คูมอื การเรย� นการสอนการอา นคดิ ว�เคราะห สกู ารพฒั นาการอา นตามแนวทาง สถาบนั ภาษาไทย สํานกั วช� าการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน�้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
คู่มือการเรียนการสอนการอา่ นคิดวเิ คราะห์ สกู่ ารพฒั นาการอา่ นตามแนวทาง PISA สถาบนั ภาษาไทย สำ�นักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา ส�ำ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
คูม่ อื การเรียนการสอนการอา่ นคิดวิเคราะห์สกู่ ารพัฒนาการอา่ นตามแนวทาง PISA ปีทพี่ มิ พ์ พ.ศ. ๒๕๖๒ จ�ำ นวนพมิ พ์ ๑๖๐,๐๐๐ เล่ม จดั ท�ำ โดย สถาบันภาษาไทย สำ�นกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา ส�ำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร ISBN 978-616-395-999-7 พิมพท์ ่ี โรงพิมพ์ชุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จำ�กัด ๗๙ ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรงุ เทพมหานคร ๑๐๙๐๐ โทร. ๐-๒๕๖๑-๔๕๖๗ โทรสาร ๐-๒๕๗๙-๕๑๐๑ นายโชคดี ออสุวรรณ ผู้พิมพ์ผโู้ ฆษณา
คำ�น�ำ โครงการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ (PISA) เป็นโครงการประเมินผล การศกึ ษาของประเทศ สมาชกิ องคก์ ารเพอื่ ความรว่ มมอื และพฒั นาทางเศรษฐกจิ (Organisation for Economic Co-operation and Development หรอื OECD) มีจดุ ประสงคเ์ พ่อื สำ�รวจว่า ระบบการศึกษาของประเทศได้เตรียมเยาวชนของชาติให้พร้อมสำ�หรับการใช้ชีวิตและ การมีส่วนร่วมในสังคมในอนาคตเพียงพอหรือไม่ โดย PISA เน้นการประเมินสมรรถนะของ นักเรียนวัย ๑๕ ปี ท่ีจะใช้ความรู้และทักษะเพ่ือเผชิญกับโลกในชีวิตจริงมากกว่าการเรียนรู้ ตามหลกั สตู รในโรงเรยี นในดา้ นการอา่ น คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และการแกป้ ญั หาแบบรว่ มมอื สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ในฐานะท่ีรับผิดชอบการจัดการศึกษา ข้ันพื้นฐานเห็นความสำ�คัญของการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถเป็นที่ ยอมรับในระดับสากล จึงส่งเสริมให้มีการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนด้านการอ่าน มาอย่างต่อเน่อื ง เพ่อื ให้นกั เรียนสามารถอา่ นคิดวิเคราะห์ได้ และมีองค์ความรดู้ า้ นการอา่ นตาม แนวทางประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ (PISA) ท้ังนี้การคิดวิเคราะห์เป็นทักษะสำ�คัญ ในการเรียนรู้และการดำ�รงชีวิตในสังคม ในการจัดการเรียนการสอนจึงจำ�เป็นต้องปลูกฝังให้ ผเู้ รยี นสามารถอา่ นคดิ วเิ คราะหไ์ ดเ้ พอื่ เปน็ “ฐานราก” ทมี่ นั่ คง ในการเรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เนอื่ งตอ่ ไป ในโอกาสน้ี ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิ คณะทำ�งาน และผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่ได ้ รว่ มจดั ท�ำ และใหข้ อ้ เสนอแนะในการจดั ท�ำ หนงั สอื เลม่ นี้และหวงั วา่ “คมู่ อื การเรยี นการสอนการอา่ น คิดวเิ คราะหส์ กู่ ารพัฒนาการอ่านตามแนวทาง PISA” น้ี จะเป็นแนวทางในการพัฒนาการอา่ น ของนักเรียน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับผู้เรียนเป็นสำ�คัญ หากมีข้อเสนอแนะประการใด โปรดแจง้ สำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน เพอ่ื เป็นขอ้ มูลในการพัฒนาตอ่ ไป (นายสเุ ทพ ชติ ยวงษ)์ เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน
สารบัญ เร่อื ง หนา้ คำ�น�ำ ๑ บทนำ� ๖ สอนอย่างไรให้อา่ นออก อ่านคลอ่ ง และอ่านเปน็ ๒๙ การสอนอ่านเขียนโดยการแจกลูกสะกดคำ� ๔๐ การแจกลกู สะกดค�ำ ในแม่ ก กา ๔๓ การผนั วรรณยุกต์ในแม่ ก กา ๔๙ การแจกลกู สะกดค�ำ ทม่ี ตี ัวสะกดตรงตามมาตรา ๕๖ การผันวรรณยุกตค์ �ำ ที่มีตวั สะกดตรงตามมาตรา ๕๙ การแจกลกู สะกดคำ�ที่มตี วั สะกดไมต่ รงตามมาตรา ๖๗ การแจกลูกสะกดค�ำ ที่มีอกั ษรควบ ๗๑ การแจกลูกสะกดคำ�ที่มีอกั ษรน�ำ ๘๓ การร้เู ร่อื งการอ่านตามแนว PISA (Reading Literacy based on PISA) ๑๓๗ ตวั อยา่ งแบบฝึกการอา่ นตามแนว PISA ๑๓๙ บรรณานุกรม คณะผูจ้ ดั ทำ�
บทนำ� การศึกษาเป็นเครื่องมือสำ�คัญในการพัฒนาและส่งเสริมความรู้ความคิดให้กับเยาวชน ของประเทศ โดยเฉพาะในโลกของศตวรรษที่ ๒๑ ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งด้าน เทคโนโลยีการสื่อสาร และการคิดค้นพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ ๆ กล่าวได้ว่าการอ่านและการรู้ หนงั สอื (Reading & Literacy) เปน็ ทกั ษะทจี่ �ำ เปน็ อยา่ งยงิ่ ส�ำ หรบั การเรยี นรแู้ ละการด�ำ เนนิ ชวี ติ เนื่องจากการอ่านและการรู้หนังสือทำ�ให้เกิดความรู้ความสามารถ และส่งเสริมให้เกิดทักษะ การคดิ วิเคราะห์ แยกแยะ ประยุกตใ์ ช้ข้อมลู ที่เปน็ ประโยชนต์ ่อชีวิต ซง่ึ หากผใู้ ดมีความบกพร่อง หรือขาดความสามารถในการอ่านการเขียนก็จะส่งผลให้เกิดความยากลำ�บากในการส่ือสาร และการเรียนรู้ และจะเป็นปัญหาในการด�ำ รงชวี ติ ต่อไปได้ กระทรวงศึกษาธิการเล็งเห็นถึงความสำ�คัญของการพัฒนาการอ่านการเขียนว่าเป็น พนื้ ฐานสำ�คญั ในการพฒั นาไปสกู่ ารเรยี นรใู้ นระดบั ทสี่ งู ขนึ้ ของผเู้ รยี น จงึ ก�ำ หนดนโยบายการจดั การศกึ ษาท่มี งุ่ เนน้ คุณภาพการอา่ นรเู้ รอ่ื งและสือ่ สารได้ โดยมีมาตรการใหห้ น่วยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง เร่งดำ�เนินการเพื่อให้ผู้เรียนในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานสามารถอ่านออกเขียนได้ เพื่อนำ�ไปสู่ การเรยี นรใู้ นระดับต่าง ๆ อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ซึ่งจากผลการประเมินการอา่ นการเขียนของนักเรียน ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ - ๖ ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ พบวา่ ยงั มนี กั เรยี นจ�ำ นวนหนงึ่ ทม่ี ผี ลการประเมนิ การอ่านในระดับปรับปรุง ทั้งนี้จากการติดตามการดำ�เนินงานการอ่านการเขียนของครูผู้สอน ภาษาไทย พบว่า ในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือให้นักเรียนอ่านคิดวิเคราะห์ได้น้ัน จำ�เป็น ต้องมกี ารพัฒนาให้นักเรียนอ่านออกเขียนได้เปน็ พืน้ ฐานกอ่ น โดยวิธกี ารที่ศกึ ษานเิ ทศกท์ ่รี ับผิดชอบ งานภาษาไทยและครผู สู้ อนภาษาไทยมคี วามคดิ เหน็ วา่ เหมาะสมทจี่ ะนำ�มาใชใ้ นการสอนการอา่ น การเขียนภาษาไทย คอื การสอนแบบแจกลูกสะกดคำ�
ในการน้ี สำ�นักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา จึงได้จัดทำ�หนังสือคู่มือการเรียนการสอน การอา่ นคดิ วเิ คราะหส์ กู่ ารพฒั นาการอา่ นตามแนวทาง PISA ขนึ้ โดยแบง่ เนอื้ หาหลกั เปน็ ๒ ตอน คือ ๑) การสอนอ่านเขยี นโดยการแจกลูกสะกดค�ำ และ ๒) การรู้เรอ่ื งการอา่ นตามแนว PISA โดยมุ่งหวังว่าจะเป็นแนวทางสำ�หรับครูผู้สอนสำ�หรับนำ�ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพตอ่ ไป
สอนอย่างไรให้อ่านออก อ่านคล่อง และอา่ นเปน็ * รองศาสตราจารย์ปิตนิ นั ธ์ สทุ ธสาร คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั และกรรมการวิชาการของราชบณั ฑติ ยสภา การอ่านเป็นกระบวนการที่ซับซ้อน เด็กจะต้องรู้จักสัญลักษณ์ที่เป็นตัวอักษรไทย คือ พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ เพื่อนำ�มาประสมแล้วสามารถเปล่งเสียงคำ� ๆ นั้น และเข้าใจ ความหมายของคำ� โดยโยงประสบการณ์ของตนเข้ามาช่วยเสริมให้เข้าใจย่ิงขึ้น ดังนั้นการอ่าน จงึ เป็นสิง่ ทจี่ ำ�เปน็ ที่ครจู ะต้องสอนใหแ้ ก่เดก็ รู้วิธกี ารสอนหลาย ๆ แบบ ไมม่ วี ธิ กี ารสอนใด เป็นสูตรสำ�เร็จ การสอนท่ีดีจึงตอ้ งใช้วิธีสอนหลากหลายวิธีผสมผสานกันตามความสามารถ ของเด็กแต่ละวยั และพจิ ารณาถงึ ความเหมาะสมของสภาพแวดล้อม การอา่ นเปน็ ทกั ษะทคี่ รจู ะตอ้ งฝกึ ฝนใหเ้ ดก็ จนเกดิ ความช�ำ นาญ และฝกึ ฝนอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และสม่ําเสมอ ทกั ษะการอา่ นทีค่ รูต้องสอนให้แก่เดก็ ได้แก่ ๑. การอ่านคำ� และรู้ความหมายของคำ� นั่นคือให้เด็กอ่านออกเป็นคำ� และเข้าใจ ความหมายของคำ�น้ัน ซ่ึงเปน็ ทักษะเบื้องตน้ คอื สอนใหเ้ ด็กอ่านออก ๒. การอ่านจับใจความ เมือ่ เดก็ อา่ นออกเปน็ ค�ำ วลี และประโยคไดแ้ ลว้ จะต้องเข้าใจ ในส่งิ ที่อ่าน บอกไดว้ ่าใครท�ำ อะไร ท่ไี หน อยา่ งไร ในเร่อื งทีอ่ ่าน เลา่ เร่อื งได้ สรปุ เร่ืองได้ นั่นคอื การสอนให้เดก็ อ่านเปน็ ๓. การอ่านออกเสียงให้ชัดเจน ถูกต้อง โดยเฉพาะคำ�ที่ออกเสียง ร ล คำ�ควบกล้ํา ค�ำ ทมี่ ีอักษรนำ� ร้จู กั จังหวะในการอา่ นให้ถูกวรรคตอนฝกึ จนอา่ นคล่อง ๔. การอา่ นเพอื่ ศึกษาหาความรู้ รูจ้ ักวิธีคน้ ควา้ ความร้จู ากแหล่งขอ้ มูลตา่ ง ๆ ทกั ษะนี้ เหมาะทจ่ี ะใช้กับเดก็ ในชัน้ ประถมปลายไปจนถงึ ช้ันที่สูงขนึ้ * คำ�บรรยายในการประชมุ ปฏิบตั กิ ารการสอนอา่ นเขียนโดยการแจกลกู สะกดคำ� โดยรองศาสตราจารยป์ ิตินนั ธ์ สุทธสาร คูม่ ือการเรียนการสอนการอ่านคิดวเิ คราะห์สู่การพฒั นาการอ่านตามแนวทาง PISA 1
๕. ฝึกให้เด็กมีนิสัยรักการอ่าน ครูจัดบรรยากาศในช้ันเรียนเพื่อกระตุ้นให้เด็กอ่าน หนังสือ จัดกิจกรรมต่าง ๆ ที่เชิญชวนให้เด็กอยากอ่าน ข้อสำ�คัญ คือ ครูต้องเป็นตัวอย่างที่ด ี แกเ่ ด็ก อ่านหนงั สือหลากหลายน�ำ มาเล่าใหเ้ ดก็ ฟงั ๖. การอ่านเพื่อให้คุณค่าและเกิดความซาบซ้ึง นั่นคือ การสอนอ่านวรรณคดีและ วรรณกรรมส�ำ หรบั เดก็ ใหเ้ ดก็ มองเหน็ ประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั จากการอา่ นเพอื่ นำ�มาใชใ้ นชวี ติ ประจ�ำ วนั ให้เด็กรู้รสไพเราะของการอ่านร้อยกรองต่าง ๆ การอ่านวรรณคดีที่จัดไว้ให้เด็กแต่ละช้ัน เพอื่ ใหเ้ ห็นความงดงามของภาษา การสอนให้อา่ นออก การสอนให้อ่านออกมีหลายวิธี ครูไม่ควรยึดวิธีใดวิธีหนึ่ง ควรผสมผสานหลายวิธี จนสามารถท�ำ ใหเ้ ดก็ อ่านออกเปน็ ค�ำ และรู้ความหมายของคำ� ๑. สอนโดยวธิ ปี ระสมอกั ษร เปน็ การสอนทใี่ ชก้ นั มาตงั้ แตอ่ ดตี จนถงึ ปจั จบุ นั ทแ่ี สดงถงึ ภูมปิ ัญญาการสอนอา่ นแบบไทย ซงึ่ ท�ำ ให้เด็กอา่ นหนงั สือไทยได้แตกฉานวธิ ีหน่งึ วิธีสอนแบบน้ีเป็นการนำ�พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ มาประสมกัน แล้วฝึกอ่าน แบบแจกลูก การอ่านแบบสะกดค�ำ เป็นการสอนอ่านที่เน้นการฟังเสียงของพยัญชนะต้น สระ ตัวสะกด และวรรณยกุ ตท์ ่ีน�ำ มาประสมกนั เป็นคำ� เมอื่ ฝกึ ฝนบ่อย ๆ จนชินหกู จ็ ะอา่ นไดถ้ ูกต้อง แม่นย�ำ การอ่านแบบแจกลูก เป็นการอ่านโดยยึดพยัญชนะต้นเป็นหลัก ยึดสระเป็นหลัก หรอื ยึดสระและตัวสะกดเป็นหลกั เช่น ยดึ พยญั ชนะตน้ -ะ -า - ิ - ี - ึ - ื -ุ -ุ เปน็ หลัก ก กะ กา กิ กี กึ กือ กุ กู ข ขะ ขา ขิ ขี ขึ ขือ ขุ ขู ค คะ คา คิ คี คึ คอื คุ คู 2 คมู่ ือการเรียนการสอนการอ่านคิดวเิ คราะหส์ ูก่ ารพฒั นาการอ่านตามแนวทาง PISA
ยดึ สระเปน็ หลัก ก จ ต อ ข ส มย กา จา ตา อา ขา สา มา ยา -า กี จี ตี อี ขี สี มี ยี -ี กู จู ตู อู ขู สู มู ยู -ู ยึดสระและตวั สะกด กจ ต อ ข ส มย เป็นหลัก กาง จาง ตาง อาง ขาง สาง มาง ยาง -า ง กาน จาน ตาน อาน ขาน สาน มาน ยาน -า น กาด จาด ตาด อาด ขาด สาด มาด ยาด -า ด การอา่ นแบบสะกดค�ำ เปน็ การอา่ นโดยสะกดค�ำ หรอื ออกเสยี งพยญั ชนะ สระ ตวั สะกด วรรณยกุ ต์ การนั ต์ ทีป่ ระกอบเปน็ คำ� เชน่ ตา สะกดวา่ ตอ - อา ตา บ้าน สะกดว่า บอ - อา - นอ บาน - ไม้โท บา้ น เรอื่ ง สะกดว่า รอ - เอือ - งอ เรอื ง - ไมเ้ อก เรอื่ ง ถนน สะกดวา่ ถอ - นอ - โอะ - นอ ถะ - หฺนน สตั ว์ สะกดว่า สอ - อะ - ตอ - วอการนั ต์ สดั ๒. สอนดว้ ยการเดาคำ�จากภาพ หรอื การสอนอา่ นจากภาพ เดก็ เรมิ่ หดั อา่ นจากรปู ภาพกอ่ น แลว้ จงึ น�ำ ไปสกู่ ารอา่ นจากตวั อกั ษร รปู ภาพจะเปน็ สิ่งชีแ้ นะใหเ้ ดก็ อา่ นคำ�น้นั ได้ เชน่ คู่มือการเรียนการสอนการอา่ นคิดวเิ คราะหส์ กู่ ารพัฒนาการอ่านตามแนวทาง PISA 3
กระตา่ ย เรอื ใบ ๓. สอนอ่านจากรูปร่างของคำ� เมื่อเด็กเห็นรูปร่างของคำ�โดยส่วนรวมก็จะจำ�ได้ แล้วจะนำ�ไปเปรียบเทียบกับคำ�ท่ีเคยอ่านออกแล้ว คำ�ใดที่มีรูปร่างคล้ายคลึงกันก็สามารถเดา และเทยี บเสยี งไดว้ า่ อ่านอยา่ งไร การสอนแบบนี้ครตู ้องตกี รอบคำ�ทีท่ ำ�ใหเ้ ด็กสามารถมองเหน็ รูปรา่ งคำ�ไดอ้ ย่างชัดเจน เนน้ การฝึกให้เดก็ สังเกตรปู ร่างของค�ำ เชน่ ๔. สอนด้วยการเดาคำ�จากบริบท หรือคำ�ท่ีอยู่แวดล้อม สำ�หรับเด็กมักจะใช้บริบท ทเี่ ปน็ ปรศิ นาค�ำ ทาย หากครตู อ้ งการใหเ้ ดก็ อา่ นคำ�ใดกส็ รา้ งปรศิ นาคำ�ทาย เมอ่ื เดก็ ทายค�ำ ไดถ้ กู ก็สามารถอา่ นค�ำ น้ันออก ตัวอย่างปริศนาค�ำ ทายทใ่ี ชส้ ระอะ ๏ ฉันเป็นผักสวนครัว เน้ือตัวเป็นตะปุ่มตะป่ํา แต่มีคุณค่าเลิศล้ํา ค้ันเอาน้ําแม้ขมหน่อย อร่อยดี (มะระ) ๏ ฉนั เปน็ ของใช้ มไี วใ้ นครวั เอาไว้ผัดคัว่ ทวั่ ทกุ บ้านตอ้ งมี (กระทะ) 4 คูม่ อื การเรียนการสอนการอา่ นคดิ วเิ คราะหส์ กู่ ารพฒั นาการอา่ นตามแนวทาง PISA
๕. สอนอา่ นโดยใหร้ หู้ ลกั ภาษา วธิ นี เ้ี ดก็ จะรหู้ ลกั เกณฑข์ องภาษาเพอ่ื การอา่ นการเขยี น เช่น อกั ษร ๓ หมู่ สระเสยี งเด่ยี ว สระเสียงประสม มาตราตวั สะกด การผันวรรณยุกต์ การอ่าน ค�ำ ควบกลํา้ การอ่านอกั ษรนำ� เป็นต้น วิธีน้ตี ้องหาวิธสี อนทหี่ ลากหลาย จัดกิจกรรมที่นา่ สนใจ ให้เด็กเรยี นรู้หลักภาษาท่งี า่ ย ๆ ด้วยวิธงี ่าย ๆ ทที่ �ำ ให้เด็กสนกุ สนาน กจิ กรรมทีเ่ ดก็ ชอบ เช่น เล่านิทาน รอ้ งเพลง เล่นเกม เป็นต้น ตวั อย่างการสอนโดยใช้เพลง เพลง สระ อะ ค�ำ รอ้ ง รศ.ปติ นิ ันท ์ สทุ ธสาร ทำ�นอง THIS IS THE WAY ค�ำ สระอะ จะมีเสียงสนั้ อยูค่ ูเ่ คียงกนั พยญั ชนะ จะ ปะ กระบะ กระทะ ตะกละ มะระ ล้วนอะตามเรียงราย คำ�สระอะมีตัวสะกด อะจะกระโดดเปน็ หันอากาศ เชน่ กะ - น - กัน และฉนั น้ัน มน่ั ตัว อะ แปรผัน เปน็ หนั อากาศ (ซา้ํ ) ๖. สอนอ่านตามครู วิธีน้ีเป็นการสอนท่ีง่าย ครูส่วนใหญ่ชอบมาก ถ้าครูไม่คิดพิจารณาให้ดีว่า เม่ือใด ควรสอนดว้ ยวิธนี จ้ี ะเป็นอันตรายต่อเดก็ ครูจะใชว้ ธิ นี ีต้ อ่ เมอื่ เปน็ คำ�ยาก ค�ำ ทมี่ ีตัวสะกดแปลก ๆ หรอื ครูไดใ้ ชว้ ธิ อี นื่ แล้วเด็กยงั อา่ นไม่ได้ สำ�หรับช้ัน ป.๑ ครูอาจใช้วิธีนี้ได้ โดยครูอ่านนำ�แล้วให้นักเรียนอ่านตาม เม่ือเด็ก อา่ นได้แลว้ จึงฝกึ ใหอ้ ่านเปน็ กลมุ่ เปน็ รายบคุ คล การอา่ นบทรอ้ ยกรองนนั้ ครจู �ำ เปน็ ตอ้ งอา่ นน�ำ กอ่ น เพอื่ ใหร้ จู้ งั หวะ และลลี าการอา่ น บทร้อยกรองตามประเภทของค�ำ ประพันธน์ ั้น ๆ วิธีการสอนทั้ง ๖ วิธีนี้ ครูควรนำ�ไปประยุกต์ใช้ให้ผสมผสานให้เหมาะสมแก่วัย ของเดก็ จะท�ำ ใหเ้ ดก็ อา่ นออกอา่ นเกง่ ตอ่ ไปครจู งึ สอนอา่ น วลี ประโยค ขอ้ ความ เรอ่ื งราวสน้ั ๆ และการฝกึ การอา่ นจับใจความในล�ำ ดบั ตอ่ ไป ค่มู ือการเรยี นการสอนการอา่ นคดิ วเิ คราะหส์ ่กู ารพัฒนาการอา่ นตามแนวทาง PISA 5
การสอนอา่ นเขยี นโดยการแจกลูกสะกดคำ� รูปและเสียงพยญั ชนะ การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนภาษาไทยเพอ่ื มงุ่ ใหน้ กั เรยี นอา่ นออกเขยี นไดท้ ปี่ ระสบ ผลส�ำ เรจ็ มหี ลากหลายวธิ ี ทง้ั นขี้ น้ึ อยกู่ บั เทคนคิ และประสบการณข์ องครเู ปน็ ส�ำ คญั แตส่ ง่ิ ทสี่ �ำ คญั ท่ีครูควรคำ�นึงถึง คือ การศึกษาผู้เรียนเป็นรายบุคคล และจัดการเรียนรู้ตามความแตกต่าง ของผ้เู รยี นด้วยความรกั ความเข้าใจ โดยครคู วร ๑. ตระหนกั ถงึ ความส�ำ คญั ของการจดั การเรยี นการสอนภาษาไทยเพอื่ พฒั นาใหน้ กั เรยี น อ่านออกเขยี นได้ ซ่ึงจะเป็นประโยชน์ต่อการเรยี นรวู้ ิชาต่าง ๆ และการสอ่ื สารในชีวติ ประจำ�วัน ตามวัตถปุ ระสงคต์ า่ ง ๆ ของตน ๒. มีความรู้เกยี่ วกบั รปู และเสียงของพยัญชนะไทย ๓. ให้ความสำ�คัญกับการสอนและฝึกฝนให้นักเรียนเขียนพยัญชนะได้ถูกวิธี ตลอดจน วิธีการจบั ดินสอ การวางสมุด และท่านง่ั ท่ถี กู ต้อง ๔. จดั เตรยี มสอ่ื ใหน้ า่ สนใจ ครบตามจ�ำ นวนนกั เรยี น และใหน้ กั เรยี นทกุ คนไดฝ้ กึ ปฏบิ ตั ิ จนเกดิ ทกั ษะและความแมน่ ย�ำ รปู พยญั ชนะ พยัญชนะไทยมีท้ังหมด ๔๔ ตัว ปัจจุบันใช้เพียง ๔๒ ตัว พยัญชนะตัวที่ไม่ใช้ คือ ฃ และ ฅ ช่ือพยญั ชนะ ช่อื พยญั ชนะไทยทีใ่ ช้กำ�กบั พยญั ชนะแตล่ ะตวั ที่ใชอ้ ย่างแพร่หลายในปจั จุบัน เป็นชอื่ ที ่ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำ�รงราชานุภาพ ได้สรรหาคำ�มากำ�กับ ซึ่งต่อมา มีผู้แต่งร้อยกรองประกอบช่ือพยัญชนะข้ึนหลายสำ�นวน เพ่ือให้นักเรียนท่องจำ�ได้ง่ายขึ้น สำ�นวนท่ีใช้กันมานานอย่างแพร่หลาย คือ สำ�นวนท่ีปรากกฏในแบบเรียน ก. ไก่ อนุบาล ของบรษิ ัทประชาชา่ ง จำ�กัด ดังน้ี 6 ค่มู อื การเรยี นการสอนการอา่ นคิดวิเคราะหส์ ่กู ารพัฒนาการอา่ นตามแนวทาง PISA
คูม่ อื การเรยี นการสอนการอา่ นคดิ วเิ คราะหส์ ูก่ ารพฒั นาการอา่ นตามแนวทาง PISA 7
ขอ้ สังเกตเก่ยี วกบั ร้อยกรองทีป่ ระกอบพยัญชนะ ๑. พยญั ชนะ ซ บางต�ำ ราใช้ ล่ามตี หมายถึง ล่ามและตตี รวน แตใ่ นทน่ี ใ้ี ช้ ล่ามที ๒. พยญั ชนะ ฌ ทถ่ี ูกใช้ เฌอ หมายถึง ตน้ ไม้ ซ่งึ ตรงตามรูปประกอบ กระเชอ นน้ั หมายถงึ ภาชนะสานชนดิ หนง่ึ มรี ปู รา่ งคลา้ ยกระจาดแตส่ งู กวา่ กน้ สอบ ปากกวา้ งกวา่ ใชส้ �ำ หรบั กระเดียด ๓. พยญั ชนะ ศ ใช้ ศ ศาลา เทา่ น้ัน ทง้ั นไี้ ม่ใช้ ศ คอ ศาลา ๔. พยัญชนะ ษ ใช้ ษ ฤๅษี เท่านัน้ ทัง้ นีไ้ มใ่ ช้ ษ บอ ฤๅษี อยา่ งไรกต็ าม สงิ่ ส�ำ คญั คอื ครตู อ้ งสอนใหน้ กั เรยี นรจู้ กั รปู และเสยี งของพยญั ชนะใหถ้ กู ตอ้ ง ตรงกนั สว่ นชอื่ เรยี กพยญั ชนะและค�ำ สรอ้ ยนน้ั สามารถปรบั เปลย่ี นไดต้ ามยคุ สมยั และส�ำ นกั พมิ พ ์ ซึง่ อาจมคี วามแตกต่างกันได้ 8 คู่มือการเรยี นการสอนการอา่ นคดิ วเิ คราะห์สกู่ ารพฒั นาการอา่ นตามแนวทาง PISA
การฝกึ เขยี นพยญั ชนะ กรณีที่นักเรียนยังไม่เคยเรียนเรื่องการอ่านและการเขียนพยัญชนะมาก่อนเลย ครูควร สอนพน้ื ฐานส�ำ คญั สำ�หรับการเริม่ ต้นเขียนพยญั ชนะให้ถกู ต้องกอ่ น ดงั นี้ ๑. วธิ ีการจับดนิ สอทถี่ ูกต้อง ๒. ลกั ษณะการนั่งที่ถูกวธิ ี ๓. การเขยี นเสน้ พ้ืนฐานในการเขียนพยญั ชนะ ๑. วิธีการจับดินสอทถ่ี ูกตอ้ ง การจับดินสอท่จี ะท�ำ ใหไ้ มเ่ กิดการเกร็งของน้วิ และขอ้ มือมากเกนิ ไป และยังเป็นการจบั แบบธรรมชาตติ ามสรีระของนว้ิ และมือ คอื น้วิ หวั แมม่ ือและนว้ิ ช้ีจับตัวดนิ สอ นวิ้ กลางใชเ้ ปน็ ฐานรองดินสอ ภาพการจบั ดนิ สอที่ถกู วธิ ี ๒. ลกั ษณะการน่ังท่ถี กู วธิ ี ๒.๑ นักเรียนน่ังตัวตรง หันหน้าเข้าหาโต๊ะเรียน ท้ังน้ีไม่ควรน่ังเอียงเพราะอาจทำ�ให้ หลงั คด คมู่ ือการเรียนการสอนการอ่านคดิ วเิ คราะห์สู่การพฒั นาการอา่ นตามแนวทาง PISA 9
๒.๒ แขนทั้ง ๒ ข้าง วางอยู่บนโต๊ะ ประมาณ ๓ ใน ๔ ของความยาวระหว่างศอก กับข้อมอื โดยวางพาดไว้กับขอบโตะ๊ ๒.๓ วางกระดาษสำ�หรับเขยี นไวต้ รงหนา้ ทงั้ นคี้ วรวางกระดาษให้ตรง หรอื เอียงเพยี ง เลก็ นอ้ ย หากวางเอยี งมากไปอาจทำ�ใหผ้ เู้ ขยี นตอ้ งเอยี งคอ สง่ ผลใหส้ ายตาทำ�งานมาก อาจท�ำ ให้ สายตานักเรยี นผดิ ปกติได้ ๒.๔ มือท่ีใช้เขียนต้องทำ�มุมให้เหมาะสมกับตัวอักษร ข้อศอกต้องไม่กางออก หรือแนบล�ำ ตวั มากเกินไป ๒.๕ การวางมอื ใชฝ้ า่ มอื ควา่ํ ลง มอื งอ ท�ำ มมุ ๔๕ องศากบั ขอ้ มอื นวิ้ กลางรองรบั ดนิ สอ หรือปากกา สว่ นนว้ิ หวั แม่มือกบั นิ้วชจ้ี ะประคองดนิ สอร่วมกบั น้ิวกลาง ๒.๖ จับดินสอให้พอเหมาะ ไม่แน่นหรือหลวมเกินไป ส่วนน้ิวท่ีจับดินสอควรโค้งงอ เลก็ นอ้ ย ๒.๗ ขณะทีค่ ดั ลายมอื แขน มอื และนวิ้ ต้องเคล่อื นไหวให้สมั พนั ธก์ นั ๒.๘ การเคล่ือนไหวของดินสอขณะที่คัดตัวพยัญชนะ จะต้องเริ่มต้นจากการเขียน ส่วนหัวของพยัญชนะทุกตัวเสมอ ทั้งน้ีต้องเขียนพยัญชนะแต่ละตัวให้เสร็จเรียบร้อย กอ่ นทจี่ ะยกดนิ สอ ๓. การเขียนเสน้ พน้ื ฐานในการเขยี นพยัญชนะ กอ่ นสอนเขยี นพยญั ชนะไทย ครูควรฝึกการเขียนเสน้ พน้ื ฐานจากงา่ ยไปหายาก จ�ำ นวน ๑๓ เสน้ ให้กับนกั เรียน โดยใช้บรรทดั ๕ เสน้ (๔ สว่ น) จนนักเรยี นเกดิ ความช�ำ นาญ ตัวอย่างเส้นพ้ืนฐานในการเขียนพยญั ชนะ ๑. เส้นตรงจากบนลงลา่ ง 10 คมู่ อื การเรียนการสอนการอา่ นคดิ วเิ คราะห์สูก่ ารพัฒนาการอ่านตามแนวทาง PISA
๒. เส้นเฉยี งจากบนขวามาล่างซา้ ย ๓. เสน้ เฉียงจากบนซ้ายมาล่างขวา ๔. เสน้ เฉยี งจากลา่ งซ้ายไปบนขวา ๕. เส้นตรงจากล่างไปบน ๖. เสน้ เฉียงจากลา่ งขวาไปบนซา้ ย ๗. เส้นตรงล่างจากซา้ ยไปขวา คูม่ ือการเรยี นการสอนการอา่ นคดิ วเิ คราะหส์ กู่ ารพัฒนาการอา่ นตามแนวทาง PISA 11
๘. เสน้ ตรงลา่ งจากขวาไปซ้าย ๙. เส้นโคง้ บนจากซ้ายไปขวา ๑๐. เสน้ โคง้ ล่างจากซ้ายไปขวา ๑๑. เส้นโคง้ บนจากขวาไปซา้ ย ๑๒. เสน้ วงกลมจากซา้ ยไปขวา ๑๓. เส้นวงกลมจากขวาไปซา้ ย 12 คู่มือการเรียนการสอนการอา่ นคิดวิเคราะหส์ ู่การพัฒนาการอา่ นตามแนวทาง PISA
การสอนใหน้ ักเรียนเกดิ ทกั ษะการเขยี นเสน้ พื้นฐาน ครคู วรใหน้ กั เรียนเขียนเส้นพ้ืนฐาน ท้ัง ๑๓ เส้น ตามรูปแบบที่กำ�หนดให้ต่อเนื่องจนเกิดความชำ�นาญ และเม่ือนักเรียนคุ้นเคย กับการเขยี นเสน้ ข้ันพื้นฐานทงั้ ๑๓ เส้นแลว้ ครูสามารถเร่มิ สอนเขยี นพยัญชนะไทยตามรปู แบบ พยญั ชนะไทยทถี่ กู ตอ้ ง ทงั้ ๔๔ ตวั อยา่ งตอ่ เนอื่ งจนเกดิ ความชำ�นาญ โดยยดึ หลกั เกณฑท์ ส่ี ำ�คญั ดงั น้ี ๑. การเขียนพยัญชนะไทยต้องเน้นให้นักเรียนเขียนตัวพยัญชนะก่อนแล้วจึงเขียน เชงิ หาง หรอื ไส้ และใหเ้ รม่ิ เขยี นทตี่ น้ ตวั พยญั ชนะแลว้ ลากเสน้ ตดิ ตอ่ กนั ไปจนจบทป่ี ลายพยญั ชนะ หาง เชงิ ไส้ ๒. การเขยี นหวั พยญั ชนะ ตอ้ งเขยี นใหก้ ลม มเี สน้ เรยี บคมและสมา่ํ เสมอ ในทน่ี ขี้ อเสนอ วิธีการเขียนพยัญชนะไทยตามลำ�ดับความยากง่าย ดงั นี้ ๒.๑ หัวอยสู่ ว่ นที่ ๑ กลมเตม็ ๑ สว่ น ๒.๑.๑ หัวหลังบน ได้แก่ ผ ฝ ย ๒.๑.๒ หวั หนา้ บน ไดแ้ ก่ ง บ ป น ม ท ห พ ฟ ษ ฬ คู่มอื การเรยี นการสอนการอ่านคิดวเิ คราะห์สูก่ ารพฒั นาการอ่านตามแนวทาง PISA 13
๒.๒ หวั อยู่ในสว่ นที่ ๒ กลมเตม็ สว่ น ๑ ส่วน ๒.๒.๑ หัวหลังกลาง ไดแ้ ก่ ค ศ อ ฮ ๒.๒.๒ หัวหนา้ กลาง ไดแ้ ก่ จ ฉ ด ต ฒ ฐ ๒.๓ หัวอยู่ในสว่ นที่ ๔ กลมเต็ม ๑ สว่ น ๒.๓.๑ หวั หลงั ลา่ ง ไดแ้ ก่ ถ ล ส ฌ ณ ญ ๒.๓.๒ หวั หนา้ ลา่ ง ได้แก่ ฎ ฏ ภ 14 คู่มอื การเรยี นการสอนการอา่ นคิดวิเคราะหส์ ่กู ารพฒั นาการอา่ นตามแนวทาง PISA
๒.๔ หัวขมวดหักหนา้ บน ได้แก่ ข ช ๒.๕ หวั หยกั หกั เหล่ยี มหนา้ บน ได้แก่ ซ ฑ ฆ วิธีคัดพยญั ชนะไทย พยญั ชนะกลุ่มท่ี ๑ พยัญชนะไมม่ ีหัว พยญั ชนะกล่มุ ที่ ๒ พยญั ชนะท่ีมหี วั เรม่ิ ทีบ่ รรทัดส่วนที่ ๑ พยญั ชนะกลมุ่ ที่ ๓ พยญั ชนะทีม่ ีหวั ระหวา่ งบรรทดั ส่วนท่ี ๑ และส่วนท่ี ๒ พยัญชนะกลุ่มท่ี ๔ พยัญชนะที่มีหวั เริม่ ทีบ่ รรทดั สว่ นท่ี ๒ คูม่ อื การเรยี นการสอนการอา่ นคดิ วิเคราะห์สูก่ ารพัฒนาการอา่ นตามแนวทาง PISA 15
พยัญชนะกลมุ่ ท่ี ๕ พยัญชนะทมี่ ีหัวระหวา่ งบรรทดั สว่ นท่ี ๓ และส่วนท่ี ๔ ลำ�ดับพยัญชนะทีค่ วรสอน กอ่ น - หลัง พยัญชนะไทยท้ัง ๔๔ ตัว มีระดับความยากง่ายในการอ่านออกเสียง และการเขียน รปู พยญั ชนะทแี่ ตกตา่ งกนั ครคู วรเลอื กพยญั ชนะทงี่ า่ ยตอ่ การออกเสยี งและเขยี นรปู ใหน้ กั เรยี น ฝึกอ่าน ฝึกเขียนตามล�ำ ดับก่อน ท้ังน้ีเพื่อเป็นการเสริมแรงและเพิ่มก�ำ ลังใจในการเรียนรู้ให้กับ นักเรียน ล�ำ ดับพยญั ชนะไทยที่ควรสอนก่อน - หลัง เป็นชุด ๆ ดังน้ี ชดุ ท่ี ๑ ก จ ด ต บ ป อ ชุดท่ี ๒ ค ง ช ซ ท น ชดุ ท่ี ๓ พ ฟ ม ย ร ล ว ฮ ชดุ ท่ี ๔ ข ฉ ถ ผ ฝ ส ห ชดุ ที่ ๕ ฃ ฅ ฆ ฑ ธ ภ ศ ษ ฬ ชุดท่ี ๖ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฒ ณ 16 ค่มู ือการเรยี นการสอนการอ่านคดิ วิเคราะห์สู่การพฒั นาการอา่ นตามแนวทาง PISA
รปู และเสยี งสระ หนงั สอื คมู่ อื นอี้ ธบิ ายรปู และเสยี งพยญั ชนะตามเนอื้ หาในหนงั สอื หลกั ภาษาไทย : เรอ่ื งท ่ี ครูภาษาไทยตอ้ งรู้ ซ่งึ กลา่ วถงึ รูปสระในภาษาไทยวา่ มี ๓๘ รูป ใช้แทนจำ�นวนเสยี ง ๒๑ เสียง ชอ่ื เรยี กรปู สระในปจั จุบนั ช่ือเรียกรูปสระในปัจจุบัน ตามที่เสนอไว้ในหนังสืออุเทศภาษาไทย ชุด บรรทัดฐาน ภาษาไทย เลม่ ๑ ของกระทรวงศกึ ษาธิการ (๒๕๕๘ : ๔ - ๖) มดี งั น้ี ๑. -ะ เรียกวา่ สระ อะ ๒. -ั เรียกว่า ไม้หันอากาศ ๓. -ำ� เรียกว่า สระ อำ� ๔. ไ- เรยี กว่า สระ ไอ ไม้มลาย ๕. ไ-ย เรยี กว่า สระ ไอ ไม้มลาย กบั ตัว ย หรอื สระ ไอ - ยอ ๖. ใ- เรยี กว่า สระ ใอ ไม้ม้วน ๗. เ-า เรียกวา่ สระ เอา ๘. รร เรียกว่า รอ หนั ๑ ๙. -า เรียกวา่ สระ อา ๑๐. - ิ เรียกวา่ สระ อิ ๑๑. - ี เรยี กวา่ สระ อี ๑๒. -ึ เรียกว่า สระ อึ ๑๓. -อื เรียกว่า สระ อือ - ออ ๑๔. -ื เรยี กว่า สระ อือ ๑๕. - ุ เรียกวา่ สระ อุ ๑๖. - ู เรยี กว่า สระ อู ๑๗. เ-ะ เรียกวา่ สระ เอะ ๑๘. เ- ็ เรียกวา่ สระ เอ กับไมไ้ ตค่ ู้ ๑ หนงั สอื บรรทดั ฐานภาษาไทย เล่ม ๑ ยังไมไ่ ดร้ วม รร ไวเ้ ป็นรูปสระ แตใ่ นภาษาไทย รร ใช้แทนเสียง สระ/อะ/ และเสียงสระ /อะ/ กับพยัญชนะ /น/ ในบางคำ� จงึ ควรนบั รร รวมไว้ในรปู สระดว้ ย คู่มือการเรียนการสอนการอ่านคิดวิเคราะห์สกู่ ารพัฒนาการอ่านตามแนวทาง PISA 17
๑๙. เ- เรยี กว่า สระ เอ ๒๐. แ-ะ เรียกวา่ สระ แอะ ๒๑. แ- ็ เรยี กวา่ สระ แอ กบั ไมไ้ ต่คู้ ๒๒. แ- เรยี กว่า สระ แอ ๒๓. โ-ะ เรยี กวา่ สระ โอะ ๒๔. โ- เรยี กว่า สระ โอ ๒๕. เ-าะ เรียกว่า สระ เอาะ ๒๖. -อ็ เรียกวา่ ไมไ้ ตค่ ู้ กับสระ ออ ๒๗. - ็ เรยี กว่า ไมไ้ ตค่ ู้ ๒๘. -อ เรยี กว่า สระ ออ ๒๙. เ-อะ เรียกว่า สระ เออะ ๓๐. เ-ิ เรยี กว่า สระ เออ (เอ - อิ) ๓๑. เ-อ เรยี กว่า สระ เออ (เอ - ออ) ๓๒. เ-ียะ เรยี กว่า สระ เอยี ะ ๓๓. เ-ยี เรียกวา่ สระ เอีย ๓๔. เ-อื ะ เรียกวา่ สระ เออื ะ ๓๕. เ-ือ เรียกว่า สระ เออื ๓๖. -ัวะ เรียกว่า สระ อวั ะ ๓๗. -วั เรยี กวา่ สระ อวั ๓๘. -ว เรียกว่า ตัววอ 18 ค่มู อื การเรยี นการสอนการอา่ นคดิ วิเคราะห์สู่การพฒั นาการอา่ นตามแนวทาง PISA
รปู สระแทนเสยี งสระ ลกั ษณะรูปสระในภาษาไทยเปน็ สระจม คอื รปู สระที่ไม่ปรากฏโดยล�ำ พงั ต้องประกอบ กับตวั พยญั ชนะเสมอ ท้ังนีเ้ พราะคำ�ในภาษาไทยทุกค�ำ ต้องมีเสียงพยญั ชนะตน้ ไม่มคี ำ�ทใี่ ชส้ ระ เป็นเสียงต้นของคำ� ตัวอักษรที่เขียนแทนเสียงสระบางเสียงใช้รูปเขียนตัวเดียว บางเสียง ใช้รปู เขียน ๒ - ๓ ตัว ในภาษาไทยมีรูปสระจำ�นวน ๓๘ รูป ใชแ้ ทนเสียงจ�ำ นวน ๒๑ เสยี ง ดงั นี้ ๑. -ะ แทนเสียงสระ /อะ/ เช่นในคำ�ว่า จะ นะ -ั แทนเสียงสระ /อะ/ เชน่ ในคำ�วา่ จนั นนั -�ำ แทนเสยี งสระ /อะ/ กบั พยัญชนะ /ม/ เช่นในค�ำ ว่า จ�ำ นำ� ใ- แทนเสียงสระ /อะ/ กบั พยญั ชนะ /ย/ เชน่ ในคำ�วา่ ใจ ใน ไ- แทนเสยี งสระ /อะ/ กับพยญั ชนะ /ย/ เช่นในค�ำ วา่ ไจ ไน ไ-ย แทนเสียงสระ /อะ/ กับพยัญชนะ /ย/ เช่นในคำ�ว่า ไทย เวไนย เ-า แทนเสียงสระ /อะ/ กบั พยญั ชนะ /ว/ เชน่ ในค�ำ วา่ เจ้า เนา รร แทนเสยี งสระ /อะ/ เช่นในค�ำ วา่ สรรพ วรรค กบั พยญั ชนะ /น/ เช่นในคำ�ว่า สรร จรรยา ๒. -า แทนเสียงสระ /อา/ เช่นในคำ�วา่ มา จาก ๓. -ิ แทนเสยี งสระ /อิ/ เช่นในคำ�ว่า ติ ชมิ ๔. -ี แทนเสยี งสระ /อ/ี เช่นในคำ�วา่ ดี ปนี ๕. - ึ แทนเสียงสระ /อึ/ เช่นในค�ำ วา่ อึ มึน ๖. -อื แทนเสียงสระ /อ/ื เช่นในคำ�ว่า มอื ถอื -ื แทนเสียงสระ /อื/ เชน่ ในคำ�วา่ ยนื กลนื ๗. - ุ แทนเสยี งสระ /อ/ุ เช่นในคำ�วา่ ดุ จุน ๘. - ู แทนเสียงสระ /อ/ู เช่นในคำ�วา่ ดู นนู ๙. เ-ะ แทนเสยี งสระ /เอะ/ เชน่ ในค�ำ ว่า เตะ เละ เ-็ แทนเสียงสระ /เอะ/ เชน่ ในค�ำ ว่า เลง็ เปน็ เ- แทนเสียงสระ /เอะ/ เช่นในคำ�วา่ เพ่ง เดง้ คู่มอื การเรยี นการสอนการอ่านคิดวิเคราะหส์ ู่การพฒั นาการอา่ นตามแนวทาง PISA 19
๑๐. เ- แทนเสียงสระ /เอ/ เชน่ ในค�ำ วา่ เก เลน ๑๑. แ-ะ แทนเสยี งสระ /แอะ/ เช่นในคำ�ว่า แกะ แพะ แ- ็ แทนเสยี งสระ /แอะ/ เช่นในค�ำ ว่า แขง็ เกร็น แ- แทนเสยี งสระ /แอะ/ เช่นในคำ�วา่ แบง่ แกร่ง ๑๒. แ- แทนเสยี งสระ /แอ/ เช่นในคำ�วา่ แก แกง ๑๓. โ-ะ แทนเสียงสระ /โอะ/ เช่นในคำ�วา่ โละ โต๊ะ (ไม่มีรูป หรอื ลดรปู ) แทนเสยี งสระ /โอะ/ เชน่ ในค�ำ ว่า ตม ลบ ๑๔. โ- แทนเสียงสระ /โอ/ เช่นในค�ำ ว่า โอ โอน ๑๕. เ-าะ แทนเสยี งสระ /เอาะ/ เชน่ ในค�ำ ว่า เกาะ เยาะ -็ อ แทนเสยี งสระ /เอาะ/ เชน่ ในค�ำ ว่า ล็อก บล็อก - ็ แทนเสียงสระ /เอาะ/ เชน่ ในค�ำ ว่า ก็ ๑๖. -อ แทนเสียงสระ /ออ/ เชน่ ในคำ�ว่า พอ สอง ๑๗. เ-อะ แทนเสียงสระ /เออะ/ เชน่ ในค�ำ วา่ เลอะ เจอะ เ- ิ แทนเสียงสระ /เออะ/ เช่นในคำ�วา่ เงิน เปิน่ ๑๘. เ-ิ แทนเสยี งสระ /เออ/ เช่นในคำ�วา่ เนนิ เพลิน เ-อ แทนเสยี งสระ /เออ/ เชน่ ในคำ�วา่ เธอ เกลอ เ- แทนเสียงสระ /เออ/ เฉพาะตัวสะกดเป็น ย เชน่ ในค�ำ วา่ เกย เนย ๑๙. เ-ียะ แทนเสียงสระ /เอยี / เช่นในคำ�ว่า เปยี๊ ะ เก๊ียะ เ-ีย แทนเสยี งสระ /เอีย/ เช่นในค�ำ วา่ เปีย เสยี ๒๐. เ-ือะ แทนเสยี งสระ /เออื / เ-อื แทนเสียงสระ /เอือ/ เชน่ ในค�ำ วา่ เรอื เกลือ ๒๑. -ั วะ แทนเสยี งสระ /อัว/ เช่นในคำ�วา่ จั๊วะ ผลัวะ -ั ว แทนเสยี งสระ /อวั / เช่นในค�ำ วา่ ตวั กลัว -ว แทนเสียงสระ /อวั / เชน่ ในคำ�ว่า ชวน ทวง 20 ค่มู ือการเรยี นการสอนการอา่ นคิดวเิ คราะห์สูก่ ารพฒั นาการอ่านตามแนวทาง PISA
เสียงสระในภาษาไทยแบง่ เป็น ๒ ประเภท คือ สระเดี่ยว และสระประสม สระเด่ียว คอื สระทอี่ อกเสียงโดยอวยั วะในช่องปากอยูใ่ นต�ำ แหนง่ เดียวตลอดเสยี ง เสยี งสระเด่ียว ซึง่ จดั เปน็ หนว่ ยเสียงในภาษาไทย ได้แก่ /อะ/ /อา/ /อ/ิ /อี/ /อึ/ /ออื / /อุ/ /อู/ /เอะ/ /เอ/ /แอะ/ /แอ/ /โอะ/ /โอ/ /เอาะ/ /ออ/ /เออะ/ /เออ/ สระประสม คือ สระที่ออกเสียงโดยอวัยวะอยู่ในตำ�แหน่งหนึ่งแล้วเปล่ียนไปอยู่ในอีก ต�ำ แหน่งหนงึ่ ท�ำ ให้เปน็ สระประสม ๒ เสยี ง สระ/อ/ิ + /อะ/ เปน็ /เอยี ะ/ สระ/อี/ + /อะ/ เป็น /เอีย/ สระ/อ/ึ + /อะ/ เปน็ /เอือะ/ สระ/อื/ + /อะ/ เปน็ /เออื / สระ/อ/ุ + /อะ/ เป็น /อวั ะ/ สระ/อู/ + /อะ/ เป็น /อัว/ เสยี งสระประสมในภาษาไทย ๖ เสียง จัดเปน็ ๓ หน่วย ได้แก่ /เอยี /เอือ/อัว คมู่ ือการเรียนการสอนการอา่ นคิดวเิ คราะหส์ ูก่ ารพัฒนาการอา่ นตามแนวทาง PISA 21
การสอนแจกลกู สะกดค�ำ เพอื่ การอา่ นการเขยี น เพอ่ื มใิ หซ้ บั ซอ้ นครคู วรสอนสระ โดยสอน ใหน้ กั เรยี นรูจ้ ักสระบางตัว ดงั น้ี ๑. รูปสระแทนเสยี งสระเดย่ี ว ไดแ้ ก่ อะ อา อ ิ อ ี อ ึ อื อ ุ อ ู เอะ เอ แอะ แอ โอะ โอ เอาะ ออ เออะ เออ ๒. รปู แทนเสียงสระประสม ได้แก่ เอยี ะ เอยี เออื ะ เออื อวั ะ อัว ครคู วรสอน เน้นสระประสมเสียงยาว ได้แก่ เอยี เอือ อวั มากกว่าสระประสมเสยี งสนั้ ไดแ้ ก่ เอียะ เอือะ อัวะ และเราจะพบว่าในภาษาไทยมีค�ำ ทใ่ี ชป้ ระสมสระเสียงสนั้ น้อยมาก ๓. รปู สระแทนเสียง สระอะ ท่มี ีเสียงพยัญชนะทา้ ย ได้แก่ อำ� ใอ ไอ ไอย เอา อาจสอน โดยใหน้ กั เรยี นสงั เกตการอา่ นออกเสยี งคำ�ทใ่ี ชส้ ระเหลา่ นี้ และมตี วั อยา่ งค�ำ ทใ่ี ชส้ ระและมตี วั สะกด มาเทียบเคยี งให้เห็นความแตกตา่ ง เชน่ ส�ำ - สัม/ ไว - วยั / ไท - ทยั - ไทย/ ยิว - เยา/ หิว - เหา ๔. สระบางรูปจะเปลี่ยนรูปเม่ือมีตัวสะกด ครูควรอธิบายให้นักเรียนเข้าใจท่ีมา และการเปล่ยี นแปลงนั้น เชน่ สระอะ ไมม่ ตี วั สะกดวางไวท้ า้ ยพยญั ชนะตน้ เชน่ กะ จะ ปะ ขะ ผะ สะ คะ นะ ระ มตี ัวสะกด เปลยี่ นรูปเปน็ ไม้หนั อากาศวางไว้ทา้ ยพยญั ชนะต้น กัน จับ ปดั ขัง ผนั สกั คัน นกั รบั สระอือ ไม่มตี วั สะกดมี อ เคียงรูป -ื วางไว้ทา้ ยพยัญชนะตน้ เชน่ จอื ดือ อือ ถอื ผือ สือ คอื มือ ลือ มีตัวสะกด ไมม่ ี อ เคียง จืด ตดื ปืน ฝนื ฝืด สบื คืน มดื ยืน สระเอะ ไม่มตี ัวสะกด เช่น เกะ เตะ เปะ เขะ เผะ เละ มีตัวสะกด สระอะ จะเปลย่ี นรปู เปน็ ไม้ไตค่ ู้ ใชร้ ูป เ - ็ เช่น เก็ง เตง็ เปน็ เขม็ เห็น เลง็ เล็ก เม็ด เลบ็ สระแอะ ไมม่ ตี ัวสะกด เช่น แกะ แตะ แปะ แยะ และ มีตวั สะกด สระอะ จะเปล่ียนรปู เป็นไม้ไตค่ ู้ ใชร้ ูป เเ - ็ เช่น แกร็น แขง็ แผล็บ แผล็ว 22 คูม่ อื การเรียนการสอนการอา่ นคิดวเิ คราะห์สกู่ ารพัฒนาการอา่ นตามแนวทาง PISA
สระเออ ไม่มตี วั สะกด เชน่ เจอ เผอ เหอ เรอ เออ มตี วั สะกด อ จะเปล่ียนเปน็ สระ อิ เช่น เจิม เดิน เปดิ เอกิ เชิด มีตัวสะกด ยกเว้นค�ำ ทีส่ ะกดดว้ ย แมเ่ กอ อ จะหายไปเท่าน้นั เช่น เกย เตย เอย เขย เฉย เผย สระเอาะ ไ มม่ ตี ัวสะกด เช่น เกาะ เดาะ เบาะ เฉาะ เสาะ เคาะ เงาะ มตี ัวสะกด รปู สระท้งั หมดจะเปลี่ยนไป โดยใชร้ ปู -อ็ เช่น ชอ็ ก ลอ็ ก (คำ�วา่ ก็เป็นค�ำ พิเศษ เสยี งสระ คอื /เอาะ/) สระโอะ ไม่มตี วั สะกด เช่น โกะ โจะ โดะ โผะ โงะ โชะ โนะ มตี ัวสะกด รปู สระจะหายไป เช่น กบ จง อม ขด สม ถก งก คด นบ สระอวั ไมม่ ีตวั สะกด เชน่ ตัว บัว ถวั สวั หัว มวั รัว มตี วั สะกด ไมห้ นั อากาศจะหายไป เช่น กวน ตวง บวม ขวบ สวม หวด งวง มวน รวย ๕. การพจิ ารณารปู สระท่ใี ชเ้ ปน็ เรื่องส�ำ คัญ และต้องสงั เกตเสียงของค�ำ วา่ เป็นสระเสียงส้ัน หรอื เสียงยาว จึงจะแยกได้ว่า คำ�นั้นใช้รปู สระใด ออกเสียงเปน็ เสียงสระใด รูปสระต้องใชต้ ามท ี่ กำ�หนด ส่วนเสียงสระต้องฟังให้ชัด เนื่องจากไม่ตรงตามรูปสระก็ได้ เช่น แต่ง รูปเป็น แอ เสียงเป็น แอะ (เสียงสัน้ ) คู่มือการเรียนการสอนการอ่านคิดวิเคราะหส์ ู่การพัฒนาการอ่านตามแนวทาง PISA 23
รูปและเสยี งวรรณยกุ ต์ วรรณยุกตป์ ระกอบดว้ ย รปู วรรณยกุ ต์ และ เสียงวรรณยกุ ต์ รูปวรรณยกุ ต์ เขยี นบนพยญั ชนะต้น เพื่อบอกระดบั เสยี งของค�ำ ท�ำ ใหค้ �ำ มีความหมาย ต่างกัน ๑. วรรณยุกตม์ ี ๔ รปู คือ -่ เรยี กว่า ไม้เอก - ้ เรียกวา่ ไมโ้ ท - ๊ เรียกว่า ไมต้ รี -๋ เรียกว่า ไมจ้ ัตวา ค�ำ บางค�ำ มีรูปวรรณยุกต์ และค�ำ บางค�ำ ไม่มรี ปู วรรณยุกต์ ๒. วิธเี ขยี นรปู วรรณยุกต์ ๔ รปู ๑๒ ไมเ้ อก ไม้โท ไม้ตรี ไมจ้ ัตวา 24 คมู่ อื การเรียนการสอนการอ่านคิดวิเคราะห์สู่การพฒั นาการอา่ นตามแนวทาง PISA
๓. ตำ�แหน่งของวรรณยุกต์ จะเขียนอยู่บนพยัญชนะต้น ขนาดเล็กกว่าพยัญชนะ ๑ ใน ๔ เช่น กา กา กา กา ๔. การวางต�ำ แหนง่ รปู วรรณยกุ ต์ เขยี นบนตวั พยญั ชนะ ใหต้ รงกบั เสน้ หลงั หรอื คอ่ นไป ทางดา้ นทา้ ยของตวั พยญั ชนะ โดยสว่ นขวาสดุ ของวรรณยกุ ตอ์ ยตู่ รงกบั เสน้ ขวาสดุ ของพยญั ชนะ ท่ีเกาะ ยกเว้นทอี่ ยู่กบั พยญั ชนะทม่ี ีหาง ได้แก่ ป ฝ ฟ ให้เขยี นวรรณยุกตเ์ ย้อื งมาข้างหนา้ ไมท่ บั หางพยญั ชนะ เช่น คู่มอื การเรยี นการสอนการอา่ นคิดวิเคราะหส์ ่กู ารพัฒนาการอ่านตามแนวทาง PISA 25
พยัญชนะทีม่ ีหาง ไดแ้ ก่ ป ฝ ฟ ให้เขียนวรรณยกุ ต์เย้อื งมาข้างหน้าไมท่ บั หางพยัญชนะ เช่น ้๊ ๋ ้่ ้ พยัญชนะตน้ มตี ัวอกั ษร ๒ ตวั รูปวรรณยกุ ตจ์ ะวางอยบู่ นตัวที่ ๒ เชน่ ้๋ พยางคใ์ ดมรี ปู สระอยบู่ นตวั พยญั ชนะแลว้ ใหเ้ ขยี นรปู วรรณยกุ ตไ์ วบ้ นรปู สระอกี ชน้ั หนงึ่ เช่น ้๊ 26 คมู่ อื การเรียนการสอนการอ่านคดิ วเิ คราะหส์ ูก่ ารพฒั นาการอ่านตามแนวทาง PISA
เสียงวรรณยุกต์ หมายถึง ระดับสูงตํ่าของเสียงที่ปรากฏในพยางค์หรือคำ� และทำ�ให้ คำ�มคี วามหมายแตกต่างกนั วรรณยุกต์ มที งั้ หมด ๕ เสียง คอื รปู – ่ ้ ๊ ๋ เสยี ง สามญั เอก โท ตรี จตั วา ข้อสังเกต คำ�ทุกคำ�มีเสียงวรรณยุกต์ โดยบางคำ�มีรูปและเสียงวรรณยุกต์ แต่บางคำ� มีรูปวรรณยุกต์ไม่ตรงกับเสียงวรรณยุกต์ ขึ้นอยู่กับพยัญชนะต้นตามไตรยางศ์ เสียงส้ันยาว ของสระและมาตราตวั สะกด พยางคท์ กุ พยางค์มีพน้ื เสยี งวรรณยุกตอ์ ยู่แลว้ โดยไม่ต้องมรี ูปวรรณยกุ ต์ เช่น กา มเี สียงวรรณยกุ ต์สามัญ กดั มีเสียงวรรณยกุ ต์เอก คาด มีเสียงวรรณยกุ ตโ์ ท คัด มีเสยี งวรรณยุกตต์ รี ขา มีเสียงวรรณยกุ ต์จตั วา เสียงวรรณยุกต์สามัญ เป็นเสียงวรรณยุกต์ระดับกลาง เช่น เสียงวรรณยุกต์ในคำ�ว่า มา ดู นาง พลาง เรอื น จาน ลืม ดาว พราย เดียว เปน็ ตน้ เสียงวรรณยุกต์เอก เป็นเสียงวรรณยุกต์ระดับตํ่า เช่น เสียงวรรณยุกต์ในคำ�ว่า ป่า ข่า ปู่ ข่าย อย่า เป็นต้น กลุ่มคำ�ต่อไปน้ีมีเสียงวรรณยุกต์เอก แต่ไม่มีรูปวรรณยุกต์เอกก�ำ กับ เช่น ปะ ขาด เหยอื ก ปัก เปยี ก ผดั บีบ เป็นต้น เสยี งวรรณยกุ ตโ์ ท เปน็ เสยี งวรรณยกุ ตเ์ ปลยี่ นระดบั จากสงู ลงมาตาํ่ เชน่ เสยี งวรรณยกุ ต์ ในคำ�ว่า ป้า ก้อน ข้า ค่า ใคร่ กลุ่มคำ�ต่อไปน้ีมีเสียงวรรณยุกต์โท แต่ไม่มีรูปวรรณยุกต์โท กำ�กบั เช่น นาบ ทาก ชาติ เลอื ด เรยี บ เปน็ ต้น คู่มอื การเรยี นการสอนการอ่านคดิ วเิ คราะห์สู่การพัฒนาการอา่ นตามแนวทาง PISA 27
เสยี งวรรณยกุ ต์ตรี เป็นวรรณยุกตร์ ะดบั สูง เช่น วรรณยุกต์ในคำ�ว่า ก๊ง กยุ๊ นา้ นอ้ ง ค้าง กลมุ่ ค�ำ ตอ่ ไปนม้ี ีเสยี งวรรณยุกต์ตรี แต่ไม่มรี ปู วรรณยกุ ตต์ รี ก�ำ กับ เช่น นกึ รกั ริบ วับ เปน็ ตน้ เสียงวรรณยุกต์จัตวา เป็นเสียงวรรณยุกต์เปลี่ยนระดับจากต่ําข้ึนไปสูง เช่น เสยี งวรรณยกุ ต์ ในค�ำ วา่ ปา๋ เดยี๋ ว ขา กลมุ่ ค�ำ ตอ่ ไปนม้ี เี สยี งวรรณยกุ ตจ์ ตั วา แตไ่ มม่ รี ปู วรรณยกุ ต์ จตั วา กำ�กับ เชน่ ผง ขน ผม ขนั สาว หวิ หนาม เป็นตน้ 28 คู่มอื การเรียนการสอนการอา่ นคดิ วเิ คราะห์สู่การพัฒนาการอา่ นตามแนวทาง PISA
การแจกลกู สะกดคำ�ในแม่ ก กา การสอนแจกลกู สะกดคำ�ในแม่ ก กา ควรมลี �ำ ดับข้ันตอนในการสอน ดงั น้ี ๑. สอนให้รูจ้ ักไตรยางศ์ ๒. สอนใหร้ ้จู กั สระเสียงส้นั - ยาว ๓. สอนให้สะกดคำ�แจกลูกในแม่ ก กา ๑. สอนใหร้ ู้จักไตรยางศ์ ไตรยางศ์ คือ การแบ่งพยญั ชนะในภาษาไทยเป็น ๓ หมู่ ตามระดบั เสียง ได้แก่ อักษรกลาง ๙ ตวั ประกอบด้วย ก จ ด ต ฎ ฏ บ ป อ อักษรสูง ๑๑ ตวั ประกอบดว้ ย ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห อกั ษรตาํ่ ๒๔ ตวั ประกอบด้วย ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬ ฮ เน่ืองจากพยัญชนะในแต่ละหมู่ มีผลต่อการสอนแจกลูกสะกดคำ�ให้นักเรียนเข้าใจ งา่ ย - ยากแตกต่างกัน จงึ ขอจดั ลำ�ดับการใช้พยญั ชนะนำ�มาสอนกอ่ นหลัง ดงั น้ี ชดุ ท ี่ ๑ ก จ ด ต บ ป อ ชุดท่ ี ๒ ค ง ช ซ ท น ชุดท่ ี ๓ พ ฟ ม ย ร ล ว ฮ ชดุ ท ่ี ๔ ข ฉ ถ ผ ฝ ส ห ชุดท ี่ ๕ ฆ ฑ ธ ภ ศ ษ ชดุ ที ่ ๖ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฒ ณ อักษรชดุ ท่ี ๕ และ ๖ เปน็ อกั ษรทีใ่ ชใ้ นค�ำ ยืมจากภาษาตา่ งประเทศ จงึ นำ�มาสอน หลังจากนักเรียนได้เรียนรู้และฝึกอ่านเขียนคำ�ที่สะกดโดยมีพยัญชนะต้นในชุดท่ี ๑ - ๔ คลอ่ งแลว้ * ในกรณนี ้ี ไม่จ�ำ เป็นตอ้ งน�ำ ฃ และ ฅ มาสอน เน่ืองจากไมม่ ที ใ่ี ช้ในภาษาไทย ค่มู อื การเรยี นการสอนการอา่ นคดิ วิเคราะห์สูก่ ารพัฒนาการอ่านตามแนวทาง PISA 29
๒. สอนให้รจู้ กั สระเสยี งสัน้ - ยาว ๑. ในการสอนควรน�ำ เสนอรปู และเสยี งสระทป่ี ระกอบดว้ ยสระเสยี งสน้ั และสระเสยี งยาว เชน่ -ะ -า -ิ -ี - ึ -ื -ุ -ู เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นไดฝ้ ึกการอ่านคำ� แม่ ก กา ที่ประสมท้ังสระเสยี งส้นั และสระเสียงยาว ซง่ึ เมื่อนักเรยี นไดฝ้ กึ อ่านมาก ๆ จนช�ำ นาญ นักเรียนจะสามารถสงั เกตเสียง สนั้ ยาวของเสียงสระได้ แล้วใหอ้ อกเสยี งสระทลี ะตวั โดยครคู วรใชบ้ ตั รคำ�เสนอสระทลี ะตวั เช่น ตวั อยา่ ง -ะ ออกเสยี งวา่ อะ ชอ่ื สระ รปู สระ เสยี งสระ -ะ อะ -า อา - ิ อิ - ี อี - ึ อึ - ื อื -ุ อุ -ู อู ๒. เม่ือนักเรียนได้ทบทวนเรื่องรูปและเสียงของสระแล้ว ครูจึงสอนให้นักเรียนฝึกอ่าน สะกดคำ�ทป่ี ระสมสระท่ีไดท้ บทวนนนั้ โดยแบง่ กลุ่มสระเสยี งสน้ั และสระเสียงยาว ครูควรอธิบายเพิ่มเติมว่า เสียงส้ันยาวของสระทำ�ให้คำ�ออกเสียงวรรณยุกต์ต่างกัน และใหน้ กั เรยี นสงั เกตเสยี งวรรณยกุ ตข์ องค�ำ ดว้ ย การสอนใหน้ กั เรยี นสะกดค�ำ ควรสอนค�ำ ทป่ี ระสม สระเสียงยาวกอ่ น แลว้ จงึ สอนสระเสยี งส้ัน เมือ่ อ่านได้แลว้ จะฝึกอ่านสระเปน็ คู่ตามเสยี งส้ันยาว กจ็ ะท�ำ ให้นักเรยี นอ่านค�ำ ได้คลอ่ ง 30 คมู่ อื การเรยี นการสอนการอา่ นคดิ วิเคราะหส์ กู่ ารพฒั นาการอ่านตามแนวทาง PISA
ครูสามารถใช้ตารางการแจกลูกคำ�ทใี่ ชส้ ระเปน็ ลกู ประกอบการอธิบาย สระ -ะ -า -ิ -ี -ึ -ื -ุ -ู พยญั ชนะ ก กะ กา กิ กี กึ กือ กุ กู ต ตะ ตา ติ ตี ตึ ตือ ตุ ตู บ บะ บา บิ บี บึ บือ บุ บู ๓. ครูนำ�อักษรตา่ํ ง ม ย และอักษรสูง ข ส ถ มาฝึกเชน่ เดียวกับอักษรกลาง จากนน้ั จึงแบ่งกลุ่มเสียงสระส้ันยาว โดยครูและนักเรียนร่วมกันสังเกตและสรุปว่าเสียงสระใดเสียงสั้น เสียงสระใดเสียงยาว และออกเสียงวรรณยุกต์ใด จากน้ันจึงให้นักเรียนฝึกอ่านคำ�ท่ีประสม สระเสียงยาว เสยี งสั้น อกั ษรกลาง เสยี งยาว กา กี กือ กู เสียงสามัญ เสยี งส้นั กะ กิ กึ กุ เสยี งเอก เสียงยาว ตา ตี ตอื ต ู เสียงสามญั เสียงสนั้ ตะ ติ ต ึ ตุ เสียงเอก เสียงยาว บา บี บอื บ ู เสยี งสามัญ เสยี งสั้น บะ บ ิ บ ึ บ ุ เสยี งเอก อกั ษรตํา่ เสียงยาว งา งี งอื ง ู เสียงสามัญ เสยี งสั้น งะ งิ ง ึ งุ เสยี งตรี เสยี งยาว มา มี มอื ม ู เสียงสามญั เสียงสัน้ มะ มิ มึ มุ เสยี งตรี เสยี งยาว ยา ยี ยือ ย ู เสียงสามญั เสยี งสัน้ ยะ ย ิ ย ึ ย ุ เสียงตรี คูม่ ือการเรยี นการสอนการอ่านคดิ วิเคราะหส์ ูก่ ารพฒั นาการอ่านตามแนวทาง PISA 31
อักษรสงู เสยี งยาว ขา ขี ขือ ขู เสียงจตั วา เสยี งสน้ั ขะ ขิ ขึ ขุ เสยี งเอก เสยี งยาว สา สี สอื สู เสยี งจตั วา เสียงสน้ั สะ สิ สึ สุ เสียงเอก เสยี งยาว ถา ถ ี ถอื ถู เสียงจตั วา เสียงสัน้ ถะ ถิ ถึ ถ ุ เสียงเอก ขอ้ เสนอแนะ สำ�หรับการทบทวนรูปและเสียงสระอ่ืน ๆ อาจใช้วิธีเดียวกันจนครบทุกสระที่ต้องการ สอนก็ได้ ใหอ้ ยู่ในดุลยพินจิ ของครูผสู้ อน ๔. เมอื่ สอนรปู และเสยี งสระจนนกั เรยี นสามารถอา่ นค�ำ ไดแ้ ลว้ ใหน้ กั เรยี นสงั เกตต�ำ แหนง่ ของสระในแต่ละค�ำ วา่ อยู่ในต�ำ แหน่งใด จากนั้นครูและนักเรยี นร่วมกันสรุปตำ�แหนง่ ของสระวา่ อยูใ่ นต�ำ แหนง่ ใดบา้ ง เชน่ กะ อ่านว่า กะ มีสว่ นประกอบอะไรบา้ ง (ครแู นะนำ�ว่าพยัญชนะตัวแรก เราเรยี กวา่ พยัญชนะตน้ ) พยญั ชนะตน้ คือ ก ประสมสระ -ะ อ่านวา่ กะ สระ -ะ อยู.่ .... (หลงั )....พยญั ชนะ พยญั ชนะตน้ คอื ก ประสมสระ -า อา่ นว่า กา สระ -า อย.ู่ .... (หลงั )....พยัญชนะ พยัญชนะต้น คอื ก ประสมสระ -ี อา่ นวา่ กี สระ -ี อย่.ู .... (บน)....พยญั ชนะ พยญั ชนะต้น คอื ก ประสมสระ -ึ อ่านว่า กึ สระ -ึ อย.ู่ .... (บน)....พยัญชนะ 32 คูม่ อื การเรยี นการสอนการอา่ นคิดวเิ คราะห์สกู่ ารพัฒนาการอา่ นตามแนวทาง PISA
(นักเรียนร่วมกันบอกตำ�แหน่งของสระจนครบทุกคำ�) จากนั้นนำ�สระท่ีมีตำ�แหน่ง ตา่ ง ๆ กนั มาจดั หมวดหมู่ ดังนี้ กลุ่มสระทีม่ ีตำ�แหน่งอยขู่ า้ งหลัง คอื -ะ -า กลมุ่ สระท่มี ีตำ�แหนง่ อยู่ข้างบน คอื - ิ - ี - ึ -ื กล่มุ สระท่ีมีตำ�แหน่งอย่ขู ้างล่าง คอื -ุ -ู ครคู วรจดั กจิ กรรมจดั หมวดหมสู่ ระในรปู สระอนื่ ๆ เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นไดร้ จู้ กั ต�ำ แหนง่ ของ สระครบทุกตำ�แหน่ง โดยใช้วิธีการจัดกิจกรรมในลักษณะดังกล่าวข้างต้น หรือวิธีอื่นท่ีเห็นว่า สามารถจัดหมวดหมู่ตำ�แหน่งของสระได้ การสอนให้นักเรียนรู้จักและจำ�ตำ�แหน่งของสระ จะทำ�ใหน้ กั เรียนสามารถเขียนสะกดคำ�ไดง้ ่าย เมอ่ื ถงึ ขั้นตอนการเขียนสะกดคำ� ๕. เมอื่ สอนรปู เสยี ง และการวางต�ำ แหนง่ ของสระ จนนกั เรยี นสามารถจ�ำ รปู สระ ต�ำ แหนง่ ของสระ และอ่านเสยี งสระได้แล้ว ใหค้ รูน�ำ คำ�ทส่ี อนมาแยกส่วนประกอบตามโครงสรา้ งของค�ำ เชน่ ตา มสี ่วนประกอบอะไรบา้ ง พยัญชนะต้น คอื ต และ สระ -า ตี มสี ว่ นประกอบ คอื พยญั ชนะต้น คอื ต และ สระ -ี งู มสี ว่ นประกอบ คอื พยัญชนะต้น คอื ง และ สระ -ู ๖. ครูและนกั เรยี นร่วมกนั สรปุ สว่ นประกอบของค�ำ ประกอบด้วย พยัญชนะตน้ + สระ ครูอาจนำ�คำ�อ่ืน ๆ ท่ีมีอยู่ในแบบเรียนหรือคำ�ที่นักเรียนคุ้นเคย โดยใช้คำ�ที่ไม่มีรูปวรรณยุกต์ และไมม่ ีตัวสะกดมาใหน้ กั เรียนฝึก คูม่ ือการเรยี นการสอนการอ่านคดิ วิเคราะห์ส่กู ารพฒั นาการอา่ นตามแนวทาง PISA 33
๓. สอนให้สะกดคำ�แจกลูกในแม่ ก กา ๑. ใหน้ ักเรยี นอ่านออกเสยี งสระและพยัญชนะ พยญั ชนะตน้ อกั ษรกลาง + สระเสยี งยาว เสยี งวรรณยกุ ตส์ ามญั กา ตา ก ออกเสียงว่า กอ ต ออกเสียงวา่ ตอ า ออกเสยี งวา่ อา า ออกเสยี งวา่ อา พยัญชนะต้นอกั ษรตํา่ + สระเสียงยาว เสยี งวรรณยุกตส์ ามญั คา มา ค ออกเสยี งว่า คอ ม ออกเสยี งวา่ มอ า ออกเสียงวา่ อา า ออกเสียงว่า อา พยญั ชนะต้นอกั ษรสงู + สระเสียงยาว เสยี งวรรณยุกต์จตั วา สา ขา ส ออกเสียงว่า สอ ข ออกเสียงวา่ ขอ า ออกเสียงว่า อา า ออกเสียงวา่ อา พยญั ชนะต้นอกั ษรกลาง + สระเสียงสนั้ เสียงวรรณยกุ ตเ์ อก กะ ตะ ก ออกเสยี งวา่ กอ ต ออกเสยี งวา่ ตอ ะ ออกเสียงว่า อะ ะ ออกเสยี งวา่ อะ 34 คู่มือการเรยี นการสอนการอา่ นคิดวิเคราะหส์ ูก่ ารพัฒนาการอ่านตามแนวทาง PISA
พยัญชนะตน้ อกั ษรต่ํา + สระเสียงสนั้ เสียงวรรณยกุ ต์ตรี คะ มะ ค ออกเสียงว่า คอ ม ออกเสยี งว่า มอ ะ ออกเสียงว่า อะ ะ ออกเสียงวา่ อะ พยัญชนะต้นอกั ษรสูง + สระเสียงส้นั เสยี งวรรณยุกตเ์ อก สะ ขะ ส ออกเสียงวา่ สอ ข ออกเสียงวา่ ขอ ะ ออกเสยี งวา่ อะ ะ ออกเสียงวา่ อะ ข้อเสนอแนะ ขน้ั ตอนน้ี ครูสามารถน�ำ คำ�ท่สี ะกดด้วยพยัญชนะต้นทีป่ ระสมกับสระอืน่ ๆ ทนี่ กั เรยี น ไดเ้ รียนมาแลว้ มาฝึกเพิม่ อกี เพือ่ ใหน้ ักเรยี นอา่ นสะกดคำ�ไดค้ ล่องขนึ้ ๒. เมอื่ นกั เรยี นอา่ นออกเสยี งสระและเสยี งพยญั ชนะคลอ่ งแลว้ ครจู งึ จะน�ำ เสนอหลกั การ อา่ นสะกดค�ำ โดยครทู บทวนวา่ ค�ำ ประกอบดว้ ย พยญั ชนะตน้ + สระ เชน่ ค�ำ วา่ กา พยญั ชนะตน้ ก ออกเสยี งวา่ กอ สระ -า ออกเสยี ง อา (ในหนว่ ยการจดั การเรยี นรนู้ จ้ี ะยงั ไมม่ สี ว่ นประกอบของคำ� ทม่ี รี ปู วรรณยกุ ต์ ซงึ่ จะเรยี นรใู้ นเรอ่ื งการผนั วรรณยกุ ต)์ ครสู ามารถน�ำ เสนอค�ำ อนื่ ๆ แบบคละค�ำ ทส่ี ะกดดว้ ยพยญั ชนะตน้ ตามไตรยางศแ์ ละสระเสยี งสนั้ - ยาว เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นไดฝ้ กึ อา่ นค�ำ ตา่ ง ๆ อย่างเป็นธรรมชาตขิ ้นึ คมู่ อื การเรียนการสอนการอา่ นคดิ วิเคราะหส์ กู่ ารพฒั นาการอ่านตามแนวทาง PISA 35
การสะกดค�ำ ทปี่ ระสมดว้ ยสระอะ และ สระอา กา กอ - อา กา ตา ตอ - อา ตา บา บอ - อา บา คา คอ - อา คา มา มอ - อา มา งา งอ - อา งา ขา ขอ - อา ขา สา สอ - อา สา ยา ยอ - อา ยา กะ กอ - อะ กะ ตะ ตอ - อะ ตะ บะ บอ - อะ บะ คะ คอ - อะ คะ มะ มอ - อะ มะ งะ งอ - อะ งะ ขะ ขอ - อะ ขะ สะ สอ - อะ สะ ยะ ยอ - อะ ยะ การสะกดค�ำ ทป่ี ระสมดว้ ยสระอิ และ สระอี ก ิ กอ - อ ิ กิ ติ ตอ - อิ ติ บ ิ บอ - อ ิ บิ คิ คอ - อ ิ คิ มิ มอ - อ ิ มิ ง ิ งอ - อ ิ งิ ข ิ ขอ - อ ิ ขิ สิ สอ - อ ิ สิ ยิ ยอ - อิ ยิ ก ี กอ - อ ี กี ตี ตอ - อ ี ตี บ ี บอ - อี บี ค ี คอ - อ ี คี มี มอ - อี มี ง ี งอ - อี งี ขี ขอ - อ ี ขี สี สอ - อี สี ย ี ยอ - อ ี ยี 36 คู่มือการเรียนการสอนการอา่ นคิดวิเคราะหส์ ูก่ ารพฒั นาการอ่านตามแนวทาง PISA
การสอนอา่ นสะกดค�ำ ทนี่ �ำ เสนอในครงั้ นี้น�ำ เสนอสระอะสระอาสระอิสระอีสว่ นสระอน่ื ๆ ใช้รูปแบบเดียวกัน และควรนำ�คำ�ที่มาจากอักษรไตรยางศ์ทั้งสามหมู่มาสร้างคำ�ให้หลากหลาย เพอื่ นกั เรยี นจะไดอ้ อกเสยี งพยญั ชนะครบทกุ หมู่ เมอ่ื นกั เรยี นอา่ นสะกดคำ�ทค่ี รกู �ำ หนดใหไ้ ดแ้ ลว้ ครอู าจนำ�ค�ำ ทใี่ ช้ในชวี ิตประจ�ำ วันและประสมกบั สระอื่น เชน่ ตา หู ดู ดี เก เร เข หา ยา ทำ� นา แพ แล เสือ เรือ เปน็ ต้น แต่ควรเป็นคำ�ที่ประสมกบั สระทีน่ ักเรยี นไดเ้ รยี นรู้ไปแลว้ การอา่ นแจกลกู ค�ำ ในแม่ ก กา ครูสามารถให้นักเรยี นฝกึ อา่ นโดยการแจกลูก หลงั จากอ่านสะกดค�ำ ไดแ้ ลว้ หรือควบคู่ ไปกับการอ่านสะกดคำ� เพ่ือให้นักเรียนฝึกประสมคำ� ให้เกิดความคล่องในการอ่าน การอ่าน แจกลูกคำ�ในแม่ ก กา อ่านได้ ๒ แบบ แบบท่ี ๑ การอ่านแจกลูกแบบสระคงท่ี พยัญชนะต้นเปลี่ยนไป โดยใช้สระเป็นแม่ และแจกใหล้ กู ซึง่ เปน็ พยญั ชนะ การจัดกิจกรรมการอ่านแจกลูกที่จะขอนำ�เสนอเป็นตัวอย่างคร้ังนี้ กำ�หนดให้สระอา เปน็ แม่ และกำ�หนดให้พยญั ชนะ ก ต บ ค ม ง ข ส ย เป็นลูก โดยด�ำ เนินการดงั น้ี ๑.๑ ครูเขียนพยัญชนะที่ต้องการแจกลูกบนกระดานดำ� ในที่นี้ขอนำ�เสนอพยัญชนะ ก ต บ ค ง ม ข ส ย ใหน้ กั เรยี นดูซงึ่ พยญั ชนะบนกระดานดำ� (พยัญชนะที่น�ำ เสนอนี้เปน็ อักษร จากไตรยางศ์สามหม)ู่ และนกั เรยี นฝกึ อา่ นออกเสยี งพยัญชนะทกุ ตัว ๑.๒ ครเู ขียนสระอา และใหน้ กั เรียนออกเสียงสระอา ๑.๓ เม่ือนักเรียนอ่านเสียงพยัญชนะครบทุกตัวและอ่านเสียงสระแล้ว ครูให้นักเรียน อ่านแบบสะกดค�ำ ตามลูกศร ดังภาพ และอา่ นดงั น้ี คู่มอื การเรยี นการสอนการอ่านคิดวเิ คราะหส์ ู่การพฒั นาการอา่ นตามแนวทาง PISA 37
การอ่านแจกลกู โดยยึดสระเป็นแม่ แจกไปยงั ลูกท่เี ป็นพยญั ชนะ ก กา ต ตา บ บา ค –า คา ม มา ง งา ข ขา ส สา ย ยา กอ - อา กา ตอ - อา ตา เปน็ ต้น ๑.๔ เมอื่ นกั เรียนอา่ นเป็นคำ�ครบแล้ว ครเู ขยี นค�ำ นนั้ ไว้บนกระดานด�ำ กา ตา บา คา มา งา ขา สา ยา ๑.๕ ให้นักเรยี นอา่ นเป็นคำ� เรยี งจากค�ำ ทอี่ ่านคำ�แรกจนถงึ ค�ำ สุดท้าย กา ตา บา คา มา งา ขา สา ยา แบบที่ ๒ การอ่านแจกลูกแบบพยัญชนะต้นคงที่ สระเปลี่ยนไป โดยใช้พยัญชนะ เป็นแม่ และแจกให้ลูกซ่ึงเป็นสระ การจัดกิจกรรมการอ่านแจกลูกแบบที่ ๒ น้ี กำ�หนดให้ พยญั ชนะ ก เปน็ แม่ และก�ำ หนดใหส้ ระ -ะ -า - ิ - ี - ึ - ื - ุ -ู เปน็ ลูก โดยดำ�เนนิ การ ดังนี้ ๑. ครูเขียนสระท่ตี ้องการแจกลกู บนกระดานเรียงตามล�ำ ดบั ๒. ให้นกั เรยี นอ่านออกเสียงสระที่ครูเขยี นบนกระดานทุกตัว ๓. ครูเขยี นพยัญชนะ ก และใหน้ ักเรยี นออกเสยี งพยญั ชนะ 38 คมู่ ือการเรยี นการสอนการอ่านคดิ วเิ คราะหส์ ่กู ารพัฒนาการอา่ นตามแนวทาง PISA
๔. เมอื่ นักเรยี นอ่านเสียงสระครบทุกตวั และอา่ นเสียงพยญั ชนะแลว้ ครูให้นักเรยี น อ่านแบบสะกดค�ำ เรียงตามรูปสระ และอ่านดงั น้ี กอ - อะ กะ กอ - อา กา กอ - อิ กิ กอ - อี กี กอ - อุ กุ กอ - อู กู พยญั ชนะ สระ -ะ -า -ิ -ี -ึ -ื -ุ -ู ก กะ กา กิ กี กึ กือ กุ กู ต ตะ ตา ติ ตี ตึ ตอื ตุ ตู บ บะ บา บิ บี บึ บือ บุ บ ู ๕. อ่านเปน็ คำ�แจกลกู สระ ดังน้ี กะ กา กิ กี กึ กือ กุ กู ตะ ตา ติ ตี ตึ ตอื ตุ ตู บะ บา บิ บี บึ บือ บุ บู (ครใู ห้ความรู้เร่อื ง อ เคยี ง ในคำ�สระออื ที่ไมม่ ีตวั สะกด) คู่มอื การเรียนการสอนการอา่ นคิดวิเคราะหส์ ู่การพัฒนาการอา่ นตามแนวทาง PISA 39
การผนั วรรณยุกต์ในแม่ ก กา การสอนผันวรรณยุกต์คำ�ในแม่ ก กา ครูควรมีความรู้ความเข้าใจในส่วนที่เป็นเนื้อหา สาระและแนวคิดพื้นฐานท่ีเก่ียวข้องท่ีส�ำ คัญ เพ่ือเชื่อมโยงสู่การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ดงั นี้ ๑. การผันวรรณยุกต์ คือ การเปล่ียนระดับเสียงสูง ตํ่า ของพยางค์ตามรูปวรรณยุกต์ ท่ีก�ำ กับอยู่ ๒. รปู และเสียงวรรณยกุ ต์ รปู วรรณยุกต์ มี ๔ รูป คอื - (ไมเ้ อก) -้ (ไม้โท) -๊ (ไมต้ ร)ี - (ไมจ้ ัตวา) เสียงวรรณยุกต์ มี ๕ เสียง คือ สามัญ เอก โท ตรี และจัตวา ทุกพยางค์ มีเสียงวรรณยุกต์ แมว้ ่าจะไม่มรี ูปวรรณยกุ ต์ก�ำ กบั กต็ าม เชน่ กา มเี สยี งวรรณยุกต์สามญั จะ มเี สยี งวรรณยุกต์เอก คาด มเี สียงวรรณยกุ ต์โท คดั มเี สยี งวรรณยกุ ตต์ รี หา มเี สียงวรรณยุกตจ์ ตั วา ๓. ระดับเสียงของคำ� พยางค์และคำ�ในภาษาไทยมีเสียงวรรณยุกต์แตกต่างกัน ขน้ึ อยกู่ ับพยัญชนะตน้ ตามไตรยางศ์ ลักษณะของพยางค์ที่เปน็ คำ�เปน็ หรือคำ�ตาย คำ�เป็น หมายถงึ ค�ำ ที่มเี สียงพยัญชนะท้ายหรอื ตัวสะกดในแม ่ กง กน กม เกย หรือ เกอว และค�ำ ทปี่ ระสมสระเสียงยาวไมม่ ีตัวสะกด ค�ำ ตาย หมายถึง คำ�ท่มี ีเสียงพยัญชนะท้ายหรือตัวสะกดในแม ่ กก กด หรอื กบ และคำ�ทปี่ ระสมสระเสยี งสน้ั ไม่มีตวั สะกด 40 คู่มือการเรยี นการสอนการอา่ นคดิ วิเคราะหส์ ู่การพฒั นาการอ่านตามแนวทาง PISA
๔. ไตรยางศ์ แบง่ พยญั ชนะออกเปน็ ๓ พวก ดังนี้ อักษรกลาง คือ ตัวพยัญชนะทม่ี พี น้ื เสยี งเป็นเสยี งสามญั มี ๙ ตัว ได้แก่ ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ อักษรสงู คือ ตวั พยัญชนะท่ีมีพื้นเสยี งเป็นเสยี งจัตวา มี ๑๑ ตัว ได้แก่ ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห อกั ษรตํ่า คือ ตัวพยัญชนะทม่ี ีพืน้ เสยี งเป็นเสียงสามญั ม ี ๒๔ ตัว ได้แก่ ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬ ฮ อกั ษรตา่ํ แบ่งเปน็ อกั ษรตํ่าคู่ กับ อกั ษรตา่ํ เด่ียว อักษรต่ําคู่ คือ อกั ษรตํา่ ทีม่ เี สียงคู่กับอักษรสงู ๑๔ ตัว ได้แก่ อักษรตา่ํ อักษรสงู ค ฅ ฆ ข ฃ ช ฌ ฉ ซ ศ ษ ส ฑ ฒ ท ธ ฐ ถ พ ภ ผ ฟ ฝ ฮ ห อักษรต่าํ เด่ยี ว คือ อักษรตํ่าท่ีไม่มีเสยี งคู่กบั อักษรสูง มี ๑๐ ตวั ได้แก่ ง ญ ณ น ม ย รลวฬ ทั้งน้ี อักษรตํ่าเดี่ยวท่ีสามารถใช้ ห นำ� เป็นพยัญชนะต้นได้ ๘ ตัว คือ หง หญ หน หม หย หร หล หว ผันเสียงวรรณยุกต์เช่นเดียวกบั อกั ษรสูง ค่มู ือการเรยี นการสอนการอ่านคดิ วเิ คราะห์สู่การพฒั นาการอา่ นตามแนวทาง PISA 41
๕. การผนั วรรณยุกต์ค�ำ เปน็ และค�ำ ตาย เสียงวรรณยุกตข์ องคำ�เปน็ และค�ำ ตาย มดี งั น้ี ตารางการผนั วรรณยุกต์ ลักษณะพยางค์/คำ� เสยี งวรรณยกุ ต์ สามัญ เอก โท ตรี จตั วา อกั ษรกลาง คำ�เปน็ พ้นื เสียงเปน็ เสียงสามญั กา กา่ ก้า กา๊ ก๋า จี จี่ จี้ จี๊ จ๋ี ผันได้ ๕ เสียง ปู ปู ปู้ ปู๊ ปู๋ - จะ จ้ะ จะ๊ จ๋ะ อกั ษรกลาง ค�ำ ตาย - ติ ต้ิ ต๊ิ ติ๋ พ้ืนเสียงเป็นเสยี งเอก - อุ อุ้ อุ๊ อุ๋ - ข่า ขา้ - ขา ผันได้ ๔ เสียง - โห่ โห้ - โห - แส่ แส้ - แส อกั ษรสูง ค�ำ เปน็ พ้ืนเสียงเป็นเสียงจตั วา - ขะ ข้ะ - - - ผุ ผุ้ - - ผนั ได้ ๓ เสยี ง อกั ษรสงู คำ�ตาย พ้ืนเสยี งเป็นเสยี งเอก ผนั ได้ ๒ เสียง อกั ษรต่ํา คำ�เป็น คา - ค่า คา้ - พ้นื เสียงเปน็ เสียงสามัญ รอ - ร่อ ร้อ - ผนั ได้ ๓ เสยี ง งู - งู่ งู้ - อักษรตํ่า คำ�ตาย สระเสียงส้นั - - คะ่ คะ - พื้นเสยี งเปน็ เสยี งตรี - - นะ่ นะ - ผนั ได้ ๒ เสียง อกั ษรตํา่ และอักษรสงู คา ข่า ค่า/ข้า คา้ ขา ทีเ่ ปน็ อักษรคกู่ ัน และเป็นค�ำ เปน็ โซ โส่ โซ่/โส้ โซ้ โส ที ถี่ ท่/ี ถ้ี ที้ ถี สามารถผนั ไดค้ รบ ๕ เสียง 42 คมู่ อื การเรยี นการสอนการอา่ นคิดวเิ คราะห์สูก่ ารพฒั นาการอ่านตามแนวทาง PISA
การแจกลกู สะกดคำ�ท่มี ีตัวสะกดตรงตามมาตรา ตวั สะกด คอื พยญั ชนะทปี่ ระกอบอยทู่ า้ ยสระ และมเี สยี งประสมเขา้ กบั สระ ท�ำ ใหห้ นกั ขน้ึ ตามฐานของพยญั ชนะ มี ๘ มาตรา ดงั นี้ ๑. ตัวสะกด แม่กง มี ง เปน็ ตัวสะกด ออกเสยี ง /ง/ เชน่ กาง ลอง แดง ยิง เตียง ฯลฯ ๒. ตัวสะกด แม่กน มี น เป็นตัวสะกด ออกเสียง /น/ เช่น สอน เทียน วัน อ่าน เยน็ ฯลฯ ๓. ตัวสะกด แม่กม มี ม เปน็ ตวั สะกด ออกเสียง /ม/ เช่น ถาม จม เตมิ รวม เลม่ ฯลฯ ๔. ตัวสะกด แม่เกย มี ย เป็นตัวสะกด ออกเสียง /ย/ เช่น ยาย โรย เลย สวย ซอย ฯลฯ ๕. ตัวสะกด แม่เกอว มี ว เป็นตัวสะกด ออกเสียง /ว/ เช่น ขาว เร็ว เขียว แมว น้วิ ฯลฯ ๖. ตวั สะกด แม่กก มี ก เปน็ ตัวสะกด ออกเสยี ง /ก/ เช่น มาก พวก ลกู ปอก ฟกั ฯลฯ ๗. ตวั สะกด แม่กด มี ด เป็นตวั สะกด ออกเสยี ง /ด/ เชน่ วาด มด เห็ด ฉดี ทอด ฯลฯ ๘. ตัวสะกด แม่กบ มี บ เป็นตัวสะกด ออกเสียง /บ/ เช่น ชอบ เล็บ เสียบ แอบ ตบั ฯลฯ ค�ำ วา่ แม่ กบั คำ�วา่ มาตรา ใชแ้ ทนกันได้ ปจั จบุ ันทง้ั ค�ำ ว่า แม่และมาตราใช้แสดงการประสม อกั ษรและจำ�กัดเฉพาะกรณีที่ถือตัวสะกดเปน็ หลกั มาตราตัวสะกดที่มีเฉพาะพยัญชนะตรงตามมาตรามี ๔ มาตรา คือ แม่กง แม่กม แม่เกย และแม่เกอว ส่วนอีก ๔ มาตรา มีพยัญชนะอ่ืน ๆ เป็นตัวสะกดท่ีอ่านออกเสียงตาม มาตราตวั สะกดน้นั ๆ คอื แม่กก แม่กด แม่กบ และแม่กน ๑. คำ�ท่มี ีตวั สะกดในแม่กง แม่กน แมก่ ม แม่เกย และแมเ่ กอว ๑.๑ คำ�ท่ีประสมด้วยพยัญชนะต้นเป็นอักษรกลาง + สระเสียงยาว + ตัวสะกด แมก่ ง กน กม เกย และ เกอว อา่ นออกเสยี งเปน็ เสยี งสามัญ เช่น กาง สะกดว่า กอ - อา - งอ กาง กาน สะกดว่า กอ - อา - นอ กาน กาม สะกดว่า กอ - อา - มอ กาม คู่มือการเรียนการสอนการอา่ นคดิ วเิ คราะห์สู่การพฒั นาการอา่ นตามแนวทาง PISA 43
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152