Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 002 โครงสร้างแนวทางการปฏิบัติงานตามแผน 64

002 โครงสร้างแนวทางการปฏิบัติงานตามแผน 64

Published by กศน.อุดรธานี, 2021-06-02 11:28:55

Description: เอกสารทางวิชาการ ลำดับที่ 002/2564 กลุ่มยุทธศาสตร์และการพัฒนา สำนักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี

Search

Read the Text Version

คำนำ แนวทางการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ 2564 สานักงานส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดอุดรธานี ฉบับนี้ จัดทาข้ึนเพื่อให้สถานศึกษาและบุคลากร มีแนวทางการดาเนินงานที่ชัดเจน ซ่ึงมีสาระสาคัญประกอบด้วย วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ปัจจัยหลัก แห่งความสาเร็จของการดาเนินงานแต่ละโครงการ โดยกาหนดมาตรฐานและตัวช้ีวัดที่สอดคล้องกับนโยบาย และจุดเน้นของสานักงาน กศน. รวมถึงเกณฑ์การประเมินโครงการตามแผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2564 ท้งั สิน้ 20 โครงการ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดอุดรธานี ขอขอบคุณ ผู้บริหาร ข้าราชการ บุคลากร และคณะทางานท่ีเก่ียวข้องท่ีให้ความร่วมมือในการจัดทาแนวทางการปฏิบัติงานตาม แผนปฏบิ ตั ิการ ประจาปีงบประมาณ 2564 ให้สาเร็จลลุ ว่ งดว้ ยดี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแนวทางในการปฏบิ ัติงาน ตามแผนปฏิบัติการน้ีจะเป็นเคร่ืองมือในการดาเนินงานของสถานศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพตามระบบการบริหาร แบบมงุ่ ผลสัมฤทธิ์ กลุม่ ยุทธศาสตร์และการพัฒนา สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจงั หวดั อดุ รธานี แนวทางการปฏิบตั ิงานตามแผนปฏบิ ตั กิ าร สานกั งาน กศน. จงั หวดั อุดรธานี ประจาปีงบประมาณ 2564 ก

สารบัญ หนา้ คานา............................................................................................................................. ....................................................ก สารบญั .............................................................................................................................. ................................................ข 1. โครงการสง่ เสรมิ ความสมั พนั ธ์ ด้านกีฬา “กศน.เกมส์”..............................................................................................1 2. โครงการส่งเสรมิ การจดั กิจกรรมพัฒนาบุคลากรและผู้เรียนดว้ ยกระบวนการลูกเสือยุวกาชาด..................................5 3. โครงการสง่ เสรมิ ภาษาต่างประเทศเพ่ือการส่อื สารดา้ นอาชพี .....................................................................................9 4. โครงการสง่ เสริม 1 ชมุ ชน 1 นวัตกรรม การพัฒนาชุมชนถิน่ ไทยงามตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง...11 5. โครงการสง่ เสริมการจดั การศึกษาเพือ่ พฒั นาสงั คมและชมุ ชน..................................................................................14 6. โครงการส่งเสรมิ ศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน........................................................................................................................17 7. โครงการสง่ เสรมิ การจดั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานนอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พ.ศ.2551…………………………..23 8. โครงการสง่ เสรมิ การจัดศูนยเ์ รียนร้ทู กุ ชว่ งวยั ในรูปแบบ Digital Learning Platform………………………………………29 9. โครงการส่งเสริมการนิเทศติดตามกิจกรรม กศน......................................................................................................33 10. โครงการส่งเสริมการสรา้ งเครือข่ายนักอ่าน(คนพนั ธ์ุ LR ).....................................................................................36 11. โครงการส่งเสรมิ หลักสตู รการดแู ลผูส้ ูงอายุ............................................................................................................39 12. โครงการสง่ เสรมิ การพัฒนาความสามารถดา้ น Digital Literacy สาหรับบุคลากร................................................42 13. โครงการสง่ เสริมการพัฒนา Big Data เพ่ือสนบั สนุนการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย......45 14. โครงการพฒั นาองค์กร (Organization Development)……………………………………………………………………………52 15. โครงการพฒั นาอาคารสถานท่ีและสิง่ แวดล้อมสาหรับการจัดการศกึ ษา................................................................56 16. โครงการสง่ เสรมิ สร้างเครือขา่ ยดิจิทลั ชุมชนระดบั ตาบล........................................................................................59 17. โครงการส่งเสรมิ การพัฒนากจิ กรรมห้องสมุดให้มชี วี ติ ...........................................................................................63 18. โครงการส่งเสริมการจัดการศึกษาผู้ไม่รหู้ นังสือ......................................................................................................66 19. โครงการส่งเสริมการจัดการศึกษาเพอื่ พัฒนาทักษะชีวติ ........................................................................................69 20. โครงการส่งเสรมิ การประกันคุณภาพทางการศกึ ษา...............................................................................................72 ภาคผนวก แบบประเมนิ ความสาเร็จในการดาเนินงาน...................................................................................................................77 คณะผ้จู ัดทาเอกสาร แนวทางการปฏิบตั ิงานตามแผนปฏบิ ัตกิ าร สานกั งาน กศน. จังหวัดอุดรธานี ประจาปงี บประมาณ 2564 ข

แนวทางการปฏบิ ตั งิ านตามแผน โครงการสง่ เสรมิ ความสมั พันธ์ ด้านกฬี า “กศน.เกมส์” วิสยั ทศั น์ (Vision) มุ่งเน้นส่งเสรมิ ให้ครู บุคลากร/ผู้เรยี นมที กั ษะดา้ นกฬี า เสริมสร้างความสมั พันธท์ ี่ดี พนั ธกจิ (Mission) 1.ส่งเสรมิ ใหค้ รแู ละบุคลากร/ผู้เรยี น ไดร้ ับการพัฒนากจิ กรรมกีฬา 2.จดั ประชุมวางแผนคณะทำงานดา้ นกีฬา 3.การจดั สรรงบประมาณตามแผนงานโครงการ 4.ประสานภาคีเครือข่ายในการจัดการแขง่ ขนั กีฬา 5.สรปุ /รายงานผลการจดั กิจกรรม เป้าประสงค์ (GOAL) 1. เพอื่ ให้ครูและบุคลากร/ผู้เรียนได้มีการพฒั นาทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ และสังคม 2. เพือ่ ให้ครูและบุคลากร/ผู้เรียนได้สามารถแสดงออกถงึ กิจกรรมกีฬาทตี่ นเองชอบและถนัด 3. เพ่อื ใหค้ รูและบุคลากร/ผเู้ รยี นได้มโี อกาสร่วมทำกจิ กรรมทางด้านกีฬา 4. เพือ่ ให้ครูและบุคลากร/ผูเ้ รียนได้แสดงออกถงึ ความสามัคคีเปน็ หมู่คณะ มรี ะเบียบวินัย รแู้ พ้ รู้ชนะ รู้อภยั 5. เพ่ือให้ครูและบุคลากร/ผ้เู รียนได้รู้จักการใชเ้ วลาว่างให้เกิดประโยชน์และห่างไกลจากสิ่งเสพติด ตวั ช้ีวดั ความสำเรจ็ (Key Performance Indicator :KPI) 1.ด้านปรมิ าณ (เชงิ ปริมาณ (Out put) รอ้ ยละของบุคลากรและผูเ้ รยี น ท่ีเขา้ รว่ มกจิ กรรมกฬี า กศน.เกมส์ 2. ด้านคุณภาพ (Out come) 2.1ระดบั ความพึงพอใจของบุคลากรและผู้เรียน ทเี่ ขา้ ร่วมกจิ กรรมกีฬา กศน.เกมส์ 2.2 รางวลั เกียรตบิ ตั ร ทไ่ี ด้รบั จากการกิจกรรมกฬี า กศน.เกมส์ ปจั จัยหลักแห่งความสำเร็จ(Critical Success Factors : CSFs) 1. ดา้ นสภาพแวดล้อมของกิจกรรม/โครงการ 2. ด้านความพอเพียงของทรัพยากรที่ใช้ในการดำเนนิ กจิ กรรม 3. ดา้ นความเหมาะสมของกระบวนการกิจกรรม/โครงการ 4. ดา้ นความสำเรจ็ ตามวตั ถปุ ระสงค์และเปา้ หมายในการจัดกจิ กรรม แนวทางปฏบิ ัตงิ านตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 1

เกณฑก์ ารประเมินและหลักฐานเพื่อการตรวจสอบ ตัวช้ีวัดท่ี 1 ร้อยละของบุคลากรและผเู้ รยี น ท่เี ขา้ รว่ มกจิ กรรมกีฬา กศน. เกมส์ เกณฑ์การประเมนิ เกณฑ์การพิจารณา หลกั ฐานเพื่อการตรวจสอบ 1.ร้อยละ 1 – 59 ของจำนวนครแู ละบุคลากร/ผู้เรยี น เข้าร่วม 1.บัญชีรายช่อื ผ้เู ขา้ รว่ มกจิ กรรม กิจกรรมการแขง่ ขนั กีฬา 2.สรปุ ผลการปฏิบัติงาน 2.ร้อยละ 60 – 69 ของจำนวนครูและบุคลากร/ผเู้ รยี น เข้ารว่ ม 3.ภาพถา่ ยการจัดกจิ กรรม กิจกรรมการแขง่ ขนั กีฬา 4.อ่ืนๆ 3.ร้อยละ 70 – 79 ของจำนวนครแู ละบุคลากร/ผ้เู รียน เข้าร่วม กิจกรรมการแขง่ ขันกีฬา 4.ร้อยละ 80 – 89 ของจำนวนครูและบคุ ลากร/ผเู้ รยี น เขา้ ร่วม กจิ กรรมการแขง่ ขันกีฬา 5.รอ้ ยละ 90 ข้ึนไปของจำนวนครแู ละบุคลากร/ผู้เรียน เข้าร่วม กิจกรรมการแขง่ ขนั กีฬา เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน(Counting) ระดบั น้อยที่สดุ น้อย ปานกลาง มาก มากทส่ี ุด เงือ่ นไข มี ข้อ 1 มี ขอ้ 2 มี ขอ้ 3 มี ข้อ 4 มี ข้อ 5 คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน แนวทางปฏบิ ัตงิ านตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 2

ตวั ชว้ี ัดท่ี 2 ระดบั ความพงึ พอใจของบุคลากรและผู้เรียน ที่เขา้ ร่วมกิจกรรมกีฬา กศน. เกมส์ เกณฑก์ ารประเมนิ เกณฑ์การพิจารณา หลกั ฐานเพ่ือการตรวจสอบ 1.รอ้ ยละ 1 – 59 ของจำนวนครูและบคุ ลากร/ผู้เรียน เขา้ ร่วม 1.สรุปโครงการ กจิ กรรมการแข่งขนั กีฬา 2.บญั ชรี ายช่อื ครูและบุคลากร/ผเู้ รยี น 2.รอ้ ยละ 60 – 69 ของจำนวนครูและบคุ ลากร/ผู้เรยี น เข้ารว่ ม 3.ภาพถ่ายการจัดกจิ กรรม กจิ กรรมการแขง่ ขนั กีฬา 4.อนื่ ๆ 3.ร้อยละ 70 – 79 ของจำนวนครูและบุคลากร/ผเู้ รยี น เข้ารว่ ม กจิ กรรมการแขง่ ขนั กีฬา 4.ร้อยละ 80 – 89 ของจำนวนครแู ละบุคลากร/ผู้เรยี น เขา้ ร่วม กิจกรรมการแขง่ ขนั กีฬา 5.รอ้ ยละ 90 ขึ้นไปของจำนวนครูและบุคลากร/ผเู้ รียน เข้ารว่ ม กจิ กรรมการแขง่ ขันกีฬา เกณฑก์ ารให้คะแนน(Counting) ระดบั น้อยที่สดุ น้อย ปานกลาง มาก มากที่สดุ มี ขอ้ 2 มี ข้อ 3 มี ขอ้ 4 มี ข้อ 5 เงื่อนไข มี ข้อ 1 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน คะแนน 1 คะแนน แนวทางปฏบิ ตั งิ านตามแผนปฏิบตั ริ าชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 3

ตัวชี้วดั ท่ี 3 รางวลั เกียรตบิ ัตร ที่ได้รบั จากการแข่งขันกีฬา กศน. เกมส์ เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การพิจารณา หลักฐานเพื่อการตรวจสอบ 1.สถานศึกษาทส่ี ง่ นักกฬี าเขา้ รว่ มการแขง่ ขนั หรอื รางวัลชมเชย 1.เกียรตบิ ัตร 2.สถานศึกษาที่สง่ นักกฬี าเข้ารว่ มการแข่งขนั และไดร้ างวลั เหรียญ 2.เหรยี ญรางวลั ทองแดง 3.โล่รางวลั 3.สถานศกึ ษาทสี่ ่งนักกฬี าเข้าร่วมการแข่งขันและไดร้ างวลั เหรียญเงนิ 4.ภาพถา่ ยการจดั กจิ กรรม 4.สถานศกึ ษาทส่ี ่งนักกฬี าเข้าร่วมการแขง่ ขนั และได้รางวัลเหรียญทอง 5.รายช่ือนักกีฬาเข้ารว่ มการแข่งขนั 5.สถานศกึ ษาทสี่ ่งนักกีฬาเข้ารว่ มการแขง่ ขนั และได้รางวัลเหรียญทอง 6.อน่ื ๆ 2 รางวัลขึน้ ไป เกณฑ์การให้คะแนน(Counting) ระดับ น้อยท่ีสุด นอ้ ย ปานกลาง มาก มากที่สดุ มี ข้อ 2 มี ขอ้ 3 มี ข้อ 4 มี ข้อ 5 เง่อื นไข มี ข้อ 1 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน คะแนน 1 คะแนน แนวทางปฏบิ ัตงิ านตามแผนปฏิบตั ริ าชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 4

แนวทางการปฏิบัติงานตามแผน โครงการส่งเสรมิ การจดั กิจกรรมพัฒนาบุคลากรและผเู้ รียน ดว้ ยกระบวนการลูกเสือยวุ กาชาด วสิ ยั ทัศน์(Vision) ม่งุ เน้นให้บคุ ลากรและผู้เรียนเปน็ ผู้มคี ุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์โดยใช้กระบวนการทางลูกเสือและ ยวุ กาชาด เพ่ือสร้างคนดีมจี ิตอาสา พนั ธกจิ (Mission) 1. ประชมุ วางแผนการดำเนินงาน บุคลากร/วิทยากร 2. ขออนุมัตโิ ครงการ 3. ดำเนนิ การจัดกิจกรรมตามโครงการ 4. สรุปผลประเมินผลการดำเนนิ การ เป้าประสงค์(Goal) 1. เพ่ือใหผ้ ูเ้ ข้าอบรมเปน็ คนดี มีคุณธรรม จริยธรรม มรี ะเบยี บวินยั และทัศนคติทีด่ ีตอ่ บ้านเมือง 2. เพอื่ ให้ผเู้ ข้าอบรมมที ักษะ ประสบการณ์ทางการลูกเสือและยุวกาชาดเพ่ิมมากขนึ้ 3. เพอื่ ใหผ้ ูเ้ ข้าอบรมมคี วามรู้ ความเข้าใจในภารกิจของลกู เสือและยวุ กาชาดและเกดิ ทกั ษะในการจัด กิจกรรมบำเพญ็ ประโยชน์ รบั ผิดชอบตอ่ ตนเองและสังคม ปัจจยั หลักแหง่ ความสำเรจ็ (Critical Success Factors : CSFs) 1. สำรวจความพร้อมของผเู้ ข้ารบั การอบรม 2. วิทยากรมคี วามรคู้ วามสามารถ 3. เนื้อหา/กจิ กรรมในการอบรมมีความเหมาะสม 4. ประเมนิ ความสำเรจ็ ของลูกเสอื /ยวุ กาชาด โดยประเมินจากพฤติกรรม / แบบทดสอบ /แบบสอบถาม ตวั ชว้ี ดั ผลการดำเนินงานหลัก(Key Performance Indicator :KPI) 1. ด้านปริมาณ (Out put) 1.1 รอ้ ยละของบุคลากรและนักศึกษาท่เี ข้าร่วมโครงการ 1.2 รอ้ ยละของบุคลากรและนักศึกษาทีเ่ ข้ารบั การอบรมและหลักสตู ร แนวทางปฏบิ ตั งิ านตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 5

2. ด้านคณุ ภาพ (Out Come) 2.1 ร้อยละของผ้เู ข้าอบรมมีความรู้ มีทกั ษะ ประสบการณ์ทางการลูกเสอื และยวุ กาชาด 2.2 จำนวนกจิ กรรมจิตอาสาที่ผูท้ ผ่ี ่านการอบรมไดเ้ ข้ารว่ ม เกณฑก์ ารประเมินและหลักฐานเพื่อการตรวจสอบ ตัวชวี้ ดั ท่ี 1 ด้านปรมิ าณ (Out put) ร้อยละของบุคลากรและนักศึกษาท่ีเข้ารว่ มโครงการ เกณฑก์ ารประเมิน เกณฑ์การพจิ ารณา หลกั ฐานเพ่ือการตรวจสอบ 1. จำนวนของผเู้ ข้ารว่ มโครงการร้อยละ 1-50 1. บญั ชลี งเวลาผ้เู ขา้ อบรม 2. จำนวนของผู้เขา้ รว่ มโครงการรอ้ ยละ 51-60 2. ทะเบยี นผู้ผา่ นการอบรม 3. จำนวนของผ้เู ข้าร่วมโครงการร้อยละ 61-70 3. รายงานผลการจดั กิจกรรม 4. จำนวนของผู้เข้าร่วมโครงการรอ้ ยละ 71-80 4. ภาพกจิ กรรม 5. จำนวนของผู้เขา้ ร่วมโครงการรอ้ ยละ 81 ขึน้ ไป 5. อน่ื ๆ (โปรดระบ.ุ ............) เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน(Milestone) ระดบั น้อยท่สี ดุ น้อย ปานกลาง มาก มากท่สี ุด มขี ้อ 1 ถึง 2 มขี อ้ 1 ถึง 3 มีข้อ 1 ถึง 4 มขี อ้ 1 ถึง 5 เงอ่ื นไข มีขอ้ 1 2 3 4 5 คะแนน 1 ตัวชีว้ ดั ที่ 2 ด้านปรมิ าณ (Out put) ร้อยละของบุคลากรและนักศึกษาท่ีเข้ารับการอบรมและหลกั สูตร เกณฑก์ ารประเมิน เกณฑก์ ารพจิ ารณา หลักฐานเพือ่ การตรวจสอบ 1. จำนวนของผู้เขา้ รบั การอบรมและหลักสตู ร ร้อยละ 1-50 1. บญั ชีลงเวลาผู้เข้าอบรม 2. จำนวนของผ้เู ขา้ รบั การอบรมและหลักสูตร รอ้ ยละ 51-60 2. รายงานผลการจดั กจิ กรรม 3. จำนวนของผูเ้ ขา้ รับการอบรมและหลกั สูตร ร้อยละ 61-70 3. ภาพกิจกรรม 4. จำนวนของผเู้ ข้ารับการอบรมและหลกั สูตร ร้อยละ 71-80 4. อื่น ๆ (โปรดระบุ.............) 5. จำนวนของผเู้ ข้ารับการอบรมและหลกั สูตร ร้อยละ 81 ข้นึ ไป แนวทางปฏบิ ัตงิ านตามแผนปฏิบตั ิราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 6

เกณฑก์ ารให้คะแนน(Milestone) ระดบั นอ้ ยท่ีสดุ น้อย ปานกลาง มาก มากทส่ี ุด มีข้อ 1 ถงึ 2 มขี ้อ 1 ถึง 3 มขี อ้ 1 ถึง 4 มีข้อ 1 ถงึ 5 เงื่อนไข มขี ้อ 1 2 3 4 5 คะแนน 1 ตวั ชี้วัดที่ 3 ด้านคณุ ภาพ (Out Come) รอ้ ยละของผเู้ ข้าอบรมมคี วามรู้ มีทักษะ ประสบการณ์ทางการลกู เสอื และยวุ กาชาด เกณฑก์ ารประเมนิ เกณฑก์ ารพจิ ารณา หลกั ฐานเพอ่ื การตรวจสอบ 1. ผู้ผ่านการอบรมมีความรู้ มีทกั ษะ ประสบการณ์ทางการลูกเสือและ 1. รายงานผผู้ า่ นการอบรม ยุวกาชาด ร้อยละ 1-50 2. ใบเกียรติบตั ร/ใบประกาศ 2. ผา่ นการอบรมมีความรู้ มีทักษะ ประสบการณ์ทางการลูกเสอื และ 3. สรุปรายงานผลการจัดกจิ กรรม ยวุ กาชาด รอ้ ยละ 51-60 4. แบบประเมินความพึงพอใจ 3. ผา่ นการอบรมมีความรู้ มที ักษะ ประสบการณท์ างการลูกเสือและ 5. อ่นื ๆ (โปรดระบุ.............) ยวุ กาชาด ร้อยละ 61-70 4. ผ่านการอบรมมีความรู้ มีทักษะ ประสบการณท์ างการลูกเสือและ ยุวกาชาด รอ้ ยละ 71-80 5. ผ่านการอบรมมีความรู้ มีทักษะ ประสบการณท์ างการลูกเสือและ ยุวกาชาด ร้อยละ 81- ขนึ้ ไป เกณฑก์ ารให้คะแนน(Milestone) ระดับ นอ้ ยทส่ี ุด น้อย ปานกลาง มาก มากท่ีสดุ มขี ้อ 1 ถึง 2 มขี ้อ 1 ถงึ 3 มีขอ้ 1 ถงึ 4 มขี อ้ 1 ถงึ 5 เง่ือนไข มีขอ้ 1 2 3 4 5 คะแนน 1 แนวทางปฏบิ ัตงิ านตามแผนปฏิบัตริ าชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 7

ตวั ชว้ี ัดที่ 4 ดา้ นคุณภาพ (Out Come) จำนวนกิจกรรมจติ อาสาที่ผูท้ ่ีผ่านการอบรมไดเ้ ขา้ ร่วม เกณฑ์การประเมนิ เกณฑ์การพจิ ารณา หลกั ฐานเพื่อการตรวจสอบ 1. จำนวนกจิ กรรมจิตอาสาที่ปฏิบตั ิ 1-2 กจิ กรรม 1. แผนการจัดกจิ กรรม/โครงการ 2. จำนวนกิจกรรมจติ อาสาท่ีปฏบิ ตั ิ 3-4 กจิ กรรม 2. แบบรายงานผลการดำเนินงาน 3. จำนวนกิจกรรมจติ อาสาที่ปฏิบตั ิ 5-6 กจิ กรรม 3. ภาพกจิ กรรม 4. จำนวนกิจกรรมจติ อาสาท่ีปฏิบัติ 7-8 กิจกรรม 5. จำนวนกจิ กรรมจติ อาสาท่ีปฏบิ ัติ 9 กจิ กรรมขึน้ ไป เกณฑ์การใหค้ ะแนน(Milestone) ระดบั น้อยทสี่ ุด น้อย ปานกลาง มาก มากทส่ี ดุ เงือ่ นไข มขี อ้ 1 มขี อ้ 1 ถงึ 2 มขี ้อ 1 ถึง 3 มขี ้อ 1 ถึง 4 มีข้อ 1 ถึง 5 คะแนน 1 2 3 4 5 แนวทางปฏบิ ัติงานตามแผนปฏิบตั ิราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 8

แนวทางการปฏบิ ัตงิ านตามแผน โครงการส่งเสรมิ ภาษาตา่ งประเทศเพอ่ื การส่อื สารด้านอาชพี วสิ ยั ทศั น์(Vision) ประชาชนได้รับการพัฒนาภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชพี เพื่อการมีงานทำอย่าง สามารถสอ่ื สารภาษาองั กฤษและนำไปประยุกต์ใชใ้ นการดำเนินชวี ติ พนั ธกจิ (Mission) 1. สำรวจ/ประชาคมความต้องการของผ้เู ข้ารับการอบรม 2. จัดอบรมภาษาตา่ งประเทศเพ่อื การส่อื สารดา้ นอาชีพ 3. สรุปและรายงานผล เปา้ ประสงค์(Goal) 1. เพอ่ื ฝกึ อบรมภาษาตา่ งประเทศเพ่ือการส่ือสารด้านอาชพี ใหก้ ับประชาชนในพื้นทสี่ ถานศึกษา 2. เพื่อใหป้ ระชาชนกลุม่ เป้าหมายทผ่ี ่านการอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้รบั ไปประยกุ ต์ใชใ้ นการประกอบ อาชพี และดำเนนิ ชีวิตประจำวันได้ ปัจจยั หลักแห่งความสำเร็จ(Critical Success Factors : CSFs) 1. มหี ลกั สตู รที่เหมาะสม 2. วิทยากรมีความรู้ความสามารถ 3. ผูเ้ ข้าอบรมมคี วามพรอ้ ม มคี วามสนใจ 4. การมีสว่ นรว่ มของภาคีเครือข่าย 5. การนเิ ทศติดตาม ตวั ชว้ี ัดผลการดำเนนิ งานหลัก(Key Performance Indicator :KPI) 1. ด้านปริมาณ (Out put) ร้อยละของผูเ้ ขา้ อบรมหลกั สตู รภาษาตา่ งประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ แนวทางปฏบิ ตั งิ านตามแผนปฏิบตั ิราชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 9

2. ด้านคณุ ภาพ (Out Come) 2.1ร้อยละผู้ผ่านการอบรมสามารถนำไปประกอบอาชพี ได้ 2.2 ร้อยละผู้ผ่านการอบรมสามารถยกระดับฝีมือแรงงานได้ เกณฑ์การประเมนิ และหลกั ฐานเพือ่ การตรวจสอบ ตวั ชว้ี ดั ท่ี 1 ดา้ นปริมาณ (Out put) ร้อยละของผ้เู ขา้ อบรมหลักสูตรภาษาตา่ งประเทศเพื่อการสือ่ สารดา้ นอาชพี เกณฑก์ ารประเมิน เกณฑก์ ารพจิ ารณา หลักฐานเพ่ือการตรวจสอบ 1. รอ้ ยละ 1- 49 ตอ้ งปรบั ปรุง 1. การทดสอบภาคทฤษฎี 2. การทดสอบภาคปฏิบตั ิ 2. ร้อยละ 50- 59 พอใช้ 3. ร้อยละ 60- 69 ดี 4. รอ้ ยละ 70 – 79 ดีมาก 5. รอ้ ยละ 80- 100 ดเี ด่น เกณฑ์การใหค้ ะแนน(Counting) ระดบั น้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มาก มากท่สี ดุ คะแนน 1 2 3 4 5 ตัวช้ีวดั ท่ี 2 ด้านคุณภาพ (Out come) -รอ้ ยละผผู้ า่ นการอบรมสามารถนำไปประกอบอาชีพได้ -รอ้ ยละผู้ผา่ นการอบรมสามารถยกระดับฝีมอื แรงงานได้ เกณฑก์ ารประเมิน เกณฑ์การพจิ ารณา หลักฐานเพอ่ื การตรวจสอบ 1. รอ้ ยละ 1- 49 ตอ้ งปรับปรุง 1. การตดิ ตามผู้เข้ารบั การอบรม 2. หลักฐานวฒุ บิ ตั รตา่ งๆ 2. รอ้ ยละ 50- 59 พอใช้ 3. รอ้ ยละ 60- 69 ดี 4. รอ้ ยละ 70 – 79 ดีมาก 5. รอ้ ยละ 80- 100 ดเี ดน่ แนวทางปฏบิ ตั งิ านตามแผนปฏิบัตริ าชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 10

แนวทางการปฏบิ ัตงิ านตามแผน โครงการสง่ เสรมิ 1 ชุมชน 1 นวตั กรรม การพัฒนาชุมชนถิน่ ไทยงามตามแนวทางปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง วสิ ัยทศั น์(Vision) ม่งุ เนน้ ให้ชมุ ชน/หมบู่ ้าน สามารถสร้างนวัตกรรมตามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง อย่างน้อยอำเภอละ 1 หมูบ่ า้ น/ชมุ ชน พนั ธกจิ (Mission) 1. สำรวจความพร้อมของชมุ ชน / หมบู่ า้ น 2. ประชาคมความพร้อมของชมุ ชน / หมู่บา้ นท่เี ขา้ รว่ มโครงการ 3. ชี้แจงแนวทางในการเข้าร่วมโครงการ 4. ทดลองสร้างรูปแบบนวตั กรรมในสถานศึกษาเพื่อเป็นแหล่งเรียนรแู้ ก่ชมุ ชน / หม่บู ้าน หรือศึกษาดูงาน ในแหล่งเรียนรู้ทป่ี ระสบผลสำเร็จ 5. จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 1 ชมุ ชน 1 นวตั กรรม ในชุมชน / หมู่บา้ น 6. นิเทศ ตดิ ตาม ประเมินผล 7. รายงานผลการดำเนินงาน เปา้ ประสงค์(Goal) - เพ่อื สง่ เสริมให้ชมุ ชน/หมบู่ า้ นสรา้ งนวัตกรรมอย่างนอ้ ยอำเภอละ 1 แหง่ ปจั จยั หลักแหง่ ความสำเร็จ(Critical Success Factors : CSFs) 1. บุคลากร กศน.มีความพร้อม 2. ชมุ ชน/หมบู่ า้ นมีสว่ นรว่ มและมีความพร้อมในการจัดกจิ กรรม ตัวชว้ี ดั ความสำเรจ็ (Key Performance Indicator :KPI) 1. ดา้ นปรมิ าณ (Out put) ร้อยละของประชาชนที่ให้ความร่วมมือการเขา้ ร่วมกิจกรรม ในการสรา้ งนวตั กรรมตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2. ด้านคุณภาพ (Out Come) 2.1 รายได้เฉลี่ยของชุมชน/หม่บู า้ นท่ีสร้างนวัตกรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2.2 สภาพแวดล้อมของชุมชน/หม่บู า้ นท่สี ร้างนวตั กรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง แนวทางปฏบิ ัติงานตามแผนปฏบิ ัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 11

เกณฑก์ ารประเมนิ และหลักฐานเพื่อการตรวจสอบ ตวั ชว้ี ดั ท่ี 1 ดา้ นปริมาณ (Out put) ร้อยละของประชาชนทใ่ี หค้ วามรว่ มมอื การเข้าร่วมกิจกรรม ในการสรา้ งนวัตกรรมตามหลักปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง เกณฑ์การประเมนิ เกณฑก์ ารพิจารณา หลกั ฐานเพื่อการตรวจสอบ 1. ประชาชนให้ความร่วมมอื การเข้ารว่ มกิจกรรม ร้อยละ 1 – 20 1. แบบสำรวจขอ้ มลู /เวทีประชาคม 2. ประชาชนให้ความร่วมมอื การเขา้ รว่ มกิจกรรม ร้อยละ 21 – 40 2. ภาพถา่ ยการจดั กจิ กรรม 3. ประชาชนให้ความร่วมมือการเข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 41 – 60 3. ขอ้ มูลสารสนเทศในชุมชน 4. ประชาชนใหค้ วามรว่ มมือการเขา้ รว่ มกจิ กรรม ร้อยละ 61 – 80 4. การตรวจสอบเชงิ ประจักษ์ 5. ประชาชนใหค้ วามรว่ มมือการเข้ารว่ มกิจกรรม ร้อยละ 81 – 5. บญั ชีลงเวลาผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม 100 6. แบบ กน.11 การศึกษาต่อเนือ่ ง เกณฑก์ ารให้คะแนน (Milestone) ระดับ นอ้ ยที่สดุ น้อย ปานกลาง มาก มากทสี่ ดุ เงอื่ นไข มีขอ้ 1 มีขอ้ 2 มีขอ้ 3 มีขอ้ 4 มขี ้อ 5 คะแนน 1 2 3 4 5 ตวั ชีว้ ดั ท่ี 2 ดา้ นปริมาณ (Out put) รายได้เฉลี่ยของชมุ ชน/หม่บู ้านทสี่ รา้ งนวตั กรรมตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เกณฑก์ ารประเมนิ เกณฑ์การพิจารณา หลกั ฐานเพอ่ื การตรวจสอบ 1. รายไดเ้ ฉล่ียของชมุ ชนเพม่ิ ขน้ึ ร้อยละ 1-20 1. ขอ้ มูล จปฐ. 2. รายไดเ้ ฉลย่ี ของชุมชนเพิม่ ขึ้นร้อยละ 21 – 40 2. ข้อมลู การจัดทำบญั ชคี รวั เรอื นของชุมชน/หมู่บา้ น 3. รายได้เฉลี่ยของชุมชนเพ่ิมขึน้ ร้อยละ 41 – 60 เกณฑก์ ารพจิ ารณา หลกั ฐานเพอื่ การตรวจสอบ 4. รายได้เฉลยี่ ของชุมชนเพ่ิมขึ้นรอ้ ยละ 61 – 80 1. ข้อมลู จปฐ. 5. รายได้เฉล่ียของชมุ ชนเพ่มิ ขนึ้ รอ้ ยละ 81 – 100 2. ขอ้ มลู การจัดทำบญั ชีครัวเรอื นของชุมชน/หมูบ่ ้าน แนวทางปฏบิ ตั ิงานตามแผนปฏิบัตริ าชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 12

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน (Milestone) ระดับ นอ้ ยที่สดุ น้อย ปานกลาง มาก มากท่สี ุด เงอ่ื นไข มีข้อ 1 มีข้อ 2 มีขอ้ 3 มีข้อ 4 มีขอ้ 5 คะแนน 1 2 3 4 5 ตัวชี้วดั ที่ 3 ด้านคุณภาพ (Out Come) สภาพแวดล้อมของชมุ ชน/หมบู่ า้ นทส่ี ร้างนวัตกรรมตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เกณฑก์ ารประเมิน หลักฐานเพ่อื การตรวจสอบ 1. ขอ้ มูลสภาพจรงิ เชิงประจกั ษ์ เกณฑก์ ารพจิ ารณา 2. การรายงานผลการดำเนนิ กจิ กรรม 1. ความสะอาดของบา้ นเรือน ถนน ในหมูบ่ ้านหรือชมุ ชน 3.ภาพถ่าย 2. ชมุ ชนปลูกผกั สวนครัวปลอดสารพิษ 3. ชมุ ชนมีสว่ นรว่ มในการจัดการส่ิงแวดล้อม 4. ชมุ ชนบรหิ ารจัดการขยะอยา่ งเปน็ ระบบ 5. ชมุ ชนปลอดอบายมุข 6. ชุมชนปลอดยาเสพตดิ 7. ชมุ ชนมีแหล่งเรยี นรใู้ นด้านเศรษฐกิจพอเพยี ง 8. ชมุ ชนใช้พลังงานทดแทน ( พลงั งานแสงอาทิตย์) เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน (Milestone) ระดับ นอ้ ยท่สี ดุ นอ้ ย ปานกลาง มาก มากที่สดุ มี 2-3 ข้อ มี 4-5 ข้อ มี 6-7 ข้อ มี 8 ข้อ เงอ่ื นไข มี 1 ขอ้ 2 3 4 5 คะแนน 1 แนวทางปฏบิ ัติงานตามแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 13

แนวทางการปฏิบตั ิงานตามแผน โครงการส่งเสริมการจัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชมุ ชน วิสยั ทัศน์ (Vision) มุ่งมั่นพัฒนาสังคมและชุมชนให้มีความเขม้ แข็ง พ่งึ พาตนเองไดต้ ามวถิ ีพอเพยี งและอยู่ร่วมกันอยา่ งมีความสุข ตามแนวทางการปกครองในระบอบประชาธิปไตย พันธกจิ (Mission) 1. พฒั นาหลักสูตรท่ีใช้ในการจัดกิจกรรมการศึกษาเพอ่ื พัฒนาสงั คมและชมุ ชน 2. จัดอบรมและสง่ เสริมการศึกษาเพ่อื พัฒนาสังคมและชมุ ชนให้กบั ประชาชนอย่างเท่าเทียมกัน 3. จัดหลกั สูตรอบรมท่หี ลากหลายใหป้ ระชาชน เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพชีวิตของคนในชมุ ขน 4. จดั กิจกรรมอบรมให้ความรโู้ ดยใช้เทคโนโลยีเข้ามามีส่วนในการจดั กจิ กรรมให้ทนั สมัยในยุคดิจิทลั เป้าประสงค(์ Goal) 1.สถานศกึ ษา มหี ลักสูตรท่หี ลากหลายสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน เสริมสร้างความเขม้ แขง็ ิ สามารถพึง่ พาตนเองได้ 2. เพือ่ ให้ประชาชนทุกชว่ งวัยมีโอกาสไดร้ ับโอกาสทางการศึกษาอย่างทัว่ ถึงและเทา่ เทยี มกนั 3. ประชาชนได้รบั การพัฒนาและเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้มคี วามสามารถ แสวงหาความรใู้ หม่ๆ อยา่ งไรข้ ีดจำกดั ปัจจยั หลักแหง่ ความสำเรจ็ (Critical Success Factors : CSFs) 1.ทักษะและความสามารถของบคุ ลากร 2.การส่ือสารท่มี ปี ระสิทธิภาพของวิทยากร ตัวชี้วดั ผลการดำเนินงานหลกั (Key Performance Indicator :KPI) 1. ด้านปรมิ าณ (Out put) รอ้ ยละ 80 ของผู้เรียนทีจ่ บหลักสูตรในภาพรวมทุกหลกั สูตรท่ีจดั ดำเนนิ การ 2. ดา้ นคณุ ภาพ (Out Come) รอ้ ยละของผเู้ รยี นทีจ่ บหลักสตู รสามารถนำความร้ไู ปใช้ในชีวิตประจำวนั ไดอ้ ย่างเหมาะสม แนวทางปฏบิ ตั ิงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 14

เกณฑก์ ารประเมนิ และหลกั ฐานเพื่อการตรวจสอบ ตวั ชว้ี ัดท่1ี ด้านปริมาณ (Out put) รอ้ ยละของผูเ้ รียนทจี่ บหลักสูตรในภาพรวมทกุ หลักสตู รที่จัดดำเนินการ เกณฑก์ ารประเมิน เกณฑ์การพจิ ารณา หลักฐานเพอ่ื การตรวจสอบ 1. จำนวนผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมร้อยละ 1-50 1. ทะเบยี นผู้เรียนหลักสูตรการจัดการศกึ ษาต่อเนือ่ ง 2. จำนวนผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมร้อยละ 51-60 2. รายงานผลการจดั กิจกรรม 3. จำนวนผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 61-70 3. บญั ชลี งเวลา 4. จำนวนผู้เข้าร่วมกจิ กรรมร้อยละ 71-80 4.แบบรายงานผลการจบหลกั สตู รการจดั การศึกษา 5. จำนวนผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมร้อยละ 81 ข้นึ ไป ตอ่ เน่อื ง (แบบกน.11) 5. ภาพถ่ายกิจกรรม 6. อื่น ๆ (โปรดระบ.ุ ..........) เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน(Milestone) ระดับ น้อยท่สี ดุ นอ้ ย ปานกลาง มาก มากทสี่ ุด เงื่อนไข มี 1 ขอ้ มี 2 ขอ้ มี 3 ขอ้ มี 4 ขอ้ มี 5 ขอ้ คะแนน 1 2 3 4 5 แนวทางปฏบิ ตั ิงานตามแผนปฏิบตั ริ าชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 15

เกณฑ์การประเมนิ และหลักฐานเพื่อการตรวจสอบ ตวั ชี้วดั ที่ 2 ดา้ นคณุ ภาพ (Out Come) ร้อยละของผเู้ รียนทีจ่ บหลักสูตรแลว้ นำความรู้ไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้อยา่ งเหมาะสม เกณฑ์การประเมนิ หลกั ฐานเพอื่ การตรวจสอบ เกณฑก์ ารพิจารณา 1. รายงานผู้ผา่ นการฝึกอบรมตามหลักสูตร 2. ร้อยละผูผ้ า่ นการฝกึ อบรมตามหลกั สตู ร 1.ผู้ผ่านการฝึกอบรมตามหลกั สตู รสามารถนำความรู้ไป 3. รายงาน สรุปผลการดำเนินงาน ประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวัน ร้อยละ1 - 50 4. แบบติดตามผู้ผา่ นการฝึกอบรมตามหลกั สูตร 5. ภาพกิจกรรม 2.ผผู้ า่ นการฝึกอบรมตามหลกั สูตรสามารถนำความรู้ไป 6. อืน่ ๆ (โปรดระบุ..........) ประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจำวัน ร้อยละ 51 - 60 3.ผผู้ า่ นการฝกึ อบรมตามหลกั สตู รสามารถนำความรู้ไป ประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจำวนั ร้อยละ 61 - 70 4.ผผู้ า่ นการฝึกอบรมตามหลักสูตรสามารถนำความรู้ไป ประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจำวนั รอ้ ยละ 71 – 80 5.ผู้ผ่านการฝึกอบรมตามหลกั สูตรสามารถนำความรู้ไป ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจำวนั รอ้ ยละ 81-100 เกณฑ์การใหค้ ะแนน (Milestone) ระดบั น้อยทส่ี ดุ นอ้ ย ปานกลาง มาก มากทส่ี ุด เง่อื นไข มี 1 ข้อ มี 2 ขอ้ มี 3 ข้อ มี 4 ขอ้ มี 5 ข้อ คะแนน 1 2 3 4 5 แนวทางปฏบิ ตั งิ านตามแผนปฏิบตั ิราชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 16

แนวทางการปฏบิ ตั ิงานตามแผน โครงการสง่ เสรมิ ศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชน วสิ ัยทัศน์ (Vision) มุ่งเน้นการสง่ เสริมและพัฒนาอาชีพให้ประชาชน เพื่อความกนิ ดีอย่ดู ีและมีงานทำ พนั ธกจิ (Mission) 17 1. จดั การศกึ ษาดา้ นอาชีพ 1 อำเภอ 1 อาชีพ 2. จดั การศกึ ษารปู แบบการพัฒนาอาชีพ หลกั สูตรระยะส้ัน (ไม่เกนิ 30 ช่วั โมง) 3. จัดการศกึ ษารูปแบบชนั้ เรียนวิชาชีพ (หลักสูตร 31 ช่วั โมงขึ้นไป) เป้าประสงค์ (Goal) 1. การจัดการศึกษาด้านอาชีพท่ีสอดคล้องกบั ศักยภาพของชมุ ชน และความต้องการของตลาด 2. สร้างรายไดใ้ ห้กับชุมชน ให้ชมุ ชนสามารถพง่ึ พาตนเองได้ 3. ส่งเสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยใี นการสรา้ งมูลค่าเพม่ิ ให้กบั สินคา้ การทำช่องทางเผยแพรแ่ ละจำหนา่ ย ผลติ ภัณฑ์ใหค้ รบวงจร 4. ยกระดับฝีมือแรงงานด้านอาชพี ของผจู้ บหลักสตู ร ปจั จัยหลักแหง่ ความสำเร็จ (Critical Success Factors : CSFs) 1. มกี ารจดั ทำหลักสูตรตามความต้องการของชุมชนอยา่ งมีคณุ ภาพ 2. มีการจดั กระบวนการเรยี นรทู้ ีม่ คี ณุ ภาพสอดคลอ้ งกับหลักสูตร 3. มคี วามรคู้ วามเข้าใจ สามารถนำความรไู้ ปประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจำวนั ตัวชี้วดั ผลการดำเนินงานหลัก (Key Performance Indicator :KPI) 1 เชิงปรมิ าณ (Out put) 1.1 ร้อยละของประชาชนวัยแรงงานที่เข้ารับการฝึกอาชีพ 1.2 รอ้ ยละของหลกั สตู รที่เปิดฝกึ อาชพี ของกล่มุ เป้าหมาย 1.3 ร้อยละของกลุ่มเปา้ หมายทจ่ี บหลกั สตู ร 2. เชงิ คุณภาพ (Out Come) 2.1 ร้อยละของผทู้ ่จี บหลักสูตรแลว้ นำความรูไ้ ปใช้ ในชวี ติ ประจำวนั ได้ 2.2 ร้อยละของผ้เู รยี นทผี่ า่ นการยกระดับฝมี ือแรงงาน แนวทางปฏบิ ัตงิ านตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

เกณฑก์ ารประเมนิ และหลกั ฐานเพ่อื การตรวจสอบ ตัวชว้ี ัดท่ี 1 ร้อยละของประชาชนวัยแรงงานที่เขา้ รับการฝกึ อาชพี และรายงานผ่านระบบสารสนเทศออนไลน์ เกณฑ์การประเมิน หลักฐานเพ่ือการตรวจสอบ 1. แบบสำรวจความต้องการอาชีพ เกณฑ์การพจิ ารณา 2. ใบสมคั รผ้เู รยี น 1. ร้อยละ 1 – 49 ของประชาชนวัยแรงงานทเ่ี ข้ารบั การฝึก 3. ข้อมูลจำนวนผ้เู รียนท่เี ขา้ รับการฝึกอาชพี อาชพี และรายงานผ่านระบบสารสนเทศออนไลน์ 2. ร้อยละ 50 – 59 ของประชาชนวัยแรงงานทเี่ ข้ารบั การ เปน็ รายหลกั สูตร ฝึกอาชพี และรายงานผา่ นระบบสารสนเทศออนไลน์ 4. ข้อมูลจากระบบฐานข้อมูลเพื่อการบรหิ าร 3. รอ้ ยละ 60 – 69 ของประชาชนวัยแรงงานท่ีเข้ารบั การ ฝกึ อาชพี และรายงานผา่ นระบบสารสนเทศออนไลน์ จดั การในระบบ DMIS 4. ร้อยละ 70 – 79 ของประชาชนวัยแรงงานที่เข้ารบั การ 5. ภาพกจิ กรรม ฝกึ อาชพี และรายงานผา่ นระบบสารสนเทศออนไลน์ 6. อน่ื ๆ.... (ท่ีเก่ียวขอ้ ง) 5. รอ้ ยละ 80 – 100 ของประชาชนวยั แรงงานทีเ่ ขา้ รบั การ ฝึกอาชพี และรายงานผ่านระบบสารสนเทศออนไลน์ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน(Milestone) ระดับ น้อยทส่ี ุด นอ้ ย ปานกลาง มาก มากท่สี ดุ เง่อื นไข มีขอ้ 1 มขี ้อ 1 ถงึ 2 มีขอ้ 1 ถึง 3 มขี ้อ 1 ถึง 4 มีข้อ 1 ถงึ 5 คะแนน 1 2 3 4 5 เกณฑก์ ารประเมนิ และหลักฐานเพ่ือการตรวจสอบ 18 แนวทางปฏบิ ตั งิ านตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

ตัวชวี้ ัดท่ี 2 ร้อยละของหลักสตู รทีเ่ ปดิ ฝกึ อาชพี ของกลุ่มเปา้ หมาย เกณฑก์ ารประเมิน หลกั ฐานเพือ่ การตรวจสอบ 1. แบบสำรวจความตอ้ งอาชีพ เกณฑ์การพจิ ารณา 2. จำนวนหลักสูตรทเ่ี ปิดสอน 1. ร้อยละ 1 – 49 ร้อยละของหลักสูตรท่ีเปดิ ฝึกอาชพี 3. มีการจดั ทำแผนการเรียนรู้ ของกล่มุ เปา้ หมาย 4. ใบสมัครวทิ ยากรผสู้ อน 2. รอ้ ยละ 50 – 59 ร้อยละของหลกั สตู รที่เปดิ ฝกึ อาชีพ 5. คำสง่ั แตง่ ต้ังวทิ ยา/หนังสือเชิญ ของกลุม่ เปา้ หมาย 6. สื่อการเรียนร้ทู ่ีวิทยากรใชใ้ นจัดการ 3. รอ้ ยละ 60 – 69 ร้อยละของหลักสูตรท่ีเปดิ ฝึกอาชพี เรียนรู้ ของกลมุ่ เป้าหมาย 7. ภาพกจิ กรรม 4. ร้อยละ 70 – 79 ร้อยละของหลกั สตู รทีเ่ ปดิ ฝกึ อาชีพ 8. อน่ื ๆ.... (ท่ีเกย่ี วข้อง) ของกลมุ่ เป้าหมาย 5. ร้อยละ 80 – 100 ร้อยละของหลักสตู รที่เปิดฝึก อาชพี ของกลุ่มเปา้ หมาย เกณฑ์การให้คะแนน(Milestone) ระดบั น้อยท่สี ดุ นอ้ ย ปานกลาง มาก มากที่สุด เงอ่ื นไข มีขอ้ 1 มขี อ้ 1 ถงึ 2 มขี อ้ 1 ถึง 3 มีข้อ 1 ถงึ 4 มขี อ้ 1 ถงึ 5 คะแนน 1 2 3 4 5 แนวทางปฏบิ ัตงิ านตามแผนปฏบิ ัตริ าชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 19

เกณฑก์ ารประเมนิ และหลกั ฐานเพือ่ การตรวจสอบ ตัวชว้ี ดั ท่ี 3 ร้อยละของกล่มุ เปา้ หมายทีจ่ บหลกั สูตรในภาพรวมทกุ หลักสูตรที่เปดิ ดำเนินการ เกณฑ์การประเมิน หลกั ฐานเพ่ือการตรวจสอบ 1. มรี ายชอื่ ผูเ้ รียน เกณฑก์ ารพิจารณา 2. แบบรายงานผู้จบหลักสตู ร 1. ร้อยละ 1 – 49 ของกลมุ่ เปา้ หมายที่จบหลกั สูตรใน 3. หลักฐานการวัดและประเมินผล ภาพรวมทกุ หลกั สตู รท่ีเปิดดำเนินการ 5. วฒุ บิ ัตรการศึกษา 2. ร้อยละ 50 – 59 ของกล่มุ เป้าหมายทจี่ บหลักสตู รใน 6. ชนิ้ งาน/ผลงาน จากการจัดหลักสูตร ภาพรวมทุกหลักสตู รท่เี ปดิ ดำเนนิ การ 7. มกี ารติดตามผลผูจ้ บหลักสูตรและไดน้ ำไป 3. ร้อยละ 60 – 69 ของกลมุ่ เปา้ หมายทีจ่ บหลกั สตู รใน ประกอบเปน็ อาชพี ภาพรวมทุกหลกั สูตรที่เปิดดำเนนิ การ 7. แบบสอบถามความพึงพอใจของผูเ้ รยี น 4. ร้อยละ 70 – 79 ของกลุ่มเปา้ หมายทจ่ี บหลักสูตรใน 8. ภาพกจิ กรรม ภาพรวมทกุ หลกั สูตรท่ีเปิดดำเนินการ 9. เอกสารการสรุปรายงานผลการจัดหลักสตู ร 5. รอ้ ยละ 80 – 100 ร้อยละของกลมุ่ เป้าหมายท่ี จบ 10. อ่ืนๆ.... (ที่เก่ียวขอ้ ง) หลักสูตรในภาพรวมทุกหลักสูตรทเ่ี ปิดดำเนนิ การ เกณฑก์ ารให้คะแนน(Milestone) ระดับ น้อยทสี่ ดุ นอ้ ย ปานกลาง มาก มากท่ีสุด เง่ือนไข มขี ้อ 1 มขี ้อ 1 ถึง 2 มีขอ้ 1 ถึง 3 มีข้อ 1 ถงึ 4 มีขอ้ 1 ถึง 5 คะแนน 1 2 3 4 5 แนวทางปฏบิ ัติงานตามแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 20

เกณฑ์การประเมินและหลกั ฐานเพอื่ การตรวจสอบ ตัวช้วี ดั ท่ี 4 ร้อยละของผ้ทู ี่จบหลักสูตรแล้วนำความรไู้ ปใช้ในชีวติ ประจำวนั ได้ เกณฑ์การประเมิน เกณฑก์ ารพิจารณา หลกั ฐานเพอ่ื การตรวจสอบ 1. ร้อยละ 1 – 49 ของผู้ท่จี บหลักสูตรแลว้ นำความรู้ 1. แบบตดิ ตามผจู้ บหลกั สูตร ไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ได้ 2. ภาพกิจกรรม 2. ร้อยละ 50 – 59 ของผู้ที่จบหลกั สูตรแล้วนำ ความรูไ้ ปใชใ้ นชวี ิตประจำวันได้ 3. รอ้ ยละ 60 – 69 ของผู้ท่ีจบหลักสูตรแลว้ นำ ความรู้ไปใช้ในชวี ติ ประจำวันได้ 4. ร้อยละ 70 – 79 ของผทู้ จ่ี บหลกั สูตรแลว้ นำ ความรูไ้ ปใชใ้ นชวี ิตประจำวันได้ 5. ร้อยละ 80 – 100 ของผู้ท่ีจบหลกั สูตรแล้วนำ ความรู้ไปใชใ้ นชีวติ ประจำวันได้ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน(Milestone) ระดบั นอ้ ยท่สี ดุ น้อย ปานกลาง มาก มากท่สี ดุ เงื่อนไข มขี อ้ 1 มีขอ้ 1 ถงึ 2 มขี ้อ 1 ถึง 3 มีขอ้ 1 ถึง 4 มขี อ้ 1 ถึง 5 คะแนน 1 2 3 4 5 แนวทางปฏบิ ตั ิงานตามแผนปฏบิ ตั ิราชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 21

เกณฑ์การประเมนิ และหลกั ฐานเพ่อื การตรวจสอบ ตัวชี้วดั ที่ 5 ร้อยละของผู้เรียนทีผ่ า่ นการยกระดับฝีมือแรงงาน เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การพิจารณา หลกั ฐานเพ่อื การตรวจสอบ 1. รอ้ ยละ 1 – 49 ของผเู้ รียนทผี่ ่านการยกระดับฝมี ือแรงงาน 2. ร้อยละ 50 – 59 ของผู้เรยี นที่ผ่านการยกระดับฝมี ือแรงงาน ๑. ใบประกาศ/เกยี รติบตั ร/วฒุ ิบตั ร จาก 3. ร้อยละ 60 – 69 ของผู้เรียนท่ผี ่านการยกระดับฝีมือแรงงาน สถานศกึ ษาที่ไดร้ ับการยอมรบั 4. ร้อยละ 70 – 79 ของผู้เรยี นทผ่ี ่านการยกระดบั ฝีมือแรงงาน 5. ร้อยละ 80 – 100 ของผูเ้ รียนท่ผี ่านการยกระดบั ฝีมือแรงงาน ๒. ภาพกจิ กรรม เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน(Milestone) ระดับ นอ้ ยทสี่ ุด น้อย ปานกลาง มาก มากที่สดุ เงอื่ นไข มีขอ้ 1 มขี อ้ 1 ถึง 2 มขี ้อ 1 ถึง 3 มขี อ้ 1 ถงึ 4 มีข้อ 1 ถงึ 5 คะแนน 1 2 3 4 5 แนวทางปฏบิ ตั ิงานตามแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 22

แนวทางการปฏบิ ัติงานตามแผน โครงการส่งเสรมิ การจัดการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานนอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พ.ศ.2551 วิสัยทัศน์(Vision) “ประชาชนวัยแรงงานในจงั หวัดอุดรธานเี ขา้ ถงึ โอกาสในการพัฒนาและยกระดบั ความรู้ของ ตนเอง ดา้ นการศึกษาขั้นพ้ืนฐานอย่างมีคณุ ภาพ สามารถดำรงชีวติ ท่เี หมาะสมกบั ช่วงวยั มที กั ษะทจ่ี ำเป็นในโลก ศตวรรษที่ 21 ” พนั ธกิจ(Mission) 1. สำรวจขอ้ มูลประชากรวัยแรงงานและประชากรวัยเรียนท่ีอยนู่ อกระบบการศกึ ษา 2.กลมุ่ เป้าหมายโดยใชฐ้ านข้อมูลประชากรวยั แรงงานและประชากรวยั เรียนที่อยู่นอกระบบการศึกษาใน การจัดทำแผนการดำเนินงาน 3.พฒั นาสมรรถนะครผู ้สู อนใหส้ ามารถนำส่อื เทคโนโลยเี ขา้ มาใชใ้ นการจัดกิจกรรมและรายงานผล 4.จดั หาสื่อหนงั สือแบบเรียนที่มีคณุ ภาพอย่างเพยี งพอ 5.จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนตามหลักสูตรและสาระวชิ าตามเกณฑ์ 6.จดั กิจกรรมเสริมหลักสูตรพัฒนาผูเ้ รียน - ติวเขม้ เตมิ เตม็ ความรู้ - ค่ายวิชาการเสริมความรู้ ด้านภาษาอังกฤษ - ตวิ เขม้ กอ่ นสอบ N-NET 7.นิเทศตดิ ตาม วดั ผลและประเมนิ ผลผูเ้ รียนวั/ดผล/ประเมินผลการเรยี น เป้าประสงค์(Goal) 1. เพ่อื เพมิ่ โอกาสและยกระดับการศกึ ษาสำหรับประชาชนในจังหวดั อดุ รธานี 2. เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน ของผูเ้ รียนการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานใหส้ ูงข้นึ 3. เพื่อใหผ้ ูจ้ บหลักสูตรการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานมีความร้ตู ามเกณฑ์ทกี่ ำหนดและทำให้นำไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ ปัจจยั หลักแห่งความสำเร็จ(Critical Success Factors : CSFs) 1.ความมุ่งมัน่ จรงิ ใจ ชดั เจนในเป้าหมาย 2.ความพร้อมของผูจ้ ัดการเรยี นการสอนและทรัพยากร 3.ความคิดสรา้ งสรรค์และออกแบบจัดการเรยี นรู้ 4.ทักษะทางการสอื่ สาร สถานศึกษา ครู ผู้เรียน 5.การบริหารเวลาในทกุ ภาคเรียน ตวั ช้ีวดั ผลการดำเนนิ งานหลัก(Key Performance Indicator :KPI) 1.ร้อยละของนักศึกษาท่เี ขา้ สอบปลายภาคเรียน 2.รอ้ ยละของนักศึกษาทเี่ ขา้ รับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ แนวทางปฏบิ ตั ิงานตามแผนปฏบิ ัติราชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 23

เกณฑ์การประเมนิ และหลกั ฐานเพอ่ื การตรวจสอบ ตวั ชวี้ ัดท่ี 1 รอ้ ยละของนักศึกษาท่เี ข้าสอบปลายภาคเรียน เกณฑ์การประเมิน หลกั ฐานเพ่อื การตรวจสอบ รายงานสรปุ จำนวนนกั ศึกษาที่เขา้ สอบปลายภาค เกณฑ์การพิจารณา เรียนทัง้ 2 ภาคเรียน นักศึกษาทเ่ี ข้าสอบปลายภาคเรยี นรอ้ ยละ 1-49 นักศกึ ษาทเี่ ข้าสอบปลายภาคเรียนรอ้ ยละ 50-59 นกั ศกึ ษาที่เขา้ สอบปลายภาคเรยี นร้อยละ 60-69 นกั ศกึ ษาทเ่ี ขา้ สอบปลายภาคเรยี นรอ้ ยละ 70-79 นกั ศกึ ษาที่เขา้ สอบปลายภาคเรยี นร้อยละ 80-100 เกณฑ์การใหค้ ะแนน(Counting) ระดบั น้อยทสี่ ุด น้อย ปานกลาง มาก มากท่ีสดุ เงอื่ นไข มีข้อ 1 มขี อ้ 2 มีข้อ 3 มีขอ้ 4 มีขอ้ 5 คะแนน 1 2 3 4 5 แนวทางปฏบิ ัตงิ านตามแผนปฏิบัตริ าชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 24

เกณฑ์การประเมนิ และหลักฐานเพ่อื การตรวจสอบ ตัวชี้วดั ที่ 2 รอ้ ยละของนักศึกษาท่ีเขา้ รบั การทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ เกณฑ์การประเมนิ เกณฑก์ ารพิจารณา หลักฐานเพื่อการตรวจสอบ นักศึกษาที่เขา้ รับการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตริ ้อยละ 1-49 รายงานสรปุ จำนวนนักศึกษาที่เข้ารบั นกั ศกึ ษาที่เข้ารบั การทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตริ ้อยละ 50-59 การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติทั้ง นักศกึ ษาท่ีเข้ารบั การทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติร้อยละ 60-69 2 ภาคเรียน นกั ศึกษาทเ่ี ข้ารับการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติร้อยละ 70-79 นักศกึ ษาท่เี ข้ารับการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติร้อยละ 80- 100 เกณฑก์ ารให้คะแนน(Counting) ระดับ น้อยท่สี ดุ นอ้ ย ปานกลาง มาก มากทสี่ ุด เงอ่ื นไข มีขอ้ 1 มีขอ้ 2 มีข้อ3 มขี อ้ 4 มขี อ้ 5 คะแนน 1 2 3 4 5 แนวทางปฏบิ ตั ิงานตามแผนปฏบิ ัตริ าชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 25

เกณฑ์การประเมนิ และหลักฐานเพือ่ การตรวจสอบ ตวั ชวี้ ดั ท่ี 3 ร้อยละของนักศึกษาทีส่ อบผา่ นเกณฑ์ร้อยละ 30 ของคะแนนสอบปลายภาคเรยี น เกณฑก์ ารประเมิน เกณฑ์การพจิ ารณา หลกั ฐานเพื่อการตรวจสอบ นักศกึ ษาที่สอบผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 30 ของคะแนน รายงานสรุปจำนวนนักศกึ ษาที่เข้าสอบปลายภาค สอบปลายภาคเรียนรอ้ ยละ 1-49 เรียนที่มี คะแนน 12 คะแนนข้ึนไปท้ัง 2 ภาคเรียน นกั ศกึ ษาทส่ี อบผ่านเกณฑร์ ้อยละ 30 ของคะแนน สอบปลายภาคเรียนร้อยละ 50-59 นกั ศึกษาท่ีสอบผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 30 ของคะแนน สอบปลายภาคเรียนรอ้ ยละ 60-69 นักศกึ ษาทสี่ อบผ่านเกณฑร์ ้อยละ 30 ของคะแนน สอบปลายภาคเรยี นร้อยละ 70-79 นกั ศกึ ษาที่สอบผา่ นเกณฑ์ร้อยละ 30 ของคะแนน สอบปลายภาคเรยี นร้อยละ 80-100 เกณฑ์การให้คะแนน(Counting) ระดบั น้อยทีส่ ุด น้อย ปานกลาง มาก มากทส่ี ดุ เงื่อนไข มขี อ้ 1 มขี อ้ 2 มีข้อ3 มีขอ้ 4 มขี อ้ 5 คะแนน 1 2 3 4 5 แนวทางปฏบิ ัติงานตามแผนปฏบิ ตั ิราชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 26

เกณฑ์การประเมนิ และหลกั ฐานเพ่อื การตรวจสอบ ตัวช้วี ดั ท่ี 4 รอ้ ยละของคะแนนเฉลี่ยผลการสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ (N-NET) ของนักศึกษา เกณฑ์การประเมนิ หลกั ฐานเพอื่ การตรวจสอบ เกณฑ์การพิจารณา รายงานสรปุ คะแนนเฉล่ียผลการสอบทางการศึกษา ระดับชาติ (N-NET) ของนกั ศึกษาท้ัง 2 ภาคเรยี น คะแนนเฉลยี่ ผลการสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ (N-NET) ของนักศึกษาร้อยละ 1-49 คะแนนเฉลี่ยผลการสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ (N-NET) ของนักศึกษาร้อยละ 50-59 คะแนนเฉล่ียผลการสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ (N-NET) ของนักศึกษาร้อยละ 60-69 คะแนนเฉลยี่ ผลการสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ (N-NET) ของนักศึกษาร้อยละ 70-79 คะแนนเฉลี่ยผลการสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ (N-NET) ของนักศึกษา ร้อยละ 80-100 เกณฑ์การใหค้ ะแนน(Counting) ระดบั นอ้ ยทีส่ ุด นอ้ ย ปานกลาง มาก มากทส่ี ดุ เงื่อนไข มขี ้อ 1 มีข้อ 2 มีขอ้ 3 มีข้อ4 มีขอ้ 5 คะแนน 1 2 3 4 5 แนวทางปฏบิ ัติงานตามแผนปฏิบัตริ าชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 27

เกณฑ์การประเมินและหลกั ฐานเพือ่ การตรวจสอบ ตัวชี้วดั ที่ 5 รอ้ ยละของผเู้ รียนทจี่ บหลกั สตู ร เกณฑ์การประเมิน หลักฐานเพ่ือการตรวจสอบ เกณฑก์ ารพิจารณา รายงานสรุปผู้เรียนทจี่ บหลกั สตู รการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน นอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พ.ศ.2551 ผู้เรยี นท่จี บหลักสตู รร้อยละ 1-49 ของนักศึกษาท้ัง 2 ภาคเรยี น ผเู้ รียนทจ่ี บหลักสูตรร้อยละ 50-59 ผ้เู รยี นทจ่ี บหลักสตู รรอ้ ยละ 60-69 ผู้เรยี นที่จบหลักสูตรร้อยละ 70-79 ผู้เรียนที่จบหลักสูตรร้อยละ 80-100 เกณฑก์ ารให้คะแนน(Counting) ระดบั น้อยทสี่ ดุ น้อย ปานกลาง มาก มากทสี่ ุด เง่อื นไข มีข้อ 1 มีข้อ 2 มขี ้อ3 มขี อ้ 4 มขี ้อ5 คะแนน 1 2 3 4 5 แนวทางปฏบิ ตั ิงานตามแผนปฏิบัตริ าชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 28

แนวทางการปฏิบัติงานตามแผน โครงการส่งเสริมการจดั ศูนย์เรยี นรทู้ ุกช่วงวยั ในรูปแบบ Digital Learning Platform วิสัยทัศน์ (Vision) : จัดศูนย์การเรยี นร้ใู ห้สามารถเรยี นร้ไู ด้ทุกท่ี ทุกเวลา พันธกจิ (Mission) 1.อบรมใหค้ วามรู้ครูและบคุ ลากรเพื่อเชื่อมโยงหลักสตู รครูและผูเ้ รียนเขา้ ไว้ด้วยกันใหท้ ุกคนสามารถเข้าไป เรียนรไู้ ด้ตลอดทุกที่ทกุ เวลาผ่านwww.deep.go.thโดยมหี ลกั สูตรหลากหลายทง้ั จากภาครัฐและภาคเอกชนให้เลือก เรยี นตามความสนใจ 2.รวบรวมเนื้อหาหลกั สูตรความรใู้ หม่ๆจากทัง้ ภาครัฐและเอกชนให้ครูไดเ้ ลอื กนำไปประยุกต์ จัดการเรยี นการสอนเพ่ิมเติมจากในห้องเรียนด้วย Teaching Resource Platform (TRP) 3.ใช้DEEPแบง่ ความรู้ออกเป็นหมวดหมู่ตามแต่ละช่วงวยั และความสนใจโดยผเู้ รยี นทกุ คนสามารถเลอื ก เรียนในสิ่งท่ชี อบและสนใจได้ด้วยตวั เองเพื่อให้ทุกคนสามารถพฒั นาทักษะทเ่ี หมาะสมได้ตามท่ตี งั้ ใจมุ่งไปยังเส้นทาง อาชพี ทช่ี อบได้อยา่ งเตม็ ท่ี 4. บนั ทกึ ข้อมูลและประวตั ิการเรยี นร้ผู า่ น Student ID ลงในฐานข้อมูลของกระทรวงศึกษาธิการ (MOE Big Data) เป็นการเก็บประวตั กิ ารเรยี นรู้ตลอดชีวิต หรอื Lifetime Education Profile 5.สง่ เสรมิ สนับสนนุ ภาคีเครอื ข่ายแชรห์ ลกั สตู รการเรยี นรผู้ ่านDEEPเพ่ือให้ผ้เู รียนเข้าถึงเนอ้ื หาการ เรยี นรู้ทน่ี ่าสนใจได้กว้างและหลากหลายขนึ้ 6. พฒั นาใหป้ ระชาชนเขา้ ไปเรยี นรู้UpskillและReskillผ่านหลักสูตรต่างๆได้อย่างสะดวกทุกท่ีทุกเวลา โดยไมจ่ ำกัดอายแุ ละการศกึ ษา ผา่ น Online Platform (DEEP) ทเี่ ขา้ ถึงง่าย เปา้ ประสงค(์ Goal) 1. เพื่อรองรับแพลตฟอร์มด้านการศกึ ษาเพอ่ื ความเปน็ เลิศ DEEP (Digital Education Excellence Platform) 2. เพื่อเปน็ ศนู ย์กลางการเรียนรู้ออนไลน์สำหรับคนไทยทกุ ชว่ งวัย 3. เพอื่ ให้ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา เรียนรู้พัฒนาตนเองได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ 4. เพือ่ ให้ประชาชนทว่ั ไปสามารถพฒั นา skill เดมิ เพิ่มเติม skill ใหม่ ในยุค Digital Disruption แนวทางปฏบิ ตั งิ านตามแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 29

ปจั จัยหลักแห่งความสำเรจ็ (Critical Success Factors : CSFs) 1. ครูและผู้เรียนมคี วามรู้ความเข้าใจระบบ DEEP และเชือ่ มโยงหลกั สูตร ครแู ละผู้เรียนเขา้ ไว้ด้วยกัน ใหท้ ุกคนสามารถเข้าไปเรียนรู้ไดต้ ลอด ทุกท่ี ทุกเวลา 2. มี Teaching Resource Platform (TRP) แหล่งรวบรวมเนื้อหาหลกั สูตรความรใู้ หม่ ๆ จากท้งั ภาครัฐและเอกชน 3.DEEPแบ่งความรู้ออกเปน็ หมวดหมตู่ ามแตล่ ะชว่ งวยั และความสนใจนกั เรียนทุกคนสามารถเลอื กเรยี นใน สิ่งที่ชอบและสนใจไดด้ ว้ ยตัวเอง 4. ครแู ละผู้บรหิ ารสถานศึกษานำข้อมูลส่วนนี้ไปตอ่ ยอดในการประเมนิ ผลตา่ ง ๆ ได้ 5. ภาคเอกชนซึ่งเปน็ พนั ธมิตรของกระทรวงศึกษาธิการสามารถแชร์หลักสตู รการเรยี นรู้ผ่าน DEEP เพ่ือใหผ้ ้เู รยี นเขา้ ถึงเน้ือหาการเรยี นรู้ทน่ี า่ สนใจได้กวา้ งและหลากหลายขึ้น 6.DEEPเป็นOnlinePlatformเขา้ ถึงง่ายและในอนาคตแพลตฟอร์มน้จี ะถูกพฒั นาให้ประชาชนทกุ คนในประ เทศเข้าไปเรียนรู้ Upskill และ Reskill ผ่านหลกั สตู รตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งสะดวกทกุ ที่ทุกเวลา โดยไม่จำกดั อายแุ ละการศึกษา จงึ ตอบโจทยก์ ารเรยี นรูต้ ลอดชีวติ ไดเ้ ปน็ อย่างดี ตัวชี้วัดผลการดำเนนิ งานหลกั (Key Performance Indicator :KPI) 1 ดา้ นปริมาณ (Out put) 1.1 ร้อยละของครผู ูเ้ ขา้ รับการอบรม สามารถถ่ายทอดความรูก้ ารใชง้ านระบบ DEEP ให้แก่ผเู้ รยี นได้ (Milestone) 1.2 ร้อยละของผ้เู รียนทเ่ี ขา้ ใช้งานระบบ DEEP (Milestone) 2 ด้านคุณภาพ (Out Come) 2.1 กจิ กรรมท่ีครูและผ้เู รียนดำเนนิ การในระบบ DEEP (Counting) 2.2 สถิติการเขา้ ใช้งานระบบ DEEP ของครูและผู้เรียน (Counting) แนวทางปฏบิ ัติงานตามแผนปฏิบตั ิราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 30

เกณฑก์ ารประเมินและหลักฐานเพอ่ื การตรวจสอบ ตวั ชีว้ ดั ที่ 1 รอ้ ยละ 80 ของครผู ู้เขา้ รับการอบรม (ครู ข) มคี วามรู้ความเข้าใจในการใช้งานระบบ DEEP ได้เปน็ อย่างดี เกณฑก์ ารประเมนิ เกณฑก์ ารพจิ ารณา หลกั ฐานเพื่อการตรวจสอบ 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre Test) 1.ผ้เู ข้าอบรมร้อยละ80ผา่ นการทดสอบความรู้ความเ 2. แบบทดสอบหลังเรียน (Post Test) ขา้ ใจในการใช้งานระบบ DEEP (Post Test) 3. เกยี รตบิ ัตรผา่ นการอบรม 4. ขอ้ มลู ห้องเรยี นออนไลน์ในระบบ DEEP 5. หลักสตู รการเรียนรู้ ตวั ชี้วัดท่ี 2 ครแู ละผู้เรียนมีความร้คู วามเขา้ ใจ สามารถเข้าใชง้ านระบบ DEEP เพื่อเช่ือมโยงการเรยี นรไู้ ด้ตลอด ทุกที่ ทกุ เวลา ผ่าน www.deep.go.th เกณฑ์การประเมิน เกณฑก์ ารพจิ ารณา หลักฐานเพ่อื การตรวจสอบ 1. หอ้ งเรียนออนไลน์ 1. จำนวนห้องเรียนออนไลน์ หลักสูตร ส่อื 2. หลักสูตร ทสี่ รา้ งขึ้นในระบบ DEEP เพื่อเชอ่ื มโยงหลกั สตู ร ครู และผเู้ รยี นเข้าไว้ดว้ ยกนั 3. สอ่ื การเรียนร้ใู นระบบ DEEP 4. ข้อมูลสถิติการเข้าใช้งานในระบบ DEEP ของครูและผู้เรยี น 5. สรุป/รายงานผล แนวทางปฏบิ ัตงิ านตามแผนปฏบิ ัตริ าชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 31

เกณฑ์การให้คะแนน(Milestone) ระดบั นอ้ ยท่สี ดุ น้อย ปานกลาง มาก มากท่ีสดุ มขี ้อ 1 ถงึ 3 มีข้อ 1 ถึง 4 มีขอ้ 1 ถึง 5 เงอ่ื นไข มขี ้อ 1 มขี อ้ 1 ถึง 2 3 4 5 คะแนน 1 2 แนวทางปฏบิ ัติงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 32

แนวทางการปฏิบตั งิ านตามแผน โครงการสง่ เสริมการนิเทศติดตามกจิ กรรม กศน. วสิ ยั ทัศน์(Vision) ส่งเสรมิ สนบั สนนุ สถานศกึ ษาเพื่อให้เกิดการพฒั นาคน พฒั นางาน ประสานสมั พันธ์ และการ สร้างขวัญกำลงั ใจ พันธกิจ(Mission) 1. วางแผนการนเิ ทศติดตามแผนการจัดกจิ กรรม 2. ลงพืน้ ที่นเิ ทศประเมนิ และตดิ ตามแผนการจดั กิจกรรม 3. สรปุ ผลการนเิ ทศ 4. รายงาน/แจ้งผลการนเิ ทศ เป้าประสงค์(Goal) 1. เพอ่ื สนับสนนุ ดูแล ช่วยเหลือ และแก้ไขปญั หาอปุ สรรคในการปฏิบัตงิ าน 2. เพอื่ นำผลการนเิ ทศมาปรบั ปรุงพฒั นาในครง้ั ตอ่ ไป ปัจจยั หลักแหง่ ความสำเรจ็ (Critical Success Factors : CSFs) 1. ความรู้ ความเข้าใจบทบาทภาระหน้าท่ีท่ีได้รับมอบหมาย 2. ความคิดรเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ 3. การมีสว่ นร่วมของภาคีเครือข่าย ตวั ชีว้ ดั ผลการดำเนินงานหลกั (Key Performance Indicator :KPI) 1. เชงิ ปรมิ าณ (Out put) สถานศกึ ษาในสังกดั สำนกั งาน กศน.จังหวัดอุดรธานีได้รับการนิเทศ/ติดตาม อย่างน้อยปลี ะ 2 คร้งั 2. เชงิ คณุ ภาพ (Out Come) 2.1 รอ้ ยละของสถานศึกษาในสังกัด สำนกั งาน กศน.จังหวัดอดุ รธานี ท่ีไดร้ บั การประเมนิ ตงั้ แตร่ ะดบั มาก ข้นึ ไป แบบมุ่งผลสมั ฤทธิ์ 2.2 ร้อยละของสถานศึกษาในสังกดั สำนกั งาน กศน.จังหวัดอุดรธานี ท่นี ำผลการนิเทศไปปรับปรงุ และพฒั นา แนวทางปฏบิ ัตงิ านตามแผนปฏิบตั ริ าชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 33

เกณฑ์การประเมนิ และหลกั ฐานเพื่อการตรวจสอบ ตวั ช้วี ัดท่ี 1 สถานศกึ ษาในสังกดั สำนกั งาน กศน.จังหวดั อดุ รธานี มกี ารประเมนิ ผลแบบมุ่งผลสัมฤทธ์ิ เกณฑก์ ารประเมิน หลกั ฐานเพอ่ื การตรวจสอบ 1. บันทึกวาระการประชมุ เกณฑก์ ารพิจารณา 2. แผนปฏิบัติงานประจำปี 1. ดา้ นการนเิ ทศติดตามและประเมินผลแบบมุ่งผลสมั ฤทธิ์ 3. บัญชลี งเวลาผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม/ วทิ ยากร 1.1 สถานศกึ ษามีการจัดทำแผนปฏิบตั ิงานประจำปี 4. กิจกรรม/โครงการ 1.2 สถานศกึ ษามีแผนงานกจิ กรรม/โครงการ ทีค่ รอบคลุม และ 5. แบบรายงานกจิ กรรม/โครงการ 6. แบบสอบถามความพงึ พอใจ สามารถมงุ่ ผลสัมฤทธิ์ได้ 7. โล่ รางวัลเกียรติบัตร/วฒุ ิบัตร 1.3 สถานศกึ ษาไดร้ บั การส่งเสริม สนับสนุน หรือการมีส่วนร่วม 8. เอกสาร/ภาพถ่าย 9. ร่องรอยหรอื หลกั ฐานอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้อง จากภาคเี ครือขา่ ย ในการจดั กจิ กรรม/ โครงการ 1.4 สถานศกึ ษาได้รับรางวัลในระดับอำเภอ/จงั หวดั /ประเทศ 1.5 สถานศึกษามีผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรม มากกว่ารอ้ ยละ 80 ขึ้นไป เกณฑ์การให้คะแนน (Milestone) ระดับ นอ้ ยทส่ี ดุ น้อย ปานกลาง มาก มากท่สี ดุ เงือ่ นไข มีข้อ 1 มขี ้อ 1 ถึง 2 มขี อ้ 1 ถงึ 3 มีข้อ 1 ถึง 4 มขี อ้ 1 ถงึ 5 คะแนน 1 2 3 4 5 แนวทางปฏบิ ัตงิ านตามแผนปฏิบัตริ าชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 34

ตวั ช้วี ดั ท่ี 2 สถานศกึ ษาในสงั กดั สำนักงาน กศน.จงั หวดั อุดรธานี มีการนำไปปรุงและพัฒนา เกณฑก์ ารประเมนิ หลักฐานเพ่อื การตรวจสอบ 1. แผนปฏบิ ัตงิ านประจำปี เกณฑ์การพิจารณา 2. แบบรายงานกิจกรรม/โครงการ 2. ดา้ นการปรับปรุงและพัฒนา 3. บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) 4. เกียรติบตั ร/วุฒิบตั ร 2.1 มกี ารพฒั นาครูและบุคลากร เพื่อใหเ้ กิดประสิทธิภาพ 5. ร่องรอยหรือหลกั ฐานอ่ืนๆ ที่เกยี่ วข้อง 2.2 สถานศึกษามีการพฒั นาดา้ นผลสัมฤทธ์ิ 2.3 มกี ารพัฒนาแผนปฏิบัติงาน เพื่อใหส้ ามารถนำไปใช้ในการ ปฏิบัติงานได้ 2.4 สถานศกึ ษามีการนำนโยบายและจุดเน้น ไปใชแ้ ละพฒั นา 2.5 สถานศึกษามีการทำบันทกึ ข้อตกลงความรว่ มมือ (MOU) กับภาคีเครอื ข่าย เกณฑ์การใหค้ ะแนน (Milestone) ระดับ นอ้ ยที่สดุ นอ้ ย ปานกลาง มาก มากท่สี ดุ มขี ้อ 1 ถงึ 2 มขี อ้ 1 ถึง 3 มีขอ้ 1 ถึง 4 มีข้อ 1 ถงึ 5 เงือ่ นไข มขี ้อ 1 คะแนน 1 2 3 4 5 แนวทางปฏบิ ัตงิ านตามแผนปฏบิ ัตริ าชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 35

แนวทางการปฏิบัติงานตามแผน โครงการสง่ เสรมิ การสร้างเครือข่ายนกั อา่ น(คนพันธุ์ LR ) วสิ ยั ทศั น(์ Vision)มงุ่ ปลูกฝังนสิ ัยรกั การอา่ นใหแ้ ก่ประชาชน พนั ธกจิ (Mission) 1. ครู กศน.และบคุ ลากรสำรวจนักอ่าน 2.ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน 3.ดำเนินงานตามแผนทวี่ างไว้ 4.นิเทศ ตดิ ตาม ประเมินผล 5.รายงานผลการดำเนินงาน เปา้ ประสงค์(Goal) 1.เพ่ือปลกู ฝังนิสยั รักการอ่าน 2.เพอื่ สร้างเครือข่ายนักอ่านเพ่ิมขึน้ ปัจจยั หลักแห่งความสำเรจ็ (Critical Success Factors : CSFs) 1.สถานศกึ ษาสง่ เสริม สนับสนนุ เครือข่ายนกั อ่านและส่งเสรมิ การอ่านในทุกหมู่บา้ น ชมุ ชน ใหป้ ระชาชนมี นิสยั รกั การอา่ น 2. สมาชิกในชุมชนมีสว่ นรว่ ม ตวั ชีว้ ัดความสำเร็จ (Key Performance Indicator :KPI) 1. ดา้ นปริมาณ (Out put) รอ้ ยละของสมาชกิ เครอื ข่ายนกั อา่ นทด่ี ำเนินการได้ตามเป้าหมายทกี่ ำหนด ทร่ี ายงานผา่ นระบบทะเบยี น สมาชิกนักอ่านออนไลน์ (บนั ทึกประวัตนิ ักอ่าน UD-LRNI) 2.ด้านคณุ ภาพ (Out Come) สถิติการอ่านที่ดำเนินการได้โดยวิเคราะห์จากการบันทึกการอ่านออนไลน์ของสมาชิกเครือข่ายนักอ่าน (บันทกึ การอา่ น UD-LRNI) แนวทางปฏบิ ตั งิ านตามแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 36

เกณฑก์ ารประเมินและหลักฐานเพื่อการตรวจสอบ ตวั ชวี้ ดั ท่ี 1 รอ้ ยละของสมาชิกเครือขา่ ยนักอ่านท่ีดำเนินการได้ตามเปา้ หมายที่กำหนด ท่รี ายงานผา่ นระบบทะเบียน สมาชิกนกั อ่านออนไลน์ (บนั ทึกประวัตินักอ่าน UD-LRNI) เกณฑก์ ารประเมนิ เกณฑก์ ารพิจารณา หลักฐานเพือ่ การตรวจสอบ - ค่าเฉล่ียรอ้ ยละของสมาชกิ เครือขา่ ยนกั อา่ นท่ี รายงานผา่ นระบบทะเบยี นสมาชกิ นักอา่ นออนไลน์ ดำเนินการไดต้ ามเป้าหมายที่กำหนด ทร่ี ายงานผา่ น (บนั ทึกประวตั ินกั อา่ น UD-LRNI) ระบบทะเบียนสมาชกิ นักอ่านออนไลน์ (บนั ทึกประวตั ิ นักอ่าน UD-LRNI) 1. รอ้ ยละ 1 - 49 2. รอ้ ยละ 50 – 59 3. ร้อยละ 60 – 69 4. ร้อยละ 70 – 79 5. ร้อยละ 80 – 100 เกณฑ์การให้คะแนน(Rating Scale) ระดับ นอ้ ยท่สี ุด น้อย ปานกลาง มาก มากทีส่ ดุ เงอ่ื นไข ข้อ 1 ข้อ2 ขอ้ 3 ขอ้ 4 ข้อ 5 คะแนน 1 2 3 4 5 แนวทางปฏบิ ตั ิงานตามแผนปฏบิ ัติราชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 37

ตัวชว้ี ัดที่ 2 สถิติการอ่านที่ดำเนินการได้โดยวิเคราะห์จากการบันทึกการอ่านออนไลน์ของสมาชิกเครือข่ายนักอ่าน (บันทึกการอา่ น UD-LRNI) เกณฑ์การประเมิน เกณฑก์ ารพจิ ารณา หลกั ฐานเพือ่ การตรวจสอบ - ค่าเฉลีย่ สถิติการอา่ นที่ดำเนนิ การได้โดยวเิ คราะห์ รายงานระบบบนั ทกึ การอ่านออนไลน์ของสมาชกิ จากการบนั ทึกการอา่ นออนไลนข์ องสมาชิกเครอื ข่าย เครือข่ายนักอา่ น(บนั ทึกการอ่านUD-LRNI)โดย นักอ่าน (บันทกึ การอา่ น UD-LRNI) โดยตรวจสอบจาก ตรวจสอบจากสมาชกิ เครือขา่ ยนกั อ่านคนพนั ธ์ุ LR ให้ สมาชกิ เครือข่ายนกั อ่านคนพันธ์ุ LR ให้อา่ นอย่างนอ้ ย อา่ นอย่างน้อยวันละ 1 หนา้ วนั ละ 1 หนา้ 1.ตำ่ กว่าคา่ เป้าหมายมากกว่าร้อยละ 20 2.ตำ่ กว่าค่าเป้าหมายรอ้ ยละ 11-20 3.ตำ่ กว่าคา่ เปา้ หมายไมเ่ กินร้อยละ 10 4.เทา่ กบั คา่ เปา้ หมายทต่ี ั้งไว้ 5.สูงกว่าคา่ เปา้ หมายท่ีตั้งไว้ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน(Rating Scale) ระดับ น้อยท่สี ุด น้อย ปานกลาง มาก มากทีส่ ดุ เงือ่ นไข ข้อ1 ข้อ 2 ข้อ 3 ขอ้ 4 ขอ้ 5 คะแนน 1 2 3 4 5 แนวทางปฏบิ ตั ิงานตามแผนปฏิบัตริ าชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 38

แนวทางการปฏบิ ตั ิงานตามแผน โครงการสง่ เสริมหลกั สตู รการดูแลผสู้ ูงอายุ วิสัยทัศน์(Vision) ) มงุ่ เน้นพฒั นาขีดความสามารถของผู้ดแู ลผูส้ ูงอายุ สามารถนำความรู้ไปใชใ้ นชีวติ ประจำวัน และประกอบอาชีพได้ พันธกจิ (Mission) 1.สำรวจกลมุ่ เปา้ หมาย 2.ประชมุ ช้ีแจง 3.จัดกิจกรรมตามโครงการฯ 4.นิเทศ/ติดตาม/ประเมินผล 5.รายงานผล 6.มอบเกียรติบตั ร เปา้ ประสงค์(Goal) ผดู้ ูแลผสู้ งู อายุ ได้รับการพฒั นาความรู้ความสามารถและนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวนั และประกอบ อาชีพได้ ปัจจัยหลักแหง่ ความสำเร็จ(Critical Success Factors : CSFs) ผู้เข้ารบั การอบรมมีความรู้ ความเขา้ ใจ และ สามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันและประกอบอาชพี ได้ ตวั ชว้ี ดั ผลการดำเนินงานหลัก(Key Performance Indicator :KPI) 1.ด้านปริมาณ (Out put) รอ้ ยละของผูผ้ ่านการอบรมท่ีจบหลกั สตู ร 1.ดา้ นปริมาณ (Out put) 2.1 ผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนท่ีจบหลกั สตู ร 2.2ร้อยละของผู้ผา่ นการอบรมท่จี บหลักสตู รสามารถนำความร้ทู ่ไี ปใช้ในชีวิตประจำวันและประกอบอาชพี แนวทางปฏบิ ตั ิงานตามแผนปฏบิ ตั ิราชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 39

เกณฑก์ ารประเมนิ และหลักฐานเพื่อการตรวจสอบ ตัวช้วี ัดท่ี 1 ร้อยละของผู้ผา่ นการอบรมทจี่ บหลักสตู ร เกณฑ์การประเมนิ เกณฑ์การพจิ ารณา หลกั ฐานเพอ่ื การตรวจสอบ 1. ผ้ผู า่ นการอบรมท่ีจบหลกั สูตรร้อยละ 1-20 1. ใบเกยี รตบิ ัตร/ใบประกาศ 2 ผู้ผ่านการอบรมท่จี บหลักสูตรรอ้ ยละ 21-40 2. ทะเบียนคมุ ใบเกยี รติบัตร /ใบประกาศ 3. ผ้ผู ่านการอบรมที่จบหลักสูตรร้อยละ 41-60 3. รายงานผู้ผ่านการอบรมตามหลกั สูตร 4. ผ้ผู ่านการอบรมท่จี บหลักสูตรรอ้ ยละ 61-80 4. สรุปรายงานผลการจดั กิจกรรม 5. ผู้ผ่านการอบรมทีจ่ บหลกั สูตรรอ้ ยละ 81ขน้ึ ไป 5. แบบประเมินความพงึ พอใจ 6. อ่นื ๆ (โปรดระบ.ุ ............) เกณฑ์การให้คะแนน 1 คะแนน = มตี ามเกณฑ์การพจิ ารณาข้อ 1 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน(Milestone) ระดบั น้อยทส่ี ดุ นอ้ ย ปานกลาง มาก มากทส่ี ดุ เงื่อนไข มี 1 ข้อ มี 2 ข้อ มี 3 ข้อ มี 4 ข้อ มี 5 ขอ้ คะแนน 1 2 3 4 5 ตัวช้วี ัดท่ี 2 ด้านผลสมั ฤทธ์ขิ องผเู้ ช้ารบั การอบรม หลักฐานเพื่อการตรวจสอบ 1. แบบทดสอบภาคทฤษฎี เกณฑก์ ารประเมนิ 2. แบบทดสอบภาคปฏิบัติ 3. แบบสรปุ คะแนนรวมภาคทฤษฎแี ละภาคปฏบิ ตั ิ เกณฑ์การพจิ ารณา 4. แบบสรปุ รายงานผล 1. ผู้ผ่านการอบรมไดค้ ะแนน 1 – 20 คะแนน 5. ประกาศผลสอบ 2. ผู้ผา่ นการอบรมได้คะแนน 21 – 40 คะแนน 6. อ่ืน ๆ (โปรดระบ.ุ .........) 3. ผผู้ ่านการอบรมได้คะแนน 41 – 60 คะแนน 4. ผผู้ ่านการอบรมไดค้ ะแนน 61 – 80 คะแนน 5. ผ้ผู ่านการอบรมได้คะแนน 81 คะแนน ขน้ึ ไป แนวทางปฏบิ ตั ิงานตามแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 40

เกณฑ์การให้คะแนน(Milestone) ระดับ นอ้ ยท่สี ดุ น้อย ปานกลาง มาก มากท่สี ดุ เง่ือนไข มี 1 ขอ้ มี 2 ขอ้ มี 3 ขอ้ มี 4 ข้อ มี 5 ขอ้ คะแนน 1 2 3 4 5 ตวั ชี้วดั ที่ 3 ร้อยละของผู้ผา่ นการอบรมทจ่ี บหลักสูตร ท่ีสามารถนำความร้ทู ไี่ ดร้ บั ไปใช้ในชีวิตประจำวนั และ ประกอบอาชีพได้ เกณฑก์ ารประเมนิ เกณฑก์ ารพิจารณา หลักฐานเพื่อการตรวจสอบ 1. ผู้ผา่ นการอบรมทจี่ บหลักสูตรสามารถนำความรู้ไปใชใ้ น 1. รายงานผผู้ า่ นการฝึกอบรมตามหลกั สตู ร ชีวิตประจำวนั และประกอบอาชพี ได้ รอ้ ยละ1 - 20 2. รายงาน สรปุ ผลการดำเนินงาน 2. ผู้ผ่านการอบรมทีจ่ บหลกั สูตรสามารถนำความร้ไู ปใชใ้ น 3. แบบตดิ ตามผู้ผา่ นการอบรม ชีวติ ประจำวนั และประกอบอาชพี ได้ ร้อยละ 21 - 40 4.แบบประเมนิ ความพึงพอใจ 3. ผู้ผา่ นการอบรมทจี่ บหลกั สูตรสามารถนำความรูไ้ ปใชใ้ น 5.ภาพกิจกรรม ชีวติ ประจำวันและประกอบอาชพี ได้ ร้อยละ 41 - 60 6. อนื่ ๆ (โปรดระบ.ุ .........) 4. ผู้ผา่ นการอบรมทจ่ี บหลักสูตรสามารถนำความรู้ไปใช้ใน ชีวิตประจำวนั และประกอบอาชพี ได้ รอ้ ยละ 61 – 80 5. ผผู้ ่านการอบรมท่ีจบหลกั สูตรสามารถนำความรไู้ ปใช้ใน ชีวติ ประจำวันและประกอบอาชีพได้ ร้อยละ 81ข้ึนไป เกณฑก์ ารให้คะแนน(Milestone) ระดบั น้อยทส่ี ดุ นอ้ ย ปานกลาง มาก มากที่สุด เงื่อนไข มี 1 ข้อ มี 2 ข้อ มี 3 ข้อ มี 4 ขอ้ มี 5 ขอ้ คะแนน 1 2 3 4 5 แนวทางปฏบิ ัติงานตามแผนปฏบิ ัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 41

แนวทางการปฏบิ ัติงานตามแผน โครงการส่งเสริมการพัฒนาความสามารถดา้ น Digital Literacy สำหรบั บคุ ลากร วสิ ยั ทศั น์(Vision) บุคลากร กศน. มคี วามรู้ความเขา้ ใจในการใช้เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ในสำนักงานและสรา้ งเครือขา่ ย ดิจิทลั ชมุ ชนในการจำหนา่ ยสนิ ค้าออนไลนแ์ ละโปรโมทสินค้าออนไลน์ พนั ธกิจ(Mission) 1.จดั อบรมสูตร Digital Literacy สำหรับบุคลากรวิทยากรแกนนำ ครู ข ครู ค เพ่ือเปน็ วทิ ยากรแกนนำ 2.จัดอบรมขยายผลให้กบั ประชาชน หลกั สูตรการคา้ ออนไลน์และการโปรโมทสนิ คา้ ผา่ น Facebook 3.จดั ตัง้ ศนู ยจ์ ำหน่ายสนิ คา้ และผลิตภัณฑอ์ อนไลน์ กศน. (ONIE online Commerce Center :OOCC) เป้าประสงค์(Goal) 1. เพ่ืออบรมวิทยากรแกนนำ กศน. ให้มีความพร้อมในการขยายผลเศรษฐกิจดจิ ิทัล 2. เพอ่ื ขยายเครือข่ายเศรษฐกิจดจิ ทิ ัลสชู่ ุมชน โดยวทิ ยากรแกนนำ กศน. ปจั จยั หลักแหง่ ความสำเรจ็ (Critical Success Factors : CSFs) 1. วทิ ยากรแกนนำมีความรูค้ วามเข้าใจในหลักสตู รและสามารถนำไปอบรมประชาชรในพื้นที่ 2. การนเิ ทศตดิ ตามอย่างต่อเน่ืองและรายงานผลในระบบ DMIS ตวั ช้วี ดั ความสำเรจ็ (Key Performance Indicator :KPI) 1.ด้านปรมิ าณ (Out put) รอ้ ยละของบคุ ลากรท่จี บหลักสูตรทีม่ คี วามรู้ ความสามารถใช้ Digital Literacy ได้ 2.ดา้ นปริมาณ (Out put) ร้อยละของบุคลากรท่สี ามารถใชโ้ ปรแกรม Digital Literacy ไดอ้ ยา่ งมีคุณภาพ ทำได้ทุกโปรแกรม ทำได้ถูกต้อง และทำใหเ้ กิดประโยชน์สงู สุด แนวทางปฏบิ ตั ิงานตามแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 42

เกณฑ์การประเมินและหลกั ฐานเพื่อการตรวจสอบ ตวั ช้วี ดั ท่ี 1 บุคลากรท่ีจบหลักสตู รท่มี คี วามรู้ ความสามารถใช้ Digital Literacy ได้ เกณฑก์ ารประเมนิ เกณฑ์การพิจารณา หลักฐานเพ่อื การตรวจสอบ 1. ครู ข ครู ค ผ่านการอบรมหลักสูตรวทิ ยากรแกนนำ 1. เกียรตบิ ัตร/วุฒิบตั ร 2. ครู ข ครู ค มกี ารพฒั นาตนเองดา้ นการใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทัล 2. คำส่ังแต่งตั้ง 3. ครู ข ครู ค ได้รับมอบหมายให้จดั อบรมหลักสูตรการค้าออนไลน์ 3. สื่อเทคโนโลยี และโปรโมทสินค้า 4. ภาพกจิ กรรม 4. ครู ข ครู ค มกี ารนำสื่อเทคโนโลยดี จิ ิทัลมาใชใ้ นการอบรม 5. ครู ข ครู ค สามารถถา่ ยทอดความรู้ได้อย่างชดั เจน เกณฑก์ ารให้คะแนน(Counting) ระดบั นอ้ ยมาก นอ้ ย ปานกลาง มาก มากทส่ี ุด มี 2 ขอ้ มี 3 ข้อ มี 4 ข้อ มี 5 ข้อ เงอื่ นไข มี 1 ข้อ 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน คะแนน 1 คะแนน ตัวชี้วดั ที่ 2 ร้อยละของบุคลากรที่สามารถใช้โปรแกรม Digital Literacy ได้อยา่ งมีคุณภาพ ทำไดท้ ุกโปรแกรม ทำได้ ถกู ต้อง และทำใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุด เกณฑ์การประเมนิ เกณฑ์การพจิ ารณา หลักฐานเพอ่ื การตรวจสอบ 1. ครู ข ครู ค มแี ผนการจดั อบรมประชาชนตามหลักสูตร 1. คำสั่งแต่งต้งั 2. ครู ข ครู ค มที ักษะและเทคนคิ ในการถ่ายทอดความรู้และจัด 2. วทิ ยากรแกนนำมีการพัฒนาตนเอง/ กระบวนการเรยี นรู้ตามหลกั สูตร การเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง 3. ครู ข ครู ค มกี ระบวนการการวดั ผลประเมินผลการอบรมของ 3. ใบประกาศ/เกยี รติบัตร/วุฒบิ ัตร กลมุ่ เป้าหมาย 4. ชิ้นงาน/ผลงาน ผเู้ ข้าอบรม 4. ครู ข ครู ค มีการนำส่ือเทคโนโลยีมาใช้ในการจดั กระบวนการ 5. สือ่ /อุปกรณ์ในการจดั กระบวนการเรียนรู้ อบรม 6. ภาพกจิ กรรม 5. มกี ารสรปุ ผลการอบรมหลักสตู รการค้าออนไลน์ และโปรโมทสินค้า แนวทางปฏบิ ัตงิ านตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 43

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน (Counting) ระดบั น้อยมาก น้อย ปานกลาง มาก มากท่สี ดุ เงื่อนไข มี 1 ขอ้ มี 2 ข้อ มี 3 ขอ้ มี 4 ข้อ มี 5 ข้อ คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน แนวทางปฏบิ ตั ิงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 44

แนวทางการปฏิบัติงานตามแผน โครงการสง่ เสรมิ การพฒั นา Big Data เพื่อสนบั สนนุ การจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอธั ยาศยั วิสยั ทศั น์(Vision) กศน.จงั หวัดอดุ รธานี มีฐานข้อมูล(Big Data) ในการบริหารจดั การที่ถกู ต้อง ชัดเจน เช่อื ถือได้ พนั ธกจิ (Mission) 1. ช้ีแจงแนวทางในการเขา้ ร่วมโครงการ 2. สถานศกึ ษาเตรยี มความพร้อมเข้าร่วมโครงการ 3. จดั อบรมใหค้ วามรู้ฐานขอ้ มลู (Big Data) ในการจัดการศึกษา - นวัตกรรมครคู นื ถ่นิ - นวัตกรรมสารสนเทศออนไลน์ สำหรบั การศกึ ษา ต่อเน่ือง - นวัตกรรมเชื่อมโยงแหล่งเรยี นรู้ - นวัตกรรมคนพันธ์ LR - นวัตกรรมการจดั การเรียนรู้ออนไลน์ / ออฟไลน์ 4. นิเทศ ตดิ ตาม ประเมินผล 5. รายงานผลการดำเนินงาน เป้าประสงค์(Goal) เพอ่ื เพ่ิมประสิทธภิ าพในการจัดเกบ็ ข้อมูล และการรายงานผลไดอ้ ย่างถูกต้อง ชัดเจน เชอื่ ถือได้ ปัจจัยหลักแห่งความสำเรจ็ (Critical Success Factors : CSFs) 1. มีการจดั ทำระบบรายงาน(Big Data) อย่างมีคณุ ภาพ 2. บุคลากรมีความรู้ความเขา้ ใจในการรายงานผล 3. มีข้อมูลในการวางแผนและบรหิ ารในการจดั การศึกษาท่ีมีคณุ ภาพ แนวทางปฏบิ ัตงิ านตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 45

ตวั ชว้ี ดั ความสำเร็จ(Key Performance Indicator :KPI) 1. ดา้ นปรมิ าณ (Out put) ร้อยละผเู้ ขา้ ร่วมโครงการสามารถใช้นวตั กรรมได้อย่างถูกต้องและเปน็ ไปตามเปา้ หมายท่ีกำหนด 2. ด้านคณุ ภาพ (Out Come) 2.1 ร้อยละการรายงานการพบกลุ่มผ่านระบบออนไลนน์ วัตกรรมครูคืนถ่ิน 2.2 ร้อยละของนวัตกรรมสารสนเทศออนไลน์ สำหรบั การศึกษาต่อเนื่องทดี่ ำเนนิ การไดต้ าม เปา้ หมายทก่ี ำหนด ทีร่ ายงานผ่านระบบสารสนเทศออนไลน์ 2.3 ระดบั คุณภาพของนวัตกรรมการเชอ่ื มโยงแหลง่ เรียนรู้ออนไลน์ 2.4 รอ้ ยละของสมาชิกเครือข่ายนักอ่านและสถิติการอ่านที่ดำเนนิ การไดต้ ามเป้าหมายท่ีกำหนด ท่รี ายงานผ่านระบบนวัตกรรมคนพันธ์ LR 2.5 รอ้ ยละของครูทีจ่ ดั การเรียนรอู้ อนไลน์ / ออฟไลน์ แนวทางปฏบิ ัติงานตามแผนปฏิบัตริ าชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 46

เกณฑก์ ารประเมินและหลกั ฐานเพือ่ การตรวจสอบ ตวั ชีว้ ดั ท่ี 1 ร้อยละการรายงานการพบกลมุ่ ผ่านระบบออนไลน์ นวตั กรรมครคู ืนถน่ิ (Udonthani Teacher Back to Tumbon Innovation :UD-TBTI) เกณฑ์การประเมิน เกณฑก์ ารพิจารณา หลกั ฐานเพอ่ื การตรวจสอบ ร้อยละการรายงานการพบกลมุ่ ผา่ นระบบออนไลน์ 1. ขอ้ มลู การรายงานการพบกลุ่มผา่ นระบบออนไลน์ นวัตกรรมครคู ืนถนิ่ (Udonthani Teacher Back to นวัตกรรมครูคืนถนิ่ (Udonthani Teacher Back to Tumbon Innovation :UD-TBTI) Tumbon Innovation :UD-TBTI) 1. ร้อยละ 1 - 49 2. ร้อยละ 50 – 59 3. ร้อยละ 60 – 69 4. ร้อยละ 70 – 79 5. รอ้ ยละ 80 - 100 เกณฑ์การให้คะแนน(Counting) ระดับ ตอ้ งปรบั ปรุง พอใช้ ดี ดีมาก ดเี ดน่ เงอื่ นไข มีขอ้ 1 มีข้อ 2 มขี อ้ 3 มีขอ้ 4 มขี ้อ 5 คะแนน 1 2 34 5 แนวทางปฏบิ ตั ิงานตามแผนปฏิบตั ริ าชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 47


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook