Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Supervisor

Supervisor

Published by thank7777, 2020-07-14 00:14:29

Description: Supervisor

Search

Read the Text Version

คํานาํ คมู อื การปฏบิ ตั งิ านกลุม นเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา ฉบับนจี้ ัดทาํ ขึ้นเพอ่ื เปน แนวทางในการปฏบิ ตั งิ านตามบทบาทหนา ที่ความรับผิดชอบของศึกษานเิ ทศก สงั กัดสํานักงานเขต พน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต 2 ตามกรอบการดําเนนิ การเกย่ี วกบั การนิเทศการศกึ ษา วิเคราะห วิจัย ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการพัฒนาระบบการบรหิ ารและการจัดการศึกษา เพือ่ ใหสถานศึกษามี ความเขมแขง็ ในการบริหารและการจดั การเรยี นการสอนไดอยา งมีคณุ ภาพ ไดมาตรฐานเทาเทยี มกนั โดยยดึ โรงเรียนเปนฐาน โดยไดอ ธบิ ายขอบขายภารกจิ ของกลุมงาน และภารกิจกลมุ งานนิเทศติดตามและประเมินผล การจัดการศกึ ษา และกรอบงานภารกจิ ของศกึ ษานเิ ทศกต ามท่ีไดรบั มอบหมายตามคําสั่งสํานกั งานเขตพน้ื ที่ พน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒ ขอขอบคุณคณะทาํ งานทุกทา นและผูม ีสว นเกีย่ วของทุกคน ทที่ าํ ใหค ูฉบับน้ี สําเร็จลลุ ว งไปดว ยดี หวงั เปนอยางย่งิ วา จะเกดิ ประโยชนก ับศกึ ษานิเทศก บุคลากรทางการศึกษา ครู ผูบรหิ ารสถานศกึ ษา และ เครือขายทางวิชาการทร่ี ว มปฏบิ ตั ิงาน เกดิ ความเขา ใจในบทบาทหนาที่ความรับผดิ ชอบ และประสานความ รว มมอื ในสว นทเ่ี กีย่ วขอ ง เพ่ือใหเกดิ คณุ ภาพในการจัดการศึกษาตอ ไป กลุมนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศึกษา สาํ นกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต 2

สำรบัญ คำนำ หนำ้ สำรบัญ สวนที่ ๑ บทนำ 1 1 ความเปน็ มาและความสาคัญ 1 นโยบายของสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน 2 ทิศทางการจัดการศกึ ษาสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเขตพื้นทก่ี ารศึกษา ประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๒ 4 ขอบข่ายการนเิ ทศ 5 ผลทีค่ าดวา่ จะได้รบั 6 สวนที่ ๒ ขอ้ มูลสำรสนเทศ 6 ขอ้ มูลพ้ืนฐาน 8 จานวนข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 8 จานวนโรงเรยี นและนักเรียนในสังกดั 11 ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน 14 สว่ นท่ี ๓ โครงสรำ้ งและขอบข่ำยภำรกิจงำน 14 ความสาคญั ๑๖ มาตรฐานขอบขา่ ยภารกจิ ๑๗ งานตามหน้าที่ ความรบั ผดิ ชอบตามมาตรฐานตาแหน่ง ๑๘ ภารกจิ สาระความรู้ และลักษณะงานที่ปฏบิ ตั ิ ๒๐ ข้อมูลศึกษานิเทศก์ ๒๓ โครงสรา้ งกลมุ่ นิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา ๒๔ ส่วนท่ี ๔ คมู่ อื ขนั้ ตอนกำรปฏบิ ัติงำน ๒๔ กลมุ่ งานพฒั นาหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานและกระบวนการเรยี นรู้ 35 กลมุ่ งานวดั และประเมนิ ผลการศึกษา 54 กลมุ่ งานส่งเสรมิ พฒั นาระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษา ๕๙ กล่มุ งานส่งเสรมิ และพัฒนาส่ือ นวัตกรรมและเทคโนโลยที างการศึกษา 63 กลุ่มงานนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษา ๗๐ งานเลขานกุ ารคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศึกษา ๗๓ งานธรุ การ ๗๗ สว่ นท่ี ๕ วธิ กี ำรดำเนินงำน ๘๖ บรรณำนุกรม ๘๗ ภำคผนวก คาสงั่ มอบหมายงาน ๙๔ ผู้จัดทา

๑ สวนที่ ๑ บทนาํ ความเปนมาและความสาํ คัญ สํานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒ เปนหนวยงานทางการศกึ ษา สังกดั สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร จดั ต้ังขึน้ ตามพระราชบัญญตั ิบรหิ าร ราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พุทธศกั ราช 2546 มกี ารกิจหลักในดา นการสงเสรมิ สนับสนุนให สถานศกึ ษาในสงั กดั จดั การเรียนการสอนข้ันพื้นฐานใหแ กป ระชากรวยั เรยี นในพื้นทีร่ ับผิดชอบ มีการกจิ สาํ คญั 2 ประการ ดงั นี้ ๑) จัดทาํ นโยบาย แผนพัฒนาและมาตรฐานการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษาให สอดคลอ งกบั นโยบายและมาตรฐานการศึกษา แผนการศกึ ษา แผนพฒั นาการศึกษาขั้นพ้ืนฐานและความ ตอ งการของทองถน่ิ ๒)วิเคราะหก ารจัดต้ังงบประมาณเงินอุดหนุนทวั่ ไปของสถานศกึ ษาและหนว ยงานใน เขตพื้นทกี่ ารศึกษาและแจงจัดสรรงบประมาณทไ่ี ดรบั ใหหนวยงานขางตน รับทราบ และกาํ กับ ตรวจสอบ ตดิ ตามการใชจ ายงบประมาณของหนวยงานดังกลาว ๓) ประสาน สง เสริม สนบั สนนุ และพฒั นาหลักสตู ร รว มกบั สถานศึกษา ๔) กํากับ ดูแลตดิ ตามและประเมินผลสถานศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานและในเขตพืน้ ที่การศึกษา ๕) ศึกษา วิเคราะห วิจยั และรวบรวมขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาในเขตพ้นื การศึกษา ๖) ประสานการ ระดมทรัพยากรดานตา ง ๆ รวมทัง้ ทรพั ยากรบคุ คล เพ่ือสงเสริม สนบั สนนุ การจดั และพ้ืนการศกึ ษาใน เขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา ๗) จดั ระบบประกนั คณุ ภาพการศึกษา และประเมินผลสถานศึกษาในเขตพ้นื ที่ การศกึ ษา ๘) ประสาน สง เสริม สนบั สนนุ การจัดการศึกษาของสถานศึกษาเอกชน องคกรปกครองสว น ทองถนิ่ รวมทัง้ บุคคล องคก รชุมชน องคกรวิชาชีพสถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบนั อืน่ ท่ี จดั รปู แบบทห่ี ลากหลายในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ๙) ดาํ เนนิ การและประสาน สง เสริม สนบั สนนุ การวิจยั และ พฒั นาการศึกษาในเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา ๑๐) ประสานสงเสริมการดําเนนิ งานของคณะอนุกรรมการ และ คณะทํางานดา นการศึกษา ๑๑)ประสานการปฏิบัตริ าชการทั่วไปกับองคกร หนวยงานภาครฐั อกชน และ องคกรปกครองสว นทองถน่ิ ในฐานะสํานักงานผูแทนกระทรวงศึกษาธกิ ารในเขตพน้ื ที่การศกึ ษา ประถมศกึ ษา 1๒) ปฏบิ ัตหิ นาที่อืน่ ท่เี กีย่ วกบั กิจการภายในเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาทีม่ ีไดระบุใหเปนหนาท่ขี อง ผูใดโดยเฉพาะ หรือปฏบิ ัติงานอนื่ ตามทีม่ อบหมายจากภารกิจสําคัญดังกลา ว จําเปนอยางยงิ่ ที่จะตองมกี าร นิเทศ กํากบั ตดิ ตาม และประเมินผลการดําเนินงาน ท้ังในสว นการดําเนนิ งานของกลุมภารกจิ ตางๆ ภายใน สํานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๒ และจากหนวยงานตนสังกัด นโยบายสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน นโยบายสาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ไดกําหนดนโยบายประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ โดยยดึ หลักของการพฒั นาทยี่ ัง่ ยืน และการสรา งความสามารถในการแขง ขันของประเทศ ในอนาคต เปนแนวทางในการจัดการศึกษาจดั การศึกษาข้ันพื้นฐาน และสอดคลองกับยุทธศาสตรช าติ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ แผนแมบ ทภายใตยุทธศาสตรช าติ(พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) แผนปฏริ ูปประเทศ ดา นการศึกษา แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๕) แผนการศึกษา แหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ และมุง สู Thailand ๔.๐ ดังนี้

๒ นโยบายท่ี ๑ ดานการจดั การศึกษาเพื่อความมนั่ คงของมนุษยแ ละของชาติ นโยบายที่ ๒ ดานการจัดการศกึ ษาเพ่ือเพิ่มความสามารถในการแขงขนั ของประเทศ นโยบายท่ี ๓ ดา นการพัฒนาและเสรมิ สรางศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย นโยบายที่ ๔ ดานการสรางโอกาสในการเขา ถึงบรกิ ารการศึกษาท่ีมีคณุ ภาพ มีมาตรฐานและ ลดความเหล่อื มล้าํ ทางการศกึ ษา นโยบายที่ ๕ ดา นการจดั การศึกษาเพื่อพฒั นาคุณภาพชวี ติ ท่เี ปนมิตรกับส่ิงแวดลอ ม นโยบายที่ ๖ ดา นการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการศึกษา นโยบายสํานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๒ วิสัยทศั น บรหิ ารจัดการเปนเลิศ สถานศกึ ษาไดมาตรฐาน นกั เรียนมีคณุ ภาพ สูส ังคมอนาคตทย่ี ่ังยืน พนั ธกจิ 1. สง เสริม สนบั สนนุ การจัดการศึกษาเพ่ือเสริมสรา งความมั่นคงของสถาบนั หลกั ของชาติ และ การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ทรงเปนประมุข 2. พฒั นาศักยภาพและคุณภาพผเู รยี นใหม สี มรรถนะตามหลกั สูตรและคุณลกั ษณะในศตวรรษที่ ๒๑ 3. สงเสริม สนับสนนุ ผเู รยี นใหมีความสามารถความเปนเลิศทางวชิ าการเพ่อื สรา งขีด ความสามารถในการแขง ขัน 4. สง เสริม สนบั สนุนใหประชากรวยั เรยี นทกุ คนไดรับบริการทางการศึกษาอยา งท่ัวถึงและเทา เทียม 5. สงเสรมิ สนับสนนุ ผูบรหิ าร ครูและบุคลากรทางการศึกษาใหไดร ับการพัฒนาเปน มอื อาชพี และพรอมรบั การเปลย่ี นแปลง 6. สง เสรมิ สนบั สนุนการจัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวติ ที่เปน มิตรกบั สง่ิ แวดลอมตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 7. สง เสริม พฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการศกึ ษาทุกระดบั และจดั การศกึ ษาโดยใชเ ทคโนโลยี ดจิ ิทัล (Digital Technology) เพอื่ พัฒนามุงสศู ตวรรษที่ 21 เปาประสงค 1. ผเู รียนมคี วามรักในสถาบนั หลกั ของชาติ และยึดมัน่ การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมี พระมหากษัตริยท รงเปน ประมุข มีทัศนคติที่ถูกตอ งตอบานเมอื ง มีหลกั คดิ ที่ถกู ตองและเปนพลเมอื งดีของ ชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม มคี านิยมท่ีพงึ ประสงค มจี ิตสาธารณะ รบั ผดิ ชอบตอ สังคมและผูอ ่นื ซือ่ สัตย สจุ รติ มัธยัสถ อดออม โอบออมอารี มีวนิ ยั รกั ษาศลี ธรรมอยางมีคณุ ภาพ 2. ผเู รยี น เปน บุคคลแหงการเรยี นรู คิดรเิ ร่ิมและสรางสรรคสือ่ นวัตกรรม มคี วามรู มที ักษะ มีสมรรถนะตามหลักสตู ร และคณุ ลักษณะของผเู รยี นในศตวรรษท่ี 21 มีสขุ ภาวะ ท่เี หมาะสมตามวยั

๓ มีความสามารถในการพ่ึงพาตนเอง ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและการเปน พลเมอื ง พลโลกทีด่ ี (Global Citizen) พรอมกาวสมู าตรฐานสากล 3. ผเู รยี นทีม่ คี วามสามารถพเิ ศษดานวิทยาศาสตร คณติ ศาสตร ศลิ ปะ ดนตรี กีฬา ภาษาและ อืน่ ๆ ไดรับการพัฒนาอยางเต็มตามศักยภาพ และนําไปสูก ารสรา งความสามารถในการแขง ขนั 4. ผูเรียนทม่ี ีความตองการจําเปนพิเศษ (ผูพิการ) กลุม ชาติพนั ธุ กลมุ ผูดอ ยโอกาสและกลมุ ทอี่ ยู ในพื้นที่หางไกลทุรกันดาร ไดรบั การศึกษาอยา งท่วั ถึง เทาเทียม และมีคุณภาพ 5. ผบู รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาเปนบคุ คลแหง การเรียนรู มคี วามรู มคี วามรับผดิ ชอบ ตอ หนา ท่ี เรียนรูพฒั นาตนเองอยเู สมอ มงุ ม่นั ตง้ั ใจทาํ งานใหสําเรจ็ ทางานเปนทมี เดยี วกนั และมี จรรยาบรรณตามมาตรฐานวิชาชพี อยางเปนมอื อาชพี 6. สถานศึกษาจัดการศึกษาเพื่อการบรรลเุ ปาหมายการพัฒนาอยา งย่ังยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) และสรางเสริมคุณภาพชวี ิตทเี่ ปนมติ รกบั สง่ิ แวดลอ ม ตามหลักปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง และเปนไปตามระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา 7. สํานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา สถานศึกษา บริหารจัดการเชิงบรู ณาการโดยยึดหลักธรรมา ภิบาล กํากบั ติดตาม ประเมินผล มีระบบขอมลู สารสนเทศท่มี ปี ระสิทธภิ าพตามมาตรฐาน และการรายงาน ผลอยางเปน ระบบ ใชงานวจิ ัย เทคโนโลยี และนวตั กรรมในการขับเคลื่อนการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา กลยุทธ 1. จดั การศึกษาเพ่ือความม่ันคงของมนุษยและของชาติ 2. จัดการศึกษาเพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขนั ของประเทศ 3. พฒั นาศักยภาพและคุณภาพผูเรียนใหม สี มรรถนะตามหลกั สูตร 4. สรา งโอกาสในการเขาถงึ บรกิ ารการศึกษาท่มี ีคณุ ภาพ มมี าตรฐานและลดความเหลื่อมล้ํา ทางการศึกษา 5. พฒั นาผูบริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา 6. จัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาคุณภาพชวี ติ ที่เปน มติ รกบั ส่ิงแวดลอม 7. ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจดั การศกึ ษา ในปก ารศึกษา ๒๕๖๓ สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ไดกาํ หนดกรอบนิเทศ บรู ณาการโดยใชพืน้ ท่ีเปนฐาน ดงั นี้ 1. การนิเทศบรู ณาการโดยใชพ น้ื ท่เี ปนฐานเพอ่ื คุณภาพการศกึ ษา 1.1 การพฒั นาและใชห ลกั สูตรสถานศกึ ษา 1.2 การอา นออกเขยี นได 1.3 การจดั การเรยี นรเู ชิงรุก (Active Leaning) 1.4 การพฒั นาคุณภาพการศึกษาดว ยเทคโนโลยกี ารศกึ ษาทางไกล (DLTV /DLITT) 1.5 การยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน 1.6 การประกนั คุณภาพการศกึ ษา 1.7 การจัดการศึกษาของโรงเรียนในโครงการพิเศษ 2. การนิเทศภายในโรงเรียน

๔ 3. การจดั การเรียนรูกาษาองั กฤษ เพื่อการส่อื สาร 4. การจัดการเรยี นรเู พื่อพฒั นากระบวนการคดิ 5. การจัดการเรยี นรเู พ่ือฝก ทักษะการคิดแบบมเี หตผุ ลและเปน ข้ันตอน (Coding) 6.การสงเสริมการเรยี นรเู พ่ือยกระดบั การประเมินสมรรถนะนักเรียนมาตรฐานสากล (Programme for International Student Assessment : PISA 7. การจดั การเรยี นรสู ง เสริมวินัยนกั เรียน 8. การสง เสริมการเรยี นรูด า นส่ิงแวดลอมในโรงเรยี น 9. การนิเทศตามจุดเนน และนโยบาย ของ สพฐ. และกระทรวงศึกษาธกิ าร 10.การนทิ ศเพื่อพัฒนาคุณภาพตามบริบทความตองการของเขตพ้นื ท่ีการศึกษาและสถานศึกษา ในสังกัด ขอบขายการนิเทศ เพ่ือเปน การสนองนโยบายของสํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน สํานักงานเขตพ้ืนท่ี การศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต 2 จงึ ไดกาํ หนดนโยบายและมาตรการสูการปฏบิ ตั ิ และวางกรอบการ การดําเนนิ งานนเิ ทศติดตามภายใตโ ครงการนิเทศบูรณาการโดยใชโ รงเรยี นเปน ฐาน ดังนี้ 1 นโยบาย ๖ มิติคุณภาพสกู ารปฏิบตั ิ ประกอบดวย 1) หลกั สตู รสถานศึกษา 2) การจัดการเรยี นรู (Active Learning) 3) การผลิตและการใชส อ่ื เทคโนโลยี 4) การวดั และประเมินผล 5) การนิเทศภายใน 6) การวิจยั 2. การอานออกเขยี นได 3. การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาดว ยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล (DLTV /DLITT) 4. การยกระดบั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น 5. การประกันคุณภาพการศึกษา 6. การจัดการศกึ ษาของโรงเรียนในโครงการพเิ ศษ 6.1 โครงการโรงเรยี นประชารัฐ 6.2 โครงการโรงเรียนดคี ณุ ภาพประจาํ ตาํ บล 6.3 โครงการโรงเรยี นสุจริต 7. การนิเทศภายในโรงเรียน 8.การจัดการเรยี นรภู าษาองั กฤษ เพื่อการสื่อสาร 9. การจัดการเรยี นรเู พื่อฝกทักษะการคิดแบบมเี หตผุ ลและเปน ขัน้ ตอน (Coding) ระดับปฐมวยั 10. การจัดการเรียนรเู พ่ือฝก ทกั ษะการคดิ แบบมเี หตผุ ลและเปน ขั้นตอน(Coding)ระดับ ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา

๕ 11. การสงเสริมการเรียนรูเ พื่อยกระดบั การประเมินสมรรถนะนักเรียนมาตรฐานสากล (Programme for International Student Assessment : PISA 12. การดาํ เนินงานโครงการโรงเรียนสวยหอ งเรยี นงาม 13. การพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษาพเิ ศษแบบเรยี นรวม 14. การศึกษาปฐมวยั ผลท่คี าดวาจะไดรบั ๑. โรงเรียนสามารถดาํ เนินการตามนโยบาย ๖ มติ คิ ณุ ภาพสูการปฏิบัติไดร อ ยละ ๖๐ ๒. โรงเรียนในสังกัดจดั ทําหลกั สตู รสถานศึกษาระดับปฐมวัยและหลกั สตู รสถานศึกษาระดับ การศึกษาขัน้ พ้นื ฐานไดอยา งถกู ตองตามแนวปฏบิ ัตทิ ่กี ําหนด ๓. โรงเรียนในสงั กดั ดําเนินงานประกนั คุณภาพภายในตามกฎกระทรวงไดอยา งถูกตอง ๔. ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของโรงเรยี นในสงั กดั สงู ขึน้ ๕. นักเรยี นท่ีไดร บั การจัดการเรยี นการสอนเชิงรกุ มีคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของ สถานศึกษา ๖. ครูผสู อนในโรงเรยี นทุกโรงสามารถจดั การเรยี นการสอนที่สอดคลองกบั นโยบายของสํานักงานเขต พ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๒ ไดอ ยา งมีประสทิ ธภิ าพ ๗. โรงเรยี นในโครงการพิเศษสามารถดําเนินกจิ กรรมตามโครงการไดต ามแนวทางท่สี าํ นักงานคณะ การการศึกษาขั้นพนื้ ฐานและหนวยงานท่ีเกย่ี วของกําหนด

๖ สว นที่ ๒ ขอ มูลสารสนเทศ ขอ มูลพนื้ ฐาน สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต 2 เปน หนวยงานทางการศึกษา ท่เี กดิ ขึน้ ตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และท่ีแกไข เพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2553 และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอื่ ง การแบงสวนราชการภายในสาํ นกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา ประถมศึกษา พ.ศ. 2553 ตั้งอยูภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย อยูหางจากกรุงเทพมหานคร ตาม ทางหลวงแผนดิน หมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) ระยะทาง 549 กโิ ลเมตร การคมนาคมระหวางสํานักงานเขต พื้นท่ีการศึกษากับพ้ืนท่ีในเขตบริการและโรงเรียนในสังกัด สามารถเดินทางโดยรถยนตไดอยางสะดวก มีทั้ง ทางหลวงเช่ือมติดตอและเสนทางระหวางตัวอําเภอและหมูบาน แตยังมีปญหาอยูในบางโรงเรียน โดยเฉพาะ อยางยิ่งโรงเรียนสาขาบางโรงที่การคมนาคมไมสะดวก สํานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 มีเขตพนื้ ท่รี ับผิดชอบ 6 อําเภอครอบคลมุ 39 ตาํ บล มีพ้นื ที่รวมท้ังสน้ิ จาํ นวน 3,111.50 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณรอ ยละ 26.52 ของพื้นท่ีทั้งจังหวัด ปจจุบนั สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 ต้ังอยูเลขที่ 505 หมูที่ 9 ตาํ บลกุมภวาป อําเภอกมุ ภวาป จังหวัดอุดรธานี มพี ื้นทีร่ ับผดิ ชอบ 6 อําเภอ ประกอบดวย อําเภอกุมภวาป อําเภอศรีธาตุ อําเภอวังสามหมอ อําเภอโนนสะอาด อําเภอหนองแสง และ อาํ เภอประจักษศ ิลปาคม ตารางท่ี 1 เขตพื้นทีร่ ับผิดชอบของสํานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต 2 อําเภอ ตาํ บล หมบู า น เทศบาล อบต. พื้นที่ (ตร.กม.) หา งจาก สพป. (กม.) กมุ ภวาป 13 175 8 7 672.6 0 โนนสะอาด 6 66 2 5 424.9 30 ศรธี าตุ 7 86 4 4 512.5 30 วังสามหมอ 6 72 4 3 727.3 54 หนองแสง 4 38 2 3 659.4 30 ประจกั ษศลิ ปาคม 3 41 - 3 114.8 30 รวม 39 478 20 25 3,111.50 - ท่มี า : ขอ มูลกรมการปกครอง (ขอ มูล ณ วนั ท่ี 10 มถิ ุนายน 256๒)

๗ เขตพน้ื ที่บริการ เขตบรกิ าร ประกอบดวยพ้ืนท่ี 6 อาํ เภอ คือ อาํ เภอกุมภวาป อาํ เภอโนนสะอาด อาํ เภอศรีธาตุ อําเภอวังสามหมอ อําเภอหนองแสง และอําเภอประจักษศิลปาคม อาณาเขตติดตอ ทิศเหนอื ติดตอ กับอําเภอเมืองอุดรธานี อําเภอหนองหาน อาํ เภอไชยวาน อาํ เภอกแู กว ทิศใต ตดิ ตอกับอาํ เภอเขาสวนกวาง อําเภอกระนวน จังหวดั ขอนแกน และอาํ เภอ ทาคนั โท จงั หวัดกาฬสินธุ ทศิ ตะวันออก ตดิ ตอ กับอาํ เภอคํามว ง อาํ เภอสามชยั จงั หวดั กาฬสินธุ และอาํ เภอวารชิ ภูมิ จงั หวัดสกลนคร ทศิ ตะวนั ตก ติดตอ กับอาํ เภอหนองววั ซอ จงั หวดั อดุ รธานี ภาพท่ี 1 แผนทเ่ี ขตพนื้ ทบ่ี ริการ

จาํ นวนครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ๘ ตารางที่ 2 จํานวนขาราชการครูทป่ี ฏิบัติงานจริงในโรงเรียน ตาม จ.18 รวม ที่ อาํ เภอ ผอ.โรงเรียน จํานวนครตู าม จ.18 609 57 รอง ผอ.โรงเรยี น สายผสู อน 274 1 กมุ ภวาป 29 290 2 โนนสะอาด 28 - 552 318 3 ศรีธาตุ 27 - 245 171 4 วังสามหมอ 14 2 260 133 5 หนองแสง 13 - 291 1795 6 ประจกั ษศิลปาคม 168 - 157 - 120 รวม 2 1625 ตารางที่ 3 จาํ นวนโรงเรยี นจําแนกตามขนาดโรงเรยี น 7 ขนาด ปก ารศึกษา 2562 ขนาด จาํ นวนโรง ขนาดท่ี 1 (1 – 120 คน) 7 - นักเรียน 1 – 20 คน 18 - นักเรยี น 21 – 40 คน 24 - นักเรยี น 41 – 60 คน 30 - นกั เรียน 61 – 80 คน 22 - นักเรียน 81 – 100 คน 11 - นกั เรียน 101 – 120 คน 49 25 ขนาดที่ 2 (121 – 200 คน) 4 ขนาดที่ 3 (201 – 300 คน) 4 ขนาดท่ี 4 (301 – 499 คน) - ขนาดท่ี 5 (500 – 1,499 คน) - ขนาดท่ี 6 (1,500 – 2,499 คน) 194 ขนาดที่ 7 (>= 2,500 คน) รวม

๙ ตารางที่ ๔ ขอ มูลจาํ นวนนักเรียนและจาํ นวนหองเรยี นแยกตามระดบั ชน้ั ระดบั ชนั้ ชาย นกั เรียน รวม หอ งเรยี น อนุบาล 1 (อนบุ าล 3 ขวบ) 229 หญิง 459 47 อนุบาล 2 1,318 230 2,548 201 อนบุ าล 3 1,423 1,230 2,733 215 รวมระดับอนบุ าล 2,970 1,310 5,740 463 ประถมศกึ ษาปที่ 1 1,461 2,770 2,795 213 ประถมศึกษาปท ่ี 2 1,347 1,334 2,689 214 ประถมศึกษาปที่ 3 1,489 1,342 2,761 209 ประถมศึกษาปที่ 4 1,434 1,272 2,768 209 ประถมศึกษาปท ี่ 5 1,472 1,334 2,816 209 ประถมศกึ ษาปที่ 6 1,440 1,344 2,859 210 รวมระดับประถมศกึ ษา 8,643 1,419 16,688 1264 มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 1 634 8,045 1,190 65 มัธยมศึกษาปท่ี 2 604 556 1,103 65 มัธยมศกึ ษาปท่ี 3 557 499 1,020 64 รวมระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน 1,795 463 3,318 194 13,408 1,518 2,5741 รวมท้ังสน้ิ 1,921 12,333

ตารางที่ ๕ ขอมลู นักเรียนพิการเรยี นรวม ในสงั กัดสํานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถ ระดับช้ัน 1 2 3 ประ 1.1 1.2 2.1 2.2 ชญชญ ชญ 4 ชญชญ 0000 40 อนบุ าล 0001 0000 57 ชญ 0010 70 30 ประถมศกึ ษาปท่ี 1 0 0 0 0 0000 44 12 0011 51 32 ประถมศกึ ษาปท่ี 2 0 0 2 2 0000 64 74 0000 44 54 ประถมศึกษาปท ่ี 3 0 0 0 1 0001 32 31 0000 21 42 ประถมศึกษาปท่ี 4 0 0 0 0 0000 10 20 0022 41 23 32 ประถมศกึ ษาปที่ 5 1 0 0 0 02 31 19 ประถมศกึ ษาปท่ี 6 0 0 1 1 มธั ยมศึกษาปท ี่ 1 0 0 2 0 มธั ยมศึกษาปท ี่ 2 0 0 0 0 มัธยมศกึ ษาปท ่ี 3 0 0 0 0 รวมท้งั หมด 1 0 5 5

๕ ถมศึกษาอดุ รธานี เขต 2 ปการศึกษา ๒๕๖๒ ะเภทความพิการ 6 7 8 9 10 รวมแตละ ระดับชน้ั 5 ชญ ชญ ชญ ชญ ชญ 30 00 41 20 00 30 ชญ 41 00 31 34 00 367 11 1 42 20 41 13 2 00 427 218 118 50 01 60 38 00 511 284 98 21 31 72 73 00 477 337 131 31 41 11 10 2 00 482 328 106 01 31 50 12 2 00 464 329 115 00 00 11 01 00 127 324 100 10 11 11 10 00 149 88 26 01 00 10 30 00 103 110 25 22 7 13 5 33 8 54 22 00 3138 80 15 2109 736

6 ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพืน้ ฐาน ( O–NET) ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๖ ปก ารศกึ ษา 2561 และปการศึกษา 25๖2 ดงั ปรากฏตามตาราง ตารางที่ ๖ เปรียบเทียบคะแนนผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพ้นื ฐาน ( O–NET) ชั้นประถมศึกษาปท ี่ 6 ปก ารศกึ ษา 2561 และปการศึกษา 25๖2 กลมุ สาระ ระดับเขตพ้นื ที่ คะแนนเฉลย่ี ระดบั ประเทศ การเรยี นรู ป 2561 ป2562 พฒั นาการ ระดับ สพฐ. ป 2561 ป 2562 พฒั นาการ ภาษาไทย 51.74 48.32 -3.42 ป 2561 ป 2562 พัฒนาการ 54.42 55.14 0.72 ภาษาองั กฤษ 37.03 20.70 -16.33 55.04 55.91 0.87 30.04 26.73 -3.31 คณิตศาสตร 38.71 29.04 -9.67 30.28 26.98 -3.30 36.10 30.07 -6.03 วิทยาศาสตร 33.72 28.05 -5.67 36.43 30.22 -6.21 29.45 33.25 3.80 คา เฉลี่ย 40.30 31.53 -8.77 29.1 32.98 3.88 37.50 36.30 -1.20 37.71 36.52 -1.19 ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน จากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพ้นื ฐาน ( O–NET) ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 3 ปก ารศึกษา 2561 และปการศึกษา 25๖2 ดงั ปรากฏตามตาราง ตารางที่ ๗ เปรียบเทยี บคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ น้ั พ้นื ฐาน ( O–NET) ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๓ ปก ารศกึ ษา 2561 และปการศึกษา 25๖2 กลุม สาระ ระดับเขตพื้นที่ คะแนนเฉลี่ย ระดบั ประเทศ การเรียนรู ระดับ สพฐ. ภาษาไทย ป 2561 ป 2562 พฒั นาการ ป 2561 ป 2562 พัฒนาการ ภาษาอังกฤษ ป 2561 ป 2562 พัฒนาการ คณติ ศาสตร 51.74 48.32 -3.42 54.42 55.14 0.72 วทิ ยาศาสตร 37.03 20.70 -16.33 55.04 55.91 0.87 30.04 26.73 -3.31 คา เฉล่ีย 38.71 29.04 -9.67 30.28 26.98 -3.30 36.10 30.07 -6.03 33.72 28.05 -5.67 36.43 30.22 -6.21 29.45 33.25 3.80 40.30 31.53 -8.77 29.1 32.98 3.88 37.50 36.30 -1.20 37.71 36.52 -1.19

7 ตารางท่ี ๘ เปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพ้ืนฐาน ( O–NET) ปการศึกษา 2561 และ ปการศกึ ษา 2562 ภาพรวมกลุม เครอื ขายโรงเรียน คะแนนเฉลย่ี รวม ท่ี กลุมเครือขา ย อําเภอ ชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี ๖ ชนั้ มัธยมศึกษาปท่ี ๓ ป 61 ป 62 ผลตาง ป 61 ป 62 ผลตาง 1 เวยี งคาํ กมุ ภวาป 50.92 31.34 -19.58 55.45 31.89 -23.56 2 เชยี งแหว กุมภวาป 3 เมืองกมุ ภวา กมุ ภวาป 38.28 34.08 -4.2 33.06 31.94 -1.12 4 หนองหวา กมุ ภวาป 5 แชแล กมุ ภวาป 36.50 32.29 -4.21 30.17 33.21 3.04 6 เสอเพลอผาสุก กมุ ภวาป 7 ทาลี่สอี อ กมุ ภวาป 57.36 30.25 -27.11 41.61 30.32 -11.29 8 หวยเกงิ้ ปะโค กมุ ภวาป 9 พนั ดอน กุมภวาป 62.01 28.98 -33.03 46.17 31.68 -14.49 10 โนนสะอาดหนองโพธ์ิ โนนสะอาด 11 บุง แกวทมนางาม โนนสะอาด 35.93 32.04 -3.89 33.56 30.65 -2.91 12 โนนสะอาดโคกกลาง โนนสะอาด 13 นามวง ประจกั ษศิลปาคม 43.72 31.95 -11.77 38.76 34.09 -4.67 14 สามพาดอมุ จาน ประจกั ษศิลปาคม 15 วงั สามหมอ1 วงั สามหมอ 55.72 33.90 -21.82 46.17 31.13 -15.04 16 วงั สามหมอ2 วังสามหมอ 17 วังสามหมอ3 วังสามหมอ 52.13 31.41 -20.72 47.61 33.22 -14.39 18 วงั สามหมอ4 วงั สามหมอ 19 นายูงนกเขียน ศรธี าตุ 36.36 30.19 -6.17 32.80 31.32 -1.48 20 หวั นาคํา ศรธี าตุ 21 โปรง ตาดทองกา วหนา ศรธี าตุ 38.29 31.31 -6.98 31.68 32.52 0.84 22 จําปศ รีธาตุ ศรธี าตุ 23 หนองแสง1 หนองแสง 37.43 31.02 -6.41 31.26 33.12 1.86 24 หนองแสง2 หนองแสง 46.43 31.55 -14.88 41.09 30.71 -10.38 38.59 31.78 -6.81 51.60 30.22 -21.38 33.21 29.70 -3.51 31.17 30.36 -0.81 52.28 30.68 -21.6 46.80 29.59 -17.21 46.25 30.35 -15.9 42.13 30.33 -11.8 58.80 31.06 -27.74 53.58 29.53 -24.05 44.79 39.50 -5.29 47.56 33.60 -13.96 58.68 31.85 -26.83 52.52 30.76 -21.76 44.02 35.34 -8.68 38.56 31.06 -7.5 43.16 30.66 -12.5 31.68 32.35 0.67 43.00 30.43 -12.57 43.97 30.60 -13.37 49.19 29.18 -20.01 49.99 26.59 -23.4

8 ตารางที่ ๙ เปรยี บเทยี บผลการประเมินการศกึ ษาข้นั พื้นฐานเพื่อประกนั คุณภาพผูเรยี น (NT) ปการศกึ ษา ๒๕๖1 และปก ารศึกษา ๒๕๖2 ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๓ ดา นที่ คะแนนเฉลย่ี รอยละ ประเมนิ ดา นภาษา สพป.อดุ รธานี เขต ๒ สพฐ. ประเทศรวมสงั กดั ดานคาํ นวณ ป ๒๕๖๑ ป ๒๕๖2 พฒั นาการ ป ๒๕๖๑ พัฒนาการ ป ๒๕๖๑ ป ๒๕๖2 พัฒนาการ ดานเหตผุ ล 57.11 ป ๒๕๖2 53.18 รวม ๓ ดาน 52.74 52.73 0 47.19 52.30 0 0 47.89 0 48.07 0 0 54.05 47.57 49.48 49.39

สว นที่ ๓ โครงสรา งและขอบขา ยภารกิจงาน ความสําคญั อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 34 วรรคสอง แหง พระราชบัญญัติ ระเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2546 กฎกระทรวงกาํ หนดหลักเกณฑการ แบงสว นราชการภายในสํานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา พ.ศ. 2546 ขอ ๓ และขอ 4 ประกอบกบั คําแนะนําของคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานและมตคิ ณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ใน การประชมุ ครง้ั ท่ี 2/2560 เม่ือวนั ที่ 22 กนั ยายน พ.ศ. 2560ขอ 5 ใหส ํานักงานเขตพ้ืนท่ี การศกึ ษามีอาํ นาจหนาทดี่ ําเนนิ การใหเ ปน ไปตามอาํ นาจหนา ที่ของสาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา ตามกฎหมายวา ดวยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ และมีอาํ นาจหนาท่ี ดังตอ ไปน้ี (1) จดั ทาํ นโยบาย แผนพฒั นา และมาตรฐานการศกึ ษาของเขตพื้นทกี่ ารศึกษา ใหส อดคลองกบั นโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนการศึกษา แผนพัฒนาการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน และความตองการของทองถนิ่ (2) วิเคราะหการจดั ต้ังงบประมาณเงินอุดหนุนทั่วไปของสถานศกึ ษา และหนวยงาน ในเขตพื้นทก่ี ารศึกษา และแจง การจดั สรรงบประมาณที่ไดรับใหหนว ยงานขางตนรับทราบ รวมทงั้ กาํ กบั ตรวจสอบ ตดิ ตามการใชจ ายงบประมาณของหนว ยงานดงั กลา ว (3) ประสาน สงเสรมิ สนบั สนนุ และพฒั นาหลกั สูตรรว มกับสถานศกึ ษาในเขตพน้ื ที่ การศกึ ษา (4) กํากับ ดูแล ติดตาม และประเมนิ ผลสถานศึกษาขัน้ พื้นฐานและในเขตพ้ืนที่ การศกึ ษา (5) ศึกษา วิเคราะห วิจัย และรวบรวมขอมูลสารสนเทศดานการศกึ ษาในเขตพื้นที่ การศึกษา (6) ประสานการระดมทรพั ยากรดา นตา ง ๆ รวมท้ังทรัพยากรบคุ คล เพอื่ สง เสริม สนับสนุนการจัดและพฒั นาการศกึ ษาในเขตพน้ื ที่การศึกษา (7) จัดระบบประกันคณุ ภาพการศึกษา และประเมินผลสถานศกึ ษาในเขตพื้นท่ี การศึกษา (8) ประสาน สง เสรมิ สนับสนนุ การจดั การศึกษาของสถานศกึ ษาเอกชน องคกร ปกครองสวนทองถน่ิ รวมท้งั บคุ คล องคก รชมุ ชน องคก รวิชาชพี สถาบันศาสนา สถาน ประกอบการ และสถาบนั อื่นท่จี ดั การศึกษารปู แบบทหี่ ลากหลายในเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา (9) ดําเนนิ การและประสาน สงเสรมิ สนับสนุนการวจิ ยั และพัฒนาการศึกษาในเขต พืน้ ทกี่ ารศกึ ษา

๑๕ (10) ประสาน สงเสรมิ การดําเนินการของคณะกรรมการ คณะอนกุ รรมการ และ คณะทํางานดา นการศึกษา (11) ประสานการปฏิบัติราชการทัว่ ไปกบั องคกรหรือหนวยงานตาง ๆ ท้งั ภาครัฐ เอกชน และองคกรปกครองสว นทองถน่ิ (12) ปฏบิ ัตงิ านรว มกบั หรือสนบั สนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอนื่ ท่เี กี่ยวของหรือ ท่ไี ดร บั มอบหมาย ขอ 6 ใหแ บง สวนราชการภายในสํานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา ไวด ังตอไปน้ี (1) กลุมอํานวยการ (2) กลุม นโยบายและแผน (3) กลมุ สง เสริมการศึกษาทางไกล เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร (4) กลมุ บรหิ ารงานการเงินและสนิ ทรพั ย (5) กลุมบริหารงานบุคคล (6) กลุมพฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา (7) กลมุ นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา (8) กลมุ สง เสริมการจดั การศึกษา (9) หนว ยตรวจสอบภายใน ขอ ๗ สวนราชการภายในสํานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามอี ํานาจหนา ทีด่ งั ตอไปน้ี (7) กลุมนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา มีอาํ นาจหนา ท่ดี งั ตอไปนี้ (ก) ประสาน สงเสริม สนับสนนุ และพัฒนาหลักสตู รการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน หลักสตู ร การศึกษาระดับกอนประถมศึกษา และหลักสตู รการศกึ ษาพิเศษ (ข) ศึกษา วเิ คราะห วจิ ัย เพ่ือพัฒนาหลกั สตู รการสอนและกระบวนการเรียนรู ของผูเรียน (ค) วิจัย พัฒนา สง เสริม ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินเก่ียวกับการวัดและ การประเมนิ ผลการศึกษา (ง) วิจัย พฒั นา สงเสริม มาตรฐานการศกึ ษาและการประกันคุณภาพการศึกษา รวมทั้งประเมนิ ติดตาม และตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษา (จ) นเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา (ฉ) ศึกษา วิเคราะห วจิ ัย และพัฒนาสื่อนวตั กรรมการนเิ ทศทางการศกึ ษา (ช) ปฏิบตั งิ านเลขานุการคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศ การศึกษาของเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา (ซ) ปฏิบัตงิ านรวมกบั หรือสนับสนุนการปฏิบตั งิ านของหนวยงานอนื่ ที่เกย่ี วของ หรอื ที่ไดรับมอบหมาย

๑๖ การแบง กลมุ งานของกลมุ นเิ ทศตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สํานกั งานเขต พน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 จํานวน ๕ กลมุ งาน และงาน 2 งาน ดังนี้ 1. กลุมงานหลักสตู รและกระบวนการเรยี นการสอน ๒. กลุมงานวดั และประเมินผลการศึกษา 3. กลมุ งานมาตรฐานการศกึ ษาและประกนั คุณภาพการศึกษา ๔. กลุมงานสอ่ื และนวัตกรรมเทคโนโลยกี ารศึกษา ๕. กลมุ นิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา ๖. งานเลขานกุ ารคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศ การศกึ ษา ๗. งานธุรการ มาตรฐานขอบขายภารกิจ ๑. กลุมงานหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอน ๑.๑ งานสงเสริมพฒั นาหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั การศกึ ษาพเิ ศษ ผดู อ ยโอกาส และผมู คี วามสํามารถพิเศษ ๑.๒ งานสงเสริมพฒั นาหลักสตู รการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ๑.๓ งานศึกษาคน ควา วิเคราะห วิจยั การพฒั นาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู ๒. กลมุ งานวัดและประเมนิ ผลการศกึ ษา ๒.๑ งานสง เสริมการวดั และประเมินผลการศึกษา ๒.๒ งานสงเสริมและพฒั นาเคร่ืองมือวัดและประเมนิ ผลการศกึ ษา ๒.๓ งานติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษา ๒.๔ งานทดสอบทางการศึกษา 3. กลมุ งานมาตรฐานการศกึ ษาและประกันคณุ ภาพการศึกษา ๓.๑ งานสงเสรมิ การพฒั นาระบบการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ๓.๒ งานตรวจสอบคณุ ภาพภายในสถานศึกษา ๓.๓ งานสงเสรมิ และประสานงานการประกนั คุณภาพภายในและภายนอก สถานศึกษา ๓.๔ งานศึกษาคน ควา วิเคราะห วจิ ัย มาตรฐานและการประกนั คุณภาพการศึกษา

๑๗ ๔. กลมุ งานสงเสริมและพัฒนาสอื่ นวตั กรรมและเทคโนโลยที างการศึกษา ๔.๑ งานสงเสรมิ พัฒนาสอื่ นวตั กรรมและเทคโนโลยที างการศึกษา ๔.๒ งานศึกษา คนควา วเิ คราะห วิจยั การพฒั นาสื่อ นวตั กรรมและเทคโนโลยี ทางการศึกษา ๕. กลมุ นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา ๕.๑ งานสง เสริมและพัฒนาระบบการนเิ ทศและการจดั กระบวนการเรยี นรู ๕.๒ งานสง เสริมสนับสนุน เครอื ขายการนเิ ทศของเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา สถานศึกษา หนวยงาน ที่เกย่ี วของ และชุมชน ๕.๓ งานนเิ ทศ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาข้ัน พ้ืนฐานของสถานศกึ ษา ๕.๔ งานศกึ ษาคน ควา วเิ คราะห วิจยั การพฒั นาระบบบริหารและการจดั การศึกษา ๖. งานเลขานกุ ารคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศ การศกึ ษา ๖.๑ งานพัฒนาระบบขอมลู และสารสนเทศ ๖.๒ งานวางแผนการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศกึ ษา ๖.๓ งานรายงานผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศึกษา ๗. งานธรุ การ งานตามหนา ที่ ความรับผดิ ชอบตามมาตรฐานตาํ แหนง ศกึ ษานิเทศกท กุ คน ในสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๒ ปฏบิ ตั หิ นา ท่เี กี่ยวกับงานวชิ าการและงานนเิ ทศการศึกษา เพอื่ ปรับปรงุ การเรียนการสอนใหไ ด มาตรฐาน ดงั นี้ ๑.๑ งานนิเทศการศึกษา โดยสงเสริมใหสถานศึกษาบริหารหลกั สูตรสถานศึกษา จดั กระบวนการเรียนรูมรี ะบบการประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา พัฒนาการวัดและประเมนิ ผลการศึกษาพฒั นาสือ่ นวัตกรรมและเทคโนโลยที างการศึกษา ไดอยา ง มคี ุณภาพ ๑.๒ การศึกษาคนควาทางวชิ าการ เพื่อจัดทําเปนเอกสาร คูม อื และส่ือใชในการ ปฏบิ ตั งิ านและ เผยแพรใหครูไดใชใ นการพฒั นาการจัดกระบวนการเรยี นการสอน

๑๘ ๑.๓ การวิเคราะห วิจัยเกย่ี วกับการพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรยี นรูส่อื นวตั กรรมและ เทคโนโลยที างการศกึ ษาพฒั นาระบบการบริหารงานวิชาการ พัฒนามาตรฐาน และการประกนั คุณภาพการศึกษา เพ่อื ใชใ นการปฏบิ ตั ิงานและเผยแพรแกผูบ รหิ ารสถานศกึ ษา ครแู ละผสู นใจทว่ั ไป ๑.๔ การตดิ ตามตรวจสอบและประเมินผล เพ่อื เปน ขอ มลู และสารสนเทศในการ วางแผน การนิเทศและการพัฒนางานวิชาการ ๑.๕ ปฏบิ ตั งิ านอื่นๆ ที่ผูบงั คับบญั ชามอบหมาย ภารกจิ สาระความรู และลักษณะงานทีป่ ฏบิ ตั ิ ๑. การนิเทศการศกึ ษา ไดแ ก หลกั การและรปู แบบการนเิ ทศ วธิ กี ารและกระบวนการ นเิ ทศ กลยุทธการนิเทศการศึกษาในเรื่องการวเิ คราะหพฤติกรรมการนเิ ทศการศกึ ษา การสรา ง ทักษะ ในการนิเทศ การใชกลยทุ ธใ นการนเิ ทศ การนานวัตกรรมมาประยุกตใชใ นการนเิ ทศ การ ควบคมุ และการประเมิน เพ่ือการพฒั นาคุณภาพการศึกษา การนิเทศภายใน โดยสามารถ วิเคราะห วจิ ัย สงเสริมใหขอเสนอแนะเพื่อ พฒั นาระบบการนเิ ทศภายในสถานศึกษาได ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลการจดั กระบวนการเรยี นรกู ารสอนและการบริหารจัดการการศึกษา ประสาน สนบั สนุนและเผยแพรผ ลงานดานการนิเทศ การศกึ ษาแกหนว ยงานที่เกีย่ วของ ใช เทคนคิ การนเิ ทศไดอยา งหลากหลายดา นความเปน กัลยาณมติ ร ๒. นโยบายและการวางแผนการศึกษา ไดแ ก ระบบและทฤษฎีการวางแผน บริบท ทางเศรษฐกิจ สงั คมและการเมืองไทยที่มีอิทธพิ ลตอ การศึกษา แผนการศึกษาระดับชาติและ ระดบั ตา งๆ การวิเคราะหและกําหนดนโยบายการศึกษา การวางแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา การพฒั นาและประเมินนโยบายการศึกษา โดยสามารถใหค ําแนะนํา ปรึกษาเกย่ี วกบั การ วเิ คราะหขอมลู และรายงานผลเพอื่ จดั ทาํ นโยบาย แผนและการติดตามประเมนิ ผลดาน การศึกษา ใหค ําแนะนําปรกึ ษาเก่ียวกบั การกาํ หนด นโยบายและการวางแผนดําเนินงานและการ ประเมนิ คุณภาพการจัดการศึกษา ใหคาํ แนะนา ปรกึ ษาเก่ียวกับการจัดทาํ แผนพฒั นาคุณภาพ การศกึ ษาท่ีมงุ ใหเ กดิ ผลดี คมุ คา ตอการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา สงั คม และสง่ิ แวดลอ ม ๓. การพฒั นาหลกั สูตรและการสอน ไดแก ความรูเ กี่ยวกับหลักสูตร การสรา ง หลักสูตร สถานศึกษา หลกั การพัฒนาหลกั สูตร การจดั การเรยี นรู จิตวิทยาการศึกษา การวัดและ การประเมินผล การจดั การศึกษาพเิ ศษ โดยสามารถใหค ําแนะนํา คําปรกึ ษา เกี่ยวกับการพฒั นา หลักสตู รและ การจดั ทํา หลกั สตู รสถานศึกษา สาธติ แนะนําครูใหจ ดั กิจกรรมที่สง เสริมการเรียนรู ไดเ ต็มศกั ยภาพของผูเรียน ประเมินหลกั สตู รและการนําหลักสตู รไปใช

๑๙ ๔. การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา ไดแก การบริหารคุณภาพ การประกนั คุณภาพ การศกึ ษา มาตรฐานคณุ ภาพการศึกษา กระบวนการประเมนิ คณุ ภาพภายในและภายนอก สถานศกึ ษา สามารถศกึ ษา วิเคราะห วจิ ยั การจดั ทามาตรฐาน และการพฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา โดยนิเทศกํากับ ติดตามและประเมินผลการประกนั คุณภาพ ภายในของสถานศึกษา ใหคําปรึกษา ขอ เสนอแนะและการวางระบบการจดั ทาํ รายงานผลการ ประเมินตนเองของสถานศกึ ษา เพอื่ การพัฒนาอยางตอ เน่ืองและ พรอมรับการประเมนิ ภายนอก ๕. การบรหิ ารจดั การศกึ ษา ไดแก หลักและระบบขอบขายการจัดการศกึ ษา หลกั การ บรหิ ารจัดการศึกษาโดยใชโ รงเรียนเปนฐาน การปฏิรปู การศึกษา กฎหมายและระเบยี บท่ี เกยี่ วของกบั การจดั การศึกษาโดยสามารถใหคาํ ปรึกษาแนะนําการจัดการศึกษาใหบรรลุ วตั ถปุ ระสงคตามเจตนารมณ ของการศึกษา นิเทศการบรหิ ารจัดการสถานศึกษาไปสูอ งคกรแหง การเรยี นรู บริหารจดั การศึกษาโดยใช โรงเรียนเปนฐาน ๖. การวิจัยทางการศึกษา ไดแก ระเบียบวิธีวิจยั กระบวนการวิจยั การนําผลการวจิ ยั ไปใช โดยสามารถใหค ําแนะนํา ปรึกษาเกยี่ วกับการนํากระบวนการวิจัยไปใชในการแกปญหา และพัฒนาการเรียนการสอนใหค ําแนะนาํ ปรึกษาเกี่ยวกบั การนาผลการวิจัยไปใชใ นการ พัฒนาการจัดการเรยี นการสอน ดําเนินการวิจัยเพื่อสรางองคความรูใหมๆ ดานการเรียนรูและ การจดั การศึกษา ๗. กลวิธกี ารถายทอดความรู แนวคดิ ทฤษฎี และผลงานทางวิชาการ ไดแก กลวิธี การ นาํ เสนอความรูแ นวคิดทฤษฎีทีเ่ หมาะสมกับการเรยี นรู การเขยี นรายงาน บทความ ผลงาน ผลการศึกษา คน ควา ฯลฯ การวเิ คราะห วิจารณผ ลงานวิชาการอยา งสรางสรรคโดยสามารถ เขยี นเอกสารทางวิชาการ ประเภทตา งๆ แนะนาํ และใหค ําปรึกษา การเขียนเอกสารทางวิชาการ แกค ุณครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา นําเสนอความรู แนวคดิ ทฤษฎีดวยวธิ ีการท่หี ลากหลาย และเหมาะสม ตอ การเรียนรู ๘. การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ไดแก หลักการใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศ อนิ เทอรเน็ต คอมพิวเตอรช วยสอน ระบบมัลติมีเดียแบบปฏสิ มั พันธ สํานักงานอัตโนมัติ โดย สามารถใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการพฒั นาตนและการพัฒนางานไดอยางเหมาะสม ใหคาํ ปรกึ ษา แนะนาํ การใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่อื พฒั นาการจัดการศกึ ษาแกสถานศึกษา ๙. คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมสําหรับศึกษานเิ ทศก ไดแก คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมสาหรบั ศกึ ษานเิ ทศก จรรยาบรรณของวชิ าชพี ศกึ ษานิเทศก การบริหารจัดการบานเมืองที่ดี (Good Governance) โดยปฏบิ ตั ิตนตามจรรยาบรรณของวิชาชพี ศึกษานิเทศก มหี ลกั ธรรมในการนเิ ทศ และ ประพฤติเปนแบบอยางท่ีดี

๒๐ ขอมูลศึกษานิเทศก โทรศัพท ปฏิบัติหนาทก่ี ลุมงาน /กลุม สาระท่ี ท่ี ชอ่ื -สกลุ รับผิดชอบ 1 นายอุดมศักด์ิ ปอโนนสงู -ผอ.กลุม นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผล 2 นายสรุ ิยนต อนิ ทรอ ดุ ม 08-4601-8267 การจดั การศึกษา 3 นางสนุ ยี  อทุ มุ ทอง -กลุมงานสง เสริมและพัฒนาส่ือ นวตั กรรม และเทคโนโลยที างการ 4 นายปรีดา พงษว ฒุ นิ ันท 06-4745-7060 ศกึ ษา -กลมุ สาระการเรยี นรสู ังคมศกึ ษา 5 นางสาวศศิธร นาคดิลก ศาสนาและวัฒนธรรม -กลุมงานหลักสตู รการศึกษาขั้น 6 นางรดั ดา วิทยากร พื้นฐานและกระบวนการเรียนรู 7 นางสาววรศิ รา เชิญชม 08-1031-6606 -การจัดการศึกษาปฐมวยั -กลมุ สาระการเรียนรูศลิ ปะ (นาฏศลิ ป) -กลมุ งานสง เสริมและพัฒนาส่ือ นวตั กรรม และเทคโนโลยีทางการ 08-8560-7774 ศึกษา -กลุมสาระการเรยี นรูการงานอาชีพ -หัวหนากลุมงานพัฒนาหลักสูตร การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน และ 08-9843-2778 กระบวนการเรยี นรู -กลุมสาระการเรียนรูคณติ ศาสตร -หวั หนากลุมงานนิเทศ ติดตาม และ ประเมนิ ผล 09-1130-6858 ระบบบรหิ ารการจัดการศึกษา -กลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย -หัวหนา กลุมงานประกันคุณภาพ 08-1544-1794 การศึกษา -กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาอังกฤษ

๒๑ ที่ ชอื่ -สกุล โทรศพั ท ปฏบิ ัตหิ นา ท่กี ลุมงาน /กลมุ สาระที่ 8 นางสาววิมล เถาวลั ย รบั ผิดชอบ 9 นางสภุ าวดี ปกครอง -กลุมงานนิเทศ ติดตาม และ ประเมินผล 10 นางฐิตินันท อปุ การ 08-1717-1629 ระบบบริหารการจัดการศกึ ษา 11 นางปยฉตั ร จิตรดี 12 นางจิตตรัตน ศรนี นั ทดอน -การจดั การศึกษาพิเศษเรียนรวม -งานเลขานุการกลุมนิเทศ ติดตามและ ประเมนิ ผล 06-5293-5357 -กลุมสาระการเรยี นรูสุขศึกษาและพล ศึกษา -หัวหนากลมุ งานงานวดั และ ประเมินผลการศึกษา 06-3494-4952 -การจดั การศึกษาปฐมวยั -กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ (ทศั นศิลป) -กลมุ งานงานวดั และประเมนิ ผล 08-5292-4615 การศึกษา -กลมุ สาระการเรยี นรูภ าษาไทย -กลมุ งานงานวัดและประเมินผล การศึกษา 09-3069-9595 -กลมุ สาระการเรียนรูศิลปะ (ดนตรี) 13 นางสาวชณิดา ทัศนยิ ม -กลุมงานประกนั คุณภาพการศึกษา 08-1908-2223 -กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร

๒๒ ขอมูลการบรหิ ารจัดการศึกษาในรูปแบบเครือขา ย จาํ นวน 24 เครอื ขา ย ประกอบดวย อําเภอ กลุมเครอื ขายโรงเรยี น ศกึ ษานเิ ทศกท ี่รบั ผดิ ชอบ ๑. เมอื งกมุ ภวา นางสาววมิ ล เถาวลั ย กุมภวาป ๒. ทา ลส่ี ีออ นางสาวศศธิ ร นาคดลิ ก ๓. แชแล นางรัดดา วทิ ยากร ศรธี าตุ ๔. เวยี งคาํ นางสุภาวดี ปกครอง โนนสะอาด ๕. หนองหวา นางสาวศศิธร นาคดิลก วงั สามหมอ ๖. หวยเก้ิงปะโค นางสาววมิ ล เถาวลั ย หนองแสง ๗. เสอเพลอ-ผาสกุ นางสาววริศรา เชิญชม ประจกั ษศลิ ปาคม ๘. เชียงแหว นางรัดดา วทิ ยากร ๙. พันดอน นางสาววริศรา เชิญชม ๑. จาํ ป- ศรีธาตุ นายปรดี า พงษว ุฒินนั ท ๒. หวั นาคาํ นายปรดี า พงษวุฒนิ นั ท ๓. โปรง ตาดทองกา วหนา นางปยฉตั ร จติ รดี ๔. นายูงนกเขียน นางฐติ ินันท อปุ การ ๑. โนนสะอาดหนองโพธ์ิ นางสาวชณิดา ทัศนิยม ๒. โนนสะอาดโคกกลาง นางจติ ตร ัตน ศรีนนั ทดอน ๓. บงุ แกวทมนางาม นางจติ ตรัตน ศรีนันทดอน ๑. วงั สามหมอ 1 นางฐติ นิ ันท อปุ การ ๒. วังสามหมอ 2 นางสุนยี  อทุ ุมทอง ๓. วังสามหมอ 3 นางสนุ ีย อุทมุ ทอง ๔. วงั สามหมอ 4 นางปย ฉัตร จติ รดี ๑. หนองแสง 1 นางสภุ าวดี ปกครอง ๒. หนองแสง 2 นางสาวชนดิ า ทัศนิยม ๑. นามว ง นายสุรยิ นต อินทรอ ุดม ๒. สามพาดอุมจาน นายสุริยนต อนิ ทรอ ดุ ม

โครงสรา ง กลมุ นิเทศ ตดิ ตาม แ นาย ผอู าํ นวยการสาํ นักงานเขตพ นาย รองผูอํานวยการสํานกั งานเขต นายอ ผูอาํ นวยการกลุมนิเทศ ต กลุม งานพัฒนาหลกั สตู ร กลมุ งานวัดและ กลมุ งานสงเสรมิ มาตรฐาน กลมุ การสอนและกระบวน ประเมินผลการศกึ ษา การศกึ ษาและระบบการ เทค การเรยี นรู ประกันคณุ ภาพการศกึ ษา ๑.น ๑.นางฐิตินนั ท อุปการ ๑.นางสาววรศิ รา เชญิ ชม ๒.น ๑. นางสาวศศิธร นาคดลิ ก ๒.นางปย ฉัตร จิตรดี ๒.นางสาวชณดิ า ทัศนิยม ๒.นางสนุ ยี  อทุ มุ ทอง ๓.นางจิตตรตั น ศรีนนั ทด อน ๓.นางสาววมิ ล เถาวัลย

และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา คณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล ยบูรพา พรหมสงิ ห และนเิ ทศการศกึ ษา พื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 ยสคุ ดิ พนั ธุพรหม ตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต 2 อดุ มศักด์ิ ปอโนนสูง ติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษา มงานสือ่ และนวตั กรรม กลุมงานนเิ ทศ ติดตาม งานเลขานกุ าร งานธุรการ คโนโลยที างการศกึ ษา และประเมนิ ผลการจดั นางสภุ าวดี ปกครอง นางนงนุช จนั ทะรี นายสุริยนต อนิ ทรอ ดุ ม การศึกษา นายปรีดา พงษว ุฒนิ ันท ๑.นางรดั ดา วิทยากร ๒.นางสาววิมล เถาวลั ย

ส่วนที่ ๔ ค่มู อื ขั้นตอนการปฏบิ ตั ิงาน 1. กลุ่มงานพัฒนาหลกั สูตรการศึกษาข้ันพ้นื ฐานและกระบวนการเรยี นรู้ กรอบแนวทางการปฏบิ ัตงิ านตามขอบข่ายภารกิจ กลุ่มงานพัฒนาหลกั สูตร การศึกษาขน้ั พน้ื ฐานและกระบวนการเรียนรู้ แผนภาพขอบขา่ ยภารกิจงานพัฒนาหลกั สตู รการศกึ ษาขั้นฐานและกระบวนการเรยี นรู้ กล่มุ งานพฒั นาหลกั สูตร งานประสาน ส่งเสริม สนับสนนุ และพฒั นาหลักสูตร การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน การศกึ ษา และ กระบวนการเรียนรู้ ขน้ั พื้นฐาน งานประสาน ส่งเสริม สนับสนนุ และพฒั นาหลักสตู ร การศึกษา ปฐมวัย งานประสาน สง่ เสริม สนับสนนุ และพฒั นาการศึกษาพเิ ศษ และมคี วามสามารถพิเศษ งานศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัย การพัฒนาหลกั สตู ร และ กระบวนการเรียนรู้

25 งานประสาน ส่งเสรมิ สนบั สนุนและพัฒนาหลักสตู รการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย และหลักสูตรการศกึ ษาพิเศษ 1.วัตถุประสงค์ 1.๑ เพอื่ พัฒนาระบบการปฏิบตั งิ านของกลุม่ งานพฒั นาหลักสูตรการศึกษาข้นั พ้ืนฐานและกระบวนการเรียนรู้ กลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษาให้มี ประสิทธิภาพและสามารถ ดาเนนิ การบรรลุผลตามเปา้ หมาย ๑.๒ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดาเนินการประสาน ส่งเสริม สนับสนนุ และ พฒั นาหลักสูตรการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย และหลกั สูตรการศึกษาพิเศษ 2. ขอบเขตของงาน เปน็ แนวทางสาหรับกลุ่มนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษาใช้ใน การปฏิบตั ิงาน เพื่อประสาน สง่ เสริม สนับสนุน และพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั และ หลักสูตรการศึกษาพเิ ศษ 3. คาจากัดความ หลักสตู รการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน (Basic Education Curriculum) หมายถงึ หลักสตู รท่ีใช้ใน การจดั การเรียนการสอนเพอื่ พัฒนาผูเ้ รียนในระดบั การศกึ ษาทต่ี ่ากว่าอุดมศกึ ษา โดยม่งุ หวังใหผ้ ู้เรียนมคี วาม สมบูรณ์ทัง้ ด้านร่างกาย จิตใจ และสตปิ ญั ญา อีกทั้งมีความรแู้ ละ ทักษะทจ่ี าเปน็ สาหรับการดารงชีวิต และมี คุณภาพไดม้ าตรฐานสากลเพื่อการแข่งขันในยคุ ปจั จบุ ัน หลักสูตรการศึกษาขั้นพน้ื ฐานประกอบดว้ ยส่วนทเ่ี ปน็ แกนกลางซึ่งกาหนดโดยหน่วยงาน ส่วนกลางและส่วนทีม่ ีสาระสอดคล้องกับสภาพชมุ ชนและท้องถ่ินซง่ึ สานกั งานเขตพ้ืนที่ การศกึ ษา กาหนดกรอบหลกั สตู รรว่ มกับสถานศึกษาและท้องถิ่น นอกจากน้ยี ังมสี ่วนที่เป็น เนือ้ หาสาระทสี่ ถานศึกษาแต่ละแหง่ สามารถกาหนดเพม่ิ เดิมขนึ้ เองได้ เพือ่ ใหส้ อดคลอ้ งเหมาะสม กบั ความสนใจ ความต้องการ และความถนัดของผู้เรียน การศึกษาปฐมวัย (Early Childhood Education) หมายถงึ การศึกษาทม่ี ุ่ง อบรมเล้ยี งดเู ด็กก่อนการศึกษาภาคบังคบั เพื่อเตรยี มเดก็ ให้มีความพร้อมทกุ ด้าน ในการที่จะเข้า รับการศึกษาต่อไปการจดั การศกึ ษาระดับก่อนประถมศึกษาอาจจัดเปน็ สถานรับเลยี้ งเด็ก ศูนย์ เดก็ ปฐมวัย โรงเรยี นอนบุ าล ศนู ยเ์ ดก็ ก่อนเกณฑ์ในวดั หรือมัสยดิ หรือจดั เป็นข้ันเด็กเล็กใน โรงเรยี นประถมศกึ ษา การศึกษาพิเศษ (Special Education) หมายถึง การจดั การศกึ ษาใหส้ าหรบั บุคคลทีม่ ี ความตอ้ งการพิเศษได้แก่ เด็กปญั ญาเลศิ เด็กทีม่ ีความบกพร่องดา้ นสตปิ ัญญา เด็กทม่ี ี ปัญหาดา้ นการเรียนรู้ เด็กพิการซ้าชอ้ น เดก็ ที่มีความบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ เด็กที่มี ความบกพร่องดา้ นสายตา เด็กทมี่ ีความบกพรอ่ งด้านการไดย้ นิ เดก็ ทม่ี ีปัญหาดา้ นอารมณ์ และ สงั คม หรอื เด็กท่มี ีปัญหาด้านพฤติกรรม ซ่งึ เด็ก กล่มุ พิเศษเหลา่ นี้ไม่สามารถได้รบั ประโยชนอ์ ย่าง เต็มท่จี ากการจัดการศึกษาแบบเดียวกนั กับเด็กปกติ

26 ดังน้นั การศึกษาพิเศษจงึ มคี วามจาเป็นตอ่ การจดั การศกึ ษาแก,เด็กกลมุ่ พิเศษ ดังกล่าว ซง่ึ การจัดการ ศึกษาพเิ ศษได้รวมถึงดา้ นกระบวนการสอน วธิ ีการสอน เน้ือหาวิชา (หลกั สูตร) เครื่องมือและอุปกรณ์ในการจัดการเรยี นการสอนท่สี นองตอบต่อความสามารถ และ ความตอ้ งการของเด็กพิเศษเปน็ รายบุคคล กรอบหลักสูตรระดับทอ้ งถ่ิน (Local Curriculum Framework) หมายถงึ กรอบทิศทาง ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในแต่ละท้องถ่ิน ซง่ึ จดั ทาโดยเขตพื้นที่การศึกษา หรอื หนว่ ยงานทีร่ ับผดิ ชอบ ในระดบั ทอ้ งถน่ิ มีองค์ประกอบสาคัญ ได้แก่ เป้าหมายและจุดเน้นในการ พัฒนาผู้เรียนในท้องถิ่น สาระ การเรยี นร้ทู ้องถิน่ และการประเมนิ คุณภาพผเู้ รยี นระดับท้องถิน่ สถานศกึ ษาในเขตพ้ืนที่น้นั ๆ จะใชข้ อ้ มลู ในกรอบหลักสตู รระดบั ท้องถน่ิ เปน็ แนวทางในการ จดั ทาหลกั สตู รสถานศึกษา เพอื่ พฒั นาผู้เรยี นให้มี คุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ และเป็น สมาชกิ ทดี่ ขี องสังคม มีความรกั และหวงแหนมรดกทางสงั คม มคี วามรู้ความเข้าใจเก่ยี วกับ ปัญหา การแกป้ ัญหาการดารงชีวติ และการประกอบอาชพี ในชุมชน 4. ขนั้ ตอนการปฏบิ ัติงาน ๔.1 ประสาน ส่งเสริม สนับสนนุ และพัฒนาหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน 1) วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมลู จากเอกสารและแหล่งข้อมูลต่าง ๆ อาทิ หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชว้ี ัดและ สาระการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศึกษา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี หลักสตู รแกนกลาง การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560) มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชวี้ ัดและกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษาศาสนา และวฒั นธรรม (สาระการเรยี นร้ภู มู ิศาสตร์) 2) ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการหลักสตู ร แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการจัดกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น แนวทางการวัดและประเมินผล แนวทางการวัดและ ประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของผ้เู รยี น รวมทั้งศกึ ษาสภาพ บริบท ทางสงั คม ปญั หาและความตอ้ งการของท้องถ่ิน ชุมชน แนวโนม้ การเปลี่ยนแปลงใน อนาคต 3) ดาเนนิ การจดั ทากรอบหลกั สูตรระดับท้องถิ่นด้วยกระบวนการทางาน แบบมีส่วนร่วม และ เผยแพร่ให้สถานศกึ ษาในสงั กัดนาไปใช้ในการจดั ทาหลกั สูตรสถานศกึ ษา ๔) ส่งเสริม สนบั สนนุ และพัฒนาผู้บริหารโรงเรยี น ครู และบุคลากร ทางการศกึ ษา ใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจในการพฒั นาและใช้หลักสูตรสถานศึกษาตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560)

27 ๕) ส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้สถานศกึ ษาจดั ทาหลักสตู รสถานศึกษาใหส้ อดคลอ้ ง กับหลกั สตู รแกนกลางกรอบหลกั สูตรระดบั ท้องถ่ิน และความตอ้ งการ จดุ เน้นของสถานศึกษา ดว้ ย กระบวนการทางานแบบมีสว่ นรว่ ม 6) ส่งเสริมและประสานความร่วมมือระหวา่ งสานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา สถานศกึ ษา และ ชุมชนอยา่ งสมา่ เสมอเพ่อื ร่วมมอื ชว่ ยเหลือกันในการพัฒนาและใชห้ ลักสตู ร สถานศึกษา 7) นเิ ทศ กากับ ติดตาม ให้คาแนะนา ชว่ ยเหลอื ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาและ ครูผสู้ อนเพื่อให้เกดิ การปรบั ปรงุ /พัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษาใหม้ ีคณุ ภาพ ๘) ตรวจสอบและประเมนิ คุณภาพหลักสูตร 9) สรุปรายงาน และเผยแพร่ผลการใช/้ การพัฒนาหลักสูตร ๔.2 ประสาน ส่งเสรมิ สนับสนนุ และพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย 1) วเิ คราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารและแหล่งขอ้ มูลต่าง ๆ อาทิ หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560 คูม่ ือหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั ทศิ ทาง การ พฒั นาการศกึ ษาปฐมวยั รวมทง้ั ศกึ ษาสภาพปญั หาและบริบททางสังคม ความต้องการของ ท้องถ่ิน ชุมชน แนวโนม้ การเปล่ียนแปลงในอนาคต 2) ส่งเสรมิ สนับสนุน และพัฒนาผบู้ รหิ ารโรงเรยี น ครู และบุคลากร ทางการศึกษา ใหม้ คี วามรู้ ความเข้าใจในการพฒั นาและใช้หลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั ตาม หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560 3) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหส้ ถานศึกษาจดั ทาหลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั ให้ สอดคลอ้ งกบั หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช 2560 ดว้ ยกระบวนการ ทางานแบบมี ส่วนรว่ ม และนาไปใชจ้ ัดประสบการณ์และกิจกรรมการเรยี นรู้ เพอ่ื พฒั นาผ้เู รยี นทุกด้านอย่าง สมดลุ 4) ส่งเสริมและประสานความรว่ มมอื ระหวา่ งสานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา สถานศกึ ษา และชมุ ชนอยา่ ง สมา่ เสมอเพอ่ื รว่ มมอื ชว่ ยเหลอื กนั ในการพฒั นา และใช้หลักสตู ร สถานศกึ ษาปฐมวยั 5) ประสานความรว่ มมือกับหน่วยงานอนื่ ทีจ่ ัดการศึกษาปฐมวัย เช่น องค์กร ปกครองสว่ นท้องถิ่น กรมการศาสนา สานักงานตารวจแพ่งชาติ กระทรวง สาธารณสุข เปน็ ต้น 6) นเิ ทศ กากบั ตดิ ตาม ให้คาแนะนา ชว่ ยเหลือผบู้ ริหารสถานศกึ ษาและ ครผู สู้ อนเพ่ือใหเ้ กดิ การปรบั ปรุง/พัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวัยให้มีคุณภาพ 7) ตรวจสอบและประเมนิ คุณภาพหลักสตู ร 8) สรปุ รายงานและเผยแพร่ผลการใช/้ การพัฒนาหลักสตู ร

28 ๔.3 งานประสาน สงเสรมิ สนบั สนุน พัฒนาหลกั สูตรการศกึ ษาพเิ ศษ ๑) รวบรวม ศกึ ษา วิเคราะห์ และสังเคราะหข์ ้อมูลจากเอกสารและ แหล่งข้อมูล ตา่ ง ๆ อาทิ แผนพฒั นาการศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาปฐมวัย นโยบายและ แผนจดั การศึกษาท่ีเกี่ยวข้องกับการศกึ ษาพเิ ศษ 2) ประสานงาน ส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานศึกษามีความพร้อมในการ จัดการศึกษา สาหรบั นักเรียนท่ีมคี วามต้องการพิเศษในรูปแบบทเ่ี หมาะสม 3) สง่ เสริม สนับสนุน และพัฒนาผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ครู และบุคลากร ทางการ ศึกษาใหม้ คี วามรู้ความเขา้ ใจในการจัดการศึกษาพิเศษ ให้สามารถบริหารจดั การและ วางแผนจดั การศึกษาสาหรบั นกั เรยี นท่มี ีความตอ้ งการพเิ ศษ 4) สง่ เสรมิ และประสานความร่วมมอื ระหว่างสานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา สถานศกึ ษา และชมุ ชนอยา่ ง สม่าเสมอ เพือ่ รว่ มมือช่วยเหลอื กันในการดาเนินการจัดการศึกษา สาหรับนกั เรยี นทีม่ คี วามต้องการพิเศษ 5) ประสานความร่วมมือและสนบั สนนุ การปฏิบตั ิงานของหน่วยงานอ่นื ที่ เกย่ี วข้องกบั การศกึ ษาพิเศษ เชน่ สานักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ ศูนย์การศึกษาพเิ ศษ โรงพยาบาล สถาบนั การศกึ ษา องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน 6) ดาเนนิ การนเิ ทศ กากับ ติดตาม ให้ความช่วยเหลือแนะนาผบู้ รหิ าร สถานศึกษาและครผู สู้ อนเพ่อื ให้เกิดการปรบั ปรงุ /พัฒนาแผนจัดการศกึ ษาเฉพาะบคุ คล สาหรับนกั เรียนทมี่ ีความต้องการพิเศษให้มีคุณภาพ 7) ตรวจสอบและประเมินคุณภาพหลกั สูตร 8) สรปุ รายงานและเผยแพร่ผลการใช/้ การพัฒนาหลกั สตู ร

29 5. Flow Chart การปฏิบตั ิงาน 6. เอกสารอา้ งอิง ๑. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ๒. หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช 25๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ๓. แนวทางการบริหารจดั การหลกั สตู รตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ๔. แนวทางการจดั การเรยี นรู้ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ๕. แนวทางการจัดกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ัน พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ๖. แนวปฏบิ ัตกิ ารวดั และประเมินผล ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551

30 ๗. แนวทางการวดั และประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลกั สตู รแกนกลาง การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ๘. แนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลกั สูตรสถานศึกษาตามหลักสตู ร แกนกลาง การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ๙. แนวทางในการจดั ทากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นตามหลกั สูตรแกนกลาง การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ๑๐. หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 25๖๐ ๑๑. คู่มือหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศักราช 2๕๖๐ ๑๒. คู่มอื การจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ๑๓. แนวทางการวดั และประเมินผลการเรยี นรูส้ าหรับนกั เรียนทีม่ คี วามต้องการ จาเป็นพเิ ศษทางการศึกษา (ฉบับทดลอง) ๑๔. พระราชบัญญตั ิการจดั การศกึ ษาสาหรับคนพิการ พุทธศกั ราช 2551

31

32 งานศึกษา วิเคราะห์ วจิ ัย เพอื่ พฒั นาหลักสตู รการสอนและกระบวนการ เรียนรขู้ องผเู้ รยี น 1.วตั ถุประสงค์ ๑.๑ เพ่ือพัฒนาระบบการปฏิบตั งิ านของกลมุ่ นิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัด การศึกษาให้ มีประสทิ ธิภาพและสามารถดาเนินการบรรลผุ ลตามเป้าหมาย ๑.๒ เพ่ือใช้เปน็ แนวทางในการดาเนินการศึกษา วิเคราะห์ วจิ ัย เพ่ือพัฒนา หลักสูตรการสอน และกระบวนการเรยี นรูข้ องผเู้ รยี น ทง้ั ในระดับสานักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษา และสถานศึกษา 2. ขอบเขตของงาน เปน็ แนวทางสาหรับการปฏบิ ัติงานการศึกษา วเิ คราะห์ วจิ ัย เพื่อพฒั นาหลักสตู ร และ กระบวนการเรยี นการสอน รวมถึงการมสี ่วนรว่ มในการศึกษา วิจัยและเปน็ แหล่งศึกษา ใหก้ ับสานกั งาน คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานใน 2 ประเด็น คือ 2.1 การศึกษา วิเคราะห์ วิจัยและพฒั นากรอบหลักสูตรระดับท้องถน่ิ โดยมุ่งเนนั การวจิ ัยเพื่อ นามาใชก้ าหนดเป้าหมายและจุดเน้น และความต้องการในการพฒั นาคุณภาพ ผเู้ รยี นระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา 2.2 การศึกษา วิเคราะห์ วจิ ัย และติดตามผลการใชห้ ลักสูตรเพื่อผลกั ดันให้มีการ พัฒนา กระบวนการจดั ทาหลักสูตร การบริหารจัดการหลักสูตรของสถานศกึ ษา การสอนและ กระบวนการเรียนรู้ของ ผู้เรยี น ให้มีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน 3. คาจากัดความ การพฒั นาหลกั สูตร (Curriculum Development) หมายถึง การดาเนนิ งาน เพ่อื ให้ได้มา ซงึ่ องค์ประกอบต่าง ๆ ของหลักสูตรโดยเป็นการจดั ทา หรอื ปรบั ปรุงหลกั สูตรทมี่ อี ยู่ แลว้ ใหด้ ียงิ่ ข้ึนหรือสร้าง หลักสตู รขนึ้ มาใหมโ่ ดยไม,มหี ลกั สตู รเดิมเป็นรากฐานอยู่เลย การพฒั นา หลักสตู รมีความครอบคลุมไปถงึ การ จดั ทาเอกสารประกอบหลักสูตรและเอกสารต่าง การสอนและกระบวนการจดั การเรียนการสอน (Teaching/Instruction) หมายถึง การ ดาเนนิ การของครผู สู้ อน ซึ่งครอบคลมุ ถึงการวางแผนการเรียนการสอน การ ออกแบบการเรียนการสอน การ จัดการเรียนการสอน/จัดการเรยี นรู้ การใช้วธิ ีสอน เทคนิคการ สอน รูปแบบการเรียนการสอน ระบบการสอน สื่อการสอน การประเมนิ ผลการเรียนการสอน รวมท้งั การใช้ทฤษฎีและหลักการเรยี นรแู้ ละการสอนต่าง ๆ เพ่อื ให้ผเู้ รยี น เกิดการเรยี นรู้ตาม วัตถุประสงค์ และบรรลเุ ป้าหมายของหลกั สูตร กระบวนการเรียนรู้ของผเู้ รยี น (Learning Process) หมายถึง กระบวนการท่ี ผู้เรยี นใช้ในการแสวงหาความรู้ สร้างความเข้าใจ สร้างองค์ความรู้ และพัฒนาตนเองให้มีความรู้ ความสามารถ และมี ศักยภาพตามท่มี ุ่งหวงั ในหลักสูตร

33 4. Flow Chart การปฏิบตั ิงาน 5. เอกสารอ้างองิ 1. แนวทางการบริหารจัดการหลกั สูตรตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 2. แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 3. คู่มือหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2546 4. แนวทางการดาเนนิ งานโครงการวิจัยการพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาของโรงเรียน ตน้ แบบการใช้ หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551

34 6. แบบฟอรม์ สรุปมาตรฐานงาน



35 2. กลุม่ งานวัดและประเมนิ ผลการศกึ ษา ขอบข่ายภารกิจ กลมุ่ งานการวัดและประเมนิ ผลการศึกษา งานสง่ เสรมิ การวดั และ งานสง่ เสรมิ และพฒั นาเคร่อื งมือวดั ประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา และประเมนิ ผลการศกึ ษา กลุ่มงานการวัดและ งานตดิ ตาม ตรวจสอบและ ประเมนิ ผลการศึกษา ประเมนิ ผลการวดั และประเมนิ ผล การศกึ ษา งานทดสอบทางการศกึ ษา 1.งานสง่ เสริมการวัดและประเมินผลการศกึ ษา ขน้ั ตอนและแนวการปฏิบตั ิ ๑. ส่งเสริมใหค้ รพู ัฒนาตนเอง โดยศกึ ษาหาความรเู้ กีย่ วกับวธิ กี ารวัดผล และประเมนิ ผล การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ๒. สง่ เสริมและพฒั นาผบู้ ริหาร ครใู ห้ใชว้ ิธกี ารที่หลากหลายในการวัดและประเมนิ ผลใน สถานศึกษาทั้งการศึกษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั ๓. ศกึ ษา วิเคราะห์ รปู แบบ วิธีการในการพฒั นาแนวทางการวดั ผลและประเมินผล ในสถานศึกษาทั้งการศกึ ษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัย ๓. จดั ทาคู่มือการวดั ผล เทยี บโอนผลการศึกษาสาหรบั การศึกษาในระบบ การศึกษานอก ระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั ผลสาเร็จท่คี าดหวัง ๑. ครแู ละผู้เกยี่ วข้องมคี วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการวดั ผลการเรยี นรู้ของนักเรียน ทง้ั การ วดั ผลการศึกษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย

36 ๒. การวดั ผลและประเมินผลสอดคล้องตามแนวทางการจดั การศกึ ษาตามพระราชบญั ญัติ การศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แกไ้ ขเพมิ่ เติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ และตามสาระการเรยี นรู้ของหลกั สูตรสถานศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ๓. ครูและผทู้ เี่ กย่ี วขอ้ งใช้วิธีการท่หี ลากหลายในการวดั และประเมนิ ผล และนาผลการวดั และ ประเมินผลไปพฒั นาศักยภาพของผู้เรยี นรายบุคคล 1.งานส่งเสริมและพัฒนาเคร่ืองมือวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษา ขนั้ ตอนและแนวการปฏิบตั ิ ๑. รวบรวมเครื่องมอื การวัดและประเมนิ ผลการศกึ ษา ๒. ศึกษา วเิ คราะห์ เครอื่ งมอื วัดผลและประเมนิ ผลท่มี ีผู้จดั ทาแลว้ คดั เลือกให้เหมาะสม กบั เขตพื้นท่ีการศึกษาและสถานศกึ ษา ๓. จดั ประชมุ เชิงปฏบิ ตั ิการการจดั ทาและพัฒนาเคร่ืองมือวดั และประเมนิ ผลให้ ครอบคลุม ด้านต่าง ๆ ดงั น้ี ๓.๑ เครื่องมอื วดั และประเมินผลตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๓.๒ เครื่องมือวดั ผลและประเมนิ ผลตามประเภทของกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน ๓.๓ เคร่อื งมอื วดั ผลและประเมนิ ผลตามสภาพจริง ๓.๔ เครื่องมือวัดผลและประเมินผลคณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์ ๓.๕ เครื่องมอื วัดผลและประเมินผลความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และ การเขียนส่อื ความ ๔. บริการเครอ่ื งมือวัดและประเมินผลทางการศึกษาแกส่ ถานศกึ ษา ผลสาเร็จท่ีคาดหวัง มีคลงั เคร่ืองมือวัดและประเมินผลระดับเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาท่ีสอดคล้องกับความต้องการของ สถานศกึ ษา กฎหมาย ระเบยี บและเอกสารทเ่ี กี่ยวขอ้ ง พระราชบัญญตั ิ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไข เพิม่ เติม (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ และตามสาระการเรียนรู้ของหลกั สตู รสถานศึกษา ขัน้ พน้ื ฐาน ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ 2.งานตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผล การวดั และประเมินผลการศึกษา ข้ันตอนและแนวการปฏบิ ตั ิ ๑. ศึกษา วิเคราะห์ แนวทางในการตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการศึกษา ๒. ดาเนนิ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการศึกษา ๓. จดั ทารายงานการตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการศกึ ษา ๔. เผยแพร่ผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการศึกษา

37 ผลสาเร็จทคี่ าดหวัง สถานศึกษามีการวดั ผลและประเมนิ ผลการศึกษาที่ถูกต้อง และมีคุณภาพ กฎหมาย ระเบียบ และ เอกสารท่เี กีย่ วข้อง พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แกไ้ ขเพมิ่ เติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ และตามสาระการเรยี นรู้ของหลกั สูตรสถานศกึ ษา ขนั้ พ้นื ฐาน ตามหลักสตู ร แกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ 3.งานทดสอบทางการศกึ ษา ข้นั ตอนและแนวการปฏบิ ตั ิ ๑. ศกึ ษา วิเคราะห์ วิจยั เกย่ี วกบั ระบบ วธิ กี าร เครอ่ื งมือวัดและประเมนิ ผลการศกึ ษา ๒. วางแผนการทดสอบทางการศึกษา ให้ครอบคลุมสาระการเรยี นรู้ทงั้ ๘ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ตามโครงสรา้ งหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.๒๕๕๑ ๔. กาหนดแนวทางในการทดสอบทางการศกึ ษา ให้สอดคล้องตามท่กี ระทรวงศึกษาธกิ าร และสถาบนั ทดสอบทางการศึกษาแหง่ ชาติกาหนด ๔. ประสานความร่วมมือกับสถาบนั ทดสอบทางการศกึ ษาแหง่ ชาติ ๕. ดาเนนิ การทดสอบทางการศึกษาและให้บริการสอบวดั ความรู้ ความสามารถใหก้ บั นักเรียน ๖. พฒั นาคลังข้อสอบมาตรฐานการศกึ ษา ๗. จดั สรา้ งโปรแกรมเก็บข้อมูลคณุ ภาพการศกึ ษาของผู้เรียนทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ผลสาเร็จท่คี าดหวัง มคี ลังข้อสอบมาตรฐานการศึกษาระดบั เขตพืน้ ที่การศึกษาและสถานศึกษา และมีข้อมูลคณุ ภาพ การศึกษาของผ้เู รียน กฎหมาย ระเบยี บและเอกสารทเี่ ก่ียวข้อง ๑. พระราชบญั ญตั ิ การศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเตมิ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ ๒. พระราชบญั ญัตขิ ้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐

38 คู่มอื ขน้ั ตอนการดาเนินงาน ๑. งานวจิ ัย พัฒนา ส่งเสริม ตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมนิ เก่ียวกับการวดั ผลและประเมินผล การเรียนร้รู ะดับชน้ั เรยี นและสถานศึกษา ๑. วัตถุประสงค์ เพ่อื ให้การปฏิบตั งิ านของกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษามีประสทิ ธิภาพ สามารถดาเนินการเปน็ ไปตามเปา้ หมาย บรรลผุ ลตามภารกิจขององคก์ ร สานกั งานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพืน้ ฐาน จึงได้จัดทาคู่มอื ขั้นตอนการปฏิบัตงิ านขึน้ โดยมวี ัตถุประสงค์ดงั นี้ ๑.๑ เพือ่ พัฒนาระบบการปฏิบตั งิ าน กลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจัดการศึกษาใหม้ ี ประสิทธิภาพและสามารถดาเนินการบรรลุผลตามเปา้ หมาย ๑.๒ เพือ่ ใช้เป็นแนวทางในการดาเนินการวจิ ยั พฒั นา สง่ เสริม ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมิน เกีย่ วกับการวัดผลและประเมินผลการเรียนรรู้ ะดบั ชน้ั เรยี นและสถานศึกษา ๒. ขอบเขตของงาน เป็นแนวทางสาหรับการปฏบิ ัตงิ านและดาเนินการวิจัย พฒั นา ส่งเสริม ติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมนิ เกี่ยวกบั การวดั ผลและประเมนิ ระดบั ชนั้ เรยี นและสถานศึกษา ๓. คาจากัดความ การวดั และประเมินผล (Assessment) หมายถึง กระบวนการเก็บรวบรวมข้อมลู ร่องรอย หลักฐานท่แี สดงให้เหน็ ถึงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสาเร็จทางการเรยี นของผูเ้ รียนอย่างเป็น ระบบ เพ่ือ เปน็ ประโยชน์ตอ่ การสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รียนเกิดการพฒั นา และเรยี นรู้อย่างเตม็ ศกั ยภาพ การวัด และประเมนิ ผลการ เรียนรสู้ ามารถจัดใหม้ ีข้ึนท้ังระดบั ชนั้ เรียน ระดับสถานศึกษา การประเมินระดบั ชัน้ เรียน (Classroom Assessment) หมายถงึ การวดั ผล และประเมินผลที่ อยู่ในกระบวนการจัดการเรยี นรู้ ผสู้ อนดาเนนิ การเพ่อื พัฒนาผูเ้ รยี นและตดั สินผลการเรียน ในรายวิชา/กจิ กรรมท่ี ตนสอน ในการประเมินเพ่อื การพัฒนา ผสู้ อนประเมนิ ผลการเรยี นรูต้ ามตวั ชีว้ ดั ทกี่ าหนดเป็นเป้าหมายในแต่ละ หน่วยการเรยี นรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ เพอื่ ดวู ่าบรรลตุ วั ชว้ี ดั หรอื มแี นวโนม้ วา่ จะบรรลตุ ัวชี้วดั เพียงใด แล้วแก้ไข ข้อบกพร่องเป็นระยะ ๆ อย่างต่อเนื่อง เนน้ การประเมินตามสภาพ จรงิ โดยใช้วิธกี ารท่ีหลากหลายและมีการ ประเมนิ อย่างต่อเนอ่ื ง เพ่ือนามาใชเ้ ป็นข้อมลู ในการปรับปรุงการเรียนการสอนตอ่ ไป การประเมินระดับสถานศึกษา (School Assessment) หมายถึง การตรวจสอบผลการเรยี นรู้ ของผเู้ รียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมนิ การอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขยี น คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์และ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน การอนุมตั ผิ ลการเรยี น การตัดสินการเลอ่ื นชน้ั เรียน และเปน็ การประเมินเพอ่ื ให้ได้ข้อมลู เกี่ยวกับการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษาว่าส่งผลต่อการเรียนรู้ของผูเ้ รยี นตามเป้าหมายหรอื ไม่ ผูเ้ รยี นมสี ่ิงที่ตอ้ ง ไดร้ บั การพัฒนาในด้านใด รวมทั้งสามารถนาผลการเรียน ของผเู้ รียนในสถานศกึ ษาเปรียบเทียบกบั เกณฑ์ ระดับชาตแิ ละระดบั เขตพ้ืนที่การศกึ ษา ผลการประเมิน ระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการ ปรับปรุงนโยบาย หลกั สตู ร โครงการ หรือวธิ ีการ จดั การเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการจดั ทาแผนพัฒนาคุณภาพ

39 การศึกษาของสถานศกึ ษาตามแนวทางการประกนั คุณภาพการศกึ ษา และการรายงานผลการจัดการศึกษาตอ่ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพนื้ ฐาน สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ผู้ปกครอง และชุมชน การประเมนิ ตามสภาพจรงิ (Authentic Assessment) หมายถึง การวดั ผล และประเมินผลการ เรยี นรู้จากการที่นักเรียนได้ลงมือปฏิบตั งิ าน ซึ่งแสดงใหเ้ หน็ ถงึ การนาความรู้และทกั ษะทีเ่ รยี นไปใช้ในสภาพและ สถานการณ์จริง หรือเชือ่ มโยงใกล้เคียงกบั สถานการณจ์ ริงมากทีส่ ดุ การประเมนิ ตามสภาพจริงมกั มีการกาหนด ช้นิ งานหรือภาระงานให้ผู้เรยี นปฏิบตั ิ และมีการใชเ้ ครอ่ื งมือการ วดั และประเมนิ ผลที่มีเกณฑ์พรอ้ มคาอธบิ าย คุณภาพงานตามเกณฑไ์ ว้อย่างชดั เจน ๔.ขั้นตอนการปฏิบตั งิ าน วจิ ัย พัฒนา สง่ เสริม ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ เกยี่ วกบั การวัดผลและประเมนิ ผล ระดับช้นั เรยี นและสถานศึกษา ๔.๑ ศึกษาหลกั เกณฑ์ และแนวปฏิบัตใิ นการวดั ผลและประเมินผลการเรยี นรู้ของ สถานศกึ ษา รวมท้งั แนวทางการวดั และประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ๔.๒ เสริมสรา้ งความรู้ความเข้าใจทักษะใหก้ บั ผู้บริหารสถานศกึ ษา ครู และบุคลากร ในสถานศึกษาเกยี่ วกับการวดั ผลและประเมนิ ผลการเรียนรู้ตามหลกั สูตร และการเทยี บโอนผลการเรยี น ๔.๓ ส่งเสริม สนบั สนุนใหผ้ ู้บรหิ ารสถานศึกษา ครแู ละบคุ ลากรในสถานศกึ ษามคี วามรู้ ความเขา้ ใจในแนวปฏบิ ตั ิ วธิ ีการวัดผลและประเมนิ ผล ตลอดจนความเขา้ ใจในเทคนิค วธิ ีการวัดผลและ ประเมิน รปู แบบตา่ ง ๆ โดยเนน้ การประเมนิ ตามสภาพจริง ๔.๔ สง่ เสริม สนบั สนนุ ใหส้ ถานศกึ ษาสร้างเคร่ืองมือทเ่ี ป็นมาตรฐาน ในการวัดและ ประเมินผล การเรยี นรู้ และจัดเก็บเอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาอยา่ งเป็นระบบสง่ เสริม สนบั สนนุ การดาเนินงาน ด้านการวัดและ ประเมินผลการเรยี นร้ตู ามหลักสูตรของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษา ๔.๕ นิเทศ ติดตาม ตรวจสอบ สรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะ แก่บุคลากรทง้ั ระดับสถานศกึ ษา ระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา เก่ียวกบั การวดั ประเมินผลการศึกษา การจัดทาเอกสารหลกั ฐาน ระดับช้นั เรียนและ สถานศึกษา สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การประเมินคณุ ภาพผู้เรยี นระดบั ชั้นเรียนและสถานศกึ ษาตามหลักสตู ร ระดบั สถานศกึ ษาและนาผลการประเมนิ คุณภาพไปใช้ในการพัฒนา ๔.๖ นเิ ทศ ตดิ ตาม และให้คาปรึกษาแกผ่ ู้บริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากรในสถานศึกษา ดาเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และการจัดทาเอกสารหลกั ฐานการศกึ ษา ๔.๗ สรุปรายงานผลการดาเนนิ งานดา้ นการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรรู้ ะดบั ชั้นเรียน และ สถานศกึ ษาเพ่ือนาผลมาใช้ในการวางแผนยกระดบั คุณภาพการศึกษา และเผยแพรผ่ ลการประเมินคุณภาพ

40 ๕. Flow Chart การวิจัย พัฒนา สง่ เสรมิ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินเกี่ยวกบั การวัดผล และ ประเมินผลการเรียนรูร้ ะดับช้ันเรียนและสถานศกึ ษา ศึกษาหลักเกณฑแ์ ละแนวปฏบิ ตั กิ ารวัดและการประเมนิ ผล สง่ เสริมสนับสนุนใหบ้ ุคลากรมคี วามรู้ ความสามารถเกีย่ วกับการวดั ผลและประเมินผลการศึกษา สง่ เสริมใหส้ ถานศึกษาสร้างเครื่องมือการวัดผลและประเมนิ ผลทมี คี ณุ ภาพ ส่งเสริมสนับสนนุ ใหส้ ถานศึกษาดาเนนิ การวัดผลและประเมนิ ผลการเรยี นรตู้ ามหลกั สตู ร นิเทศตดิ ตาม ตรวจสอบเก่ียวกบั การวัดผลและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ปรบั ปรงุ ตามหลักสตู รและการจัดทาเอกสารหลักฐาน ไม่มี ประเมินคุณภาพผู้เรียน มี รายงานผลการดาเนินงานการวดั ผลและ ประเมนิ ผลการเรียนรตู้ ามหลักสตู รและเผยแพร่ ๖. เครือ่ งมอื ๖.๑ แบบสารวจข้อมูล ๖.๒ ข้อมลู สารสนเทศ เคร่ืองมอื ทดสอบ เอกสารหลกั ฐานการศึกษา(แบบ ปพ.ต่างๆ) ๖.๓ แบบรายงานผล ๗. เอกสาร/ หลกั ฐานอ้างองิ ๗.๑ คู่มอื การดาเนนิ งานการวดั ผล และประเมนิ ผลการศึกษา ๗.๒ คมู่ อื การวดั ผล และเทยี บโอนผลการศกึ ษาในทุกระดับ ๗.๓ แบบพิมพ์ เอกสาร หลักฐานตา่ งๆท่เี กีย่ วข้อง

๘.แบบสรปุ มาตรฐานงาน ชือ่ งาน(กระบวนงาน) งานวจิ ยั พฒั นา สง่ เสริมติดตามตรวจสอบและประเมินเก่ียวกบั การวดั ผลและประเมินผล ระดบั ช้นั เรยี นและสถานศึกษา วัตถุประสงค์ : ๒.๑ เพื่อพฒั นาระบบการปฏิบตั ิงานกลมุ่ นิเทศตดิ ตามและประเมินผล ๒.๒ เพอื่ ใชเ้ ป็นแนวทางในการดาเนนิ การวิจัยพัฒนาสง่ เสรมิ ติดตามตร สถานศกึ ษา ลาดบั ผังขัน้ ตอนการดาเนินงาน รายล ท่ี ๑ ๑. ศึกษาหลกั เกณฑ์และแ ประเมนิ ผลการเรียนรรู้ ะด ๒ ๒.เสรมิ สรา้ งความร้คู วามเ สถานศึกษาครูและบุคลาก การวดั และประเมินผลการ เทียบโอนผลการเรียนแนว รูปแบบต่างๆโดยเน้นการป ๓ ๓.๑ สง่ เสริมสนบั สนุนใหส้ ที่เปน็ มาตรฐานในการวดั แ และจัดเก็บเอกสารหลักฐา ระบบ

41 บ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา กลุ่มนเิ ทศ ติดตามและ รหสั เอกสาร: ประเมนิ ผลการจัดการศึกษา ลการจดั การศึกษาใหม้ ีประสทิ ธภิ าพและสามารถดาเนินการบรรลุผลตามเป้าหมาย รวจสอบและประเมนิ เกีย่ วกบั การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ระดับชัน้ เรียนและ ละเอียด เวลา มาตรฐานคณุ ภาพงาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ ดาเนินการ แนวปฏิบตั ิในการวัดและ เมษายน สถานศกึ ษามีแนวปฏิบัตใิ น กลมุ่ นิเทศ ดับชั้นเรียนและสถานศึกษา การวดั และประเมินผลท่ี ชัดเจน เข้าใจทกั ษะใหก้ บั ผู้บรหิ าร สิงหาคม ความรว่ มมือในการวดั และ กลุ่มนเิ ทศ กรในสถานศกึ ษาเกย่ี วกับ ประเมนิ ผลระดบั ชาติ รเรียนร้ตู ามหลกั สูตรการ วปฏิบตั วิ ิธีการเทคนคิ ประเมนิ สภาพจริง สถานศกึ ษาสรา้ งเครอ่ื งมือ กันยายน ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาและ กลมุ่ นิเทศ และประเมินผลการเรียนรู้ ครมู ีความรู้ความเข้าใจ านการศกึ ษาอย่างเป็น เก่ยี วกับการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ ระดบั ชาติ

๓.๒ สง่ เสริมสนับสนนุ ดาเ ประเมนิ ผลการเรียนรตู้ าม ในสังกดั สานักงานเขตพน้ื ท ๔ ๔.ดาเนนิ การประเมนิ คุณภ แนวทางที่กระทรวงศกึ ษา การศึกษาแหง่ ชาติ หรือสา กาหนด ๕ ๕.ประเมนิ ระดับชาตเิ พอ่ื ว ผู้เรียน ๖ ๖.รายงานผลการประเมนิ ตอ่ หนว่ ยงานต้นสังกัดหนว่ เผยแพร่ต่อสถานศึกษาเพ เปน็ ขอ้ มูลในการพฒั นาคุณ ๗ ๗.นาผลการประเมนิ คุณภ ใช้เปน็ ข้อมลู ในการวางแผ การศกึ ษาของสานักงานเข เอกสารอา้ งอิง : ๘.๑ค่มู ือดาเนินการวดั ผลประเมนิ ผลระดับชาติ ๘.๒ แบบรายงานผล การศึกษาระดับชาติ

เนนิ งานด้านการวัดและ 42 มหลักสูตรของสถานศึกษา กลุ่มนเิ ทศ ที่การศึกษา ภาพของผู้เรียนตาม มกราคม – มแี ผนการวัดและ ประเมนิ ผลตามหลกั สูตรใน าธิการสถาบันทดสอบทาง มนี าคม ระดับชาตทิ ช่ี ัดเจน านกั ทดสอบทางการศึกษา วเิ คราะห/์ วจิ ัยคุณภาพ เมษายน มขี อ้ มลู คุณภาพผเู้ รียนใน กลมุ่ นเิ ทศ ระดับชาติ นคุณภาพผูเ้ รียนระดบั ชาติ เมษายน หนว่ ยงานตน้ สงั กดั และ กล่มุ นเิ ทศ วยงานทีเ่ ก่ยี วข้องและ สถานศกึ ษามขี ้อมูล พ่อื ให้สถานศกึ ษานาไปใช้ คณุ ภาพผูเ้ รยี น ณภาพผู้เรยี น ภาพผ้เู รยี นในระดบั ชาติมา พฤษภาคม หน่วยงานตน้ สงกดั และ กลมุ่ นิเทศ ผนยกระดับคณุ ภาพการจัด สถานศึกษาใช้ข้อมลู คณุ ภาพผเู้ รยี นในการ ขตพ้ืนที่การศึกษา วางแผนยกระดบั คุณภาพ การจดั การศึกษา ลการวัดผลและประเมินผลระดับชาติ ๘.๓ เอกสารรายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook