Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษาอังกฤษสำหรับกำลังพลในกองทัพบก(สมบูรณ

ภาษาอังกฤษสำหรับกำลังพลในกองทัพบก(สมบูรณ

Published by ตำราเรียน, 2020-04-22 23:03:06

Description: ภาษาอังกฤษสำหรับกำลังพลในกองทัพบก(สมบูรณ

Search

Read the Text Version

ห น า | 101 แผนยุทธการ/คาํ สัง่ ยทุ ธการ (Operations Order/ Operations Plan - OPORD/ OPLAN) กลยทุ ธ = maneuver กองหนุน = Reserve การกําหนดการปฏิบัตหิ ลัก [เชน การเขา ตหี ลกั ] = designation of the main effort การขนสง = transportation การแจกจา ย = distribution การชว ยรบ = Service Support การดําเนินการตอเชลยศกึ และเอกสารที่ยึดได = handling of prisoners of war and captured documents การตอบรับ = acknowledge การบงั คับบญั ชา = command การบงั คบั บญั ชาและการสือ่ สาร = Command And Signal การปฏบิ ัติ = execution การยงิ = Fires การยงิ ทม่ี กี ารวางแผนไว = pre-planned fires การวางกําลัง กาํ ลัง จุดออนและกจิ กรรม (การปฏิบัต)ิ = placement, strengths, weaknesses, and activity การวางหนว ยในการตง้ั รบั = placement of units in the defense การวเิ คราะหภ ารกจิ = mission analysis การสถาปนา (เฉพาะในการรกุ /เขา ต)ี = Consolidation (Offense only) การสนธเิ คร่ืองกดี ขวาง, ทุนระเบดิ และปอมสนาม = integration of obstacles, mines, and fortifications สารบญั

ห น า | 102 การสอ่ื สาร = signal กิจเฉพาะท่แี ตละหนว ยตอ งกระทํา = specific tasks that each unit must do กจิ สําหรบั หนวยรอง = tasks for subordinate units ขอความกะทัดรัด, ชัดเจนของภารกิจหนวย = clear, concise statement of the unit's mission ขอ สรุปทีไ่ ดเ ก่ยี วกับขาศึก = the conclusions reached about the enemy ขา วสารเก่ยี วกับขาศึก = Information about the enemy ความถี่ = frequencies คําแนะนําการเคลื่อนยาย = Movement instructions คําแนะนําในการประสาน = Coordinating instructions คาํ แนะนาํ หนว ยรองตามลาํ ดบั = Subunit Instructions in Order คําสั่งการรบ = Combat Orders คําสง่ั เตือน = Warning Order คาํ ส่ังยุทธการ = Operation Order คําสั่งยุทธการ กองพนั = Battalion Opord คาํ สง่ั ยทุ ธการ กองรอ ย = Company Opord คําสั่งยทุ ธการ หมวด = Platoon Opord จากองรอย = First sergeant เจตนารมณของผบู ังคบั บญั ชา = Commander or leader's intent เจตนารมณของผบู ังคบั บญั ชาหนวยเหนอื = intent of higher commander เจาหนา ทเ่ี สนารกั ษ = Medic ใชห มายเลขอา งสาสน = Use the message reference number ซึ่งระบวุ า ใคร ทาํ อะไร เมอื่ ไร ทไ่ี หน และทําไม = It tells who, what, when, where, and why สารบญั

ห น า | 103 ดชั นี นปส. (...) = CEOI index (____) ดแู ผน บรวิ ารการยงิ สนบั สนนุ หรอื แผน บริวารยุทธการ = See fire support overlay if used, or operations ดแู ผน บรวิ ารยทุ ธการ หรอื ภาพรา งแนวความคดิ = See operations overlay or concept sketch ตวั อยา งแบบฟอรม คาํ ส่งั = Sample Orders Formats ตารางเวลาขน้ั ตน = Tentative time schedule ทก.อยูท ่บี ริเวณพกิ ัด กขค หรอื เคล่ือนยายไปกับ... = Command post located VIC XYZ, or moves with... ทัศนสัญญาณ (ถา ม)ี = Visual signals. (As required.) ท่ีต้ังขบวนสมั ภาระพัก = Field trains' Location ท่ตี งั้ ขบวนสมั ภาระรบ = Combat trains' location Movement instructions) ทพ่ี ยาบาล (ถา มี) = Aid Station (As required) นายทหารยิงสนับสนนุ กองรอย = Company FSO นามเรียกขาน = call signs นาํ หรอื ไมต องนาํ หมวกเหลก็ ไปดว ย = drop or pick up helmets แนวความคิดในการปฏบิ ัติ : ผนวก ค = Concept of Operation (Annex B) บอกวา ผบ.ตอ งการบรรลุภารกิจอยางไรตั้งแตต น จนจบ = Tells how the leader wants to accomplish the mission from start to finish เบด็ เตลด็ (ถา ม)ี = Miscellaneous (As required) แบบฟอรมคําสงั่ ยุทธการ = OPORD format ปลดเปสนาม = drop rucks เปา หมายเรง ดว น = priority targets ผนวก : = ANNEXES : ผบ.ตอน ค. = Mortar section sergeant ผบ.ตอน ตถ. = Anti-armor section sergeant สารบญั

ห น า | 104 ผตู รวจการณหนา = Forward observer ผบู งั คับหนว ยรอง = subordinate leaders ผูบงั คบั หมวด = Platoon leaders ผบู งั คับหมู = Squad leader แผนการดาํ เนนิ กลยทุ ธใ นการรบดว ยวิธีรกุ = scheme of maneuver in the offense แผนการยิงสนบั สนุน = the fire support plan ฝา ยขา ศึก = Enemy Forces ฝา ยเรา = Friendly Forces พนักงานวทิ ยโุ ทรศัพท = RATELO ภาพรา งภูมปิ ระเทศ = Terrain Sketch ภารกจิ = Mission ภารกิจของหนวยเหนือ = The mission of the higher unit ภมู ปิ ระเทศจาํ ลอง = terrain model มหี ัวขอ ยอยสาํ หรับแตละหนวย = There is a subparagraph for each unit ยทุ โธปกรณแ ละการบรกิ าร = Material and Services.(As required) รอง อยูท บี่ ริเวณพกิ ัด หรือเคลอ่ื นยา ยไปกบั ... = XO located VIC XYZ, or moves with... รองผบู งั คบั กองรอย = Executive officer รองผบู ังคบั หมวด = Platoon sergeant ระเบียบปฏบิ ัติประจํา (รปจ.) = standing operating procedures (SOPs) ระหวา งการประมาณสถานการณ = during the estimate of the situation ลําดับความเรงดวนของการสนับสนนุ = priority of support เวลาเคลือ่ นยา ยแรกสดุ = Earliest time of move เวลาซกั ซอ มการปฏบิ ตั ิ = Rehearsal times สารบญั

ห น า | 105 เวลาท่หี นวยสมทบ และ หนวยแยกตองปฏบิ ัติ = the time that their attachment or detachment takes place เวลาปฏบิ ตั ทิ ่ีคาดไว = Probable execution time เวลาและรายการทจ่ี ะตรวจสอบทแ่ี ตกตา งไปจาก รปจ. = Inspection times and items to be inspected different from SOP เวลาและสถานท่ีทจ่ี ะใหคาํ สง่ั = Time and place of OPORD สถานการณ = Situation สมมตุ ิฐาน (เฉพาะแผนยุทธการ) = Assumptions (OPLAN only) สัญญาณผาน = challenge and password เสบียงสนาม = rations หนว ยทางซา ย,ขวา และ หลงั = the units to the left, right, and rear หนวยท่เี ปนกองหนนุ ของ บก.หนวยเหนอื = Unit in reserve for higher headquarters หนวยทมี่ าสมทบ = Attachments หนวยที่มาสมทบ และหนวยแยก, = Units being attached or detached, หนวยที่สนับสนนุ บก.หนวยเหนือ = Units in support of your higher headquarters หนวยสมทบ และ หนวยแยก = Attachments And Detachments หลกี เล่ียง = avoid ใหเจตนารมณของ ผบ.แกห นวยรอง = It gives the subordinates the commander's intent สารบญั

ห น า | 106 อาวธุ และ ยทุ ธภณั ฑ (Weapons and Equipment) กระติกน้ํา canteen กระติกน้าํ , ถุงใส canteen cover กระตกิ นา้ํ , รองใน canteen cup กระติกน้ําขนาด ๒ ควอรท พรอ มถงุ 2-quart canteen w/cover กระบ่ี [นายทหารชนั้ ประทวน] sword กระบ่ี [นายทหารสญั ญาบตั ร] saber กระเปากระสุน ammunition pouch 30 กระเปา พยาบาล [สําหรับผา พนั แผล ติดสายโยงบา ] first aid dressing pouch กลองมองในเวลากลางคืน Night Vision Goggles (NVG) กลองเล็ง, แทน ติด scope mount กลองเลง็ ปน เลก็ ยาว rifle scope กลองเล็งเวลากลางคืน night vision scope กลองเล็งอนิ ฟาเรด IR scope กลองสองสองตา, กลองสองทางไกล binocular กลองสองสองตากลางคนื night vision binocular กุญแจมอื handcuffs เข็มกลัด safety pin เข็มขัดปน พก [เขม็ ขดั สนาม] pistol belt เข็มทิศเลนเซติก พรอมซอง lensatic compass w/case เข็มทิศเลนเซติกเรืองแสง [ดวยสารเรืองแสง tritium] tritium lensatic compass คงทนในสนามรบ combat proof เครื่องเขียน stationary เครื่องมองในเวลากลางคืน Night Vision Device (NVD) 30 AMMO POUCH = กระเปา กระสนุ สารบญั

ห น า | 107 เครือ่ งมอื สอ่ื สาร communication equipment เคร่ืองหาพิกดั ดว ยดาวเทยี ม Ground Positioning System (GPS) เครอ่ื งหาระยะ range finder ชุดปฐมพยาบาล first aid kit ชุดเย็บผา sewing kit เชอื กไตท างดง่ิ rapelling rope ซองเข็มทิศ compass pouch ซองปน holster ซองใสแผนที่ map case เตียงผาใบสนามพับได military cot ถุงกันน้ํา [ใชใสเสื้อผา ไวในเปสนาม] waterproof bag ถงุ เทา socks ถุงนอนพรอมถุงใส sleeping bag w/ cover ถุงบก [ถงุ ทะเล] duffel bag ถุงมือ gloves ทล่ี ับมดี knife sharpener ท่อี ดุ หู [ปองกนั เสียง หรอื บนเครือ่ งบนิ ] ear plugs โทรโขง megaphone, loud hailer นกหวีด whistle ปา ยชื่อผา [ชุดฝก ] name tapes ปายชื่อโลหะ name tag หรอื name plates สารบญั

ห น า | 108 เข็มขดั สนาม กระตกิ นา้ํ พรอ ม ถว ย พลว่ั สนามพับได พรอ มซอง สายโยงบา (CANTEEN WITH CUP) (ENTRENCHING TOOL WITH COVER) (SUSPENDER) (PISTOL BELT) เปสนาม จานอาหาร พรอมอุปกรณ หมวกเหลก็ ผา กันฝน หนากากปอ งกันไอพิษพรอมถงุ (RUCKSACK) (HELMET) (PONCHO) (GAS MASK WITH BAG) ดาบปลายปน พรอ ม ฝกดาบ เสาเตน ท เชอื ก และสมอบก (BAYONET WITH SCABBARD) ปลย.เอ็ม 16 ถอดรับตรวจ สายสะพายปน (SLING) เปลสนาม jungle hammock เปสนาม ruck sack ผงโรยเทา foot powder ผาคลุมกันฝน (ผา ปนโจ) poncho ผา คลมุ กันฝน, รองใน poncho liner [เหมอื นผา หม ] ผาพันคอ scarf ผา หม สนาม field blanket แผนปูรองนอน sleeping pad พลั่วสนามพรอมซอง carrier and entrenching tool ไฟฉาย flashlight ไฟฉายหวั งอ military crookneck flashlight มดี ขวา ง throwing knife สารบญั

ห น า | 109 มีดพก pocket knife มดี พบั folding knife โลกันกระสนุ [ตร.] bullet resisting shield วิทยุติดตามตัว pager; beeper [ภ.] วิทยมุ อื ถอื walkie-talkie แวน ตาทหาร military glasses สมดุ พก pocket notebook สายโยงบา [สายเกง] field suspenders เสอ้ื กระสนุ assault vest เสอ้ื เกราะกนั กระสนุ body armor; bullet-resisting vest หนากากปอ งกนั ไอพิษ; หนากากปอ งกันแกส protective mask; gas mask อปุ กรณดาํ รงชีพ survival kit กับระเบิด booby trap แกส นํา้ ตา tear gas ทุนระเบิด mine ทุน ระเบดิ ดกั รถถัง antitank mine ทนุ ระเบิดสังหารบคุ คล antipersonnel mine ระเบดิ ขวด, ระเบิดตอ ตา นรถถัง molotov cocktail ระเบิดมอื grenade ลวดสะดดุ trip wire ลูกระเบิดขวาง (ลข.) hand granade วัตถุระเบิด explosive เครื่องฉีดไฟ flame-thrower เครอื่ งยิงจรวดตอสูร ถถงั (คจตถ.) anti-tank rocket launcher เครื่องยิงพลุสัญญาณ pyrotechnic pistol เครื่องยิงลกู ระเบิด (ค.) Mortar (MORT) สารบญั

ห น า | 110 เครื่องยิงลกู ระเบิดขนาดหนัก (ค.หนัก) heavy mortar เครอื่ งยิงลกู ระเบิดจากปน เลก็ ยาว (ค.ปลย.) granade launcher จรวดหลายลํากลอง (จลก.) Multi-Launcher Rocket System (MLRS) ตะบอง truncheon ; baton อาวธุ Weapon (WPN) อาวุธตอสูรถถังขนาดเบา Light Antiarmor Weapon (LAW) อาวุธนําวถิ ีตอ สูรถถัง Antitank Guided Missile (ATGM) อาวธุ ปน firearm กระสนุ จรงิ life bullet กระสนุ ปน (ท้ังหวั และปลอกกระสุน) cartridge กระสุนหลอก blank cartridge ซองกระสนุ magazine ซองกระสุนปนพก pistol magazine ดาบปลายปน และซองดาบ bayonet and scabbard ปนกลเบา (ปกบ.) Light Machine Gun (LMG) ปนกลเบาของหมู Squad Automatic Weapon (SAW) ปนกลมอื (ปกม.) Sub-Machine Gun (SMG) ปนกลหนัก (ปกน.) Heavy Machine Gun (HMG) ปน ซมุ ยงิ 31 sniper rifle 30 ปน พก, ปน พกส้ัน (ปพ.) pistol ปนพกสนั้ อตั โนมตั ิ automatic pistol ปน ยาว rifle ปนยาวอตั โนมตั ิ automatic rifle ปน ไรแรงสะทอ นถอยหลงั (ปรส.) Recoilless Rifle (RCLR) ปนลูกซอง (ปลซ.) shotgun 31 ปน เล็กยาวสาํ หรบั พลแมนปน (ใชซุม ยงิ ระยะไกล) สารบญั

ห น า | 111 ปน ลูกซอง (ลกู ปราย) shot (AAA) ปนลูกโม, ปน พกรีวอลเวอร revolver (HOWT) ปนเล็กยาว (ปลย.) rifle ปน ใหญขนาดกลางกระสนุ วถิ โี คง (ปกค.) medium howitzer (SP) ปนใหญขนาดเบากระสุนวิถีโคง (ปบค.) light howitzer ปนใหญตอสูอากาศยาน (ปตอ.) Antiaircraft Artillery ปนใหญวิถีโคง (ปค.) Howitzer ปนใหญวถิ รี าบ (ปร.) gun ลากจูง [ปน ใหญ] (ลจ.) tow หัวกระสุนปน bullet อัตตาจร [ปนใหญ] (อจ.) self propelled ประเภทของเรอื (TYPES OF SHIP) เรือคอรเวต [๕๐๐-๒,๐๐๐ตนั ] (คว.) Corvette (CVT) (SS) เรือดาํ นํ้า [ธรรมดา] (ด.) Submarine (SSN) เรือดํานา้ํ ทาํ การในทะเลลึก Fleet Submarine (PC) เรอื ดาํ นํ้าปรมาณู Nuclear Submarine (LCV) (CV CVN) เรอื ตรวจการณ [๒๐-๔๕๐ตัน] Patrol Ship เรอื ตรวจการณ (ปราบเรือดาํ นํา้ ) (ตกด.) Patrol Craft เรอื บรรทุกเครือ่ งบนิ ขนาดเบา [อก.] Light Aircraft Carrier เรือบรรทุกเครื่องบิน Aircraft Carrier สารบญั

ห น า | 112 The Nimitz-class aircraft carrier USS Harry S. Truman (CVN 75) เรอื บรรทกุ เครือ่ งบนิ โจมตี Attack Carrier (CVA) เรอื บรรทกุ เคร่ืองบินปราบเรอื ดํานํ้า Anti-Submarine Carrier (CVS) เรือบรรทุกเครอื่ งบินยกพลขน้ึ บก Landing Helicopter Amphibious (LHA) เรือประจัญบาน (เรอื สงคราม) Battle Ship (BB) เรอื พยาบาล (พย.) Hospital Ship (AH) เรอื พฆิ าต [๓,๐๐๐๘,๐๐๐ ตัน] (พฆ.) Destroyer (DD) เรอื ฟรเิ กต [๑,๐๐๐-๔,๐๐๐ ตัน] (ฟก.) Frigate (FF) เรือโจมตียกพลขนึ้ บก Amphibious Assault Ship เรือยกพลขึ้นบก Amphibious Warfare Ship เรือยกพลขึ้นบกขนาดกลาง (ยพก.) Landing Ship Medium (LSM) เรือยกพลขึ้นบกขนาดใหญ [๘,๔๕๐ ตัน] (ยพญ.) Landing Ship Tank (LST) เรอื ระบายพลขนาดเลก็ [๑๓.๕ ตัน](รพล.) Landing Craft Vehicle, Personnel (LCVP) เรอื ระบายพลขนาดกลาง [๖๐ ตัน](รพก.) Landing Craft, Mechanized (LCM) เรือระบายพลขนาดใหญ [๓๗๕ ตัน](รพญ.) Landing Craft, Utility (LCU) เรือเร็วโจมตี [๒๐๐-๕๐๐ ตนั ] (รจ.) Fast Attack Craft (FAC) เรอื เรว็ โจมตี (ตอรปโด) (รจต.) Fast Attack Craft (Torpedo) (FAC(T)) เรอื เร็วโจมตี (ปน) (รจป.) Fast Attack Craft (Gun) (FAC(G)) เรอื เรว็ โจมตี (อาวธุ นาํ วถิ ี) (รจอ.) Fast Attack Craft (Missile) (FAC(M)) สารบญั

ห น า | 113 เรือลาดตระเวน [ระวาง ๖,๐๐๐-๑๐,๐๐๐ ตัน] Cruiser (CV) เรอื ลาดตระเวนตดิ อาวธุ นาํ วถิ ี [ระวาง ๖,๐๐๐-๑๐,๐๐๐ ตัน] Guided Missile Cruiser (CG) U.S. flag flies from the Aegis guided missile cruiser USS Mobile Bay (CG 53) as it patrols the Gulf during Operation Iraqi Freedom, March 24, 2003 เรือลาดตระเวนตดิ อาวธุ นาํ วิถนี วิ เคลียร GUIDED MISSILE CRUISER, NUCLEAR (CGN) เรือธง Flag Ship เรอื รบหลกั Capital Ship เรอื บญั ชาการ Command Ship เครื่องบนิ ขบั ไล [ทร.] Fighter เครื่องบนิ โจมตี [ทร.] Strike Aircraft เครื่องบนิ ทหารเรือ32 [ทร.]Naval Aircraft 31 เครื่องบนิ ที่ใชฐานบนิ บนบก [ทร.] Shore-Based Maritime Aircraft ยานยนตลอ บที อี าร 33 BTR = Bronetransporter 32 32 ใชฐานบินจากเรอื บรรทุกเครือ่ งบนิ หรอื เรืออนื่ ๆ 33 ยานรบลอหมุ เกราะของโซเวียต ; ยานขนสง หมุ เกราะ สารบญั

ห น า | 114 ยานยนตล อ บอี ารด เี อม็ 34 BRDM = Boyevaya Razvedyvatel’naya Dozornaya 33 ashina รถเกราะวางสะพาน Armor Vehicle Launching Bridge (AVLB) รถถัง (ถ.) tank รถถังเบา (ถ.เบา) light tank รถถังหลัก (ถ.หลัก) Main Battle Tank (MBT) รถรบทหารชา ง Combat Engineer Vehicle (CEV) รถรบทหารมา [แบรดลยี  เอ็ม.๓] Cavalry Fighting Vehicle (CFV) รถรบทหารราบ [แบรดลีย เอ็ม.๒] Infantry Fighting Vehicle (IFV) รถลอหุมเกราะเบา Light Armored Vehicle (LAV) รถสายพานลาํ เลยี งพลหมุ เกราะ (รสพ.) Armored Personal Carrier (APC) รสพ. บเี อ็มดี 35 BMD = Boyevaya Mashina Desantnika 34 รสพ. บีเอ็มพี 36 BMP = Boyevaya Mashina Pekhoty 35 รสพ.ติดจรวดโทว Improved Tow Vehicle (IFV) 34 ยานลาดตระเวนรบสะเทินนํ้าสะเทนิ บกของโซเวยี ต 35 ยานรบสะเทนิ นํ้าสะเทินบกสง ทางอากาศของโซเวียต 36 รถสายพานลาํ เลียงพลหุมเกราะมาตรฐานของรัสเซยี สารบญั

ห น า | 115 ยานรบแบบตางๆ ของโซเวียต (SOVIET COMBAT VEHICLES) รสพ.บเี อม็ ดี รสพ.บีเอม็ พี - 3 โซเวยี ต ยานยนตรล อ หมุ เกราะ บีอารดเี อ็ม (BMD) (BMP-3) (BRDM) ยานรบแบบตางๆ (COMBAT VEHICLES) ยานรบทหารราบ แบรดลยี่  เอม็ 2 ยานรบทหารมา แบรดลย่ี  เอม็ 3 เอ 1 รสพ.เอ็ม 113 (IFV BRADLEY M 2) (CFV BRADLEY M 3 A1) (APC M113) รสพ.บงั คับการ เอม็ 577 รสพ.ตดิ จรวด โทว เอ็ม 901 รสพ.ติด ค. เอ็ม 106 (APC M577) (ITV M901) (APC M 106) ยานรบแบบตางๆ (COMBAT VEHICLES) ยานรบทหารชา ง เอม็ 728 ปน ใหญอตั ตาจร เอ็ม 109 รถเกราะวางสะพาน เอม็ 48 (CEV M728) (SP M109) (M48 AVLB) สารบญั

ห น า | 116 ยานลาํ เลยี งพลหมุ เกราะลอ ยาง BTR-3E1 ประเทศ ยเู ครน สารบญั

ห น า | 117 สารบญั

ห น า | 118 XM25 shoulder fired, semi-automatic 25 mm grenade launcher การสนบั สนุนการชว ยรบ (สสช.) หรอื การชว ยรบ (ชร.) (Combat Service Support - CSS) การขาดราชการ Absent Without Leave (AWOL) การชวยราชการ Temporary Duty (TDY) การไดร ับแตงตงั้ ยศ หรือตาํ แหนง appointment การบรรจุใหม reassignment (PCS) การเบิกทดแทน replacement demand การแบงประเภทใหม reclassification การปลด [ประจําการ] retirement การยายขาด Permanent Change Of Station การยา ยเหลา transfer การลงทณั ฑ punishment การลดชั้น downgrade สารบญั

ห น า | 119 การลดยศ demotion การลา และใบอนญุ าตลา leave and passes การลา leave การลาคลอด prenatal and post partum leave การลาฉกุ เฉนิ , เรงดว น emergency leave การลาประจาํ ป annual leave การลาปว ย convalescent leave การลาออก resignation การเลื่อนยศ promotion การไลออก dismissal การสงกาํ ลงั supply การใหออก discharge ความกาวหนาของอาชีพ career progression ตําแหนง designation ทายาท [กบ.] kin ใบลา, ขอลาพัก leave of ใบลาที่อนุมัติใหลาราชการ leave ผังการจัด organization chart พักราชการ suspend รกั ษาราชการแทน (รรก.), ทาํ การแทน acting สาํ รองราชการ (สรก.) reserved in อัตรา strength อัตรากาํ ลังพล [ตาม อจย.] personnel basis อัตราโครง cadre strength อัตราเต็ม full strength อัตราลด reduced strength สารบญั

ห น า | 120 เงินคาเชาที่พัก quarters allowances เงนิ คาเชาทพ่ี ักและอาหาร quarters and subsistence allowance เงินคาเชาบาน allowances for quarters เงินคาเชาบานตางประเทศ [อม.] Overseas Housing Allowances (OHA) เงินคาท่พี กั เบ้ืองตน 37 [อม.] Basic Allowance For Quarters (BAQ) diving pay 36 Basic Allowance For Subsistence เงนิ คาประดาน้ํา 38 [อม.] 37 เงนิ คาอาหารเบือ้ งตน 39 [อม.] 38 (BAS) เงินเดือน salary เงินทนุ งบเสริมสราง [กบ.] working capital fund เงินทนุ หมนุ เวียน revolving fund เงินนอกงบประมาณ non appropriated fund เงินบําเหน็จและบํานาญ lump sum and pension pay เงินเบ้ยี เล้ียงทหาร subsistence allowance (COLA) เงนิ เพ่มิ คา ครองชพี 40 [อม.] Cost-Of-Living Allowance 39 เงินเพิ่มพิเศษรายเดือนคาวิชา Education Pay (พ.ค.ว.) เงนิ เพิ่มพเิ ศษรายเดอื นสาํ หรบั นักโดดรม ประจํากอง Parachute Pay (พ.ด.ร.) เงินเพม่ิ พเิ ศษรายเดือนสาํ หรบั นกั โดดรม สาํ รอง Reserved Parachute Pay (พ.ด.ร.ส.) เงินเพม่ิ พเิ ศษรายเดือนสําหรบั นักบนิ ตรวจการณท หารปน ใหญ Observation Flying Pay (พ.น.ต.) เงินเพิ่มพิเศษสําหรับการสูรบ combat pay (พ.ส.ร.) 37 อม. - ไมค ิดรวมในการหกั ภาษีรายได อัตรา ๑๓.๒๐ – ๕๐.๗๐ เหรยี ญสหรฐั ฯ ตอเดือน นายทหารจะไดเงินมากนอ ย ตามชั้นยศ และสถานภาพการสมรส 38 อม. - นายทหารทท่ี าํ หนา ท่ปี ระดานาํ้ ไดรบั ๑๑๐ - ๒๐๐ เหรยี ญสหรัฐฯ ตอเดอื น ขนึ้ กบั ประเภทของหนา ท่ี 39 อม. - ไมคิดรวมในการหกั ภาษรี ายได นายทหารทุกคนจะได ๑๓๙.๓๙ เหรยี ญสหรฐั ฯ ตอ เดอื น 40 อม. - เปน เงินท่ีจายเพิ่มจากปกติ ในกรณีทเี่ ดินทางไปราชการตา งประเทศ สารบญั

ห น า | 121 เงินเพ่ิมพเิ ศษสําหรับนายแพทย 41 [อม.] special pay for doctors 40 เงินเพิม่ พิเศษสาํ หรบั หนาท่ีเส่ยี งภยั 42 [อม.] hazardous duty pay 41 เงินรองจาย imprest fund บัญชีจายเงนิ pay rolls หลักฐานการจายเงิน pay records การเก็บรักษา [กบ.] storage การขนสง [กบ.] transportation การจดั หา [กบ.] Procurement การจดั หารายยอ ย [กบ.] small purchase การจา ย [กบ.] Issue การจา ยเงนิ ตามงวดงาน [กบ.] progress payment การจาํ หนา ย [กบ.] disposal การแจกจา ย 43 [กบ.] distribution 42 การซอ มบํารงุ [กบ.] maintenance การรบั [กบ.] receipt การสงกาํ ลงั บํารงุ (กบ.) logistics การสงกาํ ลงั เพิม่ เตมิ resupply การออกคําสั่ง issuance of order เกณฑเบกิ requisitioning objective (r/o) คงคลัง [กบ.] on-hand ความตองการ [กบ.] requirement 41 อม. - สาํ หรับแพทยฝ กหัด หรือ ทีท่ าํ งานมานอ ยกวา ๒ ป ไดรับ ๒๖๕ เหรยี ญสหรัฐฯ ตอ เดือน และแพทยผ ทู าํ งานมากกวา ๖ ป ขน้ึ เปน ๑,๐๐๐ เหรียญฯ ตอ เดือน และมีเงนิ โบนัส ประจาํ ปสาํ หรบั ตาํ แหนงสําคญั และแพทยเฉพาะทางท่ีหายาก 42 อม. - เชน คาปก รม , ระเบดิ ทาํ ลาย เปนตน นายทหารจะไดรบั ๑๑๐ เหรยี ญสหรฐั ฯ ตอ เดอื น 43 ประกอบดว ย ๑. การรบั (Receipt) ๒. การเก็บรักษา (Storage) ๓. การขนสง (Transportation) และ ๔. การจา ย (Issue) สารบญั

คา งจา ย [กบ.] due-out ห น า | 122 (MSR) คา งรับ [กบ.] due-in คณุ ลกั ษณะเฉพาะ [กบ.] specification ชอ่ื รายการ nomenclature ทรพั ยส ินของคนตาย [กบ.] personal effects ทรัพยส ินของคนเปน [กบ.] personal property ทรัพยส ินประจําหนว ย organization property นํา้ หนักรวม gross weight บทบาทการจดั หา [กบ.] role of procurement ใบเบกิ issue slip ใบเบกิ ฉุกเฉนิ emergency requisition ใบสง คืน turn-in slip วงรอบการสง กาํ ลงั 44 [กบ.] supply cycle 43 เสนทางสง กาํ ลัง (สทก.) supply route เสนหลักการสง กาํ ลัง (สลก.) Main Supply Route อัตราการส้นิ เปลอื ง consumtion rate อตั ราบรรทกุ floor load rating อัตรายุทธโธปกรณ equipment 44 ประกอบดว ย ๑. ความตอ งการ (Requirement) ๒. การจัดหา (Procurement) ๓. การ แจกจา ย (Distribution) ๔. การซอ มบาํ รุง (Maintenance) และ ๕. การจําหนาย (Disposal) สารบญั

ห น า | 123 ประเภทสงิ่ อปุ กรณท างทหาร กระทรวงกลาโหม สหรัฐฯ ประเภทยอย - SUBCLASSES สัญญลกั ษณทางทหาร สป.1 - CLASS I SYMBOLS A - NONPERISHABLE C - COMBAT RATIONS อาหาร R - REFRIGERATED สป.2 -SUBSISTENCE S - OTHER NONREFRIGERATED CLASS II W - WATER ยทุ ธภัณฑส ว นบคุ คล A - AIR CLOTHING, INDIVIDUAL EQUIPMENT, B - GROUND SUPPORT MATERIAL E - GENERAL SUPPLIES TOOLS, ADMIN SUPPLIES F - CLOTHING G - ELECTRONICS สป.3 - CLASS III M - WEAPONS T - INDUSTRIAL SUPPLIES นํา้ มันประเภทตางๆ PETROLEUM, OILS, LUBRICANTS A - POL FOR AIRCRAFT W - POL FOR SURFACE VEHICLES P - PACKAGED POL สป.4 - CLASS IV A - CONSTRUCTION B - BARRIER วสั ดกุ อ สราง A - AIR DELIVERY CONSTRUCTION MATERIALS W - GROUND สป.5 - CLASS V A - AIR B - GROUND SUPPORT MATERIAL กระสุนวัตถรุ ะเบิด D - ADMIN VEHICLES G - ELECTRONICS AMMUNITION J - RACKS, ADAPTERS, PYLONS K - TACTICAL VEHICLES สป.6 - CLASS VI L - MISSILES M - WEAPONS รายการท่ีเปนความตอ งการของสว นบุคคล N - SPECIAL WEAPONS X - AIRCRAFT ENGINES PERSONAL DEMAND ITEM A - MEDICAL MATERIEL สป.7 - CLASS VII B - BLOOD/ FLUIDS ยุทธภัณฑหลกั MAJOR END ITEMS : RACKS, PYLONS TRACKED VEHICLES, ETC. สป.8 - CLASS VIII สป.สายแพทย MEDICAL MATERIALS สป.9 - CLASS IX A - AIR B - GROUND SUPPORT MATERIAL ชิ้นสว นซอ ม - REPAIR PARTS D - ADMIN VEHICLES G - ELECTRONICS สป.10 - CLASS X K - TACTICAL VEHICLES L - MISSILES ยุทโธปกรณท ไี่ มใ ชสนบั สนนุ โครงการทางทหาร M - WEAPONS N - SPECIAL WEAPONS MATERIAL FOR NONMILITARY X - AIRCRAFT ENGINES PROGRAMS สารบญั

ห น า | 124 ส่งิ อํานวยความสะดวกในที่ตั้งทางทหาร (Military Installation Facilities) คา ย (กง่ึ ถาวร) Camp [เชน Kangkachan Training Camp] คา ยทหาร (ถาวร) Fort [มสี ่งิ อาํ นวยความสะดวกมากพอ เชน คายสรุ สหี  = Fort Surasri 45]โครงการของหนวย Unit Project โครงการหลวง Royal Project ประตูใหญ [หนา คาย] main gate พิพธิ ภณั ฑ museum (Military Musuem พพิ ธิ ภณั ฑท หาร) พ้ืนที่การฝก training area พ้ืนท่ีพกั ผอ น recreation area พืน้ ท่หี วงหาม restricted area รา นคา คา ย main mall รา นคา ยอยของคา ย mini mall ; shoppette รานจาํ หนายหนงั สอื bookstore [จําเปนตองมใี นหนว ยศกึ ษา และหนว ยรบสมัยใหม] รานคา สวสั ดิการของคาย; พเี อก็ ซ Post Exchange ; main exchange46 (main px) รานจาํ หนา ยเครอ่ื งแบบ/เครอื่ งใชท หาร army military clothing sales47 [ทบ.อม.] รา นจาํ หนา ยอาหารสด/แหงในคายทหาร48 commissary [ทบ.อม.] 47 รา นจาํ หนา ยแวน ตา optical shop รานใหเชาวดี ิโอ video rental shop โรงนอนทหาร barracks 45 เดมิ เรยี กวา คา ยกาญจนบรุ ี (Kanchanaburi Camp) เปนคายกึง่ ถาวร ใชฝกกําลังพล ไป ปฏบิ ตั กิ ารรบ ณ สาธารณรฐั เวยี ดนามใต 46 ดําเนินการโดย AAFES = Army And Airforce Exchange Services บริการเฉพาะกําลัง พล และครอบครัวที่มีบัตรของทางราชการ - สินคามีราคาถูกกวารานภายนอก แตไมมีการ เซ็นเช่ือสินคา 47 มีเคร่ืองสนาม, เครอ่ื งแบบทหาร, หนงั สอื อา นทางทหาร, ของใชทางทหารตาง ๆ จําหนาย ในราคาถูกสําหรบั กําลงั พล 48 เหมือนกับ ซูปเปอรมาเกต็ ของพลเรอื น แตสินคา มรี าคาถูกกวาประมาณ ๒๕ เปอรเซนต สารบญั

ห น า | 125 โรงพลศึกษา; โรงยิม gymnasium โรงเรียนอนบุ าล kindergarten โรงอาหาร, โรงเลี้ยง mess hall ลานสวนสนาม, พิธี parade ground ศูนยกรรมวิธขี อ มลู (ศกม.) data processing center ศนู ยขาว (ศข.) message center ศนู ยจ ําลองยุทธ [หนวย] war game center ศูนยพัฒนาเดก็ เลก็ chlid development center ศูนยส่อื สาร (ศสส.) communications center สนามกีฬา stadium สนามกฬี าในรม indoor stadium สนามเด็กเลน playground สนามตระกรอ [ไทย] ta-klaw court สนามทดสอบกําลังใจ obstacles course [อม.] [หรือ assault course [อก.]] สนามเทนนิส tennis court สนามบาสเกตบอล basketball court สนามฝก ยงิ ปน ดว ยกระสุนจรงิ live fire exercise range สนามยิงปน ๑,๐๐๐ น้ิว 25-meter firing range สโมสรนายทหารชน้ั ประทวน NCO’s club สโมสรนายทหารชั้นสัญญาบัตร officer’s club ; O’ club สโมสรแมบานนายทหาร Officer Wives’ Club (owc) สระวายนํา้ swimming pool สถานวี ทิ ยุคายสุรสหี  Fort surasri’s radio station หนวยฝกทหารใหม new recruit training unit หนว ยพยาบาล dispensaries หองคอมพิวเตอร computer room สารบญั

ห น า | 126 หองตดั ผม barbershop หองปฏิบัตกิ ารภาษาอังกฤษ English laboratory หอ งประชุม conference room หอ งประวัตศิ าสตรหนว ย unit historical room หองพกั ผอ น 49 [ในกองรอย] day room ; recreation room 48 หอ งเพาะกาย ; หอ งยกนา้ํ หนกั weightlifting room หองยุทธการ operations room หอ งสมดุ library หองสมุด คา ย main post library หอ งสมดุ ทางทหาร military library หองสวม latrine ; toilet หองออกกําลังกาย fitness room หองอาบนาํ้ bathroom แหลง รวมรถ motor pool อนสุ าวรยี  monument ; statue อาคาร ; ตกึ building [เชน อาคารชนะศึก = Chanasuk Building] อาคารธรรมสถาน religious building 49 มาตรฐานส่ิงอาํ นวยความสะดวก และบนั เทิงภายในหอ งนี้ มี ทีวี, วีดิโอ, เคร่ืองเสียง, เกมส, โตะ ปง ปอง, โตะสนุกเกอร, หมารกุ , หนงั สอื พิมพ, วารสารฯ บริการสําหรับกําลังพลในหนวย พกั ผอนหลังเลิกงาน สารบญั

ห น า | 127 บทท่ี 3 : การสอบภาษาอังกฤษสาํ หรับบคุ ลากรของกองทัพ ในการศึกษาตอตางประเทศการสมัครงานการอบรมและการดูงาน ใน หลกั สูตร ตา งประเทศกําลังพลของกองทัพจะตองมคี ณุ สมบัตทิ ี่สําคญั คอื ความสามารถในการใชภาษาอังกฤษเพื่อการติดตอสื่อสาร เนอ่ื งจากความสามารถ ทางภาษาเปน สิ่งจําเปน อยางย่ิงสําหรับการใชชีวิตประจาํ วันในตางแดน ซึ่งจะมี ผลกระทบโดยตรงตอการทาํ งานและการศกึ ษาในตา งประเทศ ในปจจบุ ันมกี ารสอบท่ี นยิ มใชส ําหรับวดั และประเมนิ ทกั ษะ ความรู ความสามารถในการใชภ าษาองั กฤษอยู หลากหลาย แตและชนิดกไ็ ดรับการออกแบบและพฒั นาขึน้ ตามวัตถุประสงคข อง การใชง านภาษาองั กฤษ และการยอมรับของประเทศตางๆ วาตองการผลของการ สอบตามการสอบชนิดใดเปนสําคัญ อกี ท้งั ยังมกี ารสอบภาษาอังกฤษเฉพาะวงการ เชน วงการทหาร เปนตน ในบทนี้ จะแนะนาํ ชนิดของแบบทดสอบภาษาอังกฤษทไี่ ดรบั การยอมรบั ใน ปจจุบนั ทั้งในภาคเอกชนและในวงการทหาร จาก 2 คา ยยกั ษใหญคือ ภาษาอังกฤษ แบบอเมริกันและภาษาอังกฤษแบบอังกฤษ/ออสเตรเลียน โดยสามารถแบงออกเปน 3 ประเภท 6 ชนิด ซงึ่ มรี ายละเอยี ดดงั น้ีไดแ ก TOEFL (Test of English as a Foreign Language) TOEIC (Test of English for International Communication) ECL (English Comprehension Level Test) ALCPT (American Language Course Placement Test) IELTS (The International English Language Testing System) และ ADFELPS (Australian Defence Force English Language Profiling System) โดยวตั ถปุ ระสงคของบทน้ี จะทาํ การใหข อ มูลเบ้อื งตนของการทดสอบ ภาษาองั กฤษทงั้ 6 ชนดิ ในเรื่องของ ลักษณะของการสอบ การประเมินผลและ เกณฑใ นการตดั สนิ ความรคู วามสามารถทาง ภาษา อังกฤษของผูรับการทดสอบ ซึ่งจะเปนประโยชนใ นการเตรียมตัวกอนการสอบและชวยใหผเู ขา รับการทดสอบ สารบญั

ห น า | 128 เขาใจรูปแบบ วิธีการ รวมถงึ ลดความตื่นเตน ทีอ่ าจสง ผลใหผลการสอบตาํ่ กวาระดบั ความสามารถทแ่ี ทจ รงิ ประเภทของการสอบภาษาองั กฤษ การสอบความสามารถทางภาษาองั กฤษ มหี ลายชนดิ สามารถจาํ แนกประเภทตามวตั ถปุ ระสงคข องการสอบและการใชง าน ออกเปน 3 ประเภท ดงั ตอไปนี้ 1. การสอบภาษาองั กฤษท่ีมีจดุ ประสงคห ลักเพอ่ื ใชเปน เกณฑ สาํ หรบั การศึกษาตอในระดับ อดุ มศกึ ษาในประเทศทใ่ี ชภ าษาองั กฤษผทู ีจ่ ะ ศกึ ษา ตอตางประเทศจําเปน ตองสอบผานตาม เกณฑทม่ี หาวิทยาลัยกาํ หนดไว ซึง่ แตละมหาวิทยาลยั จะมีเกณฑกาํ หนดความตอ งการที่ แตกตางกนั ตัวอยาง การสอบเพื่อใชเปน เกณฑสําหรับการศึกษาตอในระดับอุดมศึกษา ไดแก TOEFL และ IELTS 2. การสอบภาษาอังกฤษเพื่อเปนเกณฑในการคัดเลอื กในการรับทุนศึกษาและ ดูงานตางๆ ทจี่ ํากัดเฉพาะในวงการทหารทใี่ ชอ ยูในปจจบุ นั คือแบบทดสอบ การฟง และอา นภาษาองั กฤษ ของกระทรวงกลาโหมสหรัฐ ฯ ไดแก ECL และ ALCPT และการสอบจัดระดับความ สามารถทางภาษาองั กฤษของ กระทรวงกลาโหมออสเตรเลียไดแก ADFELPS 3. การสอบภาษาองั กฤษทมี่ งุ วัดความสามารถในการสื่อสารเปน สําคญั ซงึ่ สามารถใชป ระกอบ ในการสมคั รเขาทาํ งานไดแก TOEIC เปน ตน การสอบ ภาษาอังกฤษเพือ่ ใชเปน เกณฑ สําหรับการศึกษาตอในระดับอุดมศึกษา สารบญั

ห น า | 129 การสอบ TOEFL (Test of English as a Foreign Language) การสอบ TOEFL (Test of English as a Foreign Language) TOEFL เปน การสอบภาษาองั กฤษแนวอเมรกิ ันสําหรบั ผทู ไี่ มใ ชเจา ของภาษา (non-native speakers of English) ในดานการฟง อาน เขียน ผสู อบ TOEFL สวนใหญมี จุดมงุ หมาย เพื่อใชผลการสอบในการสมัครเขาศึกษาในระดับอุดมศึกษาทั้งระดับ ปริญญาตรี โท เอก ในตางประเทศ ปจจบุ ันมีมหาวิทยาลัยกวา 4,400 แหง ท่ใี ชผ ล การสอบTOEFL เปนตัวคัดเลือกนักศกึ ษา ตางประเทศ นอกจากนี้สถาบันของรัฐ หลายแหง ไดใชการสอบ TOEFL ในการประเมนิ ความสามารถทางภาษาของบคุ ลากร ในหนวยงาน TOEFL ผลิต และพัฒนาขึ้นโดยสถาบันผลิตแบบทดสอบ Educational Testing Service (ETS) ที่เมืองพริน้ สตนั รฐั นวิ เจอรซ ี สหรฐั ฯ ซ่งึ เปน ท่ียอมรับจาก ทว่ั โลกวาเปน องคก รชั้นนํา ในดานการพัฒนาแบบทดสอบ ขอสอบ TOEFL เปน ขอ สอบที่วัดสมิทธิภาพทางภาษา (English Proficiency Test) กลา วคือ เปน แบบทดสอบท่ใี ชวัดทักษะความสามารถ ที่ผูสอบมอี ยแู ละสามารถนาํ เอาไปใชไดใ น ขณะนั้น ซ่ึงจะแตกตางจากขอสอบทีว่ ดั ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน (Achievement Test) ที่ใชเ มอ่ื ตอนเปน นกั เรยี น-นักศกึ ษาซง่ึ มักจะ มีวัตถุประสงคในการทดสอบ ผูเรียนวา ไดเรียนรูถึงเนื้อหาตาง ๆ มากนอ ยเพียงใด คะแนนของ TOEFL ไมม ีเกณฑ ไดหรือตกแตคะแนนจะเปนตวั ช้วี ดั ความสามารถทางภาษาที่แทจริง ของผูสอบ ลักษณะของการสอบ ในอดีตการสอบ TOEFL จะเปนระบบการสอบแบบตอบในกระดาษ คําตอบ (Paper- Based Test) แตป จจุบนั เปนการสอบโดยใชคอมพิวเตอร (Computer- Based Test) ซ่ึง นํามาใชในหลายประเทศทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย สําหรบั ประเทศไทยเร่มิ ใชในป 2541 แมวา คาใชจ าย ในการสอบโดยใชคอมพวิ เตอรจะเพิม่ มากกวาแบบตอบในกระดาษคําตอบถึง 33 % แตการสอบโดยใชคอมพิวเตอรมี ลักษณะพิเศษที่แตกตางจากการสอบแบบเดิม คือ คอมพิวเตอรจะสามารถประเมิน ความสามารถของผูสอบไปพรอม ๆ กบั การทําขอสอบ และ สามารถคัดเลือกขอสอบ สารบญั

ห น า | 130 ตามระดบั ความยากงา ย ตง้ั แตง า ย ปานกลาง ยาก อกี ท้งั ยงั สามารถ ประเมินระดับ ความสามารถทางภาษาของผสู อบไดข ณะกาํ ลงั ทาํ การสอบ ซงึ่ ทําใหเกดิ ความ รวดเร็วในการประเมินผลการสอบผูสอบจึงสามารถ รผู ลเรว็ และสามารถสง ผลการ สอบใหกบั มหาวทิ ยาลัยทไ่ี ดส มคั รไวไ ดท นั ทีทางระบบออนไลนโ ดยไมตอ งเสียเวลา ในการรอคอยผล เหมือนในอดีต สําหรับการสอบโดยใชคอมพิวเตอร จะมีวธิ ีการเลอื กขอสอบอยู 2 ลกั ษณะ คือ 1. การสอบแบบไมไดป รับเลือกขอ สอบตามระดับความสามารถ (Non Adaptive Testing) คอมพิวเตอรจะเลือกคําถามที่แตกตางกนั ใหผูสอบแตละรายโดยไมไ ด พจิ ารณา ระดบั ความ สามารถของผสู อบ แตจ ะจัดคาํ ถามทม่ี ีตง้ั แตง า ยท่สี ดุ จนถงึ ยากทสี่ ดุ และวิธีการใหค ะแนนจะ เหมือนกบั การสอบแบบตอบในกระดาษคําตอบ คือคะแนนจะมากหรือนอยขึ้นอยกู บั จาํ นวน ขอ ทตี่ อบถกู ในเวลาทีจ่ ํากดั การสอบแบบ นี้จะใชในการสอบภาคการอาน (Reading Comprehension Section) 2.การสอบแบบปรับเลือกขอสอบตามระดับความสามารถ (Adaptive Testing) คอมพิวเตอรจะเลือกคําถามที่เหมาะสมกับระดับความสามารถใหผูสอบแตล ะราย ผสู อบจะไดร ับขอ สอบ ทีละขอ และเมือ่ ผูสอบเลอื กตอบตวั เลอื กที่ถูกตอง คอมพิวเตอร จะเลือกขอสอบที่มีความ ยากมากขนึ้ ในขอถัดไป ตรงกันขามหาก ผูสอบเลอื กตัวเลอื กที่เปนคําตอบที่ผิดคอมพิวเตอรจ ะเลือกขอสอบที่มีความยาก นอยลงในขอถัดไปจํานวนของขอสอบของแตละบุคคลจะแตกตาง กันไปข้ึนอยกู บั ผลของการเลือกตอบ และจะมีการจํากัดเวลาในการทําโดยคอมพิวเตอรจะทํา การวดั ระดับความสามารถทางภาษาดวยการตรวจสอบจากคําตอบทผี่ ูสอบเลือกการสอบวิธี น้จี ะ มีจํานวนขอสอบนอ ยกวาการสอบแบบตอบในกระดาษคําตอบ ซึ่งวิธีการให คะแนนจะคํานงึ ถึง ระดับความยากของคําถามการตอบถูกผิด และจาํ นวนขอ สอบ ทัง้ หมดท่ีผูสอบทาํ การสอบ แบบนจี้ ะใชในการสอบภาคการฟง (Listening Comprehension Section) และภาคโครง สรางภาษา (Structure Section) สารบญั

ห น า | 131 การสอบ TOEFL โดยใชคอมพิวเตอร จะมอี ยู 4 ภาคหลกั ไดแ ก 1. การฟง (Listening) เปน การวดั ความสามารถในการเขา ใจภาษาอังกฤษทพี่ ูดกนั ใน อเมรกิ าเหนอื มงุ เนน วดั ความสามารถในการจบั ใจความหลกั และ สาระตาง ๆ ที่ สําคัญของ เรอื่ งท่ีพดู คยุ กันรวมทัง้ สามารถสรปุ ความได ผสู อบจะไดฟ ง เสยี งประกอบ ภาพที่ปรากฏบนจอ คอมพิวเตอรพรอมคําถามแบบเลือกตอบกําหนดใหฟง เพียง 1 รอบ ขอสอบมี 2 สว น สวนแรกจะเปนการสนทนาสั้น ๆ และสวนที่ 2 จะเปน การ สนทนาท่ียาวข้นึ และการบรรยาย ในชั้นเรียน หรือการแสดงความคิดเหน็ ทาง วชิ าการ บทพดู อาจมคี วามยาวไปจนถงึ 2 นาที 30 วินาทซี ่ึงจะมีคําถามหลายขอ สาํ หรบั บทสนทนาในสวนที่ 2 โดยในการตอบผูสอบอาจเปลี่ยน คําตอบไดจนกวาจะ ยืนยนั คําตอบ (Confirmed) ซ่งึ เม่ือยนื ยนั แลว จะไมส ามารถยอ นกลบั มา แกไขไดอ ีก 2. การอา น (Reading) เปนการวัดความสามารถในการอานโดยจะมีเรื่องสั้น ๆ บท ความทค่ี ลา ยคลงึ กบั ลกั ษณะเรอ่ื งราวทางวชิ าการท่ีใชใ นการเรยี นการสอนใน มหาวทิ ยาลยั ในสหรัฐ ฯ และแคนาดา คําถามจะมีระดับความยากงายคละเคลากนั ไป โดยมีลักษณะการ ถามเน้อื หาซึ่งตรงกบั เรอ่ื งท่อี า นการถามนยั ท่ีแทรกมากับการ อา นและถามคาํ ศพั ท ในสว น ของ การอา นจะมบี ทความทม่ี ี ความยาวตง้ั แต 250 ถงึ 350 คาํ จาํ นวน 4 ถงึ 5 บทความ พรอ มคาํ ถามแบบเลอื กตอบบทความละ 11 ขอ รวมจาํ นวนขอ ทง้ั ส้ิน 44-55 ขอ ใชเ วลาในการทาํ ภาคการอา น 70 ถงึ 90 นาที 3. โครงสรางทางภาษา (Structure) เปน การวดั ความสามารถในการเขา ใจการใช ภาษา องั กฤษตามหลกั ไวยากรณท ถ่ี กู ตอ งตามมาตรฐานแบง ลกั ษณะคาํ ถามเปน 2 รูปแบบ คือ แบบเลือกเติมคําหรือ กลุมคําลงในบรบิ ทของประโยคใหถูกตองตาม หลกั ไวยากรณ (Fill-in-the-Blank Questions) และแบบเลือกสวนของคํา หรือ กลมุ คาํ ในประโยคทไ่ี มถ กู ตองตาม หลกั ไวยากรณ (Error Identification) สารบญั

ห น า | 132 4. การเขยี น (Test of Written English ,TOEFL Essay) เปน สว นทเ่ี พิ่มขน้ึ มา ตาม การเรยี กรอ งจากมหาวทิ ยาลยั และครูในทวีปอเมริกาเหนอื โดยในขอ สอบกําหนดให เขียน เรียงความจํานวน 250 ถงึ 300 คาํ ภายในเวลา 30 นาที โดยคอมพิวเตอรจะ ทําการเลือกเรื่องและใหคะแนนโดยกรรมการ 2 คนซ่ึงมีความเช่ยี วชาญดานการเขยี น หากผล ของคะแนนของผูใหค ะแนน 2 คนตางกนั กจ็ ะมีกรรมการคนที่ 3 เปน ผตู ดั สนิ คะแนนจะ จดั เปนระดับตั้งแต 0 ถงึ 6 โดยการใหคะแนนจะพิจารณาการจัดเรียง เนอ้ื ความ การเรยี งลาํ ดบั ความราบรืน่ สอดคลอ ง การใชศ พั ท และโครงสรา ง รวมทงั้ ตัวสะกดและเครื่องหมายวรรคตอน ดวยความรวดเร็วของคอมพิวเตอรในการคํานวณผลการสอบ ผูสอบจงึ สามารถทราบผล ของ การสอบภาคการฟงและการอานไดทนั ทีหลังเสร็จสิ้นการสอบ ขณะที่ภาคโครงสรางภาษา และการเขียนจะตองรอผลการตรวจประมาณ 2 สัปดาห เนื่องจากการสอบการเขียนจํา เปน ตองใชกรรมการเปนผูใหคะแนน ชวงของคะแนน การสอบท้ัง 5 ภาค อยรู ะหวา ง 0 ถงึ 300 ซ่งึ เปน คาที่ไดม าจากผลรวมของคะแนน ทงั้ 4 ภาค แลว นาํ มาผา นกระบวนการทางสถติ ิ นอกจากการสอบ 4 ภาคหลักที่กลา ว ขา งตน ยังมกี ารสอบการพูด (Test of Spoken English-TSE) ซึง่ ขน้ึ อยูก บั ความ ตองการของสถาบันที่สมัครวาตองใชผลการสอบ TSE หรอื ไมแ ละเทา ไรการสอบพดู จะจัดสอบในหอ งปฏิบัตกิ ารทางภาษา (Language Laboratory) ใชเ วลาประมาณ 20 นาที ผูสอบจะตอ งอานและตอบคําถามตาง ๆ บนั ทึก ลงในเทปโดยไมมกี ารเขียน ใด ๆ ลงไปในการตอบคําถาม การตัดสินคะแนนจะพจิ ารณาความ สามารถในการ เขาใจ การออกเสียง ไวยากรณ และความคลองแคลวกลมกลืน สารบญั

ห น า | 133 การสอบ IELTS (The International English Language Testing System) การสอบ IELTS (The International English Language Testing System) IELTS เปน ระบบของการวดั และประเมนิ ระดบั ความสามารถในการใช ภาษาองั กฤษท่ีไดร บั การออกแบบและผลติ ขึ้นครง้ั แรกใน ป ค.ศ.1990 โดย หนว ยงาน 3 หนวยหลกั คือมหา วิทยาลัยเคมบริดจ (University of Cambridge) สถาบันบริติชเคานซิล ของประเทศอังกฤษ (The British Council) และ สถาบัน IELTS ของประเทศออสเตรเลีย การสอบ IELTS ไดร บั การยอมรบั ในมหาวทิ ยาลยั โรงเรียนระดับมัธยมสถาบันตา งๆ ในระดับวิชาชีพรวมทั้ง หนว ยงานของรฐั บาลใน ประเทศอังกฤษ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด แคนาดา และสหรัฐ ฯ ลักษณะของการสอบ การสอบจะครอบคลุมทั้ง 4 ทกั ษะของการใชภ าษา ซึ่งผูสอบจะตอ งผา น การสอบขอสอบทั้ง 4 ภาค คือ การฟง การพูด การอาน และการเขียน การฟง มุงเนน ทดสอบการฟงเพื่อความเขาใจ มี 4 ตอน จํานวนทง้ั สิน้ 40 ขอ แบง ออกเปนสว นท่ี 1 และ 2 เปน การฟงในเรอื่ งท่วั ๆ ไปที่จาํ เปนสําหรบั การใช ชีวติ ประจาํ วันในตา งแดน (social situation and needs) สว นท่ี 3 และ 4 เปน สถานการณท่มี ีบริบทเกีย่ วของกบั การศึกษา บทฟงมที งั้ ทีเ่ ปนการพูดต้งั แตค นเดยี ว ไปจนถึงบทสนทนาทม่ี ผี พู ูดหลายคนโดย กาํ หนดใหฟ ง เพยี งรอบเดยี วลักษณะ คําถามจะมคี วามหลากหลายคอื มที ้งั ที่ เปน การฟง แลวเลือกตอบ (multiple choices) ฟง แลวเขียนตอบส้ัน ๆ (Short-answer questions) โดยเติมคํา วลี หรอื ประโยคสั้น ๆ ลงในบทสรุปหรือบนั ทึกแผนภูมแิ ผนภาพใหมีใจความสมบรู ณ และฟง แลวจับคู (matching) ขอ สอบการฟง ใชเ วลาในการทําท้ังส้ิน 30 นาที โดยปกติจะ สารบญั

ห น า | 134 ใหเ วลา ประมาณ 30 วินาที ในการอานคําถามกอนการฟงในแตละตอนและอีก 30 วนิ าที เพือ่ ตรวจ คาํ ตอบระหวางสว นและเมื่อฟงจนจบทุกตอนจะมเี วลาสําหรบั เขยี นคําตอบ ลงในกระดาษ คําตอบ อีกประมาณ 10 นาที การพดู เปนการสอบสมั ภาษณโดยผูสัมภาษณทีส่ ามารถประเมินการพดู ไดอ ยา งมี ประสิทธภิ าพ เนื่องจากลักษณะของการสอบพูดเปนลักษณะการประเมินแบบ Subjective คอื ไมส ามารถ กําหนดการใหคะแนนทตี่ ายตัวไดจึงตอ งใชการตัดสินของ ผูใหคะแนนเปนเกณฑ ผปู ระเมนิ จงึ ตอ งมคี วามสามารถในการประเมนิ ไดอ ยา ง เท่ียงตรง ตามความสามารถแทจ รงิ ของผูสอบ ซง่ึ ในการสอบ IELTS จะใชผู ประเมินเฉพาะของ IELTS (IELTS Examiners) ในการดําเนินการสัมภาษณและ ประเมนิ ความสามารถใชภ าษาในการพดู ผูป ระเมินจะตอ ง เขา รบั การอบรมและสอบ ผา นจนไดร บั ประกาศนยี บตั รรบั รอง ความสามารถในการ ประเมินผล IELTS เปน เวลา 2 ป ซึ่งเมอื่ พน 2 ป ไปจะตองสอบการประเมินใหมเพ่ือเปน ผูป ระเมนิ อีกครง้ั หนึ่ง (re-certificate) ในการสอบพดู จะมี 3 ชวง คือ ชวงที่ 1 เปน การ พดู คยุ ถาม ตอบเร่ืองทวั่ ๆ ไป ของผูถ กู ทดสอบ เชนเรื่องครอบครัว การทาํ งาน ความสนใจ งาน อดิเรกเปนตน ใชเวลาประมาณ4 ถงึ 5 นาที ชว งท่ี 2 ผูถูกทดสอบจะไดรบั บตั ร กาํ หนดสถานการณ หรือหวั ขอประเดน็ ปญ หาตา ง ๆ และใหเวลาในการเตรียมตัวพูด 1 นาที โดยกาํ หนดใหใ ชเ วลาในการพดู ประมาณ 2-3 นาที ชว งท่ี 3 จะเปน การพูด ตอเนอ่ื งจากหวั ขอที่ 2 แตจ ะเปนประเดน็ ทม่ี คี วามยากมากขน้ึ มักเปน เรอื่ งราวทีเ่ ปน นาม ธรรม ความคิดทฤษฎีตาง ๆ โดยผู ถูกสอบจะตอ งสามารถพูดเชื่อมโยง เขา กบั เนือ้ หาในชว งท่ี 2 ไดอยา งเหมาะสมเวลาสําหรับการพดู ในสวนท่ี 3 ประมาณ 5 นาที รวมเวลาทใ่ี ชใ น การสอบพดู ทัง้ สิน้ 11-15 นาที สารบญั

ห น า | 135 การอา น สามารถเลือกสอบไดตามวัตถุประสงคของการใชภาษาอังกฤษซึ่งมี 2 แนว ใหเลือก คือ การสอบอานเรื่องราว ทั่ว ๆ ไป (General Training Reading) สาํ หรบั ผู ท่สี มัคร เรียนสายวิชาชีพ หรอื เขา ศึกษาตอ ในโรงเรยี นมธั ยม และการสอบอาน เรอื่ งราวทเี่ กีย่ วกับ วชิ าการ (Academic Reading) สําหรับผทู จี่ ะสมคั รเรียนใน มหาวิทยาลัย แมว า ขอสอบท้ัง 2 แนวจะมีเนื้อหาเจาะจงแตกตางกัน แตรูปแบบของ ขอสอบจะเหมือนกัน กลาวคือ แบง ออกเปน 3 ตอน จํานวนทั้งสิน้ 40 ขอ คาํ ถามมี ทั้งแบบเลือกตอบ เขียนตอบเปนประโยค หรือสรุปสั้น ๆ จบั คู และอาจมกี ารใหร ะบุ ถงึ ทัศนคติ และสิง่ ทแี่ ทรกมากบั บทอาน หรอื ลกั ษณะการเขียน ทผ่ี เู ขียนใชไดอยา ง เหมาะสม ใชเ วลาทาํ การอา นท้ังส้นิ 60 นาที การเขยี น เชนเดียวกบั การสอบภาคการอาน ผูสมัครสอบสามารถเลือกสอบเขยี นไดใน 2 แนว คอื แนวที่ 1 เปนการสอบการเขียนเรื่องราวทวั่ ๆ ไป (General Training Writing) ซึ่งจะ กําหนดใหเขยี นจดหมายตอบโตแ บบทางการและกึ่งทางการ หรือ เขียนบรรยายตามหัวขอท่ีได กําหนดไว หรอื แนวท่ี 2 เปน การสอบเขยี นเรอ่ื งราวทาง วชิ าการ (Academic Writing) โดยกําหนดใหเขียนรายงานสั้น ๆ โดยอาจสมมุติให สงอาจารย หรือเพื่อเผยแพรใหแ ก บคุ คลทว่ั ไปขอสอบการเขียนทง้ั 2 แนว จะ แบงเปน 2 สว น สวนท่ี 1 จะตองเขยี น จํานวนคําทั้งส้นิ 150 คําเปนอยา งนอยใช เวลาไมเกนิ 20 นาทซี ึ่งถา เปนขอ สอบแนว เขียนเรื่องราวทั่ว ๆ ไป ผูสอบจะตอ ง เขียนจดหมายตอบโตตามสถานการณป ญ หาทก่ี าํ หนด ในจดหมาย หรือถาเลือกสอบ เขียนแนววชิ าการ ผสู อบจะตองเขยี นนําเสนอขอ มลู จาก ตาราง แผนภาพ หรือ แผนภูมิทก่ี ําหนดให สําหรับขอสอบ การเขียนสวนที่ 2 ผสู อบจะตองเขียนจาํ นวน 250 คําเปน อยางนอยโดยใชเวลาไมเกนิ 40 นาที หวั ขอ การเขยี นแนวทว่ั ไปและ แนววิชา การจะมีลักษณะไปในทางเดียวกันคือเขียนแสดงความคิดเห็นโตแยง ความคดิ ประกอบขอมลู อยา งมีเหตผุ ลพรอ มขอ เสนอแนะแตขอสอบในสว นที่ 2 จะมี น้ําหนักคะแนนมากกวา ในสวนแรก สารบญั

ห น า | 136 โดยปกติในการสอบ IELTS จะตองทําภาคการเขียนการฟงและ การอา น ตอเนอื่ ง ในคราวเดียวกันสาํ หรับการพดู จะแยกจากภาคอนื่ และไมจําเปน ตอ งสอบวัน เดียวกันกบั การ สอบภาคอื่น ๆ ผลของการสอบ IELTS จะสามารถแจง ใหท ราบ หลงั จากวนั สอบประมาณ 3 สปั ดาห การสอบภาษาอังกฤษที่จาํ กัดเฉพาะในวงการทหารในประเทศไทย ในวงการทหารการสอบภาษาองั กฤษทน่ี ยิ มใชม ี 2 แบบ ดงั น้ี 1. การสอบ ECL (English Comprehension Level Test) และ ALCPT (American Language Course Placement Test) ECL เปน ขอสอบมาตรฐานท่ีมงุ วดั ความ สามารถทางภาษาในการฟง และการอา นภาษาองั กฤษสาํ หรบั ใชโ ดยหนว ยงานของ รฐั บาลสหรฐั ฯ เทา นน้ั ซง่ึ ผเู ขารับการศกึ ษาในหลกั สตู รทางทหารของ กระทรวงกลาโหมสหรฐั ฯ ตามโครง การ IMET (International Military Education and Training ) จะตองผานการสอบ ECL ขอสอบ ECL ถูกออกแบบ พัฒนาและ ปรบั ปรงุ โดยสถาบนั ภาษาของกระทรวงกลาโหมสหรฐั ฯ DLIELC (Defense Language Institute English Language Center) สาํ หรับหนวย งานท่รี บั ผดิ ชอบใน การสอบคัดเลือกของประเทศไทยไดแ ก สํานักงานคณะที่ปรึกษาทางทหาร สหรฐั อเมรกิ าประจาํ ประเทศไทย JUSMAGTHAI (Joint United States Military Advisory Group Thailand) ALCPT เปน ขอ สอบมาตรฐานทม่ี งุ วดั ความสามารถทางภาษาในการฟง และ การอา นภาษา องั กฤษ เปน ขอสอบที่เหมอื นกับ ECL ผลติ ข้ึนโดย DLIELC แตจ ะ แตกตางจาก ECL ตรงทส่ี ถาบนั ทางการศกึ ษาสามารถหาซอ้ื ALCPT เพ่ือใชใ นการ เรียนการสอนตามหลักสูตร ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน (American language Course, ALC) ขณะที่ ECL จาํ กดั การใชง านวา จะตองใชโ ดยหนวยงานของรัฐบาล สหรฐั ฯ เทานั้นซึ่งกระทรวงกลาโหม ของไทยไดใช ALCPT ในการทดสอบภาษา ของผสู มัครรับทุนการศึกษาโดยนาํ ผลของ การสอบมาใชในการคัดเลือกและจัด สารบญั

ห น า | 137 อนั ดบั ผสู มัครรับทนุ ทกุ ประเภทและการดูงานตา งประ เทศในทุกรูปแบบควบคไู ปกบั ผลการสอบภาควชิ าการมานานหลายสบิ ป แมว า ความมงุ หมาย ดง้ั เดมิ ของ ALCPT ในการจดั ทาํ คอื เพอ่ื ใชใ นการประเมนิ ความสามารถทางภาษาองั กฤษดา น การฟงและ การอา นเปนหลกั แตอ าจเนอ่ื งมาจากขอสอบ ALCPT เปนขอสอบแบบเลอื กตอบ ซงึ่ สามารถตรวจไดงายโดยไมตอ งใชผูเชี่ยวชาญในการประเมิน และสะดวกในการ จดั หาซ้ือ มาไดจ งึ เปน ทน่ี ิยมในการนํามาใชท ดสอบและเปน เกณฑ ในการตัดสนิ ผูส มคั รรบั ทุนตาง ประเทศทกุ ประเภทในปจจบุ นั อกี ทัง้ ใชในการตัดสนิ ระดบั ความสามารถในการใชภ าษา อังกฤษของหนวยตาง ๆ ในกระทรวงกลาโหมของไทย สําหรบั หลกั สูตรการฝก พิเศษบางหลกั สูตรตามโครงการศึกษาของ IMET เชน หลกั สตู รเฉพาะสําหรับนกั บนิ กระทรวงกลาโหมสหรัฐ ฯ กําหนดใหมีการสอบ สัมภาษณ OPI (Oral Proficiency Interview) ซึ่งอาจเปน การสอบ สมั ภาษณ ตวั ตอ ตวั หรือสัมภาษณทางโทรศัพทโ ดย DLIELC เปน ผูรับผดิ ชอบ ลกั ษณะของขอ สอบ ขอสอบ ALCPT และ ECL จะมรี ปู แบบและลักษณะการสอบเหมือนกนั ทุก ประการ กลาวคือ เปน ขอสอบแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก ประกอบดวยขอสอบ จาํ นวน 100 หรอื 120 ขอ ข้ึนอยูก บั แบบทดสอบ ซงึ่ สวนมากจะเปน 100 ขอ ขอสอบแบงเปน 2 ตอน ไดแก การฟง การอาน ตอนที่ 1. การฟง (Listening) จาํ นวนประมาณรอ ยละ 60 ถงึ 70 ของ จํานวนขอสอบทงั้ หมด ขึ้นอยกู ับแตละ แบบสอบ ขอ สอบการฟงจะกําหนดใหฟ ง เพียง 1 ครง้ั โดยจะใหเ วลาชว งส้นั ๆ สําหรบั เลือกตอบ ลกั ษณะขอ สอบจะมีทง้ั ท่ี เปน บทพูดคนเดยี วสัน้ ๆ และบทสนทนาสน้ั ๆ พรอ มคาํ ถามใหผ ูส อบเลอื กคําตอบ ตามตัวเลือกที่ใหมาในแบบทดสอบ ใชเ วลาในการทํา ขอสอบ ฟงทงั้ สิ้นประมาณ 20-30 นาที สารบญั

ห น า | 138 ตอนที่ 2. การอา น (Reading) เปน การทดสอบความรทู างดา นโครงสรา ง ภาษาศพั ท สํานวน และความเขาใจ ในการอานจะเริ่มทําหลังจากเสร็จในสวน ของ การฟง ขอสอบอานมี จาํ นวน ประมาณรอ ยละ 30 ถึง 40 ของขอ สอบท้งั หมด โดยมี ลักษณะใหเ ลือกตวั เลอื กทีอ่ าจเปน คํา หรือวลีทถี่ ูกตอ งเหมาะสมในบริบททีใ่ หม า หรอื ท่ีมคี วามหมายเหมือนคาํ ที่ ขดี เสนใตเ ลอื ก ประโยค ทถ่ี กู หลักไวยากรณ และ เลอื กหวั เรอ่ื ง หรอื ใจความสาํ คญั ของ บทอานสั้น ๆ ใชเวลา ในการทําสวนของการ อานท้ังสิ้นประมาณ 30 นาที 2. การสอบ ADFELPS (Australian Defence Force English Language Profiling System) เปนระบบของการวัดประสทิ ธิภาพทางภาษาองั กฤษทใ่ี ชค ัดเลือกผสู มัครใน หลักสูตรการศึกษาตอทางทหารใน ตางประเทศตามโครงการรวมมือดานการปองกัน กับประ เทศออสเตรเลีย DC (Defence Co-operation Program) ซ่ึงรัฐบาล ออสเตรเลียไดใหการ สนับสนุนทุนแกขาราชการในสังกัดกระทรวงกลาโหม มหี ลาย ประเทศในโครงการความ รวมมือดังกลาวไดแก ประเทศไทย มาเลเซีย อินโดนเี ซีย ฟลิปปน สเ ปน ตนขอ สอบ ADFELPS ถูกผลิตและพัฒนาขึ้นโดยศนู ยฝกทางทหาร นานาชาตกิ ระทรวงกลาโหม ออสเตรเลีย DITC (Defence International Training Centre) และประเทศไทย เรมิ่ นาํ มาใชในพ.ศ. 2539 แทนการสอบ ASLPR (Australian Second language Proficiency Rating) ประเทศตาง ๆ ตามโครงการ สามารถจดั สอบ ADFELPS ได โดยจดั ดาํ เนนิ การสอบโดยผทู ีไ่ ดร บั การรบั รองวามี คุณสมบตั ิ สามารถ ประเมนิ และจดั ระดบั ความสามารถทางภาษาไดอ ยา งถกู ตอ ง และ มีประสิทธิภาพ (ADFELPS Rater) โดยตองสอบผานในหลกั สูตร ADFELPS Rating Course, Australia และไดร บั ประกาศนยี บตั รรบั รองความสามารถในการประเมนิ และ จดั ระดบั ความสามารถทางภาษาดว ยการสอบ ADFELPS จะมงุ วดั ทกั ษะการใชภ าษา ท้งั 4 ทกั ษะ คือ ฟง พูด อาน และเขียน ผลของการสอบ ADFELPS จะจัดเปนระดับ ความสามารถไว 9 ระดบั ตัง้ แต 1 ถงึ 9 ผลการสอบ ADFELPS ไมมีได หรือตก แต จะเปน เหมือนดัชนีบง บอกระดับความสามารถ ทางภาษาของผูสอบ ซึ่งแตละ สารบญั

ห น า | 139 หลกั สตู รตามสถาบนั ทหารของประเทศออสเตรเลียจะกําหนด ความตองการไม เทา กนั หลักสตู รสว นใหญจะต้ังระดับความสามารถการใชภ าษา อังกฤษ (Language Profile) โดยใชเกณฑของ ADFELPS ตงั้ แต 7 ขน้ึ ไป ลกั ษณะของขอสอบ ลักษณะของการสอบ ADFELPS จะมีความคลายคลงึ กับการสอบ IELTS ของพลเรือน คือ จะเปน ขอ สอบทว่ี ดั ความสามารถในการใชภ าษาทง้ั 4 ทกั ษะ หากแตจะเปน เรอื่ งราวตาง ๆ ทเี่ กยี่ วขอ งกบั วงการทหาร การฟง มงุ เนน ทดสอบการฟง เพือ่ ความเขา ใจซึ่งจะมกี ารฟง ในเรือ่ งท่วั ๆ ไปท่ี จําเปนสําหรับการ ใชชีวิตประจําวันในคายทหาร เชน การสนทนาทางโทรศัพท การ สนทนาในชวี ิตประจําวนั และ ในสถานการณท ีม่ บี ริบทเกย่ี วของกับการทหาร เชน การบรรยายสรปุ และการสนทนาผา น รายการวทิ ยทุ เ่ี กย่ี วขอ งกบั การปฏบิ ตั ทิ าง การทหาร โดยกําหนดใหฟง 2 รอบ ลกั ษณะคาํ ถาม จะมคี วามหลากหลายคอื มที ง้ั ท่ี เปนการฟงแลวเลอื กตอบ (multiple choices) ฟงแลว เขียน ตอบสั้น ๆ (Short- answer questions) เชน ใหก รอกขอ มูลจากการสมั ภาษณ โดยเตมิ คาํ วลี หรือ ประโยคสั้น ๆ ขอ สอบการฟงใชเวลาในการทาํ ทง้ั สิ้นประมาณ 45 นาที ซ่งึ เมื่อฟง ครบ 2 รอบจะตองสงกระดาษคาํ ตอบทนั ทดี ังนั้นผูสอบควรบรหิ ารเวลาใหเ หมาะสม สําหรับ การฟง และ เขียนตอบ การพูด เปน การสอบสมั ภาษณโ ดยใชเ วลาประมาณ 30 นาที การสอบสมั ภาษณจ ะ แบงเปน 5 ขนั้ ตอน คอื ขนั้ ตอนที่ 1 ถงึ 3 เปน การทกั ทาย การแนะนาํ ตวั การให ขอมลู สว นตัว และการพรรณนา เปน การพูดคยุ ถามตอบเรือ่ งท่ัว ๆ ไป เชน เรื่อง ครอบครวั การทาํ งาน ความสนใจ งานอดเิ รก เปนตน สวนขัน้ ตอนที่ 4 ผูสอบจะ ไดรับบัตรกําหนดสถานการณ เพอื่ พดู ตามสถานการณที่กําหนดข้นึ (Role Play) โดย สารบญั

ห น า | 140 ใหเ วลาสัน้ ๆ ในการเตรยี มตวั พูด และ ข้ันตอนที่ 5 ผูสอบจะตอ งเลือกบตั รหัวขอ สําหรับแสดงความคดิ เหน็ ในเรือ่ งทเ่ี ก่ียวกับการท หาร หรือหวั ขอประเดน็ ท่วั ๆ ไป ซ่ึงหวั ขอในตอนนจ้ี ะมคี วามยากและ ซบั ซอ น การประเมนิ จะ พจิ ารณาความ ถกู ตอ ง ของการใชภ าษาทง้ั โครงสรา ง (Syntax) การใชคาํ ศัพท (Lexicon) ความสามารถใน การส่อื สารอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ (Communicative Effectiveness) ความคลองแคลว ในการพดู ไดอ ยางเปนธรรมชาติ (Fluency) และสําเนียงและการออกเสียง (Pronunciation) การอาน เปน การสอบความเขา ใจในการอา น (Reading Comprehension Task) เรื่องราว สวนใหญเกี่ยวขอ งกบั การทหารโดยนํามาจากตนฉบบั และเรื่องราวที่ ดัดแปลงไป แบง ออกเปน 5 หวั ขอ คําถามมที ้งั แบบตวั เลือกเขียนตอบเปน ประโยค หรอื สรปุ สน้ั ๆ จับคู เติมคาํ อาจมกี าร ใหระบถุ ึงทัศนคติ และส่งิ ทีแ่ ทรกมากบั บทอาน โดยมุงทดสอบทักษะตางๆในการอาน เชน การกลาวแสดงนัย ใชเวลาทําการอาน ทง้ั สิน้ 60 นาที การเขยี น ขอสอบการเขียนจะแบง เปน 2 สวน แตละสวนจะมหี วั ขอบงั คับใหเ ลอื กเขยี น 1 หวั ขอ จาก 2 หัวขอ ในสวนที่ 1 จะตองเขียนจํานวนคาํ 150 คํา เปน อยางนอย ใช เวลาประมาณ 20 นาที สาํ หรับขอ สอบการเขยี นสว นที่ 2 ผสู อบจะตองเขยี นจํานวน 250 คํา เปนอยางนอย ใชเ วลาประมาณ 40 นาที สําหรับหัวขอ การเขยี นในสวนที่ 1 จะเปนการเขยี นบรรยาย เรื่องราวท่วั ๆ ไป สวนหัวขอ การเขยี นในสวนที่ 2 จะมคี วาม ซับซอ นมากข้ึน เชน ใหเขียน แสดงความคิดเหน็ โตแยงความคิด ประกอบขอมูล อยา งมเี หตุผล พรอมขอเสนอแนะ โดยขอสอบในสวนที่ 2 จะมี นาํ้ หนกั คะแนน มากกวา ในสว นแรกในการประเมนิ ทกั ษะการ เขียนจะมงุ พจิ ารณาความสามารถในการ ใชภ าษา (Language Use) การเชื่อมโยงและความสัมพันธของประโยค สารบญั

ห น า | 141 (Coherence & Cohesion) และการสอ่ื สารอยา ง มปี ระสทิ ธภิ าพ (Communicative Effectiveness) ใชเวลาในการเขียนทั้ง 2 สวนรวม ท้งั สิน้ ไมเ กิน 60 นาที การสอบภาษาอังกฤษทม่ี งุ วัดความสามารถในการสื่อสาร การสอบ TOEIC (Test of English for International Communication) TOEIC เปนการสอบภาษาองั กฤษทมี่ งุ ทดสอบทกั ษะดานการสือ่ สารสําหรบั ผูท ่ี ไมใชเจาของภาษาเพ่ือ สามารถใชติดตอสอ่ื สารในชีวติ ประจาํ วันเปน สําคัญ ขอสอบ TOEIC เปน ขอ สอบแบบ English Proficiency Test ซงึ่ ผลติ และพัฒนาข้ึนโดย สถาบนั Educational Testing Service (ETS) แบบทดสอบ TOEIC ถกู พัฒนาข้นึ เพื่อใหตรงตอความตองการของวงการ ธรุ กจิ นานาชาติ เพอ่ื วดั ทกั ษะความสามารถ ในการติดตอสอ่ื สารดานธุรกิจตา ง ๆ ทั่วโลก ซงึ่ TOEIC กลายเปนแบบทดสอบ มาตรฐานสากล เมื่อ ค.ศ. 1996 หนว ยงาน หลายแหงของไทย ตัวอยางเชน การบนิ ไทย กําหนดผลของการสอบ TOEIC เพื่อเปน เกณฑในการคัดเลือกบคุ คล เขา ทํางานในตําแหนง ตาง ๆ ลักษณะของขอสอบ และจํานวนขอสอบ แบบทดสอบ TOEIC ประกอบดวยขอสอบแบบเลอื กตอบจํานวน 200 ขอ โดยแบงเปน 2 ตอนไดแ ก ตอนท่ี 1. การฟง (Listening) เปน การทดสอบทกั ษะการฟงเพื่อความ เขา ใจ จาํ นวน 100 ขอลักษณะขอสอบประกอบดวยรูปประโยคลักษณะตาง ๆ ใน รปู แบบบทสนทนาสั้น ๆ และบท พูดสั้น ๆ โดยมีคําถามแบบเลือกตอบ อาจมี ภาพประกอบ ใชเวลาในการทาํ ทัง้ สน้ิ 45 นาที ตอนท่ี 2 การอา น (Reading) เปน การทดสอบความรทู างดา นโครงสรา งภาษาและวดั ทกั ษะการอา น จาํ นวน 100 ขอ ลักษณะขอสอบประกอบดวยการหาสวนของ โครงสราง ประโยคที่ผิดไวยากรณ และบทความหลากหลายทอ่ี าจพบไดต ามโทรสาร จดหมาย รายงาน คาํ ประกาศตา ง ๆ ใชเ วลาในการทาํ ทง้ั สน้ิ ประมาณ 75 นาที สารบญั

ห น า | 142 สรปุ การสอบภาษาองั กฤษทใ่ี ชเปน มาตรฐานและเปน ที่ยอมรบั ในปจจุบนั มี ลักษณะการวัด และการประเมินผลทั้งเหมอื นและแตกตางกนั ไปขึ้นกบั วัตถุประสงค ของการสอบ ซึ่งอาจ จําแนกไดเ ปน 3 ประเภท คอื เพือ่ ใชเปนเกณฑสําหรบั การศึกษาตอในระดับอุดมศึกษา ในประเทศที่ใชภาษาอังกฤษ ไดแกการสอบ TOEFL และ IELTS เพื่อเปน เกณฑในการ คัดเลอื กในการรับทุนศึกษาและดูงานตาง ๆ ที่จํากัดเฉพาะในวงการทหาร ไดแ กการสอบ ECL ALCPT และ ADFELPS และเพอ่ื มงุ วดั ความสามารถในการสอ่ื สารเปน สาํ คญั ไดแกก ารสอบ TOEIC เปนตน สาํ หรบั ผทู ว่ี างแผนจะศกึ ษาตอ ในประเทศท่ใี ชภาษาอังกฤษหรือกาํ ลังสนใจ สมัครทนุ ศกึ ษาตอ และดูงานตางประเทศ หรือผูที่คดิ จะลาออกเพื่อสมัครงานใน บรษิ ัทช้นั นําทีต่ อ งใชภ าษาองั กฤษ ถาทา นเปน ผหู นง่ึ ท่ีมแี ผนดงั กลา วแลว ส่งิ สําคัญ ที่ นอกเหนอื จากความรูและทกั ษะเฉพาะดาน ท่ี ทา นชาํ นาญ คอื ความสามารถใน การใชภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร ทัง้ การฟง พูด อาน และเขียน ซึ่งนอกจากจะ ชวยในการพชิ ติ ทุนเขาศึกษาในสถาบันตางประเทศท่พี งึ พอใจ หรือการไดร ับทาํ งาน ทที่ านไดส มัครไวแลว ยังเปน ประโยชนก บั ทานในการใชช ีวติ ประจําวัน ในตางแดน และจะชว ยเสรมิ การทาํ งานและการศกึ ษาคน ควา ทางดา นวชิ าการใหบ รรลสุ าํ เรจ็ ผลไดเ ปน อยางดีอกี ดวย ตอ งขอขอบพระคณุ สาํ หรับขอมูลจากบทความการสอบคัดเลือกบุคล ของ ครูมารูโกะ ในหนงั สอื นาวกิ ศาสตร ปท ่ี 88 เลมท่ี 2 กมุ ภาพนั ธ พ.ศ.2548 สารบญั

ห น า | 143 บทท่ี 4 : วธิ กี ารฝก ฝนภาษาองั กฤษดวยตนเอง ทักษะในภาษาอังกฤษ ก็มีเชนเดยี วกันกบั ภาษาไทย นั่นคอื การฟง การพูด การอาน และการเขียน วา กันไปแลว การเรียนภาษาอังกฤษ ไมมีทางลัด (No short cut) การท่เี ราจะทําไดด ี และมปี ระสทิ ธิภาพนัน้ จะทําไดจาก การฝก แลวกฝ็ ก แลวก็ ฝก เพราะวา มนั ไมใ ชภ าษาของเรา การที่คนไทยสวนใหญเ รียนรูคือการเรียนใน โรงเรียนสมัยเด็กๆ ซึ่งเราถูกเคี่ยวเข็ญใหเ รียน Grammar อยางมากเปน ผลใหคน ไทยสวนมักจะเกง Grammar แตก ารท่ีเรารสู กึ วา การเรียนรูและฝกฝนการใชทักษะใน ภาษาอังกฤษใหไดนั้นเปน เรื่องยากนั้นเปน เพราะเราจะมีโอกาสใชภาษากเ็ พียงแคใน หองเรียนเทานนั้ ดงั นนั้ การเรียนรูจึงนอย ลองเปรียบเทียบดกู ับในสมยั ตอนเด็กๆ เรา เรยี นรภู าษาไทยไดอยา งไร.... คําตอบคือเรา เลยี นแบบ การออกเสียงของคนรอบ ขา ง และเราใชมนั ทุกวันในชีวิตประจาํ วนั ทาํ ใหความเฉยี บคมในการใชภาษาเพิม่ พูน ข้นึ ในแตล ะวัน แลว หากเราเชนนน้ั กบั ภาษาองั กฤษ กจ็ ะทําใหเราเรยี นรูทกั ษะการใช ภาษาเพิม่ ขน้ึ ไปดว ย ซึ่งการทําเชนนนั้ หมายความวา การท่ีเราตองการพัฒนาทักษะ การใชภาษาอังกฤษ เราควรที่จะผลักดันใหตัวเองเขา ไปอยูในสภาพแวดลอมของ การใชภาษาอังกฤษ กลาวคือการฟง การพูด การอา น การเขียนภาษาอังกฤษใหได มากทส่ี ุดในชีวติ ประจําวนั หรอื ทาํ มนั ทกุ วันนัน่ เอง ซึง่ การทําเชนนก้ี ็สามารถทําได หากเราตงั้ ใจจริง ลองดพู วกท่ีตอ งไปหากินท่ีเมืองนอกซิ...ทุกคนตอ งผานสภาวะ กดดันทตี่ องบังคบั ใหตอ งใชภาษาอังกฤษนี้ไปใหได หากพน 3 เดือนไปแลวยงั ไมไ ด กค็ งอดตาย หรือตอ งรบี เผน กลบั เมอื งไทยเปน แนแ ท กอนอนื่ เรามาตกลงกันกอ น ถงึ ความสัมพันธของทกั ษะทั้ง 4 วา เราสามารถ กําหนดความสมั พนั ธของทกั ษะท่งั 4 ไดเ ปน 2 กลมุ สําหรบั กลมุ แรกคอื การฟงกบั การพดู และกลุมทีส่ องก็คอื การอานและการเขยี น ความสัมพันธข องทักษะในแตละ กลมุ ไปความสัมพันธไปและกลบั หากเราฟงมากเรากพ็ ูดไดเยอะ..หากเราอา นมาก เราก็เขยี นไดด ี สารบญั

ห น า | 144 จากการคน ควา ทา น ดร.วีร ระวัง แหง มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล กลาวไววา จริงๆ แลว ทกั ษะการเรียนรูของคนเราเพ่อื การส่อื สาร 50เปนดงั นี้ 49 1. เราจะสรางประโยคทม่ี ใี จความ/ขอความทถ่ี กู ตอ ง เพื่อทําการสอ่ื ความหมาย (Accuracy on Communicative English) 2. จากนั้นจงึ พัฒนาเปนความชํานาญในการสื่อสาร (Fluency on English Communication) 3. จากนั้นจงึ พัฒนาและสะสมศักยภาพจนกลายเปน ความมีประสิทธิภาพ ในการสอ่ื สาร (Efficiency on English Communication) ดังนั้นคนไทยเราจึงพยายามทีจ่ ะสรางประโยคใหม คี วามถกู ตอ งสมบรู ณกอน โดยนสิ ัยของคนไทย ซ่ึงจะขา มในข้นั ที่ 2 ไป ทาํ ใหข าดความลน่ื ไหลในการสอ่ื สาร และประกอบกบั คนไทยเปนคนขี้อาย ยิ่งทําใหเ ราไมก ลาแสดงความคิดเห็นไปใหญ เลย กลัวผิดพลาดหรือไมสมบรู ณ ท้ังๆ ทรี่ ูจกั คาํ ศัพทมากมาย แตกลัวไมสมบูรณ ผดิ tense บาง อา นสําเนียงไมถูกบาง โดยลืมไปเลยวา การส่ือสารนัน้ ถึงแมไ มถูกตอง สมบรู ณ 100% คูสนทนาเราก็รูเรื่อง โดยเฉพาะเคาเห็นวาเราเปน คนตางชาติ ยง่ิ พยายามทาํ ความเขา ใจกบั ประโยคทเ่ี ราพดู ยกตวั อยา งใหเ หน็ งา ยๆ เวลาเราทเ่ี รา คุยกับฝรง่ั ทพี่ ดู ภาษาไทย กับประโยคเดด็ ทวี่ า “ใคร ขาย ไข ไก” เกือบ 100% ของ ฝรัง่ จะพูดไมไ ดห รือไมช ัด ซ่งึ เราก็พยายามจะฟง แลวแจกแจงใหฝรง่ั เขาใจในที่สุด กระบวนการน้ีก็เปน เชน เดยี วกับทฝี่ ร่ังเคากระทํากบั เราเชนกัน ดงั นน้ั เมอ่ื พอเขา ใจถึงพื้นฐานในขนั้ แรกแลว ใหรวบรวมความกลา แลว พดู ออกไปเลย แลวจากนัน้ ใหเ รียนรูจากความผิดพลาดของตัวเอง ซึ่งจะสงผลใหเ ราไม ทาํ ผดิ ซ้ําอกี (เพราะคนเราเจ็บแลวจํา) 50ดร.วีร ระวงั , ภาษาองั กฤษเพอื่ การสอื่ สาร, Code switch Process Based Communicative Thai – English Model สารบญั

ห น า | 145 อารมั ภบทมากนั มากแลว ตอไปจะขอเสนอทางเลือกในการฝก ทักษะทง้ั 4 ของเราใหเ หน็ เปน รปู ธรรม โดยเราสามารถทําไดดงั ตอไปน้ี ประการแรก คือการฟง การท่เี ราจะฟง ฝรัง่ พดู ใหร ูเรอ่ื งนั้น ประการแรก เรา ตองมีพื้นฐานความเขาใจในภาษา ซึ่งไดแ นะนําไปบา งแลว (Grammar และ คาํ ศัพท) แตการท่ีจะฟง ใหรูเรอื่ งนัน้ ไมใชก ารท่ีเราฟงแลวตองมาแปลเปน ภาษาไทย อีกที เราสามารถทาํ เชนน้นั ไดกบั ประโยคสั้นๆ และประโยคทไ่ี มซ บั ซอนมากนั้น เทานั้น หากเรามัวแตมาแปลประโยคแรก ประโยคทสี่ องก็จะไมทันฟง แลวก็เลยทํา ใหไมรูเรอื่ งกนั พอดี ถาใหด ที ี่สดุ ตองเขาใจในความหมายไดเลยโดยไมต อ งแปล แตเ ดย๋ี วกอ น..กอนจะไปถงึ ตรงจดุ นนั้ เรามาเริ่มแบบงายๆ เสยี กอ นวา จะทํา ยงั ไง โดยมาทําส่ิงทผ่ี ูเขยี นชอบแลวกัน คือการดูหนัง ฟง เพลงน่นั เอง... ไมต อ งงง ที่ทานอานนนั้ ถูกแลว ลองไปหาเพลงทเี่ ราชอบมาซักเพลง แลวหาเนื้อเพลง (เดี๋ยวน้ี หาไมย ากหรอก เพราะเราสามารถหา Lyrics จากอนิ เตอรเน็ตหาไดง า ยมากใน ปจ จุบนั ) พรอ มกับคอ ยๆ แกะความหมายไปดวย อาจจะตองเปด พจนานุกรมในตอน แรกๆ เพอ่ื หาความหมาย แตจ ะทาํ ใหเ ราจาํ ไดด ี ดว ยเหตผุ ลหลายประการ ประการ แรกเนือ่ งเพราะเพลงที่เลือกนั้นเปนเพลงทเี่ ราชอบ ยิ่งจะสง เสริมใหเ ราจาํ ไดงา ย ย่งิ ขน้ึ ทง้ั เนือ้ รองและคําแปล.. (ไดค ําศพั ทห ลายคาํ เชยี วนะ) ประการท่ี 2 เราจะได รูปประโยคทเ่ี ราสามารถยืมไปใชเขียนไดใ นอนาคตดว ย (ซึ่งจะเปน การเรยี น Grammar ไปพรอมกนั เลย) การฟงเพลงนเี้ ราจะไดก ารฝกฝนทักษะ การอาน (อา น เนื้อในตอนแรก) การฟง (เวลาทฝี่ รัง่ รอ ง) การพูด (เวลาเรารอ งตาม...อยา ลมื พยายามเลียนแบบฝร่งั ดว ยนะ) การเขียน (สําหรับการจาํ รูปประโยคเพ่ือเอาไปใช เขียน) (เพลงทฝี่ กทักษะไดครบนาจะเปน เพลงของ Cliff Richard เขาเปน คนทอี่ อก เสียงไดชัดเจนมากๆ แตห ากชอบของคนอื่นก็ไมเปน ไร) ตอไปคือการดูหนัง การดูหนังก็เปนการฝกทกั ษะเชนเดียวกบั การฟงเพลง เหมือนกัน แตผ เู ขยี นมีวิธีการฝก ใหด ังนี้ ใหด หู นงั ทง้ั หมด 3 ครง้ั คร้งั แรกเพอ่ื อรรถ สารบญั

ห น า | 146 รถและความเขา ใจ คร้งั ทสี่ องใหเ ปด Sound track พรอ ม Subtitle โดยฟง ไปดู Subtitle ไป ในครง้ั ที่ 3 ดูแบบท่ีเปน Sound track อยา งเดยี ว หากเราทาํ แบบนก้ี บั หนังหลายๆ เรื่อง กจ็ ะเพมิ่ ความเขาใจไดเ รื่อยๆ การดูหนงั ฟงเพลงนั้น จะทําใหการ เรียนรขู องเราไมน า เบอ่ื (นบั เปน ความบนั เทงิ อยา งมากมาย สนกุ ดว ย ไดความรดู วย) ประการทส่ี องและสาม คอื การอานและการเขียน ย่ิงเราอานมากเทาไหร เราก็เรียนรูเพอื่ จะนําไปใชเ ขียนไดม ากข้นึ เทาน้ัน ภาษาของเอกสารแตละประเภทมี ความหลากหลายไมเ หมอื นกนั หากมคี วามเขา ใจในภาษาองั กฤษทเ่ี ปน Academic Vocabulary จะทาํ ใหเ ราไดค ะแนวเวลาสอบมากยง่ิ ขน้ึ เพราะเปน การใชภ าษาท่ี ความลกึ ซง้ึ มากขึ้นนน่ั เอง ในปจจบุ ันเรามีเน้อื หาใหอานมากมากจริงๆ โดยเฉพาะในปจ จุบัน เพราะ อนิ เตอรเน็ต, หนงั สือออนไลน, หนังสือพิมพ สงิ่ พมิ พ และหนงั สือภาษาอังกฤษ มี มากมายดาษดน่ื ทาํ ใหก ารเขา ถงึ ของเราเปน ไปไดง า ย ผูเขียนเสนอแนวทางในการ พัฒนาการอาน โดยพัฒนาควบคูไปกบั การศึกษาโครงสรางการเขียน Essay และ โครงสรางประโยค (Grammar) การที่เราทาํ เชนนั้น จะทาํ ใหเ ราเขา ใจวา รปู แบบ วิธีการเขียนหนงั สอื วา เอาอะไรไวท ไ่ี หน การที่เรารโู ครงสรา งหรือรูปแบบของการ เขียน เหมือนเราไดอานสารบัญของหนังสือนนั่ เอง เรามาดกู นั วา โครงสรา งของการ เขียน Essay กันดกี วา สารบญั

ห น า | 147 Introduction กลา วนําจากภาพใหญ แลว นาํ มาสูหัวขอ ทจ่ี ะเขยี น Thesis statement Document management (การจัดการภายในเอกสาร หัวขอตางๆ พรอ มลําดับในการยกตวั อยา ง) Body Topic statement 1 Example 1 Example 2 Topic statement 2 Example 1 Example 2 Topic statement 3 Example 1 Example 2 Conclusion นําเอา Introduction มาเขียนใหม สารบญั

ห น า | 148 การเขยี นEssay ตะประกอบดวยกัน 3 สวน คอื Introduction, Body และ Conclusion ในสวน Introduction มวี ธิ ีเขยี นดว ยกนั 2 แบบคือ เขยี นจากขอ เทจ็ จริง ทวั่ ไป แลวตีวงใหแ คบลงมงุ ไปหา Thesis Statement ทีเ่ ปน ประเดน็ หลกั ของการ เขยี น พระเอกสุดของการอานและการเขียนคือ Main Idea หรอื ประโยค Thesis statement เพราะน่นั คือหวั ใจของทง้ั เอกสาร ดังนน้ั หากเราหาเจอเรากจ็ ะรเู ลยวา เอกสารฉบับนผ้ี ูเขยี นตองการจะส่อื สารอะไรกบั เรา จากนน้ั จงึ เปน การลาํ ดบั ใหผ ูอา น เขา ใจไดถ งึ รปู แบบวา เราจะกลา วถงึ อะไรบา งในเอกสาร ในสวนของ Body จะเปน การเขียนประเด็นตางๆ โดยเริ่ม Paragraph ยอยๆ จาก Topic sentence แลวจะตามดวยการยกตัวอยางประกอบ ซ่งึ ในสว นนีจ้ ะทําให การเขียนของเรามีสีสัน และนาเช่ือถือมากยงิ่ ขึน้ ปด ทายดว ยการเขียน Conclusion ซง่ึ อาจกลา วไดวา เปนการเรยี บเรยี งการ เขียน Introduction ในรูปแบบของการทํา Paraphrasing นั่นเอง ประการสดุ ทา ย คือการพูด อยาวา อยา งนูน อยา งน้เี ลย ผเู ขยี นวา การมี Long hair dictionary จะชวยไดเ ยอะจริงๆ แลวการท่เี ราไดมีโอกาสพูดกบั คนท่ีมี ความรดู า นภาษาองั กฤษเปน อยา งดี จะชว ยใหเ ราสามารถพฒั นาทกั ษะในการพดไป ไดอ ยา งรวดเรว็ เพราะคูสนทนาของเราจะทาํ หนา ที่เปน ครทู ่คี อยชว ยแกไข คาํ พดู ตางๆ ท่ผี ดิ พลาดของเราใหอ ยูเสมอๆ นั่นเอง ดังนนั้ ไมจ ําเปน วาจะตองเปน ชาวตา งชาติ เปน คนไทยท่รี ูภาษาองั กฤษดีก็มอี ยเู ยอะแยะไป การบงั คับใหพูด โตตอบกนั การบรรยายสรุป การนาํ เสนอขอ มลู เปนภาษาอังกฤษ การกระทาํ เหลา นี้ ลว นแลว แตเ ปน ตวั กระตนุ ใหเ ราสามารถพฒั นาการพูดของเราไดเปนอยางดี อยาลืมวา \"Practice makes perfect\" ดงั นนั้ เราควรพยายามทาํ ใหไดอ ยางตอ เนอื่ ง สารบญั

ห น า | 149 บทท่ี 5 : วธิ กี ารสอบภาษาองั กฤษแบบออสเตรเลยี น ในบทที่ 5 น้ีเปน วธิ กี ารทําใหก ารสอบไดค ะแนนมากขนึ้ แตขอบอกวา ไมใ ช การพัฒนาศักยภาพของทานผอู าน แตจะเปน Trick หรอื วิธีการที่จะชว ยทาํ ใหทาน สามารถไดค ะแนนสอบ IELTS และ ADFELPS มากขึ้นนนั่ เอง เรามาลองดูก็แลว กนั โดยจะเริม่ จากวิธีการพชิ ติ ขอสอบ IELTS จากนน้ั ตอ ดวยวธิ กี ารทําสอบ ADFELPS ใหไดคะแนนดี ทง้ั น้ี วิธกี ารทาํ สอบใหไ ดคะแนนดนี นั้ ทั้ง ADFELPS และ IELTS นนั้ ทําไดโดยวิธีการเดียวกนั จะแตกตางกนั ตรงที่รูปแบบของขอสอบของ ADFELPS กบั IELTS ซงึ่ สวนใหญจ ะคลา ยกัน แตจะแตกตา งกนั ทกี่ ารสอบ Listening ของการสอบ ADFELPS จะเปนการฟง 2 รอบ สวนของ IELTS นนั้ เปน รอบเดียว รวมถึงความยาก ของขอ สอบ IELTS นัน้ จะมมี ากกวาขอ สอบ ADFELPS มาลองดูกันในรายละเอียดกัน ดีกวา เรามาเรมิ่ ดว ยขอสอบท่ีงา ยกอ นดกี วานนั่ คือการสอบ ADFELPS Australian Defence Force English Language Profiling System (ADFELPS) สารบญั

ห น า | 150 การสอบ ADFELPS Australian Defence Force English Language Profiling System หรอื ADFELPS คือการสอบเพื่อประเมินผลขีดความสามารถในทักษะทางภาษาอังกฤษ สําหรับผเู ขา สมัครสอบเพอื่ เขา รบั การศกึ ษาในหลกั สตู รทางทหารของประเทศ ออสเตรเลีย วามเี พียงพอทจี่ ะเขา รับการศึกษาหรอื ไม ถาในประเทศออสเตรเลียแลว Defence International Training Centre (DITC) จะเปนผูทําการทดสอบเอง แตถาทําการทดสอบในประเทศอนื่ ๆ การสอบจะ กระทาํ โดยเจา หนา ทท่ี ไี่ ดร บั การอบรมมาโดยเฉพาะ การตรวจขอสอบนั้นในสวนของขอ สอบการอานและการฟง จะทําการตรวจ โดยเจาหนา ที่และใชเ ฉลย (Answer key) ท่ีกําหนดเทา นัน้ แตการใหคะแนนในสวน ของการเขียนและการพูดนั้นจะกระทําโดยเจาหนาทใี่ หคะแนนโดยเฉพาะ accredited ADFELPS raters การวดั ผลจะกระทาํ ใน 4 ทักษะคือ แบง ออกเปน 5 สว น • การฟง – ใชเ วลาประมาณ 40 นาที แบง ออกเปน 5 สว น • การอา น – ใชเ วลาประมาณ 60 นาที แบง ออกเปน 2 สว น • การเขียน – ใชเ วลาประมาณ 60 นาที แบง ออกเปน 5 สว น • การพดู – ใชเ วลาประมาณ 15-20 นาที รวมเวลาสอบทง้ั สน้ิ ประมาณ 3 ชั่วโมง การสอบฟง (LISTENING TEST) การสอบการฟงนจี้ ะเปน การฟง เพือ่ หาขอมูลทีเ่ ฉพาะเจาะจง (Listen for specific information) ใชเ วลาสอบประมาณ 40 นาที โดยแบง ออกเปน 5 สวน โดย เรม่ิ จากงา ยไปหายาก สารบญั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook