กองทัพบก ค่มู อื อนุศาสนาจารย์ ว่าดว้ ยการเยยี่ มไข้ พ.ศ. ๒๕๑๓
สารบัญ หน้า ภาควชิ าการ ๑ เรือ่ ง ๑ ๑ บทที่ ๑ ความเบื้องตน้ ๒ ๑. วตั ถปุ ระสงค์ ๒. ขอบเขต ๒ ๒ บทที่ ๒ การเย่ยี มโรงพยาบาล ๔ ๘ ๑. บทนำ ๑๑ ๒. การเยีย่ มไข้ ๑๔ ๓. การพงิ แบบนิง่ พงิ ๔. ใหค้ วามอุน่ ใจ ๑๖ ๕. การระบายอารมณ์ ๖. สรปุ ความ ๑๖ ๑๖ บทท่ี ๓ อศจ. ประจำหนว่ ยกับโรงพยาบาล ๑๘ ๑๙ ๑. บทนำ ๒. การวางแผนเพอื่ หาข่าวโรงพยาบาล ๒๐ ๓. อนุศาลนาจารยเ์ วร ๔. สรปุ ความ ๒๐ ๒๑ บทท่ี ๔ ข้อพิจารณาทั่วไปบางประการ ๒๑ ๒๓ ๑. สขุ ภาพคืออะไร ? ๒๔ ๒. ความเจ็บไขค้ อื อะไร ? ๓. ปญั หาทัว่ ไปบางประการ ๔. ทัศนคติ ๔. สรปุ ความ
เรอ่ื ง หนา้ บทที่ ๕ แผนกอายุรกรรม ๒๕ ๑. ข้อควรพจิ ารณาเปน็ พิเศษ ๒. ขอ้ สรปุ ๒๕ ๒๙ บทที่ ๖ แผนกศัลยกรรม ๓๐ ๑. ข้อควรพิจารณาเปน็ พเิ ศษ ๓๐ ๒. สรุปความ ๓๖ บทที่ ๗ แผนกโรคกระดกู ๓๗ ๑. ข้อควรพิจารณาเป็นพเิ ศษ ๓๗ ๒. สรปุ ความ ๓๙ บทที่ ๘ แผนกโรคจติ (ประสาท) ๔๐ ๑. ข้อควรพจิ ารณาเป็นพิเศษ ๔๐ ๒. สรุปความ ๔๕ บทท่ี ๙ แผนกโรคเดก็ ๔๖ ๑. ขอ้ ควรพิจารณาเป็นพิเศษ ๔๖ ๒. สรุปความ ๔๘ บทที่ ๑๐ แผนกคนไขห้ ญงิ ๔๙ ๑. ข้อควรพจิ ารณาเป็นพิเศษ ๔๙ ๒. สรุปความ ๔๐ บทท่ี ๑๑ แผนกแยกบำบัด ๔๑ ๑. ขอ้ ควรพจิ ารณาเป็นพเิ ศษ ๔๑ ๒. สรปุ ความ ๔๓ บทที่ ๑๒ คนไข้ท่กี ำลงั จะตาย ๔๔ ๑. ข้อควรพิจารณาเป็นพเิ ศษ ๔๔ ๒. สรุปความ ๔๖
เร่ือง หน้า บทท่ี ๑๓ ชุดปฏบิ ัติการทางอายุรเวช ๔๗ ๑. แพทย์ ๕๓! ๒. พยาบาล ๕๘ ๓. อนุศาสนาจารย์ ๖๐ ๔. ลักษณะอืน่ ๆ ของชุด ๖๑ ๖๓ บทที่ ๑๔ เร่อื งเบ็ดเตล็ด ๖๓ ๑. ความสมั พนั ธ์กบั ผบซ. ๖๓ ๒. แผนงานของ อศจ. ๖๔ ๓. ความรว่ มมอื ระหว่าง อศจ. ๖๔ ๔. คณุ สมบัติเฉพาะของ อศจ. ๖๗ บทที่ ๑๕ บทสรปุ ๖๙ ภาคธรรม ๗๔ ๗๔ คลิ า'โน'วาท คำสอนคนเจบ็ ๗๔ มรโณบาย ๗๘ ๑. วธิ ีเจริญมรณสติ ๒. วธิ ีเจรญิ จตรุ ารกั ษ์ คาถาแปล ชินบัญชรคาถา
พระมหากรณุ าธคิ ณุ ทระบาทสม์ เดจทระเจาออหวภูมพิ ลอดลุ ยเดช เสดจ็ เยยมเจาหนาทผไู้ ด็รบบาดเจบ็ เนองจากการปราบปรามผู้กอ่ การรไย
ส ม เด จ พ ร ะ บ ร ม ร า ฬ ิน น า ถ เสดจ็ เยยมเจไหนไทผไู ดร้ บบาดเจบ็ เนองจากการปราบปรามผกู ,อกไรราย
คำย่อทีใ่ ชใ้ นหนังสอื นี้ ------ ^3 0 1 '♦(ะะ: ^©------------- อศจ. หมายถงึ อนศุ าสนาจารย์ อศจ.ยศ.ทบ. หมายถึง อนศุ าสนาจารยก์ รมยทุ ธศกึ ษาทหารบก อศจ.รพ. หมายถงึ อนุศาสนาจารยโํ รงพยาบาล อศจ.อม. หมายถึง อนศุ าสนาจารยอ์ เมรกิ ัน กห. หมายถงึ กลาโหม ทบ. หมายถงึ ทหารบก ผบซ. หมายถึง ผู้บังคบั บญั ชา ผบ.ร้อย หมายถงึ ผู้บงั คบั กองรอ้ ย ผอ. หมายถงึ ผอู้ ำนวยการ ผอ.รพ. หมายถงึ ผูอ้ ำนวยการโรงพยาบาล รปจ. หมายถึง ระเบยี บปฏบิ ัติประจำ สร. หมายถงึ เสนารกั ษ์
๑ บทท่ี ๑ ความเบอ้ื งต้น ๑. วตั ถุประสงค์ -------- -&“ม®•ว^®^-**-------- งาน อศจ. เปน็ งานสร้างพระคณุ อศจ. จะเปน็ ขา้ ราชการประจำ รพ. หรอื ไม่กต็ าม แตก่ ม็ ีภารกจิ สำคญั คือการเย่ียมคนไขต้ าม รพ. เปน็ ครงั้ คราว หนังสือน้ีจะช่วยให้การ ปฏบิ ัติภารกิจดังกล่าวไดผ้ ลดีย่งิ ข้นึ อศจ. จำเป็นต้องประเมนิ ผลงานทีป่ ฏบิ ัตติ อ่ คนไขต้ าม รพ. ว่า “ตนได้ปฏบิ ตั ิให้ เกดิ คุณประโยชน์แก่คนไข้ดที ส่ี ุดแลว้ หรอื ยงั ” หนงั สือน้มี งุ่ หมายเพอื่ ช่วยการประเมินผล ดังกล่าวนั้น หนงั สือเล่มน้ี รวบรวมขน้ึ จากเร่ืองราวตา่ งๆ ทเ่ี ปน็ ประโยชน์ตอ่ อศจ. ส่วนรวม ชอง ทบ.โดยนำมาพิจารณาเสือกเฟ้นเฉพาะเร่อื งท่ีเกีย่ วข้องกับการเยย่ี ม รพ. ชอง อศจ. เปน็ หลกั เน้ือหาชองหนังสอื น้มี ีความมงุ่ หมายเพือ่ ช่วย อศจ.ในการปฏบิ ตั งิ าน มิใช่ เฉพาะกบั คนไขเ้ ทา่ นนั้ แต่กบั เจา้ หนา้ ท่อี ื่นๆ ชอง รพ. อีกดว้ ย หนังสอื น้ีแบง่ ออกเป็น ๒ภาคคือ ภาควิชาการ และภาคธรรม ภาควชิ าการ อศจ. ยศ.ทบ. แปลและเรียบเรยี งจากหนังสือ าาาล (11าลเวเ.ลเท,ร IV!เกเร!:!'7 ^๐ เ~เ0ร|วโ๒I ?ลชลท'เร ซึ่งเป็นหนงั สือคมู่ อี ชอง อศจ.อม. สว่ นภาคธรรมนำมาผนวกไวท้ ้ายเล่มเพอื่ เปน็ แนวทางใน การแนะนำคนไขต้ ามโอกาสทเ่ี หมาะท่ีควร ๒. ขอบเขต การที่จะทำใหส้ ำเรจ็ ตามวตั ถุประสงค์ดงั กล่าวมา หนงั สือเลม่ น้จี ะมีชอบเชต กวา้ งชวางมากทีเดยี ว คือต้ังแตห่ ลกั เบ้ืองต้นชองการเย่ียม รพ. จนถงึ ปญั หาพิเศษ บางอย่างที่เกดิ ข้นึ ในฐานะเปน็ สว่ นสำคญั ชองการใหก้ ารรกั ษาพยาบาล หนงั สือเลม่ นไ้ี ดป้ ระมวลการพิจารณาปญั หาตา่ งๆ ซ่งึ มักจะพบในเรือนคนไข้ แผนกอายุรกรรม เรือนคนไขแ้ ผนกศัลยกรรม และเรือนคนไข้อน่ื ๆ ซึง่ เป็นส่วนหน่ึงชอง รพ. ทว่ั ๆ ไปเอาไว้ และยงั ได้จดั คำแนะนำเฉพาะเรือ่ งเพ่อื แกป้ ญั หาเหล่าน้ีไวอ้ กี ด้วย หนังสือเล่มน้ยี ังมงุ่ หมายจะใหเ้ กดิ ประโยชน์แกเ่ วา้ หน้าท่อี ำนวยการในการ‘ฝกึ ฝน อศจ. อ่นื ๆ และชว่ ยเหลอื อศจ. ผจู้ ะตอ้ งทำงานตามสำพังเปน็ รายตวั รวมท้งั ผปู้ รารถนาจะ ลง่ เสริมความรคู้ วามลามารถชองตนใหด้ ีข้นึ เพอ่ื ประโยชนแ์ ก่ประซาซนที่ตนรบั ใช้อยู่ ----------0-ม ะ ) --------
๒ บทท่ี ๒ การเยยี่ มโรงพยาบาล --------- &♦(ะะ: *©--------------------- ๑. บทนา่ “อย่าเป็นพิษเปน็ ภยั ต่อคนไข”้ เปน็ กฎง่ายๆ ท่ีคุ้มครองอาชีพแพทย์ อศจ. อาจนำกฎนไี้ ปใช้ประโยซน่ได้ การเยีย่ ม รพ. ตอ้ งเรียนร้เู ทคนิคบางประการ จึงจะไดผ้ ล อศจ. เพียงแต่ทราบบทเรยี นแรกคอื “อยา่ เป็นพษิ เปน็ ภัยตอ่ คนไข”้ น้แี ลว้ และหลกี เล่ยี งเสียก็สามารถบำเพ็ญตนใหเ้ ป็นประโยชนไ์ ด้ คำแนะนำเพยี ง สองสามคำนี้ สามารถช่วย อศจ. ให้หลบหลกี อันตรายดงั กล่าวได้ ซึง่ ส่วนมากแม้ ปฏบิ ัติหน้าท่ีกันมาแล้วนานปีกอ็ ดท่จี ะไปสะดดุ เช้าไมไ่ ด้ ข้อสำคญั อยตู่ รงวา่ “อศจ. จะต้องหลกี เลยี่ งอนั ตรายขนั้ มลู เสยี กอ่ น แลว้ จึงสามารถบำเพ็ญตนให้ เปน็ ประโยชนอ์ ย่างแหจ้ ริงในข้ันตอ่ ไปไต”้ ๒. การเย่ยี มไข้ คำแนะนำเกีย่ วกับการเยยี่ มไช้ท่ใี ชฝ้ กึ ฝน อศจ. ประจำ รพ. ไดผ้ ลมาแลว้ มี ดังตอ่ ไปน้ี ๒.® จงสอบถามเจ้าหนา้ ที่กอ่ น เมอื่ จะเยยี่ มคนไข้ จงตรวจสอบกับนางพยาบาลผ้ดู ูแลตกึ หรอื กบั ตัว แทนทไี่ ดร้ ับมอบหมายเลยี ก่อน การตดิ ตอ่ น้เี ปน็ มารยาทของการเรม่ิ ตน้ ก็จริง แต่ก็ อาจเปน็ ประโยชน์แก่ อศจ. ด้วย คอื สามารถทำให้ทราบได้ว่า อาการชองคนไข้ เปล่ยี นแปลงไปอย่างไรหรอื ไม่ หรือมปี ้ญหาใดบ้างทส่ี ามารถจะช่วยคนไชไี ดก้ จ็ ะได้ ทราบ และเตรยี มการไว้ล่วงหนา้ เป็นต้น ๒.๒ จงแสดงตวั และแจ้งวตั ถปุ ระสงค์ ถา้ ประตหู อ้ งคน'ใช้ปดี อศจ. ควรเคาะประตู แสดงตวั และแจง้ เนือ้ แท้ ชองการเยีย่ มให้คนไขท้ ราบ อศจ. แม้เพ่ิงจะได้รบั อนญุ าตจากหวั หนา้ ตกึ พยาบาล ให้เช้าทำการเยยี่ มมาแลว้ ก็ตาม แตก่ ็ควรปฏิบัตกิ ฎชอ้ นี้ต่อเนือ่ งจากกฎช้อท่ี ๑ ด้วยว่า การแสดงตวั เชน่ นัน้ มีความสำคัญมาก เพราะปรากฏว่าคนไข้ตาม รพ. เบอ่ื หนา่ ยการเยยี่ ม โดยเฉพาะการเยี่ยมชองเจ้าหน้าท่ี การเย่ยี มจากคนที่ไมส่ บ อารมณ์ หมายถงึ ความร้สู กึ อนั ปวดร้าว เพราะเหตุน้นั คนไข้จงึ ตกอยู่ในภาวะท่ีจะ ตอบสนองแขกแปลกหน้าในทางลบเสมอ แต่ถ้าผูไปเย่ยี มแสดงตัวว่าเปน็ อศจ.
๓ ในทันทที ไ่ี ปถงึ และต้องการท่จี ะอยเู่ ย่ียมเพยี ง ๒-๓ นาทีแล้ว คนไฃก้ ส็ ามารถ คาดคะเนถึงสิ่งทจ่ี ะเกิดขนึ้ ตอ่ ไปไต้ คนไขต้ าม รพ. เกดิ ความยงุ่ ยากใจเปน็ อนั มาก เพราะเรอ่ื งทีต่ นไมท่ ราบ การท่ี อศจ. สามารถทำเร่อื งทีเ่ ขาไม่ทราบใหเ้ ขาทราบจงึ อาจเป็นประโยชน์ ๒.๓ จงสังเกตสิ่งแวดลอ้ มและสภาพการณเ์ กีย่ วกับคนไข้อย่างถ่ถี ว้ น มีหลายสิง่ ทงั้ ในหอ้ งคนไขพ้ ิเศษ และในตึกคนไข้รวมท่อี าจจะทราบได้ ดว้ ยการสังเกตอยา่ งถล่ี ว้ น ตัวอยา่ งเซน่ ลา้ ไม่มภี าพถา่ ยของครอบครวั ของลูกๆ ของคนรกั และของสตั วร์ ักเปน็ ตน้ หรอื ลา้ ไม่มีบัตรเขียนขอ้ ความว่า “ขอให้หาย ป่วย” “ขอให้กลับบา้ นไดเ้ รว็ ๆ” เปน็ ต้น วางอยู่บนโต๊ะขา้ งเตยี ง หรอื บนโตะ๊ เขยี น หนงั ลอื ของคนไข้ กอ็ าจสนั นิษฐานไต้วา่ “คนไขว้ ้าเหว่” หรอื อาจหมายแต่เพียงวา่ คนไขเ้ พิ่งมาถึง ยงั ไมม่ ีโอกาลไต้รบั ของขวัญ คำขวญั จากญาติมติ รก็ไต้ คนไข้หญิง ล้าไม่แตง่ หนา้ ทาปาก และปล่อยเรอื นผมใหย้ ุ่งเหยงิ ยอ่ มเปน็ เคร่ืองแสดงใหเ้ ห็น วา่ ขวัญของเธอตกต่าํ อศจ. อาจสังเกตเครอื่ งมือของ รพ. ทีใ่ ข้อยูข่ ้างเตียง หรอื ใต้ เตียงคนไข้ จงระมัดระวังอยา่ กระทบกระทง่ั เคร่ืองมือเหล่านัน้ โดยเผลอเรอ และ อย่าทำให้คนไขต้ ระหนกตกใจ อศจ. ที‘่ฝกึ ฝนดแี ล้วสามารถทราบสถานการณต์ า่ งๆ ไตด้ ้วยการชำเลอื งเพยี งแวบเดียวซึ่งคนอน่ื ๆ อาจต้องใชเ้ วลานาน ๒.๔ จงยืนหรือน่งั ให้เหมาะสม จงยืนหรอื นัง่ ในทๆี่ คนไขล้ ามารถมองเหน็ และสนทนากบั ท่านได้งา่ ย ตามปกติ อศจ. จะไม่นั่ง นอกจากจะไดร้ บั เชอื้ เชิญ แตใ่ นบางโอกาลอาจเป็นผลดี ตอ่ คนไข้มากกว่าล้าผูไปเย่ียมจะเลื่อนเกา้ อ้ีมานง่ั เอง ถ้าคนไขไม่ลามารถเอยี้ วคอ เพราะเหตไุ รๆ ก็ตาม อศจ. ควรนั่งหรือยืนอยู่ในระดับลายตาของคนไข้ อศจ. ตอ้ ง ไม่ยืนหรอื นั่งในที่ๆ คนไขต้ ้องเพง่ ดโู ดยถูกแลงสว่างแทงตา เมื่อไปเย่ียมคนไขท้ ี่ตอ้ ง อย่ใู นท่านอนหงายท่าเดียว อศจ. ควรยืนใกลๆ้ เตยี ง โนม้ ตวั ไปทางคนไขเ้ ล็กนอ้ ย เพื่อใหค้ นไข้มองเห็นง่ายๆ ถ้า อศจ. ปฏิบตั ิตามกฎข้อท่ี ๓ คอื การสงั เกตการณ์ อยา่ งถถ่ี ้วนแล้วก็จะพบคำตอบไตเ้ องวา่ “ตนควรจะนั่งหรอื ยนื ทไ่ี หนจึงจะมีสว่ น สมั พนั ธก์ ับคนไข”้
๒.๕ การใช้เสยี ง จงพูดด้วยนํ้าเสียงปกติธรรมดา อย่าพดู เสียงดัง จงพูดดงั พอให้คนไขได้ ยิน แต่อยา่ ให้ถึงกับตอ้ งเงย่ี หูฟ้ง ๒.๖ เรอื่ งท่ีจะพดู จงพูดเฉพาะเร่อื งทท่ี ่านตอ้ งการใหค้ นไข้พีงเทา่ น้ัน อยา่ กระซิบใกล้ๆ คนไข้ ล้าคนไข้เพอ้ หรอื อ่อนเพลียพดู ไมไ่ ด้ หรอื เพียงรู้สกึ ตวั วา่ ท่านไปเยยี่ มแลว้ จงพดู เฉพาะเร่อื งที่ท่านต้องการจะใหเ้ ขาพงี เทา่ น้นั เพราะโสตประสาทของคนไข้ มกั ไวต่อความรสู้ กึ แมต้ อ่ คำกระซบิ เพียงแผว่ เบา โดยเฉพาะเร่ืองท่ีเก่ียวกับการ เจ็บป่วยของเขา อย่าเสยี่ งนำเอาเรือ่ งทำนองน้ันไปพดู ๒.๗ อยา่ ถกู ตอ้ ง พิง หรอื น่ังบนเตยี งคนไข้ บางที อศจ. อาจมีความรู้สึกวา่ การพิง หรือนัง่ บนเตียงของคนไข้เปน็ การ แสดงความเปน็ กนั เอง การทำเซน่ นน้ั เพราะลืมคดิ ไปวา่ คนไข้ยอ่ มมคี วามรู้สึกไว ตอ่ ความเคลือ่ นไหวทกุ ชนิด คนไข้ไมข่ อบถูกกระทบกระเทือนทุกอย่าง การ สน่ั สะเทอื นใดๆ ของเตียงแมเ้ พยี งเลก็ นอ้ ยอาจไปเพ่ิมความเจบ็ ปวดใหแ้ กค่ นไขได้ หรอื อาจทำใหค้ นไข้ตกใจและเปน็ อันตรายได้ จำไวว้ ่า “อย่าไปเพมิ่ ความทกุ ข์ ให้แก่คนไข”้ ๒.๘ จงพูดแตเ่ พียงส้ันๆ อยา่ อยเู่ ยย่ี มคนไข้นานกว่า ๑๕ นาที เวลา ๕ นาที เปน็ กำหนดท่ีเหมาะ กวา่ สำหรบั การอยู่เยย่ี ม แตล่ ้า อศจ. เหน็ ว่า การให้คำปรึกษาจะเป็นประโยชนแ์ ก่ คนไข้ และคนไข้กแ็ สดงว่าเขาตอ้ งการ ท้ังสามารถทนต่อการเย่ยี มเซน่ นน้ั ได้ ก็เป็น เหตุผลอกี อันหนง่ึ ที่ อศจ. จะอยเู่ ยี่ยมไดน้ านกวา่ กำหนดเวลาดงั กล่าว ๒.๙ จงเยย่ี มบ่อยๆ การติดต่ออย่เู สมอๆ มีประโยชนก์ วา่ การเย่ยี มเพยี งคร้ังสองครั้งทใี่ ข้ เวลานานๆ จำไว้ว่า “จงเย่ียมบ่อยๆ แตอ่ ยา่ อย่นู าน”
๕ ๒.๑๐ อย่าหยอกลอ้ แพทย์ ให้ร้คู วามหมายถอ้ ยคำทใ่ี ซ!นทางแพทย์ แต่อยา่ นำเอาไปใช้กับคนไข้หรอื กับแพทย์ เพราะท่านอาจเช้าใจผดิ และพาให้คนไขเ้ ช้าใจผดิ ด้วย และท่านอาจทำ ให้แพทยเ์ ชา้ ใจวา่ ท่านกำลังก้าวกา่ ยงานของเขา ๒.๑๑ จงเพ่งพนิ จิ ถึงความรสู้ ึกคนไข้ จงเพง่ พินิจถงึ ความรูส้ ึกคนไข้ ไม่ใช่อาการทางร่างกายของเขา วิธี'ท่ีดี'ใน การเริ่มสนทนากับคนไขใหม่กค็ อื เพยี งแตส่ อบถามว่า “ทุกสิ่งเรยี บรอ้ ยดหี รือ” ต่อ คำถามน้ี คนไขอ้ าจเลอื กตอบได้ตามใจสมคั ร ถ้าเขาปรารถนาจะคยุ เกย่ี วกับอาการ ทางรา่ งกายของเขา เขาก็สามารถจะคุยได้ ถ้าเขาต้องการจะบอกท่านเรอ่ื งมารดา ของเขามาเย่ยี ม เขากท็ ำได้ หรือถ้าเขาตอ้ งการจะบอกเรือ่ งเกีย่ วกบั สวสั ดภี าพทาง ศาสนาของเขาแก่ทา่ น เขากย็ อ่ มจะทำได้ ตามปกติแพทยท์ ำการสอบถามป้ญหา เก่ยี วกบั ทางกายของเขาวนั ละหลายๆ ครง้ั อยู่แล้ว จงแสดงใหค้ นไขเ้ หน็ วา่ ทา่ นไป ท่นี ่นั ด้วยเหตผุ ลทแี่ ตกต่างออกไป จงหลกี เล่ยี งการซักถามปญั หาทางเวชกรรม ปล่อยใหเ้ ปน็ หนา้ ท่ีของแพทย์เขา ๒.๑๒ จงพิงดว้ ยความสนใจ เมอ่ื คนไขพ้ ูดระบายความรสู้ ึกของเขาออกมา ให้ อศจ. รบั พิงด้วยความ สนใจ ถ้าคนไข้แสดงอารมณ์เศรา้ หมองหมดอาลยั ในชีวติ อศจ. จะตอ้ งไมย่ กเอา สุภาษติ หรือถ้อยคำทนี่ ักประพันธ์ใชจ้ นเบ่อื หมู าพดู ปลอบ จงปล่อยให้คนไขม้ ี ความรสู้ กึ ตามทีเ่ ขามคี วามรูส้ ึก และปล่อยให้เขาพูดเรื่องนั้นด้วยถ้อยคำของเขาเอง ๒.๑๓ จงเป็น อศจ. อย่าทำตัวเป็นเพียงเด็กลง่ หนังสอื คือ อศจ. มีความคดิ เพ่ือชว่ ยเหลือบุคคลให้เปลย่ี นทศั นคตแิ ละความ ประพฤติของเขา แตใ่ นฐานะเด็กเดินหนงั สอื อศจ. สามารถแต่เพียงทำตามคำ ขอรอ้ งของคนไข้เทา่ น้ัน อย่าปฏเิ สธการชว่ ยเหลอื คนไข้ แต่เสนอคำขอร้องของเขา ไปยงั บุคคลผู้เหมาะสม ซึ่งอาจจะเปน็ พนกั งานสภากาซาด หรอื เพือ่ นภายในหนว่ ย ของคนไขก้ ็ได้ การละเมดิ กฎข้อนเ้ี ป็นบางคร้งั บางคราว อาจไม่มีอันตรายอะไร แต่ อยา่ ใหบ้ อ่ ยจนกลายเป็นการปฏิบตั ิประจำ อศจ. ควรทจ่ี ะถูกใชใ้ ห้เหมาะกับหน้าที่ และสมกับราคา
๖ ๒.๑๔ เมอื่ ทา่ นพรอ้ มทจ่ี ะลา จงลาไป คนไข้จะเกดิ ความพะวา้ พะวัง ถ้าทา่ นบอกเขาว่า “ เห็นจะต้องลาทลี ะ นะ” แต่แลว้ ก็ยงั ไมไ่ ป ล้าถึงเวลาไป ทา่ นจงยนื ขน้ึ แล้วบอกคนไขว้ า่ “ลากอ่ นละนะ” และแลว้ จงจากไป ๒.๑๔ อย่าใหส้ ญั ญาคนไข้ อยา่ บอกกบั คนไข้ว่า ทา่ นจะมาเยย่ี มเขาอีกในภายหลัง นอกจากทา่ นจะ มีแผนกำหนดไวอ้ ย่างแนน่ อนแล้ว และสามารถบอกวันเวลาที่ท่านจะไปเยีย่ มเขา ไต้เทา่ น้นั เพราะลา้ ท่านบอกคนไข้วา่ ทา่ นจะไปเย่ยี มเขาอกี แต่แลว้ ไมไ่ ดไป สาย สมั พนั ธ์ที่ทา่ นมกี บั คนไข้และความหวงั ของคนไข้ทว่ี า่ ทา่ นจะช่วยเหลอื เขา อาจถกู ทำลายไป เมอ่ื คนไข้คิดวา่ ทา่ นลืมการนดั หมายเสียแล้ว ๒.๑๖ กฎเป็นของดดั แปลงได้ อยา่ ใหก้ ฎใดๆ รวมทัง้ กฎเหลา่ น้ีกลายเปน็ กฎตายตวั จงพรอ้ มท่จี ะ ดดั แปลงใหเ้ หมาะกบั เหตุการถ3ไ,หมีๆ ๓. การฟง้ แบบนิง่ ฟ้ง ๓.๑ อศจ. จะตอ้ งหัดเปน็ นักฟ้ง อศจ. ท่ีเปน็ ประโยชน์ต่อคนไข้ จะตอ้ งทราบว่าอะไรกำลงั รบกวนจติ ใจ เขา และความนึกคิดของเขาอยู่ท่ีไหน ผบู้ งั คบั บญั ชาจะตอ้ งคาดคะเนเหตุการณ์ ก่อนที่จะตดั สนิ ใจส่ังการออกไป ฉนั ใด อศจ. ก็ฉันนน้ั จะตอ้ งทำการคาดคะเน เหตุการณด์ ้วยตนเอง โดยพงี คนไขก้ ลา่ วถึงทศั นะของเขาเกีย่ วกบั ปญั หานน้ั ๆ การ ฟ้งไม่ใชเ่ ป็นของง่ายลำหรับบคุ คลทไ่ี ด้รับการ‘ฝกึ ฝนมาเพอื่ พดู แตเ่ นอ่ื งจากการฟงั เปน็ สงิ่ สำคญั อศจ. จึงต้องเรียนวิธีพีงน้ัน ทางหนึ่งซ่ึงเรามสี ว่ นเกี่ยวขอ้ งกบั คนอน่ื ๆ กค็ อื พงี เขาพูด ตลอดเวลาทีเ่ ราฟัง ก็เพราะว่าเราคอยหาโอกาสท่จี ะพูด การ'ฟังเพอื่ แสดงให้คนไข้เห็นว่าเรามีความผกู พันธ์อย่กู ับเขาอย่างแห้จริง เปน็ สง่ิ ทตี่ อ้ งการ มากกว่าการพงี เพยี งเพอ่ื รกั ษามารยาทของสงั คมเทา่ นั้น ลกั ษณะการฟง้ แบบน่ิง ฟง้ คอื (๑) เปดิ โอกาลให้ผ้พู ดู ๆ ไดโดยเสรี (๒) ถือผ้พู ดู เปน็ จดุ รวม (๓) ยอมรับรู้ (๔) แสดงความเห็นอกเหน็ ใจ
๗ ๓ ๒. การปลอ่ ยใหผ้ ้พู ูดๆ อย่างเสรี การฟังแบบน่ึงฟัง คือการปล่อยให้ผ้พู ูดๆ อยา่ งเสรี เปดี โอกาสให้คนไข้ ระบายสภาพการณ์ปัจจบุ ันของเขา ตามวิธขี องเขาเองอยา่ งเต็มท่ี เพราะวา่ การทำ การคาดคะเนสภาพการณ์นั้นอศจ.จะตอ้ งคน้ พบว่า “สภาพการณ์คืออะไร” คนไข้จะตอ้ งมอี สิ ระแสดงทศั นะเกี่ยวกับปญั หาของเขาโดยตวั ของเขาเอง อศจ. ตอ้ งระมดั ระวงั อยา่ งย่ิงที่จะไม่บอกคนไขด้ ว้ ยวาจา ดว้ ยการแสดงท่าทาง หรือด้วย การแสดงสหี น้าวา่ มบี างสิง่ บางอยา่ งทค่ี นไขจ้ ะตอ้ งไมพ่ ูดถึง การฟงั อย่างใหเ้ สรมี ิไต้ หมายความวา่ จะตอ้ งเห็นพอ้ งด้วยกบั เรอื่ งท่ีไคฟ้ ังเสมอไป ท้งั ไม่เก่ียวข้องกับการ ประเมินคา่ อศจ. จะทนฟ้งแบบให้เสรีแกผ่ พู้ ดู ดังกลา่ วนัน้ ไคก้ ็ตอ่ เมื่อไตต้ ระหนักใน ข้อเท็จจรงิ ท่วี ่า “ตนจะช่วยคนไข้ไมไ่ ดเ้ ลยถา้ หากไมย่ อมใหค้ นไขพ้ ูดเรื่องของ เขาเอง” ๓.๓ การฟังแบบถือเอาคนไข้เป็นจดุ รวม การฟังแบบนงิ่ ฟงั คอื การฟงั แบบถอื เอาคนไข้เป็นจุดรวม อศจ. ต้องจด จอ่ อยู่ท่คี วามรูส้ กึ ของคนไข้เกยี่ วกบั ตวั เขาเองและปญั หาต่างๆ ของเขา การเอาใจ จดจ่อแบบน้ีกค็ ือ อศจ. จะต้องเอาเปน็ ธุระต่อผู้ท่ีตนเกี่ยวขอ้ งดว้ ยขณะนนั้ อศจ. จะต้องไม่สนใจคนอื่น คนสำคัญสำหรับ อศจ. คอื คนที่นัง่ อย่เู ฉพาะหนา้ การฟัง แบบถือคนไข้เปน็ จดุ รวม คือการฟงั ซ่ึงรวมความสนใจในเรือ่ งทคี่ นไขท้ เี่ กยี่ วกับตวั เขาเอง และความรู้สกึ ของเขา การฟงั แบบจดุ รวมถอื เอาคนท่ีกำลังสนทนาอยู่กับ อศจ. เปน็ สำคญั ถ้า อศจ. ทำตัวใหส้ นิทชดิ เช้ือกบั คนไขจ้ นกลายเปน็ อันหน่ึงอนั เดียวกนั แล้วกอ็ าจต้องพลอยขัดเคืองผ้อู น่ื เซน่ ภรรยาของคนไข้ จ่ากองร้อย หรอื คนอน่ื ทีไ่ มอ่ ยูใ่ นทน่ี น้ั ไปด้วย ซงึ่ ล้าปล่อยใหค้ วามสนใจของคนไขห้ ันเหไปยงั บุคคล เหลา่ น้แี ล้ว อศจ. ก็จะช่วยคนที่อยูเ่ ฉพาะหนา้ ตนไค้น้อยลง อศจ. ควรเพง่ ความ สนใจลงยังบุคคลทต่ี นกำลงั เยีย่ มเยยี นอยู่โดยการทำเซ่นน้ี คนไข้จะถูกชว่ ยให้คดิ ถงึ ความร้สู กึ ของเขาเองอย่างขัดเจน และช่วยให้เกดิ พลงั ควบคุมความรสู้ กึ ไปในทางดี โดยตัวเองมากช้นื ในการฟงั แบบรวมจุด การตอบสนองของ อศจ. ตอ่ ส่ิงท่คี นไข้ กล่าว จะทำใหค้ นไข้เกดิ กำลังใจ การตอบสนองอาจเปน็ วาจาหรือดว้ ยกิริยาอาการ กไ็ ต้ ยกตวั อย่าง อศจ. อาจกล่าววา่ “โปรดเลา่ ใหข้ ้าพเจ้าฟังมากกว่านี้วา่ สิ่งนี้ รบกวนทา่ นอยา่ งไรบา้ ง” หรอื อศจ. อาจเพยี งแสดงว่าเหน็ พอ้ งดว้ ย หรืออาจ กลา่ วว่า “ครับ” หรือเพียงพยักหนา้ ถา้ หากวา่ อศจ. ทำการตอบสนองดงั กล่าวน้ี
๘ ในขณะที่คนไข้พดู ถงึ ความรู้สกึ ของเขาเองแล้ว คนไข้กจ็ ะเห็นว่าเขาจะพดู อะไรๆ ก็ ได้ท่ีเขาต้องการพดู เกีย่ วกับตวั เขาและความร้สู ึกของเขาเอง เมอื่ เป็นเซ่นน้นั คนไข้ก็ จะพูดเก่ียวกบั ตัวเขาเองมากข้ึน และพูดถึงเร่ืองทคี่ นอน่ื กำลังทำกับเขานอ้ ยลง ๓.๔ การฟง้ แบบยอมรับรู้ การฟงั แบบน่ิงฟัง หมายถึง การฟงั แบบยอมรบั ร้อู กี ด้วย อศจ. ฟังโดย'ไม่ ขดั คอ ปลอ่ ยให้คนไขพ้ ดู ตามสบาย เพง่ ความสนใจเฉพาะบคุ คลท่อี ย่เู ฉพาะหน้าตน และแสดงความปรารถนาท่ีจะชว่ ยเหลอื ด้วยการรับรู้ว่า คน'ไข้เป็นผทู้ ต่ี กอย,ู่ใน ความทุกข์ และสมควรได้รับความชว่ ยเหลือ อศจ. เช่อื ว่าคนไขต้ ้องการความ ช่วยเหลอื อศจ. สันนิษฐานไว้ก่อนว่า คนไข้ต้องการหาทางขจัดปดเปา่ กระสวน ความคิดทย่ี งุ่ เหยิงซึง่ ไดส้ รา้ งป้ญหาขน้ึ แกเ่ ขา ถึงแม้'วา่ คน'ไขไ้ ด้กระทำผดิ อยา่ ง โจง่ แจง้ ก็ตาม อศจ. ก็ควรสันนิษฐานไวก้ อ่ นวา่ “บุคคลผไู ดร้ บั ทุกข์ยากปรารถนา ทำดีกวา่ นั้น” คนไข้จะไมไ่ ดร้ บั การชว่ ยเหลือเลยลา้ หาก อศจ. ตง้ั หนา้ แต่จะ กล่าวโทษเขา การตัดสินโทษบคุ คลทกี่ ำลงั รบั ทุกข์ทรมาน ตามความผดิ ของเขา ไม่ วา่ เขาจะเห็นความผดิ ของเขาหรอื ไมก่ ็ตาม ก็เทา่ กบั เตะคนขณะท่ีเขาล้ม ไม่มี อศจ. คนไหนต้องการทำลายความปรารถนาเพ่อื เรียนคิดเรียนทำให้ดีขึ้นของคนไขเ้ ลย คนไขท้ ่ชี ือ่ ว่าจะไดร้ บั ความช่วยเหลอื จาก อศจ. นน้ั จะตอ้ งทราบว่า อศจ. เอาใจใส่ ตัว แน่นอนเหลือเกนิ วา่ อศจ. ยอ่ มจะไม่ยอมรบั แบบกระสวนแห่งการกระทำผิดว่า ถกู ต้อง อศจ. ย่อมไมถ่ ือเอาระดบั ความประพฤตติ ่ําสดุ ของบคุ คลวา่ เป็นมาตรฐาน ตามหลักฐาน อศจ. ย่อมเชอ่ื วา่ คนเราสามารถเปล่ียนให้ดีข้นึ ได้ เราทราบวา่ ทารก ยอ่ มต้องคลานก่อนเดิน และจะไมช่ ว่ ยเด็กให้เดนิ โดยคิดเทยี บเอาวา่ ตนเอง ลามารถคลานไดีใกลเท่านัน้ ๆ การท่ี อศจ. ฟ้งคนไข้พดู เปน็ ทางหน่งึ ทีจ่ ะแสดงให้ คนไขเ้ หน็ ว่า อศจ. เปน็ หว่ งกังวลในตวั เขาจรงิ จงั หรอื ไม่ อศจ. ลามารถจะช่วยได้ก็ เม่ือคนไข้เห็นวา่ อศจ. เป็นผ้ทู ่ีเอาใจใส่และตอ้ งการชว่ ยเหลอื เขาเท่าน้ัน การ'ฟังที่ จะใหไ้ ด้ผลจะตอ้ งแสดงใหค้ นไขเ้ ห็นว่า “ผู้ฟ้งยอมรบั นับถือตน” ๓ . ๕ การฟ้งดว้ ยความเข้าใจ การฟ งั แบ บ น ิ่งฟ ังคอื การฟ ้งดว้ ยความเข้าใจอศจ.จะตอ้ งเขา้ ใจ ขอ้ เท็จจริงตามทค่ี นไขเ้ ห็น และจะตอ้ งเข้าใจวา่ ตามธรรมดาแล้ว คนไข้จะ ตอบลนองข้อเท็จจริงเช่นน้นั อยา่ งไร อศจ. จะตอ้ งเขา้ ใจลิ่งทตี่ นไดร้ ับบอกเล่า อศจ. จะต้องรบั รองลงิ่ ทค่ี นไขเ้ ชอ่ื วา่ ไดเ้ กิดขนึ้ แกเ่ ขา และจะตอ้ งสำนกึ ด้วยวา่ ใน
๙ สถานการณ์เซ่นนนั้ คนไขจ้ ะมปี ฏิกิริยาตอบโตเ้ ซน่ ไร การนัง่ อยูใ่ นห้องและไมข่ ัดคอ คนไข้ขณะท่ีเขาพดู ยงั ไม่เพยี งพอ อศจ. จะต้องหาจังหวะพดู เสรมิ และตง้ั ปญั หา ถามเพ่อื แสดงว่าตนเข้าใจสาระสำคญั ของเรือ่ งทคี่ นไขก้ ำลงั บอกแกต่ น ถ้า อศจ. แสดงว่าตนสามารถเขา้ ใจความรสู้ กึ ของคนไข้ในสภาพการณน์ นั้ แล้วก็สามารถทำ ลมั พันธภาพอนั เต็มไปด้วยประโยชนก์ ับคนไขให้ก้าวหนา้ ได้ แม้ อศจ. จะใหเ้ สรี คนไข้พูด ถือคนไขเ้ ป็นจดุ ศนู ยก์ ลาง และยอมรบั รู้ว่าคนไขเ้ ป็นผูท้ ีต่ กอย่ใู นความ ทกุ ข์ก็ตาม แต่ถา้ ไม่แสดงใหค้ นไข้เหน็ ว่าเข้าใจเขาแลว้ ก็เท่ากบั วา่ คนไขบ้ อกความ ทุกขย์ ากของเขาใหเ้ พดานหอ้ งพีงนน่ั เอง ๓ ๖. การฟง้ แบบใหเ้ สรีคนไข้ การฟังแบบนง่ิ ฟัง คอื พงี แบบใหเ้ สรคี นไข้ ถือคนไข้เปน็ จุดศูนย์รวม ยอมรบั รู้ และพีงโดยเข้าใจคนไขเ้ หล่าน้ี มใิ ชเ่ ปน็ การฟงั เพยี งเพ่อื รักษามารยาท ของสงั คมเทา่ น้ัน แตเ่ ปน็ การพงี ทต่ี อ้ งอาศยั ทักษะ ซ่งึ จะทำไดก้ ็เฉพาะผู้ท่ผี ึเกฝนมา เป็นอาชพี เทา่ นนั้ ความสามารถในการพงี ตามแบบทกี่ ลา่ วนอี้ าจเรยี นเอาได้ อศจ. ใดๆ ก็สามารถเรยี นพงี อย่างได้ผล ลา้ หากว่าเขาตระหนักวา่ การพงี เป็นสง่ิ สำคัญ การพงี เปน็ สง่ิ จำเปน็ ท่สี ดุ ตอ่ งานของ รพ. เซน่ เดยี วกับทม่ี นั มคี วามสำคญั ตอ่ การให้ คำแนะนำ อศจ. จะไม่สามารถชว่ ยคนไขได้ ล้าไม่มคี วามรูเ้ กย่ี วกับสภาพการณ์ของ คนไข้ ความร้นู ี้ส่วนใหญส่ ามารถได้มาโดยการ‘ฝืกฟงั แบบนง่ิ ฟัง ถา้ อศจ. ประจำ รพ. เชียนรายงานละเอยี ดอยา่ งนอ้ ยสัปดาหล์ ะ ๓ คร้งั ไม่ข้าจะประหลาดใจวา่ ตนสามารถท่าไดม้ าก โดยการรายงานการเย่ียม รพ. เปน็ ลายลักษณอ์ กั ษรนี้อศจ. สามารถพบความจรงิ ว่า “ตนพงี คนไขท้ ี่ตนเยี่ยมหรือไม่” การผเึ กเซน่ น้ีจะชว่ ย อศจ.ให้มีพลงั ในการสำรวมจติ และทา่ ให้เป็นนกั พีงแบบนิ่ง พีงลัมฤทธผิ ล ๔. ใหค้ วามอุ่นใจ ๔.® คำนิยาม การทา่ คนไข้ให้เกิดความอุ่นใจ คอื การสง่ เสรมิ คนไข้ใหม้ ีความเช่ือในตัว เขาเองและในคณุ พระ ความ “อ่นุ ใจ” เป็นเป้าหมายท่ี อศจ. จะตอ้ งปลกุ ใหเ้ กดิ แก่ คนไขท้ ง้ั มวล อศจ. ควรสง่ เสรมิ คนไขใหเ้ กดิ ความเชื่อถือพยาบาลและแพทยข์ อง เขา ความรู้สึกอนุ่ ใจในทนี่ ้จี ะจำกัดแต่เพยี งวา่ คนไขไต้บรรเทาจากความเจ็บปวด
๑๐ หรอื วา่ หน้าท่กี ารงานทีค่ นไข้เคยทำได้ถูกสงวนไว้เพอื่ เขาเท่านั้นก็หาไม่ แต่มันเป็น ความรู้สึกทีเ่ ตม็ ไปด้วยความหวงั ไม่ใชเ่ ป็นเร่ืองของการยอมพ่ายแพแ้ ก่ชีวติ แพทย์ ทราบดวี า่ คนไข้ทม่ี ีอาการสงบอบอุ่นใจมีส่วนชว่ ยให้การรกั ษาทางยาไดผ้ ลดี การ รักษาพยาบาลยอ่ มได้ผลเร็วขน้ึ ในท่ีๆ คนไขใม่มีความตื่นตกใจอนั ไมจ่ ำเป็น แต่ “ความอนุ่ ใจ” มีความหมายมากกวา่ ความเชอื่ ของคนไข้ที่วา่ “เขาจะหายเป็น ปกต”ิ มันเป็นความเช่อื ท่วี า่ แม้สขุ ภาพทางกายจะไม่กลับคืนลสู่ ภาพปกตกิ ็ไม่มี อะไรท่ีต้องกงั วลใจ ความรูส้ ึกอนุ่ ใจดังกลา่ วนี้มิใชจ่ ะกอ่ ใหเ้ กดิ ข้นึ มางา่ ยๆ การจะ ช่วยคนไขให้ไดร้ บั ความอนุ่ ใจเช่นน้นั อศจ. จะต้องประลบมันด้วยตนเอง อศจ. ท่ี ตน่ื เตน้ ตกใจและลงั เลใจอาจเป็นอันตรายตอ่ คนไขได้ แตข่ อเน้นวา่ ความตอ้ งการ ของ อศจ.ไมล่ ามารถประดิษฐ์ “ความอ่นุ ใจ” ขน้ึ มาได้ความอุ่นใจไม่สง่ เลียงใน ความมีด มนั ไม่ทำให้พน้ จากความจริงเกยี่ วกับความเจ็บปวดและความทุกขท์ รมาน ความอ่นุ ใจลามารถทำให้เผชิญข้อเท็จจรงิ อันรุนแรงด้วยความองอาจผ่ึงผาย อศจ. จะตอ้ งไมช่ ่วยคนไขใ้ หเ้ กิดความอนุ่ ใจโดยวธิ ีข่มขู่ โดยการสนทนาโตต้ อบอันเผ็ด รอ้ น โดยวิธีตลกขบขัน หรือโดยวิธีตบหลังคนไข้ ๔.๒ ความอุ่นใจเปน็ ส่งิ ทไี่ ดม้ าดว้ ยการยึดถอื เอา ความอุ่นใจเปน็ ลงิ่ ท่ีไดม้ าดว้ ยการยึดถอื เอา ไมใ่ ชจ่ ากการลอน การ เอาชนะคนไข้เพื่อนำไปลูว่ ิถชี วี ติ ใหม่และความคิดใหมโ่ ดยการแสดงความคิดเหน็ ตามเหตุผลและระเบยี บแบบแผนนัน้ เปน็ ล่ิงท่ีทำใหไ้ ด้ผลแนน่ อน คนไข้ย่อมไม่ แสวงหาความอบอุ่นใจจากการโตเ้ ถยี ง อศจ. มักถกู แนวความคิดทีล่ งิ แนน่ อยู่ในใจ ของตนซักน่าให้กลายเป็นคนขอบโต้เถียง ถา้ อศจ.ไม่ม่ันคงในศรทั ธาของตนเอง เลียแลว้ กจ็ ะปฏบิ ตั ิหน้าที่ด้วยความลงั เลไม่สบายใจ ถ้าในชีวติ ของเขาเอง อศจ.ได้ คิดมาปรุโปร่งแล้วถึงอาการของตนต่อความทกุ ขท์ รมาน และคุณพระทมี่ ีส่วนชว่ ย บรรเทาความทุกขท์ รมานน้ันแล้ว เขาจะลามารถรบั เอาบญี หาทุกชนิดเข้าไว้ อศจ. ที่ขาดความเชอื่ มั่นในตวั มักจะเปน็ คนพดู มากเกนิ ควร การใหค้ วามอบอนุ่ ใจเกินแก่ เหตุมใิ ชเ่ ปน็ การชว่ ยเหลือคนไข้ ถ้า อศจ. ร้ตู วั ว่า ออกจะให้ความอบอ่นุ ใจแก,คนไข้ มากเกนิ ไปแลว้ กค็ วรพจิ ารณาเหตผุ ลในแง่นบ้ี ้าง ถา้ อศจ. ปลอ่ ยตวั ใหท้ ำความ อบอนุ่ มากเกนิ ควรขึ้นไปเร่ือยๆ แลว้ ผลอาจปรากฏว่า ตัว อศจ. เองนน่ั แหละขาด ความอบอนุ่ มน่ั คง อาจเปน็ ไปไดว้ ่า อศจ.ไมล่ ามารถใหค้ นไขค้ ลายความสงสัยและ แกบ้ ญี หาไดเ้ พราะภายในจิตใจของ อศจ. เองก็เต็มแปลไปด้วยความสงสยั และ
(5)(5) ปัญหาเหล่าน้นั ความอบอ่นุ ใจเปน็ เสมือนโรคติดตอ่ ถา้ อศจ. รสู้ ึกอบอุ่นเชอื่ มั่นใน ตวั เองแลว้ ความรสู้ กึ นน้ั กจ็ ะแผค่ ลุมไปยงั คนไขด้ ้วย ความอบอุน่ ใจถูกถา่ ยทอดให้ กนั ไดโดยการเข้าใกล้ ดงั กลา่ วแล้วในตอนทีว่ ่า “การฟงั แบบนิ่งฟงั ” กล่าวคือ ความอบอุน่ ใจถกู ถ่ายทอดไปให้ขณะเมอ่ื อศจ.ใหเ้ สรใี นการพูดแก่คนไขเ้ มอื่ อศจ. รวมความสนใจอย่ทู ี่ความรู้สึกของคนไข้ ยอมรบั รู้คนไข้ และมคี วามเขา้ ใจต่อ ความรู้สกึ ในสว่ นสกึ ของคนไข้ ลักษณาการเหลา่ นีม้ ืประโยชนใ์ นการอธิบาย “การ ฟังแบบน่ิงฟงั ” แตกมไิ ด้จำกดั ลงว่ามันเป็นเทคนคิ ของการฟง้ อยา่ งเดยี ว อศจ. ชือ่ ว่าเป็นผูใหเ้ สรีในการพดู ก็ต่อเม่อื แสดงใหค้ นไขเ้ ห็นว่า เปน็ ผูไ้ ม่ บงั คับเคย่ี วเข็น คนไข้จะเลอื กคยุ เร่อื งใดก็ไดีโดยการใหเ้ สรีในการพูด อศจ. พูดกับ คนไข้ว่า “อะไรก็ตามทดี่ ูเหมอื นกำลงั รบกวนทา่ นอยู่ ขา้ พเจ้าเตม็ ใจรบั ฟง้ เรื่องท่ี ท่านจำต้องพดู น้นั ” ถ้า อศจ. และคนไขเ้ ปน็ ผู้เขา้ ใจอยา่ งแจม่ ซัดวา่ สภาพการณ์ เซ่นไรอย่ใู นความนกึ คดิ ของคนไข้ คนไขก้ ็ควรไดร้ บั อนญุ าตให้พดู คุยเก่ยี วกับเรอื่ ง อะไรๆ กต็ ามท่เี ขาเลือก การจะไดป้ ระมาณการณข์ องสถานการณ์ เราจะต้องรู้ สภาพน้ันกอ่ น ในงานของ รพ. เราจะทราบสถานการณ์ดงั กลา่ วได้ก็ตอ่ เมือ่ เราเปีด โอกาสให้คนไข้พูดมันออกมาเท่านัน้ เมอื่ คนไข้ไดโี อกาสพดู คุยเร่อื งท่เี ขาเลอื กเอง และแสดงทศั นะตามที่เขาต้องการ การตอบสนองของ อศจ. จะเปน็ จดุ สำคญั ต่อ ความรสู้ ึกของคนไข้เพอ่ื แสดงความสนใจในเรือ่ งทีค่ นไข้ระบายความรูส้ ึกออกมา ด้วยการพูดคยุ อศจ. ควรตอบสนองดว้ ยการพยักหน้าหรือทำเสียงฮือๆ ทางจมูก เป็นระยะๆ ตามที่คนไข้ออกความเห็นจบลงทกุ คร้ัง อศจ. ต้องไมพ่ ยายามนำเร่อื งที่ ตนสนใจไปสนทนาแยง่ เวลาของคนไข้ อศจ. จะรวมความสนใจของตนลงบนเรอื่ งท่ี คนไขก้ ำลังพดู ซึ่งเปน็ สง่ิ ทที่ ำไดีไมง่ ่ายนกั เฉพาะผทู้ ไี่ ด้รับการ‘ฝึกมาเปน็ อาชีพ เท่าน้นั จงึ จะทำได้ผลสมบูรณ์ ถา้ อศจ. ต้องการใหค้ วามอบอุ่นใจแก่คนไขข้ องตนแลว้ จะต้องแสดง ความรูส้ กึ ยอมรบั นับถือคนไขว้ ่า “เปน็ คน” ผ้หู นึง่ จะตอ้ งมีขนั ตแิ ละเมตตาเปน็ พ้ืนฐาน ถ้าคนไข้พดู วา่ “ทำไมพระจงึ ไม่ชว่ ย ปลอ่ ยใหเ้ ราได้รับทุกข์ทรมานเซ่นน้ี” อศจ. ต้องมีจติ ใจมั่นคงโดยถอื วา่ นน่ั เป็นเสียงโอดครวญในยามเจ็บปว่ ยเท่านั้น ถา้ คนไขก้ ลา่ วโจมตีความเชือ่ ซ่ึงเปน็ หลักสำคัญในศาสนาของ อศจ. แลว้ อศจ. ก็คง จะยงั ยอมรบั คนไขผ้ ้นู ้นั ว่ามีคา่ ควรแกก่ ารให้ความช่วยเหลอื การยอมรับมไิ ดแ้ สดง วา่ จะตอ้ งเห็นด้วย การเออออมิใชเ่ ป็นคำกลา่ 'วท่มี ผี ลทางปฏบิ ัติ เช่นคำว่า “.-
๑๒ น่าจะเปน็ เซ่นนน้ั ” “...ถูกอย่างทคี่ ุณพดู แล้ว” “...ข้าพเจา้ ก็เห็นพ้องกับทา่ น” เปน็ ต้น มนั เป็นเพียงสำนวนพดู เนอื่ งจากคนไข้อยู่กบั ปัญหาความเปล่าเปลย่ี ว ความ โดดเดย่ี ว และบางคร้งั กอ็ ยใู่ นอารมณ์ปฏเิ สธ ล้า อศจ. ปฏิเสธไมย่ อมรับความ คิดเหน็ ของเขาอีกกเ็ ท่ากับผลกั ไสการให้ความชว่ ยเหลือซึง่ เขาต้องการ อศจ. จะ พบว่าการยอมรับนับถือคนไข้ว่า “เปน็ คน” คนหนงึ่ จะชว่ ยคนไขผ้ นู้ ัน้ ให้พบกับ ความอุ่นใจชนดิ ใหม่ อศจ. สามารถช่วยให้ความอบอุ่นใจแกค่ นไขไตอ้ ีกดว้ ยโดย การแสดงข้อเทจ็ จรงิ วา่ เข้าใจเขา คำพูดท่ี อศจ. ควรกล่าวคอื “ข้าพเจา้ เห็นดว้ ยกบั ทที่ า่ นกล่าว” หรือ “ขา้ พเจ้าเข้าใจวา่ ท่านรสู้ ึกอยา่ งไร” ลา้ คนไข้พบว่า อศจ. สามารถเขา้ ใจเสยี งราํ่ ร้องของเขาและยอมรบั รู้เสยี งเหล่านัน้ และไม่ถอื เอาเสยี ง เหล่านน้ั มาเปน็ เคร่ืองชม่ ฃแู่ ล้ว ความไว้เน้อื เชือ่ ใจของคนไข้จะเจรญิ งอกงามใน อศจ. ผ้นู ้ัน เมอื่ อศจ. ตอบสนองบคุ คลผู้ที่ตกอยใู่ นความต้องการดว้ ยความเขา้ ใจดี อนั ประกอบด้วยเมตตาแล้วก็จะเปน็ สิง่ โน้มน้าวจติ ใจให้เขารำสึกว่า “พระคอย คมุ้ ครองเขา” ล้าอศจ.ไมส่ ามารถเขา้ ใจคนไข้ไม่ข้าคนไขก้ ็จะรู้เรือ่ งนีแ้ ละไม่ ประสงคใ์ ห้การตดิ ต่อดำเนนิ ต่อไป อย่าง'ไรก็ดี ถา้ คนไข้เขา้ ใจ อศจ. ดแี ลว้ ส้มพันธภาพอนั มปี ระโยชน์กจ็ ะดำเนินต่อไป ขอ้ ความใดทกี่ ล่าวไว้เกีย่ วกบั การช่วยคนไขใ้ ห้ไดร้ บั ความอบอุน่ ใจ ข้อความน้นั ยงั เป็นความจริง นอกเสยี จากวา่ คนไขร้ ายนน้ั จะตกเปน็ เหย่ือของความ ป่วยไขท้ างอารมณ์ คนไขท้ ห่ี ดหู่ ไม่เบกิ บานเพราะโรคภัย จะไมต่ อบสนอง ถ้าผ!ู้ ด ถกู รบกวนทางอารมณ์และปรากฏซดั ว่ามอี าการผดิ ปกตแิ ละจิตแพทย์สังเกตไม่เห็น แล้ว อศจ. ควรจะปรกึ ษากับแพทยผ์ เู้ ป็นเจ้าของไข้ อศจ. ควรกลา่ วเฉพาะ ขอ้ เทจ็ จรงิ ตามท่ตี นเหน็ และสำนกึ ข้อเท็จจรงิ วา่ แพทย์เจ้าของไขน้ ั้นมคี วาม รับผิดขอบในเร่ืองน้ันหรือไม่ ถา้ แพทยท์ ีแ่ นะนำให้ไปหาจติ แพทย์ อศจ. ก็จะเห็น จิตแพทย์เอาเป็นธรุ ะและแสดงความคดิ เหน็ ของเขา จิตแพทย์อาจต้องการให้ อศจ. ไปเย่ยี มคนไขบ้ อ่ ยเทา่ ไรกไ็ ดีโดยไม่มขี ้อซดั ขอ้ ง เป็นสิง่ สำคัญสำหรบั คนไข้ที่ จะถูกทำใหเ้ กดิ ความอุน่ ใจ อยา่ งไรก็ตามการจะชว่ ยให้เกดิ ความอบอนุ่ ใจนื้ จะต้อง เปน็ บางสง่ิ บางอย่างทีค่ นไข้เคยประสบมา ไม่มีอะไรจะสามารถมาแทนที่ความเช่อื ที่มอี ยู่เดมิ ของคนไข้ ศรทั ธาความเชื่อเชน่ นน้ั ไดม้ าดว้ ยการตามอย่างกนั มิใช่ดว้ ย การแนะนำใหเ้ กดิ ความร้สู ึกได้เอง
๑๓ ๕ . การระบายอารมณ์ ตามพจนานุกรมจิตวิทยา “การระบายอารมณ”์ ไดแ้ ก่ การพดู คุยกันใน ปญั หาใดๆ อยา่ งเสรี กลา่ วคอื การกลา่ วและการแสดงออกซ่ึงความรู้สกึ ของตน เมอ่ื กล่าววา่ “การระบายอารมณ์ หมายถงึ การสนทนาเกี่ยวกับปัญหาหน่งึ ใด และ การแสดงออกซ่งึ อารมณเ์ ก่ยี วกบั ปญั หานั้น” การกลา่ วเซ่นน้ี ยอ่ มจะรวมถึงการ สนทนาเกย่ี วกบั บคุ คลและการแสดงออกซึ่งอารมณ์เกย่ี วกับบคุ คลเหล่านน้ั ด้วย การระบายอารมณ์ หมายถึง การสนทนาเก่ยี วกบั ปัญหาระหวา่ งบคุ คล และ ความร้สู กึ ทเี่ กย่ี วโยงกับบคุ คลเหลา่ น้ัน อศจ. ผเู้ ยีย่ ม รพ. จะพบคนไขไดร้ ับทุกข์ ทรมาน มใิ ซ่จากความเจ็บปวดทีเ่ กิดจากความเจ็บไขข้ องเขาเทา่ น้นั แต่ไดร้ บั ทกุ ข์ ทรมานจากความรู้สึกของเขาเก่ียวกับบคุ คลอนื่ ด้วย บคุ คลเหล่านอี้ าจรวมท้งั สามี ภรรยา มารดาบดิ า บตุ รขายบุตรลาว เพอ่ื นๆ จา่ กองร้อย ผบ.ร้อย แพทยพ์ ยาบาล หรอื บคุ คลหนง่ึ บคุ คลใดกไ็ ดท้ ี่เขาเกยี่ วขอ้ งดว้ ย ในการปลอ่ ยคนไข้ใหร้ ะบายความร้สู ึกของเขาเกย่ี วกบั คนอน่ื อาจเปน็ สิง่ มคี ณุ คา่ มากมาย อศจ.ไม่ตอ้ งกลวั หรอกว่าจะเปน็ การล่งเสริมคนในทางไมด่ ี ถ้า คนไขต้ อ้ งการสนทนาเก่ยี วกบั เรอื่ งวา่ เขามคี วามโกรธแค้นแพทย์ผ้ลู ง่ั ใหใ้ ชย้ ารักษา ไมเ่ ปน็ ที่พอใจของตนอยา่ งไรแล้ว อศจ.ไมค่ วรโดดเขา้ พดู ปอั งกนั แพทย์ผู้นัน้ เพราะถา้ อศจ. พยายามหยุดย้ังคนไขก้ เ็ ทา่ กับไปสนับลนนุ ความคิดของคนไข้ท่ีว่า อศจ. กับแพทย์รวมหัวกันเป็นปฏิปกั ษ์ต่อเขาตลอดเวลา ถ้าเพียงแต่ปล่อยใหค้ นไข้ ระบายความรสู้ ึกในทางลบของเขาเก่ียวกับคนอื่นออกมาแลว้ ก็จะนำเขาไปลู่ความ เขา้ 'ใจผู้อนื่ ดีขนึ้ อศจ. จะสงั เกตเหน็ ว่าคนไขจ้ ะหยุดแสดงความคิดเหน็ ในทางลบ และเรมิ่ พิจารณาความคดิ เห็นของตน ยกตัวอย่าง ถ้า อศจ. ปล่อยคนไข้ใหพ้ ดู ไป เร่อื ยๆ แล้ว เขาอาจเร่มิ เห็นว่า แพทย์กำลงั ทำงานเพือ่ ช่วยเหลือเขา แนน่ อนละ อาจจะมีบางคร้ังบางคราวทีป่ ฏิกริ ยิ าทางลบของคนไข้ตอ่ แพทยเ์ ป็นสิ่งถกู ต้องเมื่อ การวจิ ารณ์ของคนไข้เป็นสิ่งถูกต้องเซน่ น้นั อศจ. กไ็ มค่ วรสนับลนุนคำพดู ของ คนไข้ เพราะถา้ อศจ. ทำให้คนไขแ้ น่ใจว่ามบี างสงิ่ บางอย่างดำเนนิ ไปผดิ แล้ว คนไขก้ ็จะไปพูดกับแพทยเ์ ก่ยี วกบั เร่ืองนั้น ผูท้ ่ีทำงานอยู่กบั คนไขต้ ลอดเวลาจะต้อง ระมดั ระวงั ความเขา้ ใจผดิ ซง่ึ อาจเกดิ ข้ึนได้ ตามปกตแิ พทย์จะไมข่ ัดเคอื งในส่งิ ท่ี คนไขได้กล่าว แตจ่ ะพิจารณาเรื่องราวสำคัญๆ เพ่อื พยาบาลรกั ษาคนไขข้ องเขา ตอ่ ไป อศจ. สันนษิ ฐานไวก้ อ่ นวา่ ผู้มีอาชีพทางแพทยท์ กุ คนย่อมจะลนใจล่งเสริม
สม้ พันธภาพกบั คนไขข้ องตนและเห็นความเก่ียวข้องของตนกบั คนไข้วา่ เป็นการ ช่วยการเยยี วยารกั ษาอย่างหนง่ึ เมื่อคนไข้เริ่มแสดงความกร้วิ โกรธต่อสมาซกิ คนใดคนหนง่ึ ในครอบครัว ของเขาอศจ.ไมค่ วรแสดงความต่ืนตกใจไมว่ า่ โดยทางใด อศจ.ต้องเข้าใจวา่ ในตัว คนเรานแี่ หละบางทกี ็มคี วามรสู้ ึกสบั สนขัดแยง้ อยู่ในขณะเดียวกนั คอื ปถุ ชุ นคน ธรรมดาในบางครั้งยอ่ มจะกริว้ โกรธต่อคนทต่ี นรกั อศจ. จะตอ้ งไมล่ งความเห็นวา่ ความกรวิ้ โกรธนนั้ เป็นการปฏเิ สธความรกั ขอให้นึกถึงเร่อื งเลา่ ไวใ่ นมงคลทีปนีเร่อิ ง หนึ่ง ใจความย่อมวี า่ “เดก็ หนุ่มผ้หู นึ่ง ปรารถนาจะเดนิ ทางไปค้าสำเภากับเพอื่ น หญิงผู้มารดามีบุตรคนเดยี ว ไมต่ ้องการให้เขาจากไป แตเ่ มอื่ พยายามทดั ทานหา้ ม ปรามอย่างไรๆ เขาก็ไมเ่ ชอื่ พงิ หมดปญั ญาข้นึ มาจงึ ตะโกนบรภิ าษตามหลัง บตุ รขายด้วยความโกรธว่า ถา้ เจา้ ไป ขอให้โครา้ ยขวิดเจ้าตาย ในระหวา่ งทางมวี ัว กระทิงตัวหนึ่งเดินปร่เี ขา้ ไปจะขวดิ เดก็ หนมุ่ นั้น เด็กหนมุ่ อธษิ ฐานใจวา่ ขอจงเป็น อย่างที่แม่คิดเถิด จงอยา่ เปน็ อย่างท่ีแม่พูดเลย ทันใดนั้น เจ้ากระทงิ รา้ ยกห็ ันกลบั ไม่ทำอันตรายเดก็ หนุ่ม” อศจ. ต้องทราบว่า “ความกร้ิวโกรธ” เปน็ การแสดงออกตามธรรมดา สามญั ทซ่ี บั ซอ้ นเทา่ นั้น อศจ. จะไมส่ นบั สนุนส่ิงทค่ี นไข้กลา่ วนน้ั จะต้องไมแ่ สดง ความพอใจและทงั้ จะต้องไมแ่ สดงความพอใจ ทางท่ีดที ี่สดุ ท่จี ะปฏบิ ัติกับคนผู้ตก อย่ใู นความยุ่งยากเช่นนั้นคือปลอ่ ยให้เขาระบายความรสู้ กึ จรงิ ๆ ของเขาออกมา การระบายอารมณ์เป็นส่งิ มีประโยชน์ดังกล่าวแล้ว แต่ยังมบี างส่ิงที่ควรพจิ ารณาคอื ทฤษฎที ่ีว่า ในตัวคนเราย่อมสะสมความรูส้ ึกเป็นปฏปิ ักษ์ต่อผ้อู ่ืนไว้ เมอื่ ความรู้สึก เช่นน้นั ถูกระบายออกมา ป้อมปราการแหง่ ความรสู้ กึ น้ันก็จะถกู ทำลายลง คนไข้ หลังจากไคร้ ะบายความรู้สกึ อันเป็นปฏปิ กั ษต์ อ่ ผูอ้ ืน่ ออกมาแล้วความตึงเครยี ดของ ประสาทก็จะลดลงหรอื หมดไป สามารถทำการตดั สนิ สภาพการณ์แห่งชวี ิตของตน ไต้เอง แตข่ อ้ ท่ีพิงระมัดระวังในเร่อื งนีม้ ีอยวู่ ่า คนเราถา้ ไตท้ ำสิ่งใดซ้าํ บอ่ ยๆ แล้ว ครั้งต่อๆ ไปก็จะทำส่งิ น้นั งา่ ยขน้ึ การเรียนรูส้ ว่ นมากมรี ากฐานอยบู่ น “การ ทำซาํ้ ๆ” น้ี เช่นคนทปี่ ระกอบพฤตกิ รรมทางรา่ งกายซา้ํ แล้วซาํ้ เลา่ ไมว่ ่าจะเปน็ การ ยิงปนี ทสี่ นามยงิ หรือการเลน่ ขงิ ขา้ ทโ่ี รงกายกรรมกต็ าม เขากจ็ ะกลายเปน็ ผมู้ ีความ ชำนิชำนาญมากขึน้ ๆ ทฤษฎีแหง่ การ‘ฝึกฝนนีม้ ีผู้นำไปทดลองกบั อารมณ์ของคนเรา ปรากฏว่าเมือ่ ผูใ้ ดเรยี นระบายความโกรธของตน มันจะกลายเป็นของงา่ ยข้นึ ๆ
๑๕ สำหรับผูน้ น้ั ท่จี ะระบายความโกรธออกมา ดังน้นั ล้าผ้ไู ดถกู ลง่ เสรมิ ใหร้ ะบาย อารมณ์อนั ตรายท่ีจะเกดิ ตามมากค็ ือผ้นู ้นั อาจเรียนท่จี ะระบายความรสู้ กึ แบบ เดียวกันแลว้ ๆ เลา่ ๆ เมอ่ื ความรูส้ กึ แบบเดียวกันนี้ถกู ระบายออกมาอีกมนั ก็จะ กลายเปน็ ความรู้สกึ ท่ีแรงกล้ามากขึ้นๆ เรื่องเซ่นนแี้ มจ้ ะเกิดข้นึ จำนวนน้อยก็จริง อยู่ อศจ. จะต้องระมดั ระวังอนั ตรายฃอ้ นไี้ ว้ คือจะตอ้ งมีความรู้สึกไวต่อคนไขท้ ุก คนเปน็ รายตวั ลา้ อศจ. มน่ั ใจวา่ คนไขม้ ิได้ขจัดความรูส้ กึ ทีไ่ มด่ ี แต่กลับจะสะสมมนั ขน้ึ มาและเพ่ิมความแรงกล้ามากข้นึ แลว้ ก็จะต้องหาทางยับย้ังการกระทำเซ่นนั้น อศจ. จะยบั ยั้งการทำซ้าํ เกีย่ วกับความร้สู กึ ในทางไมด่ ขี องคนไขอ้ ย่างไร ? อศจ. จะ ยับยง้ั การทำเซ่นนน้ั โดยทางอ้อม เซน่ หาทางขึข้ อ้ เทจ็ จริงให้คนไขท้ ราบวา่ “เขา เรมิ่ จะพูดซํา้ เร่ืองเดมิ แล้ว และมันจะไม่ชว่ ยใหเ้ ขาดีอะไรข้นึ มาเลย” พูดอีกนยั หน่ึง อศจ. จะเผชิญหนา้ กบั คนไขด้ ้วยวิธพี ดู ท่จี ะทำใหเ้ ขามองเหน็ ความสำคัญแหง่ การ กระทำของเขาอยา่ งซัดแจง้ เมอ่ื คนไข้มองเห็นวา่ เขาไต้กำลงั ทำอะไรอยู่ เขา อาจจะระมัดระวงั อนั ตรายซ่ึงเขากำลังนำมาใหแ้ ก่ตวั เขาเอง เมือ่ เป็นเซ่นนัน้ คนไข้ จะแก้นสิ ยั และเริ่มพูดไปในทางดมี ากข้ึน ล้าคนไขไม่ลามารถทำการแกไ่ ขล่งิ น้ีดว้ ย ตัวเขาเอง หลังจากท่ีเขาไต้เผชิญหน้ากับลิง่ ทเ่ี ขาไดก้ ำลังทำอยู่ อศจ. ก็ควรจะ ปลอ่ ยเขาไวิใหเ้ ปน็ หน้าทีข่ องแพทยด์ กี ว่า ลา้ หากวา่ คนไขล้ ามารถทำการแกไ่ ข เขา กจ็ ะทำ ล้าเขาไมท่ ำ ก็จะเปน็ เคร่ืองข้ึใหเ้ หน็ ว่าเขาอาจปว่ ยทางสมองและการ แนะนำปลอบโยนใดๆ กไ็ ม่ลามารถหนว่ งเหนี่ยวเขาไวิไดเ้ มื่อ อศจ.ไดม้ าถึงทาง ตนั เซน่ น้ี อาจจะตอ้ งหยุดการเยย่ี มคนไข้น้ันไวช้ ั่วคราว หรือลา้ จะทำการเยี่ยม ต่อไป อศจ. ตอ้ งหาทางนำเนอ้ื หาของการสนทนาซงึ่ คาดว่าจะไตผ้ ลไปใช้ ทีก่ ล่าว เน้นถงึ อนั ตรายทีจ่ ะเกิดจากการระบายอารมณไ์ ว้น้ี เนื่องจาก อศจ. จะต้อง ปฏิบตั ิงานใน รพ. ของตนตอ่ ไป เพอื่ จะไดเ้ ปน็ ผู้ลามารถจัดการกับอนั ตรายเซน่ นั้น ไต้ดขี ้นึ และลามารถทำการระบายอารมณ์ให้ไตป้ ระโยชนท์ ่สี ดุ อศจ. จะพบว่า การปล่อยคนไขไ้ หก้ ล่าวความร้สู ึกของเขาออกมาน้นั เป็น ประโยชน์มาก ถึงแม้วา่ ความรสู้ ึกนัน้ จะเปน็ ปฏิปก้ ษต์ อ่ ผ้อู ื่นกต็ าม เซ่น ความรูส้ กึ ไม่ดตี อ่ พนกั งาน รพ. ต่อเพื่อนร่วมงาน ตอ่ ผูบ้ งั คบั บัญชา หรือตอ่ สมาชิกคนใดคน หนึง่ ในครอบครัวของเขาเป็นต้น การปล่อยให้คนไข้ระบายความกร้ิวโกรธหรอื ความรู้สึกในทางไมด่ ีอื่นๆ ของเขาออกมาเป็นวิธที ่ีดที ี่สุดในการควบคุมอารมณ์
๑๖ เม่อื ระดับความตงึ เครยี ดนอ้ ยลง คนไฃก้ ็จะทำการแกไฃฃองเขาเองและมองสิ่ง ต่างๆ ด้วยอารมณด์ ขี ึน้ อย่างไรก็ตาม ถ้าคนไขไม่ไดร้ ับอนญุ าตใหพ้ ูดเรื่องเซ่นนนั้ เขาก็จะเก็บความรสู้ กึ ของเขาไว้ภายใน และความรสู้ ึกเหล่านัน้ จะมีผลกระทบ กระเทือนตอ่ การรักษาพยาบาลของเขาทงั้ ๆ ที่ อศจ. มคี วามปรารถนาอยา่ งจรงิ ใจ ที่จะใหค้ วามชว่ ยเหลือกต็ าม แตจ่ ะต้องเรียนเพอ่ื ควบคุมความรูส้ ึกเหล่าน้ัน อศจ. ควรจะไวต่อความรสู้ ึกในเร่อื งเล็กๆ นอ้ ยๆ อกี ดว้ ย ในกรณที ี่การระบายอารมณ์ ช่วยไมไ่ ดแ้ ล้ว อศจ. ควรปรึกษาแพทยแ์ ละตัดสินใจอย่างระมัดระวงั ว่า ตนควรไป เยย่ี มคนไข้น้นั ต่อไปหรือไม่ กฎมอี ย่วู ่า อศจ. ควรปลอ่ ยใหค้ นไข้กลา่ วความร้สู ึก ใดๆ ที่เขามีออกมา ข้อยกเวน้ ของกฎนม้ี ีอยวู่ า่ ถ้าคนไขร้ ดุ เขา้ ไปสภาพที่เคยชนิ จน นา่ เบอ่ื สึกขึ้นๆ แล้วก็ไม่ควรปลอ่ ย อนงึ่ ทัศนคตติ ่างๆ ที่ประมวลไว้ในบทวา่ ด้วยการฟังแบบนิง่ ฟงั จะต้อง นำมาประยกุ ต์เข้าดว้ ย ทศั นคตติ ่างๆ ของการให้เสรีแกค่ นไข้ การยอมรบั นับถอื ความเขา้ ใจอนั ดี และการสำรวมใจอย่ทู ค่ี วามรสู้ ึกของคนไข้ เหลา่ นี้แหละจะช่วย สง่ เสริมการระบายอารมณ์ของคนไข้ อศจ. ผมู้ ีทักษะจะทำประโยชนไ์ ด้มาก เกยี่ วกบั การระบายอารมณ์ขณะท่ปี ฏิบัตงิ านอยใู่ น รพ. ๖. สรปุ ความ อศจ. ทกุ นายมหี น้าท่ตี อ้ งเยี่ยม รพ. คร้ังหนง่ึ หรือมากกว่าน้นั มีหลกั บาง ประการซ่ึงเปน็ ประโยชน์ต่อ อศจ. ท้งั มวล ไมว่ ่า อศจ. นนั้ จะสังกดั อยใู่ น รพ. หรือ เพยี งแตไ่ ปเย่ียม รพ. เปน็ ครัง้ คราว ถ้า อศจ. สงั เกตขอ้ แนะแนวทางตามสามญั สำนึกบางประการนแ้ี ลว้ ก็สามารถสร้างสัมพนั ธภาพอนั ดกี ับคนไข้ และเพราะเหตุน้ี แหละกจ็ ะสามารถทำตวั ใหเ้ ปน็ ประโยชน์ได้มากขน้ึ อย่าง'ไรกด็ ี ในการเยี่ยม รพ. มากที่สดุ ความสำคัญอนั ดับแรกคือ ความสมั พันธ์กับคนไข้ ความสำคัญอกี ข้อหนึ่ง คอื อศจ. ต้องปฏิบตั ติ ามกฎทวี่ ่า “อย่าเป็นพิษเป็นภัยตอ่ คนไข้” อำนาจของการ รักษาอยทู่ ่ี อศจ. และแพทย์ เจ้าหนา้ ที่ทง้ั สองนีจ้ ะตอ้ งหลกี เลี่ยงการกระทำสิง่ หนง่ึ สง่ิ ใดท่จี ะมาบ่นั ทอนอำนาจนัน้ ขั้นแรก อศจ. จะตอ้ งมสี ตสิ งั เกตกฎงา่ ยๆ เหล่าน้ี และถอื ปฏิบัติจนกลายเป็นนิสยั ในการทำงานของตน เรอ่ื งอืน่ ๆ ได้นำมาพดู ไวแ้ ลว้ ในบทนี้ เทคนิคของการฟังแบบน่ิงฟงั ได้นำมาสรุปไวแ้ ล้ว การฟังแบบนง่ิ ฟงั นัน้ มใิ ชเ่ ปน็ แต่เพยี งสินคา้ คงร้านของ อศจ. ประจำ รพ. แต่มนั เป็นสว่ นสำคญั มากตอ่ งานของ อศจ.
๑๗ บทนี้ เป็นบทว่าดว้ ยเรือ่ งการทำให้อบอุ่นใจ แนน่ อนส่งิ สำคัญอยตู่ รงวา่ คนไข้โดร้ บื ความอบอ่นุ ใจเกีย่ วกบั ตัว,ของเขาเองและความลามารถท่ีทำใหค้ นไข้ ไว้วางใจแพทยแ์ ละพยาบาลผทู้ ำการเยียวยาเขาอยู่ สงิ่ ท่สี ำคัญกวา่ นนั้ คอื การทำให้ ความอบอนุ่ ใจนี้ได้แผ่คลุมไปถึงความเหน็ เกย่ี วกบั วตั ถุประสงค์และความหมายของ ชวี ิตเพอ่ื ใหค้ นไข้ลามารถเห็นความหมายน้นั ถงึ แมว้ า่ ความเจ็บไข้ของเขาจะลน้ิ สดุ ลงด้วยความตายหรือการสญู เสียความลามารถทางกายภาพบางประการก็ตาม เปน็ ทน่ี า่ สงั เกตวา่ ความอบอนุ่ ใจจะหยิบยน่ื ใหก้ นั ดว้ ยปากหรอื ดว้ ยการโตค้ ารมหา เหตผุ ลหาไดไม่ แตจ่ ะเกดิ ขน้ึ ไดโดยทางออ้ มผ่านความเชอื่ ขนั้ มูลฐานของ อศจ. การระบายอารมณก์ ็เซน่ เดียวกนั ไดข้ ้ึถึงความหมายสำคญั ของการช่วย คนไข้ให้ปล่อยอารมณท์ างไม่ดอี อก กฎ วิธีการ เทคนคิ และทศั นคติ ท่กี ล่าวไว!้ น หนงั สือน้ีมีประโยซน่ไนทกุ กรณ์ ในทซี่ ึง่ คนไขม้ ไิ ด้ปว่ ยดว้ ยโรคจติ การพดู จาจะเป็น ประโยชนต์ อ่ คนไขเ้ ป็นอันมาก แตใ่ นกรณ์ที่คนไขถ้ ูกรบกวนทางจิต อศจ. ควร ปรึกษาหารอื กบั จติ แพทยผ์ ู้เป็นเจ้าของไข้
(5 )(^9 พระธรรมนเทศทวยหาญ (อยู่ อดุ มศลป ป. ๙) อ1ฑุาสนา!ารยกองทหารไทยโบสงครามโลกค*4V (5) กำลไบอนผลไมแ้ ก่ทหารเจบไข้ ณ รพ. ลุกเซมเบก กรงุ ปารส
๑๙
๒๐ บทที่ ๓ อศจ. ประจำหนว่ ยกบั โรงพยาบาล ๑. บทน่า -------- •ว^®^-**---------------- อศจ. ประจำหนว่ ย มหี น้าที่เยีย่ มผเู้ จ็บปว่ ยในกรมกองของตน ใน ความร้สู ึกรบั ผดิ ชอบต่อคนไข้ ให้ อศจ. ดำเนนิ ไปตามระเบียบแบบแผนและ จรรยาบรรณทส่ี บื ตอ่ ๆ กันมา การไข้ อศจ. ทที่ ำงานอยู่ภายใน รพ. เอง สำหรับ เยยี วยาให้ไดผ้ ลทางจติ ใจนั้นหาเพยี งพอไม่ เพราะผเู้ จ็บปว่ ยยังตอ้ งการตดิ ต่อกับ หน่วยของเขาเองอกี และผทู้ ี่เหมาะทีส่ ดุ สำหรับทำการตดิ ต่อดงั กลา่ วกค็ อื อศจ. ของหนว่ ยนนั้ เซ่น ทหารเจ็บปว่ ยจาก กซ. ราชบรุ ี ถูกล่งตัวไปรกั ษาอยทู่ ี่ รพ. พระ มงกุฎเกลา้ นอกจาก อศจ. สว่ นกลาง หรอื อศจ.รพ. ไปเยี่ยมเปีนประจำแลว้ อศจ. กซ. ควรหาโอกาสไปเย่ียมดว้ ย เพราะคนไขม้ คี วามค้นุ เคยกบั อศจ. ประจำหนว่ ย มากอ่ น เมอื่ เห็นหนา้ จะมคี วามรสู้ ึกเสมอื นญาติผ!ู้ หญ่เดินทางไปเยยี่ ม ย่ิงไดพ้ ีงขา่ ว ทางบ้าน ขา่ วเก่ยี วกบั ญาติพ่นี ้อง เพ่อื นฝงู แมก้ ระทงั่ ดินฟา้ อากาศ จากปากดำของ อศจ. ประจำหนว่ ยเองแลว้ ย่อมจะไดผ้ ลทางจิตใจมากทีเดยี ว การทำงานกับผู้ เจ็บปว่ ยจะบงั เกิดผลดีทสี่ ดุ น้ัน อศจ. จะต้องทำงานอยา่ งมีระเบียบ การหาขา่ ว ภายในหนว่ ยท่ีจะได้ผลเพยี งพอต้องมกี ารวางแผนงาน อศจ. จะแนใ่ จวา่ ตนทำการ เยี่ยมไขเ้ หมาะกับเวลาทีค่ นไข้ตอ้ งการหรอื ไมน่ ัน้ กโ็ ดยอาศัยการไปเย่ยี มคนไข้เปีน กิจประจำ การบรกิ ารท่ีจะได้ผลในยามทกุ ข์ยาก อศจ. ควรสร้างพ้ืนการไปเย่ยี ม ติดต่อกันไปเป็นประจำเพอี่ แสดงให้เห็นว่าเป็นผลู้ นใจตอ่ ลวลั ดิภาพในคนของตน ๒. การวางแผนเพ่อื หาขา่ วโรงพยาบาล ๒.® แจง้ ความของ อศจ. อศจ. ประจำหนว่ ยควรรเิ ร่มิ ระบบใหม้ กี ารลง่ รายงานมายงั สำนกั งานของ ตนเพอ่ี ให้แน่ใจวา่ เมอื่ มีคนทอี่ ยู่ในความรับผดิ ขอบทางจติ ใจถูกล่งลงปว่ ยจะได้ ทราบในทนั ที อศจ. ควรไปเยย่ี มบุคคลนนั้ ให้เร็วทีส่ ดุ เทา่ ทีจ่ ะทำได้ การติดตอ่ ทีท่ ำ แตเ่ ริม่ แรกที่คนไขถ้ ูกล่งลงป่วยจะทำให้งานภายหลงั มปี ระสิทธิผลมากขน้ึ การ อาศยั แต่ใบรับไข้ที่ รพ. เวียนใหท้ ราบเองนั้น มกั ไมเ่ ปน็ การเพยี งพอและทันตอ่ เหตกุ ารณ์ เพราะบางครงั้ ก็เกดิ ความล่าข้าเนอื่ งจากจะต้องลง่ ผา่ นศูนย์รวมข่าว อศจ. ควรสรา้ งระบบอันหน่งึ ขน้ึ ในหนว่ ยเพอี่ ให้มีความล่าข้าน้อยทส่ี ดุ ในบาง สถานการณแ์ ผนกแพทย์ภายในหนว่ ยอาจเก็บข่าวใหท้ ันสมยั สำหรบั อศจ.ได้ล้า
๒๑ ผบ.หน่วยให้ความรว่ มมอื การเข้าใกล้ชดิ ขา่ ววธิ ีหนง่ึ คอื อาศยั ให้ บก.ร้อย แต่ละ แห่งแจง้ ข่าวไปยัง อศจ.โดยตรง อาจทางโทรศพั ท์กไ็ ด้ เนื่องจากเสนาธกิ ารฝา่ ย ธุรการของกองพันสามารถลว้ งขา่ วไดด้ ีทสี่ ดุ เกี่ยวกบั ทหารในกองพันและทหารท่ีสง่ ลงปว่ ย ฉะนน้ั อศจ. ควรรวมบุคคลเหล่านั้นเข้าในแผนดว้ ย ณ ท่ีใด อศจ. กำลัง ปฏบิ ตั ิงานอยใู่ นระดับเหนือกองพัน รายงานตา่ งๆ ควรถูกรวบรวมท่ีกองพนั แลว้ ส่ง ตรงไปยังสำนกั งาน อศจ. ในการสรา้ งระบบการรายงานเกย่ี วกับการสง่ ผ้ใู ต้'บังคบั บญั ชาลงปว่ ย อศจ. ควรปรึกษาหารือกับคณะผ้บู ังคบั บญั ชาอนื่ ๆ การริเรม่ิ ระบบรว่ มมือดังกล่าว นม้ี ปื ระโยชนท์ ำใหม้ นั่ ใจในความร่วมมอื ของผบู้ งั คบั บญั ชาและทำให้แนใ่ จว่าเราได้ เลอื กเอาระบบท่ถี กู ตอ้ งเหมาะลมแล้ว ๒.๒ อศจ. หนว่ ยกบั เจา้ หนา้ ทีข่ อง รพ. เพือ่ ทำให้การเยย่ี มของตนมปื ระโยชนม์ ากที่สดุ อศจ. ประจำหน่วยควร สร้างความสัมพันธอ์ นั ดีกบั หัวหนา้ พนกั งานชอง รพ. ควรรู้จัก อศจ. รพ. รู้จัก เจา้ หน้าทๆี่ ทำงานอยทู่ ีโ่ ตะ๊ ลอบถาม รู้จักเจ้าหนา้ ทีร่ ับและจดั คนไข้ ควรรูจ้ กั แพทยแ์ ละพยาบาลให้มากท่ีสุดเทา่ ท่ีจะเป็นไปไดใ้ นการเยย่ี มรพ.ทกุ คร้งั เม่ือ เปน็ การเหมาะลมท่จี ะทำได้ อศจ. ประจำหน่วยควรตดิ ต่อกับ อศจ.รพ. ทกุ ครงั้ อศจ. ประจำหน่วยลามารถทราบจาก อศจ.รพ. ว่าคนไข้ของตนมคื วามตอ้ งการ พิเศษอะไรเกิดขนึ้ ในเวลาฉกุ เฉิน อศจ.รพ. จะทราบดี จะไดพ้ า อศจ. หน่วยไปที่ นั่นโดยดว่ นเพราะเวลามักเปน็ ส่ิงสำคญั อีกอยา่ งหน่งึ อศจ. หนว่ ยอาจหาข่าวท่ี จำเป ็น เก ่ียวก บั ค น ไข แ้ ล ะป ญ้ ห าช อ งเข าเห ล ่าน ้ัน น อ ก รพ .ม าให อ้ ศ จ. ได้ ความสมั พันธซ์ ่งึ กนั และกนั ยอ่ มอำนวยประโยชนใ์ ห้แก่ อศจ. ทั้งลองฝา่ ย อศจ. หนว่ ยจะพบว่า การสรา้ งสมั พันธภาพกบั พนักงานท่ีโตะ๊ ลอบถามใน รพ. มีประโยชน์มากที่สุด โทรศพั ท์ฉกุ เฉินท่เี รียกไปยัง อศจ. หนว่ ยในระหว่างเวลา กลางวนั และท่เี รียกไปยัง อศจ. เวรในตอนดกึ และเขา้ ตรู่จะผา่ นทางสำนกั งานนี้ ถา้ พนกั งานทนี่ นั่ รจู้ กั อศจ. หนว่ ยและทราบวา่ จะตดิ ตอ่ ไปยงั ท่ที ำงานหรอื ยงั ท่ีพกั ชอง อศจ.อยา่ งไรแลว้ เขาก็จะสง่ ข่าวสำคัญนั้นไปให้อศจ.โดยเรว็ สมั พันธภาพ อนั ดจี ะทำใหพ้ นกั งานเหล่าน้นั มืแกใ่ จเลาะหาควั อศจ. เม่ือเวลาตอ้ งการตวั อศจ. ควรจะรว่ มมอื กบั แผนกลอบถาม โดยแจง้ ให้เขาทราบวา่ ตนมาถงึ รพ. เมอ่ื ไร และ ออกจาก รพ. ไปเมอ่ื ไร โดยการทำเขน่ นี้ เจ้าหน้าที่ๆโตะ๊ แผนกลอบถามจะทราบ
1อ1อ วา่ อศจ.ไดเ้ ขา้ มาอยู่ในตึกของ รพ. เมอ่ื ไร และจะติดต่อได้อย่างไรขณะอย่ทู ีน่ น่ั การร่วมมอื กนั อยา่ งใกลช้ ิดเซน่ น้นั จะทำให้แนใ่ จวา่ การสืบขา่ ว รพ. จะทำได้ รวดเร็ว อนง่ึ เวลามกั เปน็ สิง่ มืดวามสำคญั มากทส่ี ุด ภายใน รพ. อดจ. จะเกดิ ความรสู้ กึ ว่าเวลาทตี่ นใขไ้ ปในการแสดงความสนใจในบคุ คลทต่ี นรว่ มทำงานด้วย นน้ั มืคุณประโยชนม์ าก เปน็ ธรรมดาคนเราเม่ือรู้จกั คนทกี่ ำลงั ทำงานเกย่ี วขอ้ งกับ ตนย่อมจะใหก้ ารตอบสนองอันอบอุ่นมากกวา่ คนทีต่ นไม่รู้จัก แผนกรับและจัด คนไขเ้ ข้า รพ. ก็มคื วามสำคญั ตอ่ งาน อศจ. เซ่นเดียวกัน ในเวลาราชการขา่ ว ฉกุ เฉินมกั ส่งผา่ นแผนกนี้ เจ้าหน้าทีผ่ ปู้ ฏบิ ตั ิงานอยทู่ นี่ น่ั ย่อมทราบการเตรยี มการ ดำเนนิ งานซงึ่ ตอ้ งทำระหวา่ งเวลาฉกุ เฉนิ และอาจให้คำแนะนำ อศจ. ในเรอ่ื งทม่ี ื ความจำเปน็ โดยเฉพาะ ล้า อศจ. เปน็ ที่รู้จักของเจ้าพนกั งานในแผนกดังกลา่ วนี้ก็ จะโนม้ นา้ วจติ ใจของพวกเขาให้ตดิ ตอ่ ไปหา อศจ.โดยตรง เม่อื เวลาตอ้ งการตวั และเป็นการประหยัดเวลา การติดตอ่ โดยตรงเซ่นนค้ี วรกระทำเพ่อื รบั เหตกุ ารณ์ ฉุกเฉนิ ท่เี กิดข้ึนเท่านน้ั เมอื่ ทำการติดตอ่ โดยทางลดั กไ็ มค่ วรงดการติดตอ่ ตามปกติ เลยี เพื่อแสดงมารยาทอันดงี ามและเพ่อื ให้ อศจ.รพ. ลามารถบรกิ ารไดท้ นั เหตุการณ์ อศจ. ควรแจง้ ให้ อศจ.รพ. ทราบโดยเร็วเท่าที่จะทำได้ อศจ. หน่วยทฉี่ ลาดยอ่ มทำความรจู้ กั กบั แพทย์และพยาบาลใน รพ. ให้มากทสี่ ุดเทา่ ทจ่ี ะเป็นไปได้ เขาจะปรึกษาหารอื กับพยาบาลประจำตกึ เก่ยี วกับ คนไขท้ ่ีมาจากกรมกองของตน จะแจง้ การมาเยย่ี มไขข้ องตนให้พยาบาลประจำตึก ทราบทกุ ครงั้ และควรห าเวลาส น ท น ากับ บ ุคคลเห ลา่ น น้ั บ ้างตาม ควร พวกพยาบาลยอ่ มจะสังเกตเห็นความตอ้ งการทางอารมณข์ องคนไขไดเ้ รว็ กว่า แพทย์ เพราะแพทยไ์ มค่ ่อยมืโอกาลอยคู่ ลุกคลกี ับคนไข้ อศจ. อาจต้องการเห็น แพทยท์ ำการรักษาพยาบาลคนไข้บางรายซึ่งมาจากหนว่ ยของตนเพอ่ื ไม่ใหเ้ ลยี เวลา โดยไมจ่ ำเปน็ อศจ. ควรทำการตดิ ตอ่ นดั หมายไวล้ ่วงหน้า แพทยอ์ าจรู้สกึ สะดวกที่ จะแนะนำ อศจ. ตามปญั หาทค่ี นไข้กำลังเผชญิ อยเู่ พอ่ื ว่า อศจ. อาจชว่ ยเหลอื ได้ มากข้นึ บางครง้ั บางคราว อศจ. อาจมขี า่ วสำคญั ตอ่ งานของแพทยม์ าให้ในทกุ ๆ กรณี อศจ. จะตอ้ งระมดั ระวังเพ่ือทำให้แนใ่ จว่าตนจะไม่ทำลายความไวว้ างใจท่ี ผู้อ่นื เคยมตื ่องานอาชีพของตน ใน รพ. บางแห่งอาจเป็นการดกี ว่าสำหรับ อศจ. ประจำหนว่ ยที่จะทำงานผ่านทาง อศจ.รพ. ทง้ั การให้ขา่ วและการหาข่าวจาก แพทยห์ รอื อย่างนอ้ ยท่ีสดุ ในการเตรียมการนดั หมายเพราะ อศจ.รพ. ย่อมจะมื ความสัมพนั ธท์ างการงานกับแพทย์อยแู่ ล้ว ขอ้ สำคญั อีกอย่างหนึง่ คอื ว่า “ผ้ทู จี่ ะทำ
๒๓ การตดิ ตอ่ กบั คนไข้จะตอ้ งระมดั ระวงั ว่า คนไขแ้ ตล่ ะคนกำลงั ทำและกำลังคิด อะไร” มิฉะน้นั คนไขจ้ ะไม่ไตร้ บั การรกั ษาพยาบาลท่เี ขาตอ้ งการ ๓. อนศุ าสนาจารย์เวร แมจ้ ะมีอศจ.บรรจอุ ยู่ตามรพ.แลว้ กต็ ามแตส่ ถานท่ีต้งั กองทหาร ส่วนมากจะจดั บัญชรี ายซื่อทหารพร้อมระบุหนา้ ท่ๆี ไดร้ ับมอบหมายตามวาระไว้ เพอื่ อศจ. เวรจะได้สืบข่าว รพ. ในเวลากลางคนื ในเวลาหลงั เวลาราชการหรอื เมือ่ อศจ. หนว่ ยตามหาตัวยาก อศจ. ผู้รับหนา้ ทเี่ วรยามควรระมัดระวังเหตุฉุกเฉนิ เป็น พเิ ศษและควรแจง้ ให้ อศจ. หน่วยท่ีเกยี่ วขอ้ งทราบเรว็ ทสี่ ดุ เท่าทจ่ี ะทำได้ อศจ. หนว่ ยควรใหค้ วามร่วมมือโดยทำตวั ให้ตามหาไดง้ ่ายเพอื่ สามารถติดตอ่ ได้ทันท่วงที เม่ือถกู ตอ้ งการตัว ถา้ มคี วามจำเป็นต้องไปไกลจากเครือ่ งรับโทรศัพทแ์ ลว้ อศจ. หน่วยควรส่งั เจ้าหน้าท่ปี ระจำไวว้ ่าตนจะไปไหนและจะกลับเม่ือไร อย่างดีทส่ี ดุ ที่ อศจ. เวรสามารถจะทำไดค้ อื การเสนอข่าวฉกุ เฉินเทา่ น้นั ภารกจิ ตอ่ จากน้ันเป็น หน้าทีๆ่ อศจ. หน่วยจะต้องปฏบิ ตั ิ ๔. สรปุ ความ การหาข่าวตาม รพ. ท่ีได้ผลจะตอ้ งมีระเบยี บคำส่งั จะชว่ ย อศจ. หนว่ ยใน การรเิ รม่ิ แผนอันพอเพียงสำหรับการหาขา่ วเข่นน้นั ทงั้ จะเปน็ เครอ่ื งประกันวา่ คน อืน่ ๆ ภายในหน่วยจะไดท้ ราบว่า อศจ. กำลังวางแผนทำอะไร เพ่ือว่าเขาเหลา่ น้ัน จะสามารถสนับสนนุ ภารกิจของ อศจ. อศจ. หน่วยจะพบว่า การทำการติดต่อเป็นสว่ นตัวกบั เจ้าหนา้ ท่หี ลกั ใน รพ. เปน็ ส่ิงมปี ระโยชน์มาก สม้ พนั ธภาพสว่ นตวั ทด่ี กี บั พนักงาน รพ. จะประหยัด ข้นั ตอนต่างๆ อนั เปลา่ ประโยชน์และประหยัดเวลาอันมคี ่าซึ่งมคี วามสำคญั มาก สำหรับการทำงานใหม้ ปี ระสทิ ธิผลต่อคนไข้ อศจ. หนว่ ยจะพบวา่ ความร่วมมอื กนั กับแพทย์ พยาบาล และอศจ.รพ. ลามารถทำให้งานภายใน รพ. ของตนมีพลัง เข้มแขง็ ขน้ึ ท้งั แพทยแ์ ละ อศจ. ต่างกม็ ีความเอาใจใสใ่ นลวัลดิภาพของคนไข้ ดว้ ยกนั ท้งั นัน้ ฉะน้นั จึงไม่มสี ิ่งใดจะมาขดั ขวางการทำงานรว่ มกนั ดว้ ยดีเข่นน้ี ดว้ ยการวางแผนอันรอบคอบและเป็นระเบยี บ อศจ. หนว่ ยย่อมจะ ลามารถทำการเยยี่ มไข้ซึ่งเป็นความรับผดิ ขอบสืบเนอ่ื งกนั มาของ อศจ. ใหบ้ รรลผุ ล สำเรจ็ ดีขึ้น
๒๔ การไหว้แบบอัฏฐางคประดิษฐ์ ของซาวทเิ บต
๒๕ บทท่ี ๔ ขอ้ พิจารณาท่วั ไปบางประการ ๑. สขุ ภาพคอื อะไร ? การจะจำกัดความลงไปวา่ “สุขภาพคืออะไร ?” นน้ั เป็นการยาก บาง คนอาจเห็นวา่ บคุ คลผสู้ ามารถประกอบหนา้ ทกี่ ารงานและมีความสมั พนั ธท์ าง สงั คมกับผอู้ ่ืนตอ่ เนอื่ งกนั อย่างเพยี งพอซอ่ื ว่าเป็นคนมีสฃุ ภาพ แตค่ ำวา่ “อยา่ ง เพียงพอ” นัน้ ใครเล่าจะกำหนดลงได้ว่า หมายถึงแคไ่ หนเพียงไร คนเปน็ อนั มาก ถือวา่ สขุ ภาพทางกายอาจมีได้ ถึงแมผ้ ูน้ ั้นจะสญู เสยี แขน ขา หรอื อวยั วะส่วนอนื่ บางสว่ นไป การซดเขยอวัยวะสว่ นใดสว่ นหนง่ึ ทีส่ ูญเสยี ไปเซน่ นนั้ เป็นสิง่ ทเ่ี ป็นไปได้ ถา้ หากคนไข้วางตวั ไดถ้ กู ต้องเหมาะสม บางคนเหน็ วา่ ถา้ รา่ งกายของผ!ู้ ดสามารถ จัดระบบตวั มันเองถงึ ขนาดท่สี ามารถทำใหช้ ีวิตดำเนินตอ่ ไปไดแ้ ล้วผูน้ ้นั ซ่ือว่ามี สขุ ภาพ แตม่ ีคนไม่นอ้ ยถอื ว่ารา่ งกายท่ีมีสมรรถนะอันสงู สง่ ในการปฏิบัติหน้าท่จี งึ ซื่อ'วา่ มีสุขภาพ ถา้ ถอื ตามทศั นะน้จี ะมีนอ้ ยคนเหลือเกินทซี่ ่อื ว่ามีสฃุ ภาพ ด้วยการเนน้ รับรองเอกภาพของกายและจติ เมื่อเร็วๆ นี้ ทำใหแ้ นซ่ ดั วา่ สขุ ภาพแหจ้ ริงจะมไี มไ่ ด้ถ้าปราศจากสขุ ภาพจติ การทจ่ี ะให้คำจำกัดความ “สุขภาพจิต” ยงิ่ ยากข้ึนไปอีก เม่ือพูดถงึ สขุ ภาพจติ เราหมายรวมทัง้ ๒ ดา้ น คอื ท้งั สติป้ญญาและอารมณ'์ ของคน ถ้าอาการกริ ยิ าของบุคคลใดที่มตี อ่ บคุ คลอื่นกค็ ื ตอ่ ตวั เองกค็ ื และตอ่ ความตอ้ งการของชวี ิตแห่งคนก็คื เปน็ อาการกิรยิ าท่ีทำไปด้วย ความรา่ เรงิ แจ่มใสแลว้ กอ็ าจกลา่ วไดว้ ่าผ้นู ้ันมีสุฃภาพจติ อยา่ ลมื ว่าอารมณ์ยอ่ ม ก่อใหเ้ กดิ ผลทางกายได้ทง้ั ๒ ทาง คือทง้ั ความผาสุกและท้งั ความทุกข์ทรมาน ในทางตรงกันขา้ มโรคทางกายและความย่งุ ยากตา่ งๆ ทางกายกอ็ าจสรา้ งป้ญหา ทางอารมณใ์ หเ้ กิดข้ึนไดเ้ ซน่ กนั อย่างไรกต็ าม ถา้ ผู้!ดดำเนนิ ชีวติ ของตนไปดว้ ย ความเข้มแขง็ เด็ดเดย่ี วแล้ว ผ้นู ้ันก็อาจเอาชนะทุกข์และพบสขุ ได้ทั้งๆ ทส่ี ขุ ภาพ ทางกายของเขาจะไมล่ มบรู ณ์กต็ าม ดร.นาธาน ดับลวิ จัดเดอรแ์ มน นักจติ วิทยา ยคุ ใหมไ่ ด!้ หค้ ำจำกัดความ “สขุ ภาพ” ไวในหนงั ลอื ของเขาไวต้ ังนี้ “สุขภาพจติ มิใซค่ ุณภาพคงท่ีๆ จะเป็นสมบัติของผู้หนึง่ ผ!ู้ ดโดยเฉพาะ และมใิ ซ่เป็นสงิ่ ทนทาน เราจะมสี ฃุ ภาพจิตก็โดยการ‘ฝึกท่กี ระทำต่อเนือ่ งกันไป
๒๖ เทา่ นัน้ และโดยความกลมกลืนทางความรสู้ ึก และการสนับสนุนของผูอ้ น่ื อันทจี่ รงิ สขุ ภาพจิตเปน็ ผลของการทำงานเฉพาะตวั ทไ่ี ด้ดลุ ยภาพกันและในเซงิ สรา้ งสรรค์ อันทำให้ความเกีย่ วพันทางสงั คมบรรลุผลสำเรจ็ มนั เปน็ ผลของความสามารถที่ ซอ่ นเรน้ อยูภ่ ายในของแต่ละคนท่ีรวมกลุ่มกันอยู่ สขุ ภาพจติ หมายถงึ การ ปฏิบัตกิ ารท่ีประสบผลสำเรจ็ และทนี่ า่ พงึ พอใจ ในความหมายทัว่ ๆ ไป มนั หมายถึง จิตที่ถงึ ความเจริญเต็มท่ี มีความม่ันคง จิตทม่ี องเห็นสภาวะต่างๆ ตามความเป็น จริง มคี วามรู้สกึ รบั ผิดขอบทางสังคม และทม่ี ีการรวมกนั เป็นหนว่ ยอนั ทรง ประสิทธผิ ลทั้งในการทำงาน และในดา้ นมนษุ ยสมั พันธ์ มนั หมายถึงความม่ันใจ และกำลงั ใจในการเผชิญหน้ากบั ประลบการณใ์ หม่ๆ มนั หมายถึงระบบอนั มคี า่ ซ่งึ ในระบบนี้ ลวัลดภิ าพของแต่ละคนมสี ว่ นผูกพันธ์กับลวัลดภิ าพของผู้อื่น กลา่ วอีก นัยหน่ึง มันหมายถงึ ความเกี่ยวโยงทางความดรี ่วมกนั ดังกล่าวแลว้ สุขภาพจิตคือ คณุ ลกั ษณะทด่ี ฃี องการมชี วี ติ อยู่และการดำเนนิ ชีวิต การปรบั ปรงุ เฉพาะตวั ท่ดี จี ะ สำเรจ็ ผลได้กโ็ ดยการดนิ้ รนต่อเนอื่ งกันไป เราจะมีลงิ่ นไ้ี มไ่ ดถ้ ้าแยกตวั ไปอยผู่ ้เู ดียว เพราะความสามคั คที างอารมณก์ บั ผอู้ ื่นทนี่ ่าพงึ พอใจเป็นสิ่งสำคัญในการคุม้ ครอง รักษาสุขภาพจติ สุขภาพจิตมใิ ซ่เกยี่ วกับความกลมกลนื กันทเี่ ปน็ ไปในภายใน เท่านั้น แต่เป็นความกลมกลนื ที่เกย่ี วเน่ืองกบั คนอ่ืน ครอบครัว และสังคมอีกดว้ ย สุขภาพจิต หมายถึงความลามารถทจี่ ะเติบโต ทจี่ ะเรียนรู้ ทจ่ี ะมชี ีวติ อยอู่ ยา่ ง ลมบูรณ์ ที่จะรัก และทีจ่ ะเฉลี่ยการเลี่ยงอันตรายของชวี ิตรว่ มกับผู้อื่น” ๒. ความเจ็บไข้คอื อะไร ? แน่นอน ความเจบ็ ไข้คือการจากไปจากภาวะที่เรยี กว่าสุขภาพ ความเจ็บ ไขอ้ าจกำหนดรไู้ ม่ได้ จนกว่าการปฏิบตั ิหนา้ ท่อี นั เหมาะลมจะหยุดชะงักลง พดู อกี นัยหน่ึง ความเจบ็ ไขอ้ าจกำหนดรู้ได้ตอ่ เมื่ออนิ ทรียไ์ ดผ้ ันแปรไปจากสุขภาพและ กอ่ นท่ีความเล่ือมโทรมจะปรากฏซัด ตามทศั นะทางศาลนาถือว่า ความเจบ็ ไขเ้ ป็น ทุกขอ์ นั หนง่ึ ของชวี ติ และทว่ี า่ ทกุ ข์ๆ นั้นเพราะทนไดย้ าก ๓ . ปัญหาทว่ั ไปบางประการ อศจ.รพ. ควรทำงานกับคนไขได้ทกุ ประเภท การที่ อศจ. คิดวา่ จะใช้ เวลาปฏิบตั หิ นา้ ท่ีของตนเฉพาะกับคนไขท้ ไ่ี ดร้ บั ความยงุ่ ยากทางจติ ใจซง่ึ บางทีเรา หมายถึงกลุ่มคนที่เจ็บปว่ ยทางสมองเทา่ น้ัน ความคิดเซ่นนเ้ี ปน็ ทัศนะทีผ่ ิดเพราะ คนไขธ้ รรมดาสามัญใน รพ. ย่อมอยู่ภายใต้ความกดคันทางจติ ใจเหมอื นกนั และ
๒๗ อศจ. ย่อมสามารถให้ความช่วยเหลือดว้ ยการเขา้ ใกล้และโดยการคลคี่ ลายความ กดดันทางจติ ใจนนั้ ได้เสมอ เพยี งการเขา้ ไปรกั ษาตัวอยใู่ น รพ. ก็โนม้ เอียงใหเ้ กิด ปญั หาใหม่ขนึ้ แก่คนไข้แลว้ การคาดคะเนไว้ลว่ งหนา้ วา่ “คนไข้ส่วนมากท่ีสุดใน รพ.ไม่มีปญั หาไรๆ” นัน้ ยอ่ มเป็นความคิดทผ่ี ดิ เพราะการเขา้ ไปอยูใ่ น รพ. น่นั แหละกเ็ ปน็ ปัญหาอนั หนึ่งแล้ว ขอบเขตแห่งความยุ่งยากบางประการที่คนไขต้ าม รพ. มักประลบกนั มีดังนี้ ๓.® ความรสู้ ึกว่าถูกทอดทง้ิ จะดว้ ยความสำนกึ หรอื ไรค้ วามสำนกึ กต็ าม ในเวลาเจบ็ ไข้ คนเรามักจะ ตีความหมายเอาเองวา่ “ตวั ถูกทอดทิง้ ” บางคนโทษโชคซะตาชวี ติ ของตนเอง บาง คนโทษเทพดาฟ้าดิน บางคนก็โทษเพอื่ นมนุษยด์ ว้ ยกนั วา่ ทอดท้ิง ด้วยความรู้สึกวา่ ตนเองถกู ทอดทิ้งนแ้ี หละเปน็ พลงั ผลักดนั จิตใจคนไขใหก้ ลายเป็นคนเจา้ อารมณ์ เขาอาจจะโกรธผมู้ าเยย่ี มดว้ ยลาเหตเุ พยี งวา่ คนเหลา่ นัน้ ไม่ป่วยไข้ ลกุ เดนิ เหนิ ได้ หรอื เห็น อศจ.รพ. ที่กำลงั ยนื อยนู่ ้ันวา่ เป็นการชม่ ขู่ตนซึง่ ไม่ลามารถจะยนื ได้ ความคดิ ทวี่ า่ ตนถกู ทอดทงิ้ เปน็ ความรสู้ ึกของคนไขต้ าม รพ. ทว่ั ไป ๓ . ๒ ความโดดเดยี่ ว ปญั หาทั่วๆ ไปอกี ขอ้ หน่ึงของผทู้ ี่เข้ารักษาตัวอยูใ่ น รพ. คือความเปล่า เปล่ยี วซง่ึ เกดิ จากความโดดเดีย่ ว คนไข้ไน รพ. ถูกตัดขาดจากครอบครวั และ เพื่อนๆ จะมีก็แตเ่ พียงการเย่ยี มเยียนชั่วครูช่ ั่วยามตามเวลาท่ี รพ. กำหนดไว้ เท่าน้ัน คนไข้ไม่ลามารถเห็นผู้ท่ตี นรกั ใครห่ รือผ้ทู ่ตี นขอบพอคนุ้ เคยได้ตามต้องการ ในกรณโี รคติดต่อ ความโดดเดี่ยวย่งี มีมากขึน้ อน่ึง ผูท้ ีด่ ้องนอนแซ,่วอยู่'บนเตยี ง'โดย ไมไ่ ดร้ ับอนญุ าตใหล้ ุกข้นึ เลยย่อมจะมคี วามโดดเด่ียวมากทีส่ ุดเช่นกัน ความรสู้ กึ โดดเดี่ยวผสมกับความโกรธมกั จะแผ่ลร้านในกิรยิ าทา่ ทางของคนไขท้ ีร่ ักษาตวั อยู่ ใน รพ. ความโดดเด่ียวอาจไม่กอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาอะไรมากนกั แกผ่ เู้ ตบิ โตแล้วทาง อารมณ์ผู้ซ่งึ ลามารถมองชีวิตตามหลกั ความจริง แต่มันเป็นปัญหาสำหรบั คนส่วน ใหญ่ อยา่ งน้อยทีส่ ุดคนเราก็เป็นสตั วเ์ มอื ง ความสัมพนั ธท์ างสังคมเป็นความสขุ ของเขา ส่งิ ใดกต็ ามทร่ี บกวนความรสู้ กึ เปน็ อันหนึ่งอนั เดียวกบั คนอื่นๆ แลว้ ก็จะ สร้างปัญหาขนึ้ ในความรู้สกึ ของเขา คนไข้ตาม รพ. อยู่ในฐานะกลุม่ ซนผู้มีปัญหา เรื่องความโดดเดีย่ ว คนไขบ้ างคนพบกบั ความโดดเดี่ยวรนุ แรงกว่าคนอนื่ ๆ แตส่ รปุ แล้ว ความโดดเด่ียวย่อมมีแก่คนไข้ทุกคน
๒๘ ๓.๓ ปฏิกริ ิยาถดถอย ปฏิกริ ิยาถดถอย คือการถอยหลังกลับไปมอี ารมณอ์ ยา่ งทารก คนไขต้ าม รพ. มกั ถูกผลกั ดันไปสูป่ ฏิกิรยิ าถดถอย ยกตัวอย่างเซ่น คนไขไมส่ ามารถดแู ล ตัวเองอยา่ งสมบูรณ์เหมือนอย่างท่ีเขาเคยกระทำแต่กอ่ น มบี างสิง่ ท่คี นไข้แม้จะ เดนิ เหนิ ได้ แต่ไมส่ ามารถทำด้วยตนเอง เซน่ ไมส่ ามารถกลับหนว่ ยและดูแลรักษา รถของเขา เขาจะต้องพ่งึ พาอาศยั เพ่อื นๆ และเจา้ หน้าทใ่ี นสำนกั งานชว่ ยดูแล รกั ษาทรพั ย์สนิ ซงึ่ อยู่ในหนว่ ยทเี่ ขาทำงานอยู่ คนไขท้ เี่ ข้าไปพกั รักษาตวั อยู่ตาม รพ. จะตอ้ งพึ่งพาอาศัยคนอนื่ ๆ ให้ช่วยแกป้ ญั หายุ่งยากต่างๆ ช่วยให้เขาทำความ ละอาดเสือ้ ผา้ ถา้ หากเขาจะออกจาก รพ. ไปก็ช่วยใหเ้ ขาระมดั ระวงั สิ่งตา่ งๆ ทเ่ี ขา จะถือไปดว้ ยตนเอง และในอกี หลายๆ ทาง ปฏิกิรยิ าถดถอยนจี้ ะปรากฏซดั ในทๆี่ คนไข้เจ็บป่วยมากขนึ้ ถา้ หากคนไข้อยใู่ นอาคารท่ีแยกอยคู่ นเดยี วหรือคนไขท้ ี่ไม่ ลามารถลกุ จากเตยี งของเขาไดแ้ ล้วก็มีเรอื่ งท่จี ะตอ้ งให้ความชว่ ยเหลือมากข้นึ เขา จะตอ้ งไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื เกย่ี วกบั สขุ าภิบาลส่วนตวั เบอื้ งดน้ เขาจะตอ้ งได้รบั ความช่วยเหลือให้อาบนา้ี จะตอ้ งนำหมอ้ สำหรบั ถ่ายไปไวให้ เขาจะตอ้ งไดร้ บั การ เฝาื ดูแลอยา่ งทารก ผู้ทเ่ี ตบิ โตเปน็ ผูใ้ หญแ่ ลว้ โดยทั่วไปย่อมซัดเคอื งต่อสภาพจำ ยอมที่ตอ้ งกลับมาเปน็ อยา่ งทารกอกี เขาต้องการยืนอยู่บนขาของเขาเอง เมอื่ เขา ไม่ลามารถทำเชน่ นนั้ เขาย่อมจะรสู้ กึ โกรธตอ่ ซะตาชีวติ และตอ่ ใครก็ตามท่มี า ติดตอ่ กับเขา ปญั หาต่างๆ ทม่ี ีลาเหตมุ าจากปฏิกิริยาถดถอยอาจเกิดขน้ึ โดยไม่ รู้สึกตวั แต่ อศจ.รพ. ทีไ่ วตอ่ ความรสู้ ึกและผึเกมาแลว้ จะสังเกตเหน็ ปญั หาเหล่านั้น จะยอมรับวา่ มันเปน็ สว่ นหน่งึ ของปญั หาท่ัวๆ ไปของผู้ที่เขา้ ไปรกั ษาตัวอยใู่ น รพ. ๔. ทศั นคติ คนไขแ้ ม้จะมปี ญั หามากมายในระหว่างพักรกั ษาตัวอยทู่ ี่ รพ. แต่ถา้ ตระหนกั แก่ใจว่าสขุ ภาพมีความสำคัญยิ่งต่อชีวิตแล้ว เขาก็จะปฏิบตั ิตวั ได้ดีตามกฎ ของ รพ. และตามคำแนะนา่ ของแพทย์ แตล่ า้ คนไข้มองไม่เหน็ คณุ คา่ ของสขุ ภาพ แลว้ การเขา้ ไปรกั ษาตวั อยูใ่ น รพ. กก็ ลบั จะเปน็ โทษตอ่ เขา ภารกิจท่ี อศจ.รพ. จะต้องทำอยูต่ รงจดุ นแี้ หละ ในฐานะเป็นตัวแทนของศาลนา อศจ. ยอ่ มจะเช่ือว่า ความรักอนั ประกอบด้วยเมตตานน้ั มีความหมายต่อชีวติ มนษุ ย์เรามาก และความ รกั นจ้ี ะต้องถกู แสดงออกมาให้ปรากฏในชวี ติ ของคนเรา มใิ ช่ลักแตว่ า่ ไปตามตำรา เทา่ น้นั ถ้า อศจ. เช่ือว่าความรักเปน็ บาทเปน็ พื้นลามารถบันดาลใหด้ ำรงอยู่ไดด้ ้วย
๒๙ ความผาสุกแล้วก็จะสามารถถ่ายทอดทัศนคตนิ ้ไี ปยังคนไขม้ ากหลายท่ีตนรับใช้อยู่ ประดุจต้นไทรใบหนาแผค่ วามร่มรนื่ ให้แกน่ กกาและผเู้ ดินทางทเ่ี ขา้ ไปพกั อาศัย ฉะน้ัน อศจ. อาจจะลืมไปว่า ตนมีคำตอบสุดทา้ ยเก่ยี วกบั ปญั หาเร่ืองความทกุ ข์ ทรมานและบางที อศจ. อาจไมร่ ู้สึกตัววา่ ตนเองลามารถเขา้ ใจปญั หาของคนไขได้ ถึงแม้ อศจ. จะลมื ไปเซน่ น้ีกเ็ ซอื่ กันว่า อศจ. ยังมคี วามหมายอยเู่ พราะทัศนคตเิ ปน็ ส่ิงถา่ ยทอดกันได้ อศจ. ทราบแล้วว่าคนไขม้ ักมีความรสู้ ึกวา้ เหวร่ สู้ กึ ว่าตนถกู ทอดทิง้ และมีความขุ่นเคอื งใจตอ่ ภาวะจำยอมท่ตี อ้ งไปอยู่ รพ. ดว้ ยความรสู้ กึ ตังกล่าวนเ้ี องท่ที ำใหแ้ สดงกริ ิยาอาการเป็นปฏปิ ักษ์ตอ่ ผู้อนื่ กิริยาอาการใดที่คนไข้ แสดงออกมาด้วยความโกรธกด็ ี แสดงความไม่เปน็ มิตรกับตนกด็ ี อศจ. จะต้องไม่ ตคี วามหมายกิริยาอาการนั้นวา่ เปน็ การขเู่ ข็ญ ความจรงิ มีอย่วู ่า เม่ือถูกคนไข้แสดง กริ ิยาอาการไม่ดตี อ่ ตน ถ้า อศจ. ไมล่ ุอำนาจความโกรธเลียเองแล้วก็นบั วา่ เปน็ การ เพม่ิ พลงั ใจให้แกค่ นไข้อยใู่ นตวั แลว้ ในฐานะเปน็ ตวั แทนทางศาลนา อศจ. ยอ่ มมี ความสำคัญตอ่ สุขภาพจิตของคนไข้ในบรรดาเจ้าหนา้ ท่ี รพ. ซ่งึ โดยบทบาทแทจ้ รงิ ของเขาแล้วไมม่ ีใครอืน่ ทจี่ ะทำงานอันมคี วามหมายตอ่ ชวี ติ ดา้ นนนี้ อกจาก อศจ. คนไขใ้ น รพ. สว่ นมากทสี่ ดุ มีปัญหาร้อยแปด อศจ.รพ. ท่มี สี มรรถนะเทา่ น้นั ที่จะ ชว่ ยได้ งานของ อศจ.รพ. จะปรากฏใหเ้ หน็ ได้ซัดวา่ มีความสำคญั เพยี งไรน้ันขน้ึ อยู่ ทว่ี า่ อศจ. จะสังเกตเห็นปัญหาตา่ งๆ ของคนไข้ใน รพ. ตงั กลา่ วนนั้ หรือไม่ ๕ . สรปุ ความ คนไข้ท่ีเข้าไปทำการรกั ษาตวั อยใู่ น รพ. มกั มีปัญหาต่างๆ อนั เน่อื งมาจาก ความร้สู กึ วา่ ตนถูกทอดท้ิง จากความว้าเหว่ และจากภาวะจำยอมทต่ี อ้ งกลบั ไปมี สภาพอย่างเดก็ ๆ คอื ชว่ ยตัวเองไม่ได้ ความรสู้ ึกเหล่าน้ีเป็นปัญหาทางจิตใจซงึ่ อศจ.รพ. เทา่ นัน้ จะชว่ ยได้ ทศั นะของคนไขท้ ีม่ ตี อ่ ชวี ติ กน็ ับวา่ เปน็ ปัญหาสำคญั อกี ประการหนง่ึ ถ้าคนไขร้ สู้ กึ ว่าชีวิตตนมีเสถียรภาพและเชื่อมัน่ ต่อกฎแห่งกรรมแลว้ เขาก็สามารถเผชิญกับความทกุ ข์ยากตา่ งๆ ไดอ้ ย่างอาจหาญ ถ้าคนไข้รสู้ กึ พ่ายแพ้ ต่อชวี ติ เสยี แล้ว ความป่วยไข้ของเขาจะปรากฏเปน็ ทวีคณู อศจ. ทีบ่ ำเพ็ญตนเปน็ ตัวอย่างแก่คนไข้ มคี วามเชอ่ื ม่ันในกฎแห่งกรรมและโอบอมุ้ ชว่ ยเหลอื คนไขอ้ ยา่ ง จรงิ ใจเท่านัน้ ท่จี ะช่วยแกป้ ัญหานีไ้ ม่มใี ครอน่ื ใดในบรรดาเจ้าหน้าท่ขี อง รพ. ท่ีจะ ทา่ งานน้แี ทนอศจ.ได้ล้า อศจ.ใส่ใจในปญั หาของคนไข้ท่เี ข้าไปรับการรกั ษาตัว
๓๐ อย่ใู น รพ. อย่างจริงจังแล้วก็อยใู่ นสภาพพร้อมทจ่ี ะช่วยเหลอื คนไข้ ในปัญหา เหลา่ น้ี อศจ. สามารถจะชว่ ยเหลือคนไขไดก้ ็ต่อเมื่อทำไวในใจเสมอว่า “คนไขม้ ีค่า ควรแกก่ ารชว่ ยเหลอื ” อศจ. สามารถช่วยบรรเทาความว้าเหว่ของคนไขโดยการ เยยี่ มอนั สมํา่ เสมอและสามารถจดั การปัญหาที่ตอ้ งกลับไปมสี ภาพอย่างทารกโดย การช่วยคนไข้ใหย้ อมรับและเขา้ ใจความรสู้ ึกของเขาใหเ้ ขาช่วยตวั เองได้ อศจ. ควร จำไว้ว่า ความประสงค์อันสุดท้ายคือ ใหค้ นไข้ควบคุมตนเองได้ไมค่ อยพ่งึ พาแต่คน อ่นื งาน รพ. จะมีคา่ มากท่สี ดุ หาก อศจ. มกี ารตัดสินแน่นอนเกี่ยวกบั เรอื่ งของชวี ติ เดVI &/ ซากของมหาวทิ ยาลัยนาลนั ทา
๓๑ บทท่ี ๕ แผนกอายุรกรรม ๑. ขอ้ ควรพิจารณาเป็นพเิ ศษ ตอนนจี้ ะกล่าวถึงเรอ่ื งราวทใี่ ซไ้ ดใน รพ. โดยทัว่ ไป รวมทั้งภายในแผนกอายุ รกรรมดว้ ย เพราะปัญหาคนไขในแผนกนี้เปน็ ปัญหาทวั่ ๆ ไปในงานของ รพ. อศจ. ซง่ึ ปฏิบตั ิหน้าที่ในแผนกนไ้ี มค่ วรสร้างปญั หาแต่ควรจะสำเหนียกในปญั หาซ่งึ อาจจะเกดิ ขนึ้ แก่คนไข้ของตน กฎที่ใข้ได้คทื ีส่ ดุ คือเตรียมพร้อมเพือ่ สิ่งๆ ใด และไม่ หว่ันไหวในส่งิ นั้นๆ แม้จะมคี นไขบ้ างรายซ่ึงปรับตัวไดม้ ปี ัญหานอ้ ยมาก แต่ อศจ. ควรตง้ั ข้อสงสัยเก่ยี วกับคนไขผ้ ูท้ ี่ปฏเิ สธอย่างแข่งขันไม่ต้องการความช่วยเหลอื ใดๆ อาจจะทำให้มองขา้ มปัญหาน้ีไปได้ ตามการคน้ ควา้ ทางการแพทยป์ รากฏวา่ ผ้ทู ี่ ปฏิเสธวา่ ไมม่ ีความกลัวใดๆ ในความเจ็บไขห้ รอื กรรมวิธีศัลยกรรมทคี่ าดไว้ อาจมี ปญั หามากกวา่ ผ้ทู ีย่ อมรบั วา่ มีความกลัวบา้ ง อย่างไรก็คื หากได้ระบุปญั หาท่ีพบ บอ่ ยๆ ไวก้ ็คงจะมปี ระโยชน์บ้าง มปี ัญหามากหลายและไม่ซํ้ากันที่ อศจ. จะเขา้ ไปพัวพันกบั คนไขไ้ นแผนก อายรุ กรรม งานคือการค้นพบปญั หาเฉพาะหนา้ ซึ่งกอ่ ใหเ้ กิดความกระวนกระวาย แกค่ นไข้และช่วยเหลือคนไข้ไหเ้ อาชนะปัญหาน้นั ได้ในแผนกใดๆ ก็ตาม ความ ย่งุ ยากซึง่ มาเก่ียวพนั กบั คนไข้มากทส่ี ุดมักจะเปน็ เร่อื งภายนอก รพ. เพราะเปน็ คร้ัง แรกที่มโี อกาสไดอ้ ยู่โดดเด่ยี วจึงทำให้คิดปัญหาร้อยแปด ความเจ็บไขอ้ าจจะไม่ สรา้ งความกระวนกระวายใจไดม้ ากเท่ากบั ปัญหาครอบครัว อาจจะเป็นปัญหา เกยี่ วกบั บุตรธดิ า ในกรณีเหล่านี้ เมอ่ื เกดิ ปญั หาเพยี งมาเกย่ี วพันกับความเจ็บไข้ โดยออ้ ม อศจ. สามารถช่วยได้มากทีส่ ดุ โดยแสดงเปน็ ผูน้ ิง่ พีงท่ีชำนาญตังกล่าวไว้ ในบทท่ี ๒ ถ้าคนไขเ้ จบ็ หนกั หรอื อยใู่ นระยะไข้หนกั คนไข้อาจมีความเจ็บปวดมาก จนทำใหค้ วามคิดของคนไขม้ งุ่ ตรงตอ่ อาการทางกาย แมแ้ ต่จะพดู ก็พูดไม่ออก หาก คนไข้กำลงั รบั ความเจ็บปวดเชน่ นัน้ ถงึ ขนาดท่พี ดู ไม่ได้หรอื ไม่อยากจะพดู อศจ. ไม่ ควรทึกทกั เอาวา่ คนไขค้ นน้ีไม่ควรแตะตอ้ ง มอี ยู่เสมอๆ ที่ อศจ.รพ. สามารถจะ ช่วยเหลือไดเ้ พียงแตเ่ ข้ามาในห้องแนะนำตนเองและพูดว่า “คุณไมต่ ้องพูดคุยอะไร ดอก ฉนั อยากจะมาน่งั อยูก่ บั คณุ ลกั ครหู่ น่ึง” แล้ว อศจ. นง่ั เงยี บๆ อยูก่ ับคนไข้
๓๒ ตอบคำถาม แต่ไมพ่ ยายามให้เข้าพูด อุปสรรคอนั หนึง่ สำหรับ อศจ. คือความรู้สึก ทวี่ า่ คนต้องพูดหรือพีงคนอืน่ พูด หากอยากไต้รบั ความชว่ ยเหลือ แตใ่ นกรณีน้ีหา เปน็ เช่นนน้ั ไม่ สง่ิ ที่สำคญั คือให้แสดงความห่วงใยและความเมตตา และจะ แสดงออกได้ดีท่สี ดุ ด้วยการนึง่ และด้วยการแสดงใหเ้ หน็ วา่ มีความห่วงใยจนกระท่ัง ปลกี ตวั จากงานประจำมาน่ังเงียบๆ กับคนไข้เปน็ เวลาครหู่ นงึ่ จะรูส้ ึกประหลาดใจท่ี คนไขไดร้ บั ความชว่ ยเหลือจากตวั อศจ. ดว้ ยอาการเช่นนนั้ ต่อมาเมือ่ คนไขค้ วบคมุ ตนเองไดบ้ ้างกจ็ ะลามารถถกปญั หาต่างๆ กบั อศจ.ได้เนื่องจากความร้สู กึ หว่ งใย ท่ี อศจ. แสดงออกในระหว่างเวลาช่วั ครูเ่ ดยี ว บางครั้งในขณะท่กี ำลงั เจ็บจะซวน คนไขใหล้ วดมนตห์ รือลวดคาถาแปลท้ายหนงั ลือนก้ี ็ได้ แต่อย่างไรกต็ าม สำหรับคน ทต่ี กอยู่ภาวะคับขันเชน่ น้นั การรกั ษาสมาธิน้ันๆ เปน็ สงิ่ ทพี่ ้นวิสยั ดงั นัน้ เพ่อื ให้ ชว่ ยได้บ้าง บทลวดมนต์หรอื คาถาแปลควรจะสัน้ บทลวดมนตค์ วรจะยอมรบั ความ เจบ็ ปวดท่คี นไขได้รบั ตามความเป็นจรงิ และความสำคัญของความเจบ็ ปวดทม่ี ีต่อ คนไข้ อย่างไรกต็ าม เม่ือไดย้ อมรบั ความเจ็บปวดตามความเปน็ จริงแล้ว บทลวด มนต์ควรบรรจุถ้อยคำที่ให้ความเชอื่ มนั่ ในความปลอดภัย กล่าวคอื ใหค้ นไขร้ ะลกึ ว่า ความเจบ็ ปวดท่ีไดร้ ับในขณะนีไ้ มถ่ งึ กบั ทำให้สญู เลียชวี ิตและให้เขาเหน็ สภาพตาม ความเปน็ จริงของสงั ขาร คนไข้ในแผนกอายุรกรรมอาจจะเป็นโรคเร้อื รงั ในกรณีเชน่ น้คี วาม เจ็บปวดและความกลวั หากมีอาจจะไม่รุนแรง ถึงกระนน้ั อศจ.ไม่ควรจะ สนั นิษฐานไวิในทางดีหมด บางรายอาจผดิ ปกติเลก็ นอ้ ยแต่ทำเป็นกลวั มากกวา่ ราย ท่ีเจบ็ ไขห้ นกั ปฏกิ ริ ยิ าของคนไข้ต่อปญั หาเฉพาะหน้าสว่ นใหญข่ น้ึ อย่กู บั การ พัฒนาการส่วนตัวของบุคคล หากในขณะเป็นเด็กเคยอยูโ่ ดดเดีย่ วและรู้สึกว่า ตนเองเป็นที่รังเกียจของเพ่ือนฝงู ความเจบ็ ไขม้ ักสรา้ งความกลวั และทำให้เจบ็ ปวด รนุ แรงข้นึ กว่าทเี่ ปน็ ความจรงิ อศจ. เม่ือเขา้ กับคนไขได้ดแี ล้วควรจะตง้ั ใจฟง้ เร่อื ง ต่างๆ ที่เขาเลา่ ใหฟ้ ้งแล้วจะพบว่าคนไขจ้ ะนำไปส่ปู ญั หาต่างๆ ได้ มีคนไขห้ ลายรายทีเ่ สนอปญั หาหนักให้ขณะแรกพบทเี ดยี ว ในกรณที ี่ คนไขต้ งึ เครยี ดมากและยงั จะตึงเครยี ดต่อไปหรือไมล่ ามารถจะอดทนแม้แต่ความ ตึงเครียดเพยี งเล็กน้อยเปน็ กรณีจำเป็นท่ีจะต้องผ่อนคลายให้ หากคนไข้อยใู่ นภาวะ ตึงเครยี ดและมคี นท่เี ห็นอกเหน็ ใจอยดู่ ว้ ยในขณะน้ันคนไข้ก็พร้อมทจ่ี ะเลา่ ชวี ิตประจำวนั ให้พีงได้ตัง้ แตแ่ รกสมั ภาษณ์ในรายเช่นวา่ นมี้ ีความสำคัญตอ่ อศจ.
๓๓ ที่จะต้งั ใจพงิ อย่างไรกด็ ีอศจ.ท่ีฉลาดแลว้ ยอ่ มไมพ่ ยายามใช้วธิ กี ารเพอ่ื ฉวย ประโยซน่ในขณะที่วุ่นวายเซ่นน้ัน ควรปลอ่ ยใหค้ นไขบ้ รรยายไปเทา่ ที่ต้องการตาม เวลาทมี่ ีอยู่ แต่ไมค่ วรจะซวนใหเ้ ลา่ เรื่องเซน่ นนั้ นานๆ เพราะอาจสรา้ งปัญหาขน้ึ อกี ได้ บ่อยครั้งท่ี อศจ. มักจะคดิ ว่า เพราะการสัมภาษณ์คร้ังแรกน้ันได้ผล การ สัมภาษณ์ครัง้ ที่ ๒ ควรจะไดผ้ ลยิ่งขน้ึ แหจ้ ริงแลว้ อศจ. จะไดอ้ ะไรจากคนไข้นอ้ ย เตม็ ทใี นการสัมภาษณค์ รั้งท่ี ๒ ส่ิงที่มนั จะเกิดขน้ึ กค็ ือคนไข้จะร้สู ึกตัววา่ พดู อะไรไป ใหค้ นแปลกหน้าพิงมากแล้ว การสัมภาษณ์ครั้งท่ี ๒ คนไข้ระมัดระวงั และ อศจ. ตอ้ งเตม็ ใจทจี่ ะเปน็ กนั เองไดแ้ ละให้ความสมั พันธค์ ลค่ี ลายออกช้าๆ ในการตดิ ตอ่ แตล่ ะคร้ัง ควรจะแบง่ ออกเป็นตอนๆ มีตอนเริม่ เรื่อง ตอนสนทนา และตอนสรุป การแบ่งตอนน้ีใข้สำหรับการติดต่อเปน็ ส่วนตัว คอื การสมั ภาษณเ์ ด่ียวแตล่ ะราย รวมทงั้ ใช้สำหรับการสมั ภาษณ์แตล่ ะชุดด้วย คนไขต้ อ้ งการเวลาทีจ่ ะสร้าง ความเหน็ เก่ยี วกบั ตวั อศจ. คนไข้ตอ้ งมีเวลาท่จี ะตดั สนิ ใจวา่ เขาจะมั่นใจในตวั อศจ. เพียงใดไม่ว่ากรณใี ดๆ เซ่นในกรณีความตึงเครยี ดทส่ี ุมอยู่ดังกลา่ วข้างต้นนนั้ หากตอนเรม่ิ เร่ืองไตผ้ ่านไปแล้วก็ต้องย้อนกลับใหม่ นสี้ ำหรบั การสัมภาษณค์ ร้ังท่ี ๒ ไมม่ ีผลอย่างเห็นไต้ซัด เมอ่ื เปน็ อศจ. ก็ควรทำตัวเปน็ อศจ. อยา่ งแห้จรงิ อย่าพยายามทำตัว เป น็ น ายแพ ท ย์ ค วรจะศ ึก ษ าเร่อื งเก ีย่ วก ับ จติ ก ายเวช (?ร^เา๐ร๐เากล^^ (ป60เ1□ กล) ควรจะอา่ นพร้อมกับมีแนวความคิดอยใู่ นใจเพือ่ เข้าใจสงิ่ ท่ีคนไขก้ ำลัง ทำอยู่ แตไ่ ม่ควรคิดที่จะเป็นนักชนั สูตรโรค การศกึ ษาเรอ่ื งจิตกายเวชนั้นจะแสดง ให้เหน็ ว่า อศจ. กเ็ ป็นส่วนหนงึ่ ของคณะบำบัดโรคได้เพยี งใด หาก อศจ.ใช้เทคนคิ การน่ึงพงี และปรบั ปรงุ พธิ กี ารนเ้ี ทา่ ทจี่ ะทำไต้ การเย่ียมไขข้ อง อศจ. จะกลายเปน็ การบำบดั โรคได้ ทั้งน้มี ไิ ด้หมายความวา่ อศจ. เทา่ นั้นมคี ุณคา่ ในการบำบดั โรค ไม่ มีส่งิ ใดหนคี วามจริงไปไต้ การชว่ ยเหลือของ อศจ. นน้ั อยู่ในขอบเขตของศาลนา สร้างความหวงั ให้แกค่ นไข้ แตก่ ค็ วรจะรไู้ วด้ ้วยว่า ผลของความปว่ ยเจ็บอาจจะ ขนึ้ อยูก่ บั อศจ. ด้วยเหมือนกนั ควรจะรไู้ ว้ดว้ ยอกี ว่า อาการดขี น้ึ ของคนไขอ้ าจจะมอี ุปสรรคซัดขวางหาก อศจ.ไม่เขา้ ใจยอมรบั และเห็นอกเห็นใจอย่างแหจ้ ริง การท่ี อศจ. ทไ่ี มไ่ ด้รับการ ‘ฝกึ ฝนไปเยย่ี มคนไขเ้ พยี งช่ัวระยะเวลานน้ั อาจจะแจง้ ให้คนไขท้ ราบว่าความเจบ็ ไข้ อาจเปน็ ผลของกรรมชัว่ อยา่ งนจี้ ะเปน็ การทำลายคนไขโดยตรง อศจ. ตอ้ งจำไวว้ ่า
๓๔ ตนเองไมไ่ ด้ถูกสง่ ไปเพื่อทำลาย แตกไม่ไดห้ มายความวา่ อศจ. ต้องเหน็ ด้วยกบั สงิ่ ที่คนไขท้ ำทกุ อย่าง เพียงแต่หมายความวา่ อศจ. ตอ้ งยอมรบั วา่ คนไข้เป็นมนุษย์ที่ ไดร้ ับทุกขท์ รมานและต้องการความเมตตาในขณะนัน้ โดยไมค่ ำนงึ ถึงเรอ่ื งระเบยี บ วินัยอะไรมากนัก ในขณะท่คี นได้รบั ทุกขท์ รมานเซ่นนน้ั มิใชเ่ วลาท่ี อศจ. จะ ถา่ ยทอดความคดิ เห็นสว่ นตัวใหค้ นไขร้ ับพีง ในเวลาเซ่นนี้ อศจ. ควรจะสรา้ ง ความสัมพนั ธ์อนั ดซี งึ่ ในเวลาตอ่ มาคนไข้กย็ อ่ มจะยอมรบั ความคดิ เหน็ ของ อศจ. ได้ งา่ ย แตไ่ ม่ใชเ่ รือ่ งนอกประเดน็ จงึ จะเหน็ ได้ว่าภาษติ ของแพทยท์ ่ีวา่ “อย่าเป็นพิษ เป็นภยั ตอ่ คนไข้” นั้นมคี า่ แก่ อศจ. อย่างประหลาดเพยี งใด เพราะถ้าอศจ.ไม่ทำ อันตรายแลว้ ก็จะช่วยสรา้ งบรรยากาศทคี่ นไขจ้ ะรับความชว่ ยเหลือได้ อำนาจการ รกั ษาโรคที่มอี ยใู่ นตัวคนไขส้ ามารถแสดงออกมาไดด้ ว้ ยความหว่ งใยที่ อศจ. แสดงออก อาจเป็นความจรงิ ที่วา่ ในขอบเขตของจิตกายเวชน้ี คำตอบข้นั สุดทา้ ย ยังไมก่ ระจา่ งแตก่ ย็ งั มแี นวทจี่ ะให้ผลคมุ้ คา่ แกเ่ วลาของ อศจ. หาก อศจ. พยายาม พัฒนาตนเองใหเ้ ป็นเครอ่ื งมีอท่ีมีคา่ ใน รพ. บางคนพดู ว่า “ความกลวั ท้ังมวลคอื ความกลวั ตาย” เป็นความจรงิ ทเี ดยี ว ความกลวั ต่อความตายเปน็ เพอ่ื นขา้ งเคยี งของมนษุ ย์ เมื่อคนเขา้ รพ. แม้จะ ปว่ ยผดิ ปกติเพียงเล็กน้อย ความกลวั ตายเร่ิมเปน็ บจี จัยทมี่ กี ำลังขึน้ ในความนึกคดิ ของคนไข้ แตค่ วามกลัวตายนีไ้ ม่อาจจะแสดงออกเปน็ ค่าพูดได้มากเท่าใดนัก อาจจะแสดงออกในรูปความรู้สึกว้าเหว่เพราะการแยกตวั เช่นนัน้ กอ่ ให้เกดิ ความรูส้ กึ กลัวยงิ่ ข้ึน คนไขพ้ รากจากเพ่อื นฝงู พรากจากครอบครวั ในทำนองที่ อาจจะเปน็ การพรากครั้งสดุ ทา้ ยก็ได้ คนไขจ้ ึงกลวั ต่อความตาย ความกลัวตอ่ ความ ตายอาจแสดงในรปู ของความโกรธแคน้ หรอื ไมใ่ หค้ วามร่วมมือใดๆ กบั เจ้าหน้าที่ รพ. ต่อศาสนา และต่อตวั อศจ. ซงึ่ เปน็ ตัวแทนศาสนา ปฏกิ ิริยาภาคเสธท่ีคนไขม้ ี ตอ่ อศจ. จะเปน็ เพียงการแสดงความกลัวต่อมรณภัยออกมาเท่านั้น อศจ. ควร ตระหนักถงึ ความกลัวประเภทน้ี และวิธีต่างๆ ท่ีความกลัวแสดงออกมาเพอื่ จะชว่ ย คนไขร้ ะงบั ความกลัวเชน่ นนั้ ได้ อศจ. ต้องแสดงความไม่พร่นั พรึงในชวี ิตออกมา ความเชอ่ื อนั นี้จะก่ายทอดให!้ ดีไม่เพียงแต่การบรรยายเทา่ น้นั ตัว อศจ. เองตอ้ งไม่ พรนั่ พรงึ ในทา่ มกลางแห่งมรณภยั หาก อศจ. ระงับความกลัวตายของตนเองได้ จะ เปน็ การชว่ ยไดม้ ากทีเดยี ว เมือ่ คนไขเ้ ร่มิ พูดถงึ ความกลัวตายหรอื แสดงออกมาใน วิธใี ดๆ กต็ าม อศจ. จะรูท้ ันทีวา่ ความกลวั ไดเ้ รม่ิ มกี ำลงั อกี อศจ. ต้องแสดง ปฏกิ ริ ยิ าตอบทนั ที และบรรยายให้ทราบศรทั ธาในชีวิต คนไข้อยา่ งนอ้ ยท่สี ุดกจ็ ะ
๓๕ ยอมรบั วา่ เขาขาดศรัทธามากกวา่ ที่จะมีศรัทธา อศจ. อาจถกปญั หาเกี่ยวกบั ความเห็นของคนไขในเร่ืองความตาย และแสดงใหเ้ ขาเหน็ วา่ ความกลัวต่อความ ตายนนั้ เร่ิมมฃี ึน้ แล้วด้วยวธิ ตี ่างๆ หาก อศจ. ต้องชว่ ยเหลือกต็ อ้ งสามารถจัดการ กับปัญหาในลกั ษณะที่สงบไมเ่ ยน็ ซาหรอื เฉย แต่สงบด้วยความเมตตากรณุ า บางครง้ั อศจ. จะพบว่า ภารกิจนนั้ จะต้องดำเนนิ การกบั ครอบครัวคนไข้ มากกวา่ ตวั คนไข้เอง แต่จะมนี ้อยรายหากครอบครัวไม่อยใู่ นหนว่ ยทหาร ถึง กระนน้ั กย็ ังมีเกิดข้ึน อศจ. ท่ไี ปเย่ียมไข้ บางคร้ังอาจจะพบวา่ คนไข้อาการอยู่ในขีด อนั ตรายหรอื แพทย์กำลังดำเนินการรกั ษาพยาบาลหรือกำลงั ตรวจโรค ในกรณี เชน่ นนั้ อศจ. ยังไม่มโี อกาสเข้าถึงคนไข้ อศจ. แมจ้ ะตระหนักว่าหน้าท่หี ลกั เกย่ี วกับคนไข้ก็ไม่ควรละเลยในการสรา้ งความหวงั และขจัดความกลวั ของ ครอบครวั อศจ. จะไม่พยายามปฏิบตั ิต่อครอบครัวและคนไขไนขณะเดียวกัน ยกเว้นแตใ่ นทางสังคม หาก อศจ. ต้องสร้างความหวงั และขจดั ความกลัวของ ครอบครัว ควรตั้งใจทำอยา่ งเต็มท่ี หากกำลงั ขจดั ความกลวั ความเจบ็ ปวดและ ปัญหาของคนไข้ และควรมงุ่ ตรงตอ่ คนไข้อย่างเดยี ว ในบางกรณี ความกลัวของคน ท้งั ลองอาจเปน็ ชนิดเดยี วกัน แต่กระนัน้ ก็ยงั แตกต่างกนั บา้ ง ข้อแตกตา่ งท่ีสำคญั ก็ มีเพยี งแตว่ ่าคนไขอ้ ยูใ่ นอาการเจ็บปว่ ย ส่วนครอบครัวอยู่ในลกั ษณะท่ีมสี ุขภาพดี จงึ เหน็ ประจกั ษว์ ่าปัญหาแตกตา่ งกันจะต้องเนน้ หนักในคนลองประเภทนี้ ปญั หา เชน่ นคี้ วรแกแ้ ยกกันเป็นต่างหากดีกว่าหากอศจ.ไม่ลามารถจะพบคนไขอ้ ยู่ตาม สำพัง ขณะท่ีเดนิ ปฏบิ ัตหิ น้าท่อี าจจะขอรอ้ งครอบครัวให้ปลอ่ ยคนไข้อยกู่ บั อศจ. ชวั่ ระยะหนึง่ ด้วยวธิ ีอนั แนบเนียน หาก อศจ. ไม่ลามารถจะแก้ปัญหานน้ั ไดโี ดยตรง อาจจะขอร้องพยาบาลใหข้ อรอ้ งครอบครวั ปล่อยคนไขไวต้ ามลำพังชั่วระยะหนง่ึ หรอื อาจจะขอรอ้ งนายแพทยก์ ไ็ ด้ อศจ. ต้องตดิ ตอ่ กับคนไขโดยเปดี เผย อย่าง'ไรก็ดี เม่ือ อศจ. ติดต่อกับครอบครัวกต็ อ้ งจำไว้ว่า ความมุ่งตรงตอ่ ครอบครัวน้นั ความ เจ็บไข้ที่คนไขได้รับอยู่เปน็ สิง่ สำคญั หาก อศจ. สนทนากบั ภรรยาของคนไขเ้ ชน่ วา่ นี้ คนไขต้ อ้ งคดิ ด้วยเหมือนกนั ว่าภรรยาของเขาคงไมส่ บายใจ หากฝ่ายหน่งึ ไมเ่ จบ็ ไข้ เมือ่ พยายามมาอยรู่ ว่ มกับคนไขท้ ่ีจะทำใหค้ วามทกุ ข์รอ้ นสลายไปพรอ้ มกับนอน หลบั หรอื การสนทนาอย่างกนั เอง เปน็ สิ่งทีไ่ ม่งา่ ยนกั การสรา้ งปัญหาตา่ งๆ ใหแ้ ก่ ครอบครัวคนไขเ้ ปน็ การทรยศต่อคนไขซ้ ดั ๆ
๓๖ อาจจะเปน็ ไดว้ ่า ในทีส่ ุด อศจ. จะช่วยเหลือคนไขไ้ ด้ดีขนึ้ หากให้ ครอบครวั แสดงความรสู้ ึกในทางเลืยได้อย่างเสรี หากครอบครัวทราบวา่ สามารถ แสดงความรู้สกึ เชน่ นัน้ ต่อ อศจ. ได้ก็ไม่มีความจำเป็นอนั ใดทจ่ี ะแสดงต่อคนไขได้ อกี แมแ้ ต่โดยทางออ้ มไดแ้ ก่แสดงความห่วงใยต่อคนไขได้อยา่ งเต็มที่ ๒. ขอ้ สรุป แผนกอายุรเวช มปี ญั หาหลายอยา่ งทีท่ า้ ทายต่อ อศจ. การท้าทายนัน้ บอ่ ยครั้งทีเดียวทไี่ มเ่ กยี่ วขอ้ งกบั อาการปว่ ยเจบ็ อย่างร้ายแรง แตล่ ะคนมกี าร ตอบสนองไม่ซํา้ แบบกัน อศจ. จะมีประโยชน์ทส่ี ุดหากเงี่ยหูฟ้งปัญหาใดๆ ที่ รบกวนคนไข้อยู่เสมอ งานทเ่ี ห็นประจกั ษข์ อง อศจ. คอื ช่วยเหลือคนไขท้ มี่ ีปญั หา อศจ. ไดร้ บั การ‘ฝึกฝนมาเป็นอยา่ งดี จะเรยี นรู้ตลอดวิธีการน่ิงฟง้ เพอ่ื แย้งปญั หาให้ เห็นได้ซัดขน้ึ ตอ้ งกำหนดเสมอว่าปัญหาน้นั อยไู่ หนแล้วกจ็ ัดการเกี่ยวกบั ปญั หาน้ัน วิธีนี้ อศจ. จะมขี อ้ ซดั ขอ้ งบา้ งในการคดิ เหน็ หากไม่รู้แลว้ กจ็ ะขาดความมั่นใจ หาก อศจ. ร้ตู วั อย่เู สมอว่าอาจจะเกดิ ข้อซัดข้องในความรู้สกึ บ้างก็จะไมก่ ระวนกระวาย นกั เมอ่ื เกดิ ปัญหาข้ึน การรูต้ วั อยู่เสมอวา่ อาจจะเกิดปญั หาใดปญั หาหนึง่ ขนึ้ นั้นเปน็ การเตรยี มการเพอ่ื พบปญั หานน้ั หลกั การอันนี้จะเห็นไดจ้ ากความสำคัญของข่าว กรองทหาร หากรู้ปญั หากจ็ ะสามารถแก้ปัญหาได้ถกู ต้อง
๓๗ บทท่ี ๖ แผนกศลั ยกรรม ๑. ข้อควรพิจารณาเปน็ พเิ ศษ อศจ. ควรเปน็ คนหนงึ่ ในบรรดาบุคคลซึ่งเตรยี มการอยา่ งดที ีส่ ดุ เพ่อื จะ ทำงานเก่ียวกบั คนไข้ซ่ึงกำลงั เผชิญกบั ศลั ยกรรม ได้ชแ้ี จง'ไวใ้ น'หนังสอื ความเครียด ท างจติ วทิ ยา (?ร^เา๐๒5^ลI รบ!โรรร) การผา่ ตดั ใหญ ่กระตนุ้ ใหเ้ กิดความ หวาดกลัวประเภทเดยี วกนั กับท่คี นรสู้ ึกเมอ่ื ตกอย่ใู นภยันตรายร้ายแรง คนไข้ท่ี กำลังเผชญิ กับการผา่ ตดั ตอ้ งพบความรสู้ กึ ผสมผสานกันในอันตรายทีแ่ ฝงอยู่ ๓ แบบใหญ่ๆ อาจจะไต้รับความเจ็บสาหัส รา่ งกายบบุ สลายอยา่ งร้ายแรง และความ ตาย เขาไตแ้ ถลงตอ่ ไปอีกว่า “การสรปุ เกี่ยวกับผลกระทบกระเทอื นของอันตราย ทางกายอย่างร้ายแรงชนิดหน่ึงซึง่ ฟ้งไดน้ ัน้ มักจะนำไปใช้กับวกิ ฤตการณห์ รอื อนั ตรายอนื่ ๆ ได้ หากกอ่ ให้เกดิ ความหวาดกลัว บาดเจ็บและถกู ทำลายได้ จงึ เหน็ ได้วา่ อศจ. ควรเตรียมการช่วยเหลือคนไขศ้ ลั ยแ์ กป้ ญ้ หาของเขา เปน็ ท่ีเห็นไดซ้ ัด ว่าในการทำงานในแผนกศัลยกรรม อศจ. ลามารถคดิ หาวธิ กี ารซึง่ จะใชไ้ นสนามรบ ได้เท่ากันด้วย อศจ. จงึ จำเปน็ อย่างยง่ิ ในสถานการณศ์ ัลยกรรม และไมม่ ีใครอืน่ ท่ี จะทำแทนได้เหมาะลม บทบาทของ อศจ. คนไข้มกั จะเข้าใจเกยี่ วกับความตายและ กำลังจะตาย และกำกบั ดูแลเรอื่ งทั้งลอง ความนึกคิดภายในใจของคนไขจ้ ะทำให้ เขารสู้ กึ ว่าตวั ของเขาเองปรากฏอยู่เฉพาะหนา้ อศจ. เม่ือ อศจ. ปรากฏอยู่ ณ ที่น้ัน อยา่ งหลกื เลยี่ งไมไ่ ด้ การท่คี นไขเ้ ข้าใจเช่นนน้ั ทำให้ อศจ. ตอ้ งผเึ กฝนตนเองมากขึ้น การเขา้ ใจของคนไขข้ ึ้นอยกู่ บั ความจริงบ้าง อศจ. ต้องรวู้ ่าคนไขก้ ำลงั ทำอะไร ป้ญหาการถดถอยได้กลา่ วมาแลว้ ในตอนต้นๆ ถงึ กระนนั้ กน็ ำมาใชไ่ ด้เป็น เฉพาะในศัลยกรรม เมื่อคนไข้ควบคุมร่างกายของตัวเองไม่ได้ ไมล่ ามารถ ดำเนนิ การป้องกันความเจบ็ ปวดใดๆ และชีวติ ข้นึ อย่กู บั ผเี มอื ของศัลยแพทยเ์ ช่นน้ี คนไขม้ ักจะมคี วามตอ้ งการทีพ่ ึ่งอย่างรุนแรง ความตอ้ งการทพ่ี งึ่ ของคนไขธ้ รรมดา ทจ่ี ะถกู ผา่ ตัดเปน็ ความต้องการอันแหจ้ ริง ไมค่ วรแปลความหมายในทาง ปรากฏการณ์ทางประสาท แห้จรงิ แลว้ คนไขย้ อมอาศัยลงิ่ ทอ่ี ยรู่ อบตัวและบุคคลที่ เคารพซึง่ เขา้ ทำงานและอยู่รวมด้วย คนไขม้ กั จะมองศัลยแพทยใ์ นฐานเป็นพ่อ เชอื่ คำพูดของศลั ยแพทย์ คนไขอ้ าจจะด้ือรนั้ ต่อศัลยแพทย์เชน่ เดียวกบั ทด่ี ้ือรนั้ ตอ่ พอ่
๓๘ หากศลั ยแพทยม์ เี วลาและได้รับการ‘ฝกึ ทางจิตวิทยามากจ็ ะสามารถบำบดั ความ กลวั ของคนไข้ส่วนมาก อยา่ งไรกต็ าม ความสัมพันธ์ทางจติ วิทยาแมจ้ ะมี ความสำคญั เพียงใดก็ตาม ศลั ยแพทยไ์ มส่ ามารถจะทำใหเ้ กิดมฃี ึ้นไดอ้ ยา่ งเต็มที่ เพราะขาดแคลนเวลาและการ‘ฝึกฝน จติ แพทย์มงี านเฉพาะจงึ ไมม่ ีเวลาทจี่ ะคลกุ คลี กบั คนไข้ผ่าตัดหรือแมแ้ ต่จะแกป้ ญึ หาต่างๆ ท่เี กดิ ข้ึนได้ นกั จิตวิทยาก็มีงานในด้าน อื่นจึงไม่มเี วลาพอทจี่ ะทำงานน้ี จงึ ปรากฏวา่ อศจ. ซึ่งไดร้ บั การ‘ฝึกมาภายใน รพ. จึงเหมาะลมทจ่ี ะชว่ ยเหลือคนไขผ้ า่ ตัดท่มี คี วามรู้สกึ เซ่นน้ี อนง่ึ อศจ. ยังเปน็ บุคคล ท่นี า่ เชอื่ ถือเป็นทงั้ นายทหารและเปน็ พระดว้ ย ในการเตรยี มคนไขเ้ ข้าผ่าตัด อศจ. ควรตระหนกั ถงึ ความร้สู ึกถดถอยของคนไข้ นอกจากน้ีไมค่ วรจะหวังว่าคนไขม้ ี ความมน่ั คงทางจติ และอารมณแ์ ล้ว ควรจะปลอ่ ยใหค้ นไข้คิดย้อนหลงั และในฐาน เป็นผูท้ ่ีน่าเชอื่ ถือ ควรพยายามทำใหค้ นไข้มคี วามรู้สึกมั่นใจในความปลอดภัย ขอ ย้าํ 'ว่า ความรสู้ ึกว่าม่ันใจในความปลอดภยั นไี้ มใ่ ชเ่ ป็นเรอื่ งผิวเผนิ จงึ ไม่ควรจะทำ อย่างขอไปที ไดก้ ลา่ วเรือ่ งการทำใหค้ นไข้พนี รูส้ กึ ปลอดภยั ไวใิ นอนสุ ารนี้แลว้ ความรู้สึกเชน่ น้ีจะเกิดข้ึนจากการคลุกคลีกบั อศจ. และ อศจ. ก็ถ่ายทอด ความรสู้ ึกเก่ียวกบั การดำรงชวี ิตใหแ้ กค่ นไข้ นอกจากนี้ คนไข้ยงั ถือเอาทศั นคติ เกยี่ วกับความไวว้ างใจและความหวังอนั เกดิ แก่ อศจ. ไวเ้ ปน็ ของตน เม่ือคนไข้แสดงปฏิกริ ยิ ายอ้ นหลังไปก็หมายความว่าคนไขก้ ลบั เปน็ เด็กอกี ครั้งหนึง่ คือย้อนหลังไปถึงวัยเด็กของเขา เมื่อคนไข้ย้อนหลงั ไปถึงวยั เด็ก ปฏิกริ ิยา แบบเดก็ ๆ ก็จะเรมิ่ มขี ึน้ หากเขามคี วามรสู้ ึกวา่ พอ่ ไมร่ กั หรอื ตอ้ งพลัดพรากจากกนั เปน็ เวลานาน ท้ังน้อี าจจะเกดิ จากหยา่ รา้ งหรือพอ่ ไม่อยู่เช่นไปประจำอยโู่ พน้ ทะเล ความรู้สึกของเขาจะเขม้ ข้นข้นึ ความร้สู ึกวา่ จะถูกผา่ ตดั นีก้ จ็ ะสรา้ งความรู้สึก เหมือนกลัว แตค่ วามรู้สกึ นจี้ ะเข้มข้นขึน้ ต่อเม่ือคดิ ถงึ ความกลัวในอดตี อศจ. ลามารถชว่ ยเหลือคนไขท้ มี่ ปี ึญหาอันเกดิ จากความร้สู ึกขดั ขอ้ งในวัยเด็กไดก้ ลบั รอ้ื พน่ ขนึ้ อกี การชว่ ยเหลืออาจจะให้ในลักษณะสร้างความสัมพนั ธฉ์ ันทบ์ ิดาข้นึ อศจ. แสดงให้คนไขเ้ ห็นว่ามคี วามกงั วลห่วงใยม่นั คงพอทจ่ี ะอดทนตอ่ ความไม่พอใจของ คนไขแ้ ละระงับความโกรธของคนไขด้ ว้ ยวธิ เี งียบ จากปฏิกริ ิยาของ อศจ. คนไขจ้ ะ มองเห็น อศจ. ยอมรบั และเขา้ ใจความดอื้ ร้ันของตน อศจ. ย่อมไมแ่ สดงความเปน็ พ่ออยา่ งลมบรู ณ์ แต่แสดงให้เหน็ ว่าเข้าใจความรสู้ ึกของคนไขแ้ ล้วก็ยอมรบั วา่ คนไขย้ อ่ มมีทศั นคติแบบเด็กอมมอื
๓๙ เมื่อ อศจ. แสดงตนเปน็ พ่อทีค่ นไข้ไว้วางใจได้ อศจ. เขา้ แทนท่พี อ่ ซ่ึง คนไขไ้ ดส้ ร้างปญั หายงุ่ ยากใหต้ ั้งแตแ่ รก หาก อศจ. เสนอความต้องการแบบ เดก็ อมมอื ให้โดยทค่ี นไข้ไม่ต้องหาเองจะเป็นการชว่ ยเหลอื ได้อยา่ งมหันต์ เม่อื คนไข้ เต็มใจรับคำปรึกษา ทั้งนีก้ ็เนอื่ งจากความสมั พันธ์อันดีท่ีมอื ยู่ฉันท์บดิ ากบั บตุ รใน ตอนตน้ ของชีวติ งานของ อศจ. จะง่ายเขา้ โดยการยอมรับว่าคนไขก้ ่อนผ่าตดั ยอ่ ม มคี วามกลวั และด้วยการถา่ ยทอดความรู้สกึ มั่นใจทางท่าทคี วามร้สู กึ มากกว่าวาจา อศจ. สามารถเสริมกำลงั ใจคนไข้และชว่ ยให้กลา้ เผชิญกับศลั ยกรรม อศจ. ช่วยเหลือคนไขด้ ว้ ยการรบั ตำแหนง่ เป็นบดิ าท่ดี ฃี องลูก ในกรณีเชน่ นี้ เป็นท่นี า่ สังเกตอยู่วา่ นางพยาบาลย่อมแสดงบทบาทของมารดาไดเ้ ช่นกัน อศจ. กับนาง พยาบาลทำงานร่วมกับคนไข้จะเปน็ ทีมที่มืประสทิ ธภิ าพทีเดยี ว เมอื่ คนไขด้ ือ้ รน้ั อย่างไร้เหตุผลกับบคุ คลท่แี สดงเปน็ บิดาคอื อศจ. อศจ. กย็ งั ยนื หยดั ทำงานอยู่เช่นน้ัน อศจ. ไมใ่ ชจ่ ะเพียงยอมรับวา่ คนไขม้ คื วามหวาดกลวั เทา่ น้ัน ยงั ตอ้ งยอมรบั วา่ คนไขม้ คื วามโกรธด้วย จึงควรแสดงให้คนไข้เห็นว่า อศจ. ยงั มนั่ คง พอท่ีจะอดทนต่อความร้สู ึกเหล่านี้ เมอื่ อศจ. มคี วามแขง็ แกรง่ ทางอารมณ์ปรากฏก็จะ เปน็ การถา่ ยทอดความแขง็ แกร่งบางสว่ นไปใหค้ นไขไ้ ด้ คนไข้จะพบวา่ บุคคลทท่ี ำ หนา้ ทบ่ี ิดาน้ี เปน็ บุคคลทีไ่ วว้ างใจไดซ้ ึ่งตรงกนั ข้ามกบั ความรู้สึกในตอนแรกๆ คนไข้ พรอ้ มทจี่ ะเผชิญกับการผา่ ตดั ได้ดยี ิง่ ขนึ้ อศจ. โดยอาศัยเมตตาธรรมช่วยซกั จงู คนไขใ้ ห้ ยอมรับความอุน่ ใจอกี ครั้งหนึ่งจากบุคคลผู้ทำหนา้ ที่บิดา งานในระดบั ความรสู้ ึกถดถอย ของคนไข้กเ็ ปน็ อันลน้ิ สุดลง อศจ. ยอ่ มตระหนกั ถึงความรสู้ ึกเช่นน้ี และยอมให้คนไขม้ ี ปฏิกริ ยิ าย้อนหลังในสถานการณอ์ นั ตงึ เครยี ดเช่นน้ี เจา้ หนา้ ท่บี างคนเสนอแนะวา่ อศจ. ประจำ รพ. เพ่ือใหเ้ กดิ ความสะดวก ควรไต,ถามว่าอะไรเป็นปัญหาทางศัลยกรรม โดยวธิ ีน้คี งหมายความวา่ คนไขก้ อ่ น ผ่าตดั น้ันควรจะใหม้ โี อกาสได้พูดถึงความรสู้ ึกตา่ งๆ ของตน มหี ลกั ฐานทาง การแพทยซ์ ึง่ ขใ้ึ หเ้ หน็ วา่ คนไข้ซึ่งมคี วามรู้สึกเกยี่ วกบั การผา่ ตัดและความหวาดกลวั เก่ียวกบั การผ่าตดั อย่บู า้ งมักจะทำให้การผา่ ตดั เป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ลมากกวา่ คนไขท้ ่ไี ม่มีความรู้สึกเช่นนั้นมาก่อน คนไขจ้ ะพยายามทำเปน็ ไม่รู้ไม่ข้ึเกีย่ วกบั ความเจบ็ ปวดซงึ่ อาจจะเกดิ ข้นึ หรอื ความยุบสลายของรา่ งกายหรือความตายซง่ึ อาจจะเกดิ ขน้ึ ในศัลยกรรม หาก อศจ. ประจำ รพ. เยี่ยมคนไขท้ ี่จะทำการผา่ ตดั ใหญแ่ ละพบคนไขร้ า่ เริงเกินไปจะรไู้ ดท้ นั ทวี ่าจะต้องมีงานบางอย่างท่จี ะต้องทำ
๔๐ เจนสิ หมายถึง งานกงั วลใจ ซงึ่ เปรยี บเทยี บกันแลว้ กไ็ ม่นอ้ ยกวา่ งานเศร้าหรืองาน ไวท้ กุ ข์ ซง่ึ จำเปน็ หลงั จากท่ีคนได้เสียคนรักไป งานกงั วลใจสามารถจะช่วยได้ เพยี งแต่ใชค้ ำถามงา่ ยๆ เชน่ “ฉนั อยากจะร้วู ่าคุณมคี วามร้สู กึ เกย่ี วกบั การผา่ ตัด อยา่ งไร ?” วิธีเบาๆ ที่จะเชา้ ถงึ เรือ่ งนก้ี เ็ พยี งแตบ่ อกวา่ “ฉนั เช้าใจว่าพวกของคุณ กำหนดลงมือเชา้ นี้ ฉนั อยากจะร้วู ่าคณุ มคี วามรูส้ ึกเกี่ยวกบั มันอย่างไร ?” อศจ. ควรถกเรื่องนก้ี บั ศัลยกรรมที่รับผิดชอบคนไข้รายนห้ี ากมปี ญั หาใดๆ เกีย่ วกบั ลำดบั ขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิ ในหนงั สอื ความเครยี ดทางจติ วิทยา มหี ลักฐานทาง การแพทย์จะสนับสนนุ ข้อสรปุ น้ี เจนสิ ได้แบง่ ประเภทคนไช้ท่ีจะเผชญิ กับการ ผ่าตัดออกเปน็ ๓ ประเภท ผ้ทู คี่ าดถงึ ความกลวั ล่วงหน้าสูง ผ้ทู คี่ าดถึงความกลวั ล่วงหนา้ ปานกลาง และผู้ทค่ี าดถงึ ความกลัวลว่ งหน้าตาํ่ เขาพบวา่ คนไขป้ ระเภทที่ คาดเหน็ ความกลัวลว่ งหน้าสงู อาจจะอยใู่ นสภาพเช่นนี้เพราะขอ้ ขัดใจตา่ งๆ ในวยั เดก็ 'ได้กลบั พ้ืเนคืน'ชพี คนไข้เหลา่ นีม้ กั จะตกอย่ใู นสภาพไมเ่ บิกบานหลังจากการ ผ่าตดั กบั คนไขป้ ระเภทนี้ การทีจ่ ะดึงให้มาเอาใส่ใจการผ่าตัดนนั้ ได้ประโยชน์น้อย เตม็ ทเี นอ่ื งจากมคี วามกลัวเขม้ เกนิ ไปจนไม่สามารถจะจัดการอะไรได้ ส่วนคนไข้ท่ี คาดการณ์ความกลวั ไว้ตา่ํ ปลอ่ ยให้ตรึกตรองถงึ ความกลัวลว่ งหนา้ ไวก้ อ่ น ผูท้ ่ี ปฏิเสธไม่กลวั อะไรมักจะเปน็ ปฏปิ กั ษ์ตอ่ สงิ่ แวดล้อมใน รพ. หลังจากผ่าตัด บุคคล ประเภทน้ีมักจะใช้วิธีการพน้ื ๆ ในการจดั การเก่ยี วกบั ความกลวั มกั จะปฏเิ สธวา่ ไม่ กลวั พดู เสมอว่าหลังจากผา่ ตัดแล้วคงจะมีอาการดขี ึน้ มินอ้ ย มักจะใช้หลกั ทาง ศาสนาเป็นเครอื่ งปลอบใจเม่ือเผชญิ กับการผ่าตดั มกั จะบอกตัวเองอยเู่ สมอว่าทุก สิ่งทกุ อย่างไม่เพียงแต่ดำเนนิ ไปโดยเรียบร้อยเท่านน้ั ยงั จะดขี ้ึนกวา่ แตก่ อ่ นด้วยแลว้ พอไดร้ บั ความกระทบกระเทอื นอยา่ งแรงเนือ่ งจากการผ่าตดั เขาจะมองดูคนท่คี อย เอาใจใส่ดแู ลดว้ ยความไม่พอใจและไมย่ อมให้ความรว่ มมือดว้ ย การทคี่ นไขไ์ ม่ สามารถใหค้ วามร่วมมือได้เปน็ เหตใุ ห้การพีนตวั ข้าลง พวกทส่ี ามคือประเภทที่มี ความกลวั ขนาดปานกลาง จัดการเก่ียวกับความกลวั จรงิ ๆ ไดด้ กี ว่าพวกอน่ื ๆ คน เหล่านีม้ คี วามกลัวอย่บู ้าง คิดกังวลใจอยเู่ สมอว่าจะสามารถทนตอ่ ความเจ็บปวดได้ มากเพียงใด หากเกินเวลา ๒ หรอื ๓ วัน หรอื มากกวา่ นน้ั กอ็ าจจะรูส้ ึกหว่ งใยคดิ เสมอว่าอะไรจะเกดิ ข้นึ แกเ่ ขา หากการผ่าตดั ไมส่ ำเร็จ ด้วยการคดิ เจาะจงเฉพาะ ความกลัวก็สามารถจะระงบั ความกลัวไดเ้ มื่อเวลามาถึง แมจ้ ะมคี วามผดิ ปกติทาง ใจมากกวา่ ท่ีเคย แต่ก็ยงั สามารถระงับความกลัวไดด้ กี วา่ ด้วย จงึ เหน็ ไดข้ ดั ว่า ปัญหาศลั ยกรรมนอี้ าจจะเปน็ ส่งิ สำคัญทีส่ ุดหากคนไข้ผู้ปฏเิ สธความมีอย่แู หง่ ความ
(^ © ) กลวั แล้วสามารถจะใหโ้ อกาสเผชิญกบั ความกลวั น้นั ได้ และไดค้ ิดเจาะจงเฉพาะ ความกลัวนัน้ ก็จะเปน็ การทำใหม้ ีกำลงั ใจแข็งแกร่งขึ้น เม่ือ อศจ. ปฏิบัตงิ านน้ี บอ่ ยๆ จะเริ่มรอู้ ะไรๆ เกี่ยวกับปญั หาท่ีไม่ควรซักถามคนไข้ซงึ่ เป็นปญั หาท่คี นไข้จะ ซกั ถามอย่แู ล้ว อย่าไปถามปัญหาเซ่นนนั้ เขา้ และจะพบคนไข้ซึ่ง อศจ. พอจะซักจูง คนไขไ้ ห้เผชญิ ตอ่ ความกลวั ได้เปน็ อยา่ งดี ขอ้ สำคญั ต้องประสานงานกับเจ้าหน้าที่ การแพทยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบใหด้ ี เจนิล ไดีใหข้ ้อสรปุ ที่นา่ สนใจว่า “ผ้ชู ่วย อศจ. ใหมต่ อ้ ง ได้รับการ‘ฝกึ ฝนอบรมให้สามารถช่วยคนกลา้ เผชญิ กบั การผ่าตัดโดยไม่ตอ้ งคำนงึ วา่ มอี าชพี เปน็ อศจ. หรอื ไม่” อศจ. ประจำ รพ. กค็ วรจะเตรียมพรอ้ มท่ีจะชว่ ยใหค้ น กล้าสูเ้ ผชิญกับการผ่าตดั ทางทด่ี ีควรใหไ้ ดร้ บั การ‘ฝกึ ฝนมากกวา่ อศจ. ประจำ รพ. ทว่ั ไป เจนิล ขึใ้ หเ้ หน็ ความจำเป็นต่อไปว่า “เม่อื กลา่ วโดยซดั แจง้ แล้ว หากนำ วิธกี ารบำบดั เทยี มไปใช้กับคนเป็นโรคประสาทจะต้องมกี ารเตรยี มการซง่ึ เปน็ การ บำบัดเฉพาะโรคอันเป็นหน้าท่ีของนายแพทยผ์ เู้ ช่ียวชาญกับการรกั ษาคนอารมณ์ ผดิ ปกตเิ ปน็ ผดู้ ำเนินการ” อศจ. มคี ุณสมบตั สิ ำหรบั งานนโี้ ดยแน่นอน หลังจากท่ี อศจ. ไดช้ ่วยเหลือคนไข้ไหเ้ ผชญิ และบรรเทาเรือ่ งทกี่ ังวลใจ แล้วก็ตอ้ งพร้อมทีจ่ ะตอบปัญหาและแสวงหาข้อเทจ็ จรงิ เพม่ิ เติมตอ่ ไป ทงั้ น้ีม'ิ ใต้ หมายความวา่ อศจ. ควรจะพดู ถึงวธิ กี ารผ่าตัดอยา่ งคร่าวๆ หรือพดู ถงึ เรอ่ื งคนไข้ ซ่ึงทำการผา่ ตัดมากอ่ น ควรจะให้ข้อเทจ็ จรงิ บางอยา่ ง เชน่ วา่ ความกลวั ยอ่ มเป็น ธรรมดาเกิดขึน้ จากการผา่ ตัด เมอื่ เกดิ ความกลวั ก็มใิ ช่เชาปล่อยให้อยคู่ นเดยี ว ความไมส่ บายกเ็ ปน็ เร่อื งปกตธิ รรมดา ความเข้าใจเชน่ นี้จะช่วยใหค้ นไขม้ คี วามร้สู กึ ว่าตวั เชาเองกเ็ หมอื นกบั คนอื่นๆ และจะทำให้คนไชไม่รสู้ กึ ประหลาดใจอะไรตอ่ เหตกุ ารณท์ เี่ กดิ ข้ึน อศจ. ควรจะเสรมิ ตอ่ ไปวา่ ต้ังใจท่จี ะมาเย่ยี มคนไข้เป็นประจำ ทัง้ กอ่ นและหลงั การผ่าตดั และระยะพกั ฟนิ เช่นน้ีจะทำใหค้ นไข้มน่ั ใจว่าเชาได้รับ การเยี่ยมติดต่อจาก อศจ. เปน็ ประจำ ตอนนี้คนไขจ้ ะมีความร้สู ึกวา่ เชาไมไ่ ดเ้ ผชิญ ปญั หาแต่ผู้เดียวและไดก้ ำลังใจจากความรูส้ กึ ความเขา้ ใจเชน่ นีก้ ่อนการผา่ ตัด ทาง ท่ีถูกตอ้ ง อศจ. ควรจะทำให้คนไข้มัน่ ใจในความชำนาญชองศัลยแพทยซ์ ่งึ มี ความลามารถเป็นทยี่ อมรับแลว้ โดยทัว่ ไป คำพูดที่ออกมาจากปากชอง อศจ. จะทำ ให้คนไขม้ กี ำลังใจแนว่ แน่ยิง่ ขนึ้ หากคนไขท้ ่ีไดร้ บั การผ่าตดั มคี วามเช่ือมั่นเชน่ น้กี ็ จะทำใหเ้ ชากลา้ เผชญิ ตอ่ ความกลวั ตา่ งๆ ทเี่ กิดข้นึ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง แต่การพดู ให้ คนไขม้ คี วามเชือ่ ม่ันน้ันอยา่ พูดมากเกินไปจะตอ้ งพดู ให้พอลมเหตลุ มผลคนไข้จงึ จะ ไม่โกรธศลั ยแพทย์ หรอื อศจ. หากมขี ้อบกพรอ่ งเกิดข้ึน การเตรียมการทจี่ ะตอ้ งทำ
๔๒ ดว้ ยความระมัดระวังเป็นส่งิ จำเปน็ สำหรบั คนไฃท้ จี่ ะต้องทำการผา่ ตัดหัวใจ เพราะ คน'โขมความเชื่อ'ว่า “หัวใจเปน็ ศนู ย์กลางของชวี ิต ชีวิตของเขาขน้ึ อย่กู บั การผา่ ตัด หัวใจคร้งั นห้ี ากหวั ใจหยดุ ทำงานชีวติ กส็ ลาย” ความเชอื่ น้ีผง่ อย่ใู นจิตใจของมนุษย์ คนทเ่ี ป็นโรคหวั ใจยอ่ มมคี วามกลัวอย่างใดอย่างหนึง่ โดยเฉพาะ โดยถือ ว่าการผา่ ตัดเปน็ การขเู่ ข็ญตอ่ ชวี ิต ถึงแมว้ ่าจะมีสถิตแิ สดงใหค้ นไข้เหน็ วา่ มีการรอด ชีวติ หลายรายก็ตาม แต่คนไขก้ ็ไม่คอ่ ยแนใ่ จนกั ปญั หาหนง่ึ ซึง่ เกี่ยวกบั ปัญหาการ ผ่าตดั หัวใจกค็ ือคนไขต้ อ้ งการมีชวี ติ รอดอยู่ แตม่ ีคนไขบ้ างคนใข้โรคหวั ใจเปน็ ข้ออ้างเพือ่ ประโยชนต์ น เซ่น คนไข้ทไ่ี ม่ขอบงานหนกั ก็มคี วามรู้สึกพอใจทมี่ ีคน คอยเอาอกเอาใจ หญิงท่ไี มอ่ ยากจะมีบตุ รอาจจะใขโ้ รคหวั ใจนเ้ี ปน็ ขอ้ แก้ตัว คนท่ี มกั ใช้โรคหวั ใจเปน็ ขอ้ อา้ งกเ็ อาชีวิตแขวนอย่กู บั โรคอนั น้ี ถา้ การผา่ ตัดหวั ใจน้นั สามารถทำใหค้ นไข้กลบั เขา้ สสู่ ภาพเดมิ คนไขก้ ็พร้อมที่จะทำงานไตต้ ามปกติ หาก คนไข้พยายามจะใชโ้ รคหวั ใจเปน็ ขอ้ แก้ตัว หากไม่ผง่ แน่นเปน็ นิสยั แล้ว อศจ. ก็ควร จะชว่ ยไต้ หากผ่งแนน่ เป็นนสิ ัยก็ควรจะไปหาจิตแพทย์ คนไขท้ ่ไี ต้รับการผ่าตัด หวั ใจถึงจะหายเปน็ ปกติแลว้ ก็ยงั มีความรูส้ กึ วา่ ตนเปน็ เซ่นนั้นอยู่บา้ ง จะเห็นไต้ซัด ก็คอื ว่ามีความรู้สึกว่าเขาเป็นคนไม่คอ่ ยมสี ฃุ ภาพสมบรู ณ์ เรือ่ งเหล่าน้ี อศจ. ควรมี การเตรียมการอยา่ งรอบคอบเพอ่ื ชว่ ยเหลอื คนไข้ส่วนมาก อศจ. จะสามารถช่วยให้ คนไข้กลา้ เผชญิ ตอ่ ความจรงิ อนั เนื่องมาจากผลของการผ่าตัดอันน้ัน ความจำเป็นท่ี จะวางแผนลว่ งหนา้ เมอื่ พน้ จากการผา่ ตัด ไมจ่ ำกัดเฉพาะคนไข้ผูเ้ ผชิญกับการ ผา่ ตดั เทา่ นัน้ กอ่ นผ่าตดั อศจ. ควรจะช่วยคนไข้ใหม้ ีความมน่ั ใจข้ึนอีก ใหก้ ล้า เผชญิ กับการผา่ ตัดและรวมทัง้ การวางแผนล่วงหน้าไว้ อศจ. ควรจะถามปญั หาทจ่ี ะ ซวนให้คนไขค้ ดิ ถึงการดำเนินชีวติ หลงั จากการผ่าตัดเพ่อื ให้เขาเกิดความรสู้ กึ ว่า ชีวิตของเขายงั มีหวังรอดอยู่ อศจ. ควรถามปัญหาซ่ึงซวนให้คนไขพ้ ดู ถึงแผนการ ความกา้ วหน้า ความฝนื และความหวงั ของเขา อศจ. ควรพดู ถงึ การดำเนินชวี ิต หลงั จากการผ,าตดั ใหเ้ ขามคี วามรู้สกึ ประหน่ึงว่าชวี ติ ของเขามีอยตู่ ลอดไป การวางแผนหลังผา่ ตดั จะช่วยใหค้ นไขเ้ ร่ิมตน้ ชีวิตใหมอ่ ยา่ งจรงิ จงั แผนการเช่นน้จี ะเหน็ วา่ เปน็ ของจำเปน็ แกค่ นไข้ เพราะก่อนผ่าตัดคนไขจ้ ะมี ความรสู้ กึ ถอยหลงั ไปถงึ วยั เด็ก เมอื่ เสรจ็ การผ่าตดั อศจ. ตอ้ งชว่ ยคนไขเ้ พ่ือให้ร้จู ัก การชว่ ยตัวเอง แตใ่ น รพ. สมัยใหม่ ศัลยแพทย์มักจะไต้ทำไวก้ ่อนแลว้ อย่างเช่นให้ คนไข้เดินหลังจากผา่ ตดั แลว้ ไม่นาน อศจ. จะต้องคิดเรอ่ื งนี้ไว้เปน็ การล่วงหนา้ ไม่
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112