Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือความปลอดภัยต้นแบบงานฮอทไลน์

คู่มือความปลอดภัยต้นแบบงานฮอทไลน์

Published by ธนากร จุฑาเกตุ, 2021-09-20 14:54:34

Description: HLHandjob_Original

Search

Read the Text Version

คู่มือ พฒั นาทมี ปฏิบตั งิ านดว้ ยความปลอดภัย ดา้ นงานฮอทไลน์ คณะอนกุ รรมการพฒั นาตน้ แบบทีมปจฏัดบิ ทตั งิ าานคดร้วยัง้ คทวา่ี ม1ป(ลพอด.ภศัย.(ด2้า5น6งา0น)ฮอทไลน)์

คณะอนกุ รรมการพฒั นาตน้ แบบทีมปฏบิ ตั ิงานดว้ ยความปลอดภัย (ดา้ นงานฮอทไลน)์

คมู่ อื พัฒนาทีมปฏิบัติงานด้วยความปลอดภัยดา้ นงานฮอทไลน์ คานา ตามนโยบายในการบริหารจัดการและพัฒนาการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคของผู้ว่าการ การไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค ได้ประกาศให้ปี 2560 เป็น “ปีแห่งความปลอดภัยในการปฏิบัติงานอย่างยั่งยืน” ดังน้ันการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค จึงได้จัดกิจกรรมพัฒนาต้นแบบทีมปฏิบัติงานด้วยความปลอดภัย และได้แต่งต้ังคณะกรรมการ ดาเนินงานจัดกิจกรรม และแต่งตั้งคณะอนุกรรมการด้านงานฮอทไลน์ ให้มีหน้าท่ีในการพัฒนาต้นแบบทีม ปฏิบัติงานด้วยความปลอดภัยด้านงานฮอทไลน์ คณะอนุกรรมการฯ ซึ่งมีผู้อานวยการฝ่ายพัฒนาทรัพยากร บุคคล (อฝ.พบ.) เป็นประธานคณะอนุกรรมการฯ ได้ร่วมกันพิจารณากาหนดคุณสมบัติ และวิธีการปฏิบัติงาน เพื่อนาไปสกู่ ารเป็นต้นแบบทีมปฏิบัติงานด้วยความปลอดภัยดา้ นงานฮอทไลน์ โดยคานึงถงึ ความปลอดภัยสูงสุด และมุ่งหวังขยายผล สร้างจิตสานึกและทัศนคติท่ีดีต่อการปฏิบัติงาน และยกระดับมาตรฐานการปฏิบัติงานให้ เกิดความปลอดภยั ไมเ่ กิดอุบตั เิ หตุ และไมเ่ ปน็ อันตรายต่อร่างกาย ชีวิต และจิตใจ ของผู้ปฏิบัติงานอย่างยั่งยืน ตามนโยบายของผ้วู า่ การ การไฟฟ้าสว่ นภมู ิภาค ดังนนั้ คณะอนกุ รรมการฯ จงึ ไดจ้ ดั ทา “ค่มู ือพฒั นาทีมปฏิบัติงานด้วยความปลอดภัยด้านงาน ฮอทไลน์” ฉบบั นข้ี ึ้นมา เพ่อื ใชเ้ ปน็ แนวทางในการพัฒนาหน่วยฮอทไลน์ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ให้เป็นทีมที่ ปฏิบัตงิ านดว้ ยความปลอดภัย โดยมอี งค์ประกอบและการปฏิบัตงิ านตามมาตรฐานด้านต่าง ๆ ได้แก่ มาตรฐาน ดา้ นบคุ ลากร, เคร่ืองมอื , อุปกรณ์ป้องกันและคุม้ ครองความปลอดภัย, ยานพาหนะ และขั้นตอนการปฏิบัติงาน ดว้ ยความปลอดภยั รวมทงั้ มีการตรวจสอบและการประเมนิ ผล ได้อย่างครบถว้ นตามมาตรฐานความปลอดภัย อย่างไรก็ตาม ในการที่จะพัฒนาหน่วยฮอทไลน์ทุกหน่วยให้เป็นทีมปฏิบัติงานด้วยความ ปลอดภัย ได้ตามวัตถุประสงค์น้ัน ต้องอาศัยความร่วมมือและความคิดเห็นท่ีเป็นประโยชน์จากหน่วยงานทุก ภาคส่วนของการไฟฟา้ ส่วนภูมิภาค ดงั นัน้ คณะอนกุ รรมการฯ จึงพรอ้ มรบั ฟังความคดิ เหน็ จากทกุ ภาคสว่ น เพอ่ื นามาเป็นแนวทางปรับปรุงคู่มือพัฒนาทีมปฏิบัติงานด้วยความปลอดภัยด้านงานฮอทไลน์ฉบับน้ี ให้สมบูรณ์ ยิ่งข้นึ ต่อไป คณะอนุกรรมการพฒั นาตน้ แบบ ทมี ปฏบิ ัติงานด้วยความปลอดภัยดา้ นงานฮอทไลน์ คณะอนกุ รรมการพฒั นาตน้ แบบทีมปฏบิ ตั งิ านด้วยความปลอดภยั (ด้านงานฮอทไลน)์

คูม่ ือพัฒนาทีมปฏบิ ัติงานด้วยความปลอดภัยดา้ นงานฮอทไลน์ สารบญั หนา้ บทท่ี 1 ความรู้เกีย่ วกบั การปฏบิ ัตงิ านฮอทไลน์ 1 1.1 เกี่ยวกบั งานฮอทไลน์ 4 1.2 ประเภทงานฮอทไลน์ 11 1.3 อตั รากาลงั ประจาหน่วยฮอทไลน์ 11 1.4 เครื่องแบบมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านฮอทไลน์ 14 บทท่ี 2 การปฏิบัติงานด้วยความปลอดภัย 14 2.1 พ้ืนฐานความปลอดภยั (Safety Basic) 16 2.2 ระยะหา่ งความปลอดภัยในการปฏิบตั งิ านฮอทไลน์ 19 2.3 กาทากจิ กรรม PSC (KYT) 20 2.4 กระบวนการปฏบิ ัติงานฮอทไลนด์ ว้ ยความปลอดภยั 21 2.5 หลักความปลอดภัยในการปฏบิ ัตงิ านฮอทไลน์ 2.6 การปฐมพยาบาล 30 38 บทท่ี 3 อุปกรณ์ เครื่องมอื และยานพาหนะสาหรบั การปฏบิ ัตงิ านฮอทไลน์ 38 3.1 อุปกรณ์ปอ้ งกันภยั ภัยสว่ นบคุ คล 58 3.2 เครอื่ งมือฮอทไลน์ 67 3.2.1 เครอ่ื งมือฮอทไลนฮ์ อทสติก 84 3.2.2 เคร่ืองมือฮอทไลนก์ ระเช้า 85 3.3 รายการมาตรฐานเครอื่ งมือฮอทไลน์ 85 3.4 ระยะห่างในการใช้เคร่อื งมือปฏิบัติงาน 86 3.5 ข้อปฏิบัตใิ นการใช้เคร่ืองมอื ฮอทไลน์ 87 3.6 การทาความสะอาดเครื่องมอื ฮอทไลน์ 88 3.7 การซอ่ มแซมเคร่อื งมือฮอทไลน์ 88 3.8 การยืม, การโอน, การต้งั งบประมาณจดั ซ้ือเคร่ืองมือ 89 3.9 การเบิก, การตงั้ งบประมาณจดั ซอื้ อุปกรณบารุงรักษา/ซอมแซมเคร่ืองมือ 91 3.10 การจาหนายเครือ่ งมือทชี่ ารดุ ออกจากบัญชี 3.11 ยานพาหนะทใ่ี ช้ในการปฏิบตั ิงานฮอทไลน์ 3.12 ความปลอดภยั เกย่ี วกับการใช้งานรถฮอทไลนก์ ระเชา้ คณะอนกุ รรมการพฒั นาตน้ แบบทมี ปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความปลอดภัย (ด้านงานฮอทไลน์)

คูม่ ือพัฒนาทีมปฏบิ ัติงานดว้ ยความปลอดภัยด้านงานฮอทไลน์ บทที่ 4 การปฏบิ ัตเิ ม่อื เกดิ อบุ ัติเหตุ 92 4.1 หลกั ปฏบิ ตั เิ ม่อื เกดิ อุบตั เิ หตุ 94 4.2 การลากรณีเจบ็ ปว่ ยจากการปฏบิ ัตงิ าน 95 บทท่ี 5 ทีมปฏบิ ตั ิงานดว้ ยความปลอดภัยด้านงานฮอทไลน์ 95 - ความเป็นมากิจกรรมพฒั นาต้นแบบทมี ปฏิบตั งิ านดว้ ยความปลอดภยั 96 - พิธีเปิดกจิ กรรมพัฒนาต้นแบบทมี ปฏิบัติงานด้วยความปลอดภยั 97 - นโยบายความปลอดภยั อาชวี อนามัยและสภาพแวดลอ้ มในการทางาน 108 5.1 เกณฑ์ประเมนิ ทีมปฏบิ ัตงิ านดว้ ยความปลอดภัยดา้ นงานฮอทไลน์ 5.2 ข้นั ตอนการพิจารณาเป็นทมี ปฏิบตั ิงานด้วยความปลอดภัยดา้ นงานฮอทไลน์ 110 113 ภาคผนวก 114 - การใชเ้ ครอ่ื งมือวดั คา่ ความเปน็ ฉนวน (Hot stick Tester) 117 - แบบทดสอบสมรรถภาพร่างกายประจาปี 119 - แบบฟอรม์ ขออนญุ าตปฏบิ ตั งิ าน (Work permit) 120 - แบบฟอร์มตรวจสอบและเก็บขอ้ มลู การปฏิบตั ิงาน 122 - แบบฟอร์มทดสอบคุณสมบัตทิ างไฟฟ้ารถฮอทไลนก์ ระเช้า 128 - แบบฟอร์มการตรวจสภาพรถยนต์และเครนไฮดรอลิกส์ 137 - หลักปฏิบัตเิ มื่อรถยนต์ กฟภ. เกดิ อบุ ตั เิ หตุ 141 - แนวทางการจาหนา่ ยทรพั ย์สนิ 2556 154 - ขดี ความสามารถการปฏบิ ัติงานฮอทไลน์ 165 - สเปครถฮอทไลน์ฮอทสตกิ 176 - สเปครถฮอทไลน์กระเชา้ 22-33 kV 187 - สเปครถฮอทไลน์กระเชา้ 115 kV 194 - แบบมาตรฐานป้ายแจง้ เตือนการปฏบิ ตั งิ าน - อนุมตั จิ ัดกจิ กรรมพฒั นาตน้ แบบทีมปฏบิ ตั งิ านด้วยความปลอดภัย - รายช่อื ผจู้ ัดทา คณะอนกุ รรมการพฒั นาตน้ แบบทีมปฏบิ ัตงิ านด้วยความปลอดภัย (ดา้ นงานฮอทไลน์)

ค่มู ือพัฒนาทีมปฏบิ ตั งิ านด้วยความปลอดภัยด้านงานฮอทไลน์ 1 บทท่ี 1 ความรเู้ ก่ยี วกับการปฏบิ ตั ิงานฮอทไลน์ 1.1 เกยี่ วกบั งานฮอทไลน์ หน่วยฮอทไลน์ ของ กฟภ.นับต้ังแต่วันที่มีอนุมัติให้จัดตั้งจนถึงวันน้ีนับเวลาได้ 45 ปีแล้ว หน่วยฮอท ไลน์ เป็นอะไรท่ีมีความต่อเนอ่ื งกันมาตลอด ท่ีจะตา่ งกับกล่มุ งานอ่ืนๆ ใน กฟภ. นับว่าเป็นโอกาสดีท่ีจะได้มีการ เขียนหนังสือคู่มือพัฒนาทีมปฏิบัติงานด้วยความปลอดภัยด้านฮอทไลน์ สาหรับใช้เป็นหนังสือท่ีต้องมีติดตัวอยู่ ตลอดระยะเวลา 45 ปีท่ีผ่านมานี้ เคยมีการรวบรวมส่ิงต่างๆ ที่เป็นความรู้และมีความสาคัญต่อการปฏิบัติงาน ฮอทไลน์ ออกมาเป็นรูปเล่มแต่ยังไม่ครอบคลุม ประสบการณ์บางอย่างไม่สามารถเรียนรู้ได้โดยการกระทา เหตุการณ์ที่เกิดข้ึนไม่มีเวลาให้แก้ตัวใหม่ อุบัติเหตุที่เกิดขึ้น แต่ละครั้งเป็นความสูญเสียมาก จงอ่านแล้วศึกษา ทา ความเข้าใจ ทบทวนกบั สง่ิ ที่ทา ตลอดเวลา ความภาคภูมิใจ ที่พนักงานช่าง (ฮอทไลน์) ได้ร่วมแรงรวมใจกัน เป็นพลงั นี้ จะยังยืนหยดั คูก่ ับ กฟภ. ตลอดไป ประวัตศิ าสตร์และจดุ กาเนดิ ฮอทไลน์ เรมิ่ ต้นเม่ือปี พ.ศ. 2515 กฟภ. ได้จัดซื้อเครื่องมือฮอทไลน์ชุดใหญ่จานวน 2 ชุด (รถยนต์ฮอทไลน์, รถ ทูลเทรลเลอร์) จากบริษัท AB.CHANCE ไว้ประจาส่วนกลาง โดยให้อยู่ในความควบคุมดูแลของกองบริการ ระบบจาหน่าย (กบจ. และต่อมาเปล่ียนเป็น กคน. ปัจจุบันคือ กบร.) ร่วมกับ ผปม. กวศ.(ปัจจุบันคือ ฝพบ. กฝช.) ได้มอบหน้าที่ให้ กบจ. เป็นผู้ดาเนินการปฏิบัติงานด้านฮอทไลน์ แต่ปรากฏว่า กบจ. ไม่สามารถหา บคุ คลากรมาปฏิบตั ิงานฮอทไลน์ได้ เครื่องมือฮอทไลน์ ท่ซี อื้ มาแล้ว จงึ ถูกเก็บไว้ประมาณ 1 ปีเศษ ตอ่ มาไดม้ ีอนมุ ัติ ผวก. ลว. 6 พ.ย. 2515 (นายทวี อศั วนนท์ ผวก.) ไดอ้ นุมตั ิในหลกั การให้ กฟภ. จัดสง่ พนักงานชา่ งไปฝึกอบรมดา้ น HOT LINE INSTALLATION AND MAINTENANCE โดยระบุให้ กบจ. และ กวศ. ร่วมกันพิจารณาจัดหาพนักงานไปอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรมช่างไฟฟ้า จานวน 2 รุ่น ๆ ละ 6 คน ระยะเวลา ฝึกอบรม 8 สปั ดาห์ ประกอบดว้ ยพนกั งาน Lineman 3 คน คนท1ี่ (หัวหน้า) วุฒิเทคนิค 5 ปี หรือช่างกล 3 ปี ซง่ึ มีประสบการณ์ กบั อกี 2 คน วฒุ ิ ช่างกล 3 ปี และ Ground man 3 คน และให้มีวิศวกรไปร่วมศึกษาอบรม ดว้ ย แตก่ ็ยงั ไม่สามารถส่งพนักงานไปฝึกอบรมได้ เนอ่ื งจากศูนย์ฝึกอบรมดังกล่าวยังไม่พร้อมเคร่ืองมือฮอทไลน์ ที่ กฟภ. ซอื้ ทางผู้ขายได้จัดส่งแล้ว ถูกทิ้งไว้ 1 ปีกว่าแล้วยังไม่สมารถนา มาใช้งานได้ ท่าน พ.ท.อรุณ แก้วสนธิ ซึ่งขณะดารงตาแหน่ง หัวหน้ากอง กวศ. มีดาริว่า เพื่อความรวดเร็วในการปฏิบัติงานด้านฮอทไลน์ ซึ่งเป็นงาน ใหม่ ของ กฟภ. และเล็งเห็นแล้วว่าจะทาให้การปฏิบัติงานซ่อมแซมบารุงรักษาระบบจาหน่าย กฟภ. มี ประสิทธิภาพมากขึ้น จึงเห็นควรให้จัดส่งพนักงานไปฝึกอบรมด้านฮอทไลน์ ที่การไฟฟ้านครหลวงแทน ซึ่งมี ศนู ย์ฝกึ อบรมฮอทไลน์โดยเฉพาะ การติดต่อครง้ั น้เี ปน็ การตดิ ตอ่ ด้วยวาจา จึงเป็นที่มาของ อนุมัติ ผวก. ลว. 28 ธ.ค. 2515 (นายทวี อัศวนนท์ ผวก.) ให้จัดส่งพนักงานไปฝึกอบรมด้านฮอทไลน์ ที่การไฟฟ้านครหลวง และ อนุมัติให้ตั้งหน่วยฮอทไลน์ กฟภ. ขึ้นอย่างเป็นทางการ โดยให้อยู่ในสังกัดแผนกปลอดภัยและมาตรฐานการ ก่อสร้าง กองวิศวกรรม นับต้ังนั้นเป็นต้นมา (ขณะน้ันนายบุญเลิศ ขอเจริญพร เป็นหัวหน้าแผนก) และก็ได้ทา การพัฒนางานด้านฮอทไลน์ ใหเ้ จริญรุดหน้าเป็นหนว่ ยงานท่สี าคัญของ กฟภ. ตลอดมา คณะอนุกรรมการพฒั นาตน้ แบบทีมปฏบิ ัติงานดว้ ยความปลอดภัย (ดา้ นงานฮอทไลน)์

คมู่ อื พัฒนาทีมปฏิบัติงานด้วยความปลอดภัยดา้ นงานฮอทไลน์ 2 การปฏบิ ตั งิ านฮอทไลน์ หมายถึง การปฏิบตั งิ านกับสายไฟหรืออปุ กรณไ์ ฟฟ้าท่มี ีแรงดันสงู กวา่ 5,000 โวลท์ โดยไม่ดบั ไฟฟ้า ซึ่งจะใช้ เคร่ืองมอื หรืออปุ กรณต์ า่ งๆ เขา้ ช่วย พนกั งานชา่ งฮอทไลน์ หมายถงึ พนักงานชา่ งทไี่ ด้ผ่านการฝึกอบรมการปฏิบัตงิ านกับระบบจา หนา่ ย 22-115 เควี. โดยใช้ไม้ ฉนวน (HOT STICK) หรอื รถกระเชา้ 22-33 เคว.ี ร่วมกบั ถงุ มือยาง (RUBBER GLOVES) หรอื รถกระเชา้ 22- 115 เคว.ี ร่วมกบั CONDUCTIVE SUIT (BARE HAND) การนบั รุน่ พนักงานช่าง (ฮอทไลน์) ทุกทา่ นมรี ุ่นและมหี มายเลขประจา ตวั พนกั งานฮอทไลน์ ทกุ คน การนับรนุ่ จะ นบั รุ่นเรยี งตอ่ เน่อื งกันมา เรม่ิ ต้งั แตร่ นุ่ ทไี่ ปฝกึ อบรมจาก กฟน. เมอื่ ปี พ.ศ. 2516 จะนับเป็นรุ่นท่ี 1/16 แล้วนับ ต่อเน่ืองเรยี งลา ดบั ตามปที ีฝ่ กึ อบรม โดยยึดเอาคา สั่งบรรจุและแตง่ ต้งั เปน็ พนักงานชา่ ง (ฮอทไลน)์ เปน็ หลัก เชน่ รนุ่ 11/23 ,12/23 ,13/24 เป็นต้น ข้อปฏบิ ตั ิกอ่ นทางานฮอทไลน์ 1. ต้องพจิ ารณาอตั รากาลงั ทีม่ ีอยใู่ หเ้ หมาะสมกับงานท่ีจะ ปฏบิ ตั งิ าน จงหลีกเลี่ยงทจ่ี ะปฏิบัตงิ าน ทง้ั ๆ ที่สภาพรา่ งกายที่ไม่สมบูรณ์เจ็บป่วย หรืออตั รากาลงั ทีไ่ ม่เพยี งพอกบั งานทีป่ ฏิบัติ คณะอนุกรรมการพัฒนาตน้ แบบทมี ปฏิบัติงานดว้ ยความปลอดภัย (ดา้ นงานฮอทไลน์)

คูม่ อื พัฒนาทีมปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความปลอดภัยด้านงานฮอทไลน์ 3 2. หา้ มปฏิบตั ิงานเกินขีดความสามารถตามท่ีกาหนด หรือความซบั ซอ้ นของระบบจาหน่าย 3. ตรวจสอบสภาพแวดลอ้ มตา่ งๆ เช่น เสา,สายไฟ,สายล่อฟา้ ,ลูกถ้วย,จุดต่อ,อปุ กรณ์ปอ้ งกันระยะหา่ ง และสภาพอากาศ 4. แจ้งศูนยค์ วบคุมการจา่ ยไฟเพ่ือ Manual วงจรท่ีปฏิบัติงาน ขอ้ พึงระวังขณะท่ีปฏิบัติงานฮอทไลน์ 1. จงปฏิบัตงิ านตามขั้นตอนที่ไดร้ ับการฝึกอบรมมา ต้องใชเ้ ครอ่ื งมือให้ครบ และห้ามปฏิบัติงานลดั ขั้นตอนโดยเด็ดขาด 2. จงระลกึ ถึงความปลอดภัยเปน็ หลัก เวลาไมม่ คี วามสาคัญเหนอื กวา่ ความปลอดภยั 3. ระมดั ระวังตนเองและผรู้ ่วมงานให้มรี ะยะห่างปลอดภัยจากสายไฟและอปุ กรณไ์ ฟฟา้ ทมี่ กี ระแสไฟ ไหลอยู่ 4. หา้ มสมั ผสั กับสายไฟหรืออุปกรณ์ไฟฟ้า บนเสากอ่ นที่จะไดต้ รวจสอบจนแน่ใจแล้ววา่ ไมม่ กี ระแสไฟ 5. จงเลือกทา่ ยืนที่มน่ั คงและสามารถทา งานได้สะดวก จะตอ้ งไม่ใหห้ ัวเข่าหรอื สว่ นของร่างกายสมั ผัส แตะเสา 6. จงผูกขาปีนเสาใหแ้ น่นกบั รองเท้าคอมแบท ตรวจสอบเข็มขดั นิรภยั และสายกนั ตกกอ่ นข้ึน ปฏิบัตงิ านทุกคร้ัง 7. ห้ามยืนอย่ใู ตส้ ายไฟทก่ี าลงั เคลื่อนยา้ ยออกโดยเด็ดขาด ขั้นตอนปฏิบตั ิเมอ่ื ปฏิบัตงิ านโดยการดบั กระแสไฟฟา้ 1. ปลดอุปกรณ์หรอื สวิตชต์ ัดตอนออกใหห้ มดทุกสาย ท้งั ดา้ นตน้ ทางและปลายทางของจดุ ทีป่ ฏบิ ตั งิ าน 2. แขวนปา้ น \"อนั ตราย หา้ มสับสวิตช์เด็ดขาดช่างไฟฟา้ กา ลงั ปฏบิ ตั งิ าน \" ท่อี ุปกรณน์ ้ันๆพรอ้ มทงั้ ลอ็ คกุญแจบริเวณและอุปกรณท์ ีส่ ามารถลอ็ คไดเ้ สมอ 3. ตรวจสอบใหแ้ น่วา่ ใจวา่ ไดด้ บั ไฟ และไมม่ แี รงดันไฟฟา้ แลว้ โดยใชเ้ ครอ่ื งมือ Voltage Detector 4. ให้ตอ่ ลงดินแล้วลดั วงจรสายไฟเข้าด้วยกนั ทกุ สาย 5. ถา้ สายไฟฟา้ อื่นทอี่ ยใู่ กลเ้ คยี งมีแรงดันไฟฟา้ อยู่ ให้ใช้ปลอกหรือแผน่ ฉนวนกน้ั กันแตะต้องกบั สายไฟ ทีม่ แี รงดันไฟฟา้ ( ผวก. ลว. 20 พ.ย. 2539 ที่ จฟ 1361/2539 ) หลักปฏิบตั เิ พือ่ ความปลอดภยั เม่ือทางานเกี่ยวกบั สายไฟฟา้ เสร็จแลว้ 1. ใหพ้ นักงานชา่ งปลดปลอกหรือฉนวนก้นั กันแตะต้องออก ปลดสายต่อลงดนิ หรอื สายซึ่งลดั วงจรไว้ ออกให้หมด 2. ให้พนักงานชา่ งรายงานให้หัวหน้างานทราบ 3. หวั หนา้ หน่วยงานหรอื เจา้ หนา้ ท่รี ับผิดชอบ ปลดป้ายแจ้งอันตรายแลว้ สบั สวิตช์ คณะอนกุ รรมการพัฒนาตน้ แบบทมี ปฏิบตั งิ านด้วยความปลอดภัย (ด้านงานฮอทไลน)์

คมู่ ือพัฒนาทีมปฏบิ ตั งิ านด้วยความปลอดภัยดา้ นงานฮอทไลน์ 4 1.2 ประเภทงานฮอทไลน์ งานฮอทไลน์ หมายถงึ การปฏบิ ตั ิงานกบั สายไฟหรืออุปกรณไ์ ฟฟ้าทม่ี แี รงดนั สงู กวา่ 5,000 โวลต์ แบบไม่ดับกระแสไฟฟา้ โดยใช้เครื่องมือหรอื อปุ กรณต์ ่างๆ ชว่ ยในการทางาน และเครอ่ื งมือเหล่าน้ี เรยี กวา่ เคร่ืองมอื ฮอทไลน์ สาหรับผทู้ จ่ี ะปฏิบัติงานฮอทไลน์ได้นนั้ จะต้องผา่ นการฝกึ อบรมหลกั สูตรการ ปฏิบตั งิ านฮอทไลนแ์ ต่ละวิธจี นมีความรู้ ความชานาญเปน็ อย่างดี และสิง่ สาคญั ตอ้ งเป็นผู้ท่มี คี วามรบั ผดิ ชอบ ระเบยี บวินัย และสุขภาพร่างกายแขง็ แรง การปฏบิ ัตงิ านฮอทไลน์ แบง่ ออกเป็น 3 วิธี ได้แก่ 1.2.1 วิธีฮอทสติก (Hot stick Technique) คอื การปฏิบัติงานบนเสาไฟฟา้ โดยใช้เครื่องมือไม้ ฉนวน (Hot stick) กับระบบจาหนา่ ย และสายสง่ ทม่ี ีแรงดันไฟฟา้ ต้งั แต่ 22-115 kV โดยแบ่งตามระดับ แรงดนั ไฟฟา้ และมาตรฐานโครงสรา้ งดังนี้ (1) ฮอทสตกิ 22- 33 kV (ขดี ความสามารถในการปฏิบัตงิ านฮอทไลน์ 22- 33 kV โดยวธิ ี Hotstick ตามอนมุ ัติ ผวก. ลว. 8 ต.ค. 2550 ขอ้ 1.1) การปฏบิ ตั ิงานบารงุ รกั ษาระบบจาหนา่ ยโดยวธิ ี Hot stick ที่สามารถดาเนนิ การได้ มีลกั ษณะงาน ดังต่อไปน้ี 1. งานเชือ่ มสายแรงสงู (1) เช่อื มสายหมอ้ แปลง 1 เฟส และ 3 เฟส (2) เชอ่ื มสายทางแยก 1 เฟส และ 3 เฟส (3) เช่อื มสายเขา้ อปุ กรณ์แรงสูงตา่ งๆ เชน่ ลอ่ ฟา้ แรงสูง คาปาซิเตอร์ 2. งานเปลี่ยนอุปกรณแ์ รงสูงชารดุ (1) เปลย่ี นลูกถ้วยแรงสูงชารดุ (2) เปล่ยี น Dropout fuse cutout ชารดุ (3) เปลย่ี นลอ่ ฟา้ แรงสงู ชารดุ (4) เปลี่ยนคอนสาย Over Head เปน็ เหลก็ ฉาก 3. งานปกั เสาแรงสงู (1) เปลี่ยนเสาทช่ี ารดุ (2) ปักเสาแซมไลน์ 4. งานพาดสาย Over Head Ground Wire (OHGW) ต้นทางแยก Buck Arm 5. งานเปล่ยี น ติดตัง้ รอ้ื ถอน คอนสายรับสายไฟฟา้ เป็น คอนกรตี อดั แรง หรือ คอนสายเหล็ก ทางตรง และทางโค้ง 6. งานเปลยี่ น ตดิ ต้ัง รอ้ื ถอน หมอ้ แปลง คานน่งั ร้านหมอ้ แปลง (ร่วมกบั ชดุ ก่อสร้าง) 7. งานตดิ ตงั้ ร้อื ถอน Conductor Cover และ Insulator Cover ทงั้ น้ี งาน 7 ขอ้ ขา้ งตน้ ปฏบิ ัตงิ านฮอทไลนใ์ นระบบจาหน่ายได้ไม่เกิน 2 ฟดี เดอร์ (สายเปลือย) คณะอนุกรรมการพฒั นาตน้ แบบทีมปฏิบัติงานด้วยความปลอดภยั (ดา้ นงานฮอทไลน)์

ค่มู ือพัฒนาทีมปฏิบัติงานดว้ ยความปลอดภัยด้านงานฮอทไลน์ 5 รูปที่ 1.1 การปฏิบตั งิ านฮอทไลน์ 22- 33 kV โดยวธิ ี Hot stick (2) ฮอทสตกิ 115 kV (ขีดความสามารถในการปฏิบตั งิ านฮอทไลน์ระบบสายส่ง 115 kV เสา คอนกรีต ตามอนุมัติ ผวก. ลว. 8 ต.ค. 2550 ข้อ 1.2) การปฏบิ ตั งิ านบารุงรกั ษาระบบจาหนา่ ยโดยวธิ ี Hot stick 115 kV เปน็ การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการ ปฏบิ ัตงิ านของหนว่ ยฮอทไลน์ Hot stick 22-33 kV รวมกนั 2 หนว่ ยมอี ตั รากาลงั 14 คน ใหส้ ามารถซ่อมแซม บารุงรกั ษา ระบบสายส่ง 115 kV เสาคอนกรตี ได้ ซึ่งมีการปฏบิ ตั งิ านในบางจงั หวดั ทส่ี ามารถดาเนินการได้ มี ลักษณะงานดังตอ่ ไปนี้ 1.งานเปลย่ี นลกู ถว้ ยแขวน โครงสรา้ งทางตรง วงจรเดีย่ ว สายไฟฟา้ เดีย่ ว และสายไฟฟ้าคู่ 2.งานเปลี่ยนลกู ถ้วยแขวน โครงสรา้ งทางโค้ง วงจรเด่ยี ว สายไฟฟา้ เด่ยี ว และสายไฟฟา้ คู่ 3.งานเปลยี่ นคอนสายแบบเหล็ก โครงสรา้ งทางตรง วงจรเดย่ี ว สายไฟฟา้ เด่ยี ว และสายไฟฟา้ คู่ 4.งานเปลีย่ นคอนสายแบบเหลก็ โครงสรา้ งทางตรง วงจรคู่ สายไฟฟา้ เดย่ี ว และสายไฟฟ้าคู่ 5.งานเปลีย่ นคอนสายแบบเหล็ก โครงสรา้ งทางโคง้ วงจรเดี่ยว สายไฟฟ้าเดีย่ ว และสายไฟฟา้ คู่ 6.การปฏบิ ตั งิ านรว่ มกับหนว่ ยฮอทไลนก์ ระเชา้ 115 kV (Bare hand) และหน่วยก่อสร้างระบบสายสง่ 115 kV (1) งานปักเสาคอนกรตี ขนาด 22 เมตร (2) งานยา้ ยเสาคอนกรตี ขนาด 22 เมตร (3) งานเปลย่ี นเสาชารดุ ขนาด 22 เมตร (4) งานเปลีย่ นเหล็กรองรับสาย Over Head Ground Wire (OHGW) ทั้งนี้ หน่วยฮอทไลน์ Hot stick 22-115 kV สามารถปฏบิ ัติงานฮอทไลน์ 22-33 kV โดยวธิ ี Hot stick ได้ดว้ ย คณะอนกุ รรมการพฒั นาตน้ แบบทมี ปฏบิ ัตงิ านด้วยความปลอดภัย (ด้านงานฮอทไลน)์

คู่มอื พัฒนาทมี ปฏบิ ัติงานดว้ ยความปลอดภัยด้านงานฮอทไลน์ 6 รปู ท่ี 1.2 การปฏิบตั งิ านฮอทไลนร์ ะบบสายส่ง 115 kV เสาคอนกรีต โดยวิธี Hot stick (3) ฮอทสตกิ 115 kV (ขดี ความสามารถในการปฏิบัติงานฮอทไลน์ระบบสายส่ง 115 kV เสาโครงสร้าง เหล็ก ตามอนมุ ตั ิ ผวก. ลว. 8 ต.ค. 2550 ข้อ 1.3) การปฏิบัติงานบารุงรักษาระบบจาหน่าย 115 kV โดยวิธี Hot stick เป็นการเพ่ิมประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติงานของหน่วยฮอทไลน์ Hot stick 22-33 kV รวมกัน 2 หน่วยมีอัตรากาลังจานวน 14 คน ให้สามารถ ซ่อมแซมบารุงรักษาระบบสายส่ง 115 kV บนเสาโครงสร้างเหล็ก (Steel Tower) ซึ่งมีการปฏิบัติงานในบาง จงั หวัด ทส่ี ามารถดาเนินการได้ มีลกั ษณะงานดังตอ่ ไปน้ี 1.งานเปลี่ยนลูกถว้ ยแขวน ชนดิ แถวเดย่ี ว 2.งานเปลี่ยนลูกถว้ ยแขวน ชนิดแถวคู่ 3.งานเปลยี่ นลกู ถว้ ยรบั แรงดึง ชนดิ แถวเด่ยี ว 4.งานเปลีย่ นลูกถว้ ยรับแรงดึง ชนดิ แถวคู่ ท้งั น้ี หน่วยฮอทไลน์ Hot stick 22-115 kV สามารถปฏิบตั ิงานฮอทไลน์ 22-33 kV โดยวิธี Hot stick ไดด้ ว้ ย คณะอนกุ รรมการพฒั นาตน้ แบบทีมปฏิบตั ิงานดว้ ยความปลอดภยั (ดา้ นงานฮอทไลน)์

คมู่ ือพัฒนาทมี ปฏิบัติงานดว้ ยความปลอดภัยด้านงานฮอทไลน์ 7 รูปที่ 1.3 การปฏบิ ตั ิงานฮอทไลนร์ ะบบสายสง่ 115 kV เสาโครงสรา้ งเหลก็ โดยวธิ ี Hot stick 1.2.2 วิธีปฏบิ ัติงานกบั รถกระเชา้ โดยใชถ้ งุ มือยางแรงสูง (Rubber Gloves Technique) คือ การ ปฏิบัตงิ านโดยใช้รถยนตก์ ระเช้าโดยผู้ปฏบิ ตั ิงานอยใู่ นกระเช้าและสวมใสก่ ับถงุ มอื ยางแรงสงู ปฏิบัติงานกับ ระบบจาหนา่ ย 22- 33 kV เท่านั้น (ขีดความสามารถในการปฏบิ ตั ิงานกับรถกระเช้าโดยใชถ้ งุ มือยางแรงสงู (Rubber Gloves Technique) ตามอนุมตั ิ ผวก. ลว. 8 ต.ค. 2550 ข้อ 1.4) การปฏบิ ตั งิ านบารงุ รักษาระบบจาหน่าย 22-33 kV โดยวธิ ี Rubber Gloves เปน็ การเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ัตงิ าน ให้กบั ผทู้ ผี่ า่ นการฝกึ อบรม หลกั สตู ร “การปฏบิ ตั ิงานฮอทไลน์ 22-33 kV โดย วิธี Hot stick” มาแลว้ โดยใช้รถกระเช้าฉีดน้า 22-33 kV ปฏิบัตงิ าน ท่สี ามารถดาเนนิ การได้มลี กั ษณะดงั นี้ 1. งานฉีดนา้ ลา้ งลูกถ้วยและอุปกรณ์ไฟฟ้าแรงสงู ระบบ 22-115 kV 2. งานแก้ไขแคลม้ ปร์ อ้ น แคลม้ ปช์ ารุด เปลีย่ นแคล้มปเ์ ป็นหลอดตอ่ สายและขันแคล้มป์ ตา่ งๆ 3. งานซอ่ มแซมสายชารดุ ใน Span ที่ชารุดไม่เกนิ 25 % ของพน้ื ทหี่ น้าตัดสาย 4. งานเปลยี่ น และ ตดิ ตงั้ ลกู ถว้ ยก้านตรง และ ลูกถ้วยแขวน 5. งานดึงสายไฟฟา้ ทห่ี ยอ่ นให้ตึงขนึ้ 6. งานเปลย่ี น ติดตั้ง รือ้ ถอน Dropout fuse cutout และ Disconnecting Switch 7. งานปรับแต่ง ซ่อมแซม Disconnecting Switch และเปล่ยี นชดุ ดับอาร์ค 8. งานปลดและเช่อื มสายไฟฟา้ 9. งานเปลย่ี น ติดต้ัง Spacer และพนั เทปเคเบ้ิลแรงสูง 10.งานเปลย่ี น ติดตง้ั ร้ือถอน อุปกรณไ์ ฟฟา้ อนื่ ๆ เชน่ ลอ่ ฟา้ คาปาซิเตอร์ ฯลฯ คณะอนกุ รรมการพฒั นาตน้ แบบทีมปฏิบตั ิงานดว้ ยความปลอดภยั (ดา้ นงานฮอทไลน)์

ค่มู ือพัฒนาทมี ปฏิบตั ิงานดว้ ยความปลอดภัยดา้ นงานฮอทไลน์ 8 รูปที่ 1.4 การปฏบิ ัตงิ านฮอทไลน์กับระบบจาหนา่ ย 22-33 kV โดยวธิ ี Rubber Gloves 1.2.3 วิธปี ฏบิ ตั ิงานกับรถกระเช้าโดยใช้มอื เปล่า (Bare hand Technique) คือ การปฏิบตั ิงานโดย ใช้รถยนตก์ ระเชา้ ซึ่งผปู้ ฏิบัตงิ านอย่ใู นกระเชา้ และสวมชุดตวั นา (Conductive Suit) เพอ่ื ใหผ้ ปู้ ฏบิ ัติงานมี ศักดาไฟฟา้ เทา่ กบั สายไฟหรอื อปุ กรณไ์ ฟฟา้ โดยใช้หลกั การกรงสนามไฟฟา้ (Faraday’s Cage) ซงึ่ วธิ ีการนจี้ ะ สามารถปฏิบัตงิ านได้กับระบบไฟฟา้ ที่มแี รงดนั สูงถงึ 765 kV ท้ังนีร้ ะยะหา่ งของสายไฟแต่ละเสน้ และ ระยะหา่ งของสายไฟกับกราวด์ ตอ้ งมรี ะยะหา่ งเพยี งพอตามมาตรฐานกาหนด (ขดี ความสามารถในการ ปฏิบตั ิงานกบั รถกระเชา้ โดยใช้มือเปลา่ (Bare hand Technique) ตามอนมุ ัติ ผวก.ลว. 8 ต.ค.2550 ขอ้ 1.5) สามารถปฏิบัตงิ านได้เชน่ เดยี วกับหนว่ ยฮอทไลนก์ ระเชา้ 22- 33 kV และปฏิบัติงานในระบบสายสง่ 115 kV โดยสวมชดุ Conductive Suit ขณะปฏิบตั งิ าน ทส่ี ามารถดาเนินการได้ มลี กั ษณะงานดงั ตอ่ ไปนี้ 1.งานปลดสายและเช่อื มสายแรงสงู ระยะทางไมเ่ กิน 2 กโิ ลเมตร 2.งานเปลี่ยนลกู ถว้ ยรบั แรงดึงชนดิ แถวเดยี่ ว 3.งานแก้ไขแคล้มป์ร้อน แคลม้ ปช์ ารดุ เปลีย่ นแคล้มปเ์ ป็นหลอดตอ่ สายและขันแคล้มปต์ ่างๆ 4.งานซ่อมแซมสายชารดุ ใน Span ทีช่ ารดุ ไม่เกิน 25 % ของพืน้ ท่ีหน้าตัดสาย 5.งานปรับปรงุ และซอ่ มแซมระบบสายส่งอื่นๆ 6.การปฏบิ ัตงิ านรว่ มกับหน่วยฮอทไลน์ Hotstick 115 kV และหนว่ ยกอ่ สรา้ งระบบสายสง่ 115 kV (1) งานปกั เสาคอนกรตี ขนาด 22 เมตร (2) งานย้ายเสาคอนกรตี ขนาด 22 เมตร (3) งานเปลย่ี นเสาชารดุ ขนาด 22 เมตร (4) งานเปลีย่ นเหลก็ รองรับสาย Over Head Ground Wire (OHGW) คณะอนกุ รรมการพัฒนาตน้ แบบทีมปฏิบัติงานด้วยความปลอดภยั (ดา้ นงานฮอทไลน์)

ค่มู ือพัฒนาทีมปฏิบัตงิ านด้วยความปลอดภัยดา้ นงานฮอทไลน์ 9 รปู ที่ 1.5 การปฏิบัตงิ านฮอทไลน์กับระบบสายสง่ 115 kV โดยวธิ ี Bare hand การฝึกอบรมการปฏบิ ัติงานฮอทไลน์ ฝึกอบรม Hot Stick 22 – 33 kV >2ปี ฝึกอบรม Hot Stick ฝกึ อบรม Rubber 115 kV เสาคอนกรตี Gloves 22 – 33 kV >2ปี >2ปี ฝกึ อบรม Bare Hand ฝกึ อบรม Hot Stick 115 kV 115 kV เสาโครง สร้างเหลก็ คณะอนุกรรมการพัฒนาตน้ แบบทีมปฏบิ ัติงานดว้ ยความปลอดภยั (ด้านงานฮอทไลน์)

คมู่ ือพัฒนาทีมปฏิบัตงิ านด้วยความปลอดภัยด้านงานฮอทไลน์ 10 มาตรฐานการฝกึ อบรมหลักสตู รตา่ งๆ 1. จดั ฝึกอบรมหลกั สตู ร เจา้ หน้าทคี่ วามปลอดภยั (จป.) ระดบั หัวหน้างาน สาหรบั การปฏบิ ตั งิ านฮอทไลน์ 2. จัดฝกึ อบรมหลักสตู ร เสรมิ ทักษะและทบทวนการปฏบิ ตั งิ านหัวหน้าชุดฮอทไลน์ 3. จัดฝกึ อบรมหลกั สตู ร เสรมิ ทกั ษะและทบทวนการปฏบิ ัติงานผู้ชว่ ยหวั หน้าชุดฮอทไลน์ 4. จัดฝกึ อบรมหลกั สตู ร เสรมิ ทักษะและทบทวนการบารุงรกั ษาระบบสายสง่ ดว้ ยวธิ ีฮอทไลน์ 5. จดั ฝึกอบรมหลักสตู ร เสรมิ ทักษะและทบทวนการปฏบิ ตั งิ านพนักงานชา่ ง (ฮอทไลน์) ใหม่ 6. จัดฝึกอบรมหลกั สตู ร เสริมทกั ษะการปฏบิ ัตงิ านฮอทไลน์กับอุปกรณไ์ ฟฟา้ แรงสูงชนดิ ใหมข่ อง PEA 7. จดั ฝกึ อบรมหลักสตู ร การซอ่ มแซมและบารุงรกั ษาเคร่อื งมอื ฮอทไลน์ ระดบั Basic / Advanced ตน้ แบบมาตรฐานพนักงานช่าง (ฮอทไลน์) ต้องผา่ นการฝึกอบรมตามลาดบั ดังน้ี พนักงานชา่ ง (ฮอทไลน)์ ระดบั 2 • หลกั สูตรเสรมิ ทักษะและทบทวนการปฏิบตั ิงานพนกั งานชา่ ง อายุงาน ≤2 ปี (ฮอทไลน)์ ใหม่ พนักงานช่าง (ฮอทไลน)์ ระดับ 3 -7 • หลักสตู รเสริมทักษะการปฏิบตั ิงานฮอทไลนก์ ับอุปกรณ์ อายงุ าน ≥2 ปี ไฟฟ้าแรงสงู ชนิดใหม่ของ PEA • หลกั สูตรเสริมทักษะและทบทวนการบารุงรกั ษาระบบสายส่ง ดว้ ยวธิ ีฮอทไลน์ สาหรับหน่วยฮอทไลนก์ ระเชา้ 115 kV (Bare hand) • ฝกึ อบรมการซอ่ มแซมและบารงุ รกั ษาเคร่ืองมือฮอทไลน์ ระดบั Basic / Advanced พนักงานชา่ ง (ฮอทไลน)์ ทาหน้าที่ • หลกั สตู รเสริมทักษะและทบทวนการปฏิบตั งิ านผชู้ ่วยหัวหนา้ ผชู้ ่วยหวั หน้าชุด ชุดฮอทไลน์ พนักงานชา่ ง (ฮอทไลน)์ ทาหน้าที่ • หลกั สตู รเจา้ หนา้ ที่ความปลอดภัย (จป.) ระดบั หัวหนา้ งาน หวั หน้าชุด สาหรับการปฏิบัติงานฮอทไลน์ • หลักสตู รเสรมิ ทกั ษะและทบทวนการปฏิบตั ิงานหวั หนา้ ชุด ฮอทไลน์ คณะอนกุ รรมการพัฒนาตน้ แบบทีมปฏบิ ัติงานด้วยความปลอดภัย (ด้านงานฮอทไลน)์

คมู่ ือพัฒนาทมี ปฏิบัตงิ านดว้ ยความปลอดภัยดา้ นงานฮอทไลน์ 11 1.3 อัตรากาลังประจาหน่วยฮอทไลน์ ตามอนมุ ตั ิ ผวก. ลงวนั ท่ี 8 ตุลาคม 2550 (ขอ้ พิจารณาขอ้ เสนอแนะ ขอ้ 3) กาหนดอัตรากาลงั ประจาหนว่ ยฮอทไลน์ เพือ่ ให้สอดคลอ้ งกับขดี ความสามารถของหนว่ ยฮอทไลนแ์ ต่ละประเภท ดงั น้ี ท่ี ประเภทหนว่ ยฮอทไลน์ อตั รากาลงั (คน) ประกอบด้วย 1 หน่วยฮอทไลน์ Hot stick 22-33 kV 7 หัวหน้าชุด 1 คน ผู้ชว่ ยหัวหนา้ 2 หน่วยฮอทไลน์ Hot stick 22-115 kV 7 ชดุ และผูป้ ฏบิ ตั งิ าน 6 คน 3 หน่วยฮอทไลนก์ ระเชา้ ฉดี นา้ 22-33 kV 6 (Rubber Gloves) หัวหนา้ ชุด 1 คน ผชู้ ว่ ยหัวหนา้ 4 หน่วยฮอทไลน์กระเช้า 115 kV (Bare hand) 6 ชุด และผู้ปฏิบตั งิ าน 5 คน 1.4 เครือ่ งแบบมาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานฮอทไลน์ 1. ต้องสวมใสช่ ุด ปฏิบตั งิ าน ตามท่ี กฟภ.กาหนด 2. รองเท้าทใ่ี ชต้ อ้ งเปน็ รองเท้าชนดิ ห้มุ ข้อ พืน้ เป็นยางอัดทงั้ แผน่ ไมม่ ีสว่ นท่ีเป็นโลหะหรอื ตอก ตะปยู ึด 3. จงสวมใส่หมวกนิรภยั อยตู่ ลอดเวลาที่ ปฏบิ ัตงิ าน 4. จงสวมถุงมอื หนังปนี เสา และใส่แว่นกันแสงแดดทีส่ ามารถปอ้ งกนั รงั สี ยูวี คณะอนกุ รรมการพัฒนาตน้ แบบทีมปฏบิ ัตงิ านดว้ ยความปลอดภยั (ด้านงานฮอทไลน์)

คู่มอื พัฒนาทีมปฏิบตั ิงานด้วยความปลอดภัยด้านงานฮอทไลน์ 12 เครอื่ งแบบสาหรับพนกั งานชา่ ง (ฮอทไลน์)ทปี่ ฏบิ ัตงิ านกบั ระบบไฟฟา้ ของ กฟภ.  เส้อื และเคร่อื งหมาย  กางเกง คณะอนกุ รรมการพฒั นาตน้ แบบทีมปฏบิ ัติงานด้วยความปลอดภัย (ดา้ นงานฮอทไลน)์

คู่มอื พัฒนาทีมปฏิบัติงานดว้ ยความปลอดภัยด้านงานฮอทไลน์ 13 ลกั ษณะการแต่งกายและขอ้ ปฏบิ ัติของพนักงานช่างต้นแบบฮอทไลน์  ทรงผม  ไมไ่ วห้ นวดเครา ไมใ่ ส่ ทรงสุภาพ ไมท่ าสีผม ต่างหู ไมไ่ ว้เล็บยาว ไม่ ทาสเี ลบ็  เสอ้ื HOTLINE  ตดิ อารม์ HOTLINE ติดกระดมุ ครบทุกเมด็  เสอื้ ด้านใน  ตดิ ปา้ ยช่อื – นามสกุล สขี าว ไมป่ ล่อยชายเสอ้ื หลุด สังกัดและตราการไฟฟา้  กางเกง  แขนเส้ือตดิ กระดมุ สีเดียวกบั เสอ้ื HOTLINE  ตดิ กระดุมกระเปา๋  รองเทา้ กางเกง safety shoes สีดา  ผูกเชือกรองเทา้ ให้ เรยี บรอ้ ย ชุดปฏิบัติงานฮอทไลน์ ชุดปฏิบตั ิงานฮอทไลน์สวมใส่อุปกรณค์ มุ้ ครองความปลอดภัยสว่ นบคุ คล (PPE) ในขณะปฏบิ ัติงาน หมวกนิรภยั ใชเ้ ป็นคุณภาพ B สามารถทน แวน่ ตากนั แดดปกป้องดวงตา แรงดันไฟฟา้ กระแสสลบั ได้ 20,000 โวลต์ ในทแ่ี สงแดดจา้ ความถี่ 50 Hz เป็นเวลานาน 3 นาที Sunglasses Safety Cap, Yellow Color เขม็ ขัดนิรภยั และสายกันตก Pair of Iron Worker’s Glovers Tool Belt & Safety Strap ถุงมือหนังปีนเสา ปอ้ งกนั อนั ตรายแก่มอื สายกนั ตกไมข่ ึ้นแถบสีแดง (Red Safety Center Plies) เปน็ รองเทา้ หุ้มขอ้ ปอ้ งกนั ของตกใส่ Safety Shoes คณะอนุกรรมการพฒั นาตน้ แบบทีมปฏิบตั งิ านดว้ ยความปลอดภยั (ดา้ นงานฮอทไลน)์

คู่มือพัฒนาทีมปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความปลอดภัยดา้ นงานฮอทไลน์ 14 บทท่ี 2 การปฏบิ ัตงิ านด้วยความปลอดภยั 2.1 พืน้ ฐานความปลอดภยั (Safety Basic) พนื้ ฐานความปลอดภยั (SAFETY BASICS) หมายถงึ ต้องรแู้ ละนาความรู้ดา้ นความปลอดภยั มาใช้ใหเ้ ป็นประโยชนซ์ งึ่ มีองคป์ ระกอบ 5 ขอ้ ดงั น้ี 1. รูอ้ นั ตราย : จะตอ้ งวิเคราะห์ใหไ้ ดว้ า่ อนั ตรายจะเกดิ จากจุดใด หรอื ข้นั ตอนไหน (IDENTIFY: the hazards) 2. กาจัด : รวู้ ธิ ีกาจัดอนั ตรายน้ัน และกาจดั อันตรายของงานทม่ี ีอยู่ใหห้ มดไป (ELIMINATE: the hazards wherever) 3. ควบคมุ : เมือ่ ไมส่ ามารถกาจดั อันตรายให้หมดไปได้ จะตอ้ งควบคุม ไมใ่ ห้เกดิ อันตรายให้ได้ “เน้น ควบคมุ ระยะหา่ งปลอดภยั ” (CONTROL: the hazards when they cannot be eliminated) 4. ปอ้ งกัน: ถ้าไม่สามารถกาจัดหรือ ควบคุมไม่ใหเ้ กดิ อนั ตรายได้ “ต้องครอบอปุ กรณป์ อ้ งกนั ” (PROTECT: against injuries in case a hazards gets out of control) 5. เสยี หายนอ้ ยทีส่ ดุ : หากจะมอี นั ตรายเกดิ ขนึ้ ควรเกิดความเสียหายต่องานและผปู้ ฏิบตั ิงานนอ้ ย ทีส่ ุด (MINIMIZE: the severity of an injury if an accident occurs) 2.2 ระยะหา่ งความปลอดภยั ในการปฏิบัตงิ านฮอทไลน์ ระยะห่างนอ้ ยทสี่ ุดในการปฏบิ ัติงานโดยใชเ้ คร่อื งมือ Hot stick (ตามตารางที่แสดง) กาหนดโดย OSHA (Occupational Safety and Health Administration) ซงึ่ เป็นหน่วยงานเกีย่ วกบั มาตรฐานความ ปลอดภัยและชีวอนามัยของสหรัฐอเมริกา มีจดุ ประสงคเ์ พื่อความปลอดภัยของผูป้ ฏิบตั งิ านในกรณปี ฏิบัตงิ าน ใกลก้ บั สว่ นทมี่ แี รงดนั ไฟฟา้ ระดับตา่ ง ๆ โดยใชเ้ ครือ่ งมือ Hot stick และอนญุ าตใหม้ รี ะยะหา่ งนอ้ ยท่สี ดุ ไม่ตา่ กวา่ คา่ ในตาราง ตารางแสดงค่าระยะหา่ งนอ้ ยทีส่ ุดในการใช้ Hot stick แรงดัน (เฟส – เฟส) ระยะหา่ งน้อยที่สดุ ในการใชเ้ คร่อื งมอื Hot stick kV เมตร ฟตุ 2.1- 15 0.6 2' 15.1 - 35 0.7 2' 4\" 35.1 - 46 0.8 2' 6\" 46.1 - 72.5 0.9 3' 76.6 - 121 1.0 3' 4\" 138 - 145 1.1 3' 6\" 161 - 169 1.2 3' 8\" คณะอนุกรรมการพัฒนาตน้ แบบทมี ปฏบิ ตั ิงานดว้ ยความปลอดภัย (ด้านงานฮอทไลน์)

คมู่ ือพัฒนาทมี ปฏิบตั งิ านด้วยความปลอดภัยดา้ นงานฮอทไลน์ 15 230 - 242 1.5 5' 345 - 362 * 2.1 7' 500 - 552 * 3.4 11' 700 - 765 * 4.6 15' *สาหรบั แรงดัน 345 kV, 500 kV และ 700 kV ผปู้ ฏบิ ตั งิ านจะตอ้ งอยหู่ า่ งจากสายไฟไมน่ ้อย กว่าระยะนอ้ ยทีส่ ดุ ในการใช้ Hot stick อาจจะให้ลดลงได้อีกเลก็ น้อย แตจ่ ะตอ้ งไมต่ า่ กวา่ ระยะระหวา่ งสว่ นทีม่ ี ไฟและพ้นื ผวิ ท่ีต่อลงดิน ระยะห่างที่ปลอดภัยในการปฏบิ ตั ิ LIMITS OF APPROACH คือระยะห่างปลอดภยั ระหว่างผู้ปฏิบัติงานกบั สายไฟหรืออุปกรณ์ไฟฟา้ ทีม่ กี ระแสไฟฟา้ ไหลอยู่ ระยะห่างปลอดภัยนีถ้ อื เปน็ ปัจจัยสาคญั ที่ต้องนา มาพิจารณาก่อนการปฏิบัติงานหากตรวจสอบแลว้ พบว่า ระยะห่างปลอดภัยมคี ่านอ้ ยกวา่ ทก่ี าหนด ใหด้ าเนนิ การแกไ้ ขก่อนโดยการครอบอุปกรณ์ป้องกนั พนักงานช่าง ทุกคนจะต้องไมเ่ ข้าใกลห้ รอื ปฏิบตั ิงานใกลส้ ายไฟ หรอื อุปกรณไ์ ฟฟ้า ทีย่ งั มีกระแสไฟฟา้ อยแู่ ละยังไม่ไดป้ ิดกนั ไว้ ตามมาตรฐานทก่ี าหนดไว้ ดังตอ่ ไปนี้ การเขา้ ปฏิบัตงิ านของรถยนต์กบั ระดบั แรงดนั (Mobile Working Equipment) O.H.S.A.* : ระยะห่างสาหรบั รถเครน รถขดุ รถเจาะ และรถตัดก่งิ ไม้ Non-insulated Boom: รถที่ไม่ผา่ นการรบั รอง(ไม่เป็นฉนวน) บนั ได และรถกระเช้าที่เปน็ โลหะ Certified insulated : รถเครนกระเชา้ ท่ีผา่ นการรับรอง(เครนกระเชา้ ท่ี กฟภ. จัดซือ้ มาใช้งาน) คณะอนุกรรมการพัฒนาตน้ แบบทีมปฏบิ ัตงิ านดว้ ยความปลอดภัย (ดา้ นงานฮอทไลน)์

คมู่ อื พัฒนาทีมปฏิบตั งิ านดว้ ยความปลอดภัยด้านงานฮอทไลน์ 16 ข้อแนะนาการใช้ตารางการเขา้ ปฏิบตั งิ าน (Personnel Zones) สเี ขยี ว : สาหรบั ประชาชนทว่ั ไปทีไ่ ม่มีความรู้ดา้ นไฟฟ้า สีเหลอื ง : สาหรับผูป้ ฏบิ ตั ิงานทผ่ี า่ นการอบรมมคี วามร้เู กี่ยวกบั ไฟฟา้ สีแดง : สาหรับผู้ปฏิบัติงานที่ผ่านการฝึกอบรมให้ปฏิบัติงานทางด้านไฟฟ้าโดยเฉพาะ จึงต้องกาหนด วงจากัดพ้ืนท่ีอันตราย ห้ามเข้าใกล้มากกว่าน้ี (Restricted Area) โดยไม่มีฉนวนครอบป้องกัน หากผู้ปฏิบัติงาน ตอ้ งการเข้าปฏิบัตงิ านจาเป็นสวมใสอ่ ุปกรณ์ปอ้ งกนั สว่ นบคุ คล เช่น ถุงมอื ยาง (Rubber Gloves) 2.3 กาทากจิ กรรม PSC (KYT) ดาเนินกิจกรรม KYT ตรวจสอบสภาพหน้างาน ค้นหาจุดเส่ียงหรือจุดอันตราย KYT ย่อมา จาก Kiken Yochi Training เป็นกิจกรรมการหยั่งรู้ระวังอันตรายหรือที่เรียกว่า กิจกรรมมือช้ีปากย้า เป็น กิจกรรมทีป่ ฏบิ ตั ิร่วมกันเป็นกลุ่มเพ่ือตรวจสอบหาจดุ เสี่ยงหรือจดุ อันตรายต่างๆ ท่ีอาจก่อใหเ้ กดิ อบุ ตั ิเหตุในการ ปฏิบัติงาน รวมท้ังเป็นการเน้นย้าด้านความปลอดภัยในการทางานเพื่อเตือนอันตรายและอุบัติเหตุท่ีเกิดข้ึน บอ่ ยๆ หรอื จดุ เสย่ี งจากสภาพแวดลอ้ มการทางาน กิจกรรม KYT เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติงานร่วมกันวิเคราะห์หรือคาดการณ์ว่าจะมี อันตรายใดๆ ซึ่งอาจเกิดข้ึนในงานที่กาลังจะปฏิบัติ เช่น เสาไฟมีสภาพเก่า เอียง มีรอยแตกร้าวหรือไม่ จุดต่อ สายของระบบจาหน่ายแรงตา่ พวี ีซ.ี เทป มีสภาพชารุดหรือไม่ มีสัตว์และแมลงมีพิษหรือไม่ เป็นต้น แล้วหาทาง ป้องกันอย่างรวดเร็วและถูกต้อง มีการเตือนสติก่อนการปฏิบัติงานว่าทุกอย่างพร้อมสาหรับเริ่มปฏิบัติงานแล้ว โดยการช้ีน้ิวและพูดย้าถึงมาตรการป้องกันโดยพูดเป็นสโลแกนตามด้วยคาว่า “โอเค” จากนั้นตามด้วยคาว่า “อุบัติเหตุเป็นศูนย์ โอเค” พร้อมท้ังทาท่าทางโดยชี้นิ้วย่ืนออกไปข้างหน้าในขณะพูดสโลแกน เม่ือพูดคาว่า “โอ” ใหย้ กมือขึน้ มาแตะหู เมอื่ พูดคาวา่ “เค” ให้สะบดั มอื กลับไปยังตาแหนง่ เดิม โดยท่ยี นื ล้อมกันเป็นวงกลม ขั้นตอนท่ี 1 สารวจ - ดูการแตง่ กาย ความพร้อมสภาพรา่ งกาย และการตรวจสอบอุปกรณ์ เคร่อื งมอื - สารวจดูการแตง่ กาย แนะนาใหแ้ ต่งกายให้เรียบร้อย รัดกมุ - สารวจความพรอ้ มของรา่ งกายว่าอยใู่ นสภาพทพี่ ร้อมจะทางานหรอื ไม่ - สารวจความพรอ้ มทง้ั ปริมาณและคุณภาพของอปุ กรณ์ เครอ่ื งมือเคร่อื งใชใ้ นการทางานวา่ มี ความพร้อมหรือไม่ - สารวจความพรอ้ มทั้งปริมาณและคณุ ภาพของอุปกรณ์ค้มุ ครองความปลอดภัยสว่ นบุคคลว่า มี ความพรอ้ มหรอื ไม่ พรอ้ มกบั สวมใส่ให้ถกู ตอ้ งครบถ้วนกอ่ นลงมอื ปฏิบตั ิงาน คณะอนุกรรมการพัฒนาตน้ แบบทมี ปฏิบตั งิ านดว้ ยความปลอดภยั (ดา้ นงานฮอทไลน)์

คมู่ ือพัฒนาทมี ปฏบิ ัติงานด้วยความปลอดภัยดา้ นงานฮอทไลน์ 17 ขน้ั ตอนที่ 2 สงั่ งาน การมอบหมายงาน การอธิบายงานทจี่ ะปฏบิ ตั ิในวนั นัน้ เชน่ จะเปล่ยี นลกู ถว้ ยเฟส A ตรวจวัดคา่ กราวด์ตรวจสอบจดุ รอ้ น ฯ และมอบหมายงานทจี่ ะทาให้กับผู้ปฏิบัติงานแต่ละคนอย่างชดั เจน ขั้นตอนที่ 3 สงั เกต - ทุกคนชว่ ยกนั คน้ การหาจุดอันตรายทอี่ าจเกดิ ข้นึ - หวั หน้าทีมสอบถามเพมิ่ เตมิ ถงึ สาเหตุของจดุ อันตรายท่อี าจเกดิ ขึ้น - รว่ มแบ่งปนั ประสบการณ์ คณะอนุกรรมการพัฒนาตน้ แบบทมี ปฏิบัติงานด้วยความปลอดภัย (ดา้ นงานฮอทไลน)์

คูม่ ือพัฒนาทมี ปฏิบัตงิ านดว้ ยความปลอดภัยด้านงานฮอทไลน์ 18 ขั้นตอนท่ี 4 สรา้ งเสรมิ จุดอนั ตรายที่อาจเกดิ ข้นึ ให้ช่วยกนั หาวธิ ปี ้องกันทีส่ ามารถทาไดใ้ นขณะน้ัน ข้นั ตอนท่ี 5 สรุปยา้ หัวหนา้ ชดุ สรปุ เนน้ ยา้ จดุ อนั ตรายและวธิ ีปอ้ งกนั แล้วอนญุ าตให้ทุกคนลงมอื ปฏบิ ัติงาน คณะอนุกรรมการพัฒนาตน้ แบบทีมปฏบิ ตั ิงานดว้ ยความปลอดภยั (ด้านงานฮอทไลน)์

คมู่ อื พัฒนาทมี ปฏบิ ตั ิงานด้วยความปลอดภัยดา้ นงานฮอทไลน์ 19 2.4 กระบวนการปฏิบตั งิ านฮอทไลนด์ ว้ ยความปลอดภัย ดังท่ีทราบแล้วว่าการปฏิบัตงิ านฮอทไลนน์ ั้น เปน็ การปฏบิ ัตงิ านบารุงรักษาระบบจาหน่ายและ สายสง่ ในขณะท่ีระบบจาหน่ายและสายส่งนน้ั ยังคงมีการจ่ายกระแสไฟฟ้าอยู่ ดังนนั้ ในการปฏิบัติงานจึงมีความ เสี่ยงและอันตรายท่ีอาจจะเกิดข้ึนจากหลายๆปัจจัย ข้ึนอยู่กับผู้ปฏิบัติงาน วิธีการ รูปแบบ สภาพหน้างาน รวมทั้งสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงาน ซ่ึงพนักงานช่าง (ฮอทไลน์) ทุกคนจะต้องพิจารณาและคานึงถึงความ ปลอดภัยเปน็ อนั ดบั แรก โดยมกี ระบวนการในการปฏบิ ัตงิ านเพอื่ ให้มคี วามปลอดภยั ดังน้ี 1) ดาเนนิ การตรวจสอบและเก็บข้อมูลความพร้อมเพื่อการปฏิบัติงานด้วยความปลอดภัยของ หนว่ ยฮอทไลน์ ในด้านต่างๆอย่างนอ้ ยปีละ 1 ครงั้ (ตามแบบฟอรม์ ตรวจสอบและเก็บขอ้ มูลการปฏิบตั ิงาน) 2) ปฏิบัติงานตามขั้นตอนในคู่มือการปฏิบัติงานฮอทไลน์ประเภทต่างๆ รวมท้ังดาเนินการ กิจกรรมหรือวธิ กี ารปฏบิ ัติงานด้วยความปลอดภยั เชน่ การตรวจสอบบุคลากร, อุปกรณ์เครื่องมือ, ยานพาหนะ, การตั้งป้ายเตอื นการปฏบิ ตั งิ านและการดาเนนิ การกิจกรรม PSC เป็นตน้ 3) การตรวจประเมินเพ่ือให้เป็นทีมปฏิบัติงานด้วยความปลอดภัยด้านงานฮอทไลน์ (ได้รับ อนุมัติให้เป็นทีมปฏิบัติงานด้วยความปลอดภัยและได้รับมอบเครื่องหมาย) ซ่ึงดาเนินการตรวจประเมินโดย คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งต้ัง และตรวจประเมินตามเกณฑ์ประเมินทีมปฏิบัติงานด้วยความปลอดภัยด้าน งานฮอทไลน์ รวมท้ังมกี ารตรวจประเมนิ ซา้ ตามขอ้ กาหนด 4) หากมีอบุ ตั เิ หตุเกดิ ขึ้นในการปฏบิ ัตงิ านต้องดาเนนิ การตรวจสอบ เพ่ือหาสาเหตุของการเกดิ อุบัตเิ หตุน้นั ๆ แลว้ หามาตรการ วิธีการป้องกนั เพือ่ ไม่ใหเ้ กิดอุบัติเหตุข้นึ อกี 5) หลังการปฏิบัติงานในแต่ละงานต้องมีการสรุปผลว่าในการปฏิบัติงานนั้นๆ มีปัญหา อุปสรรค ข้อบกพร่อง หรือมีจุดเส่ียงท่ีจุดใดหรือขั้นตอนไหน หรือไม่ ถ้ามีต้องหามาตรการหรือวิธีการปรับปรุง แก้ไข เพอ่ื ป้องกันอนั ตรายทอี่ าจจะเกิดข้ึนในการปฏิบตั ิงาน แผนผังกระบวนการปฏบิ ัตงิ านฮอทไลนด์ ว้ ยความปลอดภัย คณะอนุกรรมการพฒั นาตน้ แบบทมี ปฏบิ ัตงิ านด้วยความปลอดภยั (ดา้ นงานฮอทไลน)์

คมู่ ือพัฒนาทมี ปฏบิ ัตงิ านดว้ ยความปลอดภัยด้านงานฮอทไลน์ 20 2.5 หลกั ความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงานฮอทไลน์ วิธีปฏบิ ตั ิงานบนเสาไฟฟา้ โดยใช้เคร่อื งมือไมฉ้ นวนกบั ระบบจาหนา่ ย 22- 33 kV ซง่ึ มีหลักปฏบิ ตั งิ านดังนี้ 1) เคล่อื นย้ายสายไฟหรืออปุ กรณ์ต่าง ๆ ท่มี ีกระแสไฟฟ้าไหลออกห่างจากผู้ปฏิบัติงานให้มีระยะท่ี ปลอดภัยเพียงพอ และแม้ว่าจะเคล่ือนย้ายสายไฟออกไปแล้วหากพิจารณาแล้วเห็นว่าส่วนหน่ึงส่วนใดของ รา่ งกายอาจเข้าไปใกลส้ ่วนท่มี ีไฟฟา้ ได้ ให้ครอบฉนวนปอ้ งกนั คลุมให้มิดชดิ 2) ในกรณที ่ีไมส่ ามารถเคล่ือนย้ายสายไฟหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ท่ีมีกระแสไฟฟ้าไหลออกไปได้ ให้ใช้ ฉนวนปอ้ งกนั ครอบอปุ กรณน์ ัน้ ๆ ให้มีจานวนมากพอและคลุมใหม้ ดิ ชดิ ...ใหผ้ ู้ปฏบิ ัติงานหลีกเลีย่ งสมั ผัสกับฉนวนครอบสายไฟโดยตรง... 2.5.1 ข้อปฏิบตั ิกอ่ นปฏิบตั ิงานฮอทไลน์ 1) ต้องพิจารณาอัตรากาลังท่ีมีอยู่ให้เหมาะสมกับปริมาณงานที่จะปฏิบัติ ห้ามปฏิบัติงานเกิน ขีดความสามารถ เช่น อัตรากาลังไมเ่ พยี งพอ เครอื่ งมอื ไม่เพียงพอ ความยุง่ ยากซบั ซ้อนของระบบจาหนา่ ย ฯลฯ 2) ศกึ ษาทาความเขา้ ใจเก่ียวกับงานทจี่ ะปฏิบตั ขิ องตนเองและผู้ร่วมงานอย่างละเอยี ดถถ่ี ้วน 3) ตรวจดูสภาพโครงสร้างระบบจาหน่ายว่ามีความแข็งแรงเพียงพอหรือมีข้อบกพร่องอื่น ๆ หรอื ไม่ 4) ตรวจดูสภาพแวดลอ้ มตา่ ง ๆ เชน่ 1) เสาไฟ สายไฟ อุปกรณ์ต่าง ๆ บริเวณเสาไฟต้นท่ีอยู่ใกล้เคียงว่ามีสภาพชารุดหรือพบ ขอ้ บกพรอ่ งอ่ืน ๆ หรือไม่ 2) ถ้าบริเวณจุดท่ีปฏิบัติงานมีหลอดต่อสายไฟ หรือ PG Clampให้ตรวจสอบก่อนว่าสายไฟ บรเิ วณดังกลา่ วนน้ั ชารุดเสยี หายหรอื ไม่ 3) ใหต้ รวจสอบสิง่ ปลกู สรา้ ง ป้าย อาคาร ต้นไม้ ที่อยบู่ ริเวณใกล้เคียงว่าเม่ือย้ายสายไฟออกไป แล้วมีระยะหา่ งปลอดภัยเพียงพอหรือไม่ 4) พิจารณาสภาพดนิ ฟา้ อากาศก่อนขึ้นปฏิบัติงานบนเสา (ห้ามปฏิบัติงานฮอทไลน์ในขณะที่ฝน ตกโดยเดด็ ขาด) 5) เมื่อพจิ ารณาทุกอย่างแลว้ เหน็ วา่ สามารถทจ่ี ะปฏิบตั งิ านฮอทไลนไ์ ด้ ใหต้ ิดต่อประสานงานกับ ศนู ยค์ วบคมุ การจา่ ยไฟเพื่อปรับต้ังอุปกรณ์ป้องกันระบบจาหน่าย เช่น Breaker หรือ Recloser ไปยังตาแหน่ง Manual กอ่ นทจ่ี ะปฏิบัติงานทุกครั้ง 2.5.2 ข้อพึงระวังขณะปฏบิ ตั ิงานฮอทไลน์ 1) ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ป้องกันให้ครบถ้วนตามข้ันตอนและวิธีการปฏิบัติที่ได้รับการฝึกอบรม อยา่ งเครง่ ครดั 2) หา้ มหยอกล้อหรอื เลน่ กนั ขณะปฏบิ ตั ิงาน 3) ขณะปฏบิ ตั ิงานให้ระลกึ ถึงความปลอดภัยเสมอ คณะอนุกรรมการพัฒนาตน้ แบบทีมปฏบิ ัตงิ านด้วยความปลอดภยั (ด้านงานฮอทไลน)์

ค่มู อื พัฒนาทีมปฏิบัติงานดว้ ยความปลอดภัยด้านงานฮอทไลน์ 21 4) ระมดั ระวงั ตนเองและเพ่ือนร่วมงานไมใ่ ห้เข้าใกลส้ ว่ นท่ีมีกระแสไฟฟา้ รวมท้ังคานึงถึงระยะห่าง ทป่ี ลอดภยั จากสายไฟหรืออปุ กรณ์อนื่ ๆ ทม่ี กี ระแสไฟฟา้ ไหลอยู่ 5) ผู้ปฏิบัติงานท่ีอยู่ด้านล่าง (Ground Man) ต้องดูแลความปลอดภัยเพ่ือนร่วมงานที่ปฏิบัติงาน ด้านบนเสมอและอาจกลา่ วตกั เตือนในกรณีท่เี หน็ วา่ การกระทานัน้ อาจเกดิ อันตรายได้ 6) การปฏิบัติงานบนเสาไฟฟา้ ต้องยืนใหม้ ั่นคง และสามารถปฏิบัติงานได้สะดวก ควรเปล่ียนเมื่อมี ความจาเป็นหรือยา้ ยปฏบิ ัติงานด้านตรงข้าม 7) ก่อนเคล่ือนย้ายสายไฟออกจากลูกถ้วยต้องมั่นใจว่าเครื่องมืออุปกรณ์ท่ีติดตั้งใช้งาน เช่น Saddle อยู่ในสภาพทีม่ ่นั คงแขง็ แรง 8) เม่ือปฏิบัติงานกับสายไฟท่ีมีขนาดเล็ก ให้ระวังระวังมากขึ้น เน่ืองจากสายไฟมีน้าหนักเบา ขณะเคล่ือนย้ายเข้าออกทาให้สายไฟช่วงกลาง Span แกว่งเป็นบริเวณกว้างมากกว่าสายไฟขนาดใหญ่ และ Wire Tong อาจจับสายไฟไมส่ นทิ ทาให้ปาก Wire Tong รดู ไปมาขณะเคลื่อนยา้ ยสายไฟได้ 9) หลังจากปฏิบัติงานเสร็จเรียบร้อยแล้ว ก่อนออกเดินทางทุกคร้ังให้ตรวจเช็คเครื่องมืออุปกรณ์ ทีใ่ ช้ปฏบิ ตั ิงานวา่ ครบถ้วนหรือไม่ 10) ตดิ ต่อประสานงานกับศูนยค์ วบคุมการจ่ายไฟ เพ่ือปรับต้ังอุปกรณ์ป้องกันระบบจาหน่าย เช่น Breaker หรือ Recloser ไปยงั ตาแหนง่ Auto ตามเดมิ 2.5.3 ขอ้ เตอื นใจขณะปฏบิ ัตงิ านฮอทไลน์ 1) ขณะข้นึ เสาปฏิบตั งิ านใหต้ รวจสอบระบบจาหน่ายแรงต่า โดยเฉพาะจุดต่อสายไฟ สภาพสายไฟ คอนเนคเตอรเ์ ขา้ ปลายสายไฟ หรือบริเวณทปี่ ฏบิ ตั ิงานว่ามกี ารพันเทปพนั สายไฟปิดมิดชิดหรือไม่ และถ้ามีควร หลีกเล่ียงการสัมผสั โดยตรงบริเวณจุดนั้น 2) ห้ามยนื ใต้ไลน์ระบบจาหน่ายขณะท่กี าลงั เคลื่อนย้ายสายไฟ 3) เม่อื จอดรถปฏบิ ตั ิงานควรตัง้ แผ่นป้ายเตอื นอนั ตรายตา่ ง ๆ หรอื กรวยยาง ให้ผู้ใช้รถใชถ้ นนที่ขับ ขย่ี านพาหนะต่าง ๆ สญั จรไปมามองเหน็ ได้ชดั เจน ***** อุบัติเหตเุ กิดข้นึ ได้ทกุ ครั้งทีป่ ระมาท ***** 2.6 การปฐมพยาบาล 2.6.1 ปรมิ าณกระแสไฟฟา้ ทีม่ ผี ลต่อรา่ งกาย ก่อนอนื่ ควรทาความเข้าใจเกย่ี วกับปัจจัยความรนุ แรงของปริมาณกระแสไฟฟา้ ท่ีมีผลต่อรา่ งกายมนุษย์ มอี งค์ประกอบท่ีสาคัญดงั น้ี 1) ปริมาณกระแสไฟฟา้ ทมี่ ผี ลต่อรา่ งกาย หากกระแสไฟฟา้ ทไ่ี หลผ่านรา่ งกายมปี ริมาณมากโอกาสทจ่ี ะ เสยี ชีวติ ย่อมมีมากดว้ ย ถา้ ร่างกายสมั ผสั กบั กระแสไฟฟ้าเป็นเวลานานนาน เนื้อเย่อื ของร่างกายจะถูกทาลาย มากข้ึน เพราะกระแสไฟฟา้ ขนาด 100 มิลลแิ อมป์ (0.1 แอมป)์ อาจทาใหเ้ สยี ชวี ิตได้หากไหลผ่านส่วนที่สาคญั ของรา่ งกาย คณะอนุกรรมการพัฒนาตน้ แบบทมี ปฏิบัติงานด้วยความปลอดภยั (ดา้ นงานฮอทไลน์)

คมู่ อื พัฒนาทีมปฏิบตั ิงานด้วยความปลอดภัยด้านงานฮอทไลน์ 22 ปริมาณกระแสไฟฟา้ ทม่ี ผี ลต่อร่างกาย อาการ (มิลลแิ อมแปร์) ต่ากวา่ 0.5 ยังไมม่ ีผลหรอื ไม่รสู้ กึ 0.5 - 2 รู้สึกจ๊กั จ้หี รือกระตุกเลก็ นอ้ ย 2-8 กระทบกระเทือนต่อระบบประสาท กลา้ มเนื้อหดตวั เกดิ อาการ กระตุกปานกลาง หรือรนุ แรงไมถ่ ึงข้นั อันตราย 8 - 20 กระทบกระเทอื นต่อระบบประสาท เจ็บปวด กล้ามเนือ้ เกร็งหด ตวั อยา่ งรุนแรง บางคนไมส่ ามารถปลอ่ ยมอื หลดุ ออกได้ กระทบกระเทอื นต่อระบบประสาท กลา้ มเนื้อหดตวั อยา่ งรุนแรง ทา 20 - 50 ให้ปอดทางานผดิ ปกติ ไมส่ ามารถปลอ่ ยมอื ออกได้ มีผลทาใหเ้ กิดการ เปลี่ยนแปลงในสมอง มโี อกาสเสียชีวิตในเวลา 2 - 3 นาที กระทบกระเทือนต่อระบบประสาท หัวใจเต้นผิดปกติ หวั ใจเต้นอ่อน 50 - 100 หรือเตน้ ถ่ีรวั มผี ลทาให้เกิดการเปลย่ี นแปลงในสมอง ไมส่ ามารถ ปล่อยมือหลุดออกได้ มีโอกาสเสียชวี ติ ในเวลา 2 - 3 นาที สูงกวา่ 100 หวั ใจหยดุ เตน้ ผิวหนังไหม้ หรอื เนอื้ เย่อื ไหมอ้ ยา่ งรุนแรง กลา้ มเนอ้ื ไม่ทางาน 2) ระยะเวลาท่กี ระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นร่างกาย ถา้ กระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นส่วนสาคัญของร่างกาย เช่น หวั ใจ สมอง มนษุ ย์มีโอกาสท่จี ะเสียชวี ติ ไดง้ ่ายกว่าสว่ นอืน่ ๆ นอกจากนี้แล้วความแข็งแรงของรา่ งกาย และ เพศกม็ ีส่วนประกอบด้วย โดยปกตแิ ลว้ เพศหญงิ จะเสียชวี ติ ได้ง่ายกว่าเพศชาย 3) แรงดนั ไฟฟ้า และความต้านทานของร่างกาย (โดยปกตแิ ล้วผิวหนังแหง้ ของร่างกายมนษุ ย์มีคา่ ความ ตา้ นทานประมาณ 100,000 โอหม์ ) เมอื่ ถกู กระแสไฟฟ้าแรงสงู ดดู กลา้ มเน้อื จะหดตัวและกระตกุ อย่างรนุ แรงทา ให้ส่วนของรา่ งกายทสี่ ัมผสั กบั สายไฟ จะหลดุ ออกมาโดยอตั โนมตั ิ แตบ่ าดแผลท่เี กิดข้ึนจะรุนแรงและมลี กั ษณะ ไหม้เกรียม อาการของผู้ถกู กระแสไฟฟ้าแรงสงู ดูด 1) ชอ็ กและหมดสติ 2) มบี าดแผลไหมเ้ กรยี ม โดยเฉพาะสว่ นทีก่ ระแสไฟฟา้ ไหลเขา้ และออกจากรา่ งกายจะมีลกั ษณะ รุนแรง เนื่องจากการหดตวั ของกลา้ มเนอ้ื จะสง่ ผลทาให้ระบบหายใจหยดุ ชะงักหรอื ขัดขอ้ ง ซ่ึงในกรณีนจ้ี ะตอ้ ง รบี ช่วยเหลือผู้ป่วยโดยเร็ว หากทิง้ ไวเ้ กิน 4-6 นาทแี ลว้ ผปู้ ่วยจะเกดิ อาการสมองพกิ ารหรอื เสยี ชวี ติ ได้ 2.6.2 ข้นั ตอนการชว่ ยเหลือเมอ่ื เกดิ อบุ ัตเิ หตพุ นักงานถกู กระแสไฟฟา้ แรงสงู ดดู 1) ตรวจเช็คระบบจาหน่ายวงจรท่ปี ฏบิ ตั งิ านว่ามกี ระแสไฟฟา้ ไหลอยูห่ รอื ไม่ หากยังมีกระแสไฟฟา้ ต้อง แจง้ ใหผ้ เู้ กีย่ วข้องตดั วงจรนน้ั ออกทันที คณะอนกุ รรมการพัฒนาตน้ แบบทีมปฏบิ ัติงานดว้ ยความปลอดภัย (ดา้ นงานฮอทไลน)์

คมู่ ือพัฒนาทีมปฏิบัตงิ านดว้ ยความปลอดภัยดา้ นงานฮอทไลน์ 23 2) ใหผ้ ู้ชว่ ยเหลือรีบปนี ขนึ้ เสาไฟฟ้าเพื่อช่วยเหลอื ผบู้ าดเจบ็ และปฐมพยาบาลเบ้อื งต้น หากเห็นว่า ผู้บาดเจ็บหายใจได้ดว้ ยตวั เอง ใหน้ าลงจากเสาไฟฟ้าโดยใช้ Hand line และใหร้ ะมดั ระวังการเคล่อื นยา้ ย ผู้บาดเจ็บจากท่เี กดิ เหตุไปยงั ท่ปี ลอดภัยโดยเร็ว และเคลอ่ื นย้ายอย่างถกู ตอ้ ง ท้งั นี้ผปู้ ่วยอาจบาดเจบ็ ในอวยั วะ ส่วนอ่ืน ๆ รว่ มดว้ ย เม่ือถูกไฟฟา้ ดูดหมดสติรา่ งกายสว่ นใดสว่ นหน่ึงอาจได้รับการกระทบกระเทือน เชน่ ศีรษะ กระดูกคอ กระดกู สันหลงั กระดกู แขนขาหัก เป็นตน้ เพราะถ้าทาไม่ถกู ตอ้ งอาจเปน็ สาเหตใุ ห้เกดิ ความพกิ าร หรืออมั พาตตามมาได้ 3) หมนั่ ตรวจสอบผปู้ ว่ ยว่ามีการหยดุ หายใจหรอื ไม่ หากพบวา่ ผู้ป่วยหยดุ หายใจให้รบี เปา่ ปากทนั ที เมอ่ื เคล่ือนยา้ ยผ้ปู ่วยไปยงั ที่ปลอดภยั แล้วให้สงั เกตดวู ่ายงั มีการเต้นชพี จรหรอื ไม่ ถ้าไม่มีใหท้ าการนวดหวั ใจและ ผายปอด 4) เรียกรถพยาบาลฉุกเฉินนาผู้ปว่ ยส่งโรงพยาบาลที่ใกล้ท่สี ดุ และเรว็ ทส่ี ุด 2.6.3 การปฐมพยาบาลโดยวิธเี ป่าปาก ผู้ทไี่ ดร้ ับอุบตั ิเหตุ เชน่ ถกู กระแสไฟฟ้าดูด จมนา้ และหมดสติ เป็นต้น จะตอ้ งไดร้ ับการชว่ ยเหลอื ให้ หายใจไดโ้ ดยทันท่วงทีภายในเวลา 4-6 นาที ในกรณที ี่หัวใจหยุดเต้นเปน็ เวลามากกว่า 4-6 นาที สมองจะพิการ โดยสิ้นเชิง และถา้ หัวใจหยดุ เตน้ ใหท้ าการนวดหวั ใจดว้ ย การชว่ ยการหายใจจะไมม่ ีประโยชน์ถา้ หากวา่ หัวใจไม่ เตน้ เพราะวา่ ไม่มเี ลอื ดหมุนเวียนนาออกซเิ จนไปเลีย้ งสว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกายเซลสมองเป็นสว่ นที่มีความ ออ่ นไหวตอ่ การขาดออกซิเจนมากที่สดุ การชว่ ยหายใจโดยวธิ ีเป่าปากหรอื เปา่ ทางจมกู จะเป็นวธิ ชี ว่ ยการ หายใจที่ได้ผลมากท่ีสดุ เพราะเป็นการชว่ ยผู้ป่วยให้หายใจได้ตามธรรมชาติและทาให้อากาศเข้าปอดมากกว่าวิธี เดมิ ท่ีใช้ในสมยั ก่อน อาการและลักษณะของผปู้ ว่ ยเมือ่ หยุดหายใจ 1) ล้ิน ริมฝปี าก และโคนลิ้นจะมีสนี ้าเงินคล้า 2) หมดความร้สู ึก 3) ม่านตาขยายกวา้ ง วธิ ีการเป่าปากหรอื จมูกชว่ ยการหายใจ 1) ขจดั สงิ่ ภายนอกท่ีคัง่ คา้ งอยู่ในปากออกให้หมด เพื่อเคลียรช์ ่องลมให้ลมเข้าปอดไดส้ ะดวก 2) ยกหัวผู้ป่วยไปทางด้านหลงั ให้แหงนขน้ึ เตม็ ท่ี เพราะผปู้ ่วยท่หี มดความรู้สึก ล้ินอาจจะกระดกปดิ กัน้ ทางลมไวท้ าให้ลมเขา้ ปากไมส่ ะดวก การจับใหผ้ ู้ปว่ ยอยู่ในลกั ษณะนีจ้ ะช่วยใหล้ นิ้ ไมป่ ดิ กั้นทางลมและช่วยให้ ชอ่ งลมกว้างข้นึ หรอื จะยกขากรรไกรลา่ งขน้ึ ดว้ ยจะชว่ ยให้ช่องทางลมกว้างขึ้นอีก 3) ทาการเปา่ ปาก โดยผู้ชว่ ยสูดลมหายใจเขา้ ปอดเตม็ ท่ี แล้วเริม่ เป่าลมเขา้ ไปทางปากผปู้ ว่ ยโดยแนบ ปากให้สนทิ กับปากผู้ปว่ ยและอยา่ ลืมบบี จมูกดว้ ย มิฉะนน้ั ลมจะออกทางจมูกแทนท่ีจะเข้าปอด เมอ่ื เป่าแล้ว ถอนปากออกแล้วสดู ลมเข้าไปและเปา่ ใหม่ ทาเชน่ นีเ้ รอื่ ยไปโดยไมต่ ้องรบี ร้อนจะไดจ้ งั หวะประมาณ 12-15 ครงั้ ต่อนาที ซึ่งใกลเ้ คยี งกบั อัตราการหายใจปกติโดยไมจ่ าเป็นต้องจับเวลา ผทู้ ถ่ี กู กระแสไฟฟา้ ดดู โดยปกตจิ ะฟ้ืน คณะอนกุ รรมการพัฒนาตน้ แบบทมี ปฏบิ ตั ิงานด้วยความปลอดภยั (ด้านงานฮอทไลน์)

คมู่ อื พัฒนาทมี ปฏิบัติงานดว้ ยความปลอดภัยด้านงานฮอทไลน์ 24 ภายในเวลา 1-2 นาที น่ันคอื เปา่ ปากไมเ่ กนิ 30 ครง้ั ในกรณีท่ผี ูถ้ กู กระแสไฟฟา้ ดดู ตวั เกรง็ ขากรรไกรค้างซง่ึ มกั จะพบบ่อย ใหเ้ ป่าทางจมูกแทนปาก โดยยกขากรรไกรขึน้ ปดิ ปากให้สนทิ และแหงนหน้าขนึ้ สุด แลว้ ทาการ เป่าจมูกเหมือนจังหวะการเป่าปาก 2.6.4 ข้นั ตอนการเป่าปากชว่ ยหายใจ 1) รปู แสดงการวางผปู้ ่วยนอนราบกับพ้ืนปลดกระดมุ เสอ้ื ออกคลายเสื้อให้หลวมแล้วล้วงส่ิงของท่ีอยู่ใน ช่องปากออกให้หมด ดูว่าลืมตา หรือตาปรือหรอื ไม่ 2) เปิดทางลมหายใจให้โล่ง โดยการใช้มอื ช้อนคอผู้ป่วย และอกี มอื กดทห่ี น้าผากให้ศีรษะหงายขึน้ (ทางลมหายใจจะโลง่ เมอื่ โคนล้นิ ถูกดึงไปข้างหน้า) ลิน้ ลิน้ ปดิ ทางเดนิ หายใจ เปดิ ทางเดนิ หายใจ ภาวะไมร่ ูส้ ึกตัวจะทาให้ควบคมุ กดศรี ษะไปดา้ นหลงั และยกคางขน้ึ กล้ามเนอื้ ไม่ได้ ล้ินจะตกไปดา้ นหลัง จะชว่ ยยกลนิ้ จากดา้ นหลังหลอดคอ ปิดลาคอ ทาให้หายใจไมไ่ ด้ ทาใหท้ างเดินหายใจโล่ง คณะอนกุ รรมการพฒั นาตน้ แบบทมี ปฏบิ ัติงานด้วยความปลอดภยั (ดา้ นงานฮอทไลน์)

คู่มอื พัฒนาทีมปฏิบตั ิงานดว้ ยความปลอดภัยดา้ นงานฮอทไลน์ 25 3) ทาการเปา่ ปากโดยจบั ผ้ปู ว่ ยให้อยู่ในลักษณะตามรปู และบีบจมกู ขณะเป่าปาก ในกรณีทยี่ งั คงมสี ิ่ง กดี ขวางอยู่ในชอ่ งปากใหจ้ ับผู้ป่วยนอนตะแคงและตบหลงั ตรงสะบักอยา่ งแรงแล้วลว้ งชอ่ งปากอีกคร้งั หนง่ึ ในกรณที ขี่ ากรรไกรแขง็ อ้าปากลาบากให้ดนั ขากรรไกรขึ้นและปิดปากใหส้ นิทแลว้ เปา่ ลมเขา้ ทางจมูก แทน หัวใจหยดุ เต้น และการช่วยให้หัวใจเต้นได้ใหม่ ผทู้ ีถ่ กู ไฟฟา้ ดูด อาการทพ่ี บอกี อย่าง คือ หวั ใจหยดุ เต้น ผูท้ ีห่ วั ใจหยุดเต้นสังเกตไดด้ งั น้ี คือ 1) ลิน้ รมิ ฝปี าก และโคนล้ิน จะมสี นี า้ เงินคล้า 2) หมดความรสู้ ึก 3) จบั ชีพจรไม่ได้ 4)ไม่หายใจ ผู้ท่หี ัวใจหยุดเต้นสมองจะขาดออกซเิ จน และจะหมดสติภายใน 2-3 วินาที คนที่มีรา่ งกายแขง็ แรงถ้า หวั ใจหยุดเต้นไป 2-3 นาที แลว้ ไดร้ บั การชว่ ยเหลอื โดยการนวดหัวใจ จะฟนื้ ตวั ได้ดี และหายเป็นปกติไดร้ วดเรว็ หวั ใจท่หี ยดุ เตน้ เกนิ กวา่ 4-6 นาที จะทาให้ฟืน้ ตวั ยาก เพราะฉะน้ันช่วงการชว่ ยชวี ิตใหไ้ ดผ้ ลดีทส่ี ดุ ภายในเวลา 4-6 นาที เท่าน้ัน คณะอนุกรรมการพัฒนาตน้ แบบทมี ปฏิบตั งิ านด้วยความปลอดภัย (ด้านงานฮอทไลน์)

คมู่ ือพัฒนาทีมปฏิบัติงานดว้ ยความปลอดภัยด้านงานฮอทไลน์ 26 2.6.5 ขัน้ ตอนการนวดหัวใจ ขั้นตอนการนวดหวั ใจมดี งั น้ี 1) วางผ้ปู ว่ ยนอนราบกับพน้ื ทไ่ี ม่น่มุ เชน่ พื้นบา้ นหรอื พื้นดินกไ็ ด้ ถ้าถอดเสือ้ ไดง้ า่ ยให้ถอดเสื้อออก 2) คกุ เขา่ ลงข้างลาตวั ผปู้ ่วยให้ระดบั เอวของผ้ชู ่วยเหลืออยเู่ หนอื ผู้ปว่ ย เพือ่ จะไดท้ าการชว่ ยเหลอื ได้ สะดวก 3) วางสันมือขา้ งหน่งึ ลงบนกระดูกสนั อกให้อย่รู ะหว่างตรงก่งึ กลางหนา้ อก สาหรบั คนรปู ร่างใหญ่ หรือ คนสูง ควรวางสนั มอื ต่าลงมาจากจุดกงึ่ กลางกระดูกหน้าอกเล็กน้อย ใชส้ นั มืออีกขา้ งหน่ึงวางซ้อนทบั ในลักษณะ ประสานกัน ใชน้ ้าหนกั ตวั โนม้ ข้ึนมาบนตัวผปู้ ว่ ยกดใหก้ ระดกู หนา้ อกยุบลงไปสกั 3-4 เซนตเิ มตร ปลอ่ ยมอื แล้ว กดลงไปใหม่ โดยทาการกดแล้วปล่อย ๆ ให้ไดจ้ งั หวะประมาณ 50-60 ครง้ั ตอ่ นาที ซึ่งใกล้เคยี งกบั อัตราการเต้น ของหัวใจโดยปกตคิ อื ประมาณ 60 ครัง้ ตอ่ นาที สาหรับผใู้ หญ่ และ 80 ครง้ั ต่อนาทีสาหรบั เดก็ การนวดหวั ใจ ต้องทาควบคู่กับการเปา่ ปาก คอื เป่าปาก 1 ครั้งนวดหัวใจ 5 ครง้ั หรอื เป่าปาก 2 คร้ัง นวดหวั ใจ 15 คร้งั สาหรบั ผูใ้ หญ่ (ในกรณที มี่ ผี ชู้ ว่ ยเพยี งคนเดียว) สาหรับเด็กควรระมดั ระวงั ใหท้ าดว้ ยความนมิ่ นวล ไม่ควรใช้ แรงกระแทกเพราะอาจทาใหก้ ระดกู ซี่โครงหัก โดยปกติถา้ ชว่ ยทนั เวลาและกระทาอยา่ งถกู วิธผี ปู้ ่วยจะฟ้ืน ภายในเวลา 2 นาที หากยงั ไม่ฟน้ื ควรรบี นาสง่ แพทย์ และในระหวา่ งเดนิ ทางควรช่วยเหลือไปด้วยจนกว่าจะถงึ มอื แพทย์ หาตาแหน่งที่กระดูกซ่ีโครงสองข้าง มาพบกนั ดว้ ยน้ิวมือ ขอบกระดกู เลอ่ื นโคนฝ่ามือลงมาตาม ซโี่ ครง กระดกู หน้าอกจนถงึ น้วิ ท่ี วางไว้ กดโคนฝา่ มือ อย่ากดนิว้ ลงบน ลงไปเบา ๆ กระดกู ซโี่ ครง เพือ่ ปอ้ งกนั กระดกู หัก คณะอนกุ รรมการพัฒนาตน้ แบบทีมปฏิบตั ิงานดว้ ยความปลอดภัย (ด้านงานฮอทไลน์)

คูม่ อื พัฒนาทีมปฏบิ ัตงิ านดว้ ยความปลอดภัยด้านงานฮอทไลน์ 27 รูปแสดงข้นั ตอนการนวดหัวใจ รปู แสดงการใชส้ นั มอื วางบนกระดกู หนา้ อก และเอามอื อกี ขา้ งหนึง่ วางซ้อนทับลงไปตรงตาแหนง่ ท่กี ด คือ ก่ึงกลางของกระดูกหนา้ อกและกดให้ยุบลงไป 3 – 4 ซม. จงึ จะไดผ้ ลในการบีบเลือดออกจากหัวใจไปเล้ียง ร่างกาย หมายเหตุ (1) ในกรณีทผี่ ู้ชว่ ยเหลือมีคนเดยี วใหเ้ ป่าปาก 2 คร้งั สลับกับการนวดหัวใจ 15 คร้งั (2) ในกรณที ่ีทา 2 คน ให้คนหนึง่ เปา่ ลมเขา้ ทางปากหรอื จมกู 1 คร้งั แล้วอกี คนหน่งึ นวด หวั ใจ 5 ครั้ง สลับกนั ไป สรุป รา่ งกายของคนเราเมื่อถกู ไฟฟ้าดูดจะไมเ่ สยี ชีวิตในทันที แตท่ า่ นยังมีเวลาท่ีจะชว่ ยปฐมพยาบาล ให้ฟน้ื ได้ ถา้ ปฏิบัตติ ามขอ้ แนะนาขา้ งตน้ 2.6.6 อนั ตรายจากไฟฟา้ พลงั งานไฟฟา้ เป็นพลังงานที่สามารถก่อใหเ้ กดิ อนั ตรายแก่ชวี ิตและทรัพยส์ นิ ได้ 2 สาเหตุใหญ่ คอื ไฟ ฟ้าชอ๊ ต และไฟฟา้ ดดู มสี าเหตกุ ารเกิดทตี่ า่ งกันและอนั ตรายทไี่ ดร้ บั ก็แตกต่างกนั 2.6.6.1 ไฟฟา้ ชอ๊ ต (Short Circuit) เมื่อมีเหตุเกดิ เพลงิ ไหมเ้ รามักจะไดย้ ินข้อสนั นิฐานเบ้ืองตน้ วา่ มี เหตมุ าจากกระแสไฟฟา้ ลดั วงจรภาวะหรอื สาเหตกุ ารลดั วงจรคอื กระแสไฟฟา้ ไหลครบวงจรโดยไมผ่ ่าน เคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ (Load) การลดั วงจรของไฟฟา้ มมี ากมายหลายสาเหตุ สาเหตหุ ลกั เกิดจากการใชไ้ ฟฟา้ ที่ไม่ ถกู ต้อง การตดิ ต้งั อุปกรณ์ไฟฟ้าไมไ่ ด้มาตรฐานปรากฏการณท์ ่ีพบไดบ้ ่อย คือ (1) ฉนวนไฟฟา้ ชารุดและเสอ่ื มสภาพ อาจเนอ่ื งมาจากอายกุ ารใช้งานนาน สภาพแวดล้อมมีความ ร้อนสูงใชพ้ ลังงานไฟฟา้ เกินพิกดั ทาให้เกดิ ความรอ้ นภายในสายไฟหรอื อุปกรณ์ไฟฟา้ (2) มสี ิง่ ก่อสรา้ ง ตน้ ไม้ หรือสิ่งอื่น ๆ พาดทับ หรอื สมั ผสั สายไฟ เกดิ การขัดสจี นกระทัง่ ฉนวนชารดุ ลวดตวั นาภายในสายไฟสัมผสั กันจนเกิดการลกุ ไหม้ คณะอนุกรรมการพัฒนาตน้ แบบทมี ปฏิบัติงานด้วยความปลอดภยั (ดา้ นงานฮอทไลน)์

ค่มู ือพัฒนาทีมปฏบิ ัตงิ านด้วยความปลอดภัยดา้ นงานฮอทไลน์ 28 (3) สายไฟหลุด หรอื ขาดลงสมั ผัสกับพืน้ ทาให้มีกระแสไฟฟา้ กระจายอยใู่ นบรเิ วณน้ัน หากพื้นผิว บริเวณน้นั เปยี กชน้ื เป็นอนั ตรายอยา่ งยง่ิ ต่อ คน สตั ว์ ท่ีอยบู่ รเิ วณน้นั ลกั ษณะการลดั วงจร ไฟฟ้าลดั วงจรเกดิ ขึ้นได้ท้งั ในระบบไฟฟา้ แรงสูงและระบบไฟฟ้าแรงดนั ตา่ ลักษณะการเกดิ และความ เสียหายกจ็ ะมีความแตกตา่ งกนั คอื (1) กระแสไฟฟา้ ไหลระหว่างสายไฟ สาเหตสุ ่วนใหญ่เกดิ จาก ฉนวนของสายไฟชารดุ หรือ จากการ สมั ผสั กนั โดยบงั เอญิ ผลจากการลดั วงจรจะทาให้มีกระแสไฟฟ้าไหลเปน็ จานวนมาก ทาให้เกดิ ความร้อนสูงจน เกิดการลกุ ไหม้ระหวา่ งลดั วงจรจะก่อให้เกดิ ประกายไฟขนึ้ ดว้ ย (2) กระแสไฟฟ้าไหลลงดิน หรือเรียกว่ากระแสไฟฟ้าลดั วงจรลงดิน อาจเกิดจากการทสี่ ายไฟขาด หรอื หลดุ จากจุดตอ่ สายไฟสมั ผัสกับพื้นดินหรือโลหะที่ต่อฝงั อยบู่ นพื้นดินลักษณะดังกลา่ วนีจ้ ะทาให้ กระแสไฟฟา้ ไหลลงดิน ผลของไฟฟ้าช๊อต ในกรณีทก่ี ระแสไฟฟ้าไหลในสายไฟหรอื อปุ กรณไ์ ฟฟา้ สงู จะทาให้ความร้อนเกิดขึ้นใน สายไฟตวั นา ทาใหเ้ กดิ การละลายของฉนวนไฟฟ้าสง่ ผลใหส้ ายไฟตัวนาไฟฟา้ สัมผสั กันเกิดเป็นประกายไฟ ทาใหฉ้ นวนท่ี ละลายลุกไหม้ และหากมีวัสดุตดิ ไฟอยใู่ นบริเวณน้ันก็เสริมความรนุ แรงมากย่ิงขึน้ ถ้าหากเกิดขน้ึ ในบริเวณของ โรงพยาบาลท่ใี กลก้ ับวตั ถไุ วไฟ หรอื เปน็ กา๊ ซทตี่ ดิ ไฟง่าย อาจจะทาให้เกดิ การระเบดิ ข้ึนได้ แนวทางการปอ้ งกนั คือ จะตอ้ งปอ้ งกนั ไม่ใหเ้ กดิ การลดั วงจร ระหวา่ งเคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ อปุ กรณไ์ ฟฟา้ และสายไฟนนั้ โดยการ ตรวจสอบอย่างสมา่ เสมอ ถา้ ไฟฟ้าแรงสงู ขาดลงสู่พน้ื ดิน และไม่มรี ะบบปอ้ งกนั ตัดวงจร อาจกอ่ ให้เกดิ อันตราย กบั ผทู้ ีส่ ัญจรไปมาได้ แนวทางปอ้ งกนั ไฟฟา้ ลัดวงจร (1) เลอื กใช้อปุ กรณป์ ้องกันที่เหมาะสม (Coordination) เม่อื ฟวิ สข์ าดให้ใชฟ้ วิ สข์ นาดเทา่ เดิม เปลย่ี นแทน ไมค่ วรใช้ขนาดใหญ่กวา่ เดมิ หรอื ดดั แปลงใช้วสั ดุตวั นาอน่ื มาทดแทน (2) ตรวจสอบระบบจาหน่าย สายไฟ อปุ กรณ์ และเครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ เปน็ ประจา ถ้าพบวา่ ชารดุ ควร รบี ปรับปรุงแก้ไข และซ่อมแซมบารุงรกั ษา (3) ดแู ลรกั ษา และทาความสะอาดเคร่อื งใช้ไฟฟ้าเปน็ ประจา เชน่ แผงเมนสวิตช์ ปลกั๊ ไฟจุดตอ่ แยกตา่ ง ๆ เพราะอาจมตี วั แมลง จง้ิ จก เข้าไปทารัง หรือมีฝุ่นละอองเกาะ (4) เลอื กใชอ้ ปุ กรณเ์ ครือ่ งใช้ไฟฟา้ ท่ีมีคณุ ภาพ และมีมาตรฐานรับรอง หรอื เคร่อื งหมาย รบั ประกันคณุ ภาพของสานักงานมาตรฐานผลติ ภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม (ม.อ.ก.) (5) ใช้เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ อยา่ งถูกวิธี ตามคาแนะนาทบ่ี ริษัทผู้ผลิตแนะนา 2.6.6.2 ไฟฟา้ ดูด (Electric Shock) เป็นภาวะทเี่ กดิ จากการทม่ี กี ระแสไฟฟ้าไหลผา่ นร่างกายลงดิน ผทู้ ถ่ี กู กระแสไฟฟา้ แรงสงู ดดู จะทาใหก้ ลา้ มเนือ้ หดตัวและกระตกุ อยา่ งรนุ แรงทาใหส้ ่วนของรา่ งกายทสี่ มั ผสั กับ คณะอนุกรรมการพฒั นาตน้ แบบทมี ปฏบิ ตั งิ านด้วยความปลอดภัย (ดา้ นงานฮอทไลน)์

ค่มู ือพัฒนาทีมปฏบิ ัติงานด้วยความปลอดภัยด้านงานฮอทไลน์ 29 สายไฟจะหลุดออกมาโดยอตั โนมัติ แต่บาดแผลท่ีเกิดขึ้นจะรนุ แรง และมีลักษณะไหม้เกรียม ปรมิ าณของ กระแสไฟฟา้ ที่ไหลผา่ นรา่ งกายอาจจะทาให้เสยี ชวี ติ หรือพกิ ารได้ (รา่ งกายส่วนใดสว่ นหนึ่งสัมผสั กบั ส่วนทม่ี ี แรงดนั หรอื กระแสไฟฟา้ ) สามารถแยกตามลกั ษณะของการสมั ผัสได้เป็น 2 แบบ คือ (1) การสัมผสั โดยตรง (Direct Contact) คือ การทสี่ ว่ นของรา่ งกายสมั ผสั กับสว่ นท่มี ไี ฟฟ้าโดยตรง เช่น สายไฟ อปุ กรณ์ และเคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ เปน็ ตน้ (2) การสัมผัสโดยออ้ ม (Indirect Contact) คอื การท่ีสว่ นของรา่ งกายไมไ่ ดส้ มั ผสั สว่ นทีม่ ไี ฟฟ้า โดยตรง แตเ่ กดิ จากการท่บี ุคคลไปสัมผสั กบั ส่วนท่ีมีการลดั วงจรลงดิน เช่น เครื่องใช้ไฟฟา้ รว่ั แรงดนั เหนยี่ วนา จากระบบจาหน่ายหรือวงจรอนื่ ๆ เปน็ ตน้ คณะอนุกรรมการพัฒนาตน้ แบบทีมปฏบิ ตั งิ านด้วยความปลอดภยั (ดา้ นงานฮอทไลน์)

คมู่ ือพัฒนาทีมปฏบิ ัตงิ านดว้ ยความปลอดภัยดา้ นงานฮอทไลน์ 30 บทที่ 3 อุปกรณ์ เครอ่ื งมือและยานพาหนะสาหรบั การปฏิบัตงิ านฮอทไลน์ ในการปฏบิ ตั งิ านฮอทไลน์แต่ละประเภท มวี ิธกี ารปฏิบัตงิ านทแ่ี ตกตา่ งกนั รวมทงั้ มอี ุปกรณ์ เครอ่ื งมอื ในการปฏิบัตงิ านทีแ่ ตกตา่ งกนั ดว้ ย แต่สิง่ ที่สาคญั ทส่ี ุดสาหรบั การปฏิบตั งิ านทุกรูปแบบคอื ความปลอดภยั ของ พนกั งานทุกคน ดังน้นั พนกั งานช่าง (ฮอทไลน)์ ทกุ คนจะตอ้ งทราบและเข้าใจถึงวธิ กี าร ขน้ั ตอนในการ ปฏบิ ตั งิ านทปี่ ลอดภยั รวมทงั้ การใชง้ าน การดแู ลบารุงรักษา การตรวจสอบอปุ กรณ์ เครอ่ื งมือและยานพาหนะ เพอื่ ใหก้ ารปฏบิ ตั ิงานเป็นไปอย่างมีประสทิ ธิภาพและมคี วามปลอดภยั 3.1 อุปกรณป์ อ้ งกนั ภัยส่วนบคุ คล (Personal Protective Equipment : PPE) อุปกรณป์ อ้ งกันภัยส่วนบคุ คล คืออุปกรณท์ ่ีสวมใสแ่ ลว้ สามารถลดหรือบรรเทาอนั ตรายจาก สง่ิ แวดลอ้ มในการปฏบิ ตั ิงานลงให้อย่ใู นระดับที่ไมเ่ ป็นอนั ตราย ซ่งึ อุปกรณ์ปอ้ งกันภัยส่วนบคุ คลสาหรบั การ ปฏิบัติงานฮอทไลนน์ น้ั มีดังนี้ คณะอนกุ รรมการพฒั นาตน้ แบบทมี ปฏิบัตงิ านดว้ ยความปลอดภัย (ดา้ นงานฮอทไลน)์

คมู่ ือพัฒนาทีมปฏบิ ัตงิ านด้วยความปลอดภัยด้านงานฮอทไลน์ 31 1) หมวกนริ ภัย (Safety Helmet) ที่ใชง้ านกับระบบไฟฟา้ มี 3 ประเภท ตาม มอก.368-2554 ชนิด E (Electrical) หมายถึง หมวกนิรภัยท่ีใช้เพ่ือลดแรงกระแทกของวัตถุ และลด อันตรายอันอาจเกิดจากการสัมผัสกบั ตัวนาไฟฟ้าแรงดันสูง ทนแรงดนั ไฟฟา้ ทดสอบ 20,000 โวลต์ ชนิด G (General) หมายถึง หมวกนิรภัยท่ีใช้เพ่ือลดแรงกระแทกของวัตถุ และลด อันตรายอันเกิดจากสัมผสั กับตวั นาไฟฟ้าแรงดนั ต่า ทนแรงดนั ไฟฟา้ ทดสอบ 2,200 โวลต์ ชนดิ C (Conductive) หมายถงึ หมวกนิรภัยท่ีใชเ้ พ่อื ลดแรงกระแทกของวตั ถุ หมายเหตุ : แรงดนั ไฟฟา้ ทดสอบตามชนดิ E และชนิด G ไม่ใช่แรงดันไฟฟ้าท่ีปลอดภัย สาหรบั ผ้สู วมใส่ ข้อควรปฏบิ ตั ใิ นการใชห้ มวกนิรภยั ตรวจสภาพความเรียบร้อยของหมวก ก่อนใช้งาน ถ้าชารุดไม่ควรนามาใช้ เมื่อใช้งานแล้ว ควรมีการทาความสะอาดเป็นระยะ ด้วยน้าอุ่นและสบู่ ขณะล้างควร ถอดส่วนประกอบออกทาความสะอาด ผ่ึงให้แห้ง แล้วจึงประกอบเข้าไปใหม่ ห้ามทาสีหมวกใหม่ เพราะจะทา ให้ประสิทธิภาพในการต้านแรงไฟฟ้า และแรงกระแทกลดต่าลง ไม่วางหมวกนิรภัยไว้กลางแดด หรือที่ท่ีมี อุณหภมู สิ งู เพราะจะทาให้อายุการใชง้ านส้นั ลง สีของหมวกนิรภัย (Safety Helmet) ตามมาตรฐาน กฟภ. แบง่ ตามประเภท ดังน้ี สีเขยี ว : พนกั งานเจา้ หน้าทคี่ วามปลอดภัย (จป.) สีแดง : พนกั งานบรหิ ารหรือวิศวกร สีเหลอื ง : พนักงานช่างควบคมุ งาน สีส้ม : ลกู จา้ งชา่ ง สขี าว : คนงานรายวัน คณะอนกุ รรมการพฒั นาตน้ แบบทมี ปฏิบตั ิงานด้วยความปลอดภยั (ดา้ นงานฮอทไลน์)

ค่มู อื พัฒนาทีมปฏบิ ัตงิ านดว้ ยความปลอดภัยด้านงานฮอทไลน์ 32 กระแทก การตรวจสอบหมวกนริ ภยั กอ่ นการใชง้ าน 1) ตรวจสอบภายนอกดว้ ยสายตาวา่ มีรอยแตก บน่ิ หรอื รอยร้าวหรอื ไม่ ถา้ มไี ม่ควรนาไปใชง้ าน 2) ตรวจดรู องในหมวก ตอ้ งติดยดึ กับตัวหมวกให้มั่นคงเพ่ือประสทิ ธิภาพในการลดแรง 3) ตรวจสอบสภาพรองในหมวก สายรดั คางชารุดฉกี ขาดหรือไม่ ถ้าชารดุ ใหจ้ ัดหาเปล่ียนใหม่ การดูแลบารงุ รกั ษา 1) เมอื่ ใช้งานแล้วควรมกี ารทาความสะอาดเป็นระยะด้วยน้าอุ่นและสบู่ ขณะลา้ งควรถอด สว่ นประกอบออกทาความสะอาด ผึ่งให้แหง้ แลว้ จึงประกอบเขา้ ไปใหม่ 2) เมือ่ ตรวจพบวา่ หมวกนิรภยั ชารดุ ไม่เหมาะท่จี ะนาไปใช้งานใหต้ ดิ ป้ายแยกเก็บตา่ งหากแลว้ รวบรวมกาจดั ท้ิง 2) อปุ กรณ์ป้องกนั มอื และน้ิว 2.1) ถงุ มอื หนงั ปนี เสา เป็นอปุ กรณ์สาหรับสวมใสเ่ พอ่ื ลดการบาดเจบ็ ของอวยั วะสว่ นมอื และ น้วิ ของผปู้ ฏบิ ัตงิ าน ซ่ึงอาจไดร้ ับการขีดขว่ นจากของมคี ม ในการปฎิบัติการบนเสาไฟฟา้ คอนกรตี การใช้งาน 1) ให้ใช้ถุงมือหนงั เปลยี่ นเสาทีไ่ ด้ผ่านการรบั รองคุณภาพแลว้ และอย่ใู นสภาพทสี่ ามารถ ใชง้ านไดอ้ ยา่ งปลอดภยั เทา่ นน้ั (ดา้ นหนา้ มือเป็นหนัง ด้านหลังมือเปน็ ผา้ ใบ) 2) สวมโดยตรง ใชส้ วมใส่ปอ้ งกนั การบาดเจ็บทีม่ อื เมอื่ สมั ผสั กบั อนั ตรายทีอ่ าจเกดิ ข้นึ กบั มอื ของผ้ปู ฏิบัติงาน 3) ใชก้ บั งานประเภทวสั ดมุ ีคมหรอื ปนี เสาคอนกรตี อื่น 4) หา้ มนาไปสวมใส่มอื เพอ่ื ปฏิบตั ิงานทมี่ กี ระแสไฟฟา้ การตรวจสอบถงุ มือหนงั ปีนเสากอ่ นการใช้งาน 1) ตรวจสอบสภาพถุงมอื หนังปนี เสาว่ามกี ารฉีกขาดหรอื ไม่ ถา้ มีห้ามนาไปใชง้ าน 2) ห้ามนาถงุ มอื หนังปนี เสาทีเ่ สอ่ื มสภาพหรอื หมดอายุการใช้งานแลว้ ไปใช้งาน การดแู ลบารงุ รกั ษา 1) หลงั จากใชง้ านควรจดั เกบ็ ใหเ้ รยี บร้อยโดยหลกี เลยี่ งการจดั เกบ็ ในทที่ ่ีมคี วามชน้ื 2) หลงั ใช้งานแลว้ ควรทาความสะอาดตามความเหมาะสม 3) เมื่อตรวจพบว่าถงุ มอื หนงั ปีนเสาชารดุ ไม่เหมาะท่ีจะนาไปใช้งาน ใหเ้ ปล่ยี นใหม่ คณะอนกุ รรมการพฒั นาตน้ แบบทีมปฏิบัติงานดว้ ยความปลอดภัย (ดา้ นงานฮอทไลน์)

คมู่ ือพัฒนาทมี ปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความปลอดภัยดา้ นงานฮอทไลน์ 33 2.2) ถงุ มอื ยางแรงสงู เป็นอปุ กรณ์ป้องกันแรงดันไฟฟา้ และป้องกนั การบาดเจ็บทม่ี อื ใชส้ วมใส่ มือร่วมกับถุงมือหนังในการปฏิบัติงาน ซ่ึงตามข้อกาหนดมาตรฐานเครอ่ื งมือสาหรบั การปฎิบตั ิงานฮอทไลน์ RHOT-100/2554 ใหใ้ ชเ้ ปน็ ช้นั คุณภาพตามมาตรฐาน ANSI/ASTM D-120 ดังนี้ - Class 3 : แรงดันไฟฟา้ สูงสดุ ทใ่ี หใ้ ชง้ านได้ 26,500 โวลท์ - Class 4 : แรงดนั ไฟฟา้ สงู สดุ ท่ใี ห้ใช้งานได้ 36,000 โวลท์ การใชง้ าน 1) ให้ใช้ถุงมือยางแรงสูงที่ได้ผ่านการรับรองคุณภาพแล้ว ในการปฏิบัติงานเช้า 22-33 kV และอยู่ในสภาพใช้งานได้อย่างปลอดภัยตามข้อกาหนดมาตรฐ านเคร่ืองมือสาหรับการปฎิบัติงาน ฮอนไลน์ RHOT-100/2554 เท่าน้ัน 2) ในการปฏบิ ตั ิงานตอ้ งสวมถุงมือยางแรงสูงร่วมกบั ถุงมือหนังทุกคร้ัง เพื่อป้องกันถุงมือยาง ชารดุ จากสง่ิ ของหรือวัสดมุ คี ม การตรวจสอบถงุ มอื ยางแรงสงู กอ่ นการใช้งาน 1) ก่อนจะนาถงุ มือยางแรงสงู ไปใช้ปฏิบตั งิ านในแตล่ ะครง้ั ต้องตรวจสอบรอยชารุดบกพร่อง ต่างๆโดยตรวจสอบดูด้วยตาเปล่าแล้วทดสอบการรั่วของถุงมือยางด้วยการจับที่ขอบถุงมือแ ล้วม้วนจากนั้นให้ บีบและตรวจดูวา่ ถุงมอื รั่วหรือไม่ ถา้ ร่ัวหา้ มนาไปใช้งานเดด็ ขาด 2) ตรวจดผู ิวถงุ มือยางแรงสูง ถ้ามีรอยขีดข่วนเป็นรอยลึกเข้าไปในเนื้อยาง ห้ามนาไปใช้งาน เดด็ ขาด 3) ถุงมือยางแรงสูงที่เปยี กช้ืน ตอ้ งเช็ดใหแ้ หง้ ก่อนนาไปใช้งาน การดแู ลบารุงรกั ษา 1) ลา้ งทาความสะอาดด้วยนา้ สบู่ออ่ นๆ ตามความเหมาะสม เช็ดให้แหง้ และใชแ้ ปง้ โรย 2) จดั เกบ็ ถุงมอื ยางแรงสงู ในถงุ เก็บหรือจัดวางบนชั้น ในที่สะอาด มิดชิดหลังการใช้งาน (ใน กรณีเปียกน้าจะตอ้ งทาใหแ้ หง้ กอ่ นจัดเกบ็ ใส่ถงุ เกบ็ ) และอยา่ เกบ็ ใกลก้ ับของมคี ม 3) ไม่ควรเก็บถุงมือยางไว้ในบริเวณท่ีมีแสงแดดส่องถึงหรืออุณหภูมิสูงเพราะจะทาให้ คุณสมบัตทิ างกายภาพเปล่ียนแปลงไป 4) ถุงมือยางแรงสูงที่เก็บไว้นานและแสดงอาการชารุดหรือเส่ือมสภาพจะต้องหยุดใช้งาน และส่งตรวจสอบทนั ที คณะอนกุ รรมการพฒั นาตน้ แบบทีมปฏิบตั งิ านดว้ ยความปลอดภัย (ดา้ นงานฮอทไลน์)

คูม่ อื พัฒนาทีมปฏบิ ัตงิ านดว้ ยความปลอดภัยดา้ นงานฮอทไลน์ 34 5) เมอ่ื ตรวจพบว่าถุงมือยางแรงสูงชารุด ไมเ่ หมาะท่จี ะนาไปใช้งาน ใหต้ ดิ ป้ายห้ามใช้งานและ แยกเกบ็ ไวต้ า่ งหาก 3) เข็มขัดนิรภัยและสายกันตก (Safety Belt & Safety Strap) เป็นอุปกรณ์ป้องกันการตก จากท่ีสูงใช้สวมใส่ประกอบกัน ใช้สาหรับยึดตัวผู้ปฏิบัติงานกับเสาไฟฟ้า เพ่ือให้สามารถยืนปฏิบัติงานบนเสา ไฟฟ้าไดอ้ ยา่ งปลอดภยั ตัวเข็มขัดและสายกันตก มีรายละเอียดดงั นี้ 1) ตวั เขม็ ขดั นิรภัย ( Body belt ) ประกอบด้วย - ห่วงเหล็กท่ีเรียกวา่ “ ดี – ริง ”( D–ring ) ใช้เกีย่ วตะขอของสายกันตก - แผ่นรัดเอวหรือเรียกว่า สายคาดเอวไว้สาหรับรัดรอบเอวให้แน่นใช้ป้องกันเอวไม่ให้เจ็บ และเพ่อื ใหท้ รงตวั ไดด้ ีขณะปฏบิ ัติงานบนเสา 2) สายกันตก (Safety strap) ใช้สาหรับคล้องกับเสาเพ่ือให้รองรับน้าหนักของช่างไฟฟ้าใน ขณะทย่ี ืนปฏบิ ตั ิงานบนเสา ปลายของสายกันตกจะมีตะขอไว้เพ่ือเก่ียวกับ “ ดี – ริง ” ( D – ring ) สายกันตก สามารถปรับระยะใหส้ ้ันและยาวได้ตามต้งั การ การใชง้ าน 1) ให้ใช้เข็มขัดนิรภัยและสายกันตก ท่ไี ดผ้ า่ นการรับรองคุณภาพแลว้ และอยู่ในสภาพใช้งานได้ อยา่ งปลอดภัย ตามข้อกาหนดมาตรฐานเครื่องมือเครื่องใช้ RTLS-053/2539 เท่าน้นั 2) เม่อื ปฏบิ ัตงิ านบนเสาไฟฟ้าหรอื บนสงิ่ ก่อสร้างสูงๆ เพ่ือป้องกันการตกจากเสาไฟฟ้า โดยใช้ สายกันตกคลอ้ งตัวเข้ากบั เสาไฟฟ้าหรือสิ่งก่อสร้างทเี่ หน็ วา่ มั่นคงแข็งแรงทุกครัง้ 3) ปรับความยาวของสายกันตกให้มีความเหมาะสม เพ่ือให้การยืนปฏิบัติงานได้สะดวก และ ก่อนที่จะใชส้ ายกันตกรบั นา้ หนักตัวตอ้ งตรวจดใู หแ้ นใ่ จว่าตะขอเก่ยี ว (Snap Hook) ของสายกนั ตกไดเ้ ก่ียวลอ็ ค กับหว่ ง D-Ring ของเขม็ ขดั ดีแล้วโดยสมบูรณ์ คณะอนกุ รรมการพัฒนาตน้ แบบทมี ปฏิบัติงานดว้ ยความปลอดภยั (ด้านงานฮอทไลน์)

คู่มอื พัฒนาทมี ปฏิบัตงิ านด้วยความปลอดภัยดา้ นงานฮอทไลน์ 35 การตรวจสอบเข็มขัดนริ ภัยและสายกนั ตกก่อนการใช้งาน 1) ตรวจสอบดูว่าช่องใส่เคร่ืองมือและห่วงกลมสาหรับห้อยเคร่ืองมือมีสภาพสมบูรณ์หรือไม่ ถา้ ชารุดไมค่ วรนาไปใชง้ าน 2) ตรวจสอบสว่ นทเ่ี ปน็ โลหะเช่น ห่วง D-Ring, หวั เขม็ ขดั หากมรี อยร้าวหรือสภาพไม่สมบูรณ์ หา้ มใชง้ าน 3) ตรวจสอบสภาพของสายกันตก (Strap) ดา้ นท่ีเสียดสีกับเสาว่ามีรอยสึกถึงแถบสีแดง (Red Safety Center Plies) หรือยงั ถ้าถึงแถบสแี ดงแล้วให้เปล่ยี นใหม่ หา้ มใช้ตอ่ ไปเด็ดขาด 4) ตรวจดูตะขอ (Snap Hook) ของใส่กันตกวา่ ลิ้นล็อค (Keeper) แนบสนทิ กับปากตะขอและ เมือ่ กดลงแล้วดดี คืนกลับถึงปากตะขอหรือไม่ ถ้าไม่สมบรู ณ์ ห้ามใช้งาน 5) ใส่ลิ้นล็อค (Keeper) กับห่วง D-Ring โดยให้ลิ้นล็อคหันออกด้านนอกทั้งสองด้าน เพื่อให้ มองเหน็ ลิ้นลอ็ คดดี กลบั ได้สดุ หรือไม่ การดูแลบารุงรักษา 1) ตรวจสอบ ทาความสะอาดและเก็บไว้ให้เป็นระเบียบ (การล้างทาความสะอาด ควรทา เดอื นละคร้งั เมือ่ มีการใช้งานทกุ วนั หรือเมือ่ เกดิ ความสกปรกมาก โดยลา้ งนา้ อนุ่ และสบู่ตามด้วยน้าสะอาด และ ปล่อยใหแ้ ห้งที่อุณหภูมหิ อ้ ง 2) เม่ือตรวจพบว่าขัดนิรภัยและสายกันตกชารุด ไม่เหมาะที่จะนาไปใช้งาน ให้ติดป้ายห้ามใช้ งานและแยกเก็บไว้ตา่ งหาก 4) รองเท้าหนังสาหรบั ปนี เสา (Lineman’s Boots) เปน็ อปุ กรณ์ปอ้ งกันเทา้ (Foot Protection Devices) มีลักษณะเปน็ รองเทา้ หนงั ห้มุ ข้อ สีดา สวมใส่เพอ่ื ป้องกนั การบาดเจบ็ ทเ่ี ท้า และเพ่ือขน้ึ ปฏิบตั งิ าน บนเสาคอนกรีตพน้ื ชั้นนอกและส้นรองเทา้ ทาด้วยยางหลอ่ เป็นชิ้นเดยี วกนั และหลอ่ ดอกยางกันลน่ื การใช้งาน 1) ให้ใช้รองเทา้ หนงั สาหรบั ปีนเสาท่ีผ่านการรับรองคณุ ภาพภาพแล้วและอยู่ในสภาพใช้งานได้ อยา่ งปลอดภัย ตามแบบมาตรฐานเลขท่ี SA2-015/27015 เท่านัน้ 2) ใชง้ านร่วมกบั ขาปีนเสาสาหรับการขนึ้ ปฏิบัติงานบนเสาคอนกรีต คณะอนุกรรมการพัฒนาตน้ แบบทมี ปฏบิ ัตงิ านด้วยความปลอดภัย (ด้านงานฮอทไลน)์

ค่มู ือพัฒนาทีมปฏิบตั งิ านดว้ ยความปลอดภัยด้านงานฮอทไลน์ 36 การตรวจสอบรองเทา้ หนงั สาหรับปนี เสาก่อนการใชง้ าน ก่อนนารองเท้าหนังสาหรบั ปีนเสามาใช้ทุกคร้ัง ควรตรวจสอบว่ายังอยู่ในสภาพดี พร้อมใช้งาน ได้อย่างปลอดภยั หรอื ไมด่ งั นี้ 1) ตรวจสอบสภาพพ้นื และหวั รองเท้า วา่ หนงั ทห่ี ุ้มมีรอยฉกี ขาดหรือไม่ 2) ตรวจสอบสภาพรูร้อยเชอื กวา่ อย่ใู นสภาพดหี รอื ไม่ 3) ตรวจสอบสภาพเชอื กวา่ มีรอยฉีกขาดหรือไม่ การดูแลบารงุ รกั ษา 1) ทาความสะอาด เชด็ สิ่งสกปรกต่างๆออก หลงั การใช้งานทุกครั้ง 2) จัดวางให้เป็นระเบียบหรือแขวนเก็บไว้ รวมท้ังควรเก็บในที่สะอาดและแห้ง ไม่ปะปนกับ อุปกรณ์อ่ืนๆ 3) เมื่อตรวจพบว่ารองเท้าหนังสาหรับปีนเสาชารุด ไม่เหมาะที่จะนาไปใช้งาน ให้ติดป้ายและ แยกเก็บต่างหาก 5) ขาปีนเสา (Concrete Pole Climber) เป็นอุปกรณ์ท่ีใช้งานร่วมกับรองเท้าหนังปีนเสา สาหรับปนี เสาคอนกรีต ตามข้อกาหนดมาตรฐานเครือ่ งมือเครือ่ งใช้ RTLS-081/2537 ประกอบดว้ ย - เดือยขาปีนเสา ทาด้วยเหล็กลวดผสมคาร์บอน (C0.45) ตาม มอก.349 ขนาด เสน้ ผา่ ศนู ย์กลาง13 มม. - แผน่ รองเท้า ทาด้วยเหล็กแบน ตาม มอก.55 ขนาด 30 × 4 มม. - ห่วงผูกสายรดั เทา้ ทาดว้ ยลวดเหลก็ ตาม มอก.194 ขนาดเสน้ ผา่ ศูนย์กลาง 6 มม. การใชง้ าน 1) ให้ใช้ขาปนี เสาคอนกรีต ตามแบบมาตรฐานเลขที่ SB5-015/27002 และที่ผ่านการทดสอบ แรงดึงการใช้งาน ตามแบบมาตรฐานเลขท่ี SA2-015/27010 เทา่ นน้ั 2) ใชง้ านรว่ มกับรองเท้าห้มุ ข้อ เพ่ือปฏิบตั งิ านบนเสาคอนกรตี และยืนปฏิบัตงิ านบนเสาโดยผูก เชอื กใหแ้ น่น เพื่อให้สามารถยืนปฏบิ ตั งิ านบนเสาได้สะดวก การตรวจสอบขาปีนเสาก่อนการใชง้ าน 1) ตรวจสอบสภาพขาปีนเสา โดยดูรอยเชื่อมของเดือยว่ามีรอยแตกร้าวหรือไม่ ถ้ามีห้าม นาไปใชง้ าน คณะอนุกรรมการพัฒนาตน้ แบบทมี ปฏิบัตงิ านด้วยความปลอดภัย (ดา้ นงานฮอทไลน)์

คู่มือพัฒนาทีมปฏิบัตงิ านด้วยความปลอดภัยดา้ นงานฮอทไลน์ 37 2) ตรวจสอบห่วงรอ้ ยเชอื ก ตัวเชอื ก ว่ามรี อยขาดหรอื ไม่ ถ้ามหี า้ มนาไปใช้งาน 3) หากขาปีนเสาใช้หนังรัดแทนเชือก ให้ตรวจสอบสภาพหนังว่ามีสภาพชารุด มีรอยฉีกขาด หรอื ไม่ ถ้ามีห้ามนาไปใชง้ าน 4) ตรวจดวู า่ เหล็กขาปนี เสาที่ใชเ้ สยี บกบั รเู สา คด งอ หรือไม่ การดูแลบารุงรกั ษา 1) ลา้ งทาความสะอาดดว้ ยน้าตามความเหมาะสม แล้วเชด็ ใหแ้ หง้ 2) จดั วางเกบ็ ไว้ในท่ีแห้งหรือแขวนเกบ็ ไวใ้ ห้เป็นระเบยี บ 3) เม่อื ตรวจพบว่าขาปนี เสาชารดุ ไมเ่ หมาะทจ่ี ะนาไปใชง้ านให้กาจัดทง้ิ เลยเปลยี่ นใหม่ คณะอนุกรรมการพัฒนาตน้ แบบทีมปฏิบัติงานด้วยความปลอดภัย (ดา้ นงานฮอทไลน)์

คมู่ ือพัฒนาทีมปฏบิ ตั ิงานดว้ ยความปลอดภัยด้านงานฮอทไลน์ 38 3.2 เคร่อื งมอื ฮอทไลน์ เป็นหน้าทขี่ องพนักงานฮอทไลน์ทกุ คนต้องศึกษาเรียนรู้ และทาความรู้จกั เครอื่ งมือฮอทไลน์แต่ละ ประเภท เพื่อท่ีจะสามารถซ่อมแซมและบารุงรักษาเครื่องมือฮอทไลน์ได้ด้วยตนเองตลอดจนนาเคร่ืองมือ ฮอทไลนไ์ ปใช้งานได้อย่างถูกต้อง มีความปลอดภัย พนักงานฮอทไลน์ทุกคน ต้องได้รับการฝึกอบรมการติดตั้ง ใช้งานเครื่องมือรวมท้ังข้ันตอนการปฏิบัติงานฮอทไลน์ จนกระทั่งมีทักษะ ความรู้ และความชานาญ ก่อนที่จะ ลงมือปฏิบัติงานกับระบบจาหน่ายที่มีกระแสไฟฟ้าจริง โดยท่ัวไปเครื่องมือฮอทไลน์ท่ีชารุดส่วนมากมีสาเหตุ มาจากการใช้งานผดิ ประเภท ใชง้ านเกนิ พิกดั ความสามารถท่ีบรษิ ทั ผู้ผลติ กาหนด เพราะฉะนั้นทุกคนต้องระลึก เสมอว่าเครื่องมือฮอทไลน์แต่ละช้ินมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการปฏิบัติงานด้วยความปลอดภัย เครื่องมือฮอท ไลนแ์ บง่ ตามประเภทของการปฏิบัติงานไดเ้ ปน็ 2 ประเภท คอื 3.2.1 เครอื่ งมือฮอทไลนฮ์ อทสตกิ เคร่อื งมือฮอทไลน์ฮอทสติกแบง่ ตามลักษณะได้เป็น 5 ประเภท คอื 1) ประเภทไมฉ้ นวน (Hotstick) เช่น Tie Stick, Wire Tong, Link Stick ฯลฯ โดยมากผลติ จากสารประเภท Epoxiglas, Fiberglass ซึง่ มาตรฐานกาหนดใหส้ ามารถทนแรงดันไฟฟา้ ได้ 100 kV/ฟตุ ใน ระยะเวลา 5 นาที คณะอนกุ รรมการพัฒนาตน้ แบบทมี ปฏิบตั ิงานด้วยความปลอดภยั (ด้านงานฮอทไลน์)

คูม่ อื พัฒนาทีมปฏิบตั งิ านด้วยความปลอดภัยดา้ นงานฮอทไลน์ 39 2) ประเภทฉนวนครอบป้องกันตา่ งๆ เช่น Conductor Cover, Insulator Cover, Pole Cover, Crossarm Cover ฯลฯ สว่ นมากผลติ จากพลาสตกิ ประเภท Polyethylene เน่อื งจากมีคณุ สมบัติเป็น ฉนวนไฟฟ้าทด่ี ี มีความเหนียว และทนทานต่อแรงดึงปานกลาง เมือ่ นาไปใชง้ านควรตรวจสอบรอยแตกร้าว หรอื ฉกี ขาดท่เี กดิ ข้นึ จากการกระแทกหรือเสื่อมสภาพตามอายกุ ารใชง้ านหากพบลกั ษณะการชารดุ ดงั กลา่ วควร หลกี เล่ียงใช้งาน 3) ประเภททเ่ี ป็นโลหะ (Hard Ware) เช่น Saddle, Pole Clamp ฯลฯ เครือ่ งมอื ประเภทน้ี ถงึ แม้ว่าจะเกิดการชารุดไดย้ าก แตค่ วรตรวจเชค็ สภาพกอ่ นนาไปใช้งานทกุ ครั้ง เชน่ รอยรา้ ว สลกั เกลยี วยึด แกนกลาง เป็นตน้ 4) ประเภทบารงุ รักษาและซ่อมแซมเครื่องมือฮอทไลน์ เช่น Gloss Restorer, Wiping Cloths ฯลฯ ใชส้ าหรบั ซ่อมแซมบารงุ รักษาเคร่ืองมือฮอทไลนใ์ หอ้ ยู่ในสภาพทีด่ ี พร้อมที่จะใชง้ านอยูเ่ สมอ เพื่อให้มรี ะยะเวลาการใช้งานทย่ี าวนาน และปลอดภยั ต่อผูป้ ฏิบัตงิ าน คณะอนุกรรมการพฒั นาตน้ แบบทมี ปฏบิ ตั งิ านด้วยความปลอดภยั (ดา้ นงานฮอทไลน์)

คู่มอื พัฒนาทีมปฏิบัตงิ านด้วยความปลอดภัยด้านงานฮอทไลน์ 40 5) ประเภทเครอ่ื งมอื ท่ัวไป เช่น เชอื ก รอก ถุงมือหนังปนี เสา ฯ ลฯ รายการเคร่อื งมือฮอทไลน์ฮอทสตกิ และหน้าทีก่ ารใชง้ าน ดังนี้ 1. Auxiliary Arm Assembly ทาหน้าที่เป็นคอนสายช่วั คราว ใชใ้ นการเปล่ยี นคอนสาย เปล่ียนลูก ถ้วย 3 เฟส ปกั เสาหรอื ถอนเสาตน้ หมอ้ แปลงนัง่ ร้าน ซ่ึงการใชง้ านเราก็จะแบง่ ออกเป็น 2 ลกั ษณะ คอื (1) ย้ายสายไฟ เฟส A, B ออกไปไว้ดา้ นขา้ งของเสา (ดงั รปู ที่ 1) Dual Auxiliary Side Arm (2) ยา้ ยสายไฟท้ัง 3 เสน้ ขน้ึ ด้านบน (ดังรูปท่ี 2) T-Phase Lifting Arm รปู ที่ 1 รูปที่ 2 คณะอนกุ รรมการพฒั นาตน้ แบบทีมปฏิบตั งิ านดว้ ยความปลอดภัย (ด้านงานฮอทไลน)์

คู่มือพัฒนาทมี ปฏบิ ตั ิงานดว้ ยความปลอดภัยดา้ นงานฮอทไลน์ 41 Auxiliary Arm Assembly มอี ปุ กรณป์ ระกอบอื่น ๆ อีก ได้แก่ Wire Holder, Wire Holder Insulator, Stirrup เป็นตน้ Wire Holder Wire Holder Insulator Stirrup Auxiliary Arm Assembly 2. Bond Patching Kit เป็นกาวใช้ซ่อมรอยชารุดเล็กน้อยบนเครอื่ งมือฮอทไลน์ 3. Conductor Cleaning Brush ใช้ประกอบกับ Universal Pole สาหรับขดั ทาความสะอาดสายไฟ บริเวณท่ีจะทาการเชอื่ มสาย คณะอนุกรรมการพฒั นาตน้ แบบทีมปฏิบัติงานดว้ ยความปลอดภัย (ดา้ นงานฮอทไลน)์

คมู่ อื พัฒนาทีมปฏบิ ตั ิงานดว้ ยความปลอดภัยดา้ นงานฮอทไลน์ 42 4. Conductor Cover (ฉนวนครอบสายไฟ) ปจั จุบนั กฟภ. มีใช้งานมี 2 ขนาด คอื 36 kV และ 46 kV ใชส้ าหรบั ครอบสายไฟทอ่ี ยใู่ กลก้ บั ผู้ปฏิบตั ิงาน รวมทง้ั ครอบสายไฟทีอ่ ยู่ใกล้กับส่งิ ก่อสร้าง 36 kV 46 kV 5. Crossarm Cover (ฉนวนครอบคอนสาย) เป็นอปุ กรณ์ความปลอดภยั ซง่ึ ใชข้ ณะปฏิบัตงิ านแกแ้ ละ พันลวดอลมู ิเนยี มกลม (Tie Wire) 6. Clamp Stick Grip-All Type เป็นเครือ่ งมอื ทีใ่ ชใ้ นงานฮอทไลนม์ ากทสี่ ุด สาหรับใช้งานตดิ ตง้ั ฉนวน ครอบต่าง ๆ เชน่ Conductor Cover, Crossarm Cover รวมท้ังใช้ในการตดิ ตงั้ Hotline Clamp, Bail Clamp มีใช้งานขนาดเสน้ ผา่ ศูนยก์ ลาง 1¼\" ความยาว 8' และ 12' คณะอนกุ รรมการพฒั นาตน้ แบบทีมปฏิบตั ิงานด้วยความปลอดภยั (ดา้ นงานฮอทไลน์)

ค่มู อื พัฒนาทีมปฏิบัติงานด้วยความปลอดภัยด้านงานฮอทไลน์ 43 7. Fixed Prong เป็นเครื่องมือท่ใี ชต้ อ่ กบั Universal Pole สาหรบั พนั ลวดอลูมิเนยี มกลม 8. Gloss Restorer เป็นนา้ ยาเคลือบผิวไม้ฉนวน ทีม่ ใี ช้งานประกอบดว้ ย 2 สว่ น คอื น้ายาเคลือบผิว และนา้ ยาทาใหแ้ ห้ง การผสมใชอ้ ัตราสว่ นตามที่คมู่ อื ระบุ การเคลือบใชว้ ธิ ที าด้วยลูกประคบไม่ควรทาด้วยแปรง เพราะจะทาให้ผวิ น้ายาเคลอื บไม่เรยี บ 9. Hook Ladder เปน็ บันไดทที่ าด้วย Epoxiglass ใชส้ าหรบั ยนื ปฏบิ ตั งิ านสามารถรบั น้าหนักไดต้ ง้ั แต่ 750 – 1,250 Lbs. คณะอนุกรรมการพฒั นาตน้ แบบทีมปฏบิ ตั งิ านด้วยความปลอดภัย (ดา้ นงานฮอทไลน)์

คู่มอื พัฒนาทีมปฏบิ ัติงานด้วยความปลอดภัยดา้ นงานฮอทไลน์ 44 10. Hotline Wire Grip ใชจ้ บั ยดึ สายไฟเพอ่ื ดึงสายใหต้ ึง สาหรบั Hotline Wire Grip ที่ใชป้ ฏิบตั งิ าน ฮอทไลน์จะมีลักษณะพิเศษ คือ สามารถใชไ้ ม้ฉนวนประเภท Rotary Prong ประกอบการติดตงั้ กบั สายไฟ ที่ใช้ งานมขี นาด 25 – 50 ต.มม., 70 – 95 ต.มม., 120 – 185 ต.มม. และขนาด 240 ต.มม. 11. Hoist เป็นเคร่อื งมอื สาหรบั ดึงสายไฟมี 2 แบบ คือ 10.1 Ratchet Chain Hoist เป็นแบบโซม่ ีหลายขนาดตั้งแต่ ¾ - 3 ตัน 10.2 Nylon-Strap Ratchet Hoist เปน็ แบบผา้ ใบมหี ลายขนาดตง้ั แต่ ¾ - 2 ตนั Ratchet Chain Hoist Nylon-Strap Ratchet Hoist คณะอนุกรรมการพัฒนาตน้ แบบทีมปฏิบัตงิ านดว้ ยความปลอดภยั (ดา้ นงานฮอทไลน์)

ค่มู ือพัฒนาทมี ปฏบิ ตั งิ านด้วยความปลอดภัยด้านงานฮอทไลน์ 45 12. Handline Hook เปน็ ตะขอใช้ประกอบกบั เชือก Handline เพือ่ ส่งเคร่ืองมือและอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ขน้ึ -ลงเสาไฟฟา้ สามารถรับแรงได้ประมาณ 500 Lbs. (227 Kg.) ดังน้นั ในการพจิ ารณาเชอื กสง่ ของ (Handline) ควรคานึงถงึ พกิ ดั ใชง้ านให้สามารถรบั แรงดึงและน้าหนักไดไ้ ม่เกนิ 420 Lbs. หรอื 190 Kg. 13. Hotstick Tester เป็นเคร่ืองมอื ทดสอบเครอ่ื งมอื ฮอทไลนเ์ กยี่ วกับคณุ สมบัติทางไฟฟ้า โดยเฉพาะ คา่ ความชืน้ ที่ผวิ ไม้ฉนวนตา่ ง ๆ วา่ อยใู่ นสภาพทส่ี ามารถนาออกมาใช้งานได้หรือไม่ ซ่ึงวธิ กี ารทดสอบได้กลา่ วไว้ ในหัวขอ้ การซ่อมเครื่องมอื ฮอทไลนป์ ระเภท Hotstick 14. Insulator Cover เปน็ ฉนวนครอบลูกถว้ ยไฟฟ้า ทใ่ี ช้งานอยู่ในขณะนมี้ ีเพยี งขนาดเดยี ว คือ 46 kV ซ่งึ สามารถปรบั ขนาดความยาวได้ตั้งแต่ 22\" – 34\" ท้งั น้เี พื่อความสะดวกในการใช้งานกับเสาไฟฟา้ ต้นทางโค้ง ชนดิ คอนสายคู่ คณะอนุกรรมการพฒั นาตน้ แบบทีมปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความปลอดภยั (ด้านงานฮอทไลน)์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook