Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Toward Innovation Nation

Toward Innovation Nation

Published by inno vation, 2021-04-15 06:43:41

Description: Toward Innovation Nation

Search

Read the Text Version

1 9 “นวัตกรรม” ส�ำคัญตอ่ ประเทศไทยอย่างไร 10 12 ยคุ 1 ก่อต้งั กองทุนพัฒนานวัตกรรม 14 ยคุ 2 จากกองทุนนวัตกรรมสูส่ �ำนักงานนวตั กรรมแห่งชาต ิ 18 ยคุ 3 ก้าวส่อู งคก์ ารมหาชน ยุค 4 เมื่อ “นวตั กรรม” คอื ยทุ ธศาสตรช์ าติ 21 2 22 25 “โซข่ ้อกลาง” สร้างระบบนวตั กรรมแห่งชาติ 27 29 ระบบนวัตกรรมเขม้ แข็ง ประเทศชาติเขม้ แขง็ 31 34 • Startup Thailand ประกาศความเปน็ Global Hub 36 • สถาบันวิทยาการนวตั กรรม 38 • หลักสตู ร STEAM4INNOVATOR 40 • ภมู ิภาคอยูร่ อดได้ ประเทศไทยยัง่ ยืน (Innovation Regional) • ชูธงนวตั กรรมในทกุ พื้นที ่ “นวัตกรรม” ขมุ พลงั สู่ความเปลย่ี นแปลง • นวัตกรรมเพ่อื เศรษฐกจิ มุ่งเปา้ สู่อนาคต • พลกิ ประเทศไทย ด้วยนวัตกรรมเพอ่ื สังคม มุง่ สู่อนาคตแห่งนวตั กรรม • เทศกาลนวัตกรรม สร้างภาพลักษณ์ “ประเทศนวัตกรรม” • สถาบันการมองอนาคตนวัตกรรม

3 43 10 นวัตกรรม สู่ Paradigm ใหม่ นวัตกรรมเพ่ือสังคม สถาปัตยกรรม Social Innovation การเงนิ นวตั กรรม คณุ สฤณี อาชวานนั ทกุล Financial Architecture 50 44คณุ ปรญิ ญ์ พานิชภกั ดิ์ ตลาดนวัตกรรมภาครัฐ งานแห่งนวตั กรรม Government Market Innovation Workforce คุณพรษิ ฐ์ วชั รสนิ ธุ คุณภาณุวัฒน์ เบญ็ เราะมาน 62 56 นวัตกรรมเชงิ พ้ืนที่ นวัตกรรมท่ีจำ� เป็น Area-based Innovation ตอ่ การพัฒนาประเทศ Mandatory Innovation รศ.ดร.สมเจตน์ ทิณพงษ์ 68รศ.ดร.โคทม อารียา 74 การสร้างนวัตกร นวตั กรรม และวสิ าหกิจนวตั กรรม ท่ีขับเคลอ่ื นดว้ ยขอ้ มลู Entrepreneurship Data-driven Innovation and Innovative Enterprise 86ดร.ศักดิ์ เสกขนุ ทด คณุ กานต์ ตระกลู ฮนุ นวตั กรรมด้านกระบวนทัศน์ 80 Paradigm Innovation ผปู้ ระกอบการภายใน รศ.ดร.วรี ะพงษ์ แพสุวรรณ และผู้นำ� นวัตกรรม Entrepreneurship/Leadership 98 92คณุ พารณ อศิ รเสนา ณ อยธุ ยา

บทน�ำ “With great power comes great responsibility” หรอื “พลงั อนั ยงิ่ ใหญ่ มาพร้อมความรับผิดชอบอันใหญ่ย่ิง” น่าจะเป็นการอธิบายการท�ำงานของ หน่วยงานรัฐบาลในระดับนโยบายได้เป็นอย่างดี และนั่นคือเหตุผลของการ วางยทุ ธศาสตรร์ ะยะยาวอยา่ งรดั กมุ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ผลประโยชนส์ งู สดุ ตอ่ ประเทศ ชาติและประชาชน เช่นเดียวกับจดุ ก�ำเนิดของ สำ� นกั งานนวตั กรรมแหง่ ชาติ (องคก์ ารมหาชน) หรอื สนช. องคก์ รของเรากอ่ เกดิ ขน้ึ จากวสิ ยั ทศั นข์ องหนว่ ย งานระดับนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการวางยุทธศาสตร์ของประเทศ ท่ีผลักดัน ใหเ้ กดิ สนช.ข้นึ เพื่อมุง่ หมายให้ “นวัตกรรม” เปน็ เครอื่ งมอื ส�ำคญั ทีช่ ่วยยก ระดบั ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศไทยใหเ้ พมิ่ สงู ขนึ้ ดงั นน้ั เอง “ความรับผิดชอบอันยิ่งใหญ่” ท่ีสนช.มีต่อประเทศชาติ จึงเร่ิมต้นต้ังแต่วัน แรกเมื่อมีประกาศพระราชกฤษฎีกาจัดต้ัง “ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) จนกระท่ังครบรอบ 10 ปี อย่างเป็นทางการในวันที่ 2 กันยายน 2562 เราไมใ่ ชอ่ งคก์ รทม่ี อี ำ� นาจสง่ั การหรอื ควบคมุ ใดๆ แตเ่ ราไดว้ างบทบาทอยา่ ง ชัดเจนในการเป็น “สะพานเชอื่ ม” (System Integrator) ทกุ ภาคสว่ น ซ่งึ ประกอบด้วย ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคการศึกษาวิจยั ภาคสงั คม และภาค ส่ิงแวดล้อม ให้เสริมพลังซึ่งกันและกันในการสร้างระบบนวัตกรรมแห่งชาติ (National Innovation System, NIS) ให้แข็งแกรง่ เราเปน็ ท้งั พี่เล้ียงและ เพือ่ นของผู้ประกอบการ ไม่วา่ จะเป็น SMEs วสิ าหกจิ เร่ิมตน้ (Startup) รวม ทั้งบริษัทขนาดใหญ่ เราเป็นหน่วยปฏิบัติงานให้นโยบายเกิดผลลัพธ์เชิง รปู ธรรมในการโอบอมุ้ “นวตั กร” ในจดุ ทเ่ี หมาะสม และเรายงั เปน็ เบา้ หลอม ในการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยผสานทุกศาสตร์และศิลป์เพื่อให้คนไทย สรา้ งสรรคน์ วตั กรรมออกมาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง และผลกั ดนั ใหม้ มี าตรฐานทดั เทยี ม กับประเทศนวัตกรรมช้ันนำ� ระดบั โลก 4

อาจจะพดู ได้วา่ ภาระหน้าทอ่ี นั ย่ิงใหญ่ทเี่ รารับผดิ ชอบอยู่ จะใหญย่ ่งิ มากขึ้น ในอนาคต เพราะถนนของประชาคมโลกทุกสายต่างมุ่งหน้าสู่ยุคการปฏิวัติ อตุ สาหกรรมครงั้ ที่ 4 (INDUSTRY 4.0) นัน่ คือการพลิกโลกด้วยเทคโนโลยี และนวตั กรรม “ชาตแิ หง่ นวตั กรรม” คอื การประกาศเจตนารมณข์ องรฐั บาล ไทยในการก้าวสู่การแข่งขันท่ีน�ำทางด้วยนวัตกรรมเช่นเดียวกัน งานของ สนช. ทผ่ี า่ นมา เราไดผ้ ลกั ดนั ใหเ้ กดิ ระบบนเิ วศนวตั กรรมของชาตทิ แี่ ขง็ แกรง่ ตลอดมา ไม่ว่าจะเป็นการสนับสนุนทุนด้านนวัตกรรมแก่ผู้ประกอบการที่มี ศกั ยภาพ การตอ่ ยอดงานวจิ ยั เพอ่ื เชอื่ มโยงสรู่ ะบบธรุ กจิ ใหก้ อ่ เกดิ การแขง่ ขนั อย่างแท้จริง การบ่มเพาะผู้ประกอบการและสตาร์ทอัพให้เติบโตได้ท้ังใน ประเทศและก้าวสู่การแข่งขันในระดับโลก แต่สิบปีท่ีผ่านมา เราตระหนัก เสมอว่าน่นั เป็นเพียงการเร่ิมตน้ เทา่ น้นั บทบาทท่ีส�ำคัญกว่าคือการมุ่งหน้าสู่อนาคต เนื้อหาในหนังสือ “Toward Innovation Nation” ท่ีจัดท�ำขึ้นในวาระครบรอบ 10 ปี สนช. ในครั้งนี้ จะนำ� เสนอใหเ้ หน็ “ภาคตอ่ ” ของภาพยนตรเ์ รอ่ื ง “ระบบนวตั กรรมแหง่ ชาต”ิ ทเี่ ราไดก้ า้ วผา่ นมา นนั่ คอื เราไดก้ ำ� หนด 10 ประเดน็ นวตั กรรม ทเี่ ปน็ ประเดน็ ท้าทายในอนาคต เป็นเป้าหมายที่เราต้องผลักดันต่อไปอย่างมุ่งมั่น โดยทั้ง 10 ประเด็น ได้รับการวิเคราะห์ถึงแนวโน้มและทิศทางความเป็นไปได้ใน อนาคต จากผู้เชี่ยวชาญในศาสตร์แต่ละแขนง 10 ท่าน เป็นองค์ความรู้ที่ สะท้อนให้เห็นโอกาสและความเป็นไปได้ของประเทศไทยในระยะยาว และ เปน็ ทศิ ทางทส่ี นช. จะใชเ้ ปน็ เปา้ หมายในการสรา้ ง “ประเทศแหง่ นวตั กรรม” ซึ่งเปน็ ความรบั ผดิ ชอบอนั ย่ิงใหญ่ทเี่ ราภมู ใิ จเสมอมา ดร.พนั ธอุ์ าจ ชัยรตั น์ ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั งานนวตั กรรมแห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) 5

2551 ส่งเสริมนวตั กรรมรายสาขาอตุ สาหกรรม 3 กลุ่มหลกั กลุ่มธุรกจิ ชวี ภาพ, กลมุ่ อตุ สาหกรรมเชิงเศรษฐนเิ วศ และ กลุม่ การออกแบบเชิงนวตั กรรม 2541-2545 2550 ยุคท่ี 1 กอ่ ตัง้ กองทนุ พฒั นานวัตกรรม ร่วมกบั มหาวทิ ยาลัย รามคำ� แหง จัด 2541 2542 2549 หลกั สูตรมหาบัณฑิต คณะกรรมการ คณะรฐั มนตรี สาขาการจดั การ จัดงานเชดิ ชเู กียรติ ปรับโครงสรา้ งและ เหน็ ชอบและ นวัตกรรม และ “เมธีสง่ เสริมนวตั กรรม” เพม่ิ ขีดความสามารถ แตง่ ต้งั กรรมการ หลกั สตู ร “ธุรกิจ และจัดงาน ในการแข่งขนั ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิใน “ตลาดนวตั กรรม” เหน็ ชอบเสนอข้ันตอน คณะกรรมการ เทคโนโลยีและการ ร่วมมือระหวา่ ง จัดตง้ั กองทนุ พัฒนา บริหารกองทุน จัดการนวัตกรรม” สนช., วช., สสว. นวตั กรรม พฒั นานวตั กรรม ระดับมหาบณั ฑิตและ ดษุ ฎีบัณฑติ รว่ มกับ 2546-47 2543 จฬุ าลงกรณ์ คณะรฐั มนตรมี มี ติ ก�ำหนดกรอบนโยบาย มหาวิทยาลัย จดั ตัง้ “สำ� นักงาน สนบั สนุนเงินแก่เอกชน นวัตกรรมแหง่ ชาติ แบง่ เป็นสนับสนุน 2548 (สนช.)” เปน็ หน่วย โครงการ และ งานในกำ� กับของ สนับสนนุ ด้านวชิ าการ รเิ รมิ่ จดั ประกวด กระทรวงวิทยาศาสตร์ รางวลั นวตั กรรม และเทคโนโลยมี รี ะบบ แห่งชาติ และจดั งาน บรหิ ารงานที่เป็น อิสระจากระบบ ประชมุ ระดับ ราชการ นานาชาติดา้ นการ จดั การนวัตกรรม 2546-2551 2545 ยุคที่ 2 เชอ่ื มโยงการพัฒนา สู่การเปน็ สำ� นักงาน โครงการนวตั กรรม นวัตกรรมแห่งชาติ กับ ANVAR ประเทศฝร่งั เศส 2544 พฒั นาฐานขอ้ มูลนวัตกรรม ทัง้ ฐานขอ้ มูลโครงการ และฐานข้อมูลของหน่วยงานท่มี ผี เู้ ชย่ี วชาญ ในประเทศไทย 6

2560-2562 ยคุ ท่ี 4 “นวตั กรรม” คือยทุ ธศาสตร์ชาติ 2559 เน้นกลยทุ ธน์ วัตกรรม 2552-2559 มุ่งเปา้ , กลยทุ ธ์ นวตั กรรมแบบเปดิ , ยุคท่ี 3 กา้ วสู่องค์การมหาชน กลยทุ ธน์ วตั กรรม เพือ่ ความย่งั ยืน 2552 2558 ประกาศพระราช ไดร้ ับรางวลั บรกิ าร 2560 ส่งเสรมิ วิสาหกิจ กฤษฎกี าจดั ต้งั ภาครฐั แห่งชาติ เริ่มต้น เพ่อื เป็นนกั รบ “สำ� นกั งานนวัตกรรม ประเภทบรู ณาการ แห่งชาติ องค์การ การบรกิ ารเปน็ เลศิ ทางเศรษกจิ ใหม่ มหาชน” และได้รับ ผ่านงาน Startup รางวลั หน่วยงานดีเด่น 2557 ของชาติ สาขาพฒั นา Thailand เศรษฐกจิ เข้ารว่ มประกวดรางวัล ระดับนานาชาตแิ ละ 2553 ไดร้ บั รางวัลเหรียญทอง ริเริ่มผลักดันโครงการ จากการประกวดรางวลั “อทุ ยยานนวตั กรรม” 2556 “42th international (Innovation Park) Exhibition of Inventions of 2554 เดนิ หนา้ นวตั กรรม Geneva” ณ กรงุ เจนีวา 2561 เชงิ ยุทธศาสตร์ สวิสเซอรแ์ ลนด์ เกิดโครงการ “คูปอง 5 โครงการ และ ไดร้ ับรางวัลระดับโลก นวตั กรรมส�ำหรบั ส่งเสรมิ โครงการ 2 รางวัล ไดแ้ ก่ ผปู้ ระกอบการ” “นวัตกรรมเชิงพน้ื ท่”ี ผลักดันกลุ่มผู้ให้ The GovInsider บรกิ ารปรึกษาดา้ น Innovation Awards นวตั กรรม Spring ร่วมกบั สถาบัน สาขา Rising Star การเงิน 9 แหง่ และ The World Most Important Innovation Lab 2555 2562 สนบั สนุนทางวชิ าการและการเงนิ ในโครงการ ก้าวสกู่ ารเป็น “ทุนเครอื ข่ายวสิ าหกจิ นวัตกรรม” System Integrator โครงการ “แปลงเทคโนโลยเี ป็นทนุ ” และโครงการ “นวตั กรรมด.ี ..ไม่มดี อกเบี้ย” อย่างเต็มรูปแบบ 7

8

1 “นวตั กรรม” สำ� คญั ต่อประเทศไทย อยา่ งไร เราจะกา้ วสกู่ ารเปน็ ประเทศแหง่ นวตั กรรมไดอ้ ยา่ งไร หากไมเ่ ขา้ ใจ รากเหง้า ตวั ตน และววิ ัฒนาการของ “นวตั กรรม” ในหลากหลาย บรบิ ทของประเทศไทย เราจะมคี นร่นุ ใหมท่ ี่เรยี กวา่ Gen M ทม่ี ี คณุ ภาพไดอ้ ยา่ งไร หากไมม่ คี นยคุ Baby Boom ทแ่ี ผว้ ถางหนทาง สร้างสรรค์ให้ประเทศไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่อันดับต้นๆ ของโลก เช่นเดียวกับพัฒนาการของส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.) ทเ่ี ตบิ โตเขา้ สปู่ ที ี่ 10 ในปี 2562 มจี ดุ ยนื ในการสรา้ งความแขง็ แกรง่ ในการทำ� งานเชงิ ระบบ เพอื่ ฟมู ฟกั ใหเ้ กดิ ระบบนวตั กรรมแหง่ ชาติ (National Innovation System, NIS) ทง้ั ในระดบั นโยบาย ระดบั สาขาอุตสาหกรรม ระดับผู้ประกอบการและระดับประชาชนแต่ กว่าท่ี สนช.จะก้าวมาถึงทุกวันนี้ ตลอดเส้นทางการเรียนรู้และ เติบโต เต็มไปด้วยเหตุการณ์ส�ำคัญและบุคลากรผู้เปี่ยมคุณูปการ ตอ่ องคก์ ร สมควรบันทึกไวเ้ ป็นบทเรยี นท่ที รงคณุ คา่ เพื่อยา่ งก้าว ส่อู นาคตได้อย่างกล้าหาญและม่ันคง ยคุ ที่ 4 ยุคท่ี 3 ยคุ ที่ 2 ยุคที่ 1 9

ยคุ ท่ี 1 2541-2545 10 กอ่ ต้ังกองทุน พัฒนานวัตกรรม ย้อนกลับไปในปี 2540 กอ่ นหน้าจุดกำ� เนดิ ของส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.) เพยี งหนงึ่ ปี ในชว่ งเวลานน้ั เกดิ วกิ ฤตในระดบั โลกทเ่ี ปน็ แรงกระแทกขนาดใหญห่ ลาย ตอ่ หลายระลอก ที่เหวี่ยงให้ประเทศไทยซวนเซเสียหลักจนแทบลุกไมข่ ้นึ โดยมลู เหตุ ส�ำคัญมาจากความกดดันจากกฎเกณฑ์และระเบียบการค้าใหม่ของโลก แต่มรสุม เศรษฐกจิ ครง้ั รา้ ยแรงทสี่ ดุ คอื “วกิ ฤตติ ม้ ยำ� กงุ้ ” ทท่ี ำ� ใหเ้ ศรษฐกจิ ทงั้ ระบบของประเทศ ชะลอตัว ดลุ บญั ชเี ดนิ สะพดั ขาดดลุ อยา่ งหนกั สถาบนั การเงินทยอยปดิ ตวั ไปกว่าห้า สบิ แหง่ จนทา้ ยท่สี ุดรฐั บาลต้องกยู้ มื จากกองทนุ การเงนิ ระหว่างประเทศ และรบั เงนิ ช่วยเหลือจากองคก์ รระดบั โลกอีกหลายแห่ง มูลเหตุที่เป็นรากเหง้าความเปราะบางทางโครงสร้างของระบบเศรษฐกิจและสังคม ไทย คือการขาดความสามารถในการแข่งขนั ในภาคการผลติ ของประเทศไทย ซง่ึ เกดิ จากการไมใ่ หค้ วามสำ� คญั ตอ่ การปรบั โครงสรา้ งความผลติ ใหม้ มี ลู คา่ เพมิ่ สงู ขน้ึ ตลอด ระยะเวลายาวนานทผ่ี ่านมา เราเป็นเพยี งประเทศทเี่ ป็นฐานการรบั จ้างผลติ มาตง้ั แต่ ราวๆ ปี 2523 แนวคดิ ในเรอ่ื งของ “นวตั กรรม” ยงั ไมเ่ คยปรากฏอยา่ งชดั เจนในสงั คม ไทย เป็นแต่เพียงเร่ืองของการวิจัยและพัฒนาท่ีเกิดข้ึนน้อยมาก ไม่ว่าจะในภาครัฐ หรือบริษัทใหญๆ่ ของเอกชน ย่ิงประสบปญั หาวกิ ฤติเศรษฐกจิ ในปี 2540 ยิ่งท�ำให้ ทกุ อยา่ งชะงักงนั ทงั้ ระบบ ภาครัฐไม่ได้นิ่งนอนใจต่อสภาวการณ์คับขันที่เกิดขึ้น หน่วยงานระดับนโยบายที่ เกยี่ วขอ้ งกับการวางยทุ ธศาสตร์ของประเทศ ไดร้ ะดมสมองจนก่อเกดิ คณะกรรมการ นโยบายกองทุนและคณะกรรมการจัดการกองทุนเพ่ือการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ (กปพ.) โดยมีมีส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง และส�ำนักงานคณะ กรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาตเิ ปน็ ฝา่ ยเลขานกุ าร ผลงานชนิ้ สำ� คญั ของกปพ. ในระยะแรกคือช่วงปี 2541 - 2542 คือการผลักดันให้เกิดการจัดต้ัง “กองทุนพัฒนานวัตกรรม” (กพน.) อยู่ภายใต้การดูแลของส�ำนักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) การถอื กำ� เนดิ ขนึ้ ของ กพน. นบั เปน็ ปรากฎการณค์ รงั้ แรกของประเทศ ทร่ี ฐั มนี โยบาย ท่ีชัดเจน ในการสนับสนุนการพัฒนานวัตกรรมที่สอดคล้องกับความต้องการของ ประเทศอยา่ งแทจ้ รงิ

โลโก้กองทุนพัฒนานวตั กรรม ช่วงปี 2541-2545 เพ่ือให้กพน.มีความชัดเจนและแตกต่างจากกองทุนอ่ืนของสวทช. รวมทั้งมีอ�ำนาจ หนา้ ทใี่ นการเสนอแนะนโยบายและมาตรการพฒั นานวตั กรรมตอ่ กปพ. เพอ่ื ใหค้ วาม เหน็ ชอบ คณะรฐั มนตรจี งึ มมี ตแิ ตง่ ตงั้ กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ 8 ทา่ น ในคณะกรรมการ บริหารกองทุนพัฒนานวัตกรรม โดยมี ดร.จิรายุ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา เปน็ ประธาน กรรมการ และในเวลาต่อมาได้มีการสรรหาผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคณะกรรมการ บริหารกพน. และมีมติเห็นชอบแต่งต้ัง คุณธีระ พงศ์อนันต์ ให้ด�ำรงต�ำแหน่งเป็น ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคณะกรรมการบริหารกองทุนพัฒนานวัตกรรมเป็นคนแรก โดยปลัดกระทรวงการคลงั คุณศภุ ชัย พิศิษฐวานิช ไดอ้ นมุ ัติเงนิ จ�ำนวน 100 ล้าน บาท เพอ่ื เป็นทุนประเดมิ แก่ กพน. ในงวดแรก “ต้องเชื่อมใหค้ นท่ีไมม่ คี วามรทู้ างวิชาเทคนคิ กับคนที่ท�ำธุรกิจ อยูเ่ ช่อื มกนั ได้ ใหง้ าน ทางเทคนิคเทคโนโลยี เขา้ ไปสรู่ ะบบการผลติ เม่อื ไหร่เกดิ การผลิตจริงจนกระทง่ั ขาย และไดเ้ มด็ เงนิ ถงึ จะถือว่ามนี วตั กรรมเกิดข้นึ ” ดร.กอปร กฤตยากรี ณ หน่ึงในคณะ กรรมการบริหารกพน. เคยอธบิ ายไว้ถงึ การให้เงินสนบั สนนุ แก่เอกชนในโครงการท่ีมี การพัฒนานวัตกรรมเพื่อน�ำไปใช้ในเชิงพาณิชย์ ท้ังในเรื่องการบุกเบิกหรือปรับปรุง ผลติ ภณั ฑ์ การผลติ หรอื สง่ มอบผลติ ภณั ฑใ์ หด้ ขี น้ึ และเปน็ โครงการหรอื กลมุ่ โครงการ ที่จะมีผลกระทบในทางท่ีดีต่อภาคการผลิต การค้า การลงทุน การจัดการ และ การตลาดอย่างชดั เจน 11

ยคุ ที่ 2 2546-2551 12 จากกองทนุ นวตั กรรม สู่ส�ำนักงาน นวตั กรรมแห่งชาติ ภายหลังจากการทำ� งานของกพน. ท่มี ุ่งอัดฉดี เงนิ ให้ภาคเอกชน SME และผปู้ ระกอบ การตา่ งๆ มาตงั้ แตป่ ี 2542 ไดม้ คี วามเปลยี่ นแปลงครงั้ ใหญเ่ กดิ ขนึ้ อกี ครงั้ โดยผบู้ รหิ าร และภาคีเครือข่ายท่ีเกี่ยวข้อง ได้ตระหนักว่าควรมีระบบอื่นๆ เข้ามาสร้างกลไกที่ ทำ� ให้เกดิ การทำ� งานในเชิงรกุ มากขึ้น รวมท้งั กพน.เอง ควรมีการท�ำงานทเ่ี ป็นอิสระ เพอ่ื รบั มือกับความเปล่ียนแปลงแบบก้าวกระโดดในระดบั โลก ในทส่ี ดุ เมอ่ื วนั ท่ี 26 สงิ หาคม 2546 คณะรฐั มนตรไี ดม้ มี ตจิ ดั ตงั้ “สำ� นกั งานนวตั กรรม แห่งชาติ (สนช.)” สงั กดั กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มรี ะบบบรหิ ารงานท่ี เป็นอิสระจากระบบราชการ และมีบทบาทเชิงรุกท่ีกว้างขวางครอบคลุมกว่า กพน. และมีเป้าหมายส�ำคญั คือการสนบั สนนุ เชอื่ มโยง และประสานทุกภาคส่วนในสงั คม ให้มุ่งไปสู่ระบบนวัตกรรมแห่งชาติ โดยมีผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ คนแรกคอื คณุ ศุภชยั หลอ่ โลหการ แนวทางการท�ำงานของ สนช.ในระยะแรก เน้นพัฒนาโครงการนวัตกรรมเชิง ยุทธศาสตร์ 5 สาขา คือ อาหารและสมุนไพร ยางและผลิตภัณฑ์ยางและ ไมย้ างพารา ซอฟตแ์ วร์และแมคาทรอนกิ ส์ ยานยนต์และช้ินส่วน และการออกแบบ เชงิ วศิ วกรรมและเชงิ อตุ สาหกรรม ซง่ึ ตลอดระยะเวลาในการสนบั สนนุ ทนุ จาก กพน. เรียกได้ว่ามีทั้งโครงการท่ีประสบความส�ำเร็จและล้มเหลว จากบทเรียนท่ีเกิดข้ึน ท�ำให้ สนช. มองเห็นแนวทางในการแก้ปัญหาในเชงิ รกุ นนั่ คือการจดั หาผ้เู ชีย่ วชาญ ด้านเทคนิค ควบคู่กับด้านการเงิน ให้มีช่องทางในการร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรม เพอื่ ศกึ ษาวา่ เทคโนโลยใี ดท่ภี าคเอกชนควรลงทนุ และท่ีส�ำคญั คอื การมตี ลาดรองรับ ในช่วงท้ายๆ ของยุคที่สองผู้ที่ก้าวเข้ามารับต�ำแหน่งประธานกรรมการนวัตกรรม แห่งชาติคือ ดร.สุจินดา โชติพานิช ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และมุ่งม่ันในการกระตุ้นให้เกิดการสร้างกลไกเพ่ือช่วยสนับสนุนเงินทุนและร่วมรับ ความเส่ยี งกับภาคเอกชน

พระบิดาแหง่ นวตั กรรมไทย เปน็ ช่วงเวลาที่ สนช.ก้าวขา้ มบทบาทจากการเป็นองคก์ รที่เนน้ การ รางวลั นวัตกรรมแห่งชาติ ปี 2550 สนบั สนนุ ทนุ เขา้ มาสกู่ ารทำ� หนา้ ทเ่ี ชอ่ื มโยงประสานกลมุ่ ผปู้ ระกอบ การและและสถาบันที่เกี่ยวข้อง ให้เกิดความร่วมมือและส่งเสริม กิจการซ่ึงกันและกันอย่างครบวงจร เช่น ผลักดันให้เกิดความร่วม มือระหว่างเครือข่ายของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ราชมงคล รวมทั้ง โครงการวิจัยเฉพาะทาง ที่มุ่งหวังการจับคู่ธุรกิจกับงานวิจัย สนช. เอง ไดท้ ำ� ความตกลงกบั ภาคเอกชนหลายแหง่ เพอ่ื พฒั นานวตั กรรม ออกสตู่ ลาด และเดนิ หนา้ สรา้ งเครอื ขา่ ยนวตั กรรมอยา่ งตอ่ เนอื่ ง โดย ไดร้ บั ความรว่ มมอื จากหนว่ ยงานทงั้ ภาครฐั และเอกชน รวมทงั้ สรา้ ง เครอื ขา่ ยธรุ กจิ นวตั กรรมทมี่ งุ่ พฒั นานวตั กรรมในภมู ภิ าคทว่ั ประเทศ พฒั นาการอกี เรอ่ื งหนงึ่ ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ความชดั เจนในเชงิ ยทุ ธศาสตร์ ของสนช. คือการเน้นนวัตกรรมเชิงยุทธศาสตร์และนวัตกรรมราย สาขาอุตสาหกรรมรว่ มกบั เอกชนใน 3 กล่มุ หลกั นน่ั คือกลุม่ ธุรกิจ ชีวภาพ (Bio-Business) กลุ่มอุตสาหกรรมเชิงเศรษฐนิเวศ (Eco - Industry) และกลมุ่ การออกแบบเชิงนวัตกรรม (Design & Solutions) เพราะท้ังสามกลุ่มนวัตกรรมนี้ตอบโจทย์ทั้งในด้าน ศักยภาพของตัวนวัตกรรมเอง และสามารถสร้างมูลค่าได้ตรงตาม ความตอ้ งการของตลาดอยา่ งแทจ้ ริง 13

ยคุ ที่ 3 2552-2561 กา้ วสู่ องคก์ ารมหาชน ผลจากการสร้างมุ่งสร้างระบบนิเวศนวัตกรรมแห่งชาติมาอย่างยาวนาน ท�ำให้ ในปี 2552 สนช. มีการขยายงานอย่างครอบคลุมและได้รับการยอมรับในวงกว้าง กลุ่มผู้ประกอบการในทุกภาคส่วนที่เป็นภาคีเครือข่ายของสนช. มีความตระหนักรู้ ในเร่ืองการสร้างสรรค์นวัตกรรมเพ่ิมมากข้ึน สอดรับกับแรงเหวี่ยงคร้ังใหญ่ที่ส่งผล กระทบต่อของประเทศ ที่เกดิ จากความเปลยี่ นแปลงในยคุ ดิจิทลั ดสิ รปั ชน่ั อยา่ งเต็ม รปู แบบ ภาคเอกชนรายใหญ่ของประเทศมีความเข้มแขง็ และมุ่งสรา้ งนวัตกรรมของ ตนเอง บทบาทของ สนช. เขา้ สรู่ ูปแบบ “การเป็นเพือ่ นกบั ผู้ประกอบการ” ทุกภาค ส่วนหันมามาจับมือกันโดยมี สนช. ท�ำหน้าท่ีเป็นโซ่ข้อกลางท่ีเช่ือมประสานและ สนับสนนุ ดา้ นนวัตกรรมในทกุ มติ ิ ทา่ มกลางพฒั นาการทแ่ี ขง็ แกรง่ อยา่ งรอบดา้ นทเี่ กดิ ขนึ้ จงึ เปน็ ชว่ งเวลาอนั เหมาะสม ทเี่ ทยี บเทา่ กบั จดุ กำ� เนดิ ทแี่ ทจ้ รงิ ของ สนช. คอื มกี ารประกาศพระราชกฤษฎกี าจดั ตง้ั “สำ� นกั งานนวัตกรรมแห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) ในวันท่ี 2 กนั ยายน 2552 สง่ ผลให้ สนช. กลายเปน็ องคก์ ารมหาชนตามกฎหมายวา่ ดว้ ยองคก์ ารมหาชน โดยมสี ถานภาพ เป็นนิติบุคคลเต็มตัว และมีอ�ำนาจหน้าท่ีตามกฎหมายอย่างชัดเจน มุ่งสู่การสร้าง อตุ สาหกรรมใหมเ่ พอื่ ยกระดบั จากหว่ งโซอ่ ปุ ทานไปสหู่ ว่ งโซม่ ลู คา่ เพอื่ ใหป้ ระเทศไทย เพิม่ ศักยภาพความไดเ้ ปรยี บในการแขง่ ขนั 14

บรรยากาศภายในอุทยานนวตั กรรม สำ� นกั งานนวตั กรรมแห่งชาติ ประกอบกันในช่วงปี 2552 - 2553 สนช. ได้ผู้บริหารระดับสูงของธนาคารกรุงเทพ อย่าง คุณโฆษิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ มาน่ังเป็นประธานกรรมการ และได้แสดงทัศนะ เก่ียวกับบทบาทส�ำคัญของนวัตกรรมในฐานะเครื่องมือส�ำคัญในการขับเคล่ือน เศรษฐกิจของประเทศไวว้ า่ “ในสภาวะทีแ่ ตล่ ะประเทศมกี ารพัฒนาข้ึนเรอ่ื ยๆ การท่ี จะแขง่ ขนั ใหไ้ ดส้ ำ� เรจ็ มนั อยตู่ รงเรอ่ื งนวตั กรรมนแ่ี หละ เพราะนวตั กรรมเปรยี บเสมอื น พลงั ขบั เคลอื่ นทสี่ ำ� คญั ของประเทศไทย ยงิ่ ประเทศทมี่ กี ารพฒั นามากเทา่ ไหร่ กย็ งิ่ ใช้ นวัตกรรมมากข้ึน” ในยคุ ทส่ี ามของ สนช. จึงแทบจะพูดได้วา่ เป็นยคุ ของการทรานสฟ์ อรเ์ มชั่น คร้งั ใหญ่ เพื่อต่อยอดจากฐานการเติบโตเดิม ที่ได้ก่อเค้าระบบนิเวศนวัตกรรมแห่งชาติไว้ อย่างเป็นรูปเป็นร่างแล้ว เร่ิมมีนโยบายในการสนับสนุนระบบนวัตกรรมแบบเปิด (Open Innovation) เพื่อนำ� องคค์ วามรทู้ ้งั ในและต่างประเทศมาประยกุ ต์ใช้ ขยาย ความร่วมมือกับภาคเอกชนท้ังในระดับส่วนกลางและภูมิภาคผ่านเครือข่ายธุรกิจ นวัตกรรม เพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมที่เหมาะสมและมีศักยภาพต่ออุตสาหกรรมของ ประเทศ นอกจากนน้ั ยงั กระตนุ้ ใหเ้ กดิ วฒั นธรรมนวตั กรรมอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เชน่ การจดั “รางวัลนวัตกรรมแห่งชาติ” และ “โครงการนวัตกรรมข้าวไทย” ตลอดจนสร้าง “อทุ ยานนวตั กรรม” เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ศนู ยก์ ลางทเ่ี ชอ่ื มโยงทกุ ภาคสว่ นในการพฒั นาระบบ นวตั กรรมของไทย การยกระดบั นวตั กรรมเหลา่ นท้ี ำ� ใหเ้ กดิ บรรยากาศความตน่ื ตวั และ การการสร้างเครอื ขา่ ยและเช่ือมโยงความรว่ มมอื ด้านนวตั กรรมอยา่ งกว้างขวาง 15

ทิศทางของการก�ำหนดแผนยุทธศาสตร์ในยุคท่ีสามของ สนช. มีความชัดเจนมาก ย่งิ ขึน้ ในช่วงเวลาระหวา่ งปี 2554 - 2556 ประกอบกับผู้ท่ที ำ� งานในระดับนโยบาย รบั หน้าทเี่ ป็นประธานกรรมการ สนช. โดยตรง คอื คณุ พรชัย รจุ ปิ ระภา ซ่ึงในขณะ น้ันด�ำรงต�ำแหน่งปลดั กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ดงั นนั้ เองทง้ั ยทุ ธศาสตร์ และแผนงานขององคก์ รจงึ เขม้ ขน้ มากยง่ิ ขนึ้ ทง้ั การเตรยี มพรอ้ มผปู้ ระกอบการในการ ก้าวเข้าสู่การแข่งขันในระดับประชาคมอาเซียน (AEC) ผ่านโครงการนวัตกรรมเชิง ยุทธศาสตร์ ซ่ึงจะนำ� พาให้ผู้ประกอบการไทยยกระดบั ไปสู่การสรา้ งหว่ งโซ่มูลค่าใหม่ ตลอดจนสนับสนุนนวัตกรรมรายสาขาอุตสาหกรรมใน 3 สาขาหลัก ที่ท�ำมาอย่าง ต่อเนือ่ ง และเรมิ่ ตน้ ยทุ ธศาสตรใ์ นการสนบั สนนุ โครงการนวตั กรรมเชงิ พ้ืนท่ี ความชดั เจนของแผนยทุ ธศาสตรข์ อง สนช. ทำ� ใหใ้ นปี 2558 เกดิ ผลงานทเ่ี ปน็ รปู ธรรม ความสำ� เร็จหลายประการ โดย ดร.พนั ธ์ุอาจ ชยั รัตน์ ได้เขา้ รับต�ำแหน่งผูอ้ �ำนวยการ สนช. ในช่วงเวลาน้ัน โดยมุ่งสู่การขับเคล่ือนธุรกิจนวัตกรรมด้วยการประสานความ รว่ มมอื จากทุกภาคสว่ น ทัง้ ผปู้ ระกอบการ สถาบนั การศึกษา องคก์ รวิจัยต่างๆ เพ่ือ พัฒนานวัตกรรมรูปแบบธุรกิจ เพ่ือสนับสนุนให้ผู้ประกอบการไทยร่วมกับสร้าง “ระบบนวตั กรรมแหง่ ชาต”ิ และมคี วามไดเ้ ปรยี บเชงิ การแขง่ ขนั ในระดบั สากลไดอ้ ยา่ ง แทจ้ รงิ การปรบั โครงสรา้ งนวตั กรรมของประเทศใหไ้ ดผ้ ลอยา่ งยงั่ ยนื ปรากฎเปน็ แผน ยุทธศาสตร์ผ่านโครงการนวัตกรรมเชิงพ้ืนท่ี และโครงการย่านนวัตกรรม เพ่ือเป็น การยกระดับระบบนิเวศนวัตกรรมเชิงพ้ืนที่ ท�ำให้เกิดความประสานความร่วมมือ จากภาครัฐ เอกชน ภาคธุรกิจและชมุ ชน โดยมี รศ.ดร.สมเจตน์ ทิณพงษ์ ผูม้ ีความ เชี่ยวชาญในเรือ่ งนวัตกรรมเชิงพ้ืนที่ รับต�ำแหน่งเป็นประธานกรรมการ สนช. ในช่วง ระยะปี 2557 - 2560 16

ในช่วงท้ายของยุคที่สาม บทบาทหน้าที่ของสนช. เปรียบเสมือนผู้ท่ีท�ำการลากเส้น ต่อจุด เพื่อเชื่อมโยงทุกภาคส่วนในระบบนิเวศนวัตกรรมเข้าด้วยกัน โดยต้ังแต่ ปี 2561 มีประธานกรรมการสนช.คือ ดร.วีระพงษ์ แพสุวรรณ ผู้เห็นภาพรวม ของการเปลี่ยนแปลงเชิงกระบวนทศั นข์ องสังคมได้อย่างชดั เจน เรมิ่ มสี สี นั ของผเู้ ล่น หนา้ ใหมๆ่ เชน่ กลุ่มวิสาหกจิ เรม่ิ ตน้ (Startup) ที่ สนช.ใหก้ ารสนับสนุนอยา่ งเต็มท่ี โดยเร่งทำ� งานผา่ นกลยทุ ธส์ �ำคัญ 3 ประการ คือกลยุทธก์ ารพฒั นานวตั กรรมมงุ่ เปา้ กลยุทธ์นวัตกรรมแบบเปิด และกลยุทธ์นวัตกรรมเพื่อความย่ังยืน เกิดโครงการเพ่ือ เปิดพื้นท่ีให้กับสตาร์ทอัพ ผ่านโครงการ National Startup Thailand เพ่ือระดม สตาร์ทอัพทั้งในและต่างประเทศให้เข้ามาร่วมแสดงศักยภาพในงาน Startup Thailand นอกจากนั้น สนช. ยังได้ร่วมมือกับหน่วยงานสตาร์ทอัพในต่างประเทศ ด�ำเนินงานด้าน Acceleration Program เพ่ือให้ผู้ประกอบการไทยก้าวข้ามกรอบ เชิงพ้ืนที่ และเติบโตสู่ระดับสากลแบบก้าวกระโดด ผลงานเหล่าน้ีล้วนเป็นองค์ ประกอบทมี่ งุ่ สกู่ ารยกระดบั นวตั กรรมของประเทศ และมงุ่ สกู่ ารสรา้ งระบบนวตั กรรม แห่งชาติอยา่ งย่งั ยืน 17

ยคุ ท่ี 4 2562-2565 18 เม่อื “นวัตกรรม” คือ ยุทธศาสตรช์ าติ ความท้าทายครั้งใหญ่ของ สนช. ในการเติบโตสู่ปีที่ 10 มาพร้อมกับโจทย์ใหญ่ของ ประเทศ เม่ือรฐั บาลได้ชูธงด้าน “นวัตกรรม” ไว้ในนโยบายการพัฒนาและการปฏิรูป ประเทศที่ส�ำคัญหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (2561 - 2580), นโยบายประเทศไทย 4.0, รวมทั้งแผนพัฒนานโยบายและแผนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ฉบับท่ี 1 (2555 – 2564) ด้วยเหตุน้ี สนช. จึง ต้ังเป้าหมายในการขานรับนโยบายของรัฐบาลให้ครอบคลุมทุกยุทธศาสตร์ เพื่อให้ สอดคลอ้ งกบั เป้าหมายระยะยาวของรัฐบาล “ประเทศแห่งนวตั กรรม” (Innovation Nation) คอื หมดุ หมายท่ี สนช. วางกรอบ แผนการด�ำเนินงานไว้ในช่วงปี 2562 – 2565 เพ่ือเพิ่มขีดความสามารถในการ สรา้ งสรรคน์ วตั กรรมเพอื่ รบั มอื กบั ความเปลยี่ นแปลงทง้ั ดา้ นเศรษฐกจิ และสงั คม และ ตอบโจทย์กับประเด็นท้าทายต่างๆ ท่ีไม่อาจรับมือได้ด้วยการตั้งรับเพียงอย่างเดียว เหมือนที่แล้วมา ดังที่ ดร.พันธุ์อาจ ชัยรัตน์ ผอ.คนปัจจุบันได้แสดงวิสัยทัศน์ว่า “เป็นยุคท่ีส�ำนักงานฯ ต้องตอบค�ำถามการปฏิรูปประเทศตามนโยบายของรัฐบาล เพราะโจทย์ใหญ่เร่ืองหน่ึงท่ีอยู่ในนโยบายของประเทศ คือ “นวัตกรรม” ซ่ึงเป็น สิ่งส�ำคัญมาก เพราะฉะนั้นเราต้องเปิดหน้าท�ำงานให้มีความหลากหลาย และ ครบเครอื่ ง ทำ� งานกบั นานาชาติ ทำ� งานกบั บรษิ ทั ขนาดใหญ่ บรษิ ทั ขา้ มชาติ สตารท์ อพั ท�ำการพัฒนาภูมิภาค ดูแลคนเรื่องความเหล่ือมล�้ำ นวัตกรรมจะเป็นเหมือนยาด�ำ ทีแ่ ทรกเขา้ ไปทุกที่ เพราะฉะนน้ั สนช.จะตอ้ งเลน่ บทบาทท่ีส�ำคญั มากขนึ้ ” โดยขอบเขตของยทุ ธศาสตร์ 4 ดา้ นท่วี างแผนไว้ ครอบคลมุ ประเด็นทีท่ ้าทายความ คิดสร้างสรรค์และความร่วมมือของทุกภาคส่วนในประเทศ น่ันคือการสร้างความ เข้มแขง็ ระบบนวตั กรรม โดย สนช. จะท�ำหนา้ ท่เี ป็นเหมอื น (System Integrator) ให้เกิดการเชื่อมโยงภาคเอกชน ภาครัฐ การศึกษาและสังคม ท้ังในส่วนกลางและ ส่วนภูมิภาค รวมท้ังเร่งพัฒนาผู้ประกอบการนวัตกรรมเพื่อสร้างระบบนวัตกรรมที่ เขม้ แขง็ จากพ้ืนฐาน

สงิ่ สำ� คญั อกี เรอื่ งหนงึ่ คอื สภาพแวดลอ้ มทเ่ี ออื้ ตอ่ การเปลยี่ นแปลงทางนวตั กรรม สนช. เล็งเห็นว่าในการจะสร้างนวัตกรรมท่ีน�ำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและ สังคม จ�ำเป็นต้องมีเครื่องมือและกลไกสนับสนุน รวมท้ังพัฒนาสภาพแวดล้อม ทเี่ อือ้ ต่อการเติบโตและเปลยี่ นแปลงทางนวัตกรรม นอกจากน้ีต้องกระตุ้นและส่งเสริมให้เกิดการ สร้างคุณค่าใหม่ทางนวัตกรรม เพื่อ เตรียมความพร้อมและยกระดับศักยภาพทางนวัตกรรมส�ำหรับอนาคต ท้ังในระดับ บุคคล องค์กรและประเทศ ผ่านการสร้างการรับรู้ องค์ความรู้และเครื่องมือทาง นวัตกรรม เรายังไม่หลงลืมท่ีจะพัฒนาสู่องค์กรแห่งนวัตกรรม เพราะในการจะท�ำ หน้าทเ่ี ปน็ ได้อยา่ งสมบูรณ์นน้ั ตอ้ งเร่มิ จากตวั ตนของ สนช. เอง ทต่ี อ้ งพัฒนาไปสู่ การเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรม เพ่ือสร้างความเข้มแข็งและการเติบโตภายในองค์กร อย่างม่นั คง 10 ปี ทผี่ า่ นมา เปน็ สิบปแี ห่งการเรยี นรขู้ อง สนช. และอาจพูดไดว้ า่ เป็นการเรยี นรู้ ร่วมกันของประชาชนในประเทศ เพ่ือให้เราก้าวพ้นจากการเป็นประเทศที่ติดกับดัก รายได้ปานกลาง ไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรมของเราเอง เช่นเดียวกับบทบาทของ สนช. ที่มุ่งสู่การเป็นองค์กรเร่งการพัฒนาและการปรับเปลี่ยน เพื่อยกระดับระบบ นวัตกรรมแห่งชาติของประเทศไทย สร้างภาพลักษณ์ของการเป็นประเทศผู้น�ำด้าน นวัตกรรมทัง้ ในภมู ิภาคน้ี และระดับโลกในอนาคตอนั ใกล้ บรรยากาศในงาน Startup Thailand 2019 “Startup Nation” 19

20

2 “โซข่ อ้ กลาง” สรา้ งระบบนวตั กรรม แห่งชาติ เม่ือนวตั กรรมด้านกระบวนทัศนข์ องโลกเปล่ียน ย่อมส่งผลกระทบ กับทุกประเทศทั่วโลก ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การ มหาชน) หรอื สนช. ไดเ้ ตรียมความพรอ้ มในเรือ่ งของระบบนิเวศ นวัตกรรมอย่างรอบด้าน เพ่ือให้ประเทศไทยเป็นหน่ึงในประเทศ นวตั กรรมท่มี ีศักยภาพทดั เทียมระดับโลก โดยไดป้ รับยทุ ธศาสตร์ จากเดมิ ทเ่ี นน้ ในการใหท้ นุ สนบั สนนุ เพอื่ สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ ผปู้ ระกอบ การนวตั กรรมให้มากทสี่ ุด ไปสยู่ ุทธศาสตรใ์ หม่ โดยเน้นในมิตขิ อง ระบบนวัตกรรมเข้มแข็งประเทศชาติเข้มแข็ง มิติที่ส่งเสริม ให้นวัตกรรม ขุมพลังสู่ความเปลี่ยนแปลง และมิติในการ มุ่งสู่อนาคตแห่งนวัตกรรม โดย สนช. มีจุดยืนที่ชัดเจนคือการ ขับเคล่ือนในฐานะหน่วยประสานเชิงระบบ หรือ “โซ่ข้อกลาง” (System Integrator) เพื่อเป้าหมายสู่การเป็นประเทศแห่ง นวัตกรรมที่แข็งแกรง่ และเติบโตไปพรอ้ มกนั ท้งั ระบบอยา่ งย่งั ยนื มติ ิท่ี 3 มติ ทิ ่ี 2 มิติที่ 1 21

มติ ิที่ 1 ระบบนวตั กรรมเขม้ แข็ง ประเทศชาติเขม้ แขง็ การสร้างระบบนวัตกรรมแห่งชาติให้เข้มแข็งเป็นยุทธศาสตร์หลักในล�ำดับแรกของ องค์กร โดยระดมความร่วมมือจากทั้งภาครัฐและเอกชน ตลอดจนหน่วยงานและ สถาบันการศึกษาต่างๆ ที่เก่ียวข้อง ท้ังในระดับประเทศและสากล เพื่อพัฒนาและ อบรมบม่ เพาะทกุ กลมุ่ เปา้ หมายใหก้ ลายเปน็ ผปู้ ระกอบการนวตั กรรมทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ ของสังคม โดยมีโครงการทีป่ ระสบความส�ำเรจ็ เปน็ รูปธรรมดังน้ี Startup Thailand ประกาศความเปน็ Global Hub สนช. วางเป้าหมายในระยะ 10 ปี ต่อไปในอนาคต ในการพัฒนาบริษัทสตารท์ อพั เพอ่ื ยกระดับท้ังองค์ ความรู้และมาตรฐานต่างๆ จนเปน็ ท่ียอมรบั ในระดบั นานาชาตใิ หไ้ ด้ 3000 บรษิ ัท โดยเกิดจากความ รว่ มมอื ทง้ั ในระดับประเทศและสากล เพือ่ ทศิ ทางการเตบิ โตออกสู่ตลาดตา่ งประเทศ โดยพันธกิจเป็น การขานรับนโยบายของรัฐบาล ที่ต้องการให้สตาร์ทอัพเป็นนักรบทางเศรษฐกิจใหม่ และก�ำหนดให้ ประเทศไทยเปน็ พน้ื ทเี่ ปดิ สำ� หรบั การเตบิ โตของอาเซยี น จดุ หมายของเราคอื การเปน็ ผนู้ ำ� ดา้ น Global Startup Platform ในกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และรองรับการเติบโตของสตาร์ทอัพ จากท่ัวโลก 22

งาน Startup Thailand ท่ีเร่ิมจัดอย่างต่อเนื่องมาต้ังแต่ปี 2559 เป็นรูปธรรมความส�ำเร็จท่ีได้เสียง ตอบรับจากทั้งในประเทศและนานาชาติมาอย่างต่อเนื่อง โดยจุดเริ่มต้นเกิดจากความต้องการระดม ผู้ประกอบการสตาร์ทอัพของประเทศให้มาเป็นแนวร่วมในการสร้างการรับรู้และความต่ืนตัวในการ พัฒนาตัวเองให้กลายเป็นสตาร์ทอัพท่ีมีศักยภาพในการขยายธุรกิจและสร้างตลาดใหม่ ผ่านกิจกรรม ต่างๆ ทสี่ รา้ งความตระหนักรู้และต่อยอดธุรกิจใหแ้ กผ่ ู้เข้าร่วมงาน เช่น กิจกรรมใหค้ วามรูผ้ ่านทางเวที การประชุมและสมั มนา กิจกรรมสรา้ งเครือขา่ ยของสตาร์ทอพั กิจกรรมเพ่ือการต่อยอดทางธุรกิจ และ กิจกรรมเพื่อสร้างแรงบันดาลใจในการเร่ิมต้นธุรกิจ ซ่ึงในการจัดงานแต่ละครั้งได้รับการตอบรับจาก กลมุ่ สตารท์ อพั จากทวั่ ประเทศ นักลงทนุ และประชาชนทวั่ ไป โดยเฉพาะอย่างยิง่ งาน Startup Thailand 2019 ภายใต้แนวคดิ “Startup Nation” ท่ีแปลกใหม่ ด้วยการมีสถานที่จัดงานอย่างเข้าถึงสาธารณชนตลอดแนวเส้นทางรถไฟฟ้า เพ่ือเน้นให้เห็นว่า กรุงเทพฯ มีศักยภาพในการเปน็ Global Hub แหง่ ภมู ิภาคอาเซียน นอกจากน้ันยงั ชบู ทบาทการเป็น “โซข่ อ้ กลาง” ของ สนช. ในการสรา้ งระบบนเิ วศในการจดั งานโดยเชอื่ มประสานหลากหลายหนว่ ยงาน เขา้ รว่ มเปน็ เจา้ ภาพ และใชส้ ถานทข่ี องแตล่ ะหนว่ ยงานไดอ้ ยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ นอกจากจะใชส้ ถานทขี่ อง สนช. เองแล้ว ยังมกี ารจดั งานท่ี Siam Innovation District, True Digital Park, TCDC และ dtac Accelerate เป็นต้น ปรากฎการณ์นี้แสดงให้เห็นถึงพลังและศักยภาพในมาตรฐานระดับสากลของ ภาคเี ครอื ข่ายในการจดั งาน Startup Thailand 2019 ได้สมกบั เป้าหมายท่ีวางไว้ 23

โดยในงานนีเ้ น้นในเรือ่ งของเทคโนโลยี Deep Tech และ MAR Tech (Music, Art และ Recreation Technology) ผลงานที่โดดเด่นเหล่านี้สอดรับกับวาระที่ประเทศไทยเข้ารับบทบาทประธานอาเซียน ในปี 2562 ภายในงานยงั จดั ใหม้ กี ารประชมุ ผนู้ ำ� จากภาครฐั ทวั่ อาเซยี น โดยวาระหลกั ในการประชมุ คอื การร่วมมอื ร่วมใจกันพัฒนาระบบนเิ วศของสตารท์ อพั ในภูมภิ าคอาเซยี น โดย ดร.พันธ์ุอาจ ชัยรัตน์ ผู้อ�ำนวยงาน สนช. ได้สรุปท้ิงท้ายถึงเป้าหมายส�ำคัญของการจัดงาน Startup Thailand ว่า “เราพยายามทีจ่ ะทำ� ใหม้ ี Bangkok Initiative หรอื Bangkok Declaration คอื การเชิญหน่วยงานท่เี ป็น Ecosystem Builder ในภาครฐั ของ Asean+3 (จีน ญีป่ ุ่น เกาหลีใต)้ เขา้ มาหารอื กนั แลว้ ประกาศเปน็ เจตจำ� นงกรุงเทพฯ ดว้ ยกนั ว่าเราจะเช่ือมโยงระบบนเิ วศของสตารท์ อพั เข้าดว้ ยกัน ไม่ใชแ่ คข่ องใครของมันแลว้ แขง่ ขันกนั หลายเร่ืองเราต้องท�ำดว้ ยกนั เพราะ 660 ล้านคน อยู่ในอาเซยี น และเปน็ หนึ่งในตลาดส�ำคัญของโลก เมือ่ รวมกันจะได้พลงั มหาศาล” นอกจากความสำ� เรจ็ ในงาน Startup Thailand แลว้ บทบาทของ สนช. ในการเป็นศูนยว์ ิสาหกจิ เรมิ่ ต้นประเทศไทย เราได้สร้างเสริมผู้ประกอบการใหม่และผู้ร่วมก่อต้ัง (Co - Founder) นักพัฒนา เทคโนโลยีเชงิ ลึก (Deep Technologist) พีเ่ ล้ียงรายสาขาอุตสาหกรรม (Sectoral Mentor) นกั ลงทุน บคุ คล (Angel) บริษัทลงทุนร่วมเสยี่ ง (Venture Capital, Corporate Capital) โดยกลุ่มที่มีศักยภาพ เหล่าน้ี ต่างได้รับการพัฒนาและยกระดับความสามารถในการแข่งขันเพ่ิมมากข้ึน นอกจากน้ันยังเร่ง สร้างและพัฒนาสตาร์ทอัพ ให้มีรูปแบบธุรกิจนวัตกรรมท่ีมีความสามารถในการแข่งขันและเติบโตได้ ก้าวกระโดด ผา่ นโครงการพฒั นาความเปน็ ผปู้ ระกอบการ และระบบพ่ีเลี้ยง (Mentoring) โดยร่วมมือ กับ Co - working Space และ Incubator ทก่ี ระจายอยู่ทัว่ ประเทศ โดยใหโ้ อกาสจากตน้ น้ำ� ไปจนถงึ ปลายนำ้� เพือ่ ให้พวกเขาเติบโตขน้ึ ไปสรา้ งระบบนวตั กรรมแหง่ ชาติได้อย่างแข็งแกร่ง 24

สถาบนั วิทยาการนวตั กรรม (NIA Academy) ด้วยเป้าหมายหลักของ สนช. ท่ีต้องการสร้างระบบนวัตกรรมแห่งชาติให้เข้มแข็ง ด้วยวิถีทางที่เป็น ระบบและยง่ั ยืน จงึ น�ำมาส่กู ารกอ่ ตั้ง “สถาบันวทิ ยาการนวัตกรรม” เพื่อให้เป็นสถาบนั เฉพาะทางท่มี ี ความเชี่ยวชาญดา้ นการจัดการนวตั กรรม โดยกลุ่มเป้าหมายของสถาบันฯ แบ่งเป็น 3 กลุ่มหลัก คือกลุ่มเด็กและเยาวชน กลุ่มผู้ประกอบการ SMEs สตาร์ทอัพ และบริษทั ขนาดใหญ่ ในส่วนของการเร่ิมต้นสร้างนวัตกรในกลุ่มของเด็กและเยาวชน มีหลักสูตรท่ีเป็นเครื่องมือหลักคือ STEAM4INNOVATOR มีเป้าหมายในการอบรมบ่มเพาะเยาวชนตั้งแต่ะระดับประถมศึกษาไปจนถึง ระดับมหาวิทยาลัย โดยหลักสูตรส�ำหรับเยาวชนในระดับมหาวิทยาลัย จะยกระดับเป็นหลักสูตร Startup Thailand League ท่มี ีรองรบั ทงั้ กลุ่มมหาวิทยาลยั และอาชีวศกึ ษา ส�ำหรับกรณีของเยาวชนท่ีมีความฝันอยากเป็นผู้ประกอบการ แต่ไม่รู้จะเร่ิมต้นอย่างไร สถาบันฯ มีหลักสูตร Startups in Residence ไว้เป็นตัวช่วยในการเร่ิมต้นและบ่มเพาะความเชี่ยวชาญ โดยหลักสูตรน้ีเป็นการอบรมของแต่ละสาขาเทคโนโลยี ในปี 2562 เปิดสาขา เช่น Travel Tech, Lifestyle Tech, Urban Tech, Health Tech, Agri Tech, Food Tech และ Industry Tech โดย จะครอบคลุม 10 สาขาในปีหน้า โอกาสทางการเรียนรู้กับสถาบันฯ ไม่ได้จ�ำกัดอยู่แค่ในกรุงเทพฯ แตไ่ ดก้ ระจายไปถงึ หวั เมอื งหลักๆ โดยเร่มิ ต้นท่ี จงั หวัดเชยี งใหม่ และ อ.หาดใหญ่ จังหวดั สงขลา 25

หลักสูตรต่อเนื่องของทางสถาบันฯ ยังรองรับกลุ่มเป้าหมายท่ีเริ่มมีเครื่องมือในการก้าวเข้ามาเป็นผู้ ประกอบการแลว้ เมอื่ ถงึ ขนั้ ตอนของการพฒั นาธรุ กจิ จำ� เปน็ ทพี่ วกเขาตอ้ งเสรมิ ความรเู้ รอื่ งนวตั กรรม จึงเป็นทม่ี า 4 หลักสตู รพ้ืนฐานนวัตกรรม (Fundamental of Innovation) ไดแ้ ก่ Innovation for Compettitiveness, IP for Innovation management, Social Innovation และ Startup Warrior เพ่อื ความรูค้ วามเขา้ ใจในโครงสรา้ งพน้ื ฐาน หลกั สตู รที่ 2 เน้นไปในด้านนวัตกรรมเพือ่ สงั คม (Social Innovation) จนกระทง่ั เมอ่ื กลมุ่ เปา้ หมายเหลา่ นพี้ ฒั นาผลติ ภณั ฑห์ รอื ธรุ กจิ ไปจนถงึ ขน้ั ตอ้ งการจดสทิ ธิ บัตรทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property) พวกเขาสามารถเข้าสู่หลักสูตรท่ี 3 คือ IP for innovation management เพื่อเสรมิ ความรใู้ นดา้ นนี้ได้ รวมทัง้ หลกั สตู รที่ 4 คอื Startup 101 ท่ี เปน็ การเรยี นรู้ธุรกิจเทคสตารท์ อัพ (Tech Startup) จากผ้กู อ่ ตง้ั เทคสตารท์ อพั และผู้บรหิ ารระดับสูง ของบรษิ ทั ชน้ั น�ำในประเทศ นอกเหนือจากน้ยี ังมแี พลตฟอร์มหลักสตู รออนไลน์ MOOCs ทเี่ อ้ือต่อการ เรยี นรูไ้ ดอ้ ยา่ งสะดวก ผา่ นเว็บไซต์ www.niaacademy.co ของสถาบนั ฯ สำ� หรบั กลุ่มผูป้ ระกอบการ SMEs และสตารท์ อพั จะเน้นหลักสูตรท่ีเข้มขน้ ข้ึน เช่น IDE to IPO เป็น หลกั สตู รอบรมบ่มเพาะผปู้ ระกอบการเพ่ือเตรยี มความพรอ้ มเข้าสู่ตลาดหลกั ทรพั ย์ โดยทาง สนช. จะ คดั เลอื กผปู้ ระกอบการทมี่ คี วามสามารถทางนวตั กรรม และมศี กั ยภาพในการเตรยี มความพรอ้ มเขา้ จด ทะเบยี นในตลาดหลักทรัพย์ โดยได้พฒั นาหลักสตู รร่วมกับตลาดหลักทรพั ยเ์ อ็ม เอ ไอ ผ่านการระดม ทนุ ในรอบ Seed และ Series A, B funding มาแล้ว และก�ำลังจะตอ่ ยอดไปสู่ระดับทส่ี ูงข้ึน หลักสตู ร นที้ างสถาบนั ฯ ทำ� รว่ มกบั ตลาดหลกั ทรพั ย์ โดยดำ� เนนิ การตวั หลกั สตู รนมี้ าไดส้ องปี และมผี ผู้ า่ นหลกั สตู ร ไปแล้ว 4 รุน่ ส่วนอีกหลักสตู รคือ Public and Private Chief Innovation Leadership จะเน้นกลุ่ม เป้าหมายทเ่ี ปน็ ผนู้ ำ� จากภาครฐั และเอกชน รวมถึงภาคประชาสังคม เปน็ หลกั สูตรทีเ่ นน้ การขับเคลอื่ น ด้านนโยบายระดบั สงู ผลการด�ำเนินงานท่ีผ่านมา พบว่าหลักสูตรต่างๆ ของ Nia Academy ได้รับความสนใจจาก ทุกกลุ่มอย่างน่าพอใจ โดยเฉพาะหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ความตื่นตัวของทุกกลุ่มเป้าหมายเป็น แนวโน้มท่ีน่าพอใจ และเป็นสงิ่ สะทอ้ นการทำ� งานของ สนช. ท่ที ำ� ใหเ้ กิดการตระหนักรู้เกย่ี วกบั คำ� วา่ นวัตกรรมท่ีแพร่หลายมากขึ้น โดยการท�ำงานในเชิงรุกอย่างต่อเน่ืองของสถาบันวิทยาการนวัตกรรม ยอ่ มจะชว่ ยเชอ่ื มประสานใหท้ กุ ภาคสว่ นรว่ มมอื กนั อยา่ งเปน็ ระบบ มอี งคค์ วามรทู้ ไี่ ดม้ าตรฐาน เพอื่ จะ ยกระดบั ความสามารถในการแข่งขันของผ้ปู ระกอบการไทยให้กา้ วสสู่ ากลได้อยา่ งสงา่ งาม 26

หลักสูตร STEAM4INNOVATOR เปา้ หมายของโปรแกรม STEAM4INNOVATOR (สตมี ฟอรอ์ นิ โนเวเตอร)์ คอื การมงุ่ สรา้ งสงั คมนวตั กรรม ท่ีมีองค์ประกอบส�ำคัญคือคนรุ่นใหม่ท่ีมีศักยภาพ มีแนวคิดที่สร้างสรรค์และเข้าใจองค์ความรู้ของ ค�ำว่านวัตกรรมอย่างลึกซ้ึง สามารถปรับประยุกต์แนวคิดที่มีพื้นฐานของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใหก้ ลายเปน็ จรงิ ในรปู แบบของธรุ กจิ ทตี่ อ่ ยอดเตบิ โตได้ นคี่ อื ทม่ี าของโปรแกรม STEAM4INNOVATOR แผนพฒั นาศกั ยภาพสำ� หรบั เยาวชนทต่ี อ้ งการกา้ วไปสกู่ ารเปน็ นวตั กร โดยความหมายของคำ� วา่ STEAM นั้นตงั้ ตน้ จากค�ำวา่ STEM : Science, Technology, Engineering, Mathematics โดยเพมิ่ เตมิ อักษร A เข้าไปคือค�ำว่า Art ซึ่งหมายถึงศิลปะในสองมิติ ทั้งในแง่ของสุนทรียภาพและศิลปะในการเข้าใจ และเขา้ ถงึ ความตอ้ งการของคน ซง่ึ ในเชงิ การสรา้ งสรรคน์ วตั กรรมจะหมายถงึ การเขา้ ใจลกู คา้ เปา้ หมาย ในธุรกิจทเ่ี ราสรา้ งสรรค์ข้ึน เด็กรุ่นใหม่ท่ีเรียกว่าเป็นคนยุค Digital Native จะโตมากับวิทยาการสมัยใหม่และมีความเข้าใจ ในพฤติกรรมของผู้คนร่วมสมัยมากพอควร อีกทั้งมีคุณลักษณะที่ดีคือการเต็มไปด้วยความสร้างสรรค์ ท่ีพร้อมจะปลดปล่อยเข้าสู่ระบบ แต่ในขณะเดียวกันก็อาจจะยังไม่มีประสบการณ์ในการด�ำเนินธุรกิจ มากพอท่ีจะเร่ิมต้น สนช. จึงเห็นว่าการเตรียมความพร้อมให้คนรุ่นใหม่เหล่านี้มีความจ�ำเป็นอย่างย่ิง จึงพัฒนาหลักสูตร STEAM4INNOVATOR ขึ้นเพื่อสร้างสังคมใหม่ที่ประกอบด้วยคนรุ่นใหม่ที่เปี่ยม ศักยภาพ และเช่ือมัน่ วา่ ทรัพยากรบคุ คลทเี่ ปน็ ต้นแบบนวตั กร ท่ีเราเรียกว่า Innovative leader หรือ วา่ Change maker ทผี่ ่านหลกั สูตรนไ้ี ป จะสามารถเหน่ียวนำ� คนรนุ่ ใหม่ให้มาสนใจพัฒนาศกั ยภาพ ของตนเองและดึงดูดให้คนที่มีความสามารถและแสวงหาโอกาสด้านนวัตกรรมได้เข้ามารวมตัวกัน เพือ่ สรา้ งสังคมนวัตกรรมข้นึ มาในอนาคต 27

หลกั สตู รทใ่ี ชเ้ ปน็ ฐานในการกา้ วไปสกู่ ารเปน็ นวตั กร ไดร้ บั การออกแบบใหป้ ระกอบดว้ ย 4 กระบวนการ เพื่อใชเ้ ปน็ เครอ่ื งมอื ในการทำ� ความเขา้ ใจกระบวนการสรา้ งสรรคน์ วัตกรรมอยา่ งเปน็ รปู ธรรม โดยข้นั ตอนที่ 1 คือ “รูล้ ึก รู้จรงิ ” (Insight) เปน็ กระบวนการเริม่ ตน้ ในการสรา้ งสรรคธ์ รุ กจิ นวตั กรรมดว้ ยการ เปิดรบั ทำ� ความเขา้ ใจส่ิงแวดลอ้ มและมองใหเ้ ห็นถึงปญั หาทแ่ี ท้จริง ข้นั ตอนท่ี 2 คือ “การสร้างสรรค์ ไอเดีย” (Wow Idea) เปน็ การตอ่ ยอดความคิดสรา้ งสรรค์ ทีเ่ กดิ จากการกำ� หนดปญั หาและเปา้ หมาย ในการแกไ้ ขทช่ี ดั เจน จากนน้ั จงึ เขา้ สขู่ นั้ ตอนที่ 3 คอื “การสรา้ งแผนพฒั นาธรุ กจิ ” (Business Model) คือการออกแบบแนวคิดและแผนการบรหิ ารจัดการธรุ กจิ ทงั้ หมด ส่วนข้นั ตอนที่ 4 คอื “การผลติ และ การกระจาย” (Production and Diffusion) เปน็ การลงมือสรา้ งผลงานนวตั กรรมและการลงมือทำ� อยา่ งจรงิ จังให้เกิดผลอย่างเป็นรปู ธรรมทางธรุ กิจ เพือ่ กระจายผลผลิตออกสตู่ ลาด ตลอดสองปีที่ผ่านมา (2561 - 2562) หลักสูตร STEAM4INNOVATOR เป็นเคร่ืองมือส�ำคัญในการ นำ� ไปสกู่ ารบรรลพุ นั ธกจิ หลกั ขององคก์ ร คอื การสรา้ งระบบนวตั กรรมทเี่ ขม้ แขง็ ในสงั คม การสรา้ งโอกาส ในการเขา้ ถงึ และใชป้ ระโยชนจ์ ากโครงสรา้ งพนื้ ฐาน และการยกระดบั ความสามารถของกลมุ่ เปา้ หมาย ทเ่ี ปน็ เยาวชน โดย สนช. ให้ความสำ� คัญกับเด็กและเยาวชนใน 2 ระดบั อายุ ซึง่ ต้องเลอื กจัดโปรแกรม และกจิ กรรมใหเ้ หมาะกบั แตล่ ะชว่ งวยั เชน่ ในกลมุ่ เดก็ เลก็ วยั ประถมและมธั ยมตน้ เราจดั กระบวนการ เรยี นรูผ้ ่าน Learning Station กจิ กรรม Roadshow และเวิร์คช็อปส้ันๆ รวมท้ังออกแบบการส่อื สาร ผ่านส่ือออนไลน์ เพื่อเริ่มต้นสร้างแนวคิดการมองปัญหาและสร้างความเข้าใจเรื่องของนวัตกรรมและ สรา้ งสรา้ งสรรค์ผลงานเพ่อื แก้ปญั หานนั้ ๆ ผ่านกระบวนการ 4 ขน้ั ตอน ส่วนเยาวชนในกลุ่มวิทยาลยั และมหาวิทยาลัย เปน็ กลมุ่ เปา้ หมายหลกั ในการสรา้ ง Innovative Leader หรือ Chang Maker ให้ กบั สงั คมใหม่ ซง่ึ ต้องยกระดบั ความสามารถทางนวัตกรรมใหเ้ ขม้ ขน้ ข้นึ ด้วย โปรแกรม Capability ที่ มีการฝึกคิดและสร้างสรรค์ผลงานอย่างเข้มข้น ลงมือท�ำจริง อีกทั้งได้เรียนรู้และฝึกทดลองเป็น ผู้ประกอบการจรงิ ทัง้ ระยะส้นั และระยะยาว เพื่อใหเ้ กดิ การเรียนรู้ ปรบั เปล่ยี นและเตบิ โต ท้งั นี้ ในบทบาทของ สนช. ทีย่ ดึ ม่นั ในการท�ำหน้าท่เี ปน็ System Integrator อยา่ งเข้มแขง็ โดยจะมี การติดตามพัฒนาการของกลุ่มเยาวชนที่ผ่านกระบวนการ STEAM4INNOVATOR พร้อมส่งต่อการ สนับสนุนในเร่ืองต่างๆ กับส่วนงานในระบบ นอกจากน้ียังท�ำงานร่วมกับภาคส่วนที่เป็นประชาสังคม ผรู้ บั ประโยชนโ์ ดยตรงอยา่ งใกลช้ ดิ ทงั้ ในกลมุ่ เยาวชน พอ่ แม่ ครอู าจารยท์ ม่ี สี ว่ นสำ� คญั ในการสนบั สนนุ เดก็ เพอื่ ตอบพันธกิจหลักท่ีสำ� คัญที่สุด คือการเสรมิ สรา้ งระบบนเิ วศนวัตกรรมบนพ้นื ฐานการทำ� งาน รว่ มกันของหนว่ ยงานท่ีเก่ยี วข้อง เยาวชนทผ่ี า่ นแผนพฒั นาศกั ภาพเยาวชน STEAM4INNOVATOR จะทำ� หนา้ ทด่ี งึ ดดู เยาวชนทมี่ ศี กั ยภาพ อีกมากมายให้เข้ามาสู่ระบบ และพัฒนาไปด้วยกันผ่านความร่วมมือของหลายภาคส่วน ก้าวไปสู่การ เป็นนวัตกรและเป็นตัวแทนของคนรุ่นใหม่ท่ีมีแนวคิดในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ กล้าแสดงสิทธิ แสดงเสียงต่อการปรับเปล่ียนแผนงานต่างๆ ในระดับนโยบาย พวกเขาจะเป็นองค์ประกอบท่ีส�ำคัญ อยา่ งยิ่งในการสร้างความเข้มแขง็ ของระบบนวัตกรรมของชาตใิ นอนาคตตอ่ ไป 28

ภมู ภิ าคอยู่รอดได้ ประเทศไทยยงั่ ยนื (Innovation Regional) อีกส่วนงานที่มีบทบาทส�ำคัญในการสร้างระบบนวัตกรรมแห่งชาติให้เข้มแข็ง คือการท�ำงานด้านการ พัฒนานวัตกรรมภูมิภาค โดย สนช. ให้ความส�ำคัญกับผู้ประกอบการนวัตกรรมในส่วนภูมิภาคมา โดยตลอด แต่ที่ผ่านมาจะเป็นงานในลักษณะ Project based ซ่ึงยังไม่เห็นผลกระทบท่ีชัดเจนใน ความเปลยี่ นแปลง นโยบายในปจั จบุ นั จงึ ปรบั มาสทู่ ศิ ทางของ Innovation Regional โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ หลักในการสร้างระบบนิเวศนวัตกรรมในพ้ืนท่ีส่วนภูมิภาค โดยท�ำงานร่วมกับภาคีเครือข่าย และ ผู้มีสว่ นได้ส่วนเสยี ในทอ้ งถนิ่ จดุ ยืนของคณะท�ำงานพัฒนานวตั กรรมภมู ภิ าค ยึดมนั่ ในการทำ� หน้าท่เี ป็น System Integrator หรือ วา่ เปน็ ตวั กลางในการท่จี ะเชื่อมโยงทุกภาคส่วนในพน้ื ทเ่ี ป้าหมายให้เขา้ รว่ มกจิ กรรม โดยกระบวนการ ทำ� งานจะเรมิ่ จากการจำ� แนก (Identify) องคก์ รและหนว่ ยงานตา่ งๆ ในพน้ื ทซ่ี งึ่ เกยี่ วขอ้ งกบั การพฒั นา นวตั กรรม โดยจะแบง่ ออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ๆ กลมุ่ หน่งึ เปน็ ผรู้ บั บริการ เช่น ผู้ประกอบการ วสิ าหกิจ ชมุ ชน สตาร์ทอัพ กลมุ่ ทส่ี องคอื ผใู้ ห้บริการ หรอื ส่วนงาน องค์กร ท่ีมบี ทบาทในการสง่ เสริมสนบั สนนุ นวตั กรรม เช่น อทุ ยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธนาคาร หรือ BOI สนช. จะท�ำหนา้ ท่ีเชอื่ มประสาน แตล่ ะภาคสว่ น อันดับแรกตอ้ งหา Key person ที่มบี ทบาทสำ� คญั ในพน้ื ทีใ่ หช้ ดั เจน 29

เมื่อหาพันธมิตรและเครือข่ายต่างๆ ที่มีอุดมการณ์ตรงกันได้แล้ว ทีมนวัตกรรมภูมิภาคจึงเร่ิมสานต่อ การท�ำงาน โดยปัจจุบัน สนช. เป็นพันธมิตรกับ 15 อุทยานวิทยาศาสตร์ในภูมิภาคและกรุงเทพ ภายใต้กระทรวงอุดมศึกษาฯ โดยอุทยานวิทยาศาสตร์น้ันมีโครงสร้างพื้นฐานที่รองรับการวิจัยและ พฒั นา รวมทงั้ ตอ้ งการยกระดบั ความสามารถผปู้ ระกอบการในพนื้ ท่ี เมอื่ มาจบั มอื ทำ� งานรว่ มกนั สนช. จงึ นำ� เครอื่ งมอื ตา่ งๆ ทเ่ี ปน็ ความเชยี่ วชาญของสำ� นกั งานฯ ไปเพมิ่ เตมิ ขดี ความสามารถให้ เชน่ หลกั สตู ร ด้านการเงนิ การตลาด การสรา้ งเครือข่ายต่างๆ เชื่อมตอ่ กับพนั ธมติ รของ สนช. ตลอดจนผู้ประกอบ การทเ่ี ปน็ กลมุ่ นกั ศกึ ษาจบใหมห่ รอื ผทู้ ต่ี อ้ งการทำ� ธรุ กจิ ใดๆ จะสามารถเขา้ สกู่ ระบวนการบม่ เพาะของ สนช. เพ่ือต่อยอดและยกระดับธุรกิจนวัตกรรมให้เติบโตข้ึน ตอบโจทย์เป้าหมายในการสร้างนวัตกร (Innovator) และบคุ ลากรดา้ นนวตั กรรม (Service Provider) ไดพ้ รอ้ มๆ กนั นำ� ไปสเู่ ปา้ หมายตอ่ เนอื่ ง คอื การสรา้ งชมุ ชนนวัตกรรม (Innovation Community) ใหเ้ กดิ ขึ้น วตั ถปุ ระสงคอ์ กี ประการหนง่ึ ของการพฒั นานวตั กรรมภมู ภิ าค คอื การหาพน้ื ทท่ี ศ่ี กั ยภาพสงู เพอื่ ดำ� เนนิ การขบั เคลอื่ นและพฒั นาในเชงิ กลยทุ ธ์ เชน่ ในภาคเหนอื แบง่ ออกเปน็ 5 พนื้ ท่ี คอื อตุ สาหกรรมอาหาร อตุ สาหกรรมทอ่ งเทยี่ ว อตุ สาหกรรมบรกิ ารเชงิ สขุ ภาพ/การแพทย์ กลมุ่ สตารท์ อพั และนวตั กรรมเพอื่ สงั คมทเี่ กยี่ วกบั ปญั หาการขยายตวั ของเมอื ง โดย 5 ยทุ ธศาสตรน์ ี้ จะผลกั ดนั ใหเ้ กดิ การพฒั นานวตั กรรม ในพ้ืนท่ีนนั้ โครงการลา่ สดุ คอื Chiangmai city of Innovation โดยรว่ มมอื กบั เทศบาลนครเชยี งใหม่ รวมทงั้ ขยาย ความร่วมมือไปยังอุทยานวิทยาศาสตร์ในเขตภาคใต้ โดยร่วมมือกับมหาวิทยาลัยในพื้นที่ เช่น มหาวิทยาลยั วลัยลกั ษณ์ มหาวิทยาลัยทักษณิ และมหาวิทยาลัย สงขลานครนิ ทร์ เป็นต้น โดยในการ ท�ำหน้าทพ่ี ัฒนานวตั กรรมภมู ิภาคของ สนช. ยงั คงเป็นกระบวนการท่ที �ำอย่างเป็นระบบ ทัง้ การหาตัว ผเู้ ลน่ สำ� คัญในภาคสว่ นต่างๆ (Create the dot) เพอื่ ผลกั ดันให้เกิด Supply Chain ไปจนถึง Value Chain เกิดขน้ึ แล้วกระต้นุ ส่งเสริมเพ่อื นำ� ไปสคู่ วามเชอ่ื มโยงของแตล่ ะภาคสว่ น (Connect the dot) ให้เคลอื่ นไปในทิศทางของระบบนวัตกรรมท่ีเข้มแข็ง 30

ชูธงนวัตกรรมในทกุ พื้นที่ สนช. ผลักดันยุทธศาสตร์เชิงพื้นท่ีข้ึนมาต้ังแต่ปี 2558 เพราะเล็งเห็นว่าการสร้างระบบนิเวศ ที่เหมาะสมส�ำหรับผู้ประกอบการกลุ่มต่างๆ ซ่ึงเป็นเป้าหมายในการพัฒนาของ สนช. เพ่ือให้พวกเขา รวมกลุ่มกัน จะเพิ่มพูนโอกาสในการจ้างงานและการท�ำนวัตกรรมที่จะสร้างรายได้มหาศาลให้กับ ประเทศโดยกระบวนการในการส่งเสริมนวัตกรรมเชงิ พนื้ ท่ีมี 3 สว่ น คอื การทำ� แผนนโยบายเพอ่ื ที่จะ สนับสนุน Mega infrastructure ท่ีตอบโจทย์อุตสาหกรรมด้านนวัตกรรม ส่วนที่สอง คือ City Development ไมว่ า่ จะเปน็ การวดั ดชั นดี า้ นการสง่ เสรมิ นวตั กรรมของเมอื ง การพฒั นาหลกั สตู รทชี่ ว่ ย เปดิ มุมมองของผู้บรหิ ารเมือง และสว่ นที่สาม ในระดับย่าน คอื การเข้าไปสร้างความตระหนักรบั รขู้ อง คนในพน้ื ที่ เพื่อผลักดนั ใหเ้ กดิ โครงการนวตั กรรมตามเป้าหมาย โดยความเชี่ยวชาญของ สนช. จะเนน้ ไปยังพ้ืนท่ีระดับ “ย่าน” (Innovation District) เป็นหลัก โดยมีผลงานในกรุงเทพจ�ำนวน 6 ย่าน นวตั กรรม และในเขตโครงการพฒั นาระเบยี งเศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวนั ออก (EEC) อกี 4 ยา่ นนวตั กรรม และในสว่ นภมู ภิ าคทเี่ รม่ิ ต้นในพน้ื ทีจ่ ังหวดั เชียงใหม่ 31

โดยหนง่ึ ในยา่ นทม่ี คี วามสำ� เรจ็ บรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงคท์ วี่ างไวค้ อื “ยา่ นนวตั กรรมโยธ”ี ซงึ่ เกดิ จากความ รว่ มมอื ของรัฐมนตรี 3 กระทรวงหลัก คือกระทรวงวิทยาศาสตรฯ์ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และกระทรวง สาธารณสุข โดยเล็งเห็นว่าย่านโยธีเป็นย่านที่มีศักยภาพด้านการแพทย์ และเป็นพ้ืนที่ของหน่วยงาน ดา้ นสาธารณสขุ จำ� นวนมาก มีศักยภาพในการร่วมมอื และตอ่ ยอดธรุ กจิ นวตั กรรมให้เพิ่มมูลค่าไดอ้ ย่าง มหาศาล แผนงานจึงด�ำเนินต่อเน่ือเพ่ือตอบโจทย์การพัฒนาทางการแพทย์และงานวิจัยในพื้นที่ เปน็ ศูนยก์ ลางขอ้ มูลดา้ นการแพทย์ และการใหบ้ ริการต่างๆ ทเ่ี ก่ียวข้อง รวมทั้งเปน็ พืน้ ทใ่ี หส้ ตารท์ อพั ที่สนใจในธุรกิจสาขาน้ีรวมทั้งเครือข่ายนักวิจัยได้มาเชื่อมต่อโอกาสทางธุรกิจซ่ึงกันและกัน เกิดเป็น Co - working Space และการพัฒนาศักยภาพของพนื้ ทใี่ นแนวทางต่างๆ โดย สนช. จะท�ำหนา้ ทีเ่ ปน็ System Integrator ในการประสานทกุ ภาคส่วนเข้าดว้ ยกนั ผา่ นเว็บไซต์ ymid.or.th เพื่อให้ข้อมูล ตา่ งๆ ในย่านโยธี ซึง่ เปน็ Innovation District ต้นแบบ ซง่ึ ในอนาคตจะพฒั นาเร่อื งของขอ้ มูลใหก้ ว้าง ขวางครอบคลุมและเปน็ One Stop Service มากขึ้น เช่น สตาร์ทอัพท่ีท�ำเรอ่ื งแอปพลเิ คชนั่ เก่ยี วกับ การนัดพบแพทย์ อาจเชื่อมต่อเข้ามาในเว็บเพอื่ พบกับยูสเซอร์ได้โดยตรง เปน็ ตน้ อกี หนง่ึ ยา่ นนวตั กรรมท่ี สนช. กำ� ลงั สง่ เสรมิ ใหเ้ ปน็ ศนู ยก์ ลางนวตั กรรมในอนาคตคอื “ยา่ นกลว้ ยนำ�้ ไท” (KIID: Kluaynamthai Innovative Industries District) เปน็ ชมุ ชนมหาวทิ ยาลยั ทเี นน้ ในเรอื่ ง Media Tech เปน็ ความรว่ มมอื ระหวา่ งมหาวทิ ยาลยั กรงุ เทพและภาคเอกชน โดยไดร้ บั ความรว่ มมอื จากหนว่ ย งานในพื้นท่ีเป็นอย่างดี เช่น การท่าเรือฯ ได้น�ำแผนยุทธศาสตร์น้ีไปต่อยอดกับแผนพัฒนานวัตกรรม ภายในองคก์ รของการท่าเรอื ฯ เอง ใหต้ ่อยอดและเช่ือมโยงซ่งึ กันและกัน 32

ย่านปุณวิถี หรือทเี่ รียกกันในปัจจุบนั ว่า Bangkok Cyber Tech District เปน็ อกี หนงึ่ ความส�ำเร็จของ การพฒั นานวัตกรรมเชงิ พนื้ ท่ี โดยพน้ื นเ้ี ป็นความรว่ มมอื กับภาคเอกชนคอื บริษัททรู คอร์ปอเรช่ัน ซึง่ มีโครงสรา้ งพ้ืนฐานทีเ่ หมาะสมอยา่ งยงิ่ นนั่ คอื ทรู ดิจทิ ัล พารค์ เมอื่ มาจับมอื กบั สตารท์ อัพไทยแลนด์ ของ สนช. ได้มีการตัง้ ศนู ย์ DISTRICT C ทม่ี ุ่งให้เป็นศนู ยใ์ นการประสานงานและใหค้ ำ� ปรึกษารวมถงึ เป็น One stop service ด้าน Startup และเปน็ พื้นทรี่ องรับในการจัดกิจกรรมตา่ งๆ จึงสามารถผนกึ ก�ำลังเพ่ือต่อยอดสู่การพัฒนาพ้ืนที่นี้ให้ตอบโจทย์ธุรกิจนวัตกรรมในอนาคต ซึ่งวางแผนไว้ว่าจะขยาย ขอบเขตไปจนถงึ บริเวณศูนยก์ ารประชุมไบเทค ส�ำหรับในภูมิภาค โครงการพัฒนานวัตกรรมเชิงพ้ืนท่ีได้รุกคืบไปในหัวเมืองใหญ่ๆ เช่น ที่เชียงใหม่ ซงึ่ มยี า่ นนวตั กรรมการแพทย์ ทรี่ ว่ มมอื กลมุ่ คณะวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพของมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ โดยมี คณะแพทยศาสตร์เปน็ แกนหลกั ของการพัฒนา รวมทั้งการจดั ตง้ั ศนู ย์ Chiang Mai & Co ให้เปน็ สถาน ที่ส�ำหรับสตาร์ทอัพต่างประเทศและพัฒนาเป็นศูนย์ประสานงานหน่วยงานต่างๆ เพ่ือให้ได้รับสิทธิ ประโยชน์จากภาครัฐ นอกจากนั้นยังมีย่านนวัตกรรมในเขต EEC อีก 4 จุด คือท่ีบางแสน ศรีราชา พทั ยา บ้านฉาง - อู่ตะเภา โดยในส่วนของยา่ นนวตั กรรมทีบ่ า้ นฉาง จ.ระยอง ไดม้ ีการท�ำหนงั สือแสดง เจตจ�ำนง (LOI) ร่วมกัน ระหว่าง สนช. สอภ. (Gistda) เทศบาลเมืองบ้านฉาง และมหาวิทยาลัย พระจอมเกล้าธนบุรี โดยจะพัฒนาศูนย์นวัตกรรมข้ึนมาให้เป็นศูนย์กลางของย่านนี้ ด้วยรูปแบบ ใกล้เคียงกบั Knowledge Exchange Center (KX) ทพ่ี ัฒนาขึน้ โดยมหาวทิ ยาลัยพระจอมเกลา้ ธนบุรี ในเขตคลองสาน กรงุ เทพฯ ตลอดระยะเวลาที่พัฒนานวัตกรรมเชิงพ้ืนท่ี สนช. ไม่เคยหยุดเสาะหาองค์ความรู้และกรณีศึกษาจาก ทงั้ ในและตา่ งประเทศ เชน่ การดงึ ตวั อยา่ งและไดค้ วามรว่ มมอื จากยา่ นนวตั กรรมอตุ สาหกรรมเกา่ จาก บาเซโลนา่ ประเทศสเปน เป็นต้น ด้วยเชื่อมัน่ ในศักยภาพของคน พืน้ ที่ และความมงุ่ มนั่ ของผปู้ ระกอบ การไทย ทจ่ี ะรว่ มกนั ตอ่ จกิ๊ ซอวย์ า่ นนวตั กรรมจากทวั่ ทกุ ภมู ภิ าค ใหก้ ลายเปน็ ภาพรวมของประเทศแหง่ นวัตกรรม ที่เข้มแข็งมาจากฐานรากอยา่ งแทจ้ ริง 33

มติ ิที่ 2 “นวัตกรรม” ขมุ พลัง สคู่ วามเปล่ยี นแปลง ประชาคมโลกต่างเตรียมตัวรับความเปลี่ยนแปลงที่ถาโถมเข้ามาอย่างต่อเน่ืองใน ศตวรรษที่ 21 สนช. ได้วางยุทธศาสตร์อย่างรัดกุมเพื่อเสริมโครงสร้างพื้นฐานของ ประเทศในมิติต่างๆ เพ่ือบ่มเพาะให้เกิดการสร้างสรรค์นวัตกรรมที่น�ำไปสู่การ เปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกจิ และสงั คมแบบพลกิ โฉม ผา่ นเครอื่ งมอื และกลไกสนบั สนนุ ท่ีเหมาะสม ท้ังในด้านการเงิน การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการเปล่ียนแปลง นวตั กรรม และรปู แบบนวัตกรรมที่มีผลกระทบในระดับสูงตอ่ การพฒั นาประเทศ นวตั กรรมเพอ่ื เศรษฐกิจ มุ่งเปา้ สู่อนาคต นำ้� มนั หลอ่ ลน่ื ทส่ี ำ� คญั ทส่ี ดุ ในการเออ้ื ใหธ้ รุ กจิ เตบิ โตไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ คอื สภาพคลอ่ งทางเศรษฐกจิ สนช. ตระหนักถงึ ความสำ� คัญของเรอื่ งนอี้ ย่างย่ิง เราจึงมีสว่ นงานนวตั กรรมเพือ่ เศรษฐกจิ เพื่อทำ� หนา้ ทส่ี ร้าง โอกาสการพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมผ่านการเชื่อมโยงเครือข่ายทั้งด้านเทคโนโลยีและการเงิน เพ่ือสร้าง การเติบโตอย่างย่ังยืนให้กับผู้ประกอบการ ด้วยแนวคิดท่ีบุคลากรต่างยึดเป็นเป้าหมายร่วมกันคือ Groom Grant และ Growth กลา่ วคอื Groom คือการอบรมให้ความรผู้ ู้ประกอบการเพอื่ ใหส้ ามารถ ใชน้ วตั กรรมเปน็ ตัวยกระดับในการแขง่ ขนั ไดท้ ั้งในและตา่ งประเทศ Grant เป็นกลไกทางด้านการเงิน และการสนบั สนนุ ทนุ ซงึ่ เปน็ บทบาททช่ี ดั เจนของ สนช. มาโดยตลอด สว่ น Growth คอื การจดั กจิ กรรม ต่างๆ เพ่ือกระตุ้นและสร้างตลาดนวัตกรรมให้กับผู้ประกอบการที่เราสนับสนุนอยู่ รวมท้ังสร้าง ผู้ประกอบการรายใหม่ที่มีศักยภาพอย่างต่อเน่ือง ผลักดันให้เกิดความร่วมมือทางการตลาดทั้ง ในประเทศและระดบั สากล รปู ธรรมความส�ำเร็จของโครงการตา่ งๆ ทเ่ี กดิ ขึน้ จากกลไกของนวัตกรรมเพอื่ เศรษฐกจิ เห็นไดช้ ัดเจน ผา่ นยทุ ธศาสตรใ์ นเรอ่ื งของการสนบั สนนุ ทนุ ใหผ้ ปู้ ระกอบการ โดยปจั จบุ นั มกี ารปรบั เปลย่ี นการใหท้ นุ ท่ีสอดคล้องกับนโยบายของส�ำนักงานฯ มากขึ้น จากเดิมท่ีให้โอกาสด้านเงินทุนแก่ผู้ประกอบการใน ลักษณะนวตั กรรมแบบเปดิ (Open Innovation) ซ่งึ เป็นการสนับสนนุ แบบกว้างๆ โดยมหี ลกั เกณฑ์ สนับสนนุ แกธ่ ุรกิจนวัตกรรมท่ยี กระดับหว่ งโซอ่ ปุ ทานเดมิ ทมี่ ีศักยภาพ (First S-Curve) ไปส่กู ารสรา้ ง หว่ งโซ่มลู ค่าใหม่ท่เี ปน็ อตุ สาหกรรมอนาคต (New S - Curve) ของประเทศ สนช. มีการปรับกลยทุ ธ์ โดยเน้นการสนับสนุนทจี่ ำ� เพาะเจาะจง ในรูปแบบของนวัตกรรมม่งุ เปา้ (Thematic innovation) ที่มี เป้าหมายชัดเจนในการพัฒนาประเทศ และยกระดับความสามารถทางนวัตกรรมในระดับสาขาและ ประเดน็ ทีม่ ีผลกระทบตอ่ อนาคตของประเทศในระดับสงู 34

โดยฝ่ายนวัตกรรมเพื่อเศรษฐกิจจะท�ำการศึกษาอย่างรอบด้าน เกี่ยวกับประเด็นปัญหาต่างๆ (Customers’ Pain Points) รวมทงั้ โอกาสของอุตสาหกรรมในภาคสว่ นต่างๆ ของประเทศ ที่สามารถ ใชน้ วตั กรรมในการแก้ไข เชน่ อตุ สาหกรรมในระบบสาธารณสุข หรอื โอกาสในเรอ่ื งของอุตสาหกรรม การท่องเที่ยวในประเทศไทย นอกจากสนับสนุนแล้วยังเชื่อมโยงไปสู่การสร้างความเติบโตทางธุรกิจ โดยกลไกแบบนวัตกรรมมุ่งเป้าได้ด�ำเนินการมาเป็นระยะเวลาสองปี และเกิดรูปธรรมความส�ำเร็จท่ี ก่อใหเ้ กดิ ความเปลี่ยนแปลงทางนวัตกรรมอย่างน่าพอใจ ส�ำหรับในชว่ งปี 2561 มกี ารด�ำเนินงานใน 5 ธุรกิจหลกั ประกอบไปดว้ ย ธุรกจิ ทอ่ งเท่ียวและบรกิ าร นวัตกรรมผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพ่ือสุขภาพ ธุรกิจที่ใช้อากาศยานไร้คนขับ อุตสาหกรรมการผลิตที่ใช้ เทคโนโลยี IoT และนวตั กรรมความมนั่ คงทางอาหารและสงั คมเมอื ง ทง้ั หา้ หมวดอตุ สาหกรรมลว้ นแลว้ แตเ่ ปน็ รปู แบบนวตั กรรมทมี่ ผี ลกระทบในระดบั สงู ตอ่ การพฒั นาประเทศ โครงการทไ่ี ดร้ บั การสนบั สนนุ ทนุ แบบนวัตกรรมแบบมุ่งเปา้ หลายโครงการทีโ่ ดดเด่น ตอบโจทย์นโยบายของประเทศในชว่ งเวลานนั้ เช่น เร่ืองของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวมีโครงการ Smart transport for Tourists เน้นการดูแลเร่ือง ความปลอดภัยให้กับนักท่องเที่ยว สอดคล้องกับนโยบายส่งเสริมการท่องเท่ียวเมืองรองของรัฐบาล เป็นตน้ ส�ำหรับปี 2562 มีเพิ่มเติมข้ึนมาเป็น 6 กลุ่มอุตสาหกรรมท่ีเป็นนวัตกรรมมุ่งเป้า ประกอบไปด้วย อุตสาหกรรมธุรกิจการดูแลสุขภาพ อุตสาหกรรมท่องเที่ยว อุตสาหกรรม IOT และโลจิสติกส์ อตุ สาหกรรมอาหารทางการแพทย์ (เฉพาะโรคเรอื้ รงั ไมต่ ดิ ตอ่ ) อตุ สาหกรรมสมนุ ไพร (เฉพาะโรคเรอื้ รงั ไมต่ ดิ ตอ่ ) สดุ ทา้ ยคอื ธรุ กจิ เรื่องของความมนั่ คงปลอดภัย ทง้ั ในระดบั ทางการทหารและความปลอดภยั ของพลเรือน โดยหัวข้อท่ีซ�้ำกันในอุตสาหกรรมต่างๆ จะมีการเปล่ียนแนวคิดท่ีแปลกใหม่ออกไป ใหส้ อดรบั กบั บรบิ ทของปญั หาทเ่ี ปลย่ี นไปในแตล่ ะชว่ ง เชน่ ในสาขาอตุ สาหกรรมทอ่ งเทย่ี ว เปลยี่ นจาก เรือ่ ง Smart Transport ไปสนับสนุนในเร่อื ง การทอ่ งเท่ยี วเชิงวัฒนธรรม นอกจากเร่อื งของ Grant ขา้ งตน้ แลว้ การพฒั นาผปู้ ระกอบการในส่วนนวตั กรรมเพอื่ เศรษฐกิจยงั เน้น ในเรื่องของ Growth หรือการสร้างตลาดนวตักรรมให้แก่ผู้ประกอบการทุกภาคส่วน โดยมีโครงการ ต่างๆ ที่ต่อยอดทางธุรกิจให้ผู้ประกอบการ เช่น โครงการวิสาหกิจเริ่มต้นสู่การลงทุน การพัฒนา ความร่วมมือกับหน่วยงานต่างประเทศ และกลไกการสนับสนุนด้านการเสริมศักยภาพด้านนวัตกรรม โดยมุ่งหวังให้ผู้ประกอบการก้าวพ้นจากการท�ำธุรกิจนวัตกรรมแบบเดิม ไปสู่ไปสู่การสร้างห่วงโซ่ มลู คา่ ใหม่ ซงึ่ เปน็ ธรุ กจิ นวตั กรรมทจ่ี ะสรา้ งรายไดแ้ ละความไดเ้ ปรยี บทางการแขง่ ขนั อยา่ งสงู ในอนาคต 35

พลกิ ประเทศไทย ด้วยนวตั กรรมเพือ่ สงั คม ในช่วงระยะเวลา 3 ปี ทผี่ า่ นมา (2560 - 2562) สนช. ได้ดำ� เนินงานดา้ นนวตั กรรมเพ่อื สังคมมา อย่างเข้มข้น ด้วยตระหนกั วา่ การพัฒนาแพลตฟอร์มทางสังคมและสาขาธุรกจิ เพอ่ื สงั คม ทีช่ ่วย สนบั สนนุ ความสามารถทางนวตั กรรมในสงั คมนน้ั เปน็ การชว่ ยลดความเหลอ่ื มลำ�้ ทางเศรษฐกจิ เพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันของชุมชน และยกระดับคุณภาพชีวิตของ ประชาชนให้มีความท่ัวถึงและเท่าเทียมกันมากข้ึน แม้แต่ย้อนกลับไปต้ังแต่ระยะแรกๆ ในการ ทำ� งานของ สนช. เราไมเ่ คยหลงลมื ประเด็นทางสังคม ซงึ่ มีการสนับสนนุ ทุนต่างๆ มาโดยตลอด ท้ังในเรื่องของเกษตรกรรมย่ังยืนหรือพลังงานทดแทน เพียงแต่ในปัจจุบันเราวางยุทธศาสตร์ อย่างเป็นระบบและมุ่งเปา้ มากยิง่ ขึ้น นอกจากบริบททางสังคมของประเทศไทยแล้ว การด�ำเนินงานด้านนวัตกรรมเพื่อสังคม ยังยึด โยงมามาจาก เป้าหมายการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื (Sustainable Development Goals) ตามกรอบ ขององค์การสหประชาชาติ โดย สนช.ได้ท�ำการศึกษาและจ�ำกัดขอบเขตในการสนับสนุน ใน 9 ดา้ น ของนวตั กรรมเพือ่ สังคม ประกอบไปด้วย ด้านการอนรุ ักษส์ ิ่งแวดลอ้ ม ดา้ นความ เชอื่ มโยงระหวา่ ง อาหาร น�้ำ และ พลงั งาน ดา้ นภาครัฐและการศึกษา ดา้ นการเงนิ การจา้ งงาน และสวสั ดกิ ารสงั คม ดา้ นเกษตรกรรมยงั่ ยนื ดา้ นความเปน็ เมอื ง ดา้ นสขุ ภาพ ดา้ นการทอ่ งเทยี่ ว และวฒั นธรรม และดา้ นการจัดการภยั พิบัติ จาก 9 มิตดิ ้านสังคมเหล่าน้ี สามารถแบง่ แนวทางหลักๆ ในการทำ� งานได้ 3 กลมุ่ โดยกลุม่ แรก เก่ียวข้องกับเร่อื งส่ิงแวดล้อม ทั้งในเร่ืองของการอนุรักษ์สง่ิ แวดลอ้ ม ความเชือ่ มโยงระหว่างนำ้� อาหาร พลังงาน หรอื เร่อื งของเกษตรกรรมยัง่ ยนื จะรวมอยู่ในกลุ่มน้ี ส่วนกล่มุ ท่ี 2 เนน้ เรอื่ งราว เกี่ยวกับคนและเมือง เช่น การขยายตัวของเมือง ภาครัฐกับการศึกษา หรือสวัสดิการสังคม เป็นต้น และกลุ่มที่ 3 เกีย่ วกบั ไลฟ์สไตลข์ องคน ไมว่ า่ จะเป็นเรื่องของการทอ่ งเที่ยวเชิงชุมชน หรือการดแู ลสุขภาพของผสู้ ูงอายใุ นอนาคต ทง้ั นี้ค�ำจำ� กดั ความของนวัตกรรมเพ่ือสังคมคืออาจ เปน็ สงิ่ ทีต่ ้องสือ่ สารออกไปใหส้ งั คมเข้าใจตรงกนั กล่าวคือ นวตั กรรมเพือ่ สงั คมเปน็ รปู แบบการ แกป้ ญั หาใหมๆ่ ทมี่ ผี ลกระทบในเชงิ สงั คม ในขณะเดยี วกนั ตอ้ งมกี ารเตบิ โตในเชงิ ธรุ กจิ ดว้ ย เปน็ กจิ การวิสาหกิจ หรอื บริษัท ท่ดี �ำเนนิ ธรุ กจิ ให้ประสบผลส�ำเรจ็ ได้อยา่ งเปน็ รปู ธรรม 36

ผลงานท่ีโดดเด่นด้านนวัตกรรมเพ่ือสังคมท่ีผ่านมามีอยู่หลากหลาย เช่น โครงการ “หมู่บ้าน นวตั กรรมเพ่อื สังคม” เป็นโครงการทเ่ี ปิดรบั ผลงานนวัตกรรมเพ่ือสังคมทพ่ี รอ้ มขยายผลสู่พ้ืนท่ี เปา้ หมาย และกอ่ ใหเ้ กดิ ระบบนเิ วศนวตั กรรมเพอื่ สงั คมทสี่ ามารถแกไ้ ขปญั หา สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ในพนื้ ทเี่ ปา้ หมาย และเปน็ ตน้ แบบการขยายผล ผลงานนวตั กรรมเพอ่ื สงั คม ให้เข้าถึงปัญหาตามบริบทของพื้นท่ี โดยโครงการที่เสนอเข้ามายัง สนช. สามารถแบ่งได้ตาม 9 มติ หิ ลัก ให้สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทปัญหาในพ้ืนทน่ี ั้นๆ นอกจากน้ันยังมีโครงการที่เกี่ยวกับการขยายตัวของเมือง คือโครงการ City & Community Innovation Challenge เปน็ การเปดิ รบั ขอ้ เสนอโครงการนวตั กรรมสำ� หรบั เมอื งและชมุ ชน ตอ่ ปัญหาต่างๆ ที่เกิดจากการขยายตัวของเมือง โดยเปิดโอกาสให้ผู้ท่ีสนใจได้น�ำเสนอรูปแบบ นวัตกรรมที่จะเข้ามาช่วยแก้ปัญหา ซ่ึงในแต่ละปีมีผู้ประกอบการที่สนใจเข้าร่วมโครงการเป็น จำ� นวนมาก นอกจากนั้นในบทบาทการเปน็ System Integrator ของ สนช. ยงั ชว่ ยเชื่อมโยงใหผ้ ปู้ ระกอบ การนวตั กรรมเพอ่ื สังคม ไดม้ โี อกาสพบกบั นกั ลงทนุ มาลง ช่วยสร้างความเขา้ ใจและความคลอ่ ง ตวั ในในเรอ่ื งของการจดั ซอ้ื จดั จา้ งจากภาครฐั และประสานการทำ� งานกบั องคก์ รปกครองตวั เอง ส่วนทอ้ งถิ่น เชน่ ผปู้ ระกอบการนวัตกรรมเพื่อสงั คมทท่ี �ำโครงการธนาคารน�้ำใตด้ นิ มีโอกาสได้ ต่อยอดการท�ำงานกบั องคก์ รปกครองตนเองส่วนทอ้ งถนิ่ ที่มเี งนิ ทุนสนับสนุน หรอื รว่ มลงทนุ ใน ธุรกิจดว้ ยกนั นอกจากนั้นยังสร้างโอกาสให้ผู้ประกอบการได้พบกับหน่วยงานตา่ งๆ ท่ตี อ้ งการ ต่อยอดจากการท�ำโครงการความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) ท่ีต้องการส่งเสริมนวัตกรรมเพ่ือ สังคมที่มีผลกระทบที่ดีในการแก้ปัญหาสังคม ไปจนถึงการแสวงหานักลงทุนท้ังในและ ต่างประเทศ เช่น ความร่วมมือกันในแบบ CLMV (Cambodia-Laos-Myanmar-Vietnam) เปน็ การร่วมมอื ในประเทศเพื่อนบ้านในกลุม่ ประเทศอาเซียนดว้ ยกนั 37

มติ ิที่ 3 มุง่ ส่อู นาคต แห่งนวตั กรรม สนช.ซง่ึ ทำ� งานเกย่ี วกบั นวตั กรรมซง่ึ เปน็ ศาสตรท์ สี่ มั พนั ธก์ บั สงิ่ ใหมๆ่ ในอนาคต เตรยี ม ความพร้อมและยกระดับศักยภาพทางนวัตกรรมส�ำหรับอนาคต ท้ังในระดับบุคคล องค์กรและประเทศ ตลอดจนแสวงหาความร่วมมือในระดับนานาชาติ เพ่ือให้ ประเทศไทยมุ่งสู่การเป็นประเทศนวัตกรรมชั้นน�ำ และมีทิศทางในการพัฒนาระบบ นวัตกรรมให้เคลอ่ื นไปสู่อนาคตอยา่ งเทา่ เทียมกบั ประเทศอ่ืนๆ ในระดับสากล เทศกาลนวตั กรรม สร้างภาพลกั ษณ์ “ประเทศนวัตกรรม” ในปี 2561 สนช. ได้จดั ใหม้ งี าน Innovation Thailand Expo (ITE) ข้ึนเป็นครงั้ แรก เพอื่ จุดประสงค์ หลกั ในการสรา้ งภาพลกั ษณด์ า้ นนวตั กรรมของประเทศไทย สอดรบั กบั ความเปลยี่ นผา่ นดา้ นนวตั กรรม กระบวนทัศน์ของประเทศ เพราะภาพลักษณ์เดิมของประเทศไทยยังไม่เป็นที่รับรู้ของโลกว่าเป็นหนึ่ง ในประเทศนวัตกรรม แม้ว่ารัฐบาล สนช. และหน่วยงานทุกภาคส่วนจะประสานความร่วมมือในการ สรา้ งระบบนเิ วศนวตั กรรมมาอยา่ งยาวนาน สนช. จึงเห็นถึงความส�ำคัญท่ีต้องพยายามสื่อให้ท่ัวโลกรับรู้ถึงศักยภาพของประเทศไทยในการ สรา้ งสรรคน์ วัตกรรม และเป็นประเทศที่ผลักดนั การพฒั นานวตั กรรมของประเทศผ่านกจิ กรรมหลาย รูปแบบ โดยงาน Innovation Thailand Expo มเี ป้าหมายในการเปน็ Tech and Innovation Event เพอื่ นำ� เสนอการจดั แสดงเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมชนั้ นำ� ของภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ เพอื่ แสดง ให้เหน็ ว่าผู้ประกอบการไทยกมีศักยภาพ สะท้อนผา่ นผลงานตา่ งๆ ท่ีจดั แสดงอยา่ งหลากหลายภายใน งาน โดยมีสสี นั แบบเทศกาลนวัตกรรม ท่เี ปิดกวา้ งใหท้ กุ คนสามารถเข้ารว่ มได้ ตามแนวคิด Fair Fin Fun กลา่ วคอื เป็นงานแสดงสนิ คา้ ดา้ นนวตั กรรม (Innovation Fair) ส่วน Fin คอื มีการให้คำ� ปรกึ ษา ในการท�ำธุรกิจนวัตกรรม (Innovation Business) และสุดท้ายคือ Fun คือการมีโอกาสได้สัมผัส ประสบการณร์ ว่ มในนวตั กรรมต่างๆ (Innovation Expererience) งาน ITE จดั ขน้ึ ตอ่ เน่ืองเปน็ ปที ่สี อง โดยจะจดั ข้ึนใหค้ าบเก่ยี วกบั วันที่ 5 ตุลาคม ซึ่งเป็นวันนวัตกรรม แห่งชาติ ในปี 2562 จัดในวันที่ 3 - 5 ตุลาคม ภายใต้แนวคิด Social Innovation ท่ีศูนย์การค้า สามย่านมติ รทาวน์ โดยคอนเซ็ปท์ Fair Fin Fun ซ่งึ เปน็ จดุ แข็งของงานในปแี รก สามารถสรา้ งใหเ้ กดิ การรับรู้เก่ียวกับภาพลักษณ์ด้านนวัตกรรมของประเทศไทย นอกจากน้ันยังได้เป็นการแสดงบทบาท System Integrator ขององค์กรอย่างชัดเจน เพราะงานท่ีจัดข้ึนเป็นการประสานความร่วมมือจาก ทกุ ภาคสว่ น ไมไ่ ดม้ เี พยี งผลงานของ สนช. แตไ่ ดย้ กระดบั ขน้ึ สงู่ านของประเทศ โดยที่ สนช. วางบทบาท เปน็ โซ่ข้อกลางท่ที �ำใหท้ กุ หนว่ ยงานได้จัดแสดงผลงาน 38

จุดเด่นประการหน่ึงที่สะท้อนผ่านงาน ITE คือการที่ผู้ประกอบการหรือประชาชนท่ัวไป สามารถเข้า รบั คำ� ปรึกษาจากหน่วยงานภาครฐั ในโซน Government Support ทแ่ี บง่ ตามนโยบายของสำ� นกั งาน คอื Groom Grant Growth ซง่ึ นับเป็นมติ ใิ หมข่ องการตดิ ตอ่ ประสานงานกบั หนว่ ยงานภาครัฐกว็ า่ ได้ โดย Groom เป็นโซนของหนว่ ยงานภาครัฐที่ช่วยสนับสนุนและพัฒนาศกั ยภาพทางด้านนวัตกรรมให้ กับผู้ประกอบการ ในเรื่องของการจัดอบรมต่างๆ และพัฒนาด้านเทคโนโลยีให้กับฝีมือแรงงานใน ประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็น ศนู ย์ความเป็นเลศิ ด้านชวี วทิ ยาศาสตร์ (TCELS) หรือ กรมส่งเสรมิ การคา้ ระหว่างประเทศ เป็นตน้ ในขณะท่ี Grant คือหน่วยงานทส่ี นบั สนนุ ทุนใหแ้ กผ่ ปู้ ระกอบการ ประกอบ ไปดว้ ย สนช. เอง สวทช. กรมส่งเสรมิ อตุ สาหกรรม รวมท้งั กระทรวงพาณชิ ย์ ส่วน Growth เปน็ หน่วย งานท่สี นับสนุนในเรื่องของการขยายผล ต่อยอด เชน่ BOI เศรษฐกิจสรา้ งสรรค์ เปน็ ต้น ปรากฎการณ์ ที่เกิดข้ึนน้ีสามารถก้าวข้ามภาพลักษณ์เดิมๆ ท่ีเข้าถึงยากของหน่วยงานรัฐได้อย่างน่าพอใจ เพราะ ผลลัพธ์ท่ีเกิดขึ้น คือการท่ีประชาชนสามารถเดินตรงเข้ามาปรึกษาหน่วยงานต่างๆ ได้อย่างอิสระ ลดขั้นตอนที่ยงุ่ ยาก และมกี ารแข่งขันกันอย่างเสรี วตั ถปุ ระสงคห์ ลักของงาน ITE สามารถสอ่ื สารภาพลักษณใ์ หมข่ องประเทศไทยได้อยา่ งชดั เจน ทงั้ ตอ่ คนในประเทศและในระดบั Global Perception เปน็ การท่ีตา่ งชาติมองศกั ยภาพดา้ นการสรา้ งสรรค์ นวตั กรรมของประเทศไทย ใหเ้ กิดการรับร้ทู ี่ตรงกันว่าประเทศไทยกเ็ ป็นหน่งึ ในประเทศนวตั กรรมทมี่ ี ศกั ยภาพ สามารถพฒั นาผลติ ภณั ฑท์ ใ่ี ชไ้ ดจ้ รงิ และกอ่ เกดิ ประโยชนก์ บั มวลมนษุ ยชาตไิ มน่ อ้ ยหนา้ กวา่ ประเทศเพอ่ื นบ้าน หรอื ประเทศใดในระดบั สากล 39

สถาบันการมองอนาคตนวตั กรรม การกอ่ ตง้ั “สถาบนั การมองอนาคตนวัตกรรม” (Innovation Foresight Institute - IFI) ในปี 2561 ของ สนช. นบั เปน็ จดุ เปลย่ี นสำ� คญั ทแี่ สดงใหเ้ หน็ วสิ ยั ทศั นท์ ยี่ าวไกลขององคก์ ร เพราะ IFI มวี ตั ถปุ ระสงค์ ในการมองทศิ ทางของนวตั กรรมในอนาคต ทจ่ี ะส่งผลกระทบตอ่ ความเปลี่ยนแปลงในระบบใหญๆ่ ท้งั เศรษฐกิจ สงั คม ส่งิ แวดล้อม และความเปน็ อยใู่ นภาพรวมของประชาชนในประเทศ ผลงานทจี่ ะเกดิ จากหนว่ ยงานนจี้ ะสามารถกอ่ ใหเ้ กดิ ผลกระทบอยา่ งมหาศาลตอ่ ทศิ ทางการพฒั นาในระดบั ยทุ ธศาสตร์ ของประเทศ ในระยะแรก IFI ถูกออกแบบมาให้เป็นหน่วยงานด้านการให้ค�ำปรึกษา โดยมุ่งเน้นท่ีการใช้เครื่องมือ ต่างๆ ทางดา้ นการวิจยั ในเชิง Social Science และเครอ่ื งมอื ทางดา้ นการบรหิ ารจัดการ เพื่อท�ำให้เกิด องค์ความรใู้ หม่ๆ ทช่ี ่วยให้ “มองอนาคต” (Foresight) เห็นทิศทางของปรากฎการณ์ตา่ งๆ ท่ีจะเกิด ขน้ึ เพอ่ื จะหาลทู่ างในการสรา้ งสรรคน์ วตั กรรมทเ่ี หมาะสม นอกจากนนั้ ยงั เปน็ หนว่ ยงานทจ่ี ะสรา้ งระบบ นิเวศในเรื่องของการมองอนาคต เพราะยังเป็นเรื่องใหมส่ �ำหรับประเทศไทย ในขณะทีใ่ นตา่ งประเทศ ให้ความส�ำคัญอย่างย่ิงในเร่ืองศาสตร์ในการมองอนาคต โดยเฉพาะอย่างยิ่งหน่วยงานภาครัฐ เช่นใน สงิ คโปร์ หรือประเทศแถบยุโรปอย่างองั กฤษ หรือฟนิ แลนด์ เพราะตระหนกั ดีวา่ สามารถน�ำองค์ความ รูท้ ่ไี ด้มาสรา้ งมูลคา่ เพม่ิ ไดอ้ ย่างยง่ิ ยวด สาเหตุทป่ี ระเทศทพ่ี ัฒนาแล้วใหค้ วามสำ� คญั กับศาสตรน์ ี้ เป็นเพราะในการที่แตล่ ะประเทศจะวางแผน ลงทนุ ระยะยาวในเรอื่ งทคี่ วามเปล่ียนแปลงใชก้ ระบวนการทนี่ าน เช่น การลงทุนเรอื่ งทรพั ยากรมนุษย์ ใหต้ อบโจทยอ์ ุตสาหกรรมบางสาขา ซ่งึ ต้องใชเ้ วลาอย่างนอ้ ย 10-20 ปี หรือการลงทนุ ดา้ นเทคโนโลยี ทต่ี ้องมกี ารวจิ ยั และพัฒนาในระยะยาว นนั่ คอื สาเหตทุ ตี่ ่างประเทศใหค้ วามสำ� คัญกับ Foresight เพือ่ น�ำมาก�ำหนดทิศทางและยุทธศาสตร์หลักของประเทศ ส�ำหรับประเทศไทยนั้น ความต่ืนตัวในศาสตร์ ดา้ นนเ้ี กดิ ขน้ึ พรอ้ มกบั แผนยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี หนว่ ยงานรฐั หลายแหง่ จงึ ใหค้ วามใสใ่ จเรอื่ ง Foresight มากยง่ิ ขึ้น 40

ผลงานทผี่ ่านมาของ IFI เนน้ ไปทก่ี ารสรา้ งชุมชนของผทู้ ี่สนใจหรืออยากริเริม่ ในเรอ่ื งน้ี มที งั้ หนว่ ยงาน ภาครฐั และเอกชน โดยสว่ นใหญเ่ ปน็ ภาคการศกึ ษา โดยเฉพาะกลมุ่ นกั วจิ ยั กลมุ่ คนทเี่ ปน็ นกั ยทุ ธศาสตร์ นกั กลยทุ ธข์ ององคก์ รต่างๆ โดย IFI ได้สรา้ งเคร่อื งมือการมองอนาคต ซ่ึงเปน็ การรวบรวมเทคนิคตา่ งๆ ทส่ี ว่ นใหญเ่ ปน็ เทคนคิ ของนกั วจิ ยั ดา้ น Future Study ใชใ้ นการมองภาพอนาคต โดยรวบรวมเปน็ คมู่ อื เพ่ือการถ่ายทอดและจัดอบรม โดยเฉพาะในเร่ืองของเทรนด์ที่ปรับเปล่ียนไปตามบริบทของสังคมที่ เปล่ียนไป เช่น เทรนด์ด้านสุขภาพในอนาคต เทรนด์ด้านการศึกษา ด้านอาชีพในอนาคต เป็นต้น รวมท้ังการประเมินองค์กรนวัตกรรม ของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ ทั้ง ตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย (Stock Exchange of Thailand, SET) และตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ (Market for Alternative Investment - MAI) นอกจากนย้ี งั มกี ารจดั กจิ กรรมทจ่ี ะสง่ เสรมิ การมองภาพอนาคต เพอื่ ดึงกลุ่มเป้าหมายท่ีเป็นเยาวชนคนรุ่นใหม่ให้เข้ามามีส่วนร่วม เช่น จัดประกวดวีดิโอ ให้นักศึกษา ส่งแนวคิดภาพอนาคตในอีก 10 - 20 ปีข้างหน้า ว่าจะมีทิศทางอย่างไร ส่วนหนึ่งเพ่ือจุดประสงค์ใน การสร้าง engagement กับคนรุ่นใหม่ในเร่ืองของการมองอนาคต ให้พวกเขาได้ใช้ความสร้างสรรค์ ผา่ นมุมมองในการผลติ คลิปวิดโี ออยา่ งเตม็ ท่ี 41

42

3 นวัตกรรม สู่ Paradigm ใหม่ 10 ปที ผี่ า่ นมา สนช. และหนว่ ยงานทง้ั ภาครฐั และเอกชน ไดร้ ว่ มมอื กันสร้างระบบนิเวศนวัตกรรมท่ีสมบูรณ์ เพื่อให้ต้นไม้ท่ีช่ือว่า “ระบบนวัตกรรมแห่งชาติ” เติบโตอย่างแข็งแกร่ง จนถึงวันน้ี ประเทศไทยมีไม้ใหญ่ท่ีหย่ังรากอย่างเข้มแข็ง แต่เรายังคงเติบโต ต่อไป ดว้ ยการก�ำหนดประเดน็ การพัฒนานวัตกรรม 10 ประเด็น นวัตกรรม เพื่อเป็นเป้าหมายในการยกระดับศักยภาพทาง นวตั กรรรมของประเทศอยา่ งไมห่ ยดุ ยง้ั โดยมผี เู้ ชยี่ วชาญในศาสตร์ แตล่ ะดา้ น 10 ทา่ น จะถอดรหสั ของทง้ั 10 ประเดน็ เพอ่ื เสนอแนะ ขอ้ มูลอย่างรอบดา้ น ใหเ้ ปน็ ประโยชนต์ อ่ สาธารณชนและสะทอ้ น ไปยงั การทำ� งานในระดบั นโยบาย เพอ่ื สมั ฤทธผิ ลทยี่ งั่ ยนื ในอนาคต 43

คณุ ปริญญ์ พานิชภกั ด ์ิ กรรมการสถาบันพฒั นา กรรมการตลาดหลกั ทรพั ย์ กรรมการบริหารสำ� นักงาน ผูป้ ระกอบการยุคใหม่ (NEA) แห่งประเทศไทย พฒั นาธุรกรรมทาง กระทรวงพาณชิ ย์ อิเล็กทรอนิกส์ (ETDA) 44

สถาปัตยกรรมการเงนิ นวตั กรรม Financial Architecture บทบาทล่าสดุ ของ คณุ ปริญญ์ พานชิ ภักดิ์ นอกจากจะเปน็ รองหวั หน้า พรรคประชาธปิ ตั ย์ เขายงั ทำ� ในสงิ่ ทเ่ี ชยี่ วชาญคอื การเปน็ ประธานคณะ ท�ำงาน ‘ทีมเศรษฐกิจทันสมัย’ หรือ ‘ทีมอเวนเจอร์’ ซึ่งก�ำลังเป็นที่ จับตามอง คุณปริญญ์คร่�ำหวอดอยู่ในแวดวง การเงินการธนาคาร รวมท้ังมีประสบการณ์ท�ำงานอย่างหลากหลาย ทั้งธนาคารพาณิชย์ ธรุ กิจหลกั ทรพั ย์ วานิชธนกิจ และวสิ าหกจิ ต่างๆท้ังภาครัฐและเอกชน นอกจากน้ันยังเป็นอดีตคณะกรรมการส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ ดังน้ันความเห็นและค�ำแนะน�ำของเขาต่อเร่ืองสถาปัตยกรรมการเงิน นวัตกรรม จึงมีทุกรายละเอยี ดทเี่ กยี่ วกับการใช้เครื่องมอื ทางการเงนิ ท่ี หลากหลาย เพอ่ื ใหแ้ ละเหมาะสมกบั ความตอ้ งการและระยะการพฒั นา นวัตกรรมของผู้ประกอบการ ประธานคณะทำ� งานทมี เศรฐกจิ ฯ เปดิ ภาพกว้างใหเ้ หน็ ถงึ สถานการณ์ ด้านการระดมทุนส�ำหรับผู้ประกอบการ โดยเฉพาะบริษัทสตาร์ทอัพ ซงึ่ มองวา่ บรษิ ทั เลก็ ทสี่ ายปา่ นสนั้ ยงั คงมคี วามเสยี เปรยี บคอ่ นขา้ งมาก ส่วนหนึ่งเกิดจาก Mindset ของนักลงทุนในตลาดที่ยังไม่พร้อม ส�ำหรับความเส่ียงที่ไม่แน่นอน โดยปริญญ์ยกตัวอย่างว่า ปัจจุบันน้ี บริษัทสตาร์ทอัพที่ได้เงินกู้จากธนาคารพาณิชย์จ�ำกัดอยู่ในกลุ่มท่ีมี คอนเนคช่ันค่อนข้างดี ในขณะท่ีบางส่วนผ่านช่องทางรับบริจาค เป็น สว่ นน้อยทจี่ ะมผี รู้ ว่ มลงทนุ (Venture Capital - VC) 45

นักลงทุน ธนาคารพาณชิ ยข์ นาดใหญ่ ยังไม่เขา้ ใจความเส่ียงตรงนี้ ไมเ่ ข้าใจวา่ ตอ้ งลงทุนไปบา้ ง เพอ่ื จะเป็นการสรา้ งนวตั กรรม สร้างการวจิ ยั และพัฒนา เพอื่ การเตบิ โตระยะยาว “VC เปน็ หนงึ่ ในชอ่ งทางท่มี ีมากขึน้ แต่ยงั นอ้ ยอยู่ สตาร์ทอัพบางคนอาจจะมี VC มาสนใจจากการประกวด ซ่งึ ขณะนม้ี ีการจัดประกวดมากข้ึน ทั้งของ สนช. เอง และของเอกชนท้งั SCB ดีแทค และทรู อาจจะพดู ได้ว่าเพิ่งเป็นชว่ งหลงั ที่ สตารท์ อพั เรม่ิ บมู ขน้ึ มา บางสว่ นใชแ้ พลตฟอรม์ การระดมทนุ ผา่ นเหรยี ญดจิ ทิ ลั (Initial Coin Offering-ICO) แตว่ ิธนี ีย้ งั ค่อนขา้ งจำ� กัด ปญั หาทเี่ กิดข้นึ ในเรอ่ื ง ของการลงทนุ กบั กลมุ่ สตารท์ อพั ผมคดิ วา่ นกั ลงทนุ ธนาคารพาณชิ ยข์ นาดใหญ่ ยังไม่เข้าใจความเส่ียงตรงนี้ ไม่เข้าใจว่าต้องลงทุนไปบ้างเพ่ือจะเป็นการสร้าง นวตั กรรม สร้างการวจิ ยั และพัฒนาเพื่อการเติบโตระยะยาว ซง่ึ เป็นนวตั กรรม ให้กับบริษัทได้ บางทีมันก็ต้องยอมรับความเสี่ยงท่ีสูงมากกว่าแค่ปล่อยสินเช่ือ สว่ นบคุ คล หรอื ปลอ่ ยสนิ เชอ่ื ใหบ้ รษิ ทั ใหญ่ ซง่ึ ตรงนต้ี อ้ งไปเปลยี่ นท่ี mindset” เมื่อถามถึงข้อจ�ำกัดของบริษัทสตาร์ทอัพในประเทศไทย ท่ีท�ำให้เกิดปัญหาใน ลกั ษณะน้ี คณุ ปรญิ ญใ์ หค้ วามเหน็ วา่ สว่ นหนงึ่ เกดิ จากคณุ ภาพของบรษิ ทั เพราะ วัฏจักรของบริษัทสตาร์อัพไทยยังถือว่าเยาว์วัยมาก จ�ำเป็นต้องพัฒนาความรู้ ของผปู้ ระกอบการให้มีคณุ ภาพมากข้ึน เพราะเมื่อเทียบกบั สตาร์ทอัพในหลาย ประเทศ มพี ืน้ ฐานทแี่ ขง็ แกร่งกวา่ เชน่ มีผู้บรหิ ารหรอื เจ้าของท่ีท�ำงานประจำ� และเคยประสบความสำ� เรจ็ มาแลว้ ในขณะทสี่ ตารท์ อพั ไทยเปน็ คนหนมุ่ สาวไฟ แรงแต่อาจจะขาดประสบการณ์ ขาดองค์ความรู้ ไม่ว่าจะเป็นทางการเงิน เรอื่ งบญั ชี การตลาด หรอื กฎหมาย ดงั นน้ั เองหลายบรษิ ทั จงึ ยงั คณุ ภาพไมด่ พี อที่ จะมาระดมทุนในระดบั ตลาดหลักทรพั ย์ 46

ผู้ประกอบการอีกกลุ่มหน่ึงที่คุณปริญญ์มองว่าประสบปัญหาด้านการระดมทุน คอ่ นขา้ งมาก คอื วสิ าหกจิ เพอื่ สงั คม (Social Enterprise) ซง่ึ เกดิ จากภาพลกั ษณ์ ทค่ี นยงั สบั สนวา่ เปน็ กจิ การเพอื่ การกศุ ลหรอื ผปู้ ระกอบการทางธรุ กจิ แตใ่ นขณะ เดยี วกนั แนวโนม้ ของ VC ทเี่ ขา้ ใจและตอ้ งการลงทนุ ในกจิ การเพอื่ สงั คมเพม่ิ ขน้ึ “เริม่ เห็น VC ทต่ี ้องการลงทุนในกิจการที่มคี วามย่ังยืน นอกจากน้นั ยังต้องการ ช่วยสังคมในแง่ของการเข้ามาช่วยโค้ช ช่วยเป็นเมนเทอร์ อย่างศศินทร์ที่มี สถาบันด้านความย่ังยืน ช่ือ Sasin Sustainability & Entrepreneurship Center คนกลุ่มน้ีได้เข้ามาขับเคลื่อนเรื่องนวัตกรรมในเชิงสร้างสรรค์และ สรา้ งความยัง่ ยนื ในการเติบโตด้วย” 47

นอกจากน้ีคุณปริญญ์ยังให้ข้อมูลเพ่ิมเติม ว่ายังมีความหวังเก่ียวกับการเข้าถึง การเงนิ ในระบบทเ่ี รยี กว่า Peer to Peer Lending (P2P Lending) ซึง่ เปน็ รปู แบบการปล่อยสนิ เชื่อบนระบบบล็อคเชน ซึ่งนา่ จะเข้ามาช่วยแกป้ ญั หาของ ผู้ประกอบการ SMEs หรือสตาร์ทอัพได้ เพราะปัญหาของคนกลุ่มนี้คือการ ไม่สามารถเข้าถึงแหล่งเงนิ ทนุ ที่ถกู และเป็นธรรมไม่ได้ “อธิบายอย่างง่ายได้ว่า P2P Lending เป็นการน�ำคนมีเงิน กับคนท่ีมีไอเดีย บรรเจิด แต่ไม่มีสภาพคล่องมาจับคู่แล้วปล่อยสินเช่ือให้กัน บนพ้ืนฐานของ ความเชื่อมั่นไว้ใจกัน นิสัยใจคอท่ีดี ตรงต่อเวลา ซ่ือสัตย์ เรียกว่า “เครดิต เชิงสังคม” (Social Credit Score) โดยน�ำ Social Credit Score มาเก็บใน บลอ็ กเชน การประมวลเครดติ เชงิ สังคมเกิดจากพฤตกิ รรมตา่ งๆ ในการใช้ชีวติ ไม่ว่าจะเป็นการกดไลค์ในโซเชียลมีเดีย การซ้ือแพคเกจ Post Pay หรือ Preplay แล้วข้อมลู ทุกอย่างทเ่ี ปน็ Digital Footprint data จะถกู ประมวล ไวห้ มด ระบบนีน้ า่ สนใจมาก” 48

สำ� หรบั ขอ้ เสนอแนะตอ่ สงั คม หรอื หนว่ ยงานในระดบั นโยบาย คณุ ปรญิ ญไ์ ดฝ้ าก ไวเ้ กย่ี วกบั การลดความเหลื่อมลำ้� ในการแขง่ ขนั ซึ่งฝ่ายนโยบายต้องพิจาณาให้ ถีถ่ ้วนก่อนตัดสินใจในเรือ่ งต่างๆ โดยเฉพาะทกี่ ระทบต่อสถาปัตยกรรมการเงิน นวัตกรรม นโยบายบางเร่ืองอาจจะมีผลกระทบจนพวกเขาต้องตายเสียก่อน จะไดโ้ ต “นโยบายในหลายๆ เรื่อง เราไม่ได้เปน็ Pioneer ส่ิงหนงึ่ ทที่ ำ� ได้คืออาจจะมอง รอบๆ ภูมิภาคหรือระดับโลกว่าไปทางไหน เราสามารถเรียนรู้ทางลัดได้จาก พวกเขา น�ำนโยบายที่ดีของเขามาปรับใช้ หรือเรียนรู้จากบทเรียนและข้อผิด พลาดของเขา ในการ Implement นโยบายมาปรับใชก้ ับบา้ นเราได้ อยา่ งเชน่ เร่ืองภาษีที่มีพระราชกําหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลเกิดข้ึน ผมคดิ วา่ เกดิ จากความหวงั ดี แตป่ ญั หาคอื จดุ ประสงคท์ ตี่ อ้ งการปกปอ้ งคมุ้ ครอง ผู้บริโภค และลงโทษคนท�ำผิด กลับกลายเป็นท�ำให้การระดมทุนล่าช้า สตาร์ทอัพท่ีก�ำลังจะระดมทุนต้องชะงักไป เพราะมีข้ันตอนมากเกินไปและ มีภาระภาษีพ่วงมา ตรงน้ีเป็นเร่ืองที่ต้องค�ำนึงถึง ว่ากฎหมายควรสร้างการ แขง่ ขันทเ่ี ป็นธรรมและลดความเหล่อื มลำ�้ ” 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook