โรงเรียนทหารมา้ วิชา ผเู้ ชี่ยวชาญการใชอ้ าวุธรถถัง เลม่ ๒ รหัสวิชา ๐๑๐๒๒๙๐๗๐๒ หลกั สตู ร ผูเ้ ช่ียวชาญการใชอ้ าวธุ รถถัง แผนกวิชาอาวธุ กศ.รร.ม.ศม. ปรัชญา รร.ม.ศม. “ฝึกอบรมวชิ าการทหาร วทิ ยาการทันสมยั ธำรงไว้ซ่งึ คณุ ธรรม”
ปรชั ญา วิสยั ทัศน์ พนั ธกจิ วตั ถุประสงค์การดำเนนิ งานของสถานศึกษา เอกลักษณ์ อตั ลักษณ์ ๑. ปรัชญา ทหารม้าเป็นทหารเหล่าหน่ึงในกองทัพบก ที่ใช้ม้าหรือส่ิงกำเนิดความเร็วอ่ืน ๆ เป็นพาหนะ เป็นเหล่าที่มีความสำคัญ และจำเป็นเหล่าหนึ่ง สำหรับกองทหารขนาดใหญ่ เช่นเดียวกับเหล่าทหารอื่น ๆ โดยมีคุณลั กษณะ ท่ีมีความคล่องแคล่ว รวดเร็วในการเคลื่อนท่ี อำนาจการยิงรุนแรง และอำนาจในการทำลายและข่มขวัญ อนั เปน็ คุณลักษณะทสี่ ำคัญและจำเปน็ ของเหลา่ โรงเรียนทหารม้า ศนู ยก์ ารทหารมา้ มีปรัชญาดังน้ี “ฝึกอบรมวิชาการทหาร วิทยาการทนั สมัย ธำรงไวซ้ ่ึงคุณธรรม” ๒. วสิ ยั ทัศน์ “โรงเรียนทหารม้า ศูนย์การทหารม้า เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้วิชาการเหล่าทหารม้าที่ทันสมัย ผลิตกำลงั พลของเหล่าทหารมา้ ให้มีลกั ษณะทางทหารท่ีดี มีคณุ ธรรม เพ่ือเป็นกำลังหลักของกองทพั บก” ๓. พันธกจิ ๓.๑วิจยั และพฒั นาระบบการศกึ ษา ๓.๒ พฒั นาคณุ ภาพครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา ๓.๓ จัดการฝกึ อบรมทางวชิ าการเหลา่ ทหารมา้ และเหล่าอนื่ ๆ ตามนโยบายของกองทัพบก ๓.๔ผลติ กำลังพลของเหล่าทหารมา้ ให้เปน็ ไปตามวตั ถุประสงค์ของหลกั สตู ร ๓.๕ พฒั นาส่อื การเรยี นการสอน เอกสาร ตำราของโรงเรยี นทหารมา้ ๓.๖ปกครองบังคับบัญชากำลังพลของหน่วย และผู้เข้ารับการศึกษาหลักสูตรต่างๆ ให้อยู่บนพื้นฐาน คุณธรรม จรยิ ธรรม ๔. วัตถุประสงค์ของสถานศกึ ษา ๔.๑ เพื่อพัฒนาครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความร้คู วามสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ให้กับ ผเู้ ข้ารับการศึกษาไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ๔.๒ เพอ่ื พัฒนาระบบการศกึ ษา และจดั การเรยี นการสอนผ่านสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ ใหม้ ีคุณภาพอย่างต่อเน่ือง ๔.๓ เพื่อดำเนินการฝึกศึกษา ให้กับนายทหารชั้นประทวน ท่ีโรงเรียนทหารม้าผลิต และกำลังพลท่ีเข้ารับ การศกึ ษา ใหม้ คี วามรคู้ วามสามารถตามท่หี น่วย และกองทพั บกต้องการ ๔.๔ เพ่อื พัฒนาระบบการบรหิ าร และการจดั การทรัพยากรสนับสนนุ การเรียนรู้ ให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ ๔.๕ เพื่อพัฒนาปรับปรุงสื่อการเรียนการสอน เอกสาร ตำรา ให้มคี วามทันสมัยในการฝึกศกึ ษาอย่างต่อเนือ่ ง ๔.๖ เพ่ือพัฒนา วิจัย และให้บริการทางวิชาการ ประสานความร่วมมือ สร้างเครือข่ายทางวิชาการกับ สถาบันการศกึ ษา หนว่ ยงานอ่นื ๆ รวมท้งั การทำนบุ ำรุงศิลปวัฒธรรม ๕. เอกลักษณ์ “เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้ทางวิชาการ และผลิตกำลังพลเหล่าทหารม้าอย่างมีคุณภาพเป็นการ เพ่มิ อำนาจกำลงั รบของกองทัพบก” ๖. อัตลกั ษณ์ “เด่นสงา่ บนหลงั มา้ เก่งกล้าบนยานรบ”
คำนำ เอกสารตำราฉบับนี้ แผนกวิชาอาวุธ กองการศึกษา โรงเรียนทหารม้า ศูนย์การทหารม้า ได้ รวบรวมและเรียบเรียง โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือใช้เป็นเอกสารตำราในการเรยี นการสอน หลักสูตร ผู้เช่ียวชาญการ ใช้อาวุธรถถัง ของ โรงเรียนทหารม้า ศูนย์การทหารม้า ซึ่งมีเน้ือหาวิชาที่จำเป็นสำหรับผู้เข้ารับการศึกษาใน หลักสตู รนี้ แผนกวิชาอาวธุ กองการศกึ ษา โรงเรยี นทหารม้า ศูนย์การทหารม้า ขอขอบคุณผูม้ ีอปุ การะคุณที่ กรณุ าให้ข้อมูล และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารตำราฉบับนจี้ ะเปน็ ประโยชน์แก่นักเรียนหรือท่านผู้อา่ น และหากมี ข้อสงสัยหรือมีความประสงค์ที่จะให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแก้ไขกรุณาระบุ หน้า ข้อ บรรทัด ตามที่ปรากฏ ในเอกสารตำราน้ี และขอความกรุณาให้เหตุผลหรือมีหลักฐานอ้างอิงประกอบเพ่ือให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ โดยส่งไปที่ แผนกวิชาอาวุธ กองการศึกษา โรงเรียนทหารม้า ศูนย์การทหารม้า ค่ายอดิศร ตำบลปากเพรียว อำเภอเมือง จงั หวดั สระบรุ ี ๑๘๐๐๐ แผนกวชิ าอาวุธ กศ.รร.ม.ศม.
สารบญั เร่ือง หนา้ ระบบไฮดรอลิคเบื้องตน้ ............................................................................................................................... 1 หลกั ไฟฟ้าเบ้ืองตน้ .........................................................................................……………………………………….. 4 กระสนุ ปืนใหญร่ ถถังและรถเกราะ............................................…………………………………………………………. 21 ปืนกล M37 ขนาด .30 นว้ิ ........................................................………………………………………………………… 34 ระบบอาวุธป้อมปืนรถถงั M41A3............................................…………………………………………………………. 37 ปืนกล M60 D ขนาด 7.62 มม...................................................………………………………………………………. 44 ปืนกล M240 ขนาด 7.62 มม.....................................................………………………………………………………. 48 ระบบอาวุธป้อมปืนรถถัง M48A5.............................................………………………………………………………… 53 ระบบอาวุธปอ้ มปนื รถถงั M60A1.............................................………………………………………………………… 59 ปืนกล M85 ขนาด .50 นิว้ ......................................………………………………………………………………………… 66 ระบบอาวธุ ปอ้ มปืนรถถงั M60A3.........……………………………………….………………………………………………… 70 ปืนกล L43A1 ขนาด 7.62 มม………...............................…………………………………………………………………. 77 ระบบอาวธุ ป้อมปืนรถถังเบา 21 สกอรเ์ ปีย้ น..………………………………………………………………………………… 81 ปนื กล 93 ขนาด .50 นิ้ว M2…………………………………………………...………………………………………………….. 89 ระบบอาวุธปอ้ มปนื รถถงั เบา 32 สตงิ เรย์................................................................................................... 94 ปืนกล MG3 ขนาด 7.62 มม......................................................………………………………………………………. 105 ระบบอาวุธป้อมปืนรถเกราะคอมมานโด V-150.…………..……………………………………………………………….. 108 การปรบั เส้นเล็งและการปรับทางปืน.……………………………………………………………………………………………. 117 ------------------------------------
-1- ระบบไฮดรอลกิ เบื้องต้น 1. กลา่ วทว่ั ไป ในระบบขบั เคลื่อนป้อมปืนของรถถัง ซ่ึงประกอบดว้ ยเครื่องใหท้ างสูง และเครอ่ื ง หมนุ ปอ้ มปนื และเครื่องรกั ษาการทรงตัวของปืนน้นั ทำงาน และควบคมุ การทำงานด้วยกำลงั ไฮดรอลกิ ดงั นนั้ พลประจำรถ ช่างซ่อมบำรุง และผใู้ ชจ้ ึงจำเปน็ ต้องมคี วามรู้พ้ืนฐานของหลักการไฮดรอลิก เพ่ือใหส้ ามารถใช้ งานระบบได้ถูกต้องปลอดภัย สามารถปรนนบิ ัตบิ ำรงุ ระบบ วเิ คราะห์ และแก้ไขข้อขัดขอ้ งในขอบเขต และ หนา้ ที่ความรับผดิ ชอบของตนได้ 2. ไฮดรอลกิ คืออะไร ไฮดรอลกิ เป็นวิชาการเกย่ี วกับการส่งแรง หรอื การเคลอ่ื นท่ีผา่ นสือ่ ของเหลวซงึ่ บรรจไุ ว้ในบริเวณท่จี ำกัด 3. แรง และแรงดัน “ FORCE AND PRESSURE ” 3.1 แรงดนั “ FORCE ” เปน็ คำศัพทท์ ี่ใชแ้ สดงวา่ มแี รงเท่าใดซง่ึ กระทำต่อบริเวณพื้นทีท่ ี่กำหนด ให้ มหี นว่ ยวัดเป็น ปอนด์/ ตร.น้ิว หรอื กก./ตร.ซม. หรือ กโิ ลปาสกาล “ Kpa ” 3.2 แรงดัน ยงั สามารถกล่าวไดว้ ่าเปน็ ความพยายามทีจ่ ะขยายตวั ออก หรือกลา่ วอีกอยา่ งหนึ่งคือ ความต้านทานต่อการถูกกดดัน 4. ของไหล “ FLUID ” หมายถงึ ส่ิงท่ีอย่ใู นรูปของของเหลว “ LIQUID ” หรือแกส๊ หรอื ไอ เชน่ อากาศหรือลมทีเ่ ราใช้เตมิ ยางรถ ฯลฯ ของเหลว เป็นสง่ิ ท่ีไมม่ ีรูปร่างแน่นอน โดยมนั จะเปลี่ยนรูปรา่ งไปตาม ภาชนะท่ีบรรจขุ องเหลวนนั้ 5. คณุ สมบัติทส่ี ำคัญของ ของไหล 5.1 แก๊สสามารถบบี หรืออดั ใหม้ ีขนาดเลก็ ลงได้ 5.2 ของเหลว ไมส่ ามารถบบี หรอื อัดให้มีขนาดเล็กลงได้ ซ่ึงเปน็ คณุ สมบตั ิสำคญั ท่ที ำใหส้ ามารถใช้ ของเหลวเปน็ สื่อในการสง่ แรงไปตามทอ่ ทางเดนิ จากจุดหนงึ่ ไปยังอีกจุดหน่งึ ของระบบไฮดรอลิคได้ใน ทนั ทีทนั ใด 5.3 ของเหลวจะขยายตัวเมอ่ื ถูกความร้อน และของเหลวจะรอ้ นข้ึนเมื่อถูกปั่นให้หมุนดว้ ย ความเร็วสงู 6. องค์ประกอบพน้ื ฐานของระบบไฮดรอลิก 6.1 ถงั น้ำมัน ใช้เปน็ ทเี่ ก็บน้ำมนั ไฮโดรลิกในระบบ นอกจากนีถ้ ังนำ้ มันยงั ทำหนา้ ที่ ดงั นี้ - ระบายความร้อนออกจากน้ำมนั - แยกฟองอากาศออกจากน้ำมัน - เปน็ ท่ีตกตะกอนส่งิ สกปรกให้แยกตวั ออกจากนำ้ มัน 6.2 หมอ้ กรอง ใช้สำหรับกรองส่ิงสกปรกออกจากน้ำมันไฮดรอลิก เพอื่ รักษาความสะอาดของ นำ้ มัน และเป็นสว่ นสำคญั ท่สี ุดในการป้องกนั ไมใ่ ห้น้ำมนั เส่ือมคุณภาพ 6.3 ตะแกรงกรอง เปน็ ตัวกรองข้นั ตน้ ของระบบไฮดรอลิก ทำหนา้ ที่ป้องกันไม่ใหส้ ิง่ สกปรกท่ีมี ขนาดใหญ่ผา่ นเข้าไปในป๊ัม
-2- 6.4 ปมั๊ เป็นอปุ กรณซ์ ่ึงทำหน้าท่ีเปล่ียนพลงั งานกลให้เป็นพลังงานไฮดรอลิก เป็นอุปกรณส์ ำคญั ยิ่ง เปรยี บเสมือนหวั ใจของระบบ 6.5 ลิ้นระบายแรงดัน เป็นอปุ กรณ์ท่ีประกอบอย่รู ะหว่างทอ่ แรงดันออกของปั๊มกับอุปกรณต์ า่ ง ๆ ของระบบ เพ่ือทำหน้าท่ีป้องกนั ไม่ให้อปุ กรณ์อื่น ๆ ในระบบชำรดุ เสียหายเนื่องจากแรงดันมากเกนิ ควร 6.6 ลน้ิ ควบคมุ เปน็ อุปกรณท์ ีใ่ ชค้ วบคมุ ทิศทางการไหล และปริมาณการไหลของนำ้ มันในวงจร ตา่ ง ๆ ของระบบไฮดรอลกิ 6.7 กระบอกสบู และมอเตอร์ “ WORK POINTS ” เป็นอุปกรณท์ ท่ี ำหนา้ ท่ีเปลยี่ นพลังงาน ไฮดรอลกิ ให้กลับเปน็ พลงั งานกล เพอ่ื สง่ แรงผลกั ดันใหภ้ ารกรรมเคลื่อนทไ่ี ปตามความตอ้ งการ 6.8 ทอ่ น้ำมนั ใช้สำหรบั สง่ น้ำมันไฮดรอลิกให้ไหลไปยังอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ในระบบไฮดรอลกิ เพ่ือให้ เกิดเปน็ วงจรไฮดรอลิกข้ึน ท่อนำ้ มันมี 2 ชนิด คือ - ท่อโลหะ หรือท่อแข็ง - ท่อยางเสริมเสน้ ลวด หรอื ท่ออ่อนตวั ได้ 6.9 หมอ้ ตุนกำลัง “ ACCUMULATOR ” เปน็ อุปกรณ์สำหรับเกบ็ สะสมน้ำมนั ภายใต้แรงดันเพ่ือใช้ งานช่วยให้เกดิ แรงดันในระบบขน้ึ อย่างต่อเนื่องสมำ่ เสมอกันตลอดเวลา แมว้ ่าปัม๊ จะหยุดทำงาน ช่วยให้ปั๊ม มอเตอรข์ บั ป๊ัม และแบตเตอรี่ไมต่ ้องทำงานเพื่อสร้างแรงดันอยู่ตลอดเวลา 6.10 น้ำมนั ไฮดรอลิก ทำหน้าท่ี ดงั นี้ - เปน็ สอ่ื หรือตวั กลางในการส่งถา่ ยแรงดนั ไปยังสว่ นต่าง ๆ ของระบบไฮดรอลิก - หลอ่ ล่ืนปัม๊ ไฮดรอลกิ และส่วนเคลอ่ื นท่ีในระบบท่ีสัมผสั กับน้ำมนั - ระบายความรอ้ น ทำความสะอาด ส่วนประกอบในระบบทส่ี ัมผัสกบั นำ้ มัน 7. การปรนนบิ ตั ิบำรงุ ระบบไฮดรอลกิ 7.1 ตรวจระดบั นำ้ มนั ก่อนใช้งาน น้ำมนั ตอ้ งไม่สงู หรือต่ำไปจากระดบั ท่ีกำหนดไว้ เน่อื งจากระดับ น้ำมันทไี่ มถ่ ูกต้องจะทำใหเ้ กิดผลเสยี ดังนี้ 1. นำ้ มนั ตำ่ กวา่ ระดับทก่ี ำหนด ( น้ำมันน้อยเกินไป ) จะทำให้ - ปมั๊ ทำงานหนัก และถมี่ าก - อากาศเข้าไปปะปนกับนำ้ มันในระบบ - ความร้อนในระบบสงู 2. น้ำมันสูงกวา่ ระดับท่กี ำหนด ( นำ้ มันมากเกินไป ) จะทำให้ - น้ำมนั ล้นถงั เม่ือนำมันร้อนขึ้น - ถา้ นำ้ มันไหลออกไม่ทัน แรงดันในระบบจะเพิ่มข้ึน ทำใหซ้ ีลตา่ ง ๆ เกดิ การรว่ั ไหลข้ึนได้ 7.2 ในระบบท่มี หี ม้อตนุ กำลัง การตรวจระดับนำ้ มนั จะตอ้ งลดแรงดันน้ำมันในระบบให้เปน็ ศนู ย์ “ ZERO PRESSURE ” เสยี ก่อนดว้ ยการปล่อยน้ำมันในหม้อตนุ กำลงั ใหไ้ หลกลับคนื สู่ถงั เก็บนำ้ มันจนหมด เสยี ก่อน จงึ จะตรวจระดบั น้ำมันไดถ้ ูกต้อง
-3- 7.3 ใช้น้ำมันไฮดรอลกิ ให้ถูกต้องตามท่ีกำหนดไว้ในคำสง่ั การหล่อล่ืนประจำรถ 7.4 ถา่ ย/เตมิ นำ้ มนั ไฮดรอลิกตามระยะเวลาท่ีกำหนดไว้ เพื่อใหร้ ะบบทำงานได้ถูกต้อง มี ประสทิ ธิภาพ และ ล้นิ ควบคุมต่าง ๆ ไม่เกดิ การชำรดุ เสยี หาย 8. การระมดั ระวังความปลอดภยั ในการปฏบิ ัตงิ านกับระบบไฮดรอลกิ 8.1 สวมเคร่ืองป้องกัน เชน่ แวน่ ตา ถุงมือ และเสื้อผ้าให้มิดชดิ เพื่อลดอันตรายจากน้ำมันแรงดันสงู ทีอ่ าจเกิดการรัว่ ไหลขนึ้ อย่าใชม้ ือเปลา่ ลูบหรอื แตะจุดที่เกิดการรั่วซึม ละอองน้ำมันแรงดันสงู สามารถเจาะทะลุ ผวิ หนงั เข้าไปได้ และนำ้ มนั ไฮดรอลกิ ผสมสารที่มีความเปน็ พิษสูง ถ้าเกิดอุบตั เิ หตุ ดังกล่าวข้ึนต้องไปพบแพทย์เพอ่ื บำบัดรกั ษาทนั ที 8.2 ถ้าท่อเกดิ การร่ัวซึม ให้ขนั แนน่ ได้อกี 1/6 รอบ โดยต้องใชก้ ุญแจจับที่ขอ้ ต่อท่อทงั้ สองด้าน 9. ขอ้ ขดั ข้อง ข้อขัดข้องในระบบไฮดรอลิกทเ่ี กิดขึ้นเสมอ และไมเ่ กย่ี วข้องกบั ความบกพรอ่ งของ อุปกรณ์ในระบบ 9.1 น้ำมนั ไฮดรอลิกนอ้ ย อาการท่แี สดงให้ทราบคือมอเตอร์ขบั ป๊ัมไฮดรอลิกทำงานถ่ีผิดปกติ อุปกรณ์ในระบบทำงานไม่น่มิ นวล หรือทำงานไม่มีประสิทธิภาพ 9.2 แกส๊ ในหม้อตุนกำลงั มีแรงดนั ต่ำกว่ากำหนด อาการทีแ่ สดงใหท้ ราบคือมอเตอร์ขับปมั๊ ไฮดรอลกิ ทำงานถี่ผดิ ปกติ 9.3 แบตเตอรม่ี ีไฟน้อย อาการท่ีแสดงใหท้ ราบคือมอเตอรข์ ับป๊มั ไฮดรอลิกไม่ทำงาน หรอื มีเสยี ง ผิดปกติ ---------------------------
-4- หลักไฟฟา้ เบ้อื งต้น 1. ส่วนประกอบไฟฟา้ นักวทิ ยาศาสตร์ได้แถลงว่า สรรพสิ่งท้ังหลายในโลก ประกอบด้วยประจุไฟฟา้ 2 ชนิด คือ 1.1 ประจไุ ฟฟา้ ลบ (NEGATIVE CHARGED) 1.2 ประจุไฟฟา้ บวก (POSITIVE CHARGED) และเม่ือประจุไฟฟ้าเหล่าน้ีเกิดการสะสมตัวข้ึน ณ ที่แห่งใดแห่งหนึ่ง หรือเม่ือประจุไฟฟ้าเหล่านี้ เคล่ือนที่ เราเรียกปรากฏการณ์น้ีว่าไฟฟ้า หรือกระแสไฟฟ้า และนักวิทยาศาสตร์ ได้ทำการค้นคว้า ทดลองสร้าง เคร่ืองมือสำหรับผลติ กระแสไฟฟ้า และสามารถนำกระแสไฟฟา้ ที่ผลิตขึ้นได้น้ีไปใช้งานอย่างกวา้ งขวาง ตวั อยา่ งเช่น ในยานยนต์เรานำกระแสไฟฟ้าไปใช้ในการส่องสว่าง, จ่ายให้กับมอเตอร์หมุนเคร่ืองยนต์, สร้างประกายไฟแรงสูงที่ เขี้ยวหัวเทยี น, เคร่ืองวัดตา่ ง ๆ, ป๊มั น้ำมนั เช้ือเพลิง, เครือ่ งทำความอบอุ่น,วิทยุ, โซลีนอยด์ ตลอดจนเคร่ืองควบคุม และสงิ่ อำนวยความสะดวกตา่ ง ๆ 2. ทฤษฎขี องอะตอม โครงสร้างของอะตอม ถ้าแบ่งอะตอมของธาตุหนึ่งออกไปอีก ธาตุนั้นจะไม่สามารถดำรงอยู่ได้ และอนุภาคที่เหลืออยู่จะไม่มี คุณสมบัติเป็นธาตุเดิมอีกเลย อนุภาคที่เล็กกว่าอะตอมน้ี จะมีอยู่ในทุก ๆ อะตอมของธาตุต่าง ๆ และอะตอมของ ธาตหุ นงึ่ ๆ จะไม่เหมือนกับอะตอมของธาตุอ่ืน ๆ เพราะอะตอมของธาตุนัน้ ประกอบด้วยอนุภาคต่าง ๆ ในอะตอม ไม่เท่ากนั โครงสร้างของอะตอมประกอบด้วยอนุภาคท่ีเล็กยง่ิ กว่าอะตอม และมีความสำคญั ทางไฟฟ้าอนภุ าค เลก็ ๆ เหล่านี้ คือ - อเิ ล็กตรอน (ELECTRON) - โปรตอน (PROTON) - นวิ ตรอน (NEUTRON) 3. กฎของประจไุ ฟฟ้า ประจุลบของอเิ ล็กตรอนจะมปี ริมาณเท่ากับประจุบวกของโปรตอน แต่เป็นประจุชนิดตรงขา้ มกัน ประจุ บนอเิ ล็กตรอน และโปรตอนเรียกวา่ ประจุไฟฟ้าสถติ เส้นแรงของประจกุ ่อใหเ้ กดิ สนามไฟฟ้าสถิต ประจุสามารถดูด กัน หรือผลักกันได้ด้วยทิศทางของสนามไฟฟ้าท่ีกระทำต่อกัน กฎของประจุไฟฟ้ากล่าวว่า อนุภาคที่มีประจุ เหมอื นกนั จะผลกั กัน และทมี่ ีประจุต่างกนั จะดูดกัน กล่าวคอื อนภุ าคโปรตอน (+) จะผลกั กบั อนภุ าคโปรตอน (+) อนภุ าคอเิ ล็กตรอน (-) จะผลกั กับอนุภาคอิเล็กตรอน (-) อนภุ าคโปรตอน (+) จะดดู กับอนภุ าคอเิ ลก็ ตรอน (-)
-5- และเพราะวา่ โปรตอนมนี ำ้ หนักค่อนขา้ งมาก เม่ือเปรียบเทียบกับอิเล็กตรอน แรงผลักระหวา่ งโปรตอนทอี่ ยู่ใน นวิ เคลียสจึงไมม่ ีผลมากนกั ปกตอิ ะตอมประกอบด้วยอเิ ล็กตรอน และโปรตอนเท่า ๆ กัน เพ่ือให้ประจบุ วก และประจลุ บซึง่ ตรงข้าม กนั มคี า่ เทา่ กนั หักล้างกันพอดี อะตอมจะได้มปี ระจุไฟฟา้ เปน็ กลาง แต่ดงั ทีไ่ ด้กลา่ วมาต้ังแต่ต้นแลว้ วา่ คุณสมบัติ ของธาตนุ ั้นขนึ้ อยู่กบั จำนวนโปรตอนในนิวเคลียสของอะตอม ดงั นน้ั ถ้าจำนวนอเิ ลก็ ตรอนเปลย่ี นไป ธาตุก็ยงั คง คุณสมบตั ิของตัวเองอยู่ ถ้าอะตอมมีอิเลก็ ตรอนน้อยกว่าโปรตอน อะตอมจะมปี ระจุลบ อะตอมทีม่ ปี ระจลุ บน้ี เรียกวา่ “ไอออน” (ION) ถา้ อะตอมในชน้ิ ของสารเป็นจำนวนมากสญู เสีย หรอื ไดร้ ับอเิ ล็กตรอน สารนัน้ จะมีประจุ ไฟฟา้ อะตอมจะสามารถเพมิ่ หรือลดอิเล็กตรอนไดห้ ลายวธิ ี ดงั จะได้กลา่ วต่อไปภายหลัง 4. ทฤษฎอี ิเลก็ ตรอน วงโคจรของอิเลก็ ตรอน ดงั ไดก้ ล่าวมาแล้วว่าไฟฟ้า เกิดมาจากการที่อเิ ล็กตรอนเคลอ่ื นที่ออกจาก อะตอมของมัน ฉะนั้นก่อนท่ีจะเข้าใจวิธีการต่าง ๆ ท่ีอิเล็กตรอนจะแยกตัวออกจากอะตอม ก็จะขออธิบายถึง ธรรมชาตใิ นวงโคจร ของอเิ ลก็ ตรอนรอบ ๆ นวิ เคลยี ส อิเล็กตรอนเคล่ือนท่ีดว้ ยความเร็วสงู ในวงโคจรของมันรอบนวิ เคลยี ส เนือ่ งจากอิเล็กตรอนเคลอ่ื นท่เี ร็วมาก นี่เอง แรงหนีศูนย์กลางท่ีเกิดข้ึนจะพยายามเหว่ียงอิเล็กตรอนให้หลุดจากวงโคจร แต่แรงดึงดูดของประจุบวกใน นวิ เคลียส จะชว่ ยดึงอิเลก็ ตรอนไว้ไม่ให้หลดุ จากวงโคจร อย่างไรก็ตามถ้ามีแรงภายนอกท่ีมากพอมาเสริมเข้ากับแรง หนีศูนยก์ ลางนี้อิเล็กตรอนกจ็ ะถูกดงึ ใหห้ ลดุ จากวงโคจรกลายเปน็ อเิ ลก็ ตรอนอิสระได้ เมื่ออิเล็กตรอนเป็นจำนวนมากถกู กระทำใหห้ ลุดจากวงโคจร และสะสมกันเข้า ณ บรเิ วณใดบริเวณหนึ่ง เราเรยี กผลของการกระทำน้วี ่า ประจไุ ฟฟ้า และเม่อื อิเล็กตรอนจำนวนน้ีเริ่มเคลือ่ นทไ่ี ปในทศิ ทางหน่งึ เช่น เคลอื่ นที่ไปตามเสน้ ลวด เราเรียกการเคลื่อนทีน่ ีว้ า่ การไหลของกระแสไฟฟ้า โดยแท้จริงแลว้ สามารถเรยี ก เครื่องกำเนิดไฟฟ้า และแบตเตอร่ีได้ว่าเป็น เครื่องปม๊ั อิเล็กตรอน เนื่องจากมันจะขับดันให้อิเล็กตรอนเคล่ือนท่ีออก จากด้านหนึ่งของวงจรไฟฟ้า ไปคั่งตัวอยู่อีกด้านหนึ่งของวงจรไฟฟ้า ตัวอย่างเช่น เครื่องกำเนิดไฟฟ้าจะขับดัน อเิ ล็กตรอนออกจากขวั้ บวกของเคร่ืองกำเนดิ ฯ และไปคั่งตัวอยทู่ ี่ข้ัวลบ เพราะอเิ ล็กตรอนต่างก็ผลกั ดันซ่ึงกันและกัน (ประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกันจะผลักกัน) ดังน้ันอิเล็กตรอนจะผลักดันกันผ่านวงจรไฟฟ้า และไหลไปสู่ขั้วบวก (ประจุ ไฟฟ้าต่างชนิดกันจะดูดกัน) ดังนั้นเราจะเห็นว่า โดยแทจ้ ริงนั้นกระแสไฟฟ้าจะไหลจากข้ัวลบไปยังข้ัวบวก หรือจาก แหล่งทม่ี อี ิเลก็ ตรอนมากไปยงั แหล่งทขี่ าดอเิ ล็กตรอน หมายเหตุ ตามความคิดดง้ั เดิมของนักวิทยาศาสตรส์ มยั โบราณเขา้ ใจว่ากระแสไฟฟา้ ไหลจากขว้ั บวก ไปยงั ขวั้ ลบ และมคี รูบางท่านสอนไว้วา่ กระแสอเิ ลก็ ตรอนน้ันไหลจากข้วั ลบไปยังขั้วบวก แต่กระแสไฟฟ้าจะไหล จากขั้วบวกไปยังขวั้ ลบ ซึ่งเราเรียกการไหลน้วี า่ “กระแสนิยม” เนอื่ งจากทฤษฎนี ถ้ี ูกใช้กนั มาเปน็ เวลานาน และ สญั ลักษณต์ า่ ง ๆ ทางวิชาไฟฟ้า และวงจรไฟฟ้า ต่างเขยี นขึน้ โดยใชค้ วามคิด และทิศการไหลของกระแสไฟฟา้ แบบ กระแสนิยม เป็นส่วนมาก
-6- 5. ตวั นำ (CONDUCTORS) การเคล่ือนที่หรือการไหลของอิเล็กตรอนน้ันจะต้องผ่านทางเดินหรือตัวนำไฟฟ้าสายลวดทองแดงเป็นตัวนำ ไฟฟ้าท่ีดี เพราะมีอิเล็กตรอนอิสระมาก ในอะตอมของทองแดงจะประกอบด้วยอิเล็กตรอน 29 ตัว วิ่งอยู่ในวงโคจร 4 วง รอบ ๆ นิวเคลียสของมัน และในวงโคจรช้ันนอกสุด จะมีอิเล็กตรอนเพียงตัวเดียวเท่านั้น อิเล็กตรอนตัวนี้จะไม่ถูก ยดึ เหน่ียวไว้อย่างมนั่ คงนัก ดังนั้นมันจงึ สามารถหลุดออกจากวงโคจรรอบนิวเคลียสของมันกลายเป็นอิเล็กตรอน อิสระ ได้ง่าย ในสายลวดทองแดงเส้นหนึ่งจะประกอบด้วย อะตอมของทองแดงจำนวนนับไม่ถ้วน จึงมีอิเล็กตรอน อิสระนี้ เป็นจำนวนมหาศาล เม่ือต่อสายลวดทองแดงเข้ากับเครื่องกำเนิดไฟฟ้า อิเล็กตรอนอิสระจากขั้วลบจะถูกผลักดันให้ เคล่ือนท่ีเข้าไปในสายลวดทองแดงโดยง่ายทำให้อิเล็กตรอนอิสระในเส้นลวดถูกผลักดันให้เคล่ือนที่ต่อๆกันไป (ประจุ ไฟฟ้าชนิดเดียวกันจะผลักกัน) จนตลอดเส้นลวด ด้วยอัตราเร็วที่อาจกล่าวได้ว่า ในทันทีท่ีสายลวดถูกต่อเข้ากับเครื่อง กำเนิดฯ อิเล็กตรอนอิสระจะถูกผลักดันให้เคล่ือนท่ีไปตามสายลวด และอิเล็กตรอนอิสระในสายลวดจะถูกผลักดัน ต่อไป และถูกดึงดูดเข้าไปยังข้ัวบวกขณะท่ีอิเล็กตรอนแต่ละตัวถูกดูดเข้าหาข้ัวบวกข้ัวลบก็จะผลักดันอิเล็กตรอน ออกมาด้วยจำนวนที่เท่ากันดังน้ันกระแสจึงสามารถไหลต่อเน่ืองกันไปได้ด้วยความเร็วสูงมากและกระแสไฟฟ้าจะไหล ดว้ ยอตั ราเรว็ 186,000 ไมล์/วนิ าที ( ความเร็วของแสง ) 6. ฉนวน (INSULATORS) ฉนวนจะสรา้ งด้วยสารที่ไม่มีอิเลก็ ตรอนอสิ ระมากนัก เม่ือไมม่ ีอิเล็กตรอนอสิ ระ ก็ไมเ่ กดิ การไหลของ อิเลก็ ตรอน เพราะการไหลของอิเล็กตรอนเกิดจากการผลักดนั ระหว่าง อเิ ลก็ ตรอนอิสระไปตามวงจรไฟฟา้ ดังนน้ั ถ้ามีฉนวนกัน้ วงจรไฟฟ้าไว้ อเิ ล็กตรอนอิสระจะไมส่ ามารถถูกผลกั ดันให้เคล่ือนท่ีผ่านฉนวน ดงั น้นั จงึ ไมเ่ กดิ การ ไหลของกระแสไฟฟ้า หรืออาจกล่าวไดว้ ่า กระแสไฟฟา้ ไม่ไหลผา่ นฉนวน ฉนวนใช้สำหรับปกปดิ และป้องกันสายไฟต่าง ๆ หรือช้ินส่วนท่เี ป็นโลหะของบริภณั ฑ์ไฟฟา้ โดย เฉพาะจะทำหนา้ ท่ีกักหรือกน้ั ไม่ให้อิเล็กตรอนอสิ ระ (หรือกระแสไฟฟา้ ) ไหลออกนอกทศิ ทาง หรือผดิ จากทก่ี ำหนด ไว้ และเกิดการลดั วงจรข้นึ ตัวอยา่ งเชน่ ฉนวนหุม้ สายไฟ และสวติ ชข์ องหลอดไฟฟ้าจะป้องกันไมใ่ ห้กระแสไฟฟ้า ไหลมาสมู่ อื ของผ้ทู เ่ี ปิดไฟ และทำให้เกดิ การ “ชอ็ ค” หรอื การกระตุกข้นึ และยงั ปอ้ งกันไมใ่ ห้กระแสไฟฟ้าเกดิ เดิน ลัดวงจร แทนทจี่ ะไหลไปยงั หลอดไฟฟา้ เป็นตน้ วตั ถทุ ่เี ปน็ ฉนวนมหี ลายชนิด เชน่ ยาง กระเบือ้ ง แก้ว สบี างชนดิ นำ้ มนั พลาสตกิ ไมแ้ หง้ และอากาศ เป็นต้น 7. สารกึง่ ตัวนำ (SEMI CONDUCTORS) สารบางอย่างจะมีอิเลก็ ตรอนอิสระมากกวา่ ฉนวนแตน่ อ้ ยกวา่ ตัวนำ จึงทำใหม้ ันมคี ุณสมบตั ิในการนำไฟฟ้า ได้ดกี ว่าฉนวน แต่ไมด่ ีเทา่ ตัวนำ ตวั อย่างเชน่ เยอรมันเนยี ม ซลิ กิ อน และซิลิเนยี ม เป็นต้น สารเหล่าน้ีปกติจะแสดง สถานภาพเป็นฉนวน แตเ่ มื่อเตมิ ส่ิงเจอื ปนเข้าไป และอยู่ในสภาวะบางอยา่ ง เช่นถูกกระตุ้นดว้ ยกระแสไฟฟา้ มันจะ ยอมให้กระแสไฟไหลผ่านตัวมันได้ จึงสามารถนำสารกึง่ ตวั นำมาใชเ้ ป็นอปุ กรณเ์ รยี งกระแส (RECTIFIER) ใน วงจรไฟฟ้ากำลังได้ โดยใชเ้ รียงกระแสไฟสลบั ใหเ้ ปน็ กระแสไฟตรง
-7- 8. ประจไุ ฟฟ้าเกิดขน้ึ ได้อย่างไร ในตอนต้น ๆได้กล่าวถึงแนวความคิดในการใหพ้ ลงั งานแก่อิเลก็ ตรอน เพ่ือให้มนั หลดุ จากวงโคจรกลายเป็น อิเล็กตรอนอสิ ระได้ แตย่ ังไมไ่ ด้กลา่ วว่าจะให้พลังงานแก่อิเล็กตรอนได้อยา่ งไร การให้พลงั งานแก่อเิ ล็กตรอน เพอื่ ให้เกิดประจไุ ฟฟ้าทำได้หลายวิธี สรุปได้เป็น 6 วธิ ี ดังนี้ 1. การเกดิ ประจไุ ฟฟา้ จากการเสยี ดสี เชน่ ไฟฟ้าสถิต 2. การเกิดประจุไฟฟ้าจากปฏิกิริยาเคมี เช่น แบตเตอร่ี 3. การเกดิ ประจไุ ฟฟา้ จากแรงกดอัด เชน่ หวั พิก-อัพ ของเครอ่ื งเล่นแผ่นเสยี ง 4. การเกดิ ประจุไฟฟ้าจากความร้อน เช่น เคร่ืองวดั อุณหภูมิที่มีคา่ มาก ๆ 5. การเกดิ ประจุไฟฟา้ จากแสงสวา่ ง เช่น เครือ่ งวัดแสงในกลอ้ งถ่ายรปู 6. การเกดิ ประจุไฟฟ้าจากสนามแม่เหล็ก เช่น เครื่องกำเนดิ ไฟฟ้า การทำให้เกิดประจุไฟฟ้าที่สำคัญ และเกยี่ วขอ้ งกับวิชาไฟฟ้ายานยนต์คอื การเกดิ ประจุไฟฟ้าจาก ปฏิกริ ิยาเคมี และการเกิดประจไุ ฟฟา้ จากสนามแมเ่ หลก็ 9. ผลของกระแสไฟฟ้า เมอื่ กระแสไฟฟา้ ผ่านวตั ถใุ ด อาจกอ่ ใหเ้ กิดผลตา่ ง ๆ ขึ้นได้ดังต่อไปนี้ 1. ทำให้เกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี เช่น การแยกนำ้ ดว้ ยไฟฟา้ และการชุบโลหะ 2. ทำใหเ้ กดิ แรงกดอัด เช่น หูฟังวทิ ยุ 3. ทำใหเ้ กดิ ความรอ้ น เชน่ เตาหุงตม้ เตารดี ฯลฯ 4. ทำใหเ้ กดิ แสงสวา่ ง เชน่ หลอดไฟ 5. ทำให้เกิดอำนาจสนามแม่เหลก็ เชน่ แมเ่ หล็กไฟฟ้า 10. กระแส และแรงเคล่ือน (CURRENT AND VOLTAGE) 1. การไหลของกระแสไฟฟา้ หรือการไหลของอิเล็กตรอน วดั คา่ เปน็ แอมแปร์ เราอาจเห็นวา่ กระแส ไฟฟ้า 1 แอมแปร์ มีคา่ น้อยมากซึง่ ความจริงแลว้ มกี ารไหลของอเิ ลก็ ตรอนเป็นจำนวนมาก กระแส 1 แอมป์ จะ ต้องใช้อิเลก็ ตรอนมากกวา่ 6 ล้าน ลา้ นตัวในหนง่ึ วินาที 2. อเิ ลก็ ตรอนไหลไปดว้ ยความแตกตา่ ง หรอื ความไม่สมดลุ ของจำนวนอิเลก็ ตรอนในวงจรน้ัน กล่าว คือ เมอ่ื จดุ ใดของวงจรมอี เิ ล็กตรอนมากกวา่ จุดอนื่ ๆ อเิ ล็กตรอนจะเคล่อื นทีจ่ ากจดุ ทม่ี ีอิเลก็ ตรอนหนาแนน่ ไปยังจดุ ที่ มีอิเลก็ ตรอนน้อย ความแตกต่างในความหนาแน่นของอิเล็กตรอนเรยี กวา่ “ความตา่ งศักด์ิ” หรือ “แรงเคลื่อน” ความไมส่ มดลุ ของอเิ ล็กตรอนยิ่งมีมาก แรงเคลอื่ นก็ย่ิงสูงขึ้น แรงเคลือ่ นยง่ิ สงู ก็ทำให้เกิดการผลักดนั อเิ ล็กตรอน มากขนึ้ และกระแสอเิ ลก็ ตรอนในวงจรกย็ ่อมมมี ากข้ึน หรือเราอาจกลา่ วไดว้ า่ แรงเคลื่อนย่งิ สูงกระแสไฟฟา้ ทีไ่ หลใน วงจรก็ยงิ่ มมี ากขึ้น (เม่อื มีความต้านทานในวงจรคงท่ี)
-8- 11. ความตา้ นทาน (RESISTANCE) 1. ถงึ แมว้ ่าสายลวดทองแดงจะเปน็ ตวั นำไฟฟ้าทด่ี ี แต่กย็ ังมีความต้านทานต่อการไหลของกระแสไฟฟ้า ดังนั้นจึงต้องใชก้ ำลัง (หรือแรงเคล่ือน) เพื่อผลกั ดันใหอ้ ิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไปตามสายไฟ ความต้านทานในการไหลของ อเิ ล็กตรอน หรือกระแสไฟฟา้ มีหน่วยวัดเป็นโอห์ม “ ” ค่าความต้านทานของสายไฟจะแปรเปลย่ี นไปตามความยาว พื้นที่หน้าตดั หรือเสน้ ผ่าศนู ย์กลาง ส่วนประกอบของโลหะที่ใชท้ ำสายไฟ และอุณหภมู ิของสายไฟ 2. สายไฟท่ยี าวจะมีความต้านทานมากกว่าสายไฟทส่ี ั้นเมื่อมพี ้นื ทีห่ นา้ ตัดเทา่ กนั เพราะอเิ ลก็ ตรอนต้อง เคลื่อนที่ไปไกลกว่า 3. สายไฟเสน้ เล็ก (ความหนาหรือพนื้ ท่หี นา้ ตัดเลก็ ) จะมีความต้านทานมากกว่าสายไฟเสน้ ใหญ่ เพราะใน สายไฟเสน้ เล็กมอี เิ ล็กตรอนอิสระน้อยกวา่ (เพราะมีอะตอมนอ้ ยกวา่ ) ทำให้ผลกั ดนั อิเลก็ ตรอนไปตามสายไฟไดน้ ้อย กว่า 4. ธาตบุ างธาตมุ อี ิเล็กตรอนที่หลดุ ตัวได้งา่ ยกว่าธาตุอืน่ ๆ เชน่ ทองแดงมีอเิ ลก็ ตรอนที่หลุดได้ง่าย ดงั นนั้ ในสายไฟทองแดงจึงมีอิเล็กตรอนอิสระมากกว่าธาตุอ่ืน เช่นเหลก็ มอี เิ ล็กตรอนน้อยกวา่ (เม่อื เปรียบเทียบกับสาย ไฟทองแดงท่ีมีขนาดเทา่ กัน)และเม่อื อิเล็กตรอนอิสระน้อยกว่ากย็ ่อมจะมีอเิ ล็กตรอนท่ผี ลักดันกนั ไปตลอดสาย ไฟที่เปน็ เหล็กได้นอ้ ยกวา่ นนั้ คือสายไฟที่ทำด้วยเหลก็ ก็มีความตา้ นทานมากกว่าสายไฟที่ทำด้วยทองแดง 5. โลหะสว่ นมาก จะมคี วามต้านทานเพิ่มข้นึ เมื่อมนั มอี ุณหภูมิเพ่ิมข้ึน แต่ฉนวนส่วนมากมคี วามตา้ น ทานลดลงเมื่อมอี ุณหภมู เิ พิ่มขึ้น ตวั อยา่ งเชน่ แก้ว (อโลหะ) เป็นฉนวนท่ดี ีเลิศ ณ อุณหภูมิปกตแิ ต่เมื่อได้รับความ ร้อนจนร้อนแดง แก้วจะเป็นฉนวนที่เลวมาก 12. กฎของโอหม์ (OHM’S LAW) 1. คำอธิบายทั่วไปเก่ียวกับความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง แรงเคลอื่ น กระแส และความต้านทาน จะอธิบายได้โดย ใช้ “กฎของโอห์ม” ซ่ึงตัง้ ตามช่ือนักวิทยาศาสตร์ “ยอร์ช ซิมมอน โอห์ม” และเปน็ ผูใ้ หค้ ำอธบิ ายความสมั พันธไ์ ว้วา่ ค่าแรงเคลอ่ื นเทา่ กบั คา่ กระแส คูณดว้ ยค่าความต้านทาน และเขยี นเป็นสูตรได้ดังน้ี E=I×R 2. หนว่ ยวัดค่าทางไฟฟา้ E คอื คา่ แรงเคล่ือน มีหน่วยเปน็ โวลท์ I คอื คา่ กระแส มีหนว่ ยเป็น แอมแปร์ R คือ คา่ ความต้านทาน มหี นว่ ยเปน็ โอห์ม “ ” สูตรนี้เป็นสูตรพ้ืนฐานที่มีความสำคัญย่ิงควรจดจำไว้ เพราะจะช่วยให้เข้าใจปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในวงจรไฟฟ้า ได้ ตัวอย่างเช่น ถ้าแรงเคล่ือนคงที่ กระแสที่ไหลจะมีน้อย เม่ือความต้านทานในวงจรไฟฟ้าเพ่ิมขึ้น ตัวอย่างอันนี้ได้แก่ วงจรแสงสว่างที่เกิดบกพร่องข้ึนในยานยนต์ สมมุติว่าวงจรสายไฟระหว่างแบตเตอรี่ และหลอดไฟเกิดบกพร่องข้ึน เช่น ขั้วต่อสายไฟหลวม เส้นลวดในสายไฟขาด หรือข้ัวสัมผัสของสวิตช์ไฟสกปรก ฯลฯ สภาพต่าง ๆ เหล่านี้ย่อมทำให้
-9- อิเล็กตรอนมีทางเดินน้อยลง หรืออีกนัยหนึ่งมีความต้านทานเพ่ิมขึ้นน่ันเอง และเมื่อมีความต้านทานเพิ่มขึ้น กระแสไฟ ย่อมไหลได้น้อยลง เช่น ในวงจรแสงสว่างอันหน่ึงใช้แรงเคลื่อนจากแบตเตอรี่ 12 โวลท์ มีความต้านทานในวงจรรวมท้ัง หลอดไฟ 6 โอหม์ ซง่ึ ปกตแิ ลว้ จะมีกระแสไหลอยู่ในวงจร ดังนี้ คือ E = 12 โวลท์ R = 6 โอห์ม ดังนน้ั I = E ÷ R = 12 ÷ 6 = 2 แอมแปร์ แต่ถ้าความต้านทานในวงจรเพ่ิมข้ึนเน่ืองจากความบกพร่องต่าง ๆ ซ่ึงทำให้ความต้านทานในวงจรเพ่ิมข้ึนเป็น 8 โอหม์ จะทำให้กระแสในวงจรไหลนอ้ ยลงคือ E = 12 โวลท์ R = 8 โอหม์ I = 12 ÷ 8 = 1.5 แอมแปร์ ทำให้หลอดไฟได้รบั กระแสนอ้ ยลง ผลก็คือหลอดไฟไมส่ ว่างเทา่ ท่คี วร จะเห็นได้ว่าความตา้ นทานที่เพิม่ ขน้ึ จะลดการ ไหลของกระแส และทำให้ความสว่างของหลอดไฟนอ้ ยลง 3. ข้อขัดข้องทางไฟฟ้าในยานยนต์ส่วนใหญ่ มักเกิดจากความต้านทานท่ีเพ่ิมขึ้นในวงจร เน่ืองจาก ข้อบกพร่องต่าง ๆ เช่นข้ัวต่อสายไฟไม่ดี สายไฟไม่ดี จุดสัมผัสของสวิตช์ไหม้ หรือสกปรก ฯลฯ และเมื่อความ ต้านทานในวงจรเพิม่ ขึน้ จากสภาพต่าง ๆ เหล่าน้ี จะทำให้กระแสที่ไหลผ่านวงจรลดลง ส่งผลให้วงจรน้นั ทำงาน บกพร่อง เช่นเมื่อหน้าทองขาวในวงจรจุดระเบิดไม่ดีจะทำใหก้ ระแสท่ีไหลผ่านวงจรน้อยลงจนทำให้ประกายไฟท่ีหัว เทยี นออ่ นลง และเปน็ ผลใหเ้ ครอื่ งยนตเ์ ดินไม่เรยี บ หรอื ติดยากและไม่มกี ำลัง 4. ถ้าความต้านทานในวงจรคงท่ีแตแ่ รงเคลอื่ นเพ่ิมขนึ้ จะทำใหก้ ระแสไหลเพ่ิมขนึ้ ดว้ ยในยานยนตส์ ภาพ เช่นนอ้ี าจเกิดข้ึนได้ ถ้าเครื่องควบคมุ แรงเคลอ่ื นของเครอื่ งกำเนดิ ไฟชำรุด ในกรณีเชน่ น้ี จะไม่มสี ิง่ ควบคุมแรง เคล่ือนของเคร่ืองกำเนดิ ไฟให้อย่ใู นเกณฑ์ใชง้ าน แรงเคล่ือนจะเพ่ิมข้นึ สงู จนผลกั ดันให้กระแสปรมิ าณมากไหลผา่ น ไปตามวงจรตา่ งๆจนทำให้วงจรเหลา่ นัน้ เกิดการชำรุดเสยี หายอยา่ งหนัก ตวั อยา่ ง เช่น ถา้ กระแสไฟไหลผ่านไส้หลอดไฟมากเกนิ ไป ไส้หลอดจะร้อนจัดจนขาด บรภิ ัณฑ์ไฟฟา้ อื่น ๆ ก็อาจชำรดุ เสยี หายได้เชน่ เดียวกนั 5. อีกประเด็นหน่ึง ถ้าแรงเคลื่อนในวงจรลดลง ปริมาณการไหลของกระแสก็จะลดลงด้วย ถ้าความ ต้านทานมีค่าคงท่ี ตัวอย่างเช่น แบตเตอรี่ท่ีหมดไฟ แรงเคลื่อนจะลดลงมาก เม่ือต้องจ่ายกระแสไฟอย่างหนัก เช่น ในขณะหมุนเครื่องยนต์ และแรงเคลื่อนจะลดลงอย่างรวดเร็ว จนไม่สามารถผลักดันกระแสไห้ไหลไปได้มาก พอที่จะจา่ ยให้มอเตอร์หมนุ เคร่ืองยนต์จนติดได้
- 10 - 13. สรุปกฎของของโอห์ม หรอื โวลท์ = แอมป์ × โอหม์ แรงเคล่ือน = กระแส × ความตา้ นทาน หรอื แอมป์ = โวลท์ ÷ โอห์ม กระแส = แรงเคลอ่ื น ÷ ความตา้ นทาน ความต้านทาน = แรงเคลื่อน ÷ กระแส หรอื โอหม์ = โวลท์ ÷ แอมป์ E IR 14. วงจรไฟฟา้ (ELECTRICAL CIRCUITS) ไฟฟา้ จัดได้วา่ เป็นปรากฏการณ์ตามธรรมชาติอยา่ งหนึ่ง มนุษย์ไดพ้ ยายามหาวธิ ีการตา่ ง ๆ ท่ีจะนำไฟฟ้ามา ใช้ประโยชน์ นั่นคือจะต้องควบคุมไฟฟ้าได้ และยังสามารถเปลี่ยนแปลงพลังงานไฟฟ้า ไปเป็นพลังงานในรูปอ่ืน ๆ ได้เช่น พลังงานกลท่ที ำใหเ้ กิดแรงหมุนเคร่อื งจักร พลงั งานแสงสว่าง พลงั งานความรอ้ น ฯลฯ ไดอ้ กี ดว้ ย และวธิ ที ่ี นำเอาพลังงานไฟฟา้ ไปใช้งานท่เี กิดประโยชน์ได้ กจ็ ะต้องใช้ผา่ นกรรมวธิ อี ย่างหนงึ่ คือ วงจรไฟฟ้า นน่ั เอง วงจรไฟฟ้าคอื อะไร วงจรไฟฟ้าคือ ทางเดินของกระแสไฟฟ้าทีส่ มบรู ณ์ เร่ิมตน้ จากขัว้ ลบของแหลง่ จา่ ย กำลงั ไฟฟา้ ไปตามวงจร เข้าสู่ขว้ั บวก แลว้ กลบั ไปยังขวั้ ลบ ตราบใดทางเดินไฟฟ้าไม่ขาดวงจร ซง่ึ เรียกว่า “วงจร ปิด” จะมีกระแสไหล แตถ่ า้ ทางเดนิ ไฟฟ้าขาด ณ จุดใดจุดหนง่ึ เราเรียกวา่ “วงจรเปิด” และจะไมม่ ีกระแสไหล . .หลอดไฟ . . หลอดไฟ สวิตช์ ฟิ วส์ - สวิตช์ ฟิ วส์ ส + - 12 V + 12 V โดยพน้ื วฐงาจนรแปลิว้ดว(งCจรLไOฟฟS้าEปCระIกRอCบUดว้IยT) วงจรเปิ ด (OPEN CIRCUIT) 1. แหลง่ จ่ายพลังงานไฟฟ้า หรือแหล่งกำเนิด 2. ตัวนำหรือสายไฟ เช่ือมโยงวงจร และอปุ กรณ์ควบคุม 3. อปุ กรณท์ ี่ใชพ้ ลงั งานไฟฟ้าใหเ้ กิดประโยชนต์ ามท่ีต้องการ ซ่งึ เรามักเรียกว่า\"โหลด\" (load)
- 11 - 15. แหล่งจา่ ยกำลังงานไฟฟ้า แหลง่ จา่ ยกำลงั งานไฟฟ้า เป็นตวั จ่ายกำลงั ไฟฟ้าใหก้ บั โหลด อาจจะไดม้ าจาก ปฏกิ ิรยิ าเคมี เชน่ แบตเตอรี่ หรือจากการเคลื่อนทีข่ องตวั นำตัดเส้นแรงแมเ่ หล็ก เชน่ เครื่องกำเนิดไฟฟา้ หรือ วธิ ีอ่ืน ๆ กไ็ ด้ ทีข่ ้วั ของแหลง่ จา่ ยฯ จะปรากฏแรงดันไฟฟ้า ท่เี ราเรยี กว่า \" แรงเคลอื่ นไฟฟา้ \" (Electromotive Force) มีหน่วยวัดเป็นโวลทแ์ หลง่ จ่ายกำลงั งานไฟฟา้ มี 2 ประเภท คือ 1. แหล่งจ่ายไฟ กระแสตรง (DC.) + LOAD G - กระแสไฟจะไหลออกจากขว้ั ลบของแหล่งจา่ ย จา่ ยไปยงั โหลด แล้วกลับมาทีข่ ัว้ บวก และเข้าสู่ขวั้ ลบอกี คร้งั ดงั แสดงด้วยลูกศรในรปู ถา้ หากกลับขั้วของแหลง่ จ่ายฯ กระแสไฟที่ไหลในวงจรกจ็ ะกลับทิศทางด้วย ดังนัน้ จะเหน็ ได้ ว่ากระแสจะไหลในทิศทางใดทศิ ทางหน่ึงท่แี นน่ อน กระแสประเภทน้เี รยี กวา่ กระแสตรง (DIRECT CURRENT ) หรอื ไฟ DC. 2. แหลง่ จ่ายกระแสสลับ ( AC. ~ ) ALT LOAD
- 12 - กระแสไฟจะไหลออกไปท่ขี ั้วของแหล่งจ่ายฯ ไปยังโหลด แลว้ กลับเข้าสขู่ ั้วตรงขา้ มของแหล่งจ่าย ฯ สลบั กลบั ข้ัวกนั ตลอดเวลา ดังนน้ั กระแสทไ่ี หลในวงจรจะไหลกลบั ทิศทางตลอดเวลาไมแ่ น่นอน กระแสประเภทนี้เรียกวา่ กระแสสลบั (ALTERNATING CURRENT) หรอื ไฟ AC. “ ~ ” 3. โหลด (LOAD) โหลดก็คือ อุปกรณ์ท่ีทำหน้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าท่ีได้จากแหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้าไป เป็นพลังงานในรูปอื่น ๆ เช่น แสง เสียง ความร้อน หรือกำลังทางกล ฯลฯ พวกอุปกรณ์ไฟฟ้าท่ีจัดว่าเป็นโหลด ไดแ้ ก่ หลอดไฟ มอเตอร์ เตารีด เคร่อื งอบ เครอื่ งดูดฝุน่ ฯลฯ วงจรไฟฟ้าในรูปจะจ่ายกระแสไฟฟ้าให้โหลดตลอดเวลาแต่ในบางคร้ังมีความจำเป็นท่ีจะต้องเปิดวงจรให้ กระแสหยดุ ไหล และอุปกรณท์ ี่ใช้ เปิด-ปดิ วงจรก็คอื สวิตช์ สวิตช์ที่ใช้งานจะประกอบดว้ ยชิ้นโลหะ 2 ชิน้ ต่ออยูใ่ น วงจรไฟฟา้ ชิน้ โลหะ 2 ชิ้น จะถูกจัดให้สามารถ แตะหรอื แยกจากกันได้ง่าย โลหะ 2 ช้ินนี้ เรียกว่า หนา้ สมั ผสั หรือ คอนแทรก (CONTRACTS) สวติ ช์แบบต่างๆ สญั ลกั ษณ์ของสวิตช์ 16. ประเภทของวงจรไฟฟ้า วงจรไฟฟา้ ที่พบเหน็ กนั อยทู่ ่ัวไป จะแบง่ ไดเ้ ป็น 3 ประเภทคอื 1. วงจรอนั ดบั (อนกุ รม) 2. วงจรขนาน 3. วงจรแบบ อันดบั -ขนาน หรอื วงจรแบบ ผสม ข้อแตกต่างด้านรูปร่างของวงจรท้ังสาม อยู่ที่การต่อโหลด หรืออุปกรณ์ที่ใช้กระแสไฟฟ้าว่า มีการต่อกัน ในลักษณะอย่างไร วงจรแต่ละอย่างจะมีคุณสมบัติทางด้าน แรงเคล่ือน กระแส หรือ ความต้านทาน เฉพาะตัว แตกต่างกัน ฉะนั้น จึงมีความจำเป็นอย่างย่ิงท่ีผู้ศึกษาวิชาทางไฟฟ้า หรือช่างไฟฟ้า จะต้องให้ความสนใจเกี่ยวกับ คณุ สมบัติของแต่ละวงจร เพ่ือท่ีจะเขา้ ใจสามารถคำนวณผลของวงจรต่าง ๆ ได้ ในทางปฏิบัตแิ ล้วการเดนิ สายไฟใน งานไฟฟ้า และแสงสว่าง นิยมต่อวงจรแบบขนาน ส่วนวงจรแบบอนั ดับ และวงจรแบบผสม นิยมใชใ้ นวงจรควบคุม ตา่ ง ๆ
- 13 - 1. วงจรแบบอนั ดับ เมื่อนำตัวต้านทานหรือโหลด มาต่อในวงจรในลกั ษณะเรยี งลำดบั ถดั กนั ไปโดยให้ปลาย ดา้ นหน่งึ ของตวั ต้านทานต่อเข้ากับปลายอกี ด้านหนึ่งของตัวตา้ นทานอกี ตวั หนง่ึ ดังรปู 12 โวลท์ R1 = 1 โอห์ม R2 = 2 โอหม์ R3 = 3 โอห์ม 1.1 กฎของวงจรแบบอันดับ วงจรแบบอันดบั มีกฎอยู่ 3 ขอ้ ซึ่งใช้บอกคุณสมบัติของวงจร คือ (1) ความตา้ นทานรวมของวงจรแบบอนั ดับ เทา่ กับค่าของตัวตา้ นทานยอ่ ย ทง้ั หมดในวงจร รวมกนั (2) กระแสที่ไหลผ่านจดุ ทกุ จุด ในวงจรจะมีคา่ เท่ากนั (3) แรงเคลอ่ื นกระแสไฟฟา้ ท่ีตกคร่อมตวั ตา้ นทานแต่ละตัว ในวงจรรวมกนั จะเทา่ กบั แรงเคลื่อนที่ ปอ้ นใหก้ บั วงจร 1.2 การหาความต้านทานรวมในวงจรแบบอันดับ จากกฎข้อท่ี 1 ทว่ี ่าความต้านทานรวมของวงจรแบบ อนั ดบั เท่ากบั คา่ ของตัวต้านทานแตล่ ะตวั ในวงจรรวมกนั เราเขยี นเป็นสูตรไดด้ ังนี้ RT = R1 + R2 + R3 + ........................................... RT = ความต้านทานรวม ดังนั้น ความตา้ นทานรวมตามรปู วงจรข้างบนจะเทา่ กัน 1 + 2 + 3 = 6 โอห์ม กระแสท่ีไหลผ่านวงจรจะมีคา่ เทา่ ไร จากกฎของโอหม์ I = E ÷ R = 12 ÷ 6 = 2 แอมแปร์ แรงเคล่อื นรวมท่ปี ้อนให้กบั วงจร 12 โวลท์ จากกฎของโอหม์ E = I × R ดงั นนั้ แรงเคลอื่ นตกคร่อมตัวตา้ นทาน R1 = 2 × 1 = 2 โวลท์ แรงเคล่ือนตกครอ่ มตวั ตา้ นทาน R2 = 2 × 2 = 4 โวลท์ แรงเคล่ือนตกคร่อมตัวตา้ นทาน R3 = 2 × 3 = 6 โวลท์ 2. วงจรแบบขนาน เม่อื นำตวั ต้านทานหรือโหลด มาต่อกันเป็นวงจรในลักษณะท่ีใหก้ ระแสไหลผา่ นได้ต้ังแต่ 2 เสน้ ทางข้นึ ไป เราเรยี กวงจรนั้นตอ่ กนั แบบขนาน R1 = 2 โอหม์ R1 = 4 โอหม์ 12 โวลท์
- 14 - ตามรปู วงจรไฟฟา้ ประกอบด้วย ตวั ตา้ นทาน 2 ตัว ตอ่ ขนานกนั คร่อมแบตเตอร่ี จะเห็นว่ากระแสไฟฟ้าจาก แหล่งจา่ ย ฯ จะไหลแยกเป็น 2 ทาง และกระแสทไ่ี หลผ่านตัวตา้ นทานจะขึ้นอยู่กับค่าความต้านทานของแตล่ ะ ตวั คือตวั ต้านทานที่มคี ่ามากจะมีกระแสไหลผา่ นน้อย และตัวตา้ นทานทีม่ ีค่าน้อยจะมีกระแสไหลผา่ นมาก 2.1 กฎของวงจรแบบขนาน มดี งั ต่อไปนี้ (1) แรงเคล่อื นตกคร่อมตัวต้านทานแต่ละตัว จะเท่ากับแรงเคลือ่ นรวมท่ีปอ้ นให้กับวงจร (2) กระแสรวมในวงจรแบบขนาน จะเท่ากบั กระแสย่อยทไี่ หลผ่านตวั ต้านทานแต่ละตวั รวมกนั (3) ความต้านรวมของวงจรแบบขนาน จะมีคา่ น้อยกว่าคา่ ความต้านทานตัวที่มีคา่ น้อยทสี่ ุด ทมี่ ีอยูใ่ นวงจร 2.2 การหาความตา้ นทานรวมในวงจรแบบขนาน ค่าความต้านทานรวมของตัวต้านทานทั้งหมดในวงจร แบบขนาน จะเป็นปฏภิ าคกลับ ของค่าความต้านทานแตล่ ะตัวรวมกนั เขียนเป็นสูตรได้ดังน้ี 1/RT = 1/R1 + 1/R2 + 1/R3 + .............................................. RT = ความต้านทานรวม ดงั นน้ั คา่ ความตา้ นทานรวมตามรปู จะเท่ากับ 1/RT = (1 ÷ 2) + (1 ÷ 4) 1/RT = (2 + 1) ÷ 4 = 3 ÷ 4 เพราะฉะนน้ั RT = 4 ÷ 3 = 1.3 โอห์ม กระแสรวมในวงจรจะมีคา่ เทา่ ไร จากกฎของโอหม์ I = E ÷ R = 12 ÷ 1.3 = 9 แอมแปร์ กระแสตกคร่อมตวั ตา้ นทานแตล่ ะตัว จะมคี ่าเท่าใด IR1 = 12 ÷ 2 = 6 แอมแปร์ IR2 = 12 ÷ 4 = 3 แอมแปร์ แรงเคลื่อนตกคร่อมตวั ตา้ นทานแตล่ ะตัว จะมีค่าเทา่ ใด จากกฎของโอห์ม E = I × R ER1 = 6 × 2 = 12 โวลท์ ER2 = 3 × 4 = 12 โวลท์
- 15 - 3. วงจรแบบอันดับ-ขนาน หรอื วงจรแบบผสม เป็นวงจรท่มี ที ้ังวงจรแบบอนั ดับ และวงจรแบบขนาน ต่อปน กันอยู่ ดังรูป R1 = 1 โอห์ม R2 = 2 12 โวลท์ โอห์ม R3 = 3 โอหม์ ในวงจรแบบอบั ดับ-ขนาน นี้ ถา้ หากต้องการหาคา่ ความตา้ นทาน แรงเคลอ่ื น หรือกระแสมีหลักอยู่วา่ สว่ นใดท่ี เปน็ วงจรแบบอันดับ ก็ใชห้ ลักการของวงจรแบบอันดับมาคำนวณ และสว่ นใดท่เี ป็นวงจรแบบขนาน กใ็ ชห้ ลักการ ของวงจรแบบขนานมาคำนวณ 3.1 ขนั้ ตอนในการวิเคราะห์วงจรแบบอันดับ-ขนาน (1) หาความต้านทานรวมของวงจร (2) หากระแสรวมโดยใช้กฎของโอห์ม (3) ยอ้ นกลับไปยังวงจรเดิม แล้วใชก้ ฎของโอหม์ คำนวณค่าแรงเคลื่อนตกคร่อมและกระแสท่ีไหล ผา่ นตวั ตา้ นทานต่าง ๆ ในวงจร 3.2 การหาความตา้ นทานรวมในวงจรตามรูปข้างบน (1) หาความตา้ นทานรวมในวงจรแบบขนานก่อนดังน้ี จากสตู ร 1/RT = 1/R1 + 1/R2 …………………….. 1/RT = (1 ÷ 2) + (1 ÷ 3 ) 1/RT = (3 + 2) ÷ 6 1/RT = 5 ÷ 6 RT = 6 ÷ 5 ดังนั้น RT = 1.2 โอหม์ (2) เอาความต้านทานรวมของวงจรแบบขนาน บวกกับความต้านทานของวงจรแบบอนั ดับ จะไดค้ วาม ต้านทานรวมทั้งหมดในวงจร เพราะฉะนั้นความต้านทานรวมท้ังหมดในวงจร = 1.2 + 1 = 2.2 โอหม์ 17. กำลังไฟฟา้ (ELECTRICAL POWER) กำลงั ไฟฟ้า หรือทางกล หมายถงึ อตั ราการทำงาน งานจะเกิดข้นึ เมื่อมีแรง ๆ หน่งึ มาทำใหเ้ กดิ การเคลือ่ น ตวั ตามบทเรยี นท่ีได้ศึกษามาแลว้ เราไดท้ ราบวา่ แรงทางไฟฟา้ คือแรงเคลื่อนไฟฟ้า หรอื แรงดันไฟฟ้า ซึ่งเป็นตัวทำ
- 16 - ให้เกิดการเคลือ่ นตัวของอิเล็กตรอนหรือกระแสไหล แรงเคลอื่ นไฟฟา้ ระหวา่ งจดุ สองจุดทไี่ ม่มีการไหลของ กระแสไฟฟา้ ไมใ่ ช่งานดงั นน้ั เม่ือไรกต็ ามที่แรงเคล่ือนไฟฟ้าทำให้อิเล็กตรอนเคล่ือนตัว จากจุดหนงึ่ ไปยังอีกจุดหน่ึง จึงจะเรียกว่าเกิดการทำงาน อัตราของการทำงานน้เี รียกว่า กำลังไฟฟา้ หน่วยของกำลงั ไฟฟ้า หนว่ ยมาตรฐานของกำลงั ไฟฟ้า คือ วตั ต์ (WATT) ซ่ึงเทา่ กับแรงเคลือ่ นไฟฟ้าคูณ ดว้ ยกระแสไฟฟา้ คา่ นีแ้ สดงถึงอัตราของงานซ่งึ ได้กระทำในการเคล่อื นอเิ ลก็ ตรอน ผ่านตัวตา้ นทาน หรือโหลด (LOAD) “P” เป็น สัญญาลกั ษณ์ แทนกำลงั ไฟฟ้า กำลังไฟฟา้ ที่ใชไ้ ปในตัวต้านทาน หรอื โหลดอันหน่งึ จะหาไดจ้ ากสูตร คอื กำลงั ไฟฟ้า = แรงเคลื่อนไฟฟ้า × กระแส P = E×I เมอ่ื I = 5 A และ R = 15 โอหม์ และ E = 45 โวลท์ และ P = ? ในวงจรท่ีประกอบด้วย ตวั ต้านทาน 15 โอหม์ หนงึ่ ตัวต่อคร่อมอยู่กับแหลง่ จ่ายแรงเคลื่อน 45 โวลท์ และมกี ระแส ไหลผา่ นตวั ต้านทานในวงจร 5 แอมแปร์ กำลังไฟฟา้ ท่ใี ช้สามารถหาได้โดย คูณคา่ แรงเคล่อื น ไฟฟ้า ด้วยกระแส + I = 5A LOAD G- 15 โอห์ม E = 45 โวลท์ จากสูตร P = E× I = 45 × 5 = 225 วตั ต์ โดยการแทนค่าจากกฎของโอห์มลงในสูตร P = E × I เราสามารถหากำลังไฟฟ้าไดโ้ ดยทราบคา่ กระแส และ ความต้านทาน จากสตู ร P = I2 × R
- 17 - และเราสามารถหากำลงั ไฟฟ้าได้ เมอ่ื ทราบคา่ แรงเคลื่อนไฟฟา้ และความต้านทาน จากสตู ร คอื P = E2 ÷ R 18. สูตรทางไฟฟา้ ท่คี วรทราบ P = I2 × R P = E×I P = E2÷ R E = I×R E = P÷I I = E÷R I = P÷E R = E÷I R = E2 ÷ P R = P ÷ I2 19. หน่วยวดั ของกำลังไฟฟ้า 1 กิโลวตั ต์ = 1,000 วัตต์ 1 วัตต์ = 1,000 มลิ ลวิ ตั ต์ 1 แรงม้า (HP) = 746 วตั ต์
- 18 - 20. ฟิวส์ (FUSE) เม่อื กระแสไฟฟ้าไหลผ่านความตา้ นทานตวั หนง่ึ กำลังไฟฟา้ ได้เปลย่ี นเป็นความร้อน ซ่ึงทำให้อุณหภมู ิของ ความตา้ นทานนนั้ สูงขึ้น ถ้าอุณหภมู สิ งู เกินไฟ ความต้านทานน้ันอาจชำรุด เสียหาย ความตา้ นทานอาจไหม้ละลาย ทำใหว้ งจรเปิด หรือกระแสหยุดไหลจากผลอนั นี้ทำให้ฟวิ ส์มีประโยชน์มาก ฟิวส์เปน็ โลหะความต้านทานท่มี คี วามตา้ นทานต่ำมาก ซง่ึ ไดอ้ อกแบบให้ \"ขาด\" หรือหลอมละลาย และ เปดิ วงจรเมอ่ื กระแสไฟมีมากเกินควรกล่าวคือ เมือ่ กระแสไฟฟา้ ท่ไี หลในวงจรมีค่ามากกว่าพิกดั ของฟิวส์นั้น ในการ ใช้งานเราตอ้ งต่อฟิวสเ์ ป็นอันดบั กับวงจรของอุปกรณน์ น้ั ๆ เช่นมอเตอร์ เครอ่ื งวดั ตา่ ง ๆ หรอื เครอ่ื งรับวิทยุเป็นตน้ ความมุง่ หมายของฟิวส์ก็คอื ป้องกันอปุ กรณไ์ ฟฟ้าจากกระแสไฟที่ไหลมากเกินควร การท่ีเราต้องต่อฟวิ สเ์ ปน็ อนั ดับ กบั อปุ กรณ์นนั้ ๆ กเ็ พือ่ ให้ฟวิ ส์เปดิ วงจรเสียก่อนที่กระแสไฟฟ้ามากเกนิ ควร จะเป็นอันตรายตอ่ อุปกรณ์ไฟฟ้า หรือ มคี วามรอ้ นสงู จนเกิดเพลงิ ลุกไหม้ได้ ฟวิ สร์ าคาถูกแต่อุปกรณ์ไฟฟา้ ต่าง ๆ มรี าคาแพง ฟวิ ส์ มจี ัดสร้างหลายแบบท้งั ขนาด รูปร่าง และกระแส มีพิกดั เปน็ แอมแปร์ ฟิ วส์ชนิดต่าง ๆท่ีใชก้ บั งานไฟฟ้า สญั ลกั ษณ์ของฟิ วส์ หรือ 21. เคร่ืองตัดต่อวงจรไฟฟ้า (CIRCUIT BREAKER CB.) ใช้สำหรับปอ้ งกนั วงจรไฟฟา้ เมอ่ื เกิดกระแสไหลในวงจรมากเกนิ ควร หรอื เกดิ การลัดวงจรขนึ้ เหมือนกบั ฟิวส์ เพียงแต่ฟวิ ส์น้นั จะหลอมละลาย และขาด แตเ่ ครอ่ื งตัดวงจรไฟฟ้า ประกอบดว้ ยชุดหนา้ คอนแทก ทำด้วยโลหะต่างชนดิ กันประกบติดกันไว้ เน่อื งจากโลหะตา่ งชนดิ กนั จะมีการขยายตวั ไมเ่ ท่ากนั เมื่อได้รับ ความรอ้ น จึงเกดิ การโก่งตวั และดึงให้หน้าคอนแทกแยกจากกัน เปน็ การเปิดวงจร เมือ่ หนา้ คอนแทกเย็นลงจะกลบั ลงมาแตะกนั เป็นการต่อวงจรตามเดมิ เคร่อื งตดั ตอ่ วงจร ฯ จะเปิด-ปิด วงจรสลบั กันไป จนกว่าจะได้แกป้ ัญหาที่ทำให้เกดิ การลดั วงจร หรอื กระแสไหลมากเกนิ ควรเสรจ็ เรียบรอ้ ยแลว้ แสดงลกั ษณะการทางานของเคร่ืองตดั วงจรไฟฟา้ (CIRCUIT BREAKER CB.) แถบโลหะบางชนิดกนั สัญลกั ษณ์ CB.
- 19 - 22. รีเลย์ถา่ ยทอดวงจร (RELAY) รีเลย์ คอื สวติ ชแ์ ม่เหลก็ ประกอบด้วยชุดหนา้ คอนแทรก ลกั ษณะเป็นแผน่ แหนบปลายขา้ งหนึ่งตรงึ อยู่กับที่ อย่เู หมือนแกนเหล็กของแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ เม่ือเปิดสวติ ช์มีกระแสไหลเข้าขดลวดแม่เหลก็ ไฟฟา้ จะดูดแขนชดุ หน้าคอน แทรกตัวตี เข้าหาชดุ หน้าคอนแทรกตัวต้งั หลอดไฟ หรือโหลดอน่ื ๆ คอนแทกตวั ตี คอนแทกตวั ต้งั 6 VDC. รี เลย์ ~ 220VAC. สวติ ช์ แสดงการควบคมุ การท างานของวงจรไฟฟ้ารีเลย์ การจัดหน้าคอนแทรกของรเี ลย์ อาจจดั ไวใ้ ห้อย่ใู นตำแหน่ง ปกติปิด (NORMALLY CLOSED) ซึง่ มักเรียก ยอ่ ๆ วา่ “NC.” จะเปดิ ก็ต่อเมอ่ื แม่เหล็กไฟฟา้ ดูดแขนชุดหนา้ คอนแทรก และหน้า คอนแทรกที่อยู่ในตำแหน่ง ปกตเิ ปดิ (NORMALLY OPEN) ซง่ึ เรยี กย่อ ๆ ว่า “NO.” จะปิดเมื่อ แม่เหลก็ ไฟฟา้ ดูดชุดหน้าคอนแทรก เมื่อ ปล่อยสวิตช์ แม่เหลก็ ไฟฟา้ จะปลอ่ ยแขนชดุ หนา้ คอนแทรกตัวตี ใหด้ ดี ตัวกลบั ดว้ ยแรงแหนบเข้าส่ตู ำแหน่งเดิม ขอ้ ดขี องรีเลยก์ ็คอื เราสามารถใชก้ ระแสเพยี งเล็กนอ้ ย ควบคมุ วงจรท่ีกระแสไหลมาก ได้ หรือใชแ้ รงเคลื่อนต่ำ ๆ ควบคุมวงจรท่ใี ชแ้ รงเคลือ่ นสูง ๆ ซงึ่ อาจเป็นอนั ตรายต่อชีวติ ได้ง่าย และผ้ใู ชง้ าน สามารถควบคมุ การทำงานของ โหลดไดจ้ ากระยะไกล
- 20 - 23. สญั ญาลักษณ์ในวงจรไฟฟ้า สายไฟ หลอดไฟ สายไฟต่อกนั ทจ่ี ดุ ฟิ วส์ สายไฟต่อกนั ทจี่ ุด ตวั ตา้ นทาน สายไสฟขญั า้ ลมกกั นัษณ แบบต ๆ ตวั ตา้ นทาปรับ ค่าได้ สายดิน หรือ DPST. DPDT. กราว สวติ ช์ SPDT. แบตเตอร่ีหน่ึงเซล แบตเตอรี่ โวลท์มิเตอร์ หรือ แอมมิเตอร์ คอนเดนเซอร์ คอลยแ์ กนอากาศ คอนเดนเซอร์ปรบั ค่าได้ -----------------------------------------------------------
- 21 - กระสนุ ปืนใหญร่ ถถังและรถเกราะ 1. กระสุนปนื ใหญ่ขนาด 105 มม. ถ. M48A5/ ถ.M60A1/ ถ.M60A3 1.1 กลา่ วนำ กระสุนปนื ใหญข่ นาด 105 มม. เป็นแบบกระสุนรวม ชนวนทา้ ยปลอกกระสนุ จุดดว้ ยไฟฟา้ 1.2 คุณลกั ษณะมาตราทาน 1. กระสุนเจาะเกราะสลดั ครอบทง้ิ เองทรงตัวดว้ ยครีบหาง (APFSDS-T, M735) EFC 1.0 - นำ้ หนกั 39.50 ปอนด์ - ความยาว 37.94 นว้ิ - ความเร็วตน้ 1501.14 เมตร/วินาที - สีดำ เครอ่ื งหมายสขี าว ใช้ตอ่ สู้ยานเกราะขนาดหนัก - ลูกกระสุนทำด้วย ทงั สะเตนคารไ์ บด์, นิคเกิ้ลและทองแดง 2. กระสุนเจาะเกราะสลัดครอบทง้ิ เองทรงตัวดว้ ยครบี หาง (APFSDS-T, M774) EFC 1.0 - นำ้ หนกั 37.80 ปอนด์ - ความยาว 35.75 น้ิว - ความเรว็ ต้น 1508.75 เมตร/วินาที - สดี ำ เครอื่ งหมายสีขาว ใช้ตอ่ สยู้ านเกราะขนาดหนัก - ลกู กระสุนทำด้วย กากยเู รเน่ยี ม (ใช้เฉพาะในสถานการณ์รบ) 3. กระสนุ เจาะเกราะสลัดครอบทิ้งเองทรงตัวดว้ ยครีบหาง (APFSDS-T, M833) EFC 1.0 - นำ้ หนกั 38.20 ปอนด์ (17.3 กก.) - ความยาว 39.32 นิว้ - ความเร็วตน้ 1493.52 เมตร/วินาที - สดี ำ เครื่องหมายสขี าว ใชต้ ่อสยู้ านเกราะขนาดหนัก - ลูกกระสุนทำดว้ ย กากยูเรเน่ยี ม (ใชเ้ ฉพาะในสถานการณ์รบ) 4. กระสุนเจาะเกราะสลัดครอบทง้ิ เอง (APDS-T, M392A2 และ M392) EFC 1.0 - น้ำหนัก 41 ปอนด์ - ความยาว 33 นว้ิ - ความเร็วตน้ 1478.28 เมตร/วนิ าที - สดี ำ เครอ่ื งหมายสีขาว ใชต้ อ่ สยู้ านเกราะขนาดหนกั - ลูกกระสุนทำดว้ ย ทังสะเตนคารไ์ บด์ - ระยะยงิ ไกลสุด 36,745 เมตร วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (การปรับเส้นเลง็ และกระสุนปื นใหญร่ ถถงั และรถเกราะ)
- 22 - 5. กระสุนเจาะเกราะสลดั ครอบท้งิ เอง (APDS-T, M728) EFC 1.0 - นำ้ หนกั 41.70 ปอนด์ - ความยาว 33.00 นวิ้ - ความเรว็ ตน้ 1,426.5 เมตร/วินาที - สดี ำ เครือ่ งหมายสีขาว ใชต้ ่อสู้ยานเกราะขนาดหนกั - ลูกกระสนุ ทำดว้ ย ทังสะเตนคารไ์ บด์, นิคเกล้ิ และทองแดง - ระยะยงิ ไกลสดุ 50,879 เมตร - ระยะยงิ หวังผลไกลสดุ 5,000 เมตร 6. กระสนุ ระเบิดตอ่ สู้รถถงั (HEAT-T ตระกลู M456) EFC 1.0 - น้ำหนกั 48 ปอนด์ - ความยาว 39.60 นิ้ว - ความเรว็ ตน้ 1,173.48 เมตร/วินาที - สดี ำ เครื่องหมายสขี าวและมีแถบสีเหลืองคาด ใชต้ ่อสู้ยานเกราะ ขนาดเบาและทีม่ ่ันดดั แปลงในสนามท่ีแขง็ แรง ใช้เป็นกระสนุ รองในการต่อสยู้ านเกราะขนาดหนัก - ระยะยิงไกลสุด 8,200 เมตร - ภายในบรรจุดนิ ระเบดิ COMP.B 2.14 ปอนด์ 7. กระสนุ ระเบิดตอ่ สู้รถถงั เอนกประสงค์ (HEAT-T-MP, M456A2) EFC 1.0 - นำ้ หนกั 49 ปอนด์ - ความยาว 39.60 นว้ิ - ความเร็วตน้ 1,173 เมตร/วนิ าที - สดี ำ เคร่อื งหมายสีเหลือง ใชต้ ่อสยู้ านเกราะขนาดเบา และ ที่ม่ันดัดแปลงในสนามท่ีแข็งแรง ใช้เปน็ กระสนุ รองในการต่อสู้ยานเกราะขนาดหนัก - ระยะยงิ ไกลสดุ 8,200 เมตร - ภายในบรรจุดินระเบดิ COMP.B 2.14 ปอนด์ - แตกตา่ งจาก M 456 คือ จะมสี วิตช์ IMPACT ทปี่ ลายลกู กระสุน 8. กระสนุ ระเบิดพลาสตกิ (HEP-T M393A2 และ M393A1) EFC 0.5 - น้ำหนกั 45 ปอนด์ - ความยาว 37 น้วิ - ความเรว็ ต้น 731.5 เมตร/วนิ าที - สกี ากีแกมเขียว เคร่ืองหมายสเี หลอื ง และมีแถบสดี ำคาด ใช้สังหารหน่วยทหารในท่ีกำบงั และเม่ือ ตอ้ งการผลทำลายดว้ ยการกะเทาะและสะเก็ดระเบดิ (สามารถทำลายคอนกรตี ไดห้ นา 6-8 ฟุต) - ระยะยิงไกลสุด 9,510 เมตร - ภายในบรรจดุ ้วยดินระเบดิ COMP.A (M393A2, 6.6 ปอนด,์ M393A1, 6.3 ปอนด)์ วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (การปรับเส้นเลง็ และกระสุนปื นใหญร่ ถถงั และรถเกราะ)
- 23 - 9. กระสุนควัน (WP-T, M416) EFC 0.5 - น้ำหนกั 45.50 ปอนด์ - ความยาว 37 นิ้ว - ความเรว็ ตน้ 731.5 เมตร/วนิ าที - สีเขยี วอ่อน มแี ถบสีเหลืองคาด และเครื่องหมายสแี ดง ใช้ในการชีเ้ ป้าหมาย, ทำฉากควนั หรอื เผาผลาญ - ระยะยิงไกลสดุ 9,150 เมตร - ภายในบรรจุด้วย ควันฟอสฟอรัสขาว (WP) 6 ปอนด์ 10. กระสุนสังหารบุคคล (APERS-T, ตระกลู M494) EFC 1.0 - นำ้ หนัก 55 ปอนด์ - ความยาว 39.17 นว้ิ - ความเร็วต้น 822.96 เมตร/วนิ าที - สีกากีแกมเขียว มีแถบสเี หลืองคาด เครอื่ งหมายสีขาว และมีขา้ วหลามตัดสีขาว ใช้สงั หารหน่วยทหารในท่ีโลง่ แจง้ - ระยะยิงไกลสุด 4,400 เมตร - ภายในมลี กู ดอก(FLECHETTES) 5,000 ลูก (FM17-12-1-1 ฉบับ 5 MAY1998) วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (การปรับเสน้ เลง็ และกระสุนปื นใหญ่รถถงั และรถเกราะ)
- 24 - 11. กระสุนฝึกยิง (TPDS-T, M724/ M724A1) EFC 1.0 - น้ำหนกั 32 ปอนด์ - ความยาว 33 น้ิว - ความเร็วตน้ 1,539 เมตร/วนิ าที - สีฟา้ เคร่ืองหมายสขี าว ใชฝ้ กึ ยงิ แทนกระสุน APDS-T M392A2 ถึงระยะ 2,000 เมตร - ระยะยงิ ไกลสุด 16,739 เมตร 12. กระสนุ ฝึกยงิ (TP-T, M490) EFC 1.0 - น้ำหนกั 45 ปอนด์ - ความยาว 39 น้ิว - ความเร็วต้น 1,170 เมตร/วินาที - สีฟา้ เครือ่ งหมายสขี าว ใชฝ้ กึ ยิงแทนกระสนุ HEAT-T ตระกูล M456 - ระยะยิงไกลสดุ 8,207 เมตร - ทรงตัวด้วยครบี หาง 13. กระสนุ ฝกึ ยิง (TP-T, M490A1) สีเหมอื นกับ M490 แต่ทรงตวั ดว้ ย STATIC STABILIZED - น้ำหนัก 45.81 ปอนด์ (EFC 1.0) - ความยาว 39.34 นิ้ว - ความเรว็ ตน้ 1,170 เมตร/วินาที - ระยะยิงไกลสุด 8,207 เมตร ใชฝ้ กึ ยิงแทนกระสนุ HEAT-T ตระกูล M456 14. กระสนุ ฝึกยงิ (TP-T, M467) EFC 0.5 - น้ำหนัก 45 ปอนด์ - ความยาว 37 นวิ้ - ความเร็วตน้ 730 เมตร/วนิ าที - สีฟา้ เครอ่ื งหมายสีขาว ใช้ฝกึ ยงิ แทนกระสนุ HEP-T, M393A1 และ M393A2 - ระยะยงิ ไกลสุด 9,510 เมตร 15. กระสุนฝกึ ยิง (TP-T, M393A1) EFC 0.5 - นำ้ หนัก 45 ปอนด์ - ความยาว 37 นว้ิ - ความเร็วต้น 731.5 เมตร/วนิ าที - สฟี า้ เครอ่ื งหมายสีขาว ใชฝ้ ึกยงิ แทนกระสนุ HEP-T, M393A1 และ M393A2 - ระยะยงิ ไกลสดุ 9,510 เมตร วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (การปรับเสน้ เลง็ และกระสุนปื นใหญ่รถถงั และรถเกราะ)
- 25 - 16. กระสนุ ฝึกยิง (TPCSDS-T, DM 128) ผลติ โดย ประเทศเยอรมันตะวันตก EFC 1.0 - นำ้ หนกั 36.6 ปอนด์ - ความยาว 36.4 น้ิว - ความเรว็ ตน้ 731.5 เมตร/วนิ าที - สฟี า้ เคร่อื งหมายสีขาว ใช้ฝกึ ยงิ แทนกระสนุ APFSDS-T M735, M774 และ M833 - ระยะยงิ ไกลสุด 9,510 เมตร 17. กระสุนฝกึ บรรจุ (DUMMY, M 457) - นำ้ หนัก 44 ปอนด์ - ความยาว 37 นิ้ว - สีฟ้า เครือ่ งหมายสขี าว (รุ่นใหมไ่ ม่ทาสี ลกู กระสุนทำดว้ ยทองแดงและดบี ุก) ใชฝ้ ึกบรรจุ หมายเหตุ กระสนุ ทหี่ ้ามใชย้ งิ ขา้ มหนว่ ยทหารฝ่ายเดียวกนั เม่ือหนว่ ยทหารฝ่ายเดยี วกันไม่มีเครอื่ งป้องกัน เหนือศรี ษะ ได้แก่กระสุน APFSDS/APDS ทุกแบบ, APERS-T และ HEAT-T, M456A2 2. กระสุนปืนใหญ่ขนาด 105 มม. ถ.เบา 32 สตงิ เรย์ 2.1 กลา่ วนำ กระสนุ ปืนใหญ่ขนาด 105 มม. สำหรบั ปืนใหญแ่ รงถอยตำ่ L7 เป็นแบบกระสุนรวม ชนวน ทา้ ยปลอกกระสนุ จดุ ด้วยไฟฟ้า 2.2 คณุ ลกั ษณะมาตราทาน 1. กระสุนเจาะเกราะสลัดครอบท้ิงเองทรงตวั ดว้ ยครบี หาง (APFSDS, L64) EFC 0.60 - น้ำหนกั 18.00 กก. - ความยาว 948 มม. - ความเรว็ ตน้ 1,490 เมตร/วินาที - สีดำ เครอ่ื งหมายสีขาว ใช้ตอ่ สูย้ านเกราะขนาดหนัก - ลูกกระสนุ ทำด้วยทังสะเตนคารไ์ บด์ 2. กระสนุ เจาะเกราะสลัดครอบทิ้งเอง (APDS, L52) EFC 1.0 - น้ำหนัก 19.14 กก. - ความยาว 838 มม. - ความเรว็ ต้น 1,426.5 เมตร/วินาที - สดี ำ เครอ่ื งหมายสขี าว ใชต้ ่อสู้ยานเกราะขนาดหนกั - ลูกกระสุนทำด้วยทังสะเตนคารไ์ บด์ วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (การปรับเส้นเลง็ และกระสุนปื นใหญ่รถถงั และรถเกราะ)
- 26 - 3. กระสนุ ระเบดิ กระเทาะเกราะ (HESH, L35) EFC 0.02 - นำ้ หนกั 21.20 กก. - ความยาว 940 มม. - ความเรว็ ตน้ 732 เมตร/วนิ าที - ภายในบรรจุดินระเบดิ 2.12 กก. - ลูกกระสุนสดี ำ หวั ลูกกระสุนพ่นสีเหลือง เครื่องหมายสีทอง ใชต้ อ่ สยู้ านเกราะขนาดเบา และ ทำลายที่มั่นดดั แปลงทแ่ี ข็งแรง และเม่อื ต้องการให้เกิดแรงผลักดันและมสี ะเกด็ ระเบดิ (เหมอื น กับกระสนุ HEP สหรัฐฯ) 4. กระสนุ ควัน (SMOKE-BE, L39) EFC 0.01 - น้ำหนกั 20.64 กก. - ความยาว 940 มม. - ความเรว็ ตน้ 260 เมตร/วินาที - ลกู กระสนุ พน่ สีตะกวั่ เครื่องหมายสนี ำ้ ตาล ใชท้ ำฉากควัน 5. กระสนุ ฝกึ ยงิ (DS/PRAC, L63) EFC 0.30 - นำ้ หนกั 14.91 กก. - ความยาว 838 มม. - ความเร็วตน้ 1,539 เมตร/วนิ าที - สีฟ้า เครื่องหมายสขี าว ใช้ฝึกยงิ แทนกระสุน APDS 6. กระสุนฝึกยงิ (SH/PRAC, L38) EFC 0.02 - น้ำหนัก 21.20 กก. - ความยาว 940 มม. - ความเร็วตน้ 732 เมตร/วินาที - สฟี ้า เครือ่ งหมายสขี าว ใช้ฝกึ ยงิ แทนกระสนุ HESH หมายเหตุ ** หา้ มยงิ กระสุน APDS/APFSDS ทุกแบบข้ามศีรษะหน่วยทหารฝ่ายเดียวกัน เม่ือไม่มีเคร่ือง ป้องกนั เหนือศีรษะ ** กระสุนขนาด 105 มม. ของ ถ.M48A5/ M60A1/ A3 และ ถ.เบา 32 ใช้ยิงแทนกนั ได้ 3. กระสนุ ปืนใหญ่ขนาด 100 มม. ถ.30 T 69-2 3.1 กล่าวนำ กระสนุ ปืนใหญข่ นาด 100 มม. สำหรบั ปนื ใหญข่ นาด 100 มม. แบบ 69-2 เป็นแบบกระสนุ รวม ชนวนทา้ ยปลอกกระสุนจดุ ด้วยเชิงกล วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (การปรับเสน้ เลง็ และกระสุนปื นใหญ่รถถงั และรถเกราะ)
- 27 - 3.2 คณุ ลักษณะและมาตราทาน 1. กระสุนระเบดิ ( HE ) - น้ำหนัก 30.19 กก. - ความยาว 1082-1095 มม. - ความเร็วตน้ 900 เมตร/วินาที - ระยะยงิ ด้วยกล้องเลง็ ไกลสุด 5,200 เมตร 2. กระสุนเจาะเกราะสอ่ งวิถี ( APC-T ) - น้ำหนกั 30.4 กก. - ความยาว 1019-1031 มม. - ความเร็วตน้ 887 เมตร/วนิ าที - ระยะยิงดว้ ยกล้องเล็งไกลสุด 4,000 เมตร 3. กระสุนระเบิดต่อสู้รถถงั ( HEAT ) - นำ้ หนัก 23.9 กก. - ความยาว 1059-1065 มม. - ความเรว็ ต้น 955 เมตร/วินาที - ระยะยงิ ดว้ ยกล้องเล็งไกลสุด 3,600 เมตร 4. กระสนุ เจาะเกราะสลดั ครอบทงิ้ เองทรงตัวด้วยครีบหาง ( APFSDS ) - น้ำหนกั 19.2 กก. - ความยาว 1059-1065 มม. - ความเรว็ 1,480 เมตร/วนิ าที - ระยะยิงด้วยกล้องเลง็ ไกลสุด 4,000 เมตร 4. กระสนุ ปนื ใหญ่ขนาด 76 มม. ถ.M41 4.1 กลา่ วนำ กระสนุ ปืนใหญ่ขนาด 76 มม. สำหรบั ปนื ใหญ่ บ.32 เป็นแบบกระสนุ รวม 4.2 คณุ ลักษณะและมาตราทาน 1. กระสนุ ลกู ปราย ( CANISTER, M363 ) ส่ังว่า “ ลกู ปราย ” - น้ำหนัก 27.18 ปอนด์ - ความยาว 32.00 นว้ิ - ความเรว็ ตน้ 2,400 ฟุต/วนิ าที - ระยะยิงหวังผลไกลสดุ 170 หลา - ใชต้ ่อสู้หนว่ ยทหารในระยะใกล้ วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (การปรับเสน้ เลง็ และกระสุนปื นใหญร่ ถถงั และรถเกราะ)
- 28 - 2. กระสนุ ระเบดิ ( HE, COMP.B, M352 ) - นำ้ หนัก 25.83 ปอนด์ - ความยาว 34.05 นวิ้ - ความเร็วตน้ 2,400 ฟุต/วนิ าที - ระยะยงิ ไกลสดุ 14,680 หลา 3. กระสุนระเบดิ ตอ่ สู้รถถงั ( HEAT-T COM.B, M496 ) - น้ำหนัก 20.41 ปอนด์ - ความยาว 31.8 นว้ิ - ความเร็วตน้ 3,550 ฟตุ /วินาที - ระยะยงิ หวังผลไกลสุด 21,900 หลา 4. กระสนุ เจาะเกราะ ( AP-T, M339 ) - น้ำหนกั 27.32 ปอนด์ - ความยาว 32.89 นว้ิ - ความเรว็ ต้น 3,200 ฟุต/วนิ าที - ระยะยิงไกลสดุ 16,080 หลา - ใชต้ อ่ สยู้ านเกราะขนาดเบาและขนาดกลาง 5. กระสนุ เจาะเกราะความเร็วต้นสงู มาก ( HVAP-T, M319 ) - น้ำหนัก 19.33 ปอนด์ - ความยาว 32.60 นว้ิ - ความเรว็ ต้น 4,135 ฟุต/วนิ าที - ระยะยงิ ไกลสดุ 10,810 หลา - ใช้ตอ่ ส้ยู านเกราะขนาดหนัก 6. กระสุนเจาะเกราะความเรว็ ต้นสงู มากสลดั ครอบท้ิงเอง (HVAP-DS-T, M331 A2) - น้ำหนัก 20.72 ปอนด์ - ความยาว 32.60 นว้ิ - ความเร็วต้น 4,125 ฟุต/วนิ าที - ระยะยงิ ไกลสุด 23,630 หลา - ใช้ตอ่ สยู้ านเกราะขนาดหนักในระยะไกล 7. กระสนุ ควัน ( WP, M361 A1 ) - น้ำหนกั 25.82 ปอนด์ - ความยาว 35.05 นว้ิ - ความเรว็ ตน้ 2,400 ฟตุ /วนิ าที - ระยะยิงไกลสุด 16,070 หลา วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (การปรับเสน้ เลง็ และกระสุนปื นใหญร่ ถถงั และรถเกราะ)
- 29 - - ใช้สำหรบั ทำฉากควัน 8. กระสุนฝึกยงิ เจาะเกราะความเรว็ ต้นสูงมาก ( HVTP-T M320 ) - นำ้ หนกั 19.13 ปอนด์ - ความยาว 32.64 นวิ้ - ความเร็วตน้ 4,135 ฟตุ /วินาที - ระยะยงิ ไกลสุด 10,810 หลา 9. กระสุนฝึกยิง ( TP-T, M340A1 ) - นำ้ หนัก 27.32 ปอนด์ - ความยาว 32.89 นิ้ว - ความเร็วตน้ 3,200 ฟตุ /วินาที - ระยะยิงไกลสุด 16,080 หลา 10. กระสนุ ซ้อมรบ ( BLANK, M355 ) - น้ำหนกั 4.61 ปอนด์ - ความยาว 6.63 นวิ้ - ผงโซเดยี มไนเตรทสีดำ 1.5 ปอนด์ 4.3 การทาสี เพื่อ 1. ป้องกันสนิม 2. เปน็ รหสั แสดงชนิดกระสนุ สง่ิ ตา่ ง ๆ ท่ีพ่นบนลูกกระสนุ (ระบบของสหรัฐ ฯ) 1. กระสนุ เจาะเกราะ ( AP-T ) สีดำ เคร่ืองหมายสีขาว 2. กระสุนเจาะเกราะความเร็วต้นสงู มาก ( HVAP-T ) สดี ำ เครือ่ งหมายสีขาว 3. กระสุนเจาะเกราะความเร็วต้นสูงมากสลัดครอบทิ้งเอง (HVAP-DS-T) สดี ำ เคร่ืองหมายสีขาว 4. กระสุนระเบดิ ( HE ) สกี ากีแกมเขยี ว เคร่ืองหมายสีเหลอื ง 5. กระสนุ ระเบิดต่อสู้รถถงั ( HEAT-T ) สดี ำ เครอ่ื งหมายสเี หลือง 6. กระสนุ ควัน ( WP ) สเี ทา เคร่ืองหมายและแถบสีเหลอื ง 7. กระสนุ ลกู ปราย ( CANISTER ) สีดำ เคร่ืองหมายสีขาว 8. กระสุนฝึกยงิ ( TP-T ) สีฟ้า เครือ่ งหมายสขี าว 4.4 ข้อควรระวัง 1. อยา่ แกะผนึกจนกวา่ จะพร้อมทจี่ ะใช้กระสุน 2. ปอ้ งกันมิให้ถกู ความรอ้ น 3. ป้องกนั มใิ ห้กระสนุ เปอื้ นทราย,ฝุ่นละออง และเปียกนำ้ 4. อยา่ พยายามถอดแยกชนิ้ ส่วนของชนวน (กระสนุ ระเบดิ ของ ถ. M41, M41 A1 สามารถถอดหัว ชนวนระเบดิ เปลี่ยนเปน็ ชนวนเจาะเกราะคอนกรีตได้) วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (การปรับเสน้ เลง็ และกระสุนปื นใหญ่รถถงั และรถเกราะ)
- 30 - 5. อยา่ ถอดเคร่ืองนิรภัยออกจากชนวน นอกจากพรอ้ มทจี่ ะใช้แลว้ 6. อยา่ จับต้องกระสุนควนั (ดา้ นนอก) 7. จบั ต้องกระสนุ ทกุ ชนิดด้วยความระมัดระวัง และใหด้ ้านชนวนท้ายปลอกกระสุนขนึ้ ขา้ งบน (แรงกด 15 - 17 ปอนด์ ทำใหช้ นวนทำงาน ) 5. กระสนุ ปนื ใหญ่ขนาด 76 มม. ถ.เบา 21 5.1 กล่าวนำ กระสุนปืนใหญข่ นาด 76 มม. ถ.เบา 21 เปน็ แบบกระสุนรวม มคี ลิ๊ปรองทางจานทา้ ย เพ่อื ป้องกนั ชนวนท้ายปลอกกระสุน 5.2 ชนิดกระสนุ 1. กระสุนระเบดิ กระเทาะเกราะ ( HESH, L 29 ) - ตัวลูกกระสุนบรรจุดินระเบิด RDX - ชนวนลกู กระสุน เปน็ แบบชนวนท้าย - ตัวลูกกระสนุ พ่นสีดำ หัวลกู กระสนุ พ่นสีเหลือง เครื่องหมายและอักษรสีทอง - ใช้ยงิ แทนกระสุนระเบิด จะเกิดแรงผลักดนั และมสี ะเก็ดระเบิด - ใช้ตอ่ สยู้ านเกราะ - ระยะยงิ (เลง็ ตรง) 2,200 เมตร - ระยะยิง (ก่ึงเลง็ ตรง) 5,000 เมตร 2. กระสนุ ฝึกยงิ ระเบิดกระเทาะเกราะ ( PRAC SH, L 40 ) - รูปร่าง, ขนาด, นำ้ หนกั เหมือนกับกระสุนระเบดิ กะเทาะเกราะ - ใช้ฝกึ ยิงแทนกระสนุ ระเบิดกะเทาะเกราะ - ตวั ลูกกระสนุ เป็นเหล็กตัน - ตวั ลูกกระสนุ พน่ สีฟ้าเข้ม เครื่องหมายและอักษรสขี าว - ระยะยงิ (เลง็ ตรง) 2,200 เมตร - ระยะยิง (กง่ึ ยิงเล็งตรง) 5,000 เมตร 3. กระสนุ ระเบิด ( HE L 24 ) - ตัวลูกกระสนุ บรรจดุ ินระเบิด RDX/ TNT. - ชนวนลกู กระสนุ เป็นแบบชนวนหัว - ตัวลกู กระสุนพน่ สบี รอนซ์ เคร่อื งหมายและอกั ษรสเี หลอื ง - ใช้ตอ่ สูย้ านยนต์ไมห่ ุ้มเกราะ หรอื หน่วยทหารเปน็ กลมุ่ ก้อน - ระยะยงิ (เล็งตรง) 2,200 เมตร - ระยะยิง (ก่งึ เล็งตรง) 5,000 เมตร วิชาอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (การปรับเส้นเลง็ และกระสุนปื นใหญ่รถถงั และรถเกราะ)
- 31 - 4. กระสุนฝกึ ยงิ ระเบิด ( PRAC HE, L 25 ) - รปู รา่ ง,ขนาด,นำ้ หนัก เหมอื นกบั กระสุนระเบิด - ใชฝ้ ึกยิงแทนกระสุนระเบิด - ภายในบรรจุวตั ถุแทนดินระเบิด - ตวั ลูกกระสุนพ่นสีฟา้ เข้ม เคร่ืองหมายและอักษรสขี าว - ระยะยิง (เล็งตรง) 2,200 เมตร - ระยะยงิ (กง่ึ เล็งตรง) 5,000 เมตร 5. กระสนุ ควนั ( SMOKE BE, L 32 ) - มีกระปกุ ควนั 3 กระปุก ขับออกทางซา้ ย - วัตถุทำควนั COMPOSITION - ใช้ชนวนหวั ต้งั เวลา หมายเลข 390 - ใชก้ ุญแจต้งั เวลาตามระยะยิง - ตัวลกู กระสุนพ่นสีตะกวั่ เครื่องหมายและอักษรสนี ้ำตาล - ระยะยิงไกลสุด 3,700 เมตร 6. กระสนุ ลกู ปราย ( CANISTER, L 33 ) - ตัวลูกกระสุนทรงกระบอก - ภายในบรรจลุ กู ปราย 800 ลูก - ใช้ต่อสู้หนว่ ยทหารในระยะใกล้ - ตัวลูกกระสนุ พน่ สีเขียวบรอนซ์ เคร่ืองหมายและอกั ษรสขี าว - ระยะยงิ หวังผล 150 เมตร 7. กระสุนซอ้ มรบ ( BLANK L1, L2 ) - ใช้สำหรับซ้อมรบ เกดิ เสียงดัง - ใชย้ ิงสลุต - ภายในบรรจดุ นิ ปนื G-12 6. กระสุนปืนใหญ่ขนาด 90 มม. รถเกราะ V-150 6.1 กล่าวนำ กระสนุ ปืนใหญ่ขนาด 90 มม. เปน็ แบบกระสนุ รวม ใช้กบั รถเกราะ V-150 6.2 คุณลักษณะมาตราทาน 1. กระสุนระเบดิ ต่อสู้รถถัง ( HEAT-T , NR 478 ) - นำ้ หนัก 7.5 กก. - ความยาว 565.2 ซม. - ความเรว็ ต้น 900 เมตร/วนิ าที - ระยะยิงหวังผลไกลสดุ (เลง็ ตรง) 1,500 เมตร วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (การปรับเส้นเลง็ และกระสุนปื นใหญ่รถถงั และรถเกราะ)
- 32 - - ระยะศนู ยร์ บ 1,100 เมตร - เจาะเกราะหนา 25 ซม. 2. กระสนุ ระเบดิ กะเทาะเกราะ ( HESH-T , NR 503 ) - น้ำหนัก 7.6 กก. - ความยาว 59.1 ซม. - ความเรว็ ตน้ 800 เมตร/วนิ าที - ระยะยงิ หวงั ผลไกลสุด (เล็งตรง) 2,200 เมตร - ระยะศูนย์รบ 800 เมตร 3. กระสนุ ระเบิด ( HE-T NR 501 ) - น้ำหนกั 8.3 กก. - ความยาว 63.5 ซม. - ความเรว็ ต้น 700 เมตร/วนิ าที - ระยะยิงหวงั ผลไกลสดุ (เลง็ ตรง) 2,200 เมตร - ระยะศูนยร์ บ 800 เมตร 4. กระสุนควัน ( SMOKE PHOSPHORUS, NR 502 ) - นำ้ หนัก 8.6 กก. - ความยาว 63.5 ซม. - ความเรว็ ตน้ 690 เมตร/วนิ าที - ระยะยิงหวงั ผลไกลสดุ (เลง็ ตรง) 2,200 เมตร - ระยะศนู ยร์ บ 800 เมตร 5. กระสนุ ลูกปราย ( CANISTER ANTIPERSONEL, NR 125 ) - นำ้ หนกั 6.15 กก. - ความเร็วตน้ 520 เมตร/วินาที - ระยะยงิ หวังผลไกลสุด 300 เมตร - ลกู ปรายจำนวน1,400 ลูก หมายเหตุ กระสนุ ที่พัฒนา เมื่อ ค.ศ.1980 คอื 6. กระสนุ ระเบิดสงั หารบคุ คลชนิดสะเก็ดระเบดิ ( HE- APERS-FRAG, NR 219 ) - น้ำหนัก 10.6 กก. - ความยาว 64.2 ซม. - ความเรว็ ต้น 320 เมตร/วนิ าที - ระยะยงิ หวังผล (เลง็ ตรง) 1,000 เมตร - ระยะยิงไกลสดุ (ยกปนื 30 องศา) 6,000 เมตร วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (การปรับเส้นเลง็ และกระสุนปื นใหญ่รถถงั และรถเกราะ)
- 33 - กระสุนระเบิดต่อส่รู ถถัง (HEAT-T) High Explosive Anti-Tank , Tracer กระสนุ สงั หารบคุ คล (APERS-T) Anti-Personnel , Tracer กระสนุ ควนั (WP-T) White Phosphorus , Tracer กระสนุ ระเบิดกระเทาะเกราะ (HESH-T) High Explosive Squash Head , Tracer กระสุนระเบิดพลาสติค (HEP-T) High Explosive Plastic , Tracer กระสุนเจาะเกราะสลัดครอบท้ิงเอง (APDS-T) Armor Piercing , Discarding Sabot , Tracer กระสนุ เจาะเกราะสลดั ครอบทิ้งเองทรงตัวดว้ ยครีบหาง (APFSDS-T) Armor Piercing , Fin Stabilized Discarding Sabot , Tracer - - - - - - - - - - - - -------------------------- - - - - - - - - - - - - วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (การปรับเสน้ เลง็ และกระสุนปื นใหญร่ ถถงั และรถเกราะ)
- 34 - ปนื กล M 37 ขนาด .30 นิ้ว 1. กลา่ วนำ ปืนกล M37 เปน็ ปืนกลรว่ มแกนของรถถงั M41A2, M41A3 2. คณุ ลกั ษณะ 2.1 ทำงานดว้ ยแรงถอย 2.2 ป้อนกระสุนด้วยสายกระสุน 2.3 ระบายความรอ้ นด้วยอากาศ 2.4 ยิงเปน็ แบบอตั โนมัติ 2.5 เข็มแทงชนวนแบบไปดว้ ยแรงแหนบ 2.6 ทำการยิงจากลักษณะหน้าลกู เล่อื นปดิ 3. ขอ้ มูลอาวุธ - กว้างปากลำกลอ้ ง . 30 นิ้ว - ระยะยิงไกลสดุ ประมาณ 3,200 เมตร - ระยะยิงหวงั ผลไกลสดุ ประมาณ 900 เมตร - น้ำหนักปืน 31 ปอนด์ 4. ช่อื ชน้ิ ส่วนภายนอก - ปลอกประคองลำกล้อง - เหล็กรองลำกล้อง - ลำกลอ้ ง - กลอนฝาปิดห้องลกู เลื่อน - ห้องลกู เล่ือน - ฝาปดิ ห้องลูกเล่ือน - ช่องบรรจุสายกระสุน - แท่นศูนย์หลัง - คนั รง้ั ลกู เลอ่ื น, ปมุ่ คันร้ังลูกเล่อื น - เหล็กปดิ ท้ายห้องลกู เลอื่ น 5. การถอดแบบปกติ มีชนิ้ ส่วนใหญ่ ๆ ทีถ่ อดได้ คือ. 1. เหลก็ ปดิ ทา้ ยห้องลูกเลื่อน 2. แกนแหนบและแหนบส่งลูกเลอื่ น 3. ปุม่ คันรัง้ ลูกเล่อื น 4. คนั รั้งปุ่มรั้งลูกเลือ่ น 5. หม่ลู กู เล่ือน 6. โครงลกู เลอ่ื น 7. โครงตอ่ ท้ายลำกล้อง 8. ลำกล้อง 6. การปรับระยะหนา้ ลกู เล่ือน ระยะหน้าลูกเล่ือน คือ ระยะห่างระหว่างจานท้ายปลอกกระสุนเม่ือกระสุนเข้ารังเพลิงเรียบร้อยแล้ว กบั หน้าลูกเลือ่ น การปรบั ระยะหน้าลูกเล่ือนกระทำได้ 2 วธิ ี คือ. 1. เมื่อปืนยงั ไม่ได้ประกอบ (หลงั จากกลอนลูกเลอ่ื นตกแล้วขันลำกล้องเข้าอีก 1 คลิก้ ) วิชาอาวุธขนาดเลก็ (ปก.M37)
- 35 - 2. เมื่อประกอบปืนเรียบร้อยแล้ว (หลังจากคลายลำกล้องจนส่วนเคลอ่ื นท่ีวง่ิ ไปขา้ งหนา้ แลว้ ให้คลาย ลำกลอ้ งออกอีก 2 คล้ิก) การปรับระยะหนา้ ลกู เลื่อนเม่ือประกอบปืนเรยี บร้อยแล้ว 1. ตรวจความปลอดภัยของปืน 2. ดงึ คันร้ังลูกเลอื่ นมาขา้ งหลังประมาณ ¾ น้ิว และขนั ลำกล้องเข้ากับโครงต่อท้ายลำกล้องใหส้ ดุ 3. ปลอ่ ยลูกเลื่อนกลับไปขา้ งหน้าดว้ ยการขยายตวั ของแหนบรบั แรงถอย (ห้ามใช้แรงดันคันรง้ั ลูกเล่ือน) 4. ดึงลูกเล่ือนค้างไว้ข้างหลังเพื่อเป็นการผ่อนแหนบยึดลำกล้อง และให้คลายลำกล้องออกทีละคล้ิกตรวจ สอบว่าหลังจากคลายลำกล้องออกแต่ละคลิ้กนัน้ โครงต่อท้ายลำกล้องเคล่ือนทก่ี ลับไปขา้ งหน้าสดุ หรือยงั 5. เม่ือลำกลอ้ งและโครงตอ่ ทา้ ยลำกล้องเคล่ือนทีก่ ลบั ไปหน้าสุดแล้ว (ข้ันตอนที่ 4) ใหค้ ลายลำกลอ้ งออกอีก 2 คลกิ้ เพอ่ื เปน็ การชดเชย เมอื่ ทำการยงิ ปนื ลำกล้องปนื จะรอ้ นแล้วขยายตวั 7. สิ่งชี้สอบ 1. หลังจากทำการยงิ ปนื ใหร้ บี ทำความสะอาดปลอกประคองลำกล้อง เน่ืองจากจะมีคราบเขมา่ มากอาจทำใหล้ ำกลอ้ งตดิ ไม่ถอยมาขา้ งหลังในขณะทำการยิง 2. ในขณะทำการยงิ ระหวา่ งหยดุ พักใหห้ ยอดนำ้ มันหลอ่ ลน่ื สว่ นเคลอื่ นท่ี และร่องทางเดินของ ลกู เลอ่ื น วชิ าอาวุธขนาดเลก็ (ปก.M37)
- 36 - ตารางชนิดกระสุน ปนื กล M 37 ขนาด .30 นว้ิ ( TM 43-0001-27 ฉบบั APRIL 1994 ) ลำดบั ชนดิ กระสุน รหสั สี ความมุง่ หมายในการใช้ 1. กระสุนทดสอบความดนั สูง ปลอกกระสนุ สีเงิน ยิงทดสอบอาวุธ ในระหวา่ งการผลติ HIGH PRESSURE TEST หรอื การซ่อมบำรุงอาวธุ ( HPT ) M1 2. กระสนุ สอ่ งวถิ ี (TRACER) 2.1 M1 หวั กระสุนสแี ดง ตรวจตำบลกระสนุ ตก 2.2 M25 หัวกระสนุ สีสม้ สังหารบคุ คล/ ทำลายเป้าหมายที่ไม่ หมุ้ เกราะ 3. กระสนุ เจาะเกราะ ARMOR หัวกระสุนสีดำ อำนาจในการเจาะเกราะ ยิงแผน่ PIERCING ( AP ) M2 เกราะ หนา 7/8 น้วิ ณ ระยะ 100 หลา สามารถเจาะแผน่ เกราะไดห้ นาไม่ น้อยกวา่ 0.42 นว้ิ 4. กระสนุ ธรรมดา ( BALL ) หัวกระสนุ ไม่ทาสี สังหารบคุ คล/ทำลายเป้าหมายที่ M2 ไมห่ มุ้ เกราะ 5. กระสุนเจาะเกราะเพลงิ หัวกระสุนสีเงิน ยงิ แผ่นเหลก็ กลา้ หนา 7/8 น้ิว ณ ARMOR PIERCING ระยะ INCENDIARY (API) M14 100 หลา สามารถเจาะแผ่นเหล็กได้ หนาไมน่ ้อยกวา่ 0.42 นว้ิ เม่ือกระสุน กระทบเป้าหมายจะเกดิ เพลิงลุกไหม้ ทนั ที 6. กระสนุ หวั เปราะ หวั กระสุนสเี ขียว, มีแถบสี ใชฝ้ กึ วิชาหลกั ยงิ (GUNNERY (FRANGIBLE) M22 ขาวคาด PRACTICE) 7. กระสุนฝึกบรรจุ (DUMMY) ไมม่ ีชนวนทา้ ย, มีลอน ฝึกบรรจุ/ ตรวจสภาพ และทดสอบ M40 ลูกฟกู ยาว 1 นิ้ว จำนวน 6 กลไกของอาวธุ ลอน บนปลอกกระสนุ 8. กระสนุ ซ้อมรบ ( BLANK ) ไมม่ ลี ูกกระสุน ใชฝ้ ึกยิงจำลองแทนกระสนุ จรงิ หรอื M1909 ปากปลอกกระสนุ สอบ ใชย้ งิ สลุต - - - - - - - - - - - ------------------------ - - - - - - - - - - - - - - วิชาอาวุธขนาดเลก็ (ปก.M37)
- 37 - ระบบอาวุธป้อมปนื ถ.M41A3 หลกั ฐาน รส. 17-80, คำสั่งการหล่อลน่ื LO 9-7016 1. การทำความคุ้นเคยป้อมปืน ถ.M41 1.1 กล่าวนำ ถ.M41 เป็นรถถังเบาติดตั้งปนื ใหญ่ขนาด 76 มม. ความเร็วตน้ สงู 1 กระบอก, ปก.ร่วมแกนขนาด .30 น้ิว M37 1 กระบอก และ ปก. ขนาด .50 น้ิว บนป้อม 1 กระบอก มีพลประจำรถ 4 นาย คอื ผบ.รถ, พลยิง , พลขับ และ พลบรรจุ 1.2 อาวุธยุทโธปกรณป์ ระจำรถและการติดต้งั ภายนอกรถ - ปืนใหญ่ขนาด 76 มม. บ.32 ติดตง้ั อยกู่ บั โล่ปืนดา้ นหนา้ - ช่องยงิ ปก.ร่วมแกนขนาด .30 นิ้ว M37 (อยู่ทางด้านซ้ายของปนื ใหญ่) - ช่องเลง็ กล้อง บ.97 อยู่ทางดา้ นขวา จะมีแผน่ เกราะเปิด-ปดิ ได้ การเปิดแผ่นเกราะเปดิ จากตำแหน่งพลยงิ - ฐานติดตง้ั ปก.ขนาด .50 น้ิว - หวั กลอ้ ง บ.20 และ บ.20 ป.1 ของพลยิง และ ของ ผบ.รถ - ช่องทาง เขา้ -ออก ของ ผบ.รถ และ พลยิง - หวั กล้อง บ.13 ของพลบรรจุ และชอ่ งทาง เขา้ -ออก ของพลบรรจุ - พัดลมระบายอากาศ - หีบเกบ็ สมั ภาระท้ายป้อม ช่องทางเขา้ -ออกของพลยงิ และ ผบ.รถ - แท่งแกว้ ตรวจการณร์ อบปอ้ ม จำนวน 5 ช่อง 1.3 จำนวนกระสุนท่ีบรรทกุ บนรถ - กระสุนปนื ใหญ่ 65 นัด (ถ.M41A3) ราวเตรียมพร้อม 11 นดั ใตป้ ืนใหญ่ 21 นัด ขวามือพลขบั 33 นดั - กระสุนปนื ใหญ่ 57 นัด (ถ.M41) ราวเตรียมพรอ้ ม 11 นดั ใต้ปนื ใหญ่ 13 นัด ขวามือพลขับ 33 นัด - กระสนุ ปก.93 ขนาด .50 นวิ้ จำนวน 630 นัด - กระสุน ปก.ร่วมแกน ขนาด .30 นิว้ จำนวน 5,000 นัด วชิ าอาวุธยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (ถ.M41A3)
- 38 - 2. ปนื ใหญ่ขนาด 76 มม. บ.32 2.1 กลา่ วนำ ปนื ใหญร่ ถถงั ขนาด 76 มม. บ.32 เป็นอาวุธหลักประจำรถ ถ.M41 2.2 คุณลกั ษณะและมาตราทาน - กว้างปากลำกล้อง 76 มม. - เครอื่ งปดิ ทา้ ยแบบ ลมิ่ เล่ือน เปิด-ปดิ ทางด่งิ - เคร่ืองรบั แรงถอยแบบจดุ ศนู ยก์ ลางร่วมแกนลำกล้อง ใชข้ องเหลวประกอบแหนบ - ล่นั ไกด้วยไฟฟา้ และดว้ ยมือ - ระยะถอย 9 - 12 น้ิว - ยกปืนได้สูงสดุ 20 องศา จากจุดศนู ยก์ ลาง - กดปนื ไดต้ ำ่ สุด 10 องศา จากจุดศูนย์กลาง 2.3 ส่วนประกอบของปนื ใหญ่ 1. ปลอกเบยี่ งแรงระเบดิ 2. เคร่อื งระบายแกส๊ ตกค้าง 3. ลำกล้อง 4. โครงเครอื่ งปิดท้าย 2.4 ส่วนประกอบและข้อระมดั ระวัง 1. ชิ้นส่วนย่อยของเคร่ืองเขม็ แทงชนวนปืนใหญ่ขนาด 76 มม. จะไม่ทำการถอดแยกชิ้นส่วนย่อย เว้น แต่เพือ่ การตรวจสภาพ หรอื เมอ่ื ทำงานผดิ ปกติและเมอ่ื เปลยี่ นชนิ้ ส่วนชำรดุ เทา่ นัน้ 2. ก่อนเปิดแท่งลูกเลื่อนเพ่ือตรวจรังเพลิง หรือเปิดเพื่อบรรจุกระสุนปืนใหญ่จะต้อง ตรวจเหล็กหยุด ขอ้ เหว่ียงแทง่ ลูกเล่ือนให้อยูใ่ นตำแหน่งหลังสุด เพ่อื ปอ้ งกนั แท่งลูกเลื่อนตก 3. ก่อนถอดแท่งลูกเลื่อนออกทำความสะอาด จะต้องผลักเหล็กหยุดข้อเหว่ียงแท่งลูกเล่ือนให้อยู่ใน ตำแหน่งหน้าสุด จึงจะปลอ่ ยแท่งลูกเลอ่ื นใหเ้ ล่ือนตวั ลงข้างลา่ งได้ 4. คันเปิด-ปิดแท่งลูกเล่ือน เม่ือเปิดเสร็จแล้วจะต้องเก็บเข้าท่ีทุกครั้ง เพื่อป้องกันอันตรายอันจะเกิด ขนึ้ กับพลบรรจเุ มอ่ื ปิดท้ายรังเพลิง หรอื เม่ือกระสุนปืนใหญ่บรรจุเขา้ รังเพลงิ 5. หา้ มใชน้ ้วิ ผลกั เหลก็ รง้ั ปลอกกระสนุ ในขณะปิดท้ายรังเพลิงด้วยมือ ใหใ้ ช้เหล็กรงั้ ปลอกกระสนุ เทา่ นั้น 6. การยิงปืนใหญ่ดว้ ยระบบไฟฟ้าของ ถ.M41 พลบรรจุตอ้ งต่อวงจรลัน่ ไกใหก้ ่อนทีพ่ ลยงิ จะลัน่ ไก 2.5 การบำรุงรกั ษา กอ่ นนำปืนใหญ่ไปทำการยิง - ตอ้ งทำความสะอาดลำกลอ้ งและรงั เพลงิ ให้สะอาดแล้วเชด็ แห้ง - แท่งลูกเล่ือนทำความสะอาดแล้วเช็ดแห้ง หล่อล่ืนเฉพาะทางเดินแท่งลูกเลื่อนด้วยน้ำมันบาง ๆ เท่าน้นั เพื่อใหแ้ ทง่ ลูกเลอื่ นเคลอ่ื นตัวขึ้นลงไดส้ ะดวก ภายหลงั การยงิ - ทำความสะอาดลำกล้อง,แท่งลูกเลื่อน และช้ินส่วนต่าง ๆ ของแท่งลูกเลื่อนด้วยน้ำมัน เช็ดแห้งแล้ว ชโลมไว้ด้วย CR ใน 2 วันแรก วนั ท่ี 3 ทำความสะอาดแลว้ เชด็ เอาน้ำมนั ออกให้หมด แล้วชโลมดว้ ย PL - ปลอกเบี่ยงแรงระเบิดและเครื่องระบายแก๊สตกค้าง ถอดออกทำความสะอาดภายหลังการยิงกระสุน ปืนใหญไ่ ปแล้วครบ 50 นัด หรอื ประจำสปั ดาห์ แล้วแตอ่ นั ไหนจะถึงกอ่ น วิชาอาวุธยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (ถ.M41A3)
- 39 - 3. เครื่องรบั แรงถอยปนื ใหญ่ขนาด 76 มม. บ.32 3.1 กล่าวท่ัวไป เคร่ืองรับแรงถอยปืนใหญ่รถถังขนาด 76 มม.บ.32 เป็นชนิดจุดศูนย์กลางร่วมแกนลำ กล้องใช้ของเหลวประกอบแหนบ ส่วนประกอบใหญ่ ๆ ของเครื่องรบั แรงถอยไดแ้ ก่. ก. หมู่กระบอกสบู เครอ่ื งรับแรงถอย ข. หมกู่ ระบอกรับน้ำมันเครื่องรับแรงถอย 1.1 หมูก่ ระบอกสูบเครื่องรับแรงถอย ประกอบดว้ ย - เปลปนื - คันสูบ - แหนบสง่ ลำกลอ้ งปืนกลบั เข้าที่ 1.2 หม่กู ระบอกรับนำ้ มันเครื่องรับแรงถอย (กระบอกชดเชย) ประกอบดว้ ย - กระบอกสูบ - ลูกสูบ - แหนบลูกสบู - หมู่เคร่อื งแสดงปริมาณน้ำมัน - ล้ินลูกปืนอัดแหนบ - ทอ่ ตอ่ รบั นำ้ มนั ซ่งึ เชอื่ มตอ่ ระหว่างกระบอกสูบ และกระบอกรับนำ้ มัน 3.2 น้ำมันทใ่ี ช้เตมิ เครื่องรับแรงถอย น้ำมนั ไฮดรอลคิ OHC (สีแดง) 3.3 การตรวจสอบ, การเตมิ น้ำมัน, การถ่ายน้ำมันและการไลอ่ ากาศ การตรวจสอบระบบน้ำมนั เคร่ืองรบั แรงถอยจะใช้วิธีการสมั ผสั แถบหมายปริมาณน้ำมัน การตรวจสอบน้ี จะตอ้ งกระทำก่อนทำการยิง ในขณะท่ีนำ้ มันรับแรงถอยยงั เย็นอยู่ - เมื่อสัมผัสแถบหมายปริมาณน้ำมันแล้วปรากฏว่าแถบทั้งสองข้างขรุขระ แสดงว่าน้ำมันในระบบมี น้อยจนเป็นอันตรายจะต้องเติม - แถบหมายปริมาณนำ้ มนั แสดงค่าขรขุ ระขา้ งหนึง่ เรียบขา้ งหนงึ่ แสดงว่าน้ำมนั ในระบบมีปกติใช้ยิงได้ - ถ้าแถบทั้งสองขา้ งเรียบ แสดงวา่ ปริมาณนำ้ มันในระบบมีมากเกนิ ไปจะต้องถา่ ยออก ในระหว่างทำการ ยิงจะต้องตรวจสอบแถบหมายปริมาณน้ำมัน และการรั่วไหลของน้ำมันอยู่ตลอดเวลา ปริมาณน้ำมันมีมาก เกินไปอันเนื่องจากการขยายตัวของน้ำมันในระบบเคร่ืองรับแรงถอยที่เกิดความร้อนแถบหมายปรมิ าณน้ำมันก็ จะแสดงด้านเรียบออกมา และปืนยังทำงานตามปกติ เม่ือปรากฏเช่นนี้ก็ไม่จำเป็นต้องถ่ายน้ำมันออก เว้นแต่ บากยาวจะโผล่ย่ืนออกมา ถา้ เป็นเช่นน้ีกจ็ ำเปน็ จะต้องถา่ ยน้ำมนั ออกเพราะปนื จะถอยช้ากวา่ ปกติ การไลอ่ ากาศ ก่อนทำการยิงไดต้ รวจสอบแถบหมายปริมาณน้ำมันแสดงคา่ ปกติ แตเ่ มอ่ื ทำการยงิ ไปแล้วปรากฏว่าปืน ถอยมากกว่าปกติ แสดงวา่ มอี ากาศในระบบน้ำมนั เครื่องรบั แรงถอยจำเปน็ ทีจ่ ะต้องไล่อากาศออก 3.4 การออกกำลังปืนใหญ่ - กอ่ นนำปนื ใหญข่ นาด 76 มม.ไปทำการยงิ จะต้องทำการออกกำลังปนื ใหญ่เสียกอ่ นทุกคร้งั - ถา้ ปนื ไมไ่ ด้ทำการยิง ให้ออกกำลังปนื ใหญ่ทุก ๆ 180 วนั วิชาอาวุธยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (ถ.M41A3)
- 40 - 4. เครอ่ื งควบคุมการใชป้ ้อมปนื 4.1 กล่าวนำ ป้อมปืนรถถังถือว่าเป็นส่วนสำคัญของรถถัง เพราะว่าเป็นท่ีอยู่ของพลประจำรถถัง และ ยุทโธปกรณ์ต่าง ๆ ประจำรถ 4.2 ป้อมปืน ถ.M41, ถ.M41A3 อุปกรณ์ท่ีติดตั้งสำหรับระบบหมุนป้อมปืนแตกต่างกัน การใช้ป้อมปืนก็ แตกตา่ งกนั ไปดว้ ย 4.3 ระบบน้ำมันหมุนป้อมและให้ทางสงู ก. ถ.M41 - นำ้ มนั หมุนป้อม OHC - นำ้ มนั เครื่องใหท้ างสงู OHC เติมในอ่างเดยี วกัน ข. M41A3 - น้ำมันหมนุ ป้อม OHC - นำ้ มันเครือ่ งใหท้ างสูง OE-10 4.4 การใช้ป้อมปืน ถ.M41A3 (ทางทิศ และทางสูง) หลังจากท่ีได้เตือนพลประจำรถ ปลดล็อกป้อมปืน ตรวจสง่ิ กดี ขวาง และระดบั นำ้ มนั ตา่ ง ๆ เรยี บรอ้ ยแลว้ ก. เปดิ สวิตชไ์ ฟใหญ่ในห้องพลขบั ในตำแหน่ง เปดิ ใช้งาน ข. เปิดสวติ ชน์ ริ ภัยการใช้ปอ้ มปืนของพลบรรจุ (โพรงทา้ ยป้อมหลงั พลบรรจุ) ค. เปดิ สวติ ช์การใช้ป้อมปนื ทห่ี บี ควบคุมการยิง (ตวั ขวามอื สดุ ) ง. ผลักสวติ ช์ถ่ายความดันลน้ิ เลื่อนการบงั คบั ฯ มาตำแหนง่ หมนุ ป้อมปืนด้วยกำลัง (POWER) จ. ใช้ป้อมปืนของพลยิง หรือ ผบ.รถ ตามต้องการ ในกรณีที่ใช้ป้อมพร้อมกันจะใช้ได้เฉพาะของ ผบ.รถ เท่าน้ัน เพราะสวติ ช์ตัดการบงั คับในคันบังคับการใช้ป้อมปนื ของ ผบ.รถ จะตัดการบงั คับป้อมปืนของพลยิงโดย สิน้ เชิง การใหท้ างสงู ถ.M41 เมือ่ เปิดสวติ ช์หมนุ ปอ้ มปืน (AUTOMATIC) ท่ีหีบควบคุมการยิงแลว้ ผบ.รถ ก็ สามารถให้ทางสูงดว้ ยกำลังได้เลย 4.5 การใช้ป้อมปนื ถ.M41A3 ก. เปดิ สวติ ชไ์ ฟใหญใ่ นห้องพลขบั ข. เปดิ สวติ ช์การใช้ปอ้ มปนื ด้วยกำลังท่เี พดานเหนือปืนใหญ่ (ปกติพลบรรจจุ ะเป็นผเู้ ปิดสวติ ช์ตัวน้ี) ค. เปดิ สวติ ช์เคร่ืองใหท้ างสงู ท่ีหบี ควบคุมการยิง (ตัวขวาสุดในตำแหน่งใชง้ าน) ง. ใชป้ อ้ มปนื ตามตอ้ งการ ในกรณีท่ีใช้ป้อมด้วยกำลังพร้อมกันท้ังของพลยิง และ ผบ.รถ คันบังคับการใช้ป้อมของ ผบ.รถ จะ ใชง้ านได้เพียงตำแหน่งเดียว เพราะคนั บงั คบั ของ ผบ.รถ จะตัดการบังคับของพลยิง ซึ่งทำงานแบบเชิงกล โดย ดงึ วงล้อของพลยิงใหห้ มนุ ตามการใชง้ านของ ผบ.รถ วชิ าอาวุธยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (ถ.M41A3)
- 41 - 4.6 ลำดับขั้นการใช้ป้อมปืนด้วยกำลัง ตต. - ปป. - ช. ต. – เตอื นพลประจำรถ ต. – ตรวจระดบั น้ำมนั ป. – ปลดกลอนยึดป้อมปนื ป. – เปดิ สวติ ช์ ช. – ใชง้ านตามต้องการ 5. เคร่อื งควบคุมการยงิ เล็งตรง ถ.M41 5.1 กลา่ วนำ เครือ่ งควบคุมการยิงเล็งตรง แบง่ ออกเปน็ 2 ชนดิ คือ.- ก. เคร่ืองควบคมุ การยิงเลง็ ตรงหลัก ข. เครอ่ื งควบคุมการยิงเล็งตรงรอง 1. เครือ่ งควบคุมการยิงเลง็ ตรงหลกั ไดแ้ ก่ - กลอ้ งตรวจการณ์ บ.20 หรอื บ.20 ป.1 ของ ผบ.รถ และพลยงิ ซ่งึ มกี ำลังขยายสองระบบ คือ ระบบ 1 เทา่ และระบบ 6 เท่า - เคร่อื งขับมาตราทานทางขีปนะ บ.4 เครื่องขับมาตราทานทางขีปนะ บ.4 ใช้ประกอบ กับตู้เทียบมาตราทานทางขีปนะและเคร่ืองโยงต่าง ๆ ซึ่ง เชื่อมโยงกล้องตรวจการณ์ของพลยิง และ ผบ.รถ เพ่ือ ชดเชยมุมสูง โดยเปลี่ยนเส้นเล็งกล้องตรวจการณ์ บ.20 หรือ บ.20 ป.1 ให้ชดเชยกับวิถีกระสุนปืนใหญ่ท่ียิงออกไป แถบมาตราจะมีท้ังหมด 5 แถบ โดยแบ่งออกเปน็ ก. MILS (มาตรามุมสงู เป็นมลิ เลยี ม) 0 - 63 มิลเลยี ม ขดี ย่อยขีดละ ½ มิลเลยี ม ข. CAL .30 (มาตรา ปก. M37 ขนาด .30 นิ้ว) 0 – 1,900 หลา ขีดย่อยขดี ละ 100 หลา ค. HE ( มาตรากระสนุ ปืนใหญร่ ถถงั ขนาด 76 มม.ชนิดระเบิด) 0 - 4,400 หลา ขีดย่อยขดี ละ 100 หลา ง. AP (มาตรากระสนุ ปนื ใหญร่ ถถงั ขนาด 76 มม.ชนดิ เจาะเกราะ) 0 - 5,000 หลา ขีดย่อยขีดละ 100 หลา จ. HVAP (มาตรากระสุนปืนใหญ่รถถัง ขนาด 76 มม. ชนดิ เจาะเกราะความเร็วตน้ สูง) 0 - 3,600 หลา ขีดยอ่ ยขดี ละ 100 หลา สำหรับมาตรามมุ มิลเลียมน้นั จะใช้ร่วมกบั กระสนุ ชนิดอ่นื ที่มิไดร้ ะบุไวบ้ นแถบมาตราของเคร่ืองขับ มาตราทาน บ.4 วชิ าอาวุธยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (ถ.M41A3)
- 42 - 2. เคร่ืองควบคมุ การยิงเลง็ ตรงรอง ได้แก่ - กล้องเล็ง บ.97 กำลังขยาย 8 เทา่ มาตราประจำแก้วของกล้องใชย้ ิงเฉพาะกบั กระสนุ เจาะเกราะ AP- T 128E6 เท่านัน้ (ถา้ เลง็ ยิงกับกระสุนชนิดอนื่ ต้องใชผ้ ังมาตราทานการเล็งประกอบ) 6. เครือ่ งควบคุมการยิงเพ่ิมเติม เครื่องควบคมุ การยงิ เพิ่มเติมนี้ จัดเตรียมไวส้ ำหรับเพิ่มเติมใหก้ ับเครอื่ งควบคุมการยิงเล็งตรง เพื่อที่พลยิง จะได้ทำการยิงปืนใหญ่ได้ตลอดเวลา ความมุ่งหมายหลักในการใช้เคร่ืองควบคุมการยิงเพ่ิมเติมก็เพ่ือใช้เป็น เครื่องมือในการหาหลักฐานการยิง เพ่ือทำแผ่นจดระยะแล้วนำหลักฐานน้ันไปตั้งให้กับปืนใหญ่ทำการยิงใน ขณะทม่ี องไม่เหน็ เปา้ หมาย เครอื่ งควบคุมการยิงเพิม่ เติมประกอบด้วย. 1. เคร่ืองต้งั มมุ ยงิ ประณีต บ.1 หรอื บ.1 ป.1 2. เคร่อื งกำหนดมุมทิศ บ.31 7. การหลอ่ ลืน่ ป้อมปนื 7.1 กล่าวนำ คำส่ังการหล่อลื่น เป็นเอกสารที่กำหนดวิธีการหล่อล่ืน, จุดที่ต้องการหล่อลื่น, ระยะเวลาใน การหล่อลื่น และวัสดุท่ีใช้ในการหล่อลื่น เพื่อหล่อล่ืนจุดต่าง ๆ ให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อยืด อายุการใช้งานนานออกไป 7.2 ชนดิ ของนำ้ มันหล่อล่นื GAA ไขขน้ สำหรบั อัดโครงรถและปืนใหญ่ GL ไขขน้ สำหรบั อากาศยาน และเครื่องมือ PL น้ำมนั หล่อลน่ื ป้องกันสนมิ OE-10 น้ำมนั เคร่อื งยนต์ เกรด 10 OHC น้ำมนั หมุนป้อม CR น้ำมนั ชำระลำกล้อง วิชาอาวุธยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (ถ.M41A3)
- 43 - 7.3 ชนดิ ของวัสดุท่ีใชใ้ นการหลอ่ ลนื่ และวิธีการหล่อล่ืน 1. ลูกปืนรองรบั ปอ้ มปืน ใชไ้ ขขน้ GAA โดยถอดจุกเกลียวแห่งใดแหง่ หนึ่งในจำนวน 3 จุดออก สอดหัว อดั ไขข้นเข้ากบั จกุ อดั ไขขน้ พรอ้ ม ๆ กับหมุนปอ้ มปืนไปรอบ ๆ กระทำทุก 6 เดือน 2. เฟืองวงแหวนป้อมปืน ใช้ไขข้น GAA ทำความสะอาดเฟืองโดยรอบแล้วใช้ไขข้นทาบาง ๆ โดยรอบ กระทำทุกเดอื น 3. ลำกล้องปืนใหญ่ที่เป็นเกลียวภายนอก ใช้ไขข้น GAA โดยทำความสะอาดส่วนท่ีเป็นเกลียว แล้วทา ด้วยไขขน้ กระทำทุกสัปดาห์ 4. เคร่ืองกำหนดมุมทิศ ใช้ไขข้น GL อัดทีห่ วั อัดไขข้นใต้เครื่องกำหนดมุมทิศ ทำทุกเดือน 5. อ่างเก็บน้ำมันหมุนป้อม ถ.M41 A3 ใช้น้ำมัน OHC โดยเปิดจุกเกลียวออก แล้วเติมให้พอดีโดยตรวจ ทุกวนั และถ่ายน้ำมนั ออกทุก 6 เดอื น 6. อา่ งเก็บน้ำมนั เครื่องให้ทางสูง ถ.M41 A3 ใหเ้ ติมด้วยนำ้ มัน OE-10 ตรวจทกุ วัน และเติมเมื่อขาด 7. อ่างเก็บน้ำมันหมุนป้อมและให้ทางสูง ถ.M41 เปิดฝาปิดแล้วดึงก้านวัดออกมาเพ่ือตรวจระดับน้ำมัน แล้วเตมิ นำ้ มันใหพ้ อดี ถ่ายน้ำมนั ทกุ ๆ เดอื น - - - - - - - - - - - - - ------------------------- - - - - - - - - - - - - วชิ าอาวุธยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (ถ.M41A3)
- 44 - ปนื กล M60 D ขนาด 7.62 มม. หลักฐาน TM 9-1005-224-10 ลง 2 เมษายน 1998 1. กล่าวนำ ปืนกล M60 D ติดต้ังเป็นปืนกลต่อสู้อากาศยาน ประจำป้อมปืน ถ.M48A5 จำนวน 2 กระบอก (ตำแหน่ง ผบ.รถ และ พลบรรจุ) 2. คุณลกั ษณะทั่วไป 2.1 ทำงานด้วยแกส๊ 2.2 ป้อนกระสุนดว้ นสายกระสุนสายกระสนุ เป็นโลหะชนดิ ขอ้ ต่อ 2.3 ระบายความร้อนด้วยอากาศ 2.4 ยิงเปน็ อตั โนมตั ิ ปนื ชนิดนี้จะทำการยิงก็ต่อเม่ือลูกเลอ่ื นเปิด คือ ลูกเล่ือนจะอยู่ข้างหลงั เป็นปืนที่ไม่ต้องปรับระยะหน้า ลูกเล่ือน (ระยะหน้าลูกเล่ือนคงที่) เม่ือเปลี่ยนลำกล้องเสร็จก็สามารถยิงได้ทันที ปืน 1 กระบอกจะจ่าย ลำ กล้องให้ 2 ลำกลอ้ ง ประกอบติดอยูท่ ี่ปืน 1 ลำกลอ้ ง อย่ใู นถงุ อะไหล่ 1 ลำกล้อง 3. ข้อมูลอาวธุ - นำ้ หนัก 25 ปอนด์ (11.33 กก.) - ความยาวของปนื ทงั้ กระบอก 43.5 น้วิ (1.1 กก.) - ระยะยงิ ไกลสดุ 3,725 เมตร - ระยะยงิ หวังผลไกลสุด 1,100 เมตร - ระยะเผาไหม้ของดนิ ส่องวถิ ี 900 เมตร หรือ มากกว่า - เกลยี วในลำกล้อง 4 เกลยี ว เวียนขวา 4. อตั ราการยิง ยิงตอ่ เน่ือง 100 นดั /นาที (เปลี่ยนลำกลอ้ งปนื ทุก 10 นาท)ี จงั หวะยิงเร็ว 200 นัด/นาที (เปลี่ยนลำกลอ้ งปืนทุก 2 นาท)ี ความเรว็ ในการยิงสูงสุดตามวงรอบการทำงาน ประมาณ 550 นัด/นาที (เปล่ียนลำกลอ้ งปนื ทุก 1 นาท)ี ปก.M60 D
- 45 - 5. การถอดประกอบแบบปกติ สามารถถอดแยกได้ดงั น้ี คือ 1) ชดุ พานท้าย (โครงเครอ่ื งปิดท้าย) 2) ชดุ เคร่ืองรับแรงถอย 3 ) ชดุ เคลื่อนท่ี 4) ชดุ โครงเครอื่ งล่นั ไก 5) ชดุ ลำกลอ้ ง 6) ชดุ โครงลกู เลอ่ื น 6. การแกไ้ ขเหตตุ ดิ ขดั ทนั ทที ันใด และส่งิ ชสี้ อบ สาเหตกุ ารติดขดั การทำงานของปืนไม่เป็นไปตามวงรอบ มีสาเหตุอยู่ 2 ประการ คือ. 1. การทำงานของปืนฝืดชา้ สาเหตเุ กิดจากปืนมีการเสยี ดสีมาก ปนื สกปรก, ขาดการหลอ่ ลื่น, ช้ินส่วนชำรุด สกึ หรอ หรือเนือ่ งจากแก็สระบายออกมากเกนิ ไป 2. การทำงานของปืนติดต่อกันไปเร่ือย ๆ สาเหตุอาจเน่ืองจากกระเด่ืองไกสึกหรอ, แง่กระเดื่องไกสึก หรือ ปืนถอยมาข้างหลงั นอ้ ย การแก้ไขเหตุติดขัดทันทที นั ใด ก. เมื่อปืนเย็น ถ้าเกิดปืนติดขัดข้ึน เมื่อปืนยังเย็นอยู่ให้รอ 5 วินาที เพ่ือรอดูว่าอาจจะเกิดการล่ันช้า หลังจาก รอ 5 วินาที แล้วให้เปิดฝาปิดหอ้ งลูกเลอ่ื นแล้วถอดสายกระสุนออก บรรจกุ ระสนุ ใหม่ แล้วเล็งทห่ี มายเดิม ล่ัน ไก ถา้ กระสนุ ไมล่ นั่ ให้คน้ หาสาเหตตุ ่อไป ข. เม่ือปืนร้อน คือยิงไปแล้วเกิน 150 นัด ในเวลา 2 นาที อาจทำให้ลำกล้องมีความร้อนสูงจะเป็นเหตุให้ ปนื ล่นั เองโดยไม่ไดเ้ หนยี่ วไก เม่อื เกิดเหตุเชน่ นข้ี น้ึ ให้รออยา่ งนอ้ ย 5 นาที จงึ เปิดฝาปิดหอ้ งลูกเลอื่ น เพ่ือป้องกัน การบาดเจ็บเนอื่ งจากกระสุนระเบดิ ในรงั เพลิง อาจทำใหต้ าบอดได้ ส่งิ ชส้ี อบ - เมื่อถอดแยกช้ินส่วนปืนเพ่ือทำความสะอาด ให้ใช้ด้านปลายก้านสูบท่ีเป็นร่องทำความสะอาดคราบ คารบ์ อน ภายในกระบอกสบู ของโครงลกู เล่อื น - เม่ือทำความสะอาดลำกล้อง ให้คว่ำลำกล้องลง เพ่ือรักษาให้ลูกสูบและภายในกระบอกสูบแห้งการทำ ความสะอาดระบบแก๊ส - ห้ามใชว้ ัตถสุ ำหรบั ขดั หรือกระดาษทราย ทำความสะอาดลูกสบู หรือภายในกระบอกสูบ - เมื่อเอียงและกระดกลำกล้องจะต้องได้ยินเสียงดังกริ๊กของลูกสูบ ถ้าไม่มีเสียงให้ถอดกระบอกสูบออกทำ ความสะอาด - ถอดลวดนริ ภัยออกจากกระบอกสูบ - ใช้เครื่องมือควบถอดสว่ นประกอบของกระบอกสูบ - ทำความสะอาดรรู ะบายแกส๊ ทด่ี ้านหนา้ ทอ่ ต่อกระบอกสบู ด้วยลวดนิรภัย - ทำความสะอาดรูแกส๊ ท่ีลำกลอ้ ง, ลูกสูบ และกระบอกสูบ ด้วยดา้ นปลายแหลมของเคร่ืองมือควบ - เมื่อประกอบชิ้นส่วนย่อยของกระบอกสูบจะต้องม่ันใจว่า จุกรูแก๊สและแป้นเกลียวกระบอกสูบได้ขันแน่น ไวแ้ ละไมป่ ระกอบลกู สูบผิดทาง รวมถงึ หา้ มชโลมน้ำมันภายในกระบอกสบู - เมอื่ ไมม่ ีลวดนิรภยั ประกอบอยู่ เวลาทำการยงิ จะตอ้ งหม่นั ตรวจสอบการยึดแนน่ ของจุกรแู กส๊ อยู่เสมอ ปก.M60 D
- 46 - ตารางชนิดกระสุน ปนื กล M60 ขนาด 7.62 มม. (TM 43-0001-27 ฉบับ APRIL 1994) ลำดับ ชนดิ กระสนุ รหสั สี ความม่งุ หมายในการใช้ 1. กระสนุ ธรรมดา (BALL) 1.1 M59/M80 หัวไมท่ าสี สังหารบคุ คล/ทำลายเปา้ หมายทไี่ มห่ ุม้ เกราะ 1.2 M80 ( OVER HEAD FIRE หวั ไมท่ าสี ยงิ ขา้ มศีรษะหน่วยทหารฝ่ายเดยี วกัน APPLICATION ) 2. กระสนุ ทดสอบความดนั สงู HIGH ปลอกกระสนุ สเี งนิ ยงิ ทดสอบอาวธุ ในระหว่างการผลิต หรือการ PRESSURE TEST ( HPT ) M60 ซ่อมบำรงุ อาวุธ 3. กระสุนเจาะเกราะ ARMOR PIERCING ( AP ) 3.1 M61 หัวกระสุนสดี ำ สงั หารบคุ คล/ ทำลายยานเกราะขนาดเบา หรอื เปา้ หมายทไ่ี ม่หุ้มเกราะ/ เปา้ หมาย คอนกรีต 3.2 M993 มแี ถบสีดำล้อมรอบหัว มีขดี ความสามารถในการเจาะเกราะ ใชเ้ ป็น กระสนุ (ใชป้ ระกอบกบั กระสนุ มาตรฐาน สำหรบั ปนื ขนาด 7.62 มม. กระสนุ ส่องวถิ ี M62) 4. กระสุนสอ่ งวถิ ี ( TRACER ) 4.1 M62 หวั กระสุนสีส้ม ตรวจตำบลกระสนุ ตก 4.2 M62 ( OVER HEAD FIRE หัวกระสนุ สแี ดง ยิงข้ามศรี ษะหนว่ ยทหารฝ่ายเดยี วกนั MISSION ) 5. กระสนุ ฝกึ บรรจุ ( DUMMY ) 5.1 M63 ลอนลกู ฟกู 6 ลอนบน ฝกึ บรรจุ/ ตรวจสภาพและทดสอบกลไกอาวุธ ปลอกกระสนุ 5.2 M172 กระสุนท้ังนัดสดี ำ, ไมม่ ี ทดสอบกลไกและสายกระสนุ ปนื กลขนาด ชนวนทา้ ย 7.62 มม. 6. กระสุนส่องวิถี ( DIM TRACER ) หวั กระสนุ สเี ขียวมีแถบ ใช้กบั หน่วยท่มี กี ลอ้ งเล็งเวลากลางคืน M276 สชี มพูคาด 7. กระสนุ ซ้อมรบ ( BLANK ) M82 ไมม่ ีลกู กระสุน และ คอ ยงิ แทนกระสนุ จริงในการฝึก/ ยงิ สลุต กระสนุ สอบสองชน้ั * ปก. M60 ใช้สายกระสนุ M13 ข้อต่อสายกระสนุ เปดิ ( OPEN LOOP ) ปก.M60 D
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122