Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือครูที่ปรึกษาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2562

คู่มือครูที่ปรึกษาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2562

Published by CHUCHEEP MOOLSATHAN, 2019-08-01 21:35:37

Description: คู่มือครูที่ปรึกษาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2562

Search

Read the Text Version

คมู่ อื ครทู ป่ี รึกษา ในการดาเนนิ งานรายงานตามแบบฟอร์มระบบการดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น ของโรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์เชียงใหม่ โดย ฝ่ายงานระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน กลุ่มงานกจิ การนกั เรียน กล่มุ บรหิ ารงานบคุ คล โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์เชยี งใหม่ ตาบลดอนแก้ว อาเภอแม่ริม จังหวดั เชียงใหม่ สานักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร | คูม่ ือระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหเ์ ชยี งใหม่

คานา การพัฒนาคุณภาพการศึกษา เป็นหน้าท่ีท่ีทุกโรงเรียนจะต้องดาเนินการ โดยมีเป้าหมายเดียวกันคือ ให้ นักเรียนเป็นคนดี คนเก่งและอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ สานักบริหารงาน การศึกษาพิเศษ เป็นโรงเรียนท่ีรับเด็กด้อยโอกาส 10 ประเภท นักเรียนอยู่ประจา นักเรียนส่วนใหญ่เป็นนักเรียน ชนเผ่า และเด็กด้อยโอกาส ซึ่งผู้ปกครองและชุมชนมุ่งหวังที่จะให้บุตรหลานได้มีโอกาสเข้ามาศึกษาต่อในโรงเรียน เพ่อื ให้ได้รับการศกึ ษา สามารถพฒั นาด้านความรู้ ความสามารถ มีอนาคตท่ีดีในอนาคต การดารงไวซ้ ่ึงความเขม้ แข็ง ทางด้านวิชาการ อย่างเดียวน้ัน คงไม่เพียงพอสาหรับโลกอนาคตของเด็กด้อยโอกาสและเยาวชนรุ่นใหม่ โรงเรียน ตระหนักถึงความสาคัญในการท่ีจะเป็นผู้ผลิตเยาวชนท่ีมีคุณภาพสู่สังคมอนาคตของประเทศไทย โดยเฉพาะการที่ จะต้องมีคุณภาพชีวิตท่ีดี สามารถแข่งขัน เข้าสู่สังคมกับเยาวชนในประเทศสมาชิกของประชาคมอาเซียนได้ นั่น หมายความว่า นักเรียนต้องมีคุณสมบัติความเป็นคนเก่งมากขึ้น สามารถแข่งขันได้ แต่ในความเป็นคนเก่งน้ันต้อง เพียบพร้อมไปด้วยความดีท่ีจะทาให้นกั เรียนไม่วิตกกังวล ไม่เห็นแก่ตวั เห็นแก่ส่วนรวม สังคมและประเทศชาติมากขึ้น การท่ีข้าพเจ้าได้มีโอกาสมาบริหารงานโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ นับว่าเป็นโอกาสท่ีจะได้ทางานสาคัญให้กับ ประเทศชาติ เพราะนอกจากผลิตคนเก่งสู่สังคมแล้ว ข้าพเจ้ายังมีความมุ่งมั่นท่ีจะให้ลูกศิษย์ที่เก่ง ดี มีสุขของ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ เป็นลูกศิษย์ท่ีดีมีคุณธรรมมากข้ึน เป็นต้นแบบของการเป็นคนเก่งและคนดีให้กับ ประเทศชาติ และข้าพเจา้ จะไม่มีโอกาสประสบผลสาเร็จไดถ้ ้าไม่ได้รับความร่วมมอื จากครูท่ีปรึกษาทกุ ทา่ นของโรงเรยี น ได้โปรดถอื เป็นนโยบายสาคัญในการดาเนินงาน ชว่ ยกันคิด ช่วยกันทา ชว่ ยกันพฒั นา ชว่ ยกันแก้ไข เราจะได้มีความ ภาคภูมิใจร่วมกันว่า เราสร้างคนดี คนเก่ง ให้กับสังคมไทยของเรา ขอขอบคุณในความร่วมมือจากทุกท่านมา ณ โอกาสนี้ ขอใหบ้ ญุ กุศลทที่ า่ นจะได้กระทาส่งผลให้ทา่ นและครอบครัวมคี วามสขุ ความเจรญิ ยง่ิ ๆ ขนึ้ ไปดว้ ยเทอญ นายสุมนต์ มอนไข่ ผู้อานวยการโรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหเ์ ชยี งใหม่ | คมู่ ือระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์เชียงใหม่

สารบญั บทนา.............................................................................................................................................. 1 เอกสารทค่ี รปู รกึ ษาต้องดาเนินการ.................................................................................................. 3 แนวปฏิบัตหิ น้าท่ีของครทู ี่ปรึกษา .........................……………………………………………………………………….. 4 หนา้ ปกแบบฟอร์มการดาเนินงานรายงานตามคูม่ ือฯ............................................................................... 5 แบบฟอร์มการร้จู ักนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล……………………………………………………………………………… 6 ดล. 1 ปฏิทนิ การปฏิบัติงานครทู ปี่ รึกษาระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรยี นปีการศึกษา 2562........................... 7 ดล. 2 ทาเนียบรูป....................................................................................................................................... 8 ดล. 3 ขอ้ มลู นกั เรยี นเป็นรายบคุ คล............................................................................................................ 10 ดล. 4 ระเบียนสะสมนกั เรยี น...................................................................................................................... 11 ดล. 5 บันทกึ การเยยี่ มบา้ น......................................................................................................................... 13 แบบฟอร์มการคดั กรองนักเรียน.......................................................................................................... 20 ดล. 6 ประเมนิ พฤตกิ รรมนักเรียน (SDQ).................................................................................................... 21 ดล. 7ประเมินความฉลาดทางอารมณ์ (EQ)................................................................................................ 33 ดล. 8 บันทึกการคดั กรองนกั เรียนเปน็ รายบคุ คล......................................................................................... 37 ดล. 9 การคัดกรองนักเรียนด้านการเรยี น (IQ)……………………………………………………………………………… 39 ดล. 10 การคัดกรองนกั เรียนด้านสขุ ภาพ................................................................................................. 40 ดล. 11 การคดั กรองนักเรียนด้านครอบครวั ............................................................................................. 41 ดล. 12 สรปุ ผลคดั กรองนกั เรียนด้านตา่ ง ๆ …………………………………………………………………………………. 42 ดล. 13 สรปุ ผลการคดั กรองและชว่ ยเหลอื นักเรยี นเป็นรายบคุ คล ………………………………………………….. 43 หน้าปกแบบสรปุ ผลการคัดกรองนักเรยี น................................................................................................. 44 แบบฟอร์มกจิ กรรมส่งเสรมิ พัฒนาและชว่ ยเหลือ………………………….……………………………………..…. 45 ดล. 14 แบบบันทึกกจิ กรรมโฮมรมู …………………………………………………………………………………………….. 46 ดล. 15 ทะเบียนรายชือ่ ผู้ปกครอง............................................................................................................. 48 ดล. 16 แบบลงช่ือการเข้ารว่ มการประชุมผู้ปกครอง ……………………………………………………………………… 49 ดล. 17 แบบบันทกึ สานสมั พันธ์ผปู้ กครอง …………………………………………………………………………………….. 50 ดล. 18 แบบบนั ทกึ การประชุมผ้ปู กครอง .................................................................................................. 51 ดล. 19 แบบบันทกึ กรรมการเครอื ขา่ ยผ้ปู กครองช้นั เรยี น ......................................................................... 52 ดล. 20 แบบบนั ทกึ การใหค้ าปรึกษา …………………………………………………………………………………………….. 53 แบบฟอร์มการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หานกั เรยี น ………………………………………………………………………. 55 ดล. 21 แบบบันทึกการช่วยเหลือนกั เรยี นเป็นรายบุคคล ………………………………………………………………….. 56 ดล. 22 แบบบนั ทึกสรุปรายงานผลการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน ………………………………………………………….. 57 ดล. 23 แบบสารวจหนา้ เสาธง .................................................................................................................... 58 ดล. 24 สรุปผลการไม่ร่วมกจิ กรรมหนา้ เสาธง ............................................................................................ 59 ดล. 25 การคัดกรองพฤติกรรมไม่พงึ ประสงค์ …………………………………………………………………………………. 60 ดล. 26 สารวจความพรอ้ มนักเรียน ด้านการแตง่ กาย,ระเบียบวนิ ยั ……………………………………………………. 61 ดล. 27 สารวจความพงึ พอใจผ้ปู กครองต่อการบริหารงานโรงเรยี น ............................................................. 62 ดล. 28 สรุปผลการตดิ ตอ่ กบั ผู้ปกครอง …………………………………………………………………….…………………….. 65 | คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหเ์ ชยี งใหม่

แบบฟอร์มการส่งต่อ………………………………………………………………………………………………………..……. 66 ดล. 29 แบบบันทึกการส่งต่อ ………………………………………………………………………………………………………… 67 ดล. 30 สรปุ ผลการสง่ ตอ่ นักเรียน ………………………………………………………………………………………………….. 68 ดล. 31 แบบรายงานแจ้งผลการชว่ ยเหลือนกั เรยี น ..................................................................................... 69 ดล. 32 แบบบนั ทึกสรปุ รายงานผลการดแู ลช่วยเหลอื นักเรียน …………………………………………………………… 70 แบบฟอร์มเอกสารพเิ ศษการประเมนิ ตามมาตรฐานการดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น..................................... 71 ดล. 33 พเิ ศษ สรุปผลการดาเนินงานการดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น……………………………………………………….. 72 ดล. 34 พิเศษ ประเมินคุณภาพนักเรยี นตามมาตรฐานการดูแลฯ……………………………………………………… 74 ดล. 35 พิเศษ สรปุ ผลการประเมนิ คุณภาพนักเรยี นตามมาตรฐานการดูแลฯ……………………………………… 76 ดล. 36 พเิ ศษ ประเมนิ ความคิดเห็น/ความพึงพอใจการดาเนินของครดู ูแลฯ………………………………………. 77 ฝ่ายงานระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน ปีการศึกษา 2562 | คูม่ ือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์เชยี งใหม่

ระบบการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหเ์ ชยี งใหม่ การดูแลช่วยเหลือนักเรียน คือ การส่งเสริมพัฒนา ป้องกันและแก้ไขปัญหา เพื่อให้นักเรียนได้พัฒนาตนเอง เตม็ ตามศักยภาพ มีคุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ มภี ูมิคมุ้ กันทางจิตท่ีเข้มแข็ง มคี ุณภาพชีวิตทด่ี ี มีทักษะการดารงชีวิตและ รอดพน้ จากวกิ ฤตทั้งปวง ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เป็น กระบวนการดาเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่มีข้ันตอนชัดเจน พร้อมทั้งมีวิธกี ารและเครอ่ื งมือท่ีมีมาตรฐาน คณุ ภาพ และมีหลกั ฐานการทางานท่ีตรวจสอบได้ โดยมคี รูประจาช้ัน / ครู ท่ีปรึกษา เป็นบุคลากรหลักในการดาเนินงาน และบุคลากรทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้องท้ังในและนอกสถานศึกษา ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน ผู้บริหารและครูทุกคน โดยมีวิธีการดาเนินงานและเครื่องมือท่ีชัดเจน มมี าตรฐานคณุ ภาพและ มหี ลักฐานการทางานท่ีตรวจสอบได้ กระบวนการดาเนนิ งาน ของระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น มีองคป์ ระกอบสาคัญ 5 ประการ คอื 1) การรจู้ ักนักเรียนเป็นรายบุคคล 2) การคัดกรองนักเรียน 3) การสง่ เสรมิ พัฒนานกั เรียน 4) การป้องกนั และแก้ไขปัญหา 5) การส่งต่อ แต่ละองค์ประกอบของระบบมีความสาคัญ มีวิธีการและเครื่องมือทต่ี ่างกันไป แต่มีความสัมพันธ์เกี่ยวเน่ืองกัน ซ่ึงเอื้อ ให้การดูแลนักเรียนเป็นระบบท่ีมีประสิทธิภาพ ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน จึงเป็นระบบที่มีมาตรฐานสามารถ ดาเนนิ การเพอื่ การประกันคุณภาพได้ 1) การรู้จักนกั เรยี นเปน็ รายบุคคล ด้วยความแตกต่างของนักเรียนแต่ละคนท่ีมีพ้ืนฐานความเป็นมาของชีวิตที่ไม่เหมือนกันหล่อหลอมให้เกิด พฤติกรรมหลากหลายรูปแบบ ทงั้ ด้านบวกและด้านลบ ดังนั้น การรู้ข้อมูลที่จาเป็นเก่ียวกับตัวนกั เรยี นจงึ เป็นส่ิงสาคัญที่ จะช่วยให้มีความเข้าใจนักเรียนมากขึ้น สามารถนาข้อมูลมาวิเคราะห์เพ่ือการคัดกรองนักเรียนเป็นประโยชน์ในการ ส่งเสริม การป้องกัน และแก้ไขปัญหาของนักเรียนได้อย่างถูกทาง ซ่ึงเป็นข้อมูลเชิงประจักษ์ท่ีได้จากเคร่ืองมือและ วิธีการท่ีหลากหลาย ตามหลักวิชาการ มิใช่การใช้ความรู้สึกหรือการคาดเดาโดยเฉพาะในการแก้ไขปัญหานักเรียน ซ่ึง จะทาให้ไมเ่ กิดขอ้ ผดิ พลาดต่อการชว่ ยเหลือนกั เรียนหรอื เกดิ ไดน้ อ้ ยท่ีสุด 2) การคดั กรองนกั เรยี น เป็นการพิจารณาข้อมลู เกี่ยวกบั นักเรียนเพอื่ การจดั กลมุ่ นกั เรียนมปี ระโยชนอ์ ย่างย่ิงในการวิธกี ารทเี่ หมาะสมใน การดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้ตรงกับสภาพปัญหาและความต้องการจาเป็น ด้วยความรวดเร็วและถกู ต้อง ในระบบการ ดแู ลช่วยเหลือนักเรียน อาจจดั กลุม่ นกั เรยี นตามผลการคัดกรองเป็น 2 , 3 หรอื 4 กลมุ่ กไ็ ด้ ตามขอบขา่ ยและเกณฑ์การ คดั กรองทโี่ รงเรียนกาหนด เชน่ ในกรณีที่แบง่ นกั เรยี นเป็น 4 กลมุ่ อาจนยิ ามกลุ่มไดด้ ังนี้ 1. กลุ่มปกติ คอื นักรเยนท่ีได้รบั การวเิ คราะหข์ อ้ มูลตา่ ง ๆ ตามเกณฑ์การคดั กรองของ โรงเรียนอยู่ในเกณฑข์ องกลมุ่ ปกติ ซ่ึงควรไดร้ ับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกนั และการส่งเสรมิ พฒั นา 2. กลุ่มเส่ียง คือ นกั เรียนที่อยู่ในเกณฑ์ของกลุ่มเสี่ยงตามเกณฑ์การคัดกรองของโรงเรียน ซ่ึงโรงเรียนตอ้ งให้การป้องกันและแก้ไขตามกรณี 3. กลุ่มมีปัญหา คือ นักเรยี นทจี่ ดั อยใู่ นเกณฑข์ องกลุ่มมปี ัญหาตามเกณฑ์การคดั กรองของ- | คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะหเ์ ชยี งใหม่ 1

โรงเรียน ซ่ึงโรงเรียนตอ้ งช่วยเหลอื และแก้ปัญหา โดยเร่งด่วน 4. กลุ่มพิเศษ คอื นักเรยี นทมี่ คี วามสามารถพเิ ศษ มีความเปน็ อจั ฉรยิ ะแสดงออกซ่ึง ความสามารถอนั โดดเดน่ ดา้ นใดด้านหน่ึง หรือหลายด้านอย่างเปน็ ทป่ี ระจักษ์ เมื่อเทยี บกับผู้มอี ายุในระดับเดียวกนั สภาพแวดลอ้ มเดยี วกนั ซ่ึงโรงเรยี นต้องให้การสง่ เสรมิ ใหน้ ักเรยี นได้พัฒนาความสามารถพิเศษนั้นอยา่ งเตม็ ศักยภาพ 3) การสง่ เสริมและพัฒนานักเรยี น การส่งเสริมพัฒนานักเรียนเป็นการสนับสนุนให้นักเรียนทุกคนในกลุ่มคัดกรอง ไม่ว่าจะเป็นนักเรียนกลุ่มปกติ หรือกลุ่มเสี่ยง มีปัญหา กลุ่มความสามารถพิเศษ ให้มีคุณภาพมากข้ึน ได้พัฒนาเต็มศักยภาพ มีความภาคภูมิใจใน ตนเองในด้านต่าง ๆ ซ่ึงจะช่วยป้องกันมิให้นักเรียนท่ีอยู่ในกลุ่มปกติและกลุ่มพิเศษกลายเป็นนักเรียนกลุ่มเส่ียง / มี ปญั หา และเป็นการช่วยให้นักเรียนกล่มุ เสี่ยง / กลุ่มมีปัญหากลับมาเป็นนักเรียนกลุม่ ปกติและมีคุณภาพตามมาตรฐาน ทโ่ี รงเรยี นหรอื ชมุ ชนคาดหวงั ตอ่ ไป การส่งเสรมิ พฒั นานักเรยี นมหี ลายวธิ ีทโ่ี รงเรียนสามารถพจิ ารณาดาเนินการได้ แต่มีกิจกรรมหลักสาคัญที่ โรงเรียนตอ้ งดาเนินการ คอื 1. การจัดกจิ กรรมโฮมรูม (Homeroom) หรือกจิ กรรมหบั เหยา้ 2. การจัดประชมุ ผ้ปู กครองชั้นเรยี น (Classroom Meeting) 3. การจัดกิจกรรมเสริมสรา้ งทักษะการดารงชีวิต กิจกรรมช่ัวโมงดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี น กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น 4) การป้องกนั และแก้ไขปัญหา ในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ครูควรให้ความเอาใจใส่กับนักเรียนทุกคนเท่าเทียมกัน แต่สาหรับนักเรียนกลุ่ม เส่ียง / มปี ญั หานั้น จาเป็นอย่างมากทต่ี อ้ งใหค้ วามดแู ลเอาใจใสอ่ ย่างใกล้ชดิ และหาวิธีการช่วยเหลือ ทงั้ การป้องกนั และ การแก้ไขปญั หา โดยไม่ปล่อยปละละเลยนักเรียนจนกลายเป็นปญั หาของสงั คมการสร้างภมู คิ มุ้ กัน การปอ้ งกันและแกไ้ ข ปัญหาของนักเรียน จึงเป็นภาระงานที่ย่ิงใหญ่และมีคุณค่าอย่างมากในการพัฒนาให้นักเรียนเติบโตเป็นบุคคลที่มี คุณภาพของสังคมต่อไปการป้องกันและการแก้ไขปัญหาให้กับนักเรียนน้ันหลายเทคนิควิธีการ แต่ส่ิงท่ีครูท่ีปรึกษา จาเปน็ ตอ้ งดาเนนิ การมอี ย่างน้อย 2 ประการ คือ 1. การให้การปรกึ ษาเบ้ืองตน้ 2. การจัดกิจกรรมเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา 5) การสง่ ต่อ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาของนักเรียนโดยครูท่ีปรึกษา อาจมีกรณีท่ีปัญหามีความยากต่อการช่วยเหลือ หรือช่วยเหลือแล้วนักเรียนมีพฤติกรรมไม่ดีข้ึน ก็ควรดาเนินการส่งต่อไปยังผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านต่อไป เพ่ือให้ปัญหา ของนักเรียนได้รับการช่วยเหลืออยา่ งถูกทางและรวดเร็วข้ึน หากปลอ่ ยให้เป็นบทบาทหน้าที่ของครทู ่ีปรึกษาหรือครูคน ใดคนหน่ึงเท่าน้ัน ความยุ่งยากของปัญหาอาจมีมากข้ึนหรือลุกลามกลายเป็นปัญหาใหญ่โตจนยากต่อการแก้ไข ซ่ึงครูท่ี ปรึกษาสามารถดาเนินการได้ต้ังแต่กระบวนการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลหรือการคัดกรองนักเรียนก็ได้ขึ้นกับกรณี ปัญหาของนกั เรียน การสง่ ต่อแบง่ เป็น 2 แบบ คือ 1. การสง่ ต่อภายใน ครทู ป่ี รึกษาส่งตอ่ ไปยงั ครูทส่ี ามารถให้การช่วยเหลอื นักเรยี นได้ทง้ั นี้ ขน้ึ อย่กู ับลักษณะปัญหา เช่น ส่งต่อครแู นะแนว ครูพยาบาล ครปู ระจาวชิ า หรือฝา่ ยปกครอง 2. การสง่ ต่อภายนอก ครแู นะแนวหรอื ฝ่ายปกครองเปน็ ผู้ดาเนินการสง่ ต่อไปยงั ผู้เชี่ยวชาญภายนอก หากเกิดกรณีปัญหาที่มคี วามยากเกินศักยภาพของโรงเรยี น | คูม่ ือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น โรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์เชยี งใหม่ 2

เอกสารท่ีครทู ี่ปรกึ ษาตอ้ งดาเนนิ การ มีดังน้ี 1. การรู้จกั นักเรียนเป็นรายบุคคล ดล. 1 ปฏิทนิ การดาเนินการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน ดล. 2 ทาเนยี บรปู ดล. 3 ข้อมูลนักเรยี น ดล. 4 ระเบียนสะสม ดล. 5 บันทึกการเยี่ยมบ้าน 2. การคัดกรองนกั เรยี น ดล. 6 แบบประเมนิ พฤติกรรมนกั เรยี น (SDQ) ดล. 7 แบบประเมนิ ความฉลาดทางอารมณ์(EQ) ดล. 8 แบบบนั ทกึ การคัดกรองนกั เรียนเปน็ รายบคุ คล ดล. 9 การคัดกรองนักเรียนด้านการเรยี น (IQ) ดล. 10 การคัดกรองนกั เรยี นด้านสขุ ภาพ ดล. 11 การคดั กรองนักเรียนด้านครอบครวั ดล. 12 สรปุ ผลคดั กรองนักเรียนด้านต่าง ๆ ดล. 13 สรปุ ผลการคดั กรองและชว่ ยเหลอื นกั เรียนเปน็ รายบุคคล 3. กิจกรรมสง่ เสริมพฒั นาและชว่ ยเหลือ ดล. 14 แบบบนั ทึกกิจกรรมโฮมรมู ดล. 15 ทะเบยี นรายชื่อผปู้ กครอง ดล. 16 แบบลงช่ือการเขา้ ร่วมการประชุมผปู้ กครอง ดล. 17 แบบบันทึกสานสัมพันธผ์ ู้ปกครอง ดล. 18 แบบบันทึกการประชุมผู้ปกครอง ดล. 19 แบบบันทึกกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองช้ันเรยี น ดล. 20 แบบบนั ทึกการให้คาปรึกษา 4. การป้องกนั และแก้ไขปัญหานักเรียน ดล. 21 แบบบันทกึ การช่วยเหลือนกั เรียนเปน็ รายบุคคล ดล. 22 แบบบันทึกสรุปรายงานผลการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน ดล. 23 แบบสารวจหนา้ เสาธง ดล. 24 สรปุ ผลการไม่รว่ มกจิ กรรมหนา้ เสาธง ดล. 25 การคัดกรองพฤตกิ รรมไม่พึงประสงค์ ดล. 26 สารวจความพร้อมนักเรยี น ด้านการแต่งกาย,ระเบยี บวนิ ัย ดล. 27 สารวจความพงึ พอใจผู้ปกครองต่อการบรหิ ารงานโรงเรยี น ดล. 28 สรุปผลการตดิ ตอ่ กับผู้ปกครอง | คมู่ ือระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหเ์ ชยี งใหม่ 3

5. การสง่ ต่อ ดล. 29 แบบบันทึกการสง่ ตอ่ ดล. 30 สรุปผลการส่งต่อนกั เรียน ดล. 31 แบบรายงานแจ้งผลการชว่ ยเหลอื นักเรยี น ดล. 32 แบบบันทึกสรปุ รายงานผลการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน เอกสารพิเศษการประเมินตามมาตรฐานการดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี น ดล. 33 พเิ ศษ สรปุ ผลการดาเนินงานการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น ดล. 34 พิเศษ ประเมนิ คุณภาพนกั เรียนตามมาตรฐานการดูแลฯ ดล. 35 พเิ ศษ สรุปผลการประเมนิ คุณภาพนักเรยี นตามมาตรฐานการดแู ลฯ ดล. 36 พิเศษ ประเมนิ ความคดิ เหน็ /ความพงึ พอใจการดาเนนิ ของครดู ูแลฯ แนวปฏิบัตหิ น้าทขี่ องครูท่ปี รกึ ษาในระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์เชียงใหม่ การปฏิบัติหน้าทีค่ รูทป่ี รึกษาระบบดูแล เป็นงานสาคญั ท่ีจะช่วยให้นักเรียนโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ มีคุณภาพชีวิตท่ีดีและก้าวสู่สังคมโลกได้อย่างสง่างาม การดาเนินงานยึดการดาเนินงานให้บรรลุตามปรัชญาของ โรงเรยี น คือ “ความรู้ คคู่ ณุ ธรรม นาอาชีพ” 1. ครทู ่ีปรกึ ษาระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น ปฏิบัตหิ นา้ ท่ีเพื่อการดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น ดังน้ี 1.1 รว่ มกิจกรรมหนา้ เสาธงกบั นักเรยี น เพื่อดแู ลนักเรียนให้มีความพร้อมทีจ่ ะเรียนรูใ้ นแต่ละวัน 1.2 จัดให้มีการพบปะกบั นักเรียนทอี่ ยู่ในความรบั ผิดชอบรปู แบบต่าง ๆ ตามความเหมาะสม เช่น กจิ กรรม โฮมรมู การรว่ มกิจกรรมเพอ่ื พัฒนาคณุ ธรรมของนกั เรียนในแต่ละระดับชั้น 1.3 สงั เกตขอ้ มูลสาคัญ ๆ ตลอดจนพฤตกิ รรมของนกั เรียนเพ่ือช่วยเหลือดแู ลนักเรยี นไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 1.4 คัดกรองนักเรียนเป็นรายบุคคล 1.5 ศึกษารายละเอียดของมาตรฐานการศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ โดยเฉพาะในมาตรฐาน ด้านคุณภาพผู้เรียน ซึ่งมี 3 มาตรฐาน รวมทั้งศึกษาวิสัยทัศน์ ปรัชญา ของโรงเรียนเพ่ือจัดกิจกรรมและพัฒนา ส่งเสรมิ รวมทัง้ ประเมนิ คุณภาพนกั เรยี นตามมาตรฐานงานระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี นเมอ่ื สน้ิ ปีการศึกษา 1.6 ใหก้ ารชว่ ยเหลือ แนะนา แก้ไขพฤติกรรมนักเรยี นทมี่ ีปญั หา หรอื สง่ ต่อ 2. สมดุ คู่มือครทู ีป่ รึกษาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น เป็นเอกสารท่ีเป็นความลับของนกั เรียนและโรงเรียน ทีค่ รูที่ ปรึกษาฯต้องดาเนินการด้วยตนเอง ห้ามให้นักเรียนดาเนินการ การพัฒนาในรูปแบบอื่น ๆ อาจจะเพ่ิมเติมจากที่ กาหนดได้ 3. ไฟล์ข้อมูลที่งานระบบดูแลช่วยเหลือนกเรียนแจกให้ ประกอบด้วย โปรแกรมการคัดกรองนักเรียน,คู่มือการ ดาเนินงานฯ, แบบรายงานของครู เพื่อใช้สาหรับดาเนินงานตามข้ันตอนและรายงานผลระบบดูแลช่วยเหลือ นกั เรยี นตามที่ สพฐ.กาหนด 4. ขอความร่วมมือครูที่ปรึกษาระบบดูแลฯทุกคนดาเนินงานและส่งรายงานข้อมูลระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียน ตามกาหนดปฏิทินการดาเนินงานตามระยะเวลา (ดล.1 - ดล.36) ตามแบบรายงานครูที่กาหนด ท่อี ยใู่ นไฟลข์ อ้ มลู ซ่ึงรายละเอียดสามารถศกึ ษาขอ้ มูล/วธิ กี ารดาเนนิ งานได้ในคู่มือครรู ะบบดแู ลฯ | คมู่ ือระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหเ์ ชียงใหม่ 4

แบบฟอร์ม การดาเนนิ งานรายงานตามคมู่ อื ระบบการดูแลช่วยเหลอื นักเรียน นักเรียน จานวน ............ คน ชนั้ ............ ปกี ารศกึ ษา 256……. ของ .............................................................................. ครูที่ปรึกษาระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรียน โรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ (ขน้ั ตอนต่อไปน้ี คุณครทู กุ ท่านสามารถไปดาเนินการกรอกข้อมูลที่ไฟล์แบบ รายงานของครู เพื่อใช้พมิ พ์รายงานสรุปและใช้เปน็ ข้อมลู ต่อเนื่องในปตี ่อไปได้) | คูม่ ือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์เชียงใหม่ 5

1. การรจู้ ักนกั เรียนเป็นรายบคุ คล ดล. 1 ปฏทิ นิ การดาเนนิ การดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน ดล. 2 ทาเนยี บรปู ดล. 3 ขอ้ มลู นักเรยี น ดล. 4 ระเบยี นสะสม ดล. 5 บนั ทึกการเย่ียมบ้าน | คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์เชยี งใหม่ 6

ดล.1 ปฏทิ นิ ปฏิทินการปฏิบัตงิ านครทู ปี่ รึกษาระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี นปกี ารศกึ ษา 2562 คร้ัง วนั เดือน ปี ขอ้ มูล/กาหนดระยะเวลาการดาเนนิ งาน ที่ ประชุมผู้ปกครองนักเรียน 1. 13 ก.ค. 62 รับคู่มอื แบบฟอรม์ การดาเนินงานสาหรับครูท่ปี รกึ ษาฯ เก็บขอ้ มูล กรอก ข้อมลู คัดกรองนกั เรียน ฯลฯ และบนั ทึกข้อมูลนักเรียน (ดล.2 - ดล.36) 2. 1 ส.ค. 62 ครูที่ปรกึ ษาฯ สง่ ข้อมูลงานระบบดแู ล ประชุมผู้ปกครองนักเรียน (ดล.15, 16, 17, 18, 19) 3. 9 - 15 ส.ค. 62 ครทู ่ีปรึกษาฯ สง่ ข้อมูลงานระบบดูแล การรู้จักนักเรยี นและการคัดกรอง (ดล.2 - 4 , ดล.6 - 13) 4. 20 - 22 ส.ค. 62 ครทู ป่ี รกึ ษาฯ เยยี่ มนักเรยี นที่รบั ผดิ ชอบตามเรือนนอนครัง้ ที่ 1/62 (ดล.5) 5. 23 - 29 ส.ค. 62 ครูที่ปรกึ ษาฯ จดั กจิ กรรม ดูแล ให้การช่วยเหลือ สง่ ตอ่ นักเรยี น 6. ส.ค. - ก.พ. 63 (ดล.14 - ดล.36) ครูทป่ี รึกษาฯ สง่ ข้อมลู งานระบบดแู ล กจิ กรรมสง่ เสริมฯ การปอ้ งกนั ฯ 7. 2 - 6 ก.ย. 62 และการสง่ ตอ่ คร้งั ท่ี 1 (ดล.5), (ดล.14 - ดล.32) คณะทางานหลอมรวมข้อมลู ครงั้ ที่ 1/62 8. 7 - 13 ก.ย. 62 ครทู ่ีปรึกษาฯ เย่ยี มนักเรียนที่รบั ผดิ ชอบตามเรือนนอนครง้ั ที่ 2/62 (ดล.5) 9. 13 -17 ก.ย. 62 ครทู ป่ี รึกษาฯ สรุปและสง่ สรุปรายงานผลข้อมูลงานระบบดูแล 5 ขนั้ ตอน ประจาภาคเรียนที่ 1/62 (ดล.33 - ดล.36) 10. 18 - 20 ก.ย. 62 คณะทางานหลอมรวมข้อมูล ภาคเรยี น 1/62 คณะผูแ้ ทนครู เยี่ยมบ้านนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย นกั เรียนทม่ี ีปัญหาท่ีควรให้ 11. 21-10 ต.ค. 62 การชว่ ยเหลือเร่งดว่ น ครง้ั ท่ี 1/62 (ดล.5) ครูทีป่ รกึ ษาฯ เยี่ยมนักเรียนท่ีรับผดิ ชอบตามเรือนนอนคร้งั ท่ี 3/62 (ดล.5) 12. 25 ธ.ค. 62 – 10 ม.ค. 63 ประชุมผู้ปกครองนักเรียน คร้ังที่ 2/62 (ดล.15, 16, 17, 18, 19) อบรมให้ความรู้นักเรยี น เรื่องครองตน ดแู ลตนให้มีสขุ (ม.1-6) 13. 4-8 พ.ย. 63 ครูทป่ี รกึ ษาฯ เยย่ี มนักเรียนท่ีรับผดิ ชอบตามเรือนนอนครั้งที่ 4/62 (ดล.5) 14. 15 พ.ย. 63 คณะผ้แู ทนครู เย่ียมบ้านนักเรียนกลุ่มเปา้ หมาย นักเรียนท่ีมีปญั หาท่ีควรให้ 15. 16-20 ธ.ค. 63 การชว่ ยเหลือเร่งดว่ น ครั้งที่ 2/62 (ดล.5) 16. 21-25ม.ค. 63 ครทู ปี่ รึกษาฯ สรุปและสง่ สรุปรายงานผลขอ้ มลู งานระบบดแู ล 5 ขน้ั ตอน ประจาภาคเรยี นที่ 2/62 (สน้ิ ปีการศกึ ษา) (ดล.33 - ดล.36) 17. ม.ค. 63 คณะทางานหลอมรวม สรุป รายงานผลขอ้ มูล สิ้นปกี ารศึกษา ประชมุ สรปุ ผลการดาเนนิ งาน วางแนวทางการแก้ไข ปรบั ปรุงพัฒนาและ 18. 18-22 ก.พ. 63 การดาเนนิ งานในปตี อ่ ไป 19. 1-10 มี.ค. 63 20. 15-30 มี.ค. 63 | คมู่ ือระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์เชียงใหม่ 7

ดล.2 ทาเนียบรปู เอกสารขอ้ มูลนักเรยี นระบบดูแลช่วยเหลือ รปู ภาพนกั เรยี นในความดแู ล จานวน..................คน เลขท่ี เลขท่ี 2 เลขที่ 3 เลขที่ 4 เลขที่ 5 ภาพ ภาพ ภาพ ภาพ ภาพ ช่ือ-สกลุ (ชื่อเลน่ ) ชือ่ -สกลุ (ชอ่ื เล่น) ชอื่ -สกุล(ช่อื เลน่ ) ช่อื -สกุล(ชือ่ เลน่ ) ชอ่ื -สกลุ (ชือ่ เล่น) เลขที่ 6 เลขท่ี 7 เลขที่ 8 เลขที่ 9 เลขที่ 10 ภาพ ภาพ ภาพ ภาพ ภาพ ชือ่ -สกลุ (ชอ่ื เล่น) ชื่อ-สกุล(ช่อื เล่น) ชอ่ื -สกุล(ชื่อเลน่ ) ชอ่ื -สกลุ (ช่ือเล่น) ชื่อ-สกลุ (ชอื่ เลน่ ) เลขท่ี 11 เลขท่ี 12 เลขที่ 13 เลขท่ี 14 เลขที่ 15 ภาพ ภาพ ภาพ ภาพ ภาพ ชื่อ-สกุล(ชื่อเล่น) ช่ือ-สกุล(ชื่อเล่น) ชื่อ-สกลุ (ชื่อเลน่ ) ช่อื -สกลุ (ชอ่ื เล่น) ชอ่ื -สกุล(ชอ่ื เล่น) เลขท่ี 16 เลขท่ี 17 เลขที่ 18 เลขท่ี 19 เลขท่ี 20 ภาพ ภาพ ภาพ ภาพ ภาพ ชอ่ื -สกลุ (ชอื่ เลน่ ) ชื่อ-สกลุ (ชื่อเล่น) ชื่อ-สกลุ (ชื่อเล่น) ชื่อ-สกลุ (ช่ือเลน่ ) ชอ่ื -สกลุ (ชือ่ เล่น) | คูม่ ือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนศึกษาสงเคราะหเ์ ชียงใหม่ 8

ดล.2 ทาเนียบรปู (ดา้ นหลงั ) เลขที่ 21 เลขท่ี 22 เลขท่ี 23 เลขท่ี 24 เลขที่ 25 ภาพ ภาพ ภาพ ภาพ ภาพ ชื่อ-สกลุ (ช่อื เล่น) ชื่อ-สกุล(ชื่อเล่น) ชื่อ-สกุล(ชือ่ เล่น) ช่ือ-สกลุ (ชื่อเลน่ ) ชื่อ-สกลุ (ชอื่ เล่น) เลขท่ี 26 เลขท่ี 27 เลขที่ 28 เลขท่ี 29 เลขที่ 30 ภาพ ภาพ ภาพ ภาพ ภาพ ชือ่ -สกุล(ชื่อเลน่ ) ชอ่ื -สกุล(ช่ือเลน่ ) ชอ่ื -สกุล(ชื่อเล่น) ช่ือ-สกลุ (ชื่อเลน่ ) ชอ่ื -สกุล(ชื่อเล่น) เลขที่ 31 เลขที่ 32 เลขท่ี 33 เลขท่ี 34 เลขท่ี 35 ภาพ ภาพ ภาพ ภาพ ภาพ ชื่อ-สกุล(ชื่อเลน่ ) ช่อื -สกลุ (ชื่อเลน่ ) ช่ือ-สกุล(ชื่อเล่น) ชื่อ-สกุล(ช่ือเล่น) ช่ือ-สกุล(ชอ่ื เล่น) เลขที่ 36 เลขท่ี 37 เลขท่ี 38 เลขท่ี 39 เลขที่ 40 ภาพ ภาพ ภาพ ภาพ ภาพ ชื่อ-สกลุ (ชือ่ เล่น) ชื่อ-สกุล(ชอื่ เลน่ ) ชื่อ-สกุล(ชื่อเล่น) ชอื่ -สกลุ (ช่อื เล่น) ชื่อ-สกลุ (ช่อื เล่น) | คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหเ์ ชยี งใหม่ 9

ขอ้ มูลนักเรยี นเป็นรายบคุ คล ดล.3 ขอ้ มูลนักเรยี น เลข ช่อื -สกุล วัน เดอื น นา้ หนัก / ทอี่ ยโู่ ดยย่อ เบอร์โทรผู้ปกครอง ที่ ปเี กิด สว่ นสูง | คมู่ ือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์เชียงใหม่ 10

ดล.4 ระเบยี นสะสม ระเบยี นสะสม โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหเ์ ชยี งใหม่ อาเภอแม่รมิ จังหวดั เชียงใหม่ สานักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ คาชีแ้ จง ให้นกั เรยี นกรอกขอ้ มูลส่วนตัวและ กา ✓ในช่อง  ให้ครบถว้ น สมบรู ณ์ ( ข้อมลู เหล่านจ้ี ะเกบ็ ไวเ้ ปน็ ความลบั ) 1. ประวัติส่วนตวั นกั เรยี น ช่ือ......................…........นามสกุล.....................…........ ชัน้ ม……/….…ช่ือเล่น................เลขประจาตัว.........………... โทรศัพท.์ .........…….........เกดิ วนั ท.ี่ .............เดือน............….................พ.ศ.......…….....สถานทเี่ กดิ บ้านเลขท่ี............. หมู่ท.่ี ................บา้ น......……...............ตาบล...............................อาเภอ.........................จังหวดั ...…………………………. อาศยั อยูเ่ รอื นนอน .............................................................ครูประจาเรอื นนอน......................................................... อาศยั อยกู่ ับ............... ระยะทางจากบา้ นถงึ โรงเรยี น ประมาณ………กโิ ลเมตร ความสามารถ(พิเศษ).................…… เดินทางมาโรงเรียนโดย  เดิน  รถจักรยาน รถจกั รยานยนต์  รถรับส่ง  อืน่ ๆ ( ระบุ)…………...……… ชื่อครูทป่ี รกึ ษา............................................................................................................................................................. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ชื่อบิดา................................................................................อาย.ุ ........……..........ปี อาชีพ..............…...…………............ ช่ือมารดา...................................…....................................อาย.ุ ..........……........ปี อาชีพ................……………............ ทอ่ี ยู่บิดา/มารดา..................................................................................................……….......โทรศพั ท.์ ..............…....... เป็นบตุ รคนที่.......…...ในจานวนพน่ี อ้ งรว่ มสายโลหติ ..….……........คน เป็นชาย....…........คน หญงิ .................คน ประกอบอาชพี แล้ว......................คน อยู่ในความอปุ การะของครอบครัว...........................คน สถานภาพบดิ า มารดา  อยู่ดว้ ยกัน  แยกกนั อยู่  หยา่ ร้างกนั  อน่ื ๆ ระบุ.............................. รายไดข้ องครอบครัว  ตั้งแต่ 27,000 บาทตอ่ ปขี ้นึ ไป  20,000 - 26,999 บาทต่อปี  นอ้ ยกวา่ 20,000 บาทตอ่ ปี ผู้ออกค่าใชจ้ ่ายในการเรียนให้คือ.......................………....................……...เกี่ยวขอ้ งเป็น........................………............ งานอดเิ รกของขา้ พเจ้า.......................................…………............................................................................................ หน้าทรี่ บั ผดิ ชอบภายในบา้ น/เรือนนอนท่ีทานอกเหนือการเรียนคือ 1……………………………………....……….............………….…..…..2..............................................……..........................…….. 2. ด้านเก่ียวกับสขุ ภาพ นา้ หนกั ...................กโิ ลกรมั ส่วนสูง.................ซม. โรคประจาตวั .......………………........................... โรคที่เคยเป็น ........................................เม่อื ปี พ.ศ. ..........................การรักษา.........................………………. ประวัติอุบตั เิ หตุ..................... …….............เมอ่ื พ.ศ. ..................สถานที่เขา้ รับการรกั ษา..........………........... 3. ดา้ นเกย่ี วกับเศรษฐกจิ ข้าพเจ้ามีเงนิ ใช้ จา่ ยในการมาโรงเรียนประมาณวนั /เดือนละ ......................……….......บาท ข้าพเจา้ มงี านพิเศษทาคือ…………………..............…………..………รายไดเ้ ฉลยี่ วันละ…..….........……..บาท ขา้ พเจา้ คิดวา่ ค่าใช้จา่ ยของขา้ พเจา้  มากเกินไป  พอดี  ไมพ่ อใชบ้ างครัง้  น้อยเกนิ ไป | คู่มือระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น โรงเรียนศึกษาสงเคราะหเ์ ชยี งใหม่ 11

ดล.4 ระเบียนสะสม (ด้านหลงั ) 4. ดา้ นเกีย่ วกบั ส่ิงแวดล้อมในโรงเรยี น และทางบา้ น โรงเรยี นของข้าพเจ้า  นา่ เรยี นมาก  นา่ เรียนพอควร  ไมน่ า่ เรียนเลย อบอุ่นพอควร  ห่างเหินกนั บรรยากาศในโรงเรียน  อบอุ่นมาก  ต่างคนตา่ งอยู่  แยกกนั หลายหมู่  สามัคคีกัน  นา่ เรียนพอควร  ไม่นา่ เรียนเลย อบอุ่นพอควร  ห่างเหนิ กนั โรงเรียนของข้าพเจ้า  น่าเรยี นมาก  ต่างคนต่างอยู่  ไมล่ งรอยกนั ทัง้ บ้าน บรรยากาศของ  อบอุ่นมาก  บา้ นข้าพเจ้า  สามัคคกี ัน   เงียบเหงาน่าเบ่ือ ส่งิ ทข่ี า้ พเจา้ อยากใหค้ รอบครัวของขา้ พเจา้ ปรบั ปรงุ คือ 1......................................................………......................2……………………………………….…………. สงิ่ ทขี่ ้าพเจา้ อยากให้ปรบั ปรงุ ของขา้ พเจา้ ปรบั ปรุง คอื 1.....................................................……….......................2…………………………………………….… 5. ด้านเกี่ยวกบั การเรียน ปจั จบุ ันขา้ พเจา้  เรียนไม่เข้าใจ  เบ่ือเรียนบางวชิ า  เรยี นไมท่ ันเพอ่ื น  อยากเลกิ เรยี น  ต้องการให้เพื่อนช่วย  ต้องการครทู ีเ่ ข้าใจและเป็นทีป่ รกึ ษาได้ สาเหตขุ องปัญหาทางการเรยี น เพราะ.........................................………....................................................……… ผลการเรียนเฉล่ยี ม . 1 ปกี ารศกึ ษา…………………….. ม . 2 ปกี ารศกึ ษา…………………….. ม . 3 ปกี ารศกึ ษา…………………….. เกรดเฉลีย่ ………………………………. เกรดเฉล่ีย………………………………. เกรดเฉล่ีย………………………………. ม . 4 ปกี ารศกึ ษา…………………….. ม . 5 ปกี ารศกึ ษา…………………….. ม . 6 ปกี ารศกึ ษา…………………….. ภาคเรยี นที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2 เกรดเฉล่ีย………….. เกรดเฉล่ยี ………….. เกรดเฉลีย่ ………….. เกรดเฉล่ีย………….. เกรดเฉลยี่ ………….. เกรดเฉลยี่ ………….. 6. ดา้ นเก่ียวกับมนุษยสมั พนั ธ์ และบคุ ลกิ ภาพ ขา้ พเจา้ มีเพอ่ื นสนิท คือ……………...........…………..... ชนั้ …......... เม่ืออยู่ในกลุม่ เพื่อนข้าพเจา้ มกั เปน็  ผู้นา  ผู้ตาม  ผ้นู าบางโอกาสผู้ตามบางโอกาส ข้าพเจา้ เข้ากับเพื่อนได้  งา่ ย  ค่อนขา้ งง่าย  ยาก เมือ่ ผ้ใู หญ่ใชง้ านข้าพเจา้ มักจะ  ทาดว้ ยความกระตือรือรน้  ทาเพราะเลีย่ งไมไ่ ด้  พยายามหลกี เลย่ี ง เมอ่ื มกี จิ กรรมกลมุ่ ขา้ พเจา้ มกั จะ  ทางานมากกวา่ เพอื่ น  ทางานเทา่ กบั เพื่อน  ทางานนอ้ ยกวา่ เพ่ือน 7. ดา้ นเกยี่ วกบั สขุ ภาพจติ และคา่ นิยม ข้าพเจา้ ร้สู กึ ว่าโลกน้ี  น่าอยู่  ไมน่ ่าอยู่ ข้าพเจ้ารูส้ กึ วา่ ตัวเอง  มีค่า  ไมม่ คี า่ ข้าพเจ้าคดิ วา่ คนทด่ี คี วรมลี กั ษณะ…………………ข้าพเจา้ คดิ วา่ สังคมทด่ี ีควรมลี กั ษณะ……………………… 8. เปา้ หมายของชีวิตในอนาคต ข้าพเจา้ อยากประกอบอาชพี ..........................................เพราะ...................................... 9. ปัญหาทข่ี ้าพเจ้ากาลงั ประสบอยูใ่ นขณะนี้ 9.1  เรื่องครอบครัว 9.6  เรื่องการวางตัวในสังคม 9.2  เรอ่ื งการเรยี น 9.7  เรื่องการใช้เวลาวา่ ง 9.3  เรอ่ื งสุขภาพ 9.8  เร่อื งการเลือกอาชีพ 9.4  เรอื่ งเศรษฐกจิ 9.9  เร่ืองการเลือกศึกษาตอ่ 9.5  เรื่องการคบเพือ่ น 9.10  เรื่องการปรบั ตวั เข้ากับครู-อาจารย์ในโรงเรียน ถา้ ตอ้ งการความช่วยเหลอื / ปรึกษา ข้าพเจ้าตอ้ งการความช่วยเหลอื / ปรึกษา จาก  บิดา  มารดา  ครูแนะแนว  ครทู ่ปี รึกษา  เพอื่ น  อืน่ ๆ (โปรดระบุ)........................... ลงช่อื ……………………………………..ผ้กู รอกขอ้ มูล | คมู่ ือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น โรงเรียนศึกษาสงเคราะหเ์ ชยี งใหม่ 12

ดล. 5 บันทึกการเย่ยี มบา้ น 1 แบบบนั ทึกการเย่ียมบ้านนกั เรยี น ประจาปีการศกึ ษา 256.... โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะหเ์ ชียงใหม่ อาเภอแม่ริม จังหวัดเชยี งใหม่ สานกั งานบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ ชื่อนกั เรียน………………………..……………………………………………...ชั้น ม….…/….…เลขท…่ี …… ช่ือเล่น…………...……. บา้ นเลขที่…….…...หมู่…..บ้าน……….……ตาบล…………….…..…อาเภอ………………….…..จังหวัด………………….………... ชื่อบดิ า……….................…………….…..…………ชือ่ มารดา………...................………………………โทร……….........…………. เปน็ บุตรลาดับท…่ี …….. จานวนพีน่ อ้ งทั้งหมด……………..คน ชาย………….คน หญิง……..…...คน 1. บ้านท่ีอาศัย  บา้ นตนเอง  อาศยั อยู่กับผู้อื่น (ระบุ)………………  เรือนนอน……............……………… 2. ลักษณะบ้าน  บ้านช้นั เดียว  บา้ นสองช้นั  ลกั ษณะแบบอน่ื ๆ…………………….. 3. สภาพแวดลอ้ ม  ดี  พอใช้  ไมด่ ี  ควรปรับปรุง………………………………….. 4. สภาพความเป็นอยใู่ นครอบครวั  อยู่ร่วมกบั บิดามารดา  อยกู่ ับบดิ า อยกู่ บั มารดา  อยูต่ ามลาพงั  อยู่กบั ผอู้ ืน่ ระบุ……………………….…  ครเู รอื นนอนช่ือ……………………………… 5. อาชีพของผปู้ กครอง  เกษตรกร  คา้ ขาย  รับราชการ  รบั จ้าง  อ่ืน ๆ…………… 6. สถานทที่ างานของบิดามารดา ในอาเภอเดียวกัน ในจังหวดั เดียวกนั  ตา่ งจงั หวัด ระบุ…… 7. สถานภาพของบิดามารดา  บดิ ามารดาอยู่ด้วยกัน  บิดามารดาหยา่ ร้างกัน บดิ าถึงแกก่ รรม  มารดาถงึ แก่กรรม  บดิ าและมารดาถึงแก่กรรม 8. โรคประจาตัวของนักเรยี น  ไม่มี  มี ระบุ…………..…….รกั ษาโดย…………………………… 9. ความสัมพันธข์ องสมาชิกในครอบครัว  อบอ่นุ  เฉย ๆ  ห่างเหนิ  อื่น ๆ……………… 10. ความรู้สกึ ของผู้ปกครองท่มี ตี ่อนักเรยี น  พอใจ  เฉย ๆ  ไมพ่ อใจ  อื่นๆ…………… 11. วธิ ีการท่ผี ปู้ กครองอบรมเล้ียงดูนักเรียน  เขม้ งวดกวดขัน  ตามใจ  ใช้เหตุผล  ปลอ่ ยปละ ละเลย 12. การปฏบิ ัติตนของนักเรยี นขณะอย่ทู บี่ ้าน  อ่านหนงั สอื ทาการบ้าน  ช่วยงานผ้ปู กครอง  ทางานบา้ น  ไมช่ ว่ ยงานเลย  อื่น ๆ…………………………………………. 13. หน้าทรี่ บั ผิดชอบของนักเรียนภายในบ้าน  มีหนา้ ท่ปี ระจาคอื ………………….………  ทาเปน็ คร้ังคราว คือ……………...…………  ไมม่ ี 14. รายไดข้ องครอบครวั ผปู้ กครองมรี ายได้ตอ่ ปี ประมาณ  น้อยกวา่ 20,000 บาท  20,000 – 26,999 บาท  27,000 บาท ขึน้ ไป 15. รายได้กบั การใช้จา่ ยในครอบครัว  เพยี งพอ  ไม่เพียงพอในบางคร้ัง  ขัดสน | คูม่ ือระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนศึกษาสงเคราะหเ์ ชียงใหม่ 13

ดล. 5 บันทกึ การเยีย่ มบ้าน 1 (ดา้ นหลงั ) 16. การหารายได้พเิ ศษของนักเรียน  ไมม่ รี ายไดพ้ ิเศษ  มีรายได้พเิ ศษ จากการทางาน…………………….ประมาณ………บาท/วัน 17. ลกั ษณะเพื่อนเลน่ ทบ่ี ้านของนักเรยี น โดยปกตเิ ปน็  เพอื่ นรุ่นเดียวกนั  เพื่อนรุ่นน้อง  เพ่ือนรุน่ พ่ี  เพื่อนทกุ รนุ่ 18. การเดินทางมาโรงเรียนของนกั เรียน  เดนิ  รถจักรยาน รถจกั รยานยนต์  รถรับสง่ /รถโดยสาร  อนื่ ๆ……………… 19. ความตอ้ งการของผูป้ กครอง เมื่อนักเรยี นเรียนจบชั้นสูงสุดของโรงเรยี น  ศึกษาตอ่  ประกอบอาชีพ (ระบ)ุ ………………………  อืน่ ๆ………………………………. 20. ทศั นคต/ิ ความรสู้ ึกของผู้ปกครองทม่ี ตี ่อโรงเรียน  พอใจ  เฉย ๆ  ไมพ่ อใจ (ระบุ)…………………………………………………………… 21. ในครอบครวั นักเรียนสนิทสนมกับใครมากทส่ี ุด  พ่อ  แม่  พ่ี  น้อง  บุคคลอนื่ (ระบุ)……………………………………………… 22. เมื่อนักเรยี นมีปญั หา นักเรียนจะปรกึ ษาใคร  พ่อ  แม่  พี่  นอ้ ง  บุคคลอืน่ (ระบ)ุ ……………………………………………… 23. ขอ้ เสนอแนะของผ้ปู กครองท่ีมีต่อโรงเรยี น  ด้านพฤติกรรมนักเรยี น…………………………………………………………………………………..  ด้านการจัดการเรยี นการสอน……………………………………………………………………………  ด้านบรรยากาศและอาคารสถานท่ี……………………………………………………………………...  ด้านการบริหารงานโรงเรยี น……………………………………………………………………………..  ดา้ นอื่น ๆ………………………………………………………………………………………….…….. ลงช่ือ………………………………….. ลงชอ่ื …………………………………. (………………………………………..) (………………………………………..) นกั เรียน ผปู้ กครองนกั เรยี น ลงชือ่ …………………………………. (………………………………………..) ครทู ป่ี รกึ ษา/ครูเยยี่ มบ้าน วันท่ี………เดือน………………………….พ.ศ………………….. | คูม่ ือระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหเ์ ชียงใหม่ 14

ดล. 5 บันทึกการเยี่ยมบา้ น 2 บันทึกการเยีย่ มบ้านนักเรยี นหรอื การตดิ ต่อผู้ปกครอง (ภาคเรยี นท่ี ......) ว / ด /ป ชื่อนักเรียน สถานท่ีทไ่ี ป / เบอร์โทร สาเหตทุ ่ีไป/ติดตอ่ ผ้ปู กครองลงนาม บนั ทกึ เพิ่มเตมิ สรุป นกั เรยี นในท่ปี รึกษาจานวน…....... คน เย่ียมบา้ นหรอื ตดิ ตอ่ ผูป้ กครอง จานวน…….……..คน คิดเป็นร้อยละ.............. | ค่มู ือระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์เชยี งใหม่ 15

ดล. 5 บนั ทกึ การเยี่ยมบา้ น 3 สรุปการออกเยีย่ มบา้ นนกั เรียน ประจาปีการศกึ ษา 256…. โรงเรียนศึกษาสงเคราะหเ์ ชยี งใหม่ อาเภอแมร่ มิ จังหวัดเชียงใหม่ สานกั งานบริหารงานการศึกษาพิเศษ วนั ที่ ..................................... เดือน................................................................พ.ศ............................. สถานที่ ..................................................................................................................................................................... จานวนนกั เรยี นทัง้ หมด ……....……คน ชาย…….…….คน หญงิ ……..……คน ช่อื ครูออกเยย่ี มฯ 1…………………………………............................................. 2. ……………………………..………………….………………… ชื่อนักเรยี น 1................................................................................... 2...................................................................................... 3.................................................................................... 4.................................................................................... 5.................................................................................... 6..................................................................................... 7.................................................................................... 8..................................................................................... 9.................................................................................. 10..................................................................................... 11................................................................................ 12.................................................................................... 13................................................................................ 14..................................................................................... 15................................................................................ 16..................................................................................... 17................................................................................ 18..................................................................................... 19................................................................................ 20..................................................................................... สรุปการออกเย่ียมบ้านนกั เรยี น ประจาปกี ารศึกษา 256….. โรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ อาเภอแมร่ ิม จงั หวดั เชยี งใหม่ สานักงานบริหารงานการศึกษาพิเศษ เย่ียมนกั เรยี นเรือนนอน วนั ที่ ………….. เดือน ............................. พ.ศ.256…… ครผู รู้ บั ผิดชอบดแู ลนักเรียน ………………………………………………. จานวนนกั เรียน ............. คน สถานท่ี เรือนนอน........................................................ จานวนนักเรยี นท้ังหมด …………. คน ชาย ............. คน หญงิ …………… คน ชอื่ ครูออกเยี่ยมเรอื นนอน 1. ………………………………………………………………………………… 2. …………………………………………………………………… ท่ี ชอื่ - สกุล เรือนนอน ครเู รอื นนอน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 | คู่มือระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะหเ์ ชยี งใหม่ 16

ดล. 5 บนั ทึกการเย่ยี มบา้ น 3 (ดา้ นหลงั ) ขอ้ ท่ี รายการ รวม(คน) รอ้ ยละ 1 บ้านท่ีอาศยั 1.1 บ้านตนเอง 1.2 อาศัยอยกู่ ับผู้อ่ืน เรือนนอน 2 ลักษณะบ้าน 2.1 บ้านชั้นเดยี ว 2.2 บ้านสองชั้น 2.3 ลักษณะแบบอ่ืน ๆ 3 สภาพแวดล้อมของบา้ น 3.1 ดี 3.2 พอใช้ 3.3 ไม่ดี 3.4 ควรปรับปรุง 4 สภาพความเป็นอยู่ของครอบครวั 4.1 อยรู่ ว่ มกบั บิดามารดา 4.2 อยกู่ บั บดิ า 4.3 อยู่กับมารดา 4.4 อยู่ตามลาพัง 4.5 อยูก่ ับผู้อ่ืน ครูเรือนนอน 5 อาชพี ของผู้ปกครอง 5.1 เกษตรกร 5.2 คา้ ขาย 5.3 รับราชการ 5.4 รับจ้าง 5.5 อื่น ๆ 6 สถานท่ที างานของบิดา มารดา 6.1 ในอาเภอเดียวกัน 6.2 ในจังหวัดเดยี วกนั 6.3 ต่างจังหวัด 7 สถานภาพของบดิ ามารดา 7.1 บิดามารดาอยู่ดว้ ยกนั 7.2 บิดามารดาหยา่ ร้างกนั 7.3 บดิ าถึงแก่กรรม 7.4 มารดาถึงแกก่ รรม 7.5 บิดาและมารดาถึงแกก่ รรม 8 โรคประจาตัว 8.1 มี 8.2 ไมม่ ี 9 ความสมั พันธข์ องสมาชกิ ในครอบครัว 9.1 อบอ่นุ 9.2 เฉยๆ 9.3 ห่างเหนิ 9.4 อ่ืน ๆ 10 ความรสู้ ึกผปู้ กครองต่อนักเรยี น 10.1 พอใจ 10.2 เฉย ๆ 10.3 ไมพ่ อใจ | คมู่ ือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหเ์ ชียงใหม่ 17

ดล.5 บนั ทึกการเยยี่ มบา้ น 3 ขอ้ ท่ี รายการ รวม(คน) รอ้ ยละ 11 วิธกี ารท่ีผูป้ กครองอบรมเลี้ยงดูนักเรียน 11.1 เขม้ งวดกวดขัน 11.2 ตามใจ 11.3 ใช้เหตุผล 11.4 ปลอ่ ยปละละเลย 11.5 อื่น ๆ (ดแู ลตามระเบยี บเรือนนอน) 12 การปฏบิ ตั ติ นของนักเรยี นขณะอย่ทู บ่ี า้ น 12.1 อ่านหนังสอื ทาการบ้าน 12.2 ช่วยงานผปู้ กครอง 12.3 ทางานบ้าน 12.4 ไม่ช่วยงานเลย 12.5 อื่น ๆ (ทากิจกรรมตามระเบยี บเรอื นนอน) 13 หน้าที่รบั ผดิ ชอบของนักเรยี นภายในบา้ น 13.1 มหี น้าทปี่ ระจา 13.2 ทาเป็นครง้ั คราว 13.3 ไมม่ ี 14 รายไดข้ องครอบครวั ผปู้ กครองมรี ายไดต้ ่อปี ประมาณ 14.1 น้อยกวา่ 20,000 บาท 14.2 20,000 – 26,999 บาท 14.3 27,000 บาท ขนึ้ ไป 15 รายได้กับการใช้จ่ายในครอบครัว 15.1 เพียงพอ 15.2 ไม่เพียงพอในบางครง้ั 15.3 ขดั สน 16 การหารายได้พิเศษของนกั เรยี น 16.1 ไม่มีรายไดพ้ เิ ศษ 16.2 มีรายไดพ้ เิ ศษ 17 ลักษณะเพ่อื นเลน่ ทบี่ า้ นของนกั เรยี น โดยปกตเิ ป็น 17.1 เพอื่ นรนุ่ เดียวกัน 17.2 เพอ่ื นรุ่นนอ้ ง 17.3 เพอ่ื นรนุ่ พ่ี 17.4 เพอ่ื นทุกรุ่น 18 การเดนิ ทางมาโรงเรยี นของนกั เรียน 18.1 เดิน 18.2 รถจกั รยาน 18.3 รถจกั รยานยนต์ 18.4 รถรบั ส่ง/รถโดยสาร 18.5 อื่น ๆ 19 ความต้องการของผปู้ กครอง เม่ือนกั เรยี นจบ ม.3,ม.6 19.1 ศกึ ษาต่อ 19.2 ประกอบอาชพี 19.3 อน่ื ๆ 20 ทศั นคติ/ความรูส้ ึกของผู้ปกครองทม่ี ตี ่อโรงเรยี น 20.1 พอใจ 20.2 เฉย ๆ 20.3 ไมพ่ อใจ | คู่มือระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะหเ์ ชยี งใหม่ 18

ดล.5 บันทึกการเยย่ี มบา้ น 3 (ด้านหลัง) 21 ในครอบครวั นกั เรยี นสนิทสนมกบั ใครมากทส่ี ดุ 21.1 พ่อ 21.2 แม่ 21.3 พ่ี 21.4 น้อง 21.5 บุคคลอน่ื (เพื่อน) 23 ขอ้ เสนอแนะของผปู้ กครองตอ่ โรงเรยี น 23.1 ดา้ นพฤตกิ รรมนักเรียน 23.2 ดา้ นการจัดการเรียนการสอน 23.3 ด้านบรรยากาศและอาคารสถานที่ (หอ้ งน้า ห้องสว้ ม น้าดม่ื พดั ลม) 23.4 ด้านการบริหารงานโรงเรียน 23.5 ดา้ นอ่นื ๆ อื่น ๆ.......................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... | คมู่ ือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น โรงเรียนศึกษาสงเคราะหเ์ ชยี งใหม่ 19

2. การคดั กรองนักเรยี น ดล. 6 แบบประเมินพฤติกรรมนกั เรียน (SDQ) ดล. 7 แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์(EQ) ดล. 8 แบบบนั ทึกการคัดกรองนกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล ดล. 9 การคดั กรองนกั เรยี นดา้ นการเรียน (IQ) ดล. 10 การคัดกรองนกั เรยี นดา้ นสุขภาพ ดล. 11 การคัดกรองนกั เรียนดา้ นครอบครวั ดล. 12 สรปุ ผลคัดกรองนักเรยี นด้านต่าง ๆ ดล. 13 สรปุ ผลการคัดกรองและช่วยเหลือนักเรียนเปน็ รายบุคคล | คูม่ ือระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหเ์ ชียงใหม่ 20

ดล.6 SDQ 1 แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก (SDQ) (ฉบบั ครูเป็นผู้ประเมินนักเรียน) ชื่อ (ด.ช.,ด.ญ.,นาย,นางสาว)………………………………………..…………………………………………….. ชั้น …………./…………… เลขที่……..….….. วัน / เดือน / ปีเกดิ …………………………………………………… คาช้ีแจง ใหท้ าเครื่องหมาย 3 ในชอ่ งทา้ ยแต่ละข้อใหค้ รบทกุ ขอ้ กรุณาตอบใหต้ รงกบั ลักษณะของเดก็ ในชว่ ง 6 เดอื นท่ีผา่ นมา ความคดิ เหน็ สาหรับครทู ปี่ รึกษา รวมคะแนน ข้อ พฤตกิ รรมประเมิน ไม่ ค่อน จริง 1 ด้านที่ 5 จริง ข้าง 234 1 ห่วงใยความรู้สกึ คนอื่น จริง 2 อยไู่ ม่นิ่ง นัง่ นง่ิ ๆ ไมไ่ ด้ 3 มักจะบ่นว่าปวดศรี ษะ ปวดทอ้ ง จดั อยู่ในกลุ่ม……………………………... 4 เตม็ ใจแบง่ ปนั สิง่ ของใหเ้ พอื่ น (ขนม, ของเล่น, ดนิ สอ เปน็ ตน้ ) 5 มักจะอาละวาด หรือโมโหรา้ ย 6 คอ่ นขา้ งแยกตวั ชอบเล่นคนเดียว 7 เช่อื ฟัง มักจะทาตามท่ีผู้ใหญต่ ้องการ 8 กังวลใจหลายเร่ือง ดูกังวลเสมอ 9 เปน็ ทีพ่ ง่ึ ได้เวลาทีค่ นอืน่ เสยี ใจ อารมณ์ไมด่ ี หรอื ไม่สบายใจ 10 อยไู่ มส่ ขุ ว่นุ วายอยา่ งมาก 11 มีเพือ่ นสนทิ 12 มักจะมีเรอ่ื งทะเลาะวิวาทกบั เดก็ อน่ื หรือรงั แกเดก็ อนื่ 13 ดูไมม่ ีความสุข ท้อแท้ 14 เป็นที่ชื่นชอบของเพือ่ น 15 วอกแวกง่าย สมาธิส้นั 16 เครียดไมย่ อมห่างเวลาอยใู่ นสถานการณ์ทไ่ี ม่คนุ้ และขาดความมน่ั ใจใน ตนเอง 17 ใจดกี ับเด็กทีเ่ ลก็ กวา่ 18 ชอบโกหก หรอื ขี้โกง 19 ถูกเด็กคนอ่นื ลอ้ เลียนหรอื รงั แก 20 ชอบอาสาชว่ ยเหลือผู้อน่ื (พ่อ, แม,่ คร,ู เด็กคนอน่ื ) 21 คิดก่อนทา 22 ขโมยของทบี่ ้าน ที่โรงเรียนหรอื ท่ีอื่น 23 เขา้ กับผู้ใหญ่ได้ดีกว่าเดก็ วัยเดียวกนั 24 ขกี้ ลวั รสู้ ึกหวาดกลวั ไดง้ ่าย 25 ทางานไดจ้ นเสรจ็ มีความตั้งอกตง้ั ใจในการทางาน รวมคะแนนแต่ละด้าน การแปลผล รวมคะแนนการแปลผล ด้านท่ี 1-4 ได…้ ………………..คะแนน | คูม่ ือระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์เชยี งใหม่ 21

ดล.6 SDQ 1 (ดา้ นหลัง) ฉบบั ครูประเมิน โดยรวมคุณคิดว่าเด็กมปี ญั หาในดา้ นใดดา้ นหน่งึ ตอ่ ไปนห้ี รือไม่  ใช่ มีปัญหาเลก็ นอ้ ย 1. ด้านอารมณ์ ด้านสมาธิ ดา้ นพฤติกรรม หรอื ความสามารถเขา้ กบั ผูอ้ ่ืน  ใช่ มปี ญั หาอยา่ งมาก  ไม่  1 – 5 เดือน  มากกวา่ 1 ปี  ใช่ มีปญั หาชัดเจน ถา้ ตอบว่า “ไม่” ไม่ตอ้ งตอบขอ้ ต่อไป ถ้าคุณตอบวา่ “ใช่” กรุณาตอบขอ้ ตอ่ ไปนี้ 2. ปญั หานเ้ี กิดข้ึนมานานเทา่ ไหรแ่ ล้ว  นอ้ ยกวา่ 1 เดอื น  6 – 12 เดือน *3. ปัญหานท้ี าใหเ้ ด็กรสู้ กึ ไมส่ บายใจหรือไม่ ไมเ่ ลย เลก็ น้อย คอ่ นขา้ งมาก มาก คะแนน   *4. ปญั หาน้รี บกวนชีวติ ประจาวันของเดก็ ในด้านตา่ ง ๆ ตอ่ ไปนหี้ รอื ไม่ รายการ ไม่เลย เลก็ น้อย ค่อนขา้ งมาก มาก คะแนน การคบเพือ่ น   การเรยี นในห้องเรียน   5. ปญั หาของเดก็ ทาให้คุณหรือชนั้ เรียนเกดิ ความย่งุ ยากหรอื ไม่  เลก็ นอ้ ย  ไมเ่ ลย  มาก  คอ่ นข้างมาก ลงชื่อ………………………………………….. ครผู สู้ อน / ครทู ี่ปรกึ ษา / อ่ืน ๆ (โปรดระบุ) ………………………………………………. วนั ที่ ……… เดือน …………………………….. พ.ศ. ……………. คะแนนรวมแบบประเมินดา้ นหลงั แปลผล ………………………………. คะแนนด้านท่ี 5 ได้……………..…..คะแนน  มจี ดุ แข็ง ( 4 - 10 )  ไม่มีจุดแขง็ ( 0 - 3 ) | คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ 22

ดล.6 SDQ 1 การให้คะแนนและการแปลผล ( สาหรบั ครู ประเมนิ นกั เรยี น ) 1. พฤติกรรมดา้ นอารมณ์ คาถาม ไม่จริง ค่อนข้างจรงิ จริง ขอ้ 0 12 3 มักจะบน่ ว่าปวดศรี ษะ ปวดทอ้ ง 8 กังวลใจหลายเรื่อง ดูกงั วลเสมอ 0 12 13 ดไู ม่มีความสขุ ทอ้ แท้ 0 12 16 เครยี ดไม่ยอมหา่ งเวลาอย่ใู นสถานการณท์ ่ีไมค่ นุ้ และขาดความม่นั ใจในตนเอง 0 12 24 ขก้ี ลัว รสู้ ึกหวาดกลัวไดง้ า่ ย 0 12 การแปลผล / จดั อยู่ในกลุ่ม  ปกติ ( 0 – 3 )  เสย่ี ง ( 4 )  มปี ญั หา ( 5 – 10 ) ขอ้ 2. ดา้ นพฤติกรรมเกเร คาถาม ไม่จริง คอ่ นข้างจริง จริง 5 มักจะอาละวาด หรอื โมโหร้าย 0 12 7 เชื่อฟัง มักจะทาตามที่ผใู้ หญ่ตอ้ งการ 2 10 12 มกั จะมเี ร่ืองทะเลาะวิวาทกบั เดก็ อ่นื หรอื รังแกเด็กอนื่ 0 12 18 ชอบโกหก หรือข้ีโกง 0 12 22 ขโมยของทบ่ี า้ น ทโ่ี รงเรยี นหรือทอี่ ่ืน 0 12 การแปลผล / จดั อยใู่ นกลมุ่  ปกติ ( 0 – 3 )  เสี่ยง ( 4 )  มปี ญั หา ( 5 – 10 ) คาถาม ข้อ 3. ดา้ นพฤตกิ รรมไมอ่ ยูน่ ่งิ ไมจ่ รงิ คอ่ นข้างจริง จริง 2 อยู่ไม่นง่ิ นงั่ นิง่ ๆ ไม่ได้ 0 12 10 อยู่ไมส่ ขุ วุ่นวายอยา่ งมาก 0 12 15 วอกแวกงา่ ย สมาธสิ ั้น 0 12 21 คิดกอ่ นทา 2 10 25 ทางานไดจ้ นเสรจ็ มคี วามตัง้ อกตงั้ ใจในการทางาน 2 10 การแปลผล / จดั อยู่ในกลุ่ม  ปกติ ( 0 – 5 )  เสย่ี ง ( 6 )  มปี ญั หา ( 7 – 10 ) คาถาม ไมจ่ ริง คอ่ นข้างจริง จริง ขอ้ 4. พฤติกรรมดา้ นความสมั พนั ธ์กบั เพอื่ น 0 6 คอ่ นข้างแยกตวั ชอบเล่นคนเดียว 2 12 11 มีเพื่อนสนิท 2 10 14 เป็นท่ีช่ืนชอบของเพอ่ื น 0 10 19 ถูกเด็กคนอ่นื ลอ้ เลยี น หรอื รงั แก 12 23 เข้ากับผู้ใหญไ่ ดด้ ีกว่ากบั เดก็ วยั เดยี วกนั 0 12 การแปลผล / จดั อยู่ในกล่มุ  ปกติ ( 0 – 5 )  เสีย่ ง ( 6 )  มปี ญั หา ( 7 – 10 ) ไมจ่ ริง คอ่ นขา้ งจรงิ จริง ขอ้ 5. พฤติกรรมดา้ นสมั พันธภาพทางสงั คม คาถาม 0 0 12 1 หว่ งใยความรู้สกึ คนอ่นื 0 12 0 12 4 เตม็ ใจแบ่งปันสิ่งของใหเ้ พอ่ื น (ขนม, ของเลน่ , ดนิ สอ เปน็ ต้น) 0 12 12 9 เป็นท่ีพงึ่ ได้เวลาที่คนอ่ืนเสยี ใจ อารมณไ์ มด่ ี หรือไม่สบายใจ 17 ใจดกี ับเดก็ ท่เี ลก็ กว่า 20 ชอบอาสาช่วยเหลือผอู้ ่ืน (พ่อ แม่, คร,ู เพื่อน, เดก็ คนอ่ืน ๆ เปน็ ตน้ ) การแปลผล / จดั อยู่ในกลุ่ม  มีจดุ แขง็ ( 4 – 10 )  ไมม่ ีจดุ แขง็ ( 0 - 3 ) | ค่มู ือระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ 23

ดล.6 SDQ 2 แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก (SDQ) (ฉบับนกั เรยี นประเมนิ ตนเอง) ชอื่ (ด.ช.,ด.ญ.,นาย,นางสาว)………………………………………………….. ….ช้นั …………./…………… เลขท่ี……..….…..กลมุ่ …..……... วนั / เดือน / ปเี กดิ …………………………………………………… คาชีแ้ จง ให้ทาเคร่อื งหมาย 3ในชอ่ งทา้ ยแตล่ ะขอ้ ให้ครบทุกขอ้ กรุณาตอบให้ตรงกบั ลกั ษณะของเด็กในช่วง 6 เดือนทผ่ี า่ นมา ความคดิ เห็น สาหรบั ครูทป่ี รกึ ษา รวมคะแนน ข้อ พฤตกิ รรมประเมิน ไม่ ค่อน จรงิ ดา้ นท่ี จรงิ ขา้ ง 1 ฉันพยายามทาตัวดกี บั คนอ่ืน ฉนั ใส่ใจความรู้สกึ ของคนอ่ืน จริง 12345 2 ฉันอยู่ไม่น่งิ ฉันน่ังน่งิ ๆ ไม่ได้ 3 ฉนั ปวดศีรษะ ปวดทอ้ ง หรือไม่สบายบ่อย ๆ จดั อยู่ในกลมุ่ ……………………………... 4 ฉนั เต็มใจแบง่ ปนั สิง่ ของให้เพอ่ื น (ขนม, ของเลน่ , ดนิ สอ)  มจี ดุ แข็ง ( 4 - 10 )  ไม่มจี ุดแขง็ ( 0 - 3 ) 5 ฉนั โกรธแรง และมักอารมณ์เสยี 6 ฉันชอบอยกู่ ับตวั เอง ฉันชอบเลน่ คนเดยี วหรืออยตู่ ามลาพงั 7 ฉันมกั ทาตามทีค่ นอ่นื บอก 8 ฉนั ข้ีกงั วล 9 ใคร ๆ ก็พึง่ ฉนั ได้ ถา้ เขาเสียใจ อารมณไ์ มด่ ี หรือไมส่ บายใจ 10 ฉนั อย่ไู มส่ ขุ วุน่ วาย 11 ฉันมีเพอ่ื นสนิท 12 ฉนั มีเรอ่ื งทะเลาะววิ าทบอ่ ย ฉนั ทาใหค้ นอื่นทาอยา่ งทีฉ่ ันตอ้ งการได้ 13 ฉนั ไมม่ ีความสขุ ทอ้ แท้ รอ้ งไห้บอ่ ย ๆ 14 เพอ่ื น ๆ สว่ นมากชอบฉนั 15 ฉนั วอกแวกงา่ ย ฉันรสู้ ึกวา่ ไม่มสี มาธิ 16 ฉันกงั วลเวลาอยู่ในสถานการณ์ท่ไี มค่ นุ้ และเสยี ความม่นั ใจในตนเองง่าย 17 ฉนั ใจดีกับเดก็ ทีเ่ ลก็ กวา่ 18 มคี นว่าฉันโกหก หรือขโี้ กงบอ่ ย ๆ 19 เด็กๆ คนอนื่ ลอ้ เลยี น หรือรงั แกฉัน 20 ฉนั มักจะอาสาชว่ ยเหลอื ผอู้ นื่ (พอ่ แม่, คร,ู เพ่อื น, เด็กคนอน่ื ๆ) 21 ฉนั คดิ กอ่ นทา 22 ฉนั เอาของคนอืน่ ในบ้าน ที่โรงเรียนหรอื ที่อน่ื 23 ฉันเข้ากบั ผู้ใหญไ่ ดด้ กี ว่ากบั เดก็ ในวัยเดยี วกัน 24 ฉนั ขกี้ ลวั รสู้ ึกหวาดกลัวได้งา่ ย 25 ฉนั ทางานได้จนเสร็จ ความต้งั ใจในการทางานของฉันดี รวมคะแนนแต่ละดา้ น การแปลผล รวมคะแนนการแปลผล ด้านท่ี 1-4 ได…้ ………………..คะแนน คะแนนด้านที่ 5 ได้……………..…..คะแนน | คมู่ ือระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น โรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์เชยี งใหม่ 24

ดล.6 SDQ 2 (ดา้ นหลงั ) ฉบับนักเรียน โดยรวมเธอคิดว่าตัวเองมีปัญหาในด้านใดด้านหนึ่งต่อไปน้ีหรือไม่ 1. ดา้ นอารมณ์ ด้านสมาธิ ด้านพฤติกรรม หรอื ความสามารถเขา้ กบั ผู้อนื่  ไม่  ใช่ มปี ญั หาเลก็ น้อย  ใช่ มปี ญั หาชัดเจน  ใช่ มปี ญั หาอย่างมาก ถ้าตอบว่า “ไม”่ ไมต่ ้องตอบขอ้ ต่อไป ถ้าคณุ ตอบวา่ “ใช่” กรุณาตอบข้อต่อไปน้ี 2. ปญั หานีเ้ กดิ ข้นึ มานานเท่าไหร่แล้ว  นอ้ ยกวา่ 1 เดอื น  1 – 5 เดอื น  6 – 12 เดอื น  มากกว่า 1 ปี *3. ปัญหานท้ี าใหเ้ ธอรู้สึกไมส่ บายใจหรอื ไม่  ไมเ่ ลย  เล็กน้อย  คอ่ นข้างมาก  มาก *4. ปญั หาน้รี บกวนชวี ติ ประจาวนั ของเธอในดา้ นต่าง ๆ ต่อไปนี้หรอื ไม่ ไม่เลย เล็กน้อย คอ่ นข้างมาก มาก ความเปน็ อยู่ทบ่ี ้าน    การคบเพอ่ื น    การเรียนในหอ้ งเรียน     กจิ กรรมยามวา่ ง   5. ปญั หานี้ทาใหค้ นรอบข้างเกดิ ความยุง่ ยากหรือไม่ ( ครอบครวั เพ่ือน ครู เป็นตน้ )  ไม่เลย  เลก็ นอ้ ย  ค่อนข้างมาก  มาก ลงช่ือ………………………………………….. คะแนนรวมแบบประเมินด้านหลงั แปลผล ………………………………. | ค่มู ือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหเ์ ชยี งใหม่ 25

ดล.6 SDQ 2 การให้คะแนนและการแปลผล ( สาหรบั นักเรยี นประเมินตนเอง ) ข้อ 1. พฤตกิ รรมดา้ นอารมณ์ คาถาม ไม่จรงิ คอ่ นขา้ งจรงิ จริง 0 12 3 ฉนั ปวดศีรษะ ปวดทอ้ ง หรอื ไม่สบายบอ่ ย ๆ 0 12 0 12 8 ฉันขี้กังวล 0 12 0 12 13 ฉนั ไม่มคี วามสุข ทอ้ แท้ รอ้ งไหบ้ อ่ ย ๆ  เสยี่ ง ( 6 )  มปี ัญหา ( 7 – 10 ) 16 ฉันกังวลเวลาอยใู่ นสถานการณ์ทไี่ ม่คนุ้ และเสยี ความมนั่ ใจในตนเองง่าย ไม่จริง ค่อนขา้ งจริง จริง 0 24 ฉนั ข้ีกลวั รู้สึกหวาดกลวั ไดง้ า่ ย 2 12 0 10 การแปลผล / จัดอยู่ในกลุ่ม  ปกติ ( 0 – 5 ) 0 12 0 12 ขอ้ 2. ด้านพฤติกรรมเกเร คาถาม 12 5 ฉันโกรธแรง และมักอารมณเ์ สยี 7 ฉนั มักทาตามท่ีคนอน่ื บอก 12 ฉนั มีเรื่องทะเลาะววิ าทบอ่ ย ฉนั ทาให้คนอนื่ ทาอยา่ งทฉี่ นั ตอ้ งการได้ 18 มคี นว่าฉันโกหก หรอื ขี้โกงบอ่ ย ๆ 22 ฉนั เอาของคนอ่นื ในบา้ น ทโี่ รงเรียนหรอื ที่อื่น การแปลผล / จดั อยู่ในกลุ่ม  ปกติ ( 0 – 4 )  เสย่ี ง ( 5 )  มปี ัญหา ( 6 – 10 ) ไม่จรงิ คอ่ นข้างจรงิ จรงิ ขอ้ 3. ด้านพฤตกิ รรมไมอ่ ย่นู งิ่ คาถาม 0 0 12 2 ฉนั อยู่ไม่น่ิง ฉันน่งั นิ่ง ๆ ไมไ่ ด้ 0 12 2 12 10 ฉนั อยู่ไม่สขุ วุน่ วาย 2 10 10 15 ฉันวอกแวกงา่ ย ฉันรู้สกึ วา่ ไมม่ สี มาธิ  เส่ยี ง ( 6 ) ไม่จรงิ  มปี ญั หา ( 7 – 10 ) 21 ฉันคดิ ก่อนทา 0 ค่อนข้างจรงิ จรงิ 2 25 ฉนั ทางานได้จนเสร็จ ความตง้ั ใจในการทางานของฉันดี 2 12 0 10 การแปลผล / จัดอยูใ่ นกลมุ่  ปกติ ( 0 – 5 ) 0 10 12 ข้อ 4. พฤตกิ รรมดา้ นความสัมพันธ์กบั เพ่อื น คาถาม 12 6 ฉนั ชอบอยู่กบั ตวั เอง ฉันชอบเล่นคนเดยี วหรอื อยตู่ ามลาพัง 11 ฉนั มีเพือ่ นสนทิ 14 เพ่ือน ๆ สว่ นมากชอบฉัน 19 เดก็ ๆ คนอนื่ ล้อเลียน หรือรังแกฉนั 23 ฉันเข้ากับผู้ใหญ่ได้ดีกวา่ กบั เดก็ ในวยั เดยี วกัน การแปลผล / จัดอยู่ในกล่มุ  ปกติ ( 0 – 3 )  เสย่ี ง ( 4 )  มปี ญั หา ( 5 – 10 ) ขอ้ 5. พฤติกรรมดา้ นสมั พันธภาพทางสังคม คาถาม ไมจ่ ริง คอ่ นข้างจรงิ จรงิ 1 ฉันพยายามทาตวั ดกี บั คนอื่น ฉนั ใส่ใจความร้สู ึกของคนอืน่ 0 12 4 ฉนั เตม็ ใจแบง่ ปนั สงิ่ ของใหเ้ พื่อน (ขนม, ของเลน่ , ดินสอ เป็นตน้ ) 0 12 9 ใคร ๆ กพ็ ึ่งฉันได้ ถา้ เขาเสยี ใจ อารมณไ์ ม่ดี หรอื ไมส่ บายใจ 0 12 17 ฉนั ใจดกี ับเด็กท่ีเล็กกว่า 0 12 20 ฉนั มักจะอาสาชว่ ยเหลือผอู้ ่ืน (พอ่ แม่, คร,ู เพอ่ื น, เด็กคนอนื่ ๆ เป็นตน้ ) 0 12 การแปลผล / จัดอยใู่ นกลุ่ม  มีจุดแขง็ ( 4 – 10 )  ไม่มีจุดแขง็ ( 0 - 3 ) | คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหเ์ ชียงใหม่ 26

ดล.6 SDQ 3 แบบประเมนิ พฤติกรรมเดก็ (SDQ) (ฉบับผู้ปกครองเปน็ ผู้ประเมนิ นกั เรยี น) ช่ือ (ด.ช.,ด.ญ.,นาย,นางสาว)………………………………………………….. ….ชั้น …………./…………… เลขที่……..….…..กลมุ่ …..……... วนั / เดือน / ปเี กดิ …………………………………………………… คาชีแ้ จง ใหท้ าเครอ่ื งหมาย 3ในช่องท้ายแต่ละขอ้ ให้ครบทุกข้อ กรุณาตอบใหต้ รงกับลกั ษณะของเดก็ ในชว่ ง 6 เดอื นทผ่ี ่านมา ความคดิ เห็น สาหรบั ครูทปี่ รกึ ษา รวมคะแนน ข้อ พฤตกิ รรมประเมนิ ค่อน ดา้ นท่ี ไม่จริง ข้าง จรงิ 1 2 3 4 5 จริง 1 หว่ งใยความรู้สกึ คนอ่ืน 2 อยไู่ มน่ ง่ิ นง่ั น่ิง ๆ ไม่ได้ 3 มกั จะบน่ วา่ ปวดศรี ษะ ปวดทอ้ ง 4 เตม็ ใจแบง่ ปันสิง่ ของใหเ้ พ่ือน (ขนม, ของเลน่ , ดินสอ เปน็ ตน้ ) 5 มักจะอาละวาด หรือโมโหรา้ ย 6 คอ่ นขา้ งแยกตวั ชอบเล่นคนเดียว 7 เชื่อฟงั มักจะทาตามท่ีผู้ใหญ่ตอ้ งการ 8 กังวลใจหลายเร่ือง ดูกังวลเสมอ 9 เปน็ ท่ีพึง่ ไดเ้ วลาทีค่ นอ่ืนเสยี ใจ อารมณไ์ มด่ ี หรือไม่สบายใจ 10 อยู่ไมส่ ขุ วนุ่ วายอย่างมาก 11 มีเพ่อื นสนทิ 12 มกั จะมเี ร่ืองทะเลาะววิ าทกบั เด็กอื่น หรือรงั แกเด็กอ่นื 13 ดูไม่มคี วามสุข ท้อแท้ 14 เปน็ ทีช่ ืน่ ชอบของเพอ่ื น 15 วอกแวกงา่ ย สมาธสิ ้ัน 16 เครียดไมย่ อมหา่ งเวลาอยูใ่ นสถานการณ์ท่ไี ม่คุน้ และขาดความมัน่ ใจในตนเอง 17 ใจดกี บั เด็กทเี่ ลก็ กวา่ 18 ชอบโกหก หรือขโี้ กง 19 ถกู เดก็ คนอื่นลอ้ เลียนหรอื รังแก 20 ชอบอาสาชว่ ยเหลอื ผู้อ่ืน (พ่อ, แม่, คร,ู เดก็ คนอ่นื ) 21 คิดก่อนทา 22 ขโมยของทบี่ า้ น ทโี่ รงเรยี นหรอื ทอี่ ่นื 23 เขา้ กบั ผใู้ หญไ่ ดด้ กี วา่ เดก็ วยั เดียวกัน 24 ขกี้ ลวั ร้สู ึกหวาดกลวั ได้งา่ ย 25 ทางานได้จนเสร็จ มีความตัง้ อกตัง้ ใจในการทางาน รวมคะแนนแต่ละดา้ น การแปลผล รวมคะแนนการแปลผล ด้านท่ี 1-4 ได…้ ………………..คะแนน จัดอยใู่ นกลุ่ม……………………………... คะแนนด้านท่ี 5 ได้……………..…..คะแนน  มจี ดุ แขง็ ( 4 - 10 )  ไม่มจี ุดแขง็ ( 0 - 3 ) | คูม่ ือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะหเ์ ชยี งใหม่ 27

ดล.6 SDQ 3 (ด้านหลงั ) ฉบับผูป้ กครองประเมนิ โดยรวมคณุ คดิ ว่าเด็กมปี ญั หาในด้านใดด้านหน่ึงตอ่ ไปน้หี รือไม่ 1. ดา้ นอารมณ์ ด้านสมาธิ ดา้ นพฤติกรรม หรือความสามารถเข้ากับผู้อน่ื  ไม่  ใช่ มีปญั หาเล็กนอ้ ย  ใช่ มีปญั หาชดั เจน  ใช่ มีปัญหาอยา่ งมาก ถ้าตอบว่า “ไม”่ ไมต่ ้องตอบขอ้ ต่อไป ถ้าคุณตอบว่า “ใช่” กรุณาตอบข้อต่อไปนี้ 2. ปญั หานีเ้ กิดขนึ้ มานานเทา่ ไหรแ่ ลว้  นอ้ ยกว่า 1 เดือน  1 – 5 เดือน  6 – 12 เดือน  มากกวา่ 1 ปี *3. ปัญหาน้ีทาให้เดก็ รู้สึกไมส่ บายใจหรอื ไม่ ไม่เลย เล็กนอ้ ย ค่อนข้างมาก มาก คะแนน    *4. ปัญหานรี้ บกวนชวี ิตประจาวันของเด็กในด้านต่าง ๆ ตอ่ ไปนห้ี รือไม่ รายการ ไมเ่ ลย เล็กน้อย ค่อนข้างมาก มาก คะแนน ความเปน็ อยู่ท่ีบ้าน   การคบเพอื่ น   การเรยี นในห้องเรยี น   กิจกรรมยามวา่ ง   5. ปัญหานี้ทาใหค้ ุณหรอื ครอบครวั เกิดความยุ่งยากหรือไม่  ไมเ่ ลย  เลก็ นอ้ ย  ค่อนข้างมาก  มาก ลงช่ือ………………………………………….. พอ่ / แม่ / อื่น ๆ (โปรดระบุ) ………………………………………………. วันท่ี ……… เดอื น …………………………….. พ.ศ. ……………. คะแนนรวมแบบประเมินด้านหลัง แปลผล ………………………………. | คู่มือระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์เชยี งใหม่ 28

ดล.6 SDQ 3 การใหค้ ะแนนและการแปลผล ( สาหรบั ผปู้ กครอง ประเมินนกั เรยี น ) ขอ้ 1. พฤติกรรมดา้ นอารมณ์ คาถาม ไมจ่ ริง คอ่ นขา้ งจรงิ จริง 3 มักจะบน่ วา่ ปวดศรี ษะ ปวดทอ้ ง 0 12 8 กงั วลใจหลายเรื่อง ดูกังวลเสมอ 0 12 13 ดูไม่มีความสขุ ท้อแท้ 0 12 16 เครียดไม่ยอมหา่ งเวลาอย่ใู นสถานการณ์ทีไ่ ม่คุน้ และขาดความมนั่ ใจในตนเอง 0 12 24 ขกี้ ลัว รู้สกึ หวาดกลวั ไดง้ ่าย 0 12 การแปลผล / จดั อย่ใู นกลุ่ม  ปกติ ( 0 – 3 )  เสย่ี ง ( 4 )  มีปัญหา ( 5 – 10 ) ขอ้ 2. ดา้ นพฤตกิ รรมเกเร คาถาม ไม่จริง ค่อนขา้ งจริง จริง 5 มกั จะอาละวาด หรือโมโหร้าย 0 12 7 เชื่อฟงั มักจะทาตามท่ผี ูใ้ หญ่ต้องการ 2 10 12 มกั จะมีเรอ่ื งทะเลาะววิ าทกับเด็กอน่ื หรือรงั แกเด็กอื่น 0 12 18 ชอบโกหก หรือข้ีโกง 0 12 22 ขโมยของท่ีบ้าน ท่โี รงเรียนหรอื ท่อี น่ื 0 12 การแปลผล / จัดอย่ใู นกลมุ่  ปกติ ( 0 – 3 )  เสี่ยง ( 4 )  มีปญั หา ( 5 – 10 ) ขอ้ 3. ดา้ นพฤติกรรมไม่อยูน่ ง่ิ คาถาม ไมจ่ ริง คอ่ นข้างจริง จรงิ 2 อยู่ไม่นงิ่ นงั่ นิ่ง ๆ ไมไ่ ด้ 0 12 10 อยู่ไมส่ ขุ วุ่นวายอย่างมาก 0 12 15 วอกแวกงา่ ย สมาธสิ น้ั 0 12 21 คิดก่อนทา 2 10 25 ทางานไดจ้ นเสร็จ มคี วามตัง้ อกตงั้ ใจในการทางาน 2 10 การแปลผล / จัดอย่ใู นกล่มุ  ปกติ ( 0 – 5 )  เสยี่ ง ( 6 )  มีปัญหา ( 7 – 10 ) คาถาม ไม่จรงิ ค่อนข้างจริง จรงิ ข้อ 4. พฤตกิ รรมด้านความสมั พันธ์กบั เพื่อน 0 12 6 ค่อนข้างแยกตวั ชอบเลน่ คนเดียว 11 มีเพอ่ื นสนิท 2 10 14 เปน็ ที่ชน่ื ชอบของเพอื่ น 2 10 19 ถูกเด็กคนอน่ื ลอ้ เลยี น หรือรงั แก 0 12 23 เข้ากับผูใ้ หญไ่ ดด้ ีกวา่ กับเด็กวัยเดียวกัน 0 12 การแปลผล / จดั อย่ใู นกล่มุ  ปกติ ( 0 – 5 )  เสี่ยง ( 6 )  มปี ญั หา ( 7 – 10 ) ข้อ 5. พฤติกรรมด้านสมั พันธภาพทางสังคม คาถาม ไมจ่ ริง ค่อนขา้ งจริง จริง 1 ห่วงใยความรู้สึกคนอ่นื 0 12 4 เต็มใจแบ่งปันส่ิงของใหเ้ พื่อน (ขนม, ของเลน่ , ดนิ สอ เป็นตน้ ) 0 12 9 เป็นท่พี ่ึงได้เวลาทค่ี นอน่ื เสียใจ อารมณไ์ มด่ ี หรือไม่สบายใจ 0 12 17 ใจดกี บั เดก็ ทเ่ี ล็กกวา่ 0 12 20 ชอบอาสาชว่ ยเหลือผูอ้ ่ืน (พ่อ แม,่ ครู, เพ่ือน, เด็กคนอนื่ ๆ เป็นตน้ ) 0 12 การแปลผล / จัดอย่ใู นกลุ่ม  มีจุดแข็ง ( 4 – 10 )  ไมม่ ีจดุ แข็ง ( 0 - 3 ) | ค่มู ือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะหเ์ ชยี งใหม่ 29

ดล.6 SDQ ตารางคะแนนการแปลผลแบบประเมินพฤติกรรมเด็ก สรปุ การใหค้ ะแนนและการแปลผลในภาพรวม (นักเรยี นประเมนิ ตนเอง) รายการประเมนิ ปกติ เสี่ยง มปี ญั หา คะแนนรวมพฤตกิ รรมทเ่ี ปน็ ปัญหา(จากคะแนนรวมพฤติกรรม 4 ดา้ น) 0 - 16 17 - 18 19 - 40 คะแนนรวมพฤติกรรมแตล่ ะด้าน 1. พฤติกรรมดา้ นอารมณ์ 0 – 5 6 7 - 10 2. พฤตกิ รรมเกเร 0 – 4 5 6 - 10 3. พฤตกิ รรมอยไู่ มน่ ิ่ง 0 – 5 6 7 - 10 4. พฤติกรรมดา้ นความสัมพันธก์ บั เพอื่ น 0 - 3 4 5 - 10 5. พฤตกิ รรมด้านสมั พนั ธภาพทางสังคม ( คะแนนจดุ แข็ง ) มีจดุ แขง็ (4 – 10) ไม่มีจดุ แขง็ (0 – 3) สรปุ การให้คะแนนและการแปลผลในภาพรวม ( ฉบบั ครปู ระเมนิ นักเรยี น และ ฉบบั ผู้ปกครองประเมินนักเรยี น ) รายการประเมนิ ปกติ เสย่ี ง มปี ญั หา คะแนนรวมพฤตกิ รรมทเี่ ป็นปญั หา(จากคะแนนรวมพฤติกรรม 4 ดา้ น) 0 - 15 16 - 17 18 - 40 คะแนนรวมพฤติกรรมแตล่ ะด้าน 1. พฤตกิ รรมด้านอารมณ์ 0 – 3 4 5 - 10 2. พฤติกรรมเกเร 0 – 3 4 5 - 10 3. พฤตกิ รรมอยไู่ มน่ ง่ิ 0 – 5 6 7 - 10 4. พฤตกิ รรมดา้ นความสัมพนั ธก์ บั เพอื่ น 0 - 5 6 7 - 10 5. พฤติกรรมด้านสัมพันธภาพทางสังคม ( คะแนนจดุ แขง็ ) มีจดุ แข็ง (4 – 10) ไมม่ ีจดุ แข็ง (0 – 3) การแปลผล (ดา้ นหลงั ) สาหรับครู นกั เรยี น/ผ้ปู กครอง รายการประเมนิ ไมเ่ ลย เลก็ นอ้ ย คอ่ นขา้ งมาก มาก *3. ปญั หานที้ าใหร้ ู้สึกไม่สบายใจ 00 12 *4. ปญั หานร้ี บกวนชีวิตประจาวนั ในด้านต่าง ๆ ขอ้ สาหรบั การให้คะแนนของ รายการประเมนิ ไมเ่ ลย เลก็ นอ้ ย คอ่ นข้างมาก มาก นกั เรียน / ผูป้ กครอง ครู   ความเปน็ อยู่ทบี่ ้าน 00 12    การคบเพื่อน 00 12    การเรียนในห้องเรียน 00 12   กจิ กรรมยามว่าง 00 12 คะแนนรวม 0 คะแนน ปกติ สรปุ การแปลผล คะแนนรวม 1 – 2 คะแนน เสย่ี ง คะแนนรวม 3 – 10 คะแนน มีปัญหา | ค่มู ือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะหเ์ ชียงใหม่ 30

ดล.6 SDQ ตารางแสดงเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเตบิ โต ของเพศหญิง อายุ 12 - 18 ปี เปรยี บเทยี บระหว่าง อายุ กับ น้าหนกั อายุ ( ปี ) ต่ากวา่ เกณฑ์ปกติ นา้ หนัก ( กิโลกรัม ) สงู กวา่ เกณฑป์ กติ เกณฑ์ปกติ สูงกว่า 53 12 ตา่ กวา่ 29.50 29.50 - 53 สูงกว่า 55.50 33 - 55.50 สูงกวา่ 56.50 13 ตา่ กวา่ 33 สงู กวา่ 57 36.50 - 56.50 สงู กว่า 57.50 14 ตา่ กวา่ 36.50 38.50 - 57 สงู กว่า 57.50 40 - 57.50 สงู กว่า 58 15 ต่ากวา่ 38.50 41 - 57.50 41.50 - 58 16 ต่ากวา่ 40 17 ตา่ กวา่ 41 18 ต่ากวา่ 41.50 เปรียบเทยี บระหว่าง อายุ กบั ส่วนสงู อายุ ( ปี ) ตา่ กวา่ เกณฑป์ กติ สว่ นสูง ( เซนติเมตร ) สูงกว่าเกณฑป์ กติ เกณฑป์ กติ สงู กวา่ 160.50 12 ตา่ กวา่ 139 139 - 160.50 สงู กว่า 162.50 สงู กว่า 163.50 13 ต่ากวา่ 143.50 143.50 - 162.50 สูงกวา่ 164 147 - 163.50 สงู กวา่ 164 14 ต่ากวา่ 147 148.50 - 164 สงู กว่า 164 149 - 164 สูงกว่า 164.50 15 ตา่ กวา่ 148.50 149.50 - 164 150 - 164.50 16 ต่ากวา่ 149 17 ตา่ กวา่ 149.50 18 ต่ากวา่ 150 เปรยี บเทยี บระหวา่ ง ส่วนสงู กับ น้าหนกั สว่ นสูง ( เซนติเมตร ) ต่ากวา่ เกณฑ์ปกติ นา้ หนัก ( กโิ ลกรัม ) สงู กวา่ เกณฑป์ กติ เกณฑ์ปกติ สงู กว่า 38 สงู กว่า 42.50 130 - 135 ตา่ กวา่ 22.50 22.50 - 38 สูงกว่า 47 สูงกว่า 51.50 136 - 140 ต่ากวา่ 25.50 25.50 - 42.50 สงู กว่า 55.50 สงู กวา่ 59 141 - 145 ตา่ กวา่ 28.50 28.50 - 47 สงู กวา่ 62.50 สูงกว่า 65.50 146 - 150 ตา่ กวา่ 31.50 31.50 - 51.50 151 - 155 ต่ากวา่ 35.50 35.50 - 55.50 156 - 160 ตา่ กวา่ 34 34 - 59 161 - 165 ต่ากวา่ 43 43 - 62.50 166 - 170 ต่ากวา่ 46.50 46.50 - 65.50 ขอ้ มูล : กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2542 เกณฑ์อา้ งองิ นา้ หนัก ส่วนสูง และเคร่อื งช้ีวดั ภาวะโภชนาการของประชาชนคนไทย อายุ 12 - 19 ปี | คู่มือระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์เชยี งใหม่ 31

ดล.6 SDQ ตารางแสดงเกณฑ์อา้ งองิ การเจริญเติบโต ของเพศชาย อายุ 12 - 18 ปี เปรียบเทยี บระหว่าง อายุ กับ น้าหนกั อายุ ( ปี ) ตา่ กวา่ เกณฑป์ กติ น้าหนัก ( กิโลกรมั ) สงู กวา่ เกณฑ์ปกติ เกณฑป์ กติ สงู กว่า 54.50 12 ตา่ กวา่ 28 28 - 54.50 สูงกว่า 58.50 สูงกว่า 61.50 13 ต่ากวา่ 32.50 32.50 - 58.50 สงู กวา่ 64 35.50 - 61.50 สงู กว่า 66 14 ต่ากวา่ 35.50 สงู กว่า 67 40 - 64 สูงกว่า 68 15 ตา่ กวา่ 40 44 - 66 46.50 - 67 16 ตา่ กวา่ 44 48 - 68 17 ตา่ กวา่ 46.50 18 ต่ากวา่ 48 เปรยี บเทยี บระหว่าง อายุ กบั สว่ นสูง อายุ ( ปี ) ต่ากวา่ เกณฑป์ กติ สว่ นสงู ( เซนติเมตร ) สงู กวา่ เกณฑป์ กติ เกณฑป์ กติ สงู กวา่ 164.50 12 ตา่ กวา่ 135.50 สงู กว่า 170 135.50 - 164.50 สูงกวา่ 173 13 ต่ากวา่ 141 141 - 170 สูงกว่า 176 147.50 - 173 สูงกว่า 177 14 ตา่ กวา่ 147.50 153.50 - 176 สงู กวา่ 177.50 158.50 - 177 สูงกว่า 179 15 ตา่ กวา่ 153.50 160.50 - 177.50 16 ตา่ กวา่ 158.50 161.50 - 179 17 ตา่ กวา่ 160.50 18 ตา่ กวา่ 161.50 เปรยี บเทยี บระหว่าง สว่ นสงู กับ น้าหนัก ส่วนสงู ( เซนตเิ มตร ) ตา่ กวา่ เกณฑป์ กติ น้าหนัก ( กิโลกรัม ) สงู กวา่ เกณฑ์ปกติ ตา่ กวา่ 23.50 เกณฑป์ กติ สงู กวา่ 37 130 - 135 ตา่ กวา่ 26 23.50 - 37 สงู กวา่ 41.50 136 - 140 ตา่ กวา่ 28 26 - 41.50 สงู กวา่ 45 141 - 145 ตา่ กวา่ 31.50 28 - 45 สูงกวา่ 49 146 - 150 ตา่ กวา่ 34.50 31.50 - 49 สงู กวา่ 58 151 - 155 ตา่ กวา่ 38 34.50 - 58 สูงกวา่ 57.50 156 - 160 ต่ากวา่ 42 38 - 57.50 สูงกว่า 61.50 161 - 165 ตา่ กวา่ 45.50 42 - 61.50 สูงกว่า 65.50 166 - 170 ตา่ กวา่ 44.50 สงู กว่า 69 171 - 175 ต่ากวา่ 53 45.50 - 65.50 สูงกว่า 72.50 176 - 180 44.50 - 69 53 - 72.50 | คมู่ ือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ 32

ดล.7 EQ แบบประเมนิ ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) ความฉลาดทางอารมณค์ ือ ความสามารถทางอารมณ์ในการดาเนินชีวิตอยา่ งสร้างสรรคแ์ ละมคี วามสุข การรู้จักความฉลาดทางอารมณ์ของตนเอง เพอื่ พฒั นาและการใช้ศักยภาพตนเองในการดาเนินชวี ติ ครอบครวั การทางานและการอยู่รว่ มกบั ผ้อู ่นื ไดอ้ ย่างมีความสุขและประสบความสาเร็จ กรมสุขภาพจิตได้ตระหนักถึงความสาคัญของความฉลาดทางอารมณ์จงึ ไดส้ ร้างแบบประเมินเพอ่ื ใช้ประเมินตนเอง คาแนะนา แบบประเมนิ น้ีเป็นประโยคที่มีข้อความเกีย่ วกับอารมณ์และความรูส้ ึกท่แี สดงออกในลักษณะต่าง ๆ แม้วา่ ประโยคอาจไม่ตรง กับที่ท่านเป็นอยู่ก็ตามให้ ทา่ นเลือกคาตอบที่ตรงกับท่านมากที่สุด ไม่มีคาตอบที่ถูกหรือผิด ดีหรือไม่ดี โปรดตอบตามความเป็นจริงและตอบทุกข้อ เพื่อท่านจะได้รจู้ ักตนเอง และวางแผนพัฒนาตนต่อไป มีคาตอบ 4 คาตอบ สาหรับข้อความแต่ละประโยคคือ ไม่จริง จริงบางครั้ง ค่อนข้างจริง จริงมาก โปรดใส่ เคร่ืองหมาย 4ในชอ่ งท่ีทา่ นเห็นว่าตรงกับตัวทา่ นมากที่สดุ ช่ือ………………………………………..………………………………………………….……….ช้ัน………/………เลขท…ี่ .…….…… รายการประเมิน ไม่จริง จริง คอ่ นขา้ ง จรงิ คะแนน บางคร้งั จริง มาก 1 เวลาโกรธหรือไมส่ บายใจ ฉนั รับรูไ้ ดว้ ่าเกิดอะไรขนึ้ กับฉนั 2. ฉันบอกไม่ได้ว่าอะไรทาให้ฉนั รสู้ ึกโกรธ 3. เมอ่ื ถูกขัดใจฉันรู้สึกหงดุ หงิดจนควบคมุ อารมณไ์ ม่ได้ 4. ฉันสามารถคอยเพอื่ ใหบ้ รรลุเปา้ หมายทพ่ี อใจ 5. ฉนั มีปฏกิ ริ ยิ าโตต้ อบปญั หาเพียงเล็กนอ้ ย 6. ฉันถูกบังคับให้ทาในสิ่งท่ีไมช่ อบ ฉนั จะอธิบายเหตุผลจนผอู้ ่ืนยอมรบั ได้ รวม 7. ฉนั สงั เกตได้ เม่ือคนใกล้ชิดมีอารมณ์เปลยี่ นแปลง 8. ฉนั ไม่สนใจกับความทุกข์ของผ้อู น่ื ทฉ่ี นั ไม่รู้จัก 9. ฉันไมย่ อมรับในสง่ิ ที่ผ้อู ื่นทาต่างจากท่ีฉนั คิด 10. ฉันยอมรับไดว้ า่ ผอู้ ่ืนก็มีเหตผุ ลท่จี ะไม่พอใจในการกระทาของฉัน 11. ฉนั รู้สึกวา่ ผอู้ น่ื เรยี กรอ้ งความสนใจมากเกนิ ไป 12. แมจ้ ะมภี าระทต่ี อ้ งทา ฉนั ยนิ ดีรับฟงั ความทกุ ขข์ องผ้อู ื่นทีต่ ้องการความชว่ ยเหลอื รวม 13. เป็นเร่ืองธรรมดาท่จี ะเอาเปรยี บผู้อื่นเมอ่ื มโี อกาส 14. ฉนั เหน็ คณุ คา่ ในนา้ ใจทีผ่ อู้ นื่ มตี ่อฉนั 15. เม่ือทาผดิ ฉนั สามารถกล่าวคาว่า “ขอโทษ” ผูอ้ ่นื ได้ 16. ฉนั ยอมรับขอ้ ผิดพลาดของผอู้ นื่ ได้ยาก 17. ถงึ แม้จะตอ้ งเสยี ประโยชน์ส่วนตวั ไปบา้ ง ฉันกย็ นิ ดที จ่ี ะทาเพื่อสว่ นรวม 18. ฉันรสู้ ึกลาบากใจในการทาส่ิงใดสงิ่ หน่ึงเพ่ือผู้อ่นื รวม 19. ฉนั ไมร่ ู้ว่าฉันเก่งเรือ่ งอะไร 20. แม้จะเปน็ งานยาก ฉันก็ม่นั ใจว่าสามารถทาได้ 21. เมอ่ื ทาสิ่งใดไมส่ าเร็จ ฉันร้สู กึ หมดกาลังใจ 22. ฉนั รู้สกึ มีคณุ คา่ เมอ่ื ได้ทาส่ิงตา่ ง ๆ อย่างเตม็ ความสามารถ 23. เมอื่ ต้องเผชญิ กับอปุ สรรคและความผดิ หวัง ฉนั จะไม่ยอมแพ้ 24. เมือ่ เริ่มทาสงิ่ หนง่ึ สงิ่ ใด ฉนั มักทาตอ่ ไปไม่สาเรจ็ รวม 25. ฉนั พยายามหาสาเหตุทแ่ี ท้จริงของปญั หาโดยไม่คิดเอาเองตามใจชอบ 26. บอ่ ยครัง้ ที่ฉนั ไม่รู้ว่าอะไรทาให้ฉันไม่มีความสขุ 27. ฉันรู้สกึ ว่าการตดั สนิ ใจแกป้ ญั หาเปน็ เร่ืองยากสาหรบั ฉัน 28. เมอื่ ต้องการทาอะไรหลายอย่างในเวลาเดยี วกนั ฉนั ตัดสินใจไดว้ ่าจะทาอะไรก่อนหลงั 29. ฉันลาบากใจเมอื่ ต้องอยกู่ บั คนแปลกหนา้ หรือคนที่ไมค่ ุน้ เคย 30. ฉันทนไมไ่ ดเ้ มื่อต้องอยใู่ นสังคมที่มกี ฏระเบยี บขดั กับความเคยชินของฉนั รวม | คมู่ ือระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหเ์ ชียงใหม่ 33

31. ฉันทาความรจู้ กั ผู้อนื่ ไดง้ า่ ย ดล.7 EQ (ดา้ นหลงั ) 32. ฉันมีเพอื่ นสนทิ หลายคนท่คี บกันมานาน 33. ฉนั ไมก่ ลา้ บอกความต้องการของฉนั ใหผ้ อู้ ่ืนรู้ รวม 34. ฉันทาในส่ิงทีต่ อ้ งการโดยไม่ทาใหผ้ ู้อ่ืนเดอื ดร้อน รวม 35. เปน็ การยากสาหรบั ฉันท่ีจะโตแ้ ยง้ กบั ผอู้ นื่ แมจ้ ะมีเหตผุ ลเพียงพอ รวม 36. เม่ือไมเ่ หน็ ดว้ ยกบั ผิอ่นื ฉนั สามารถอธบิ ายเหตผุ ลทเี่ ขายอมรับได้ รวม 37. ฉันรูส้ ึกดอ้ ยกวา่ ผอู้ นื่ 38. ฉนั ทาหน้าทไ่ี ด้ดี ไมว่ า่ จะอยู่ในบทบาทใด 39. ฉนั สามารถทางานที่ได้รบั มอบหมายได้ดที ี่สุด 40. ฉันไม่มั่นใจในการทางานทีย่ ากลาบาก 41. แม้วา่ สถานการณ์จะเลวรา้ ย ฉนั กม็ คี วามหวังว่าจะดีขึ้น 42. ทุกปัญหามกั มีทางออกเสมอ 43. เมอ่ื มีเรอ่ื งทท่ี าให้เครยี ด ฉนั มักปรบั เปลยี่ นใหเ้ ป็นเรือ่ งผอ่ นคลายหรือสนกุ สนานได้ 44. ฉนั สนุกสนานทุกครงั้ กบั กจิ กรรมในวันสดุ สัปดาหแ์ ละวันพกั ผ่อน 45. ฉันรสู้ กึ ไม่พอใจท่ผี ูอ้ ่นื ได้รับสง่ิ ดี ๆ มากกว่าฉนั 46. ฉันพอใจกบั สิ่งทีฉ่ นั เปน็ อยู่ 47. ฉนั ไมร่ ้วู ่าจะหาอะไรทาเมื่อรสู้ กึ เบอื่ หนา่ ย 48. เมื่อวา่ งเวน้ จากภาระหน้าที่ ฉันจะทาในส่ิงทีฉ่ นั ชอบ 49. เม่อื รูส้ กึ ไม่สบายใจ ฉันมวี ิธผี อ่ นคลายอารมณ์ได้ 50. ฉันสามารถผอ่ นคลายตนเองได้ แม้จะเหน็ดเหน่ือยจากภาระหนา้ ที่ 51. ฉันไม่สามารถทาใจใหเ้ ป็นสุขไดจ้ นกว่าจะไดท้ กุ สิ่งที่ต้องการ 52. ฉนั มกั ทุกขร์ อ้ นกบั เร่ืองเลก็ ๆ นอ้ ย ๆ ทเี่ กดิ ขึ้นเสมอ | คมู่ ือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหเ์ ชยี งใหม่ 34

ดล.7 EQ การให้คะแนน แบ่งเปน็ 2 กลมุ่ ในการให้คะแนนดงั น้ี กลุ่มท่ี 1 ได้แก่ขอ้ กลุ่มที่ 2 ได้แก่ ข้อ 1 4 6 7 10 12 14 15 17 20 22 23 25 28 2 3 5 8 9 11 13 16 18 19 21 24 31 32 34 36 38 39 41 42 43 44 46 48 49 50 26 27 29 30 33 35 37 40 45 47 51 52 แต่ละขอ้ ให้คะแนนดงั ตอ่ ไปน้ี แต่ละขอ้ ใหค้ ะแนนดงั ตอ่ ไปนี้ ตอบไม่จริง ให้ 1 คะแนน ตอบไมจ่ ริง ให้ 4 คะแนน ตอบจริงบางคร้งั ให้ 2 คะแนน ตอบจริงบางครงั้ ให้ 3 คะแนน ตอบค่อนขา้ งจริง ให้ 3 คะแนน ตอบค่อนขา้ งจริง ให้ 2 คะแนน ตอบจรงิ มาก ให้ 4 คะแนน ตอบจริงมาก ให้ 1 คะแนน การรวมคะแนน ดา้ นดี หมายถงึ ความสามารถในการควบคมุ อารมณแ์ ละความตอ้ งการของตนเอง รู้จักเหน็ ใจผู้อนื่ และมีความรับผดิ ชอบต่อส่วนรวม ด้านเกง่ หมายถงึ ความสามารถในการรจู้ ักตนเอง มแี รงจูงใจ สามารถตัดสินใจแกป้ ัญหาและแสดงออกได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ รวมทั้งมีสมั พนั ธภาพทีด่ กี บั ผอู้ นื่ ด้านสขุ หมายถึง ความสามารถในการดาเนินชีวิตอย่างเปน็ สขุ ด้าน ด้านยอ่ ย การรวมคะแนน ผลรวมคะแนน / การแปลผล รวม แปลผล รวม แปลผล รวม แปลผล 1.1 ควบคุมอารมณ์ รวมขอ้ 1 ถึงขอ้ 6 ดี 1.2 เหน็ ใจผูอ้ นื่ รวมข้อ 7 ถึงขอ้ 12 1.3 รบั ผิดชอบ รวมขอ้ 13 ถงึ ขอ้ 18 2.1 มีแรงจูงใจ รวมขอ้ 19 ถงึ ข้อ 24 เก่ง 2.2 ตัดสินใจและแกป้ ัญหา รวมข้อ 25 ถึงข้อ 30 2.3 สัมพนั ธภาพกบั ผ้อู ่ืน รวมขอ้ 31 ถงึ ข้อ 36 3.1 ภูมใิ จตนเอง รวมขอ้ 37 ถึงขอ้ 40 สขุ 3.2 พึงพอใจในชีวิต รวมขอ้ 41 ถึงข้อ 46 3.3 สขุ สงบทางใจ รวมข้อ 47 ถึงขอ้ 52 หลังจากรวมคะแนนแตล่ ะด้านเสรจ็ แลว้ นาคะแนนที่ไดไ้ ปทาเครือ่ งหมาย  ลงบนเสน้ ประ ในกราฟความฉลาดทาง อารมณแ์ ล้วลากเส้นใหต้ อ่ กนั และพิจารณาดวู า่ มคี ะแนนดา้ นใดทสี่ งู หรือตา่ กว่าชว่ งคะแนนปกติ ผลที่ได้เปน็ เพียงการประเมนิ โดยสังเขป คะแนนที่ได้ต่ากว่าช่วงคะแนนปกติ ไม่ได้หมายความว่าท่านหรือเด็กมีความ ผดิ ปกติในด้านนัน้ เพราะดา้ นต่าง ๆ เหล่าน้ีเป็นสงิ่ ท่ีมกี ารพฒั นาและมกี ารเปล่ียนแปลงตลอดเวลา ดงั น้ันคะแนนที่ได้ต่าจึงเป็น เพียง ข้อเตอื นใจใหท้ า่ นหาแนวทางในการพฒั นาความฉลาดทางอารมณ์ในดา้ นนัน้ ๆ ใหม้ ากย่งิ ขน้ึ สาหรับรายละเอียดและแนวทางการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์มีอยู่ในหนังสืออีคิว : ความฉลาดทางอารมณ์ หรือ คู่มือความฉลาดทางอารมณ์ของกรมสุขภาพจิต รวมท้ังท่านสามารถเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ท่ีทางกรม สขุ ภาพจิตหรือหนว่ ยงานอนื่ ที่เกี่ยวข้องจดั ขึ้น | คู่มือระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหเ์ ชียงใหม่ 35

ดล.7 EQ เกณฑ์ปกตขิ องคะแนน EQ รวม ดี เกง่ สุข กล่มุ ตวั อยา่ งอายุ 12 - 17 ปี ต่ากวา่ ปกติ เกณฑป์ กติ สูงกวา่ ปกติ  140 140 – 170 170 องค์ประกอบ EQ  48 48 - 58 58 คะแนน EQ รวม  13 13 - 17 17 1. องค์ประกอบ ดี  16 16 - 20 20 1.1 ควบคุมอารมณ์  16 16 - 22 22 1.2 เห็นใจผอู้ ื่น  45 45 - 57 57 1.3 รับผิดชอบ  14 14 - 20 20 2. องค์ประกอบเก่ง  13 13 - 19 19 2.1 มแี รงจูงใจ  14 14 - 20 20 2.2 ตดั สินใจและแก้ปญั หา  40 40 - 55 55 2.3 สัมพันธภาพกับผูอ้ น่ื 9 9 - 13 13 3. องคป์ ระกอบสุข  16 16 - 22 22 3.1 ภมู ิใจในตนเอง  15 15 - 21 21 3.2 พึงพอใจในชีวิต 3.3 สุขสงบทางใจ กราฟความฉลาดทางอารมณ์ 0 5 10 15 20 25 ช่วงคะแนนปกติ แต่ละดา้ น 1.1 ควบคมุ อารมณ์ ช่วงคะแนนปกติ = (13-17) 1.2 เหน็ ใจผู้อื่น ชว่ งคะแนนปกติ = (16-20) 1.3 รับผิดชอบ ชว่ งคะแนนปกติ = (16-22) 2.1 มแี รงจงู ใจ ชว่ งคะแนนปกติ = (14-20) 2.2 ตดั สินใจและแกป้ ัญหา ช่วงคะแนนปกติ = (13-19) 2.3 สมั พันธภาพกับผอู้ น่ื ช่วงคะแนนปกติ = (14-20) 3.1 ภูมใิ จในตนเอง ชว่ งคะแนนปกติ = ( 9-13) 3.2 พงึ พอใจในชีวิต ชว่ งคะแนนปกติ = (16-22) 3.3 สขุ สงบทางใจ ชว่ งคะแนนปกติ = (15-21) หมายเหตุ หมายถงึ คะแนนช่วงปกติ | คู่มือระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหเ์ ชียงใหม่ 36

ดล.8 บนั ทกึ การคดั กรองนักเรยี นเป็นรายบุคคล ตามเกณฑก์ ารคัดกรองนักเรยี น โรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ สานกั บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ ชอ่ื …………………..………….…...……. สกลุ ……….…….…………..…..…....… จดั อยู่ในกล่มุ ชื่อเล่น………………………….…...ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี .………… / ……...…  กลุ่มพเิ ศษ วัน / เดือน / ปี (ท่ีคดั กรอง) ………..…. / ……...………....…….. / ………....…........  กลุ่มปกติ ครูผู้สรปุ ผล ………………………..............……….......………………………………..  กลุ่มเส่ียง  กลมุ่ มีปญั หา 1. ด้านความสามารถของนักเรยี น 1.1 ความสามารถพเิ ศษ ( สาหรับจัดนักเรียนท่ีอยู่ในกล่มุ พิเศษ เปน็ ตวั แทนระดับอาเภอขึ้นไป ) 1.1.1 ดา้ นการเรยี น (ระบุคะแนนเฉลี่ย ม.ต้น 3.5 ขึ้นไป , ม.ปลาย 3.25 ขึน้ ไป )…………………….. 1.1.2 ดา้ นดนตรี (ระบุ)……………………………………………………………………………………….. 1.1.3 ดา้ นกีฬา (ระบุ)…………………………………………………………………………………………. 1.1.4 ดา้ นศลิ ปะ (ระบ)ุ ……………………………………………………………………………………….. 1.1.5 ดา้ นอน่ื ๆ (ระบ)ุ ……………………………………………………………………………………….. 1.2 ความสามารถทวั่ ไป  ไมช่ ัดเจนในความสามารถ  มี คือ…………………………….………………………………... 2. ดา้ นการเรียน  กลมุ่ ปกติ  กล่มุ เสีย่ ง  กลมุ่ มีปญั หา ม.ตน้ ( ) ผลการเรยี นเฉล่ีย ม.ตน้ 1.00-1.99 ม.ปลาย 1.00-1.79 ( ) ผลการเรยี นเฉลีย่ ตา่ กว่า 1.00 ผลการเรยี น ( ) มาเรียนสายมากกวา่ 5-10 คร้ัง ใน 1 ภาคเรยี น ( ) อ่านหนังสอื ไมอ่ อก ( ) ไมเ่ ขา้ เรียนในรายวชิ าต่าง ๆ 3-5 ครั้ง ต่อ 1 รายวชิ า ( ) เขยี นหนังสือไมถ่ ูกตอ้ ง สะกดคาผดิ แมแ้ ต่คาง่าย ๆ เฉลี่ย ( ) มี 0 จานวน 1-5 วชิ า ใน 1 ภาคเรียน ( ) ไม่เข้าใจในบทเรียนทกุ วชิ า 2.00–3.49 ( ) ไม่เขา้ เรยี นมากกวา่ 5 คร้งั ตอ่ 1 รายวิชา ม.ปลาย ( ) อ่านหนงั สอื ไม่คล่อง ( ) มี 0 มากกว่า 5 วชิ า ใน 1 ภาคเรยี น ผลการเรยี น ( ) อ่นื ๆ คือ……………………. ( ) มาเรียนสายมากกวา่ 10 คร้งั ใน 1 ภาคเรียน ( ) อืน่ ๆ คือ……………………. เฉลย่ี 1.80–3.24 3. ดา้ นสขุ ภาพรา่ งกาย  ปกติ  เส่ียง  มีปัญหา มสี ขุ ภาพ ( ) น้าหนกั ผดิ ปกติและไม่สมั พันธ์ กบั สว่ นสูงหรืออายุ ( ) ปว่ ยเป็นโรคร้ายแรง / เรอ้ื รังหรือมีความพิการทางรา่ งกาย รา่ งกาย ( ) เจบ็ ป่วยบอ่ ย ๆ ( ) มคี วามบกพรอ่ งทางการไดย้ นิ ( หูหนวก ) ( ) ความบกพร่องทางการมองเหน็ ( ตาบอด ) สมบูรณ์ ( ) รา่ งกายไม่แข็งแรง ( ) ความเจ็บปว่ ยทม่ี ผี ลกระทบต่อการเรยี น แขง็ แรง ( ) ดา้ นสายตา สน้ั / เอยี ง ( ) อน่ื ๆ คอื ………..………………………….. ( ) ดา้ นการรับฟัง ( ) อ่ืน ๆ คือ……………………………………………. | คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหเ์ ชยี งใหม่ 37

ดล. 8 (ดา้ นหลงั ) 4. ด้านสขุ ภาพจติ และพฤติกรรม ( พจิ ารณาจากแบบประเมนิ SDQ ) 4.1 ดา้ นอารมณ์  ปกติ  เสยี่ ง  มปี ญั หา  เส่ยี ง  มปี ญั หา 4.2 ดา้ นความประพฤติ  ปกติ  เสี่ยง  มีปัญหา  เส่ยี ง  มีปญั หา 4.3 ดา้ นพฤตกิ รรมไม่อยนู่ ่งิ  ปกติ  เสยี่ ง  มีปัญหา  ไม่มจี ุดแข็ง 4.4 ดา้ นความสัมพนั ธ์กบั เพ่ือน  ปกติ ผลรวมท้งั 4 ดา้ น  ปกติ 4.5 ด้านสมั พนั ธภาพทางสงั คม  มีจดุ แขง็ 5. ดา้ นครอบครวั  มปี ญั หา 5.1 ดา้ นเศรษฐกจิ ( ) รายได้ครอบครัวตา่ กวา่ 20,000 บาท / ปี  ปกติ  เส่ยี ง ( ) ไม่มอี าหารกลางวันรับประทาน ( ) บิดาและมารดาตกงาน รายได้ ( ) บดิ าหรอื มารดาตกงาน ( ) ไม่มเี งนิ ซื้ออุปกรณ์การเรยี น ครอบครัว ( ) รายไดค้ รอบครวั 20,000 - 26,999 บาท/ปี ( ) มีภาระหนีส้ ินจานวนมาก 27,000 ( ) ใช้จา่ ยแบบฟมุ่ เฟอื ย ( ) อน่ื ๆ คือ………..……………………. บาท/ปี ( ) ได้เงินมาโรงเรยี นวนั ละ………....…บาท ขึ้นไป ( ) อนื่ ๆ คือ…………………..…………. 5.2 ดา้ นการค้มุ ครองนกั เรียน  มปี ญั หา ( ) ไม่มีผู้ดแู ล  ปกติ  เสี่ยง ( ) มบี คุ คลในครอบครวั ใช้สารเสพติด/เล่นการพนนั ( ) มบี ุคคลในครอบครวั เจบ็ ป่วยดว้ ยโรครุนแรง / เรื้อรัง อยู่รว่ มและ ( ) อยหู่ อพกั ( ) มคี วามขดั แย้งและมกี ารใชค้ วามรนุ แรงในครอบครวั ไดร้ บั การ ( ) บดิ ามารดาแยกทางกันหรอื แต่งงานใหม่ ( ) มีการถกู ลว่ งละเมิดทางเพศ ดแู ลจากบิดา ( ) มีความรู้สึกท่ีไม่ดีต่อบิดา หรอื มารดา และ/หรอื ( ) อาชพี ผู้ปกครองเสี่ยงต่อกฎหมาย ( ) มีการมว่ั สุมทางเพศ มารดา ( ) มีการใชแ้ อลกอฮอล์บางคร้งั ( ) อน่ื ๆ คือ………..…………………….………. ( ) มกี ารใช้สารเสพติดหรือเล่นการพนนั ในครอบครัวเปน็ บางครง้ั ( ) ท่พี กั อยู่ในชมุ ชนแออดั หรอื ใกลแ้ หลง่ ม่ัวสมุ 6. ดา้ นพฤตกิ รรมที่ไม่พึงประสงค์ สารเสพติด (บุหรี่,เหล้า,เบยี ร,์ กาว,กญั ชา  ปกติ  เสี่ยง  มปี ัญหา ,ยาบา้ ) เพศสมั พันธก์ ่อนวัยอันควร  ปกติ  เส่ียง  มปี ัญหา ลักขโมย  ปกติ  เสย่ี ง  มปี ญั หา การพนนั  ปกติ  เสี่ยง  มปี ัญหา ทะเลาะววิ าท,กา้ วรา้ ว  ปกติ  เสย่ี ง  มปี ญั หา ด้านอื่น ๆ เสยี่ ง คือ ……………………………………… มีปัญหา คอื …………………………………… 7. ดา้ นความฉลาดทางอารมณ์ ( พิจารณาจากแบบประเมนิ E.Q. )  ต่ากว่าปกติ  ปกติ  สูงกวา่ ปกติ หมายเหตุ แบบการคดั กรอง ใหจ้ ดั ทาโดยพจิ ารณาตามเกณฑ์การคดั กรองนักเรยี นทีโ่ รงเรียนจดั ทาขนึ้ | คูม่ ือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์เชยี งใหม่ 38

การคัดกรองนกั เรีย ช้ัน............................................ปีท่ี ............ ปีการศกึ ษา 2 ทปี่ รึกษา ...................... จัดอยใู่ นกล่มุ ม. 4 ภาคเรยี นท่ี 1 ภ เลข ช่อื - สกุล กลุ่ม กล่มุ กลมุ่ กลุ่มมี ผล ตดิ ก ท่ี พิเศษ ปกติ เสยี่ ง ปญั หา การ 0 เ เรียน เ เฉล่ยี มผ. ราย วิชา รวม ให้ใสเ่ ครอื่ งหมาย / ลงในชอ่ งกการประเมินนกั เ รอ้ ยละ กลุ่มใด หมายเหตุ | คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนศึกษาสง

ดล.9 ยนด้านการเรยี น (IQ) 256..... แผนการเรียน ........................... จานวน ........ คน .......................................... ม. 5 ม. 6 ภาคเรยี นที่ 2 ภาคเรยี นท่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 2 ผลการ เรยี น ผล ตดิ ผล ตดิ ผล ตดิ ผล ติด ผล ติด เฉลี่ย การ 0 การ 0 การ 0 การ 0 การ 0 เรียน เรียน เรยี น เรียน เรียน เฉลยี่ มผ. เฉลย่ี มผ. เฉล่ยี มผ. เฉลย่ี มผ. เฉล่ยี มผ. ราย ราย ราย ราย ราย วิชา วชิ า วชิ า วชิ า วชิ า เรียนว่าอยู่ใน งเคราะห์เชียงใหม่ 39

การคัดกรองนกั ชั้น.......................................ที่ ............ ปีการศึกษา 25 ทป่ี รึกษา ..................... คาชแี้ จง 1. ถา้ นักเรียนจัดอยูใ่ นกลุ่มใดกลมุ่ หน่ึง ใหข้ ีด / ในช่องน้ัน 2. ผลการเปรยี บเทยี บอายุ/นา้ หนัก/ส่วนสูง ให้ขีด / ในชอ่ ง ต่ากว่าปกติ หรอื ปกต 4. ถ้ามีความบกพรอ่ งทางรา่ งกายดา้ นใด ใหข้ ีด / (กรณี ห,ู ตา) ส่วนรา่ งกายใหร้ ะบุค จดั อยใู่ นกลมุ่ เลขท่ี ช่อื - สกุล อายุ นา้ หนกั ส่วนสูง กลุ่ม กล่มุ กลุ่ม (ป)ี (กก.) (ซม.) ปกติ เสี่ยง มีปัญ หา ต 1 2 3 4 5 6 7 8 10 11 รวม รอ้ ย ละ ลงชอ่ื ................................. | คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น โรงเรยี นศึกษาสง

กเรียนดา้ นสุขภาพ ดล.10 56..... แผนการเรียน ........................... จานวน ........ คน ........................................... ติ หรอื สูงกวา่ ปกติ 3. ผลการทดสอบสมรรถภาพ ใหข้ ดี / ลงในชอ่ งผ่านหรอื ไม่ผ่าน ความบกพรอ่ ง 5. ถ้ามีโรคประจาตัว ให้ ระบุโรค ผลการเปรยี บเทียบ ผลการ ความบกพร่อง โรค ทดสอบ ประจาตวั สมรรถภาพ ทางรา่ งกาย (ระบุ) อายุ/ อาย/ุ น้าหนัก/ส่วนสูง ผา่ น ไม่ หู ตา รา่ งกาย น้าหนกั สว่ นสงู ตปส ผ่าน (ระบุ) ต ปส ปส ................................. ครูท่ปี รึกษา งเคราะหเ์ ชยี งใหม่ 40

การคัดกรองนกั เ ชั้น....................................ปที ี่ ............ ปีการศึกษา 25 ทปี่ รึกษา ...................... คาชี้แจง 1. ถ้านักเรียนจดั อย่ใู นกลุ่มใดกลมุ่ หนึง่ ใหข้ ดี / ในช่องน้ัน 2. ถ้านักเรยี นมภี าวะเส่ียง หรือมปี ัญหาในด้านใดใหข้ ีด / ลงในช่องน้ัน ๆ ท่ี ชอื่ - สกลุ จัด ปกติ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 รวม รอ้ ยละ หมายเหตุ ด้านครอบครัว นักเรยี นมปี ัญหาด้านเศรษฐกจิ ของครอบครวั คือครอบครัว ลงชือ่ ........................... | คมู่ ือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น โรงเรยี นศกึ ษาสง

เรียนด้านครอบครัว ดล.11 56..... แผนการเรียน ........................... จานวน ........ คน .......................................... ดอย่ใู นกลุ่ม ด้านครอบครัว เศรษฐกจิ การคมุ้ ครอง เสีย่ ง มีปญั หา สม ส ม วมรี ายได้เฉล่ยี ต่ากวา่ 5,000-บาท ............................. ครูที่ปรึกษา งเคราะหเ์ ชยี งใหม่ 41

สรุปผลการคดั กรอ ชนั้ ....................................ปีท่ี ............ ปกี ารศกึ ษา 25 ทป่ี รกึ ษา ..................... ท่ี ชื่อ สกลุ สุขภาพกาย สขุ ภาพจติ 1 นายกอไก่ ขอไข่ ปกติ ปัญหา ปกติ ปญั หา 2 3 /0 /0 4 5 6 7 8 10 11 รวม ร้อยละ ลงชื่อ …………………………………………… หมายเหตุ ปญั หาด้านเศรษฐกจิ คอื ครอบครัวมรี ายไดเ้ ฉล่ียเดอื นละตา่ กวา่ 5,000.-บาท | คมู่ ือระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนศกึ ษาสง

ดล.12 องนักเรียนด้านตา่ ง ๆ 56..... แผนการเรียน ........................... จานวน ........ คน ........................................... การเรียนรู้ เศรษฐกจิ พฤติกรรม บนั ทึกเพิม่ เตมิ ทสี่ าคัญ รายได้เฉล่ยี เดอื นละตา่ กวา่ 5,000.-บาท ปกติ ปัญหา ปกติ ปัญหา ปกติ ปญั หา /0 0/ /0 ……….. ครทู ีป่ รึกษา งเคราะหเ์ ชยี งใหม่ 42