ N เคล่ือนไปยังรอยต่อที่มีประจุลบของสารแบบ N เพื่อให้ อเิ ล็กตรอนเคล่ือนข้ามรอยตอ่ และเติมหลุมเหล่าน้แี ล้วเคล่ือนผ่านสารแบบ P ถ้าตอ่ ไดโอดกลับข้ัวการไหลของ กระแสจะถูกปิดก้ันไว้ลักษณะการต่อเช่นนี้เรียกว่า Reverse Bias เมื่อ ไดโอดถูกต่อกลับขั้ว หลุมประจุ บวกจะถูกดูดให้ออกจากรอยต่อไปทางด้านขั้วลบและอิเล็กตรอนอิสระในสารแบบ N ก็จะถูกดูดให้ออกห่าง จากรอยต่อไปทางด้านขั้วบวก เมื่อไม่มีหลุมกับอิเล็กตรอนอยู่ใกล้รอยต่อ อิเล็กตรอนก็ไม่สามารถข้ามรอยต่อ ไปได้ เมอ่ื ต่อไดโอดถูกขวั้ (Forward เมอ่ื ต่อไดโอดกลบั ขวั้ (Reverse Bias)จะมกี ระแสไหล Bias)จะไมม่ กี ระแสไหล ภาพ 11-8 ลกั ษณะการทำงานของไดโอด 11-7. ซีเนอร์ไดโอด (Zener Diodes) (ภาพ 11-9) ไดโอดแบบธรรมดาท่ีอธิบายในข้อ 11-6 เป็นอุปกรณ์ก่ึง ตัวนำที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้เพียงทิศทางเดียว ซีเนอร์ไดโอดเป็นไดโอดแบบพิเศษท่ียอมให้ กระแสไฟฟ้าไหลย้อนได้ เม่ือมีแรงเคล่ือนสูงมากกว่าค่าที่กำหนดไว้ในข้ันตอนการผลิต เช่น ซีเนอร์ไดโอดตัว หน่ึงอาจไม่ยอมให้กระแสไฟฟ้าแรงเคลื่อนต่ำกว่า 6 โวลต์ ไหลผ่าน แต่เมื่อเพ่ิมแรงเคลื่อนไฟฟ้าให้ถึง 6 โวลต์ หรือมากกว่า ไดโอดก็จะยอมให้กระแสไฟฟ้าที่ต่อกลับข้ัว ไหลผ่านทันทีอุปกรณ์นี้จะถูกใช้ในวงจรควบคุม เชน่ เปน็ เคร่ืองควบคมุ แรงเคลือ่ นไฟฟ้า (Voltage Regulators)

ห น้ า | 33 ตวั ตา้ นทาน เมอ่ื ตอ่ ไดโอดถูกขวั้ จะมกี ระแสไหลโดยไมจ่ ำกดั วำ่ จะมแี รงเคล่อื นป้อนวงจรเท่ำใด ตา้ นทเมมากี นอ่ื ตรตะวั ่อแไสดไหโอลดเมกอ่ลื แบั รขงวั้เ(คRลeอ่ื vนeตrs่ำeกวBำ่ia6s)โจวะลไตม์ ตต่ าว้ั นทานกเมรอ่ืะตแสอ่ ไไหดโลอเมดอ่กื มลแบีั รขงวั้เ(คRลeอ่ื vนeสrsงู eกวBำ่ ia6s)โจวะลมตี์ ภาพ 11-9 ลกั ษณะการทำงานของซีเนอร์ไดโอด 11-8 ทรานซสิ เตอร์ (Transistors) 1. กล่าวท่ัวไป (ภาพ 11-10) ทรานซิสเตอร์ในลักษณะท่ีประยุกต์ใช้กับอุปกรณ์ในรถยนต์ ได้แก่ อุปกรณ์ที่ทำหน้าท่ีเป็นสวิตช์ บรรดาสวติ ช์ทรานซิสเตอร์เหล่านีส้ ามารถทำการ เปดิ /ปดิ วงจรไฟฟ้าทมี่ ีกระแส มากโดยควบคุมด้วยกระแสไฟฟ้าน้อย ๆ ได้ท้ังนี้เป็นเพราะว่าทรานซิสเตอร์เป็นอุปกรณ์ทำงานทางไฟฟ้า จึงมี อายุการใช้งานท่ยี าวนานกว่ารเี ลย์แม่เหล็กไฟฟ้า ทเี่ ป็นเชน่ นี้กเ็ พราะทรานซิสเตอร์ไม่มหี น้าสมั ผัสที่อาจไหม้ได้ อุปกรณ์ไฟฟ้าในรถยนต์ท่ีประยุกต์การใช้ประโยชน์จากทรานซิสเตอร์ ได้แก่ระบบจุดระเบิดด้วยไฟฟ้า และ เครอื่ งควบคมุ แรงเคล่ือนไฟฟา้ เป็นต้น สญั ลกั ษณ์ของทรานซสิ เตอร์ ภาพ 11-10 ทรานซิสเตอร์แบบตา่ ง ๆ

ห น้ า | 34 โหลดมกี ระแสไหลมาก โหลดมกี ระแสไหลมาก สวติ ช์ สวติ ช์ สญั ญาณมี สญั ญาณมี กระแสน้อย กระแสน้อย เมอ่ื ปิดสวติ ชไ์ ม่มกี ระแสไหล E - อมี ติ เตอร์ เมอ่ื เปิดสวติ ชม์ กี ระแสไหล C - คอลเลคเตอร์ B - เบส โหลดมกี ระแสไหลมาก สวติ ช์ สวติ ช์ สญั ญาณมี กระแสน้อย ภาพ 11-11 ลักษณะการทำงานของทรานซิสเตอร์ เมอ่ื ปิดสวติ ชไ์ มม่ กี ระแสไหล เมอ่ื เปิดสวติ ช์ กระแสทเ่ี บสจะทาใหม้ ี กระแสไหลจากคอลเลคเตอรไ์ ปยงั อมี ติ เตอร์ 2. ทรานซิสเตอร์ PNP (ภาพ 11-11) ทรานซิสเตอร์ PNP เป็นทรานซิสเตอร์ท่ีมีพบเห็นกันมากที่สุดใน อปุ กรณ์ไฟฟ้าของรถยนต์ เป็นทรานซสิ เตอร์ที่ทำข้นึ โดยการประกบสองดา้ นของสารกงึ่ ตัวนำ แบบ N ด้วยสารก่ึงตัวนำแบบ P ประจุบวกอยู่ทางด้านหนึ่งของสารแบบ P และเรียกด้านนี้ว่าอีมิตเตอร์ (Emitter) ส่วนสารแบบ P อีกด้านหน่ึงจะต่อกับอุปกรณ์ไฟฟ้าส่วนน้ีเรียกว่าคอลเลคเตอร์ (Collector อีก ส่วนหนึ่งคือส่วนทีอ่ ย่ตู รงกลางเป็นสารแบบ N และเรียกวา่ เบส (Base) เม่อื จา่ ยไฟฟา้ ประจลุ บท่ีมกี ระแสตำ่ ให้ เบสก็จะทำให้กระแสไฟฟา้ ปริมาณมากไหลผ่านระหวา่ งอีมิตเตอร์ กับคอลเลคเตอร์ได้ เม่ือปิดกระแสไฟฟ้าเข้า เบส กระแสไฟฟา้ ทไี่ หลจากอมี ติ เตอรไ์ ปคอลเลคเตอรก์ ็จะถกู กั้นไว้ใหห้ ยุดดว้ ย 3. ทรานซิสเตอร์แบบ NPN (ภาพ 11-11) ทรานซิสเตอร์แบบ NPN คล้ายกันกับทรานซิสเตอร์แบบ PNP โดยมีข้อแตกต่างอยู่ที่ทรานซิสเตอร์แบบน้ีจะถูกใช้ทางด้านลบของวงจรตามลักษณะช่ือที่เรียก ทรานซิสเตอร์แบบ NPN ถูกทำข้ึนจากสารแบบ N สองส่วน(คอลเลคเตอร์กับอีมิตเตอร์)กับสารแบบ P หนึ่ง ส่วน(เบส) ท่ีถูกประกบอยู่ตรงกลาง เม่ือป้อนไฟฟ้าประจุบวกท่ีมีกระแสต่ำเข้าท่ีเบส ทรานซิสเตอร์แบบ NPN จะยอมใหไ้ ฟฟา้ ประจลุ บกระแสมากไหลผา่ น คอลเลคเตอรไ์ ป ยงั อีมติ เตอร์ได้ ------------------------------

ห น้ า | 35 ตอนที่ 3 การวัดทางไฟฟ้า ELECTRICAL MEASUREMENTS ..................................................... 11-9. แอมแปร์ (กระแส) และแรงเคลือ่ น (Amperage(Current) And Voltage) 1. แอมแปร์ ปริมาณการไหลของกระแสไฟฟ้าหรือปริมาณการไหลของอิเล็กตรอนมีหน่วยวัดเป็น แอมแปร์ โดยท่ัวไปแล้วมักจะเข้าใจว่ากระแสไฟฟ้าหนึ่งแอมแปร์เป็นกระแสที่มีปริมาณน้อย(เท่ากับท่ีใช้ สำหรับหลอดไฟ 100 วัตตโ์ ดยประมาณ) แตแ่ ท้ท่ีจริงแล้วเป็นการไหลของอิเล็กตรอนดว้ ยปริมาณมหาศาลคือ 1 แอมแปรเ์ ทา่ กบั ปรมิ าณการไหลของอิเล็กตรอนมากกวา่ 6 ลา้ นล้านตัวภายใน 1 วินาที 2. แรงเคล่ือน การไหลของอิเล็กตรอนเกิดจากความแตกต่างความสมดุลของอิเล็กตรอนในวงจร ซึ่ง หมายความว่าเมื่อส่วนหนึ่งในวงจรมีอิเล็กตรอนอยู่มากกว่าอีกส่วนหนึ่งอิเล็กตรอนก็จะเคล่ือนออกจากบริเวณ ที่มีอิเล็กตรอนอยู่มากไปยังบริเวณท่ีขาดอิเล็กตรอนความแตกต่างของความหนาแน่นของอิเล็กตรอน เรียกว่า ความตา่ งศกั ย์ (Potential Difference) หรือแรงเคล่อื น (Voltage) แรงเคลื่อนท่ีสงู กวา่ หมายถงึ สภาพความ ไม่สมดุลของอิเล็กตรอนมีมากกว่า ความไม่สมดุลกันนี้ยิ่งมีมากเท่าใดก็จะทำให้อิเล็กตรอนมีแรงผลักดันกัน มาก(มีอเิ ล็กตรอนปริมาณมากกวา่ ดนั กัน) และจะทำให้มีการไหลของกระแสในปริมาณมากในวงจรด้วย ดังเชน่ เมื่อมีอิเล็กตรอนอยู่มากท่ีข้ัวลบของเคร่ืองกำเนิดไฟฟ้า(ขณะท่ีข้ัวบวกขาดอิเล็กตรอนในปริมาณท่ีเท่ากัน อิเล็กตรอนจึงมีแรงผลักดันระหว่างกันมาก และในที่สุดอิเล็กตรอนจำนวนมากก็จะเคลื่อนไปตามสายไฟที่เป็น ตัวนำไปยังข้ัวบวกในลักษณะเช่นนี้สามารถกล่าวได้ว่า เมื่อมีแรงเคล่ือนสูงกว่าจะทำให้มีการไหลของ กระแสไฟฟา้ ในปริมาณทมี่ ากกว่า โดยมีส่วนประกอบอ่ืนเชน่ ความตา้ นทาน(ข้อ 11-10) คงท่ี 11-10. ความต้านทาน (Resistance) 1. แม้ว่าสายลวดทองแดงจะนำไฟฟ้าไดค้ ่อนข้างงา่ ย แต่สายลวดทองแดงก็ยังมคี วามตา้ นทานตอ่ การ ไหลของอิเล็กตรอนความตา้ นทานนี้ เกดิ จากความต้องการใชพ้ ลงั งานในการทำใหอ้ ิเลก็ ตรอนอิสระหลุดออกวง โคจรช้ันนอกของอะตอมและการชนกันของอะตอมของตัวนำกับอิเล็กตรอนอิสระ ดังน้ันจะต้องใช้แรง (หรือ แรงเคลื่อน) เพ่ือเอาชนะความต้านทานต่อการไหลของอิเล็กตรอนความต้านทานมีหน่วยวัดเป็นโอห์ม ความ ต้านทานของตัวนำขึ้นอยู่กับความยาว, พ้ืนที่หน้าตัด, ชนิดของวัสดุที่ใช้ทำตัวนำ และอุณหภูมิของ เสน้ ลวดตวั นำ 2. เส้นลวดยาวเส้นหนึ่งจะมีความต้านทานมากกว่าเส้นลวดส้ันที่มีพ้ืนที่หน้าตัดเท่ากัน ทั้งนี้เป็น เพราะวา่ อิเล็กตรอนมีระยะทางทต่ี อ้ งไหลมากกว่า 3. ธาตุบางอย่างสามารถปลดปล่อยอิเล็กตรอนง่ายกว่าธาตุอ่ืน ทองแดงปล่อยอิเล็กตรอนได้ง่าย ดังน้ันทองแดงจึงมีอิเล็กตรอนอิสระมากกว่า ธาตุอ่ืน ๆ เช่นเหล็ก ซ่ึงไม่ปล่อยอิเล็กตรอนให้เป็นอิสระได้ง่าย ดังนั้นลวดเหล็กจึงมีอิเล็กตรอนอิสระน้อย(โดยเปรียบเทียบกับลวดทองแดงขนาดเดียวกัน) และเนื่องจากมี อเิ ลก็ ตรอนอิสระน้อย จึงมีอเิ ล็กตรอนไม่มากท่ีสามารถผลักดันให้เคล่อื นผา่ นเส้นลวดเหลก็ ดงั นน้ั ลวดเหล็กจึงมี ความตา้ นทานมากกว่าลวดทองแดง 4. เส้นลวดขนาดเล็ก(ความหนาหรือพ้ืนที่หน้าตัดน้อย) มีความต้านทานมากกว่าเส้นลวดที่มีขนาด ใหญ่กับในเส้นลวดขนาดเล็ก อีเล็คตรอนอสิ ระไม่มาก (เพราะมีอะตอมไม่มาก) ดังน้ันจึงสามารถดนั อเิ ล็กตรอน ผ่านไปไดน้ ้อย 5. โลหะส่วนใหญ่มีความต้านทานสูงข้ึนเมื่ออุณหภูมิสูงข้ึน ในขณะท่ีอโลหะส่วนใหญ่มีความต้านทาน ลดลงเม่ืออุณหภูมิสูงข้ึน เช่น แก้ว (อโลหะ) เป็นฉนวนที่ดีท่ีอุณหภูมิห้อง แต่จะเป็นฉนวนที่เลวเมื่อเผาให้ร้อน จดั จนเป็นสแี ดง 11-11. กฎของโอหม์ (Ohm's Law)

ห น้ า | 36 1. แรงเคลือ่ น, กระแส และความตา้ นทาน (ข้อ 11-9 และ 11-10) มีความสัมพันธร์ ะหว่างกนั เรียกวา่ กฎของโอห์ม ซึ่งเป็นการเรียกเพ่ือให้เกียรติแก่ George Simon Ohm นักวิทยาศาสตร์ผู้ท่ีต้ังกฎความสัมพันธ์ ระหว่างสามส่ิงนี้ กฎของโอห์มกล่าวว่า แรงเคลื่อนเท่ากับกระแสคูณกับความต้านทาน หรือเขียนเป็นสูตรได้ ดังนี้. E = I x R ในเมื่อ E คือ แรงเคล่ือน มีหน่วยเป็นโวลต์, I คือ กระแส มีหน่วยเป็นแอมแปร์ และ R คือ ความต้านทาน มีหน่วยเปน็ โอห์ม ในการคำนวณตามสูตรจากกฎของโอห์ม ก็สามารถกล่าวได้สามลักษณะ ดังนี้ 1.1 ในการหาแรงเคลื่อน : E = I x R 1.2 ในการหากระแส : I = E/R 1.3 ในการหาความตา้ นทาน : R = E/I 2. สตู รนมี้ คี วามสำคญั ท่ีต้องจำไว้ใหไ้ ด้ เพราะจะช่วยให้เขา้ ใจปรากฏการณอ์ กี หลายอย่างทีเ่ กิดข้นึ ใน วงจรไฟฟา้ ยกตัวอยา่ งเช่น ถ้าหากแรงเคล่ือนคงท่ี ความตา้ นทานเพ่ิมสงู ขึน้ กระแสกจ็ ะลดลง ตัวอย่างทก่ี ล่าว มานี้อาจเป็นวงจรให้แสงสว่างในรถยนตบ์ รรทุกคันหนึง่ ที่เกดิ ขัดข้องขึ้น โดยอาจ เป็นเพราะสายไฟท่ีต่อจากแบตเตอร่ีมายังหลอดไฟเกิดบกพร่องอันเนื่องมากจากขั้วต่อสายไฟไม่ดีสายไฟขาด , หน้าสมั ผสั ของสวติ ช์สกปรก หรือปญั หาอืน่ ๆ ในลกั ษณะเดียวกัน สภาพดังกล่าวทัง้ สามอยา่ งนลี้ ดช่องทางเดนิ ของอิเล็กตรอน หรือกล่าวอีกนัยหน่ึงว่ามีความต้านทานสูง เมื่อมีความต้านทานสูงกระแสก็จะไหลน้อยแรง เคลื่อนของแบตเตอร่ีจะอยู่คงที่(เช่น 12 โวลต์) ความต้านทานของวงจรเมื่อใหม่อยู่(รวมความต้านทานของ หลอดไฟ) คือ 6 โอห์ม และกระแสจะไหลผ่านได้ 2 แอมแปร์ เพ่ือทำให้ค่า 12 (โวลต์) เท่ากับ 12 (กระแส คูณกับความต้านทาน) แต่ถ้ามีความต้านทานข้ึนสูงถึง 8 โอห์ม ก็จะมีกระแสไหลได้เพียง 1.5 แอมแปร์ การ เพิม่ ของความตา้ นทานจึงลดการไหลของกระแส และผลกค็ อื ลดความสวา่ งของแสงลงด้วย 3. ปัญหาข้อขัดข้องส่วนใหญ่ที่เกิดกับระบบไฟฟ้าส่วนของยานยนต์ มีสาเหตุมาจากความต้านทาน เพ่ิมสูงขึ้นอันเน่ืองมาจากข้อต่อสายไฟไม่แน่น, สายไฟผุกร่อน, หน้าสัมผัสของสวิตช์สกปรก หรือไหม้หรือ ปัญหาอื่น ๆ ในลักษณะเดียวกัน ในสภาพใดสภาพหน่ึงท่ีกล่าวมานี้ความต้านทานในวงจรจะสูงมากข้ึนและทำ ใหก้ ระแสไหลผา่ นวงจรน้อยลง หน้าสัมผัส(หนา้ ทองขาว) ในวงจรจดุ ระเบดิ ท่ี สกปรกจะลดกระแสท่ีไหลผ่านและทำให้ประกายไฟจุดระเบิดที่หัวเทียนอ่อนลง ทำให้การเผาไหม้ของ เคร่ืองยนต์ไมด่ แี ละกำลังเครื่องยนตต์ กได้ 4. ถ้าความต้านทานคงที่แต่แรงเคลื่อนเพิ่มขึ้น กระแสก็จะเพ่ิมข้ึนด้วย สภาพเช่นนี้อาจเกิดขึ้นถ้า เคร่ืองควบคุมแรงเคลื่อนของเคร่ืองกำเนิดไฟฟ้าบกพร่อง ในกรณีเช่นนี้ จะไม่มีอะไรควบคุมให้ค่าแรงเคลื่อนคงอยู่ในขีดจำกัด และแรงเคล่ือน ภาพ 11-12 วงจรไฟฟ้าพน้ื ฐาน หลอดไฟ อาจสูงข้ึนมากเกินไป และอาจทำให้กระแสไหลผ่านวงจรมากเกินไปจน ทำให้เกิดความเสียหายอย่างมากได้ตัวอย่างเช่นถ้ากระแสไหลผ่านไส้ ของหลอดไฟฟ้ามากเกินไป ไส้หลอดไฟฟ้าก็จะร้อนจัดจนขาดและ อุปกรณ์ไฟฟา้ อืน่ ๆ กอ็ าจไดร้ บั ความเสยี หายได้ สวติ ช์ 5. ในทางตรงกันข้าม ถ้าแรงเคล่ือนลดลงและความต้านทานยังอยู่คงท่ี ปริมาณของกระแสที่ไหลในวงจรก็จะลดลงด้วย ตัวอย่างเช่น เม่ือแบตเตอร่ีมีประจุไฟน้อยแรงเคลื่อนของ แบตเตอร่ีจะลดลงอย่างมากเมื่อต้องจ่ายกระแสไฟฟ้าในปริมาณมาก เช่นขณะท่ีพยายามจะหมุนเคร่ืองยนต์ ดว้ ยแบตเตอร่ที ่มี ีประจไุ ฟฟ้าน้อยแรงเคลื่อนก็จะลดต่ำลงมาก โดยแรงเคลือ่ นจะตำ่ ลงมากจนไม่มีแรงผลักดันให้ กระแสไหลผ่านมอเตอร์หมุนเครอื่ งยนตไ์ ดม้ ากพอสำหรับทำใหเ้ กดิ กำลงั ในการหมุนเคร่อื งยนต์ได้ 11-12. ลักษณะของวงจรไฟฟา้ (Circuit Configurations)

ห น้ า | 37 1. กล่าวทั่วไป (ภาพ 11-12) วงจรไฟฟ้าพื้นฐานประกอบด้วยแหล่งจ่ายกำลัง, หน่วยทำงานหรือโหลด และสายไฟท่ีใช้ต่อระหวา่ งวงจร ถ้าต้องมกี ารควบคมุ หนว่ ยทำงานกจ็ ะมีสวิตช์ต่อเพ่ิมเข้ามาในวงจรด้วย 2. วงจรไฟฟ้ารถยนต์ (ภาพ 11-13) ตัวถังและแคร่รถทำด้วยเหล็กกล้าซึ่งสามารถช่วยให้ลดสายไฟใน วงจรไฟฟา้ รถยนตไ์ ด้เสน้ หน่งึ ดว้ ยการตอ่ ข้ัวแบตเตอรีเ่ ขา้ กับตวั ถงั และแครร่ ถ แหล่งจา่ ยกาลงั ส่วนประกอบท่ีเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้า ก็สามารถต่อด้านหนึ่งกับ แบตเตอรี่ด้วยสายไฟ และอีกด้านหน่ึงต่อเข้ากับ ตัวถังรถ การต่อขั้วหน่ึงของแบตเตอร่ีกับตัวถังรถเรียกว่าต่อลงดินหรือต่อลงกราวด์ ในปัจจุบันโรงงานผู้ผลิต รถยนต์ทั้งหมดต่อวงจรให้ด้านขั้วลบของแบตเตอร่ีลงกราวด์ ซ่ึงเรียกว่าระบบไฟฟ้าแบบนี้ว่า ลบลงกราวด์ ส่วนรถยนต์ที่ใชร้ ะบบไฟฟา้ แบบบวกลงกราวด์ ในปัจจุบนั คงไมม่ ีให้เหน็ แลว้ 1. โคมไฟใหญ่ 7. สวติ ชเ์ ลอื ก ลำแสงไฟใหญ่ 2. แบตเตอร่ี 8. ไฟพรำง ขบั 3. ไฟพรำงและไฟทำ้ ย 9. ไฟพรำงทำ้ ยรถ 4. เตำ้ ตอ่ สำยไฟรถพว่ ง ภาพ 11-13 วงจรไฟฟ้ารถยนตท์ วั่ ไป 10. แผงเครอ่ื งวดั และเครอ่ื ง ควบคมุ 5. ไ3ฟ.พรวำงงจทรำ้ อย,นไุกฟรทมำ้ ย(ภแลาะพไฟ1ห1ำ้-1ม4ล,อ้ A) วงจรอน1ุก1ร. มป่ปุมรแะตกรอบด้วยความต้านทาน(ส่วนท่ีทำงานด้วยไฟฟ้า) สองห6น. ่วสยวหติ ชรือร์ ะมบาบกแกสวงา่ สทว่ีตำงอ่ เป็นลำดบั ต่อเน่ืองกันเพือ่ ใหก้ ระแสไฟฟ้าไ1ห2ล.ใแนตวรงจรผ่านทุกหน่วย วงจรอนุกรมมี คณุ ลักษณะที่สำคญั ดงั นี้ 3.1 หากมรี อยขาดในวงจร(เช่นหลอดไฟขาด) จะทำให้วงจรทง้ั หมดไมท่ ำงาน 3.2 กระแสคงทต่ี ลอดวงจร 3.3 ความตา้ นทานรวมของวงจรเทา่ กบั ผลรวมของความต้านทานแต่ละตวั 3.4 แรงเคลอื่ นของวงจรเท่ากับผลรวมของแรงเคล่อื นตกคร่อมของแต่ละสว่ น 4. วงจรขนาน (ภาพ 11-14, B) วงจรขนานประกอบด้วยความต้านทานสองหน่วยหรือมากกว่า ที่ ต่อแยกสาขากัน แต่ละส่วนในวงจรขนานได้รับแรงเคลื่อนเต็มที่จากแหล่งจ่าย วงจรขนานมีคุณลักษณะที่ สำคัญดงั น้ี

ห น้ า | 38 4.1 ความตา้ นทานรวมของวงจรจะนอ้ ยกว่าความต้านทานแต่ละตวั เสมอ 4.2 เม่ือมีการปลดออกหรือเกิดการไหม้ในแต่ละส่วนในวงจร จะไม่มีผลกระทบตอ่ การทำงานของส่วน อืน่ 4.3 กระแสจะแบ่งการไหลผ่านไปยังสาขาต่าง ๆ ตามความต้านทานของแต่ละส่วนผลรวม ของกระแสท่ไี หลผา่ นแต่ละสว่ นจะเทา่ กบั ความตา้ นทานรวมของวงจร 4.4 แรงเคลอ่ื นจะคงทที่ ง้ั วงจรเมอ่ื วดั ครอ่ มแตล่ ะสว่ น 5. วงจรอนุกรม-ขนาน (ภาพ 11-14, C) วงจรอนุกรม-ขนาน เป็นการรวมของวงจรท้ังสองแบบ วงจรแบบนตี้ อ้ งมีความตา้ นทานอยา่ งนอ้ ยสามหนว่ ย วงจรอนุกรม-ขนาน มคี ุณลกั ษณะสำคัญดังนี้ 5.1 แรงเคลื่อนรวมของวงจรจะเท่ากับผลรวมของแรงเคลื่อนตกคร่อมรวมของวงจรขนาน รวมกับแรง เคล่ือนตกคร่อมของแต่ละสว่ นท่เี ป็นวงจรอนกุ รม 5.2 ความต้านทานรวม จะเท่ากบั ผลบวกของความต้านทานรวมของวงจรขนาน กบั ความตา้ นทานแต่ละ หน่วยในส่วนทเ่ี ป็นวงจรอนุกรม 5.3 กระแสทไ่ี หลผ่านวงจรขนานโดยสว่ นรวมจะเทา่ กับกระแสท่ีไหลผ่านแต่ละส่วนทีเ่ ปน็ วงจรอนกุ รม 5.4 การปลดให้แยกออกจากกัน หรือการไหม้ที่ส่วนของวงจรอนุกรมจะทำให้วงจรท้ังหมดไม่ทำงาน ในขณะทหี่ ากมีปลดออกหรอื ไหมท้ ี่วงจรขนาน วงจรทเ่ี หลอื อยยู่ ังทำงานได้ A.วงจรอนุกรม B.วงจรขนาน C.วงจรอนุกรม- ขนาน ภาพ 11-14 ลักษณะวงจรแบบตา่ ง ๆ ตอนท่ี 4 แม่เหล็ก MAGNETS 11-13. สนามแมเ่ หล็ก (Magnet Field) 1. กล่าวทัว่ ไป ดงั ทไ่ี ดก้ ล่าวมาแลว้ ในข้อ 11-9 วา่ กระแสไฟฟา้ เป็นการไหลของอิเล็กตรอนและความ ไม่สมดุลของอิเล็กตรอนในวงจร(ที่ทำให้มีการไหลของอิเล็กตรอน) เรียกว่าแรงเคล่ือนเน้ือหาดังต่อไปนี้จะ อธิบายเก่ียวกับแม่เหล็กที่มีส่วนสำคัญท่ีทำให้เครื่องกำเนิดไฟฟ้าทำให้อิเล็กตรอนไปรวมกันอยู่ที่ขั้วลบและ เคลอ่ื นอิเลก็ ตรอนออกจากขว้ั บวก ภาพ 11-15 เส้นแรงแม่เหลก็

ห น้ า | 39 2. เสน้ แรงแม่เหล็ก ถ้าโรยผงตะไบเหลก็ ลง บนแผน่ กระจก ซึง่ วางอยูบ่ นแม่เหลก็ แท่งหนึ่ง ผงตะไบเหลก็ จะถกู จดั ระเบยี บเปน็ เส้นโค้ง หลายเส้น(ภาพ 11-15) เส้นโคง้ เหลา่ น้ีทอด ยาวออกจากขั้วทั้งสองของแม่เหล็ก(เหนือและใต้) ภาพ 11-16 เหล็กแบบแท่ง ตรงตามเสน้ แรงแม่เหลก็ ทีอ่ ยูร่ อบๆ แท่งแมเ่ หล็ก และแบบแทง่ เกือกมา้ นกั วิทยาศาสตร์ได้เขียนกฎเสน้ แรงแมเ่ หล็กไวด้ งั น้ี 2.1 เส้นแรงแม่เหล็ก(ภายนอกแท่งแม่เหล็ก)แพรอ่ อกจากขวั้ เหนอื ไปยงั ขว้ั ใต้ของแท่งแมเ่ หลก็ 2.2 เส้นแรงแมเ่ หลก็ มคี ณุ ลักษณะเหมือนเส้นยางรัดของท่พี ยายามลดั ทางเดนิ ใหส้ ้ันท่ีสดุ 2.3 เส้นแรงแมเ่ หล็กต่างผลกั กนั ตลอดความยาว และพยายามดันใหอ้ ยู่ห่างจากกัน 2.4 คณุ ลกั ษณะที่เหมือนเส้นยางรัดของ จะต้านกับคณุ ลักษณะดันให้ห่างจากกนั 2.5 แนวเสน้ แรงแมเ่ หลก็ จะไมต่ ดั กนั 2.6 เสน้ แรงแมเ่ หลก็ ทีร่ วมกนั เรียกว่าสนามแมเ่ หลก็ 3. แท่งแม่เหล็กแบบแท่งตรงและแบบเกือกม้า ภาพ 11-16 แสดงเส้นแรงแม่เหล็กของแม่ เหล็ก แบบแทง่ ตรงกับแบบเกอื กม้า ใหส้ งั เกตดูแนวโค้งของเสน้ แรงและผ่านจากขัว้ เหนือไปยงั ขว้ั ใต้ 4. ผลกระทบระหวา่ งขว้ั แมเ่ หลก็ (ภาพ 11-17) เมอ่ื นำข้วั แม่เหล็กสองอนั ทีไ่ ม่เหมือนกันมาเข้าใกลก้ ัน ทงั้ สองข้ัวจะดูดกัน แตเ่ มื่อนำขั้วแม่เหล็กสองอันท่ีเหมือนกันมาเข้าใกล้กัน ท้ังสองขั้วจะผลักกัน ลกั ษณะเช่นน้ี สามารถอธิบายได้จากคุณลักษณะที่เหมือนเส้นยางรัดของและคุณลักษณะท่ีผลักออกจากกัน เม่ือนำขั้วท่ีไม่ เหมือนกันเข้าใกล้กัน เส้นแรงแม่เหล็กผ่านจากขั้วเหนือไปยังขั้วใต้ เส้นแรงเหล่านี้พยายามเดินทางให้สั้น (เหมือนวงยางหดตัว) และพยายามดึงสองข้ัวเข้าหากัน ในทางกลับกันถ้าขั้วเหมือนกันถูกนำเข้าใกล้กัน เส้น แรงแม่เหล็กที่มีทิศทางไปในทางเดียวกันก็ถูกนำมาเข้าใกล้กัน และเนื่องจากเส้นแรงพยายามดันให้ห่างจากกัน ทำใหเ้ กดิ การผลกั กันระหว่างข้วั ท่เี หมือนกนั ภาพ 11-17 ผลกระทบระหวา่ งขว้ั แม่เหลก็ 11-14. แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า (Electromagnetism) 1. ป ก ติ ก ระแ ส ไฟ ฟ้ า (ก ระแ ส ก ารไห ล ข อ ง อิเล็กตรอน)ทำให้เกิดสนามแม่เหล็ก ภาพ 11-18 แสดงให้ เหน็ วา่ เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านเสน้ ลวด จะมีสนามแมเ่ หล็ก เป็นวงกลมรอบเสน้ ลวด เสน้ แรงแมเ่ หลก็ เหล่าน้ี เปน็ ผลจาก การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนไปตามเส้นลวด เม่ืออิเล็กตรอน เคลื่อนก็จะส่งเส้นแรงแม่เหล็กออก และเมื่ออิเล็กตรอน จ ำน วน ม าก เค ลื่ อ น ก็ จ ะมี เส้ น แ รงแ ม่ เห ล็ ก ม าก (สนามแม่เหล็กเข้ม) อิเล็กตรอนจำนวนน้อยเคล่ือนที่ก็มี สนามแม่เหลก็ ออ่ น หรือมีเส้นแรงแม่เหล็กไมม่ าก 2. การเคล่ือนที่ของอิเล็กตรอน สามารถอธิบายได้ ด้วยการเปรียบเทียบกับโครงสร้างภายในของแท่งแม่เหล็ก ภำพ 11-18 แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า

ห น้ า | 40 แบบแท่งตรงและแบบแท่งเกือกมา้ ทอี่ ะตอมของเหลก็ ถูกเรียงให้เป็นแนวเดียวกันในแท่งแม่เหล็ก และ อิเล็กตรอนในอะตอมก็โคจรรอบนิวเคลียสในทิศทางเดียวกัน เม่ืออิเล็กตรอนเคลื่อนในทิศทางเดียวกัน เส้น แรงแม่เหล็กแตล่ ะเส้นรวมกนั ทำใหเ้ กดิ สนามแมเ่ หลก็ 3. ภาพ 11-19 แสดงให้เห็นสนามแม่เหล็กท่ีเกิดจากการไหลของกระแสไฟฟ้าในขดลวดวงกลมขด เดยี ว ซง่ึ เส้นแรงแมเ่ หล็กก็จะวนอย่รู อบเสน้ ลวดและตอ้ งเกิดตามลกั ษณะการ โค้งของขดลวด ถา้ ขดลวดมสี องรอบ เสน้ แรงแมเ่ หลก็ ก็จะวนรอบ ขดลวดสองขดน้ันด้วย ตรงบริเวณระหว่างขดลวดท่ีติดกัน น้ัน ทิศทางของเส้นแรงแม่เหล็กจะต้องสวนกัน ในกรณี เช่นน้ีเส้นแรงแม่เหล็กก็จะผลักกันด้วยแรงที่เท่ากัน(เพราะ เกิดจากการไหลของกระแสไฟฟ้าเดียวกัน) ดังนั้นเส้นแรง แม่เหล็กก็จะวนรอบขดลวดสองขดเหมือนกับเป็นขดเดียว และทำให้เส้นแรงแม่เหล็กท่ีมีความเข้มเป็นสองเท่าเพราะ เกิดจากการรวมกันของเสน้ แรงแม่เหล็กจากขดลวดสองขด ภาพ 11-19 แม่เหล็กไฟฟา้ ของขดลวดขดเดียว 4. เมื่อม้วนลวดหลายขด จนมีลักษณะ ที่เรยี กวา่ คอยล์ดังแสดงในภาพ 11-20 เส้นแรงแม่เหล็กของ แม่เหล็กของขดลวดท้ังหมดรวมกัน จนมีลักษณะเหมือนเส้นแรงแม่เหล็ก รอบแท่งแม่เหล็กแบบแท่งตรง คอยลแ์ บบน้เี รียกวา่ แม่เหลก็ ไฟฟา้ หรือโซลนิ อยด์แม่เหล็กไฟฟ้า สามารถทำเป็นรูปรา่ งได้ หลายลักษณะ ขดฟิลดค์ อยล์ของเคร่ืองกำเนิดไฟฟ้า และทุ่นอาเมเจอรข์ องมอเตอร์ กเ็ ป็นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ให้ อำนาจแม่เหลก็ ด้วยไฟฟา้ ซง่ึ จะมีอธิบายอยใู่ นขอ้ 11-15 5. เราสามารถทราบข้ัวเหนือของแม่เหล็กไฟฟ้าได้ ถ้ารู้ทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้า(จากข้ัวลบไป ข้ัวบวก) ด้วยการใช้กฎมือซ้าย(ภาพ 11-21) โดยเอามือซ้ายกำรอบขดลวดให้นิ้วมือท้ังสี่ชี้ไปในทิศทางการไหล ของกระแสไฟฟ้า นิ้วหัวแม่มือจะชี้ไปทาง ขั้วเหนือของแม่เหล็กไฟฟ้า กฎมอื ซ้ายอาศัยหลักทีว่ ่า กระแสไฟฟ้า หรอื การไหลของแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ในขดลวดอิเลก็ ตรอนออกจากขัว้ ลบไปยังข้วั บวก น้วิ มอื ชไ้ี ปตามทศิ ทางการไหลของกระแสไฟฟ้า 6. กฎมือซ้ายยังสามารถใช้ในการบอกทิศ ทางเส้น Sใต้ แม่เหล็กที่วนรอบเส้นลวด ในขณะที่มีกระแสไฟฟ้าไหล ผ่านได้ดว้ ยถ้ารู้ทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้า โดยเอา มือซ้ายกำรอบเส้นลวด ให้นิ้วหัวแม่มือชี้ไปตามทิศทางที่ กระแสไฟฟ้า ไหล(ข้ัวลบไปยังข้ัวบวก) นิ้วท้ังสี่ท่ีเหลือ เNหนือ จะช้ที ิศทางของเสน้ แรงแมเ่ หล็กทีว่ นรอบเสน้ ลวด น้วิ หวั แมม่ อื ชไ้ี ปทางขวั้ เหนือ เหล็กจะน7ำ.เภคสาว้นพาแมร1เ1งข-แ2้มม1ขเ่กหอฎลงมแก็ อืมไซด่เาห้้งย่าลย็กกไวฟ่าฟอ้าาสกาามศาลรักถษเพณิ่มะใทหี่ย้มอามกใขหึ้นเ้ สกน้ารแพรงันแขมด่เลหวลดก็ รผอา่ บนไแดทง้ ่ง่าแยกเรนียเกหวลา่ ็กควาแมทซา่งบแกซนึม (Permeability) เหล็กเหนียว(Wrought Iron) มีความซาบซึมมากกว่าอากาศ3,000 เท่า หรือกล่าวอีกนัย หน่ึงได้ว่าเหล็กเหนียวยอมให้มีเส้นแรงแม่เหล็กผ่านได้มากกว่าอากาศถึง 3,000 เท่า เนื่องจากมีการเพิ่มของ เส้นแรงได้จำนวนมากเชน่ นี้ความเข้มของสนามแมเ่ หลก็ จงึ เพ่ิมขน้ึ มากแมว้ ่ากระแสไฟฟา้ ท่ไี หลผ่านจะไม่เพม่ิ ข้ึน ก็ตาม ในทางปฏบิ ตั แิ ล้วแมเ่ หล็กไฟฟ้าท้งั หมดจะใช้แกนเหลก็ 11-15. การเหนีย่ วนำแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ (Electromagnetic Induction) 1. กระแสไฟฟา้ สามารถถกู เหน่ียวนำใหเ้ กิดข้ึนได้ ถา้ เส้นลวดตวั นำเคลื่อนผา่ นสนามแม่เหลก็

ห น้ า | 41 ภาพ 11-22 เส้นลวดเคลื่อนลงผ่านสนามแม่เหล็กระหว่างแม่เหล็กสองขั้ว เมื่อเส้นลวดเคลื่อนลงตัดเส้นแรง แม่เหล็กทำให้กระแสไฟฟ้าไหลในเส้นลวด ที่เกิดเช่นน้ีได้ก็เพราะเส้นแรงแม่เหล็กต่อต้านการเคล่ือนที่ตัดของ เส้นลวดและจะวนรอบเส้นลวดดังแสดงในภาพ เม่ือเส้นแรงวนรอบเส้นลวดกระแสไฟฟ้าก็จะถูกเหนี่ยวนำให้ ไหลผ่านเส้นลวด การเคล่ือนท่ีของเส้นลวดผ่านสนามแม่เหล็กทำให้มีอำนาจแม่เหล็กรอบเส้นลวด ซ่ึงจะดันให้ อิเลก็ ตรอนให้เคล่ือนไปตามเสน้ ลวด 2. ถา้ เส้นลวดถูกยดึ ให้อยูก่ ับทแี่ ลว้ เคลอื่ นสนามแม่เหล็ก ก็จะได้ผลในลกั ษณะเดียวกันคือกระแสไฟฟา้ ถูกเหน่ียวนำให้ไหลผ่านเสน้ ลวด จะเหน็ ได้ว่าต้องมีการเคลื่อนท่ีที่สัมพนั ธ์กนั ของสองสิง่ เพ่อื ใหเ้ สน้ แรงแมเ่ หล็ก ถูกตัดดว้ ยเส้นลวด จากลักษณะการตัดและการวนรอบของเส้นแรงแม่เหล็กรอบเส้นลวดทำให้มีกระแสไฟฟ้า ไหลในเส้นลวด 3. สนามแม่เหล็กสามารถทำให้เคล่ือนท่ีได้ด้วยการเคลื่อนแท่งแม่เหล็ก หรือใช้สนามแม่เหล็กจาก แม่เหล็กไฟฟ้า โดยเส้นแรงแม่เหล็กสามารถทำให้เคลื่อนท่ีได้ด้วยการการให้กระแสไฟฟ้าของแม่เหล็กไฟฟ้า ไหลแลว้ หยุดไหล สมมตุ ิว่ามีแม่เหลก็ ไฟฟ้าดังแสดงในภาพ 11-20 มีเส้นลวดอยู่ชดิ กันเม่ือตอ่ แมเ่ หล็กไฟฟา้ เข้า กับแบตเตอรี่กระแสไฟฟ้าก็จะไหลผ่านขดลวด ขณะที่กระแสไฟฟ้าเร่ิมไหลผ่านขดลวดก็จะทำให้เกิด สนามแม่เหล็ก หรือจะกล่าวอกี อยา่ งหน่ึงได้วา่ เกิดสนามแมเ่ หล็กขึ้นเพราะกระแสไฟฟา้ ไหล สนามแม่เหลก็ ท่ี เกิดขน้ึ นี้จะขยายตวั หรือพองออก(ในความรูส้ ึกจะพองเหมือนลูกโป่ง) โดยจะขยายตัวออกโดยรอบ ซง่ึ เสน้ แรง แม่เหลก็ ก็ตดั ผ่านเสน้ ลวดทีว่ างอยู่ชิดกับ แม่เหล็กไฟฟ้า ดังนั้นเส้นลวดเส้นน้ีก็จะมีกระแสไฟฟ้าถูกเหนี่ยวนำให้เกิดขึ้น กระแสไฟฟ้าจะเกิดจากเส้นแรง แม่เหล็กท่ีตัดกับเส้นลวด ถ้าปลดแบตเตอรี่ออกจากแม่เหล็กไฟฟ้า สนามแม่เหล็กก็จะยุบตัวและหายไปใน ขณะทีส่ นามแรงแม่เหล็กยุบตวั เส้นแรงแมเ่ หลก็ ก็จะเคล่อื นเขา้ หาด้านในแมเ่ หล็กไฟฟา้ เส้นลวดทวี างอยู่ชิดกับ แม่เหล็กไฟฟ้าจะถูกตดั ด้วยเส้นแรงแม่เหล็กอีกครั้ง และจะมีกระแสไฟฟ้าถูกเหน่ียวนำในเส้นลวด แต่ในคราว นี้เส้นแรงแม่เหล็กเคลื่อนในทิศทางตรงกันข้าม ดังนั้นจะเหน่ียวนำให้กระแสไฟฟ้าไหลในเส้นลวดในทิศทาง ตรงกนั ข้ามด้วย 4. ดงั นนั้ จะเห็นไดว้ ่ากระแสไฟฟ้าสามารถถกู เหนี่ยวนำให้เกดิ ในเส้นลวดได้สามวิธี 4.1 เส้นลวดเคลอื่ นที่ตดั สนามแม่เหล็กทีอ่ ยกู่ บั ที่ 4.2 เส้นลวดอยู่กับท่แี ละเคลอื่ นแมเ่ หลก็ ให้สนามแมเ่ หล็กเคลื่อนท่ตี ัดเสน้ ลวด 4.3 ด้วยเส้นลวดและแม่เหล็กไฟฟ้าโดยท้ังสองอยู่กับท่ีแล้วเปิด /ปิดให้กระแสไหลแล้วหยุดให้ สนามแม่เหลก็ พองแล้วยุบ เพือ่ ให้สนามแมเ่ หลก็ เคลือ่ นตดั กบั เส้นลวด เสน้ ลวด เสน้ ลวด เสน้ ลวด ภาพ 11-22 การเหนย่ี วนำของแม่เหลก็ ไฟฟา้ ------------------------------

ห น้ า | 42 BATTERIES ตอนที่ 1 โครงสรา้ ง CONSTRUCTION 12-1. กล่าวท่ัวไป แบตเตอรี่ให้พลังงานไฟฟ้าด้วยการทำปฏิกิริยาทางเคมี เม่ือเคร่ืองกำเนิดไฟฟ้าหรือเยน เนอเรเตอร์ ของรถยนตผ์ ลิตพลังงานไฟฟ้าออกมามากกวา่ ความตอ้ งการสำหรับใช้ในการจุดระเบดิ และจ่ายให้ อปุ กรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ ของรถแล้ว กระแสไฟฟ้าส่วนที่เหลือก็จะเข้าไปทำให้ขบวนการทางเคมีในหม้อแบตเตอร่ี ทำปฏิกิริยากลับทางกัน ลักษณะน้ีเรียกว่าการประจุแบตเตอรี่หรือการชาร์จแบตเตอรี่ ในระหว่างที่ดับ เครื่องยนต์ เคร่ืองกำเนิดไฟฟ้าหยุดผลิตพลังงานไฟฟ้า แบตเตอรี่ก็จะจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับระบบไฟฟ้าของ รถแทนด้วยการทำปฏิกิริยาทางเคมีในหม้อแบตเตอร่ี ในลักษณะนี้เรียกว่าแบตเตอร่ีจ่ายประจุหรือจ่าย กระแสไฟฟา้ แบตเตอรีแ่ บบธรรมดาทีใ่ ช้กับรถยนตก์ นั อย่างกว้างขวางเป็นแบตเตอรี่แบบตะก่ัว-กรด 12-2. ส่วนประกอบ (Component Parts) แบตเตอรี่ท่ีใช้สำหรับหมุนเคร่ืองยนต์, จุดระเบิด และให้แสงสว่างรถยนต์ จะทำขึ้นให้มีช่องหรือเซลสาม เซลหรอื มากกว่า โดยขึ้นอยู่กับแรงเคล่ือนท่ีตอ้ งการเชน่ แบตเตอรหี่ ม้อหนึง่ ท่ีมีสามเซล(แตล่ ะเซลให้แรงเคลอื่ น 2 โวลต์) และเซลท้ังสามต่ออนุกรมกันจะได้แบตเตอร่ีขนาด 6 โวลต์, หรือแบตเตอรี่หม้อหนึ่งท่ีมีหกเซลต่อ อนุกรมกจ็ ะไดแ้ บตเตอร่ขี นาด 12 โวลต์ ภาพ 12-1 แสดงใหเ้ หน็ โครงสรา้ งพืน้ ฐานของหม้อแบตเตอร่ี ภาพ 12-1 ภาพหนา้ ตดั ของแบตเตอรี่

ห น้ า | 43 ภาพ 12-2 โครงสรา้ งแผน่ ธาตุ 1. แผน่ ธาตุ (Plates) 1.1 แต่ละเซลประกอบด้วยส่วนเปลือกหม้อแบตเตอร่ีทำด้วยพลาสติกแข็งภายในมีแผ่นธาตสุ องชนิดท่ี ทำด้วยตะกั่ว คือแผ่นเพลทบวก กับแผ่นธาตุลบ บรรดาแผ่นธาตุเหล่านี้ถูกคั่นกลางด้วยแผ่นฉนวน และ ทง้ั หมดแชอ่ ยู่ในนำ้ ยาแบตเตอรี่ซึ่งเป็นสารละลายของกรดกำมะถนั กับน้ำ 1.2 แผ่นเพลทบวกกับแผ่นธาตุลบ ทำดว้ ยแผ่นโครงท่มี ีลักษณะเป็นตารางหรือตะแกรงหล่อขึ้นรูปด้วย ตะก่ัวผสมโลหะอ่ืนหรือตะก่ัวอัลลอย(Lead Alloy) ท่ีมีความแข็งแรง แผ่นโครงท่ีเป็นตารางหรือตะแกรงนี้ จะมีซ่ีตงั้ กับซนี่ อนซึ่งได้รับการออกแบบที่ช่วยให้แผ่นธาตุมีความแข็งแรง พร้อมกับมีคุณสมบัติเป็นตวั นำไฟฟ้า ทเี่ กิดจากปฏิกิริยาทางเคมีได้ดี สว่ นเน้อื วสั ดทุ ำปฏิกิริยา(Active Material) จะใช้ตะกว่ั ออกไซด์ โดยผสม ผงตะก่ัวออกไซด์กับวสั ดยุ ดึ เหนี่ยวแล้วยาลงบนแผ่นโครงจากนั้นแต่งใหผ้ ิวเรยี บ ปล่อยไวใ้ ห้แห้งและแขง็ ตัวเปน็ แผน่ คลา้ ยปูนซิเมนต์ ภาพ 12-2 แสดงลักษณะของแผน่ โครง และภาพหน้าตัดแสดงเนอื้ วสั ดทุ ำปฏกิ ริ ยิ า แผ่น ตะกั่วออกไซด์ท่ีได้นี้จะถูกนำไปผ่านกรรมวิธีทางเคมี-ไฟฟ้า ให้กลายเป็นแผ่นตะกั่วเปอร์ออกไซด์สีน้ำตาล เพื่อให้เป็นแผ่นเพลทบวก และทำให้เป็นตะก่ัวพรุนสีเทา เพ่ือให้เป็นแผ่นธาตุลบ กรรมวิธีดังกล่าวน้ีเรียกว่า การทำแผน่ ธาต(ุ Forming The Plate) หรอื การกำหนดขัว้ 2. ชดุ แผน่ ธาตุ เม่ือผ่านกรรมวธิ ีทำแผน่ หรอื กำหนดขว้ั แลว้ แผ่นธาตแุ บบเดียวกนั จะถกู นำมาตดิ รวมกัน เป็นชุดแผ่นเพลทบวก กับชุดแผ่นธาตุลบ โดยแผ่นธาตุแต่ละชุดจะถูกเช่ือมติดกันอย่างถาวร ด้วยการหลอม แถบตะก่ัวที่ทำย่ืนออกจากแผ่นธาตุแต่ละแผ่น ให้ติดกับแถบสันติดขั้ว(Post Strap) ด้วยการใช้ความร้อนจาก เปลวแก๊สหรือการอาร์คด้วยไฟฟ้าทำให้ตะก่ัวหลอมติดกันเรียกว่าการหลอมตะก่ัว (Lead burning) แถบสัน ตดิ ขั้วที่หลอมติดกับชุดแผ่นธาตุมีขั้วกลมสำหรับเป็นหัวต่อออกนอกเซลชุดแผ่นธาตุลบจะมีจำนวนมากกว่าชุด แผน่ เพลทบวกอยหู่ น่งึ แผน่ เพ่อื ให้แผ่นเพลทบวกทกุ แผน่ มแี ผน่ ธาตลุ บประกบอยทู่ ง้ั สองขา้ ง ภาพ 12-3 แสดงชดุ แผน่ ธาตุ

ห น้ า | 44 3. แผ่นก้ัน (Separator) เพ่ือป้องกันไม่ให้แผ่นธาตุสัมผัสกัน ทำให้เกิดการลัดวงจร จึงนำ แผ่นค่ัน ทำด้วยวสั ดุฉนวน(แผน่ ยางพรนุ , แผ่นไยแกว้ หรอื แผ่นพลาสติกพรนุ ) มาสอดคัน่ อยรู่ ะหว่างแผ่นธาตลุ บกบั แผ่น เพลทบวก แผ่นค่ันเหล่าน้ี(ภาพ 12-4) มีลักษณะบางและพรุนเพื่อให้น้ำยาแบตเตอรี่ไหลถึงกันระหว่างแผ่น ธาตุลบกับแผ่นบวกได้ง่าย ด้านหน่ึงของแผ่นคั่น(ด้านที่หันเข้าหาแผ่นธาตุบวก) ถูกทำเป็นร่องเพื่อให้แก๊สท่ี เกิดข้ึนระหวา่ งการประจุแบตเตอรผี่ ุดข้ึนสู่ผิวน้ำยาไดห้ มด และมีช่องให้เศษวัสดทุ ่ีหลุดออกจากแผ่นธาตุร่วงลง สู่ช่องรองรับตะกอนทด่ี ้านล่างได้ ภาพ 12-4 ชดุ แผ่นธาตขุ องแบตเตอร่ี 4. แผ่นธาตุ (Elements) แผ่นเพลทบวกและแผ่นธาตุลบรวมทั้งแผ่นค่ันเรียกว่าแผ่นธาตุ (ภาพ 12-4) ขนาดของแผ่นธาตุท่ีทำข้ึนใช้งานโดยทั่วไปน้ันมีท้ังท่ีใหญ่กว่าหรือเล็กกว่าแผ่นธาตุมาตรฐาน จำนวนแผ่น ตะก่ัวในแผ่นธาตุแต่ละชุดจึงสามารถใช้กำหนดความจุของแบตเตอร่ีอย่างคร่าว ๆ ได้ ระยะว่างระหว่างแผ่น ธาตทุ ป่ี ระกอบเขา้ ด้วยกันเปน็ แผน่ ธาตปุ ระมาณ 1/8 นว้ิ 5. น้ำยาแบตเตอร่ี (Electrolyte) 5.1 ส่วนประกอบ น้ำยาแบตเตอร่ีเป็นของเหลวที่เป็นตัวนำไฟฟ้าและแตกตัวทางเคมีเมื่อกระแสไฟฟ้า ไหลผา่ น นำ้ ยาแบตเตอรใ่ี นแบตเตอรีแ่ บบตะก่วั -กรด มีความถ่วงจำเพาะ 1.280 ซง่ึ หมายความวา่ หนักกวา่ น้ำ 1.280 เท่า น้ำยาแบตเตอรี่ประกอบด้วยน้ำกรดกำมะถันบริสุทธิ์หนึ่งส่วนผสมกับน้ำบริสุทธป์ิ ระมาณ สองกับ สามในส่ีส่วนโดยปริมาตร หากน้ำยาแบตเตอร่ีมีสิ่งแปลกปลอมเพียงเล็กน้อย ด้วยการใช้น้ำท่ีไม่บริสุทธิ์ผสม กับกรดกำมะถนั จะลดประสิทธภิ าพในการทำปฏกิ ริ ยิ า และทำให้แบตเตอรม่ี ีประสทิ ธิภาพดอ้ ยลง 5.2 ความถ่วงจำเพาะ ความถ่วงจำเพาะคือสัดส่วนของน้ำหนักของวัตถุหรือสารใด ๆ ที่มีปริมาตร เท่ากับน้ำบริสุทธ์ิที่อุณหภูมิ 39F (4C) ความถ่วงจำเพาะของกรดกำมะถันอยู่ท่ี 1.835 หรือมีน้ำหนัก มากกว่าน้ำ 1.835 เท่า น้ำยาแบตเตอรี่เป็นส่วนผสมของน้ำกับกรดกำมะถัน ความเข้มข้นของกรดกำมะถัน ในน้ำยาแบตเตอรี่จะเปลี่ยนแปลงตามระดับของประจุไฟฟ้า การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวช่วยให้สามารถวัด ปริมาณของประจุไฟฟ้าในแบตเตอรี่ได้ แบตเตอรี่ท่ีมีประจุไฟฟ้าเต็มน้ำยาแบตเตอร่ีจะมีความถ่วงจำเพาะ

ห น้ า | 45 1.280 ท่ีอุณหภูมิ 80F(26.6C) การใช้งานแบตเตอรี่ในสภาพภูมิอากาศหนาวจะต้องปรับแต่งส่วนผสมของ น้ำยาแบตเตอรใ่ี ห้มคี ่า ความถ่วงจำเพาะสูงขึ้น ส่วนการใช้งานแบตเตอรี่ในสภาพภูมิอากาศร้อนจะต้องปรับส่วนผสมให้ค่าความ ถว่ งจำเพาะตำ่ ลง 5.3 การใชง้ านในสภาพภมู อิ ากาศร้อน (1) เมอ่ื แบตเตอร่ีถกู ใชง้ านในสภาพภูมิอากาศรอ้ น ควรใชน้ ำ้ กลัน่ ผสมน้ำยาแบตเตอรี่เพ่ือคา่ ปรับความ ถ่วงจำเพาะใหอ้ ยรู่ ะหวา่ ง 1.2 กบั 1.225 เมือ่ มีประจุไฟฟา้ เตม็ (2) ในสภาพภูมิอากาศร้อน น้ำยาแบตเตอร่ีจะทำปฏิกิริยาได้ดีกว่าและเมื่อทำให้มีความเข้มข้นน้อย กวา่ ช่วยให้แผน่ ธาตุและแผ่นคนั่ ไดร้ บั ความเสียหายน้อยและมอี ายกุ ารใช้งานไดน้ าน (3) เม่ือน้ำยาแบตเตอร่ีถูกทำให้เจือจางลงสำหรับใช้ในสภาพภูมิอากาศร้อน ให้ทำป้ายผูกหม้อ แบตเตอรี่ไว้ เพื่อแสดงค่าความถ่วงจำเพาะเมื่อมีประจุไฟฟ้าเต็ม และให้ใช้สีขาวระบายทำเคร่ืองหมายวงกลม ขนาด 1 น้ิว ที่ด้านบนของหมอ้ แบตเตอร่ดี ้วย สำหรับแบตเตอร่ีที่ไมไ่ ดใ้ ช้ในทางทหารอาจมีแถบตะกั่วท่เี ช่อื ม ระหว่างเซลเผยให้เห็นอยู่ด้านบน ให้ทาสีขาวที่ส่วนนี้เพ่ือแสดงให้ทราบว่าได้ปรับความถ่วงจำเพาะน้ำยา แบตเตอร่ีให้สำหรับใช้ในสภาพภูมิอากาศร้อนแล้ว และต้องปรับเปล่ียนให้น้ำยาแบตเตอร่ีมีความเข้มข้น เหมือนเดิม เมื่อส่งแบตเตอรหี่ มอ้ เดยี วกันน้ีกลับไปใชใ้ นสภาพภูมอิ ากาศหนาว 6. เปลอื กหม้อแบตเตอร่ี 6.1 เปลือกหม้อแบตเตอร่ีเป็นส่วนรองรับบรรดาเซลทั้งหลาย เพื่อรวมกันเป็นแบตเตอรี่เปลือกหม้อ แบตเตอร่ีทำด้วยยางแข็ง หรือพลาสติกโพลีโพรพีลีน(Polypropylene) ท่ีทนต่อการกัดกร่อนของกรดและ ทนทานต่อความสั่นสะเทือน แบตเตอรี่รถยนต์ส่วนใหญ่ประกอบด้วยเซลสามเซลหรือหกเซลอยู่ในหม้อเดียว (ภาพ 12-5) แผ่นธาตชุ ุดหน่ึงพร้อมน้ำยาแบตเตอรี่ท่ีมีปริมาณมากพอสำหรับท่วมแผ่นธาตุจะถูกบรรจุอยู่ใน เซลแต่ละช่อง 6.2 ที่สว่ นก้นหม้อแบตเตอร่ีจะหล่อเป็นแนวสันแขง็ ให้รองรับแผน่ ธาตุไว้ ส่วนเป็นช่องดา้ นลา่ งใหร้ องรับ เศษวัสดุทำปฏิกิริยา ที่ร่วงหล่นออกจากแผ่นธาตุในระหว่างอายุใช้งานของแบตเตอรี่โดยเศษวัสดุเหล่าน้ีจะ กองรวมกันอยู่ในช่องด้านลา่ ง ซ่ึงพน้ แผน่ ธาตลุ งมาและจะไม่ทำใหเ้ กดิ การลัดวงจรระหว่างแผน่ ธาตุ 7. แผ่นปิดด้านบน ในการทำแบตเตอร่ีเมื่อบรรจแุ ผ่นธาตลุ งหม้อแบตเตอรี่แล้วจะเชอ่ื มต่อแผน่ ธาตขุ องแต่ ละเซลในลักษณะของวงจรอนุกรมด้วยวธิ ีหลอมตะก่ัว แล้วผนึกดา้ นบนดว้ ยยางแข็งที่มีชอ่ งให้ขั้วแบตเตอร่ีสอง อันโผล่พ้นข้ึนมา โดยมีช่องเติมน้ำยาแบตเตอร่ีและจุกปิดท่ีมีรูระบายอากาศสำหรับเซลแต่ละเซล จุกปิดท่ีมีรู ระบายอากาศจะช่วยให้แกส๊ ทเ่ี กดิ ขึ้นระหว่างการประจุแบตเตอร่ีระบายออกในขณะเดียวกันกช็ ่วยป้องกันไมใ่ ห้ นำ้ ยาแบตเตอรีก่ ระฉอกออกขา้ งนอกไดก้ ารเตมิ น้ำยาแบตเตอร่ีหรอื น้ำกล่ันก็ทำไดโ้ ดยเปิดจกุ ปิดออก

ห น้ า | 46 ภาพ 12-5 โครงสรา้ งหมอ้ แบตเตอร่ี ตอนท่ี 2 หลกั การทำงาน PRINCIPLES OF OPERATION 12-3. กล่าวท่ัวไป เม่ือเซลมีประจุไฟฟ้าเต็ม แผ่นธาตุลบจะเป็นตะกั่วพรุน, แผ่นเพลทบวกจะเป็นตะกั่วเปอร์ออกไซด์ และน้ำยาแบตเตอร่ีจะมีปริมาณกรดกำมะถันสูงสุด ท้ังแผ่นธาตุลบและแผ่นเพลทบวกมีความพรุนมากและ พร้อมท่ีจะทำปฏกิ ิรยิ ากบั กรด เซลในสภาพเชน่ น้ผี ลติ พลังงานไฟฟา้ ด้วยการทำปฏิกิรยิ าทางเคมี 12-4. การจ่ายประจุ (Discharge) ถ้าข้ัวท้ังสองของแบตเตอรี่ถูกต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้า เซลจะจ่ายประจุเพื่อจ่ายกระแสไฟฟ้า(ภาพ 12-6) ขบวนการทางเคมีที่เกิดข้ึนในระหว่างการจ่ายประจุ จะเปล่ียนตะกั่วธรรมดาของแผ่นธาตลุ บ และตะกั่วเปอร์ ออกไซด์ของแผ่นเพลทบวก ให้เป็นตะก่ัวซัลเฟตและกรดกำมะถันจะเจือจางลงโดยเปลี่ยนเป็นน้ำ ที่น้ำยา แบตเตอร่ีเจือจางลงระหว่างการจ่ายประจุเพราะว่ากรดกำมะถันทำปฏิกิริยากับแผ่นตะกั่วทำให้ความเป็นกรด ลดลง ในขณะเดียวกันท่ีความเป็นน้ำเพ่ิมข้ึน หากยังมีหากมีการจ่ายประจุไฟฟ้าอย่างต่อเน่ืองไปเรื่อย ๆ ใน ที่สุดแผ่นธาตุลบ และแผ่นเพลทบวก จะเปล่ียนเป็นตัวก่ัวซัลเฟตทั่วทั้งแผ่น ส่วนสารละลายกรดกำมะถันก็จะ กลายเปน็ นำ้ เกือบจะทงั้ หมด เมอ่ื ถงึ จดุ นี้แบตเตอรกี่ จ็ ะหยุดจ่ายกระแสไฟฟ้า

ห น้ า | 47 12-5. การประจุไฟ (Charge) 1. ปฏิกิริยาทางเคมีท่ีเกิดขึ้นในระหว่างการประจุไฟ ต้องต่อแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงจากภายนอกเข้า กับข้ัวแบตเตอร่ี ซึ่งจะทำให้เกิดปฏิกิริยาทางเคมีในทางตรงกันข้ามกับการจ่ายประจุ โดยจะทำให้แผ่นเพลทบ วกกับแผ่นเพลทลบ และนำ้ ยาแบตเตอร่กี ลับไปอย่ใู นสภาพเดิมเหมือนกับตอนท่ีมีประจุเต็ม เมอื่ ซลั เฟตทั้งหมด ที่เกิดกับแผ่นเพลทกลับไปเป็นกรดกำมะถันในน้ำยาแบตเตอรี่เหมือนเดิมเซลก็มีประจุไฟฟ้าเต็มและพร้อม สำหรับการจ่าย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook