Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาครูสังคมศึกษาในฐานะนวัตกรการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ในยุคดิจิทัล

การพัฒนาครูสังคมศึกษาในฐานะนวัตกรการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ในยุคดิจิทัล

Published by Racchaneekorn Hongphanut, 2021-08-30 09:17:15

Description: การพัฒนาครูสังคมศึกษาในฐานะนวัตกรการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ในยุคดิจิทัล

Keywords: ครูสังคมศึกษา,นวัตกรการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์,ยุคดิจิทัล

Search

Read the Text Version

• สามารถดาวนโ์ หลดเปน็ PDF ได้ Page | 143

3) สำรวจเป็นหนา้ ทร่ี วบรวมความรู้ต่าง ๆ และสามารถดาวนโ์ หลดเปน็ ไฟล์ PDF เกบ็ ไวไ้ ด้ Page | 144

4) Virtual เป็นหนา้ ทีเ่ ราสามารถทอ่ งเที่ยวไปยงั สถานทจ่ี ริงดว้ ยภาพ 360 องศา ทำให้เหน็ มมุ มองตา่ ง ๆ ได้ชดั เจน 1 2 3 หมายเลข 1 คือ เนอ้ื หารายละเอยี ดของสถานท่ี หมายเลข 2 คือ ป่มุ ขยายภาพ 360 องศาแบบ Full Screen หมายเลข 3 คอื ภาพ 360 องศาเพ่ือดูสถานที่ หมายเลข 4 คอื ภาพนิง่ ของสถานที่ 4 Page | 145

5) งาน เปน็ หนา้ ในการทำแบบฝกึ หดั ตอบคำถาม และสามารถแปะข้อมูล ตา่ ง ๆ ผา่ นกระดาน Padlet ได้ 2 1 หมายเลข 1 คอื Google Form สำหรับตอบคำถาม ทำแบบฝกึ หัด หมายเลข 2 คือ กระดาน Padlet สำหรับใหน้ กั เรยี นแปะข้อมูลต่าง ๆ Page | 146

การใช้งาน 1) การใช้งานหน้า Virtual • สามารถคลิกเมาสค์ า้ งไวท้ ีร่ ูปแลว้ หมุนแบบ 360 องศาได้ Page | 147

• ปมุ่ ขยายแบบเตม็ จอ (Full Screen) สามารถขยายภาพ 360 องศาให้ แสดงผลแบบเตม็ หนา้ จอได้ • เม่อื ตอ้ งการออกจากโหมดเต็มหนา้ จอให้กดปุ่ม Esc Page | 148

• สามารถคลกิ ท่รี ูปภาพเพื่อขยายดูรปู ใหญ่ได้ Page | 149

2) งาน • Google Form ตอบคำถามทำแบบฝึกหดั สามารถพมิ พ์ลงไปใน แบบฟอรม์ บนหนา้ เวบ็ ไดเ้ ลย Page | 150

บทที่ 5 ความท้าทายของครูสงั คมศึกษาที่สอนวิชาประวัติศาสตรใ์ นการพัฒนาตนเอง เพ่ือเป็นนวตั กรการจัดการเรยี นรู้ประวัติศาสตร์ในยุคดิจทิ ัล แนวคิดของความท้าทายของครสู งั คมศึกษาที่จดั การเรียนรู้วชิ าประวัติศาสตร์ ในการพัฒนาตนเองเพื่อเป็นนวัตกรการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ในยคุ ดิจิทัลเพื่อ ทำการวิเคราะห์ SWOT และ TOWS Matrix ในเรื่องการหาปัจจัยภายในและปัจจัย ภายนอกหรือสภาพแวดล้อมภายในและสภาพแวดล้อมภายนอก เพื่อที่จะก้าวต่อไป ในการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของครูสังคมศึกษาที่จัดการเรียนรู้วิชา ประวัติศาสตร์ในฐานะนวัตกรการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ มีจุดประสงค์เพ่ือ วิเคราะห์ภาพรวมของครูสังคมศึกษาที่สอนวิชาประวัติศาสตร์ในฐานะนวัตกรการ จัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ในยุคดิจิทัลว่าจะพัฒนาตนเองไปในทิศทางใด เป็นไป ตามที่ตั้งเป้าหมายไว้หรือไม่ อย่างไร โดยนำรูปแบบ SWOT Analysis และ TOWS Matrix มาผสมผสานกับ ETPS, STEP, STEPE, ซึ่งเป็นรูปแบบที่นิยมมากจากฐาน แนวคิดของโลกธุรกิจประยุกต์ใช้กับทุกสาขาวิชาชีพที่ต้องการวิเคราะห์โดยนำ รูปแบบการวิเคราะห์ SWOT Analysis และ TOWS Matrix ด้วยปัจจัยภายใน ประกอบด้วย จุดแข็ง (Strengths) จุดอ่อน (Weaknesses) และปัจจัยภายนอก ประกอบด้วย โอกาส (Opportunities) และ ภาวะคุกคาม (Threats) จุดประสงค์ เพื่อช่วยให้ครูสังคมศึกษาที่จัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ มีกลยุทธ์ในการพัฒนา ตนเองเพื่อเป็นนวัตกรการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ในยุคดิจิทัลได้อย่างมีการ วางแผนในปจั จุบนั และคาดการณใ์ นอนาคต Page | 151

บทนา ครูสังคมศึกษาที่จัดการเรียนรู้วชิ าประวัตศิ าสตร์ หากจบหลักสูตรครุศาสตร์ หรือศกึ ษาศาสตรใ์ นวชิ าเอกสังคมศึกษา อาจจะทำให้มีความรูใ้ นด้านประวัติศาสตร์ บางส่วนที่ไม่สามารถเทียบเท่าผูท้ ีเ่ รียนจบด้านประวตั ศิ าสตร์มาโดยตรง จึงต้องเริ่ม การวิเคราะห์ตนเองว่าตนเองนั้นมีจุดเด่นจุดด้อยอะไร โดยเฉพาะเมื่อเปรียบเทียบ กับผู้ทเ่ี รียนดา้ นประวตั ิศาสตร์มาโดยตรงหรอื ผปู้ ระกอบอาชพี เป็นนักประวัติศาสตร์ ซงึ่ เป็นคำถามสำคัญในการวเิ คราะห์ SWOT Analysis ตอ่ ไป การวิเคราะห์ SWOT Analysis และ TOWS Matrix ในบทนจ้ี ะเปน็ การวเิ คราะห์ 2 ส่วนดังต่อไปน้ี ส่วนที่ 1 เป็นการวิเคราะห์ครูสังคมศึกษาที่สอนวิชาประวัติศาสตร์ใน ฐานะนวัตกรการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ในยุคดิจิทัลด้วยรูปแบบ การวเิ คราะห์ SWOT Analysis ส่วนที่ 2 เป็นการวิเคราะห์ครูสังคมศึกษาที่สอนวิชาประวัติศาสตร์ใน ฐานะนวัตกรการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ในยุคดิจิทัลด้วยรูปแบบ ผสมผสานระหวา่ ง SWOT Matrix, TOWS Matrix, ETPS, STEP (strategic, trend, evaluation, process), STEPE (strategic, trend, evaluation, process, ecological), แนวคดิ 2S4M, McKinsey 7S model และ PESTEL Analysis Page | 152

ก่อนอื่นมารู้จักทฤษฎีและแนวคิดของ SWOT Analysis ความหมายของ SWOT และประโยชน์ของ SWOT Analysis จากทฤษฎีและแนวคิดของนักธุรกิจที่จะนิยมใช้ SWOT Analysis และ TOWS Matrix ในการคาดการณ์ทิศทางในการทำธุรกิจของตนเอง เรานำทั้งสอง ส่วนมาหาความสัมพันธ์และความสมดุล เราจะหากลยุทธ์ในการพัฒนาองค์กรได้ ในขณะเดียวกัน SWOT Analysis และ TOWS Matrix ถูกนำมาใช้กับการศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสาขาบริหารการศึกษา เพื่อหาความสัมพันธ์ และความสมดลุ ของสถานศึกษา ผู้บริหาร ครู ต่อมานำมาใช้กับหลาย ๆ สาขาวิชาทางการศึกษา เมื่อหลากหลายสาขาวิชาชีพเห็นความสำคัญของการทำ SWOT Analysis และ TOWS Matrix แล้ว ทางสาขาวิชาการสอนสังคมศึกษาน่าจะลองใช้ SWOT Analysis และ TOWS Matrix ในการวางแผนกลยุทธ์ของครูสงั คมศึกษาที่สอนวชิ า ประวตั ิศาสตรใ์ นฐานะนวัตกรการจัดการเรียนร้ปู ระวัติศาสตรใ์ นยุคดิจิทัล SWOT: ความหมาย สำหรับ ความหมายของ SWOT Analysis (IM 2, 2015) หมายถงึ เครื่องมือ การบริหารที่นำมาใช้วิเคราะห์สภาพแวดล้อม วิเคราะห์ศักยภาพขององค์กร เพื่อ ประเมินสถานการณ์ จากนั้นนำข้อมูลที่ได้มากำหนดเป้าหมายหรือกำหนดทิศ ทางการทำงาน ซึง่ นยิ มเรียกกันวา่ “กลยุทธ์การบริหาร” SWOT Analysis (Suradech, 2017) คือ เครื่องมือทางการตลาดที่เป็น คำศัพทย์ อดนยิ มและค่อนข้างจะเป็นท่ีรู้จักอยา่ งมากในวงการธรุ กจิ SWOT Analysis ตามความหมายของ Kenton (2021) หมายถึงเป็นการ วิเคราะห์สภาพองค์การ หรอื หน่วยงานในปัจจบุ นั เพอ่ื ค้นหาจดุ แข็ง จุดเด่น จดุ ดอ้ ย หรอื สง่ิ ทอี่ าจเป็นปัญหาสำคัญในการดำเนนิ งานสู่สภาพท่ีต้องการในอนาคต SWOT Analysis (ที่ปรึกษาตลาดออนไลน์, 2021) คือ แผนยุทธศาสตร์ท่ี เป็นรูปแบบ ใช้ในการวิเคราะห์สถานการณ์ทางธุรกิจที่กำลังเผชิญอยู่ โดยจะ Page | 153

ประกอบด้วย 4 ปัจจัยหลัก และ คุณลักษณะของธุรกิจ เพื่อใช้ประกอบการ วิเคราะห์คือ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสทางธุรกิจ และ อุปสรรคหรือภัยคุกคามที่อาจ เกดิ ขน้ึ กับธรุ กิจ Good Material (2021) ให้ความหมาย SWOT Analysis ที่ว่า เครื่องมือ วิเคราะห์แผนธุรกิจที่อยู่คู่หลักการบริหารธุรกิจมาอย่างยาวนาน เป็นเครื่องมือที่ เรียบงา่ ยแต่ทรงพลงั อยา่ งไม่น่าเชอ่ื สรุปรวมความหมายของ SWOT Analysis หมายถึง เครื่องมือในการ วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและสภาพแวดล้อมภายนอกเพื่อหาจุดแข็ง จุดเด่น จุดด้อย โอกาส ในสถานการณป์ ัจจบุ นั ทีเ่ ผชิญอยู่ หลกั การสำคัญของ SWOT หลักการสำคัญของ SWOT คือการวิเคราะห์โดยการสำรวจจากสภาพการณ์ 2 ด้าน คือ สภาพการณ์ภายในและสภาพการณ์ภายนอก ดังนั้นการวิเคราะห์ SWOT จึงเรียกได้ว่าเป็นการวิเคราะห์สภาพการณ์ (situation analysis) ซึ่งเป็น การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน เพื่อให้รู้ตนเอง (รู้เรา) รู้จักสภาพแวดล้อม (รู้เขา) ชัดเจน และวิเคราะห์โอกาส-อุปสรรค การวิเคราะห์ปัจจัยต่าง ๆ ทั้งภายนอกและ ภายในองค์กร ซึ่งจะช่วยให้ผู้บริหารขององค์กรทราบถึงการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่ เกิดขึ้นภายนอกองค์กร ทั้งสิ่งที่ได้เกิดขึ้นแล้วและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงใน อนาคต รวมทั้งผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ที่มีต่อองค์กรธุรกิจ และจุด แข็ง จุดอ่อน และความสามารถด้านต่าง ๆ ที่องค์กรมีอยู่ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จะเป็น ประโยชนอ์ ย่างมากตอ่ การกำหนดวิสยั ทศั น์ การกำหนดกลยทุ ธ์และการดำเนินตาม กลยุทธ์ขององค์กรระดบั องค์กรทเ่ี หมาะสมต่อไป Page | 154

ประโยชนข์ องการวิเคราะห์ SWOT การวิเคราะห์ SWOT เป็นการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมต่าง ๆ ทั้งภายนอก และภายในองคก์ ร ซึ่งปัจจัยเหล่านี้แต่ละอย่างจะช่วยให้เข้าใจได้ว่ามีอิทธิพลต่อผล การดำเนินงานขององค์กรอย่างไร จุดแข็งขององค์กรจะเปน็ ความสามารถภายในที่ ถูกใช้ประโยชน์เพื่อการบรรลุเป้าหมาย ในขณะที่จุดอ่อนขององค์กรจะเป็น คณุ ลกั ษณะภายใน ทอี่ าจจะทำลายผลการดำเนินงาน โอกาสทางสภาพแวดล้อมจะ เป็นสถานการณ์ที่ให้โอกาสเพื่อการบรรลุเป้าหมายองค์กรในทางกลับกันอุปสรรค ทางสภาพแวดล้อมจะเป็นสถานการณ์ที่ขัดขวางการบรรลุเป้าหมายขององค์กร ผล จากการวิเคราะห์ SWOT นี้จะใช้เป็นแนวทางในการกำหนดวิสัยทัศน์ การกำหนด กลยุทธ์ เพือ่ ให้องคก์ รเกิดการพัฒนาไปในทางทเี่ หมาะสม องคป์ ระกอบของ SWOT S หรือ Strengths หมายถึง ปัจจัยต่าง ๆ ภายในองค์กร ที่ทำให้เกิดความเข้มแข็งหรือเป็นจุด แข็งขององค์กรทีจ่ ะนำไปสกู่ ารไดเ้ ปรยี บคู่แขง่ ขัน เปน็ ข้อดีทีเ่ กิดจากสภาพแวดล้อม ภายใน เช่น จุดแข็งด้านการเงิน ด้านการผลิต ด้านทรัพยากรบุคคล ด้านคุณภาพ ของสินค้า นักธุรกิจออนไลน์ต้องใช้ประโยชน์จากจุดแข็งเหล่านี้ในการกำหนดกล ยทุ ธก์ ารตลาด Page | 155

W หรือ Weaknesses หมายถึง ปัจจัยต่าง ๆ ภายในองค์กรที่ทำให้เกิดความอ่อนแอ หรือเป็น จุดอ่อน นำไปสู่การเสียเปรียบคู่แข่ง เป็นปัญหาหรือข้อบกพร่องที่เกิดจากสภาพ ภายในซงึ่ นกั ธรุ กิจออนไลนจ์ ะตอ้ งหาวิธแี กไ้ ขปัญหาน้นั ให้ได้ O หรือ Opportunities หมายถงึ ปัจจัยต่าง ๆ ภายนอกองคก์ รทเี่ อือ้ ประโยชน์ใหซ้ ่ึงเปน็ โอกาสท่ีชว่ ย ส่งเสริมการดำเนนิ ธุรกจิ เชน่ สภาพเศรษฐกิจท่ขี ยายตวั ขอ้ แตกตา่ งระหว่างจุดแข็ง กับโอกาสในการทำธุรกิจก็คือ จุดแข็งเป็นปัจจัยที่เกิดจากสภาพแวดล้อมภายใน สว่ นโอกาสนัน้ เป็นผลจากสภาพแวดลอ้ มภายนอก นกั ธรุ กิจออนไลน์ที่ดจี ะต้องเสาะ แสวงหาโอกาสอยู่เสมอเพือ่ ใชป้ ระโยชน์จากโอกาสนัน้ ในการเพิ่มยอดขาย T หรอื Threats หมายถงึ ปจั จยั ต่าง ๆ ภายนอกองคก์ รทเ่ี ปน็ อุปสรรคตอ่ การดำเนนิ งาน เป็น ข้อจำกัดที่เกิดจากสภาพแวดล้อมภายนอก นักธุรกิจจำเป็นต้องปรับกลยุทธ์ การตลาดใหส้ อดคล้องและพยายามขจดั ปญั หาอุปสรรคทเ่ี กดิ ข้นึ ใหห้ มดไป จากองค์ประกอบดงั กลา่ ว พจิ ารณาแล้วเห็นว่า SWOT คือ กลยุทธก์ ารตลาด 4 ดา้ นซ่งึ ได้แก่ จดุ แขง็ ซงึ่ เป็นจุดเดน่ ของธุรกิจ จุดออ่ นที่เป็นขอ้ เสียเปรยี บของธุรกจิ โอกาส คือปัจจัยที่เอื้อประโยชน์ให้ดำเนินธุรกิจได้ตามแผนการตลาดที่กำหนดไว้ และดา้ นสุดท้ายคือ ปญั หาอุปสรรคทอ่ี าจมผี ลกระทบต่อการดำเนนิ ธรุ กิจ Page | 156

SWOT เปน็ อักษรยอ่ ซงึ่ แตล่ ะคำมีความหมายแผนภาพท่ี 6 ดงั นี้ ภาพที่ 6 การสร้าง Swot Analysis ทมี่ า: https://www.goodmaterial.co/swot-analysis/ การวเิ คราะห์ครูสงั คมศกึ ษาที่สอนวิชาประวัตศิ าสตร์ในฐานะ นวัตกรการจัดการเรียนร้ปู ระวตั ศิ าสตร์ในยุคดจิ ทิ ลั ด้วยรปู แบบ การวเิ คราะห์ SWOT Analysis จากรูปแบบการสร้าง SWOT Analysis ดั่งภาพที่ 6 การวิเคราะห์ด้วย SWOT Analysis น้ี มีวิธีการวเิ คราะห์ 2 กรณดี งั น้ี กรณีที่ 1 หากครูสังคมศึกษาที่สอนวิชาประวัติศาสตร์ต้องการวิเคราะห์เพียง SWOT Analysis เพื่อมองการพัฒนาตนเองในฐานะนวัตกรการจัดการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ในยุคดิจิทัลนั้น โดยที่ไม่ได้ต้องการนำไปสู่การจัดทำกลยุทธ์สามารถ Page | 157

วิเคราะห์แบบงา่ ย ๆ ได้ โดยที่ไม่ใช้ครูสอนวิชาประวัติศาสตร์ในฐานะนวัตกรการจัดการ เรียนรู้ประวัติศาสตร์ในยุคดิจิทัลเป็นปัจจัยภายในเพียงปัจจัยเดียวเท่านั้น ดังตาราง ตอ่ ไปน้ี ตารางที่ 5 การวิเคราะห์ SWOT Analysis ของครูสังคมศึกษาที่สอนวิชาประวัติศาสตร์ใน ฐานะนวัตกรการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ในยคุ ดิจิทลั จุดแขง็ โอกาส • ครสู งั คมศึกษาท่จี ดั การเรียนรู้ วชิ าประวัตศิ าสตรม์ ี • หลักสตู รกำหนดใหเ้ รยี นวชิ าครู ความสามารถในการจดั การ และฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี ครู เรยี นรู้ประวตั ศิ าสตร์ ตามประกาศ • ครสู งั คมศกึ ษาทจ่ี ดั การเรยี นรู้ กระทรวงศึกษาธกิ าร เรอ่ื ง วชิ าประวตั ศิ าสตรม์ ี มาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดับปรญิ ญา ความสามารถในการบรู ณาการ ตรี สาขาครศุ าสตร์และสาขา ศาสตรค์ วามรู้อ่ืน ๆ เข้ากบั วิชา ศึกษาศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ได้ดี • หลักสตู รกำหนดใหเ้ รยี นสาระ จุดอ่อน อ่นื ของสงั คมศึกษาและ • ครสู งั คมศกึ ษาท่จี ดั การเรียนรู้ สามารถบรู ณาการภายในกลมุ่ วิชาประวัติศาสตรม์ ีความรดู้ ้าน สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา เน้ือหาประวตั ิศาสตรน์ อ้ ยกวา่ ศาสนาและวฒั นธรรมได้ นักประวัตศิ าสตร์ • โครงสรา้ งรายวิชา ประวัติศาสตร์ทแ่ี ยกออกมา เป็นส่วนหนง่ึ รายวชิ าสงั คม ศึกษา มีความทับซอ้ นในแงข่ อง เน้อื หา อปุ สรรค • นโยบายหลักสตู รดา้ นครุ ศาสตร/์ ศกึ ษาศาสตร์กำหนดให้ มีการเรียนการสอนเป็นวิชาครู สว่ นหน่งึ ตลอดจนการเรียน วิชาเอกสังคมศกึ ษาท่ีต้องเรยี น Page | 158

ท้ัง 5 สาระ จงึ ทำใหไ้ ม่เนน้ ไปที่ ประวตั ิศาสตรเ์ ชงิ ลกึ หรอื ประวตั ิศาสตร์เชงิ วพิ ากษ์ • นโยบายการจัดการเรยี นการ สอนระดับการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน ไมไ่ ด้สนับสนนุ ด้านการเรยี นรู้ ประวัติศาสตร์ทเ่ี น้นการลง พน้ื ท่ภี าคสนาม • สื่อการเรียนรปู้ ระวตั ศิ าสตรไ์ ม่ มคี วามหลากหลาย ไมไ่ ดส้ ัมผสั หรอื เรยี นรู้จากหลักฐานทาง ประวัตศิ าสตรท์ ี่แท้จริง • ผู้เรยี นสังคมศกึ ษามกั ไมช่ อบ วิชาประวตั ศิ าสตร์ เพราะมี เนื้อหาเยอะ น่าเบือ่ • ผเู้ รยี นส่วนมากใหค้ วามสนใจ ดา้ นเทคโนโลยีท่ีทันสมยั มากกวา่ การเรียนวิชา ประวตั ศิ าสตร์ การวิเคราะห์ SWOT Analysis ของครูสังคมศึกษาที่สอนวิชาประวัติศาสตร์ใน ฐานะนวตั กรการจัดการเรียนรู้ประวตั ิศาสตร์ในยุคดจิ ิทัล ในส่วนเฉพาะครสู ังคมศึกษาที่ จดั การเรยี นรูว้ ชิ าประวัติศาสตร์ ขอ้ มูลจากการวิเคราะหท์ ี่ไดข้ อ้ มลู พื้นฐานซึ่งไม่ละเอียด เพยี งพอทจี่ ะไปทำกลยทุ ธเ์ พ่ือพฒั นาครสู งั คมศึกษาท่ีจดั การเรียนรูว้ ชิ าประวตั ิศาสตร์ใน ฐานะนวัตกรการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ในยุคดิจิทัลได้ จึงเป็นเหตุผลที่มาของการ ผสมผสานรูปแบบต่าง ๆ โดยใช้การวิเคราะห์ SWOT Analysis ร่วมกับรูปแบบ TOWS Matrix, ETPS, STEP (strategic, trend, evaluation, process), STEPE (strategic, trend, evaluation, process, ecological),แนวคิด 2S4M, McKinsey 7S model และ PESTEL Analysis Page | 159

การวเิ คราะหค์ รสู งั คมศกึ ษาทีส่ อนวิชาประวตั ิศาสตรใ์ นฐานะ นวตั กรการจดั การเรียนรปู้ ระวัติศาสตร์ในยุคดิจิทัลดว้ ยรปู แบบ ผสมผสาน โดยปกติแล้ว หากเราไม่ต้องการพยากรณ์อะไร สามารถใช้ SWOT Analysis ใน การวิเคราะห์ออกมาได้ทันที โดยที่มีวิธีการเน้นที่ปัจจัยอะไรคือ เส้นแบ่งระหว่างปจั จยั ภายในกับภายนอกเทา่ นัน้ หากเราจะใช้ SWOT Analysis มาวิเคราะห์เพื่อพยากรณ์หรือกำหนด นโยบายตลอดจนกลยุทธ์ที่ต้องการ มีกลยุทธ์ในการวิเคราะห์ครูสังคมศึกษาท่ี จัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ในฐานะนวัตกรการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ใน ยุคดิจิทัล ตลอดจนการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมนั้นต้องอาศัยหลักการและวิธีการ วิเคราะห์ท่ีลึกซึ้งกว่านั้น ขอนำเสนอรูปแบบการจับคู่ TOWS Matrix และ SWOT Matrix ดังภาพท่ี 7 เพอ่ื อธิบายการวิเคราะหท์ ซี่ บั ซ้อนต่อไป Page | 160

ภาพที่ 7 การจบั คู่ TOWS Matrix และ SWOT Matrix ที่มา: https://www.thinkaboutwealth.com/tows-matrix/ เครื่องมือในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมที่นิยมใช้นั้น มักจะใช้ SWOT Analysis เปน็ หลักในการวิเคราะห์เบื้องต้น นักวชิ าการหลายท่านไดน้ ำทฤษฎี และ รูปแบบการวิเคราะห์ SWOT ที่เกิดขึ้นในทศวรรษ 1960 และ 1970 โดยใช้ข้อมูล จากบริษัทที่ติดอันดับ Fortune 500 อย่างไรก็ตามต้นกำเนิดของ SWOT ยังคง คลุมเครือ ไม่แน่ชัดในต้นกำเนดิ ตอ่ มาไดม้ กี ารพฒั นาจาก SWOT Analysis เป็น TOWS Matrix (Weihrich, 1982) TOWS Matrix คือ เครื่องมือวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จาก SWOT Analysis คือ จุดแข็งภายในและภายนอก เพื่อใช้ในการสร้างกลยุทธ์ทางการตลาดที่สามารถ ปฏิบัติตามได้ ส่วนประกอบของ TOWS มีดังนี้ (T) Threats, (O) Opportunities, (W) Weaknesses, (S) Strengths ที่ใช้ในการวิเคราะห์ โดยแบ่งการวิเคราะห์เปน็ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ซ่ึง การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในนั้นนิยมใช้รูปแบบ McKinsey 7S model (Waterman, Peters & Phillips, 1980) ซึ่งกล่าวถึงองค์ประกอบ 7 ประการ ดัง ภาพตอ่ ไปน้ี Page | 161

ภาพท่ี 8 McKinsey 7S model ทม่ี า: https://managementmodellensite.nl/webcontent/uploads/Structure- is-not-organization.pdf นักวิชาการด้านบริหารการศึกษาได้ใช้การวิเคราะห์ SWOT Analysis ในการ เรียนการสอนเช่น พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ (2552) ได้ใช้แนวคิด 2S4M ใน การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายใน ประกอบไปด้วย 1. ดา้ นโครงสรา้ ง (Structure & Policy) เช่น โครงสร้างองค์กร กลยุทธ์ 2. ด้านลูกค้า (Service) เช่น ความพึงพอใจของบุคคลผู้รับบริการ ผลผลิต ผลลพั ธ์ 3. ด้านบุคลากร (Manpower) เช่น อัตรากำลัง การบริหารบุคคล คุณภาพ บคุ ลากร 4. ด้านการเงิน (Money) เชน่ ประสิทธิภาพด้านการเงิน การระดมทนุ 5. ดา้ นวัสดุอุปกรณ์ (Material) เช่น วสั ดุ อปุ กรณ์ เครือ่ งจักร Page | 162

6. ด้านการบริหารจัดการ (Management) เช่น กระบวนการ ภาวะผู้นำ วัฒนธรรมองคก์ ร สารสนเทศ ซึ่งใกล้เคียงกับ Griffin (1999) ทเ่ี สนอแนวคดิ 6M’s ประกอบดว้ ย Man Money Machine Material Method และ Management ส่วนการวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอกนั้น มักจะใช้ตน้ แบบเดียวกนั คือ ETPS (Aguilar, 1967) ซึ่งย่อมาจากปัจจัย 4 ปัจจยั คอื Economic Technological Political และ Social เป็นการวิเคราะห์หากลยุทธ์ที่เหมาะสมของหน่วยงานหรือ องค์กรต่าง ๆ มีที่มาจาก Arnold Brown (1960) เป็นผู้เริ่มต้นนำมาขั้นตอนต่าง ๆ ของการวิเคราะห์ SWOT Analysis แบบเจาะลึก โดยเรียงคำใหม่เป็นคำว่า STEP (strategic, trend, evaluation, process) และเพิ่มเป็น STEPE โดย E ตัวหลังนนั้ มาจากคำว่า ecological นอกจากนี้อีกหลายปีต่อมาพัฒนามาเรื่อย ๆ เช่น เป็น PESTEL Analysis โดยนำ STEP หรือ PEST หรือ ETPS มาพัฒนาต่อ โดยเพิ่ม EL เข้ามา คือ เปลี่ยนจาก ecological เป็น environmental และเพิ่ม Legal แยก ออกจาก Political หลงั จากน้นั ก็มแี นวคดิ STEEPLE โดยเพม่ิ Ethics เขา้ ไปเปน็ อีก องค์ประกอบ (Rastogi & Trivedi, 2016) ภาพที่ 9 แนวคิด STEEPLE ของRastogi & Trivedi, 2016 ท่ีมา: https://qmethod.org/1980/01/08/brown-1980-political-subjectivity/ Page | 163

ภาพท่ี 10 แนวคดิ STEEPLE (Brown, 1980) ท่มี า: https://qmethod.org/1980/01/08/brown-1980-political-subjectivity/ อย่างไรกด็ ีมผี ู้นำเสนอแนวคิด STEEPLE (Rastogi & Trivedi, 2016; Brown, 1980) ซึ่งหมายถึง การวิเคราะห์ STEEPLE เป็นเครื่องมือในการวางแผนเชิงกลยุทธ์ จะมีประโยชน์เมื่อวางแผนการวางตำแหน่งเชิงกลยุทธ์ เมื่อเปรียบเทียบกับการ วิเคราะห์ SWOT เป็นทางเลือกที่ได้รับความนิยมมากเพราะแนวคิด STEEPLE ซึ่งมี องค์ประกอบดง่ั ภาพท่ี 10 มีความก้าวหนา้ กว่า เนื่องจากเก่ียวข้องกบั ปัจจัยภายนอก มหภาคในวงกวา้ ง การวิเคราะห์โดยการนำ SWOT Analysis และ TOWS Matrix ที่นำมา ประยกุ ตใ์ ชก้ ับการทำ SWOT และ TOWS ของการศึกษาได้ ในส่วนนจี้ ะขอยกตัวอยา่ ง รูปแบบการวิเคราะห์ SWOT Analysis และ TOWS Matrix อย่างง่าย ที่จะวิเคราะห์ สภาพแวดล้อมภายในด้วย 2S4M และภายนอกด้วย STEP โดยการทำ SWOT Analysis หากทำให้กลายเป็น TOWS Matrix แล้วจะมีผลต่อการกำหนดกลยุทธ์ได้ ง่าย (ชญาพมิ พ์ อสุ าโห, 2557) ดงั น้ี Page | 164

TOWS MATRIX Opportunities (โอกาส) Threats (อปุ สรรค) 1. …………………………………….. 1. …………………………………….. Strengths (จุดแข็ง) 2. …………………………………….. 2. …………………………………….. 1. …………………………………….. 3. …………………………………….. 3. …………………………………….. 2. …………………………………….. OS กลยุทธ์เชิงรกุ /เพิม่ /ขยาย 3. …………………………………….. TS กลยุทธ์คงสภาพ Weaknesses (จดุ อ่อน) (Growth) (Stability) 1. …………………………………….. องค์กรดาวรุ่ง (Stars) 2. …………………………………….. องค์กรขยับลำบาก (Cash 3. …………………………………….. OW กลยุทธ์ปรับปรงุ Cows) (Improvement) องค์กรทตี่ อ้ งปรับปรงุ ภายใน TW กลยุทธล์ ด/ตัดทอน (Retrenchment) (?) องค์กรสนุ ัขจนตรอก (Dogs) บทวิเคราะห์จาการทำ SWOT Analysis และ TOWS Matrix พบว่า การ วิเคราะห์ครูสังคมศึกษาที่จัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ หากเราอนุมานว่าครูได้ สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต หรือศึกษาศาสตรบัณฑิต หรือ การศึกษาบัณฑิต สาขาวิชามัธยมศึกษา เอกสังคมศึกษา สิ่งที่ครูสังคมศึกษาเรียน วิชาประวัตศิ าสตร์นัน้ จะประกอบด้วย วิธีการทางประวตั ิศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ไทย และประวตั ิศาสตรส์ ากลเปน็ หลัก จะมีรายละเอียดประวัตศิ าสตร์ทอ้ งถ่ินหรือการลง ลึกในเชิงประวัติศาสตร์ด้านอื่น ๆ น้อยมาก เมื่อเทียบกับผู้เรียนด้านประวัตศิ าสตร์ มาโดยตรง แต่วิธีการนำเสนอหรือศาสตร์การสอนนี้จะเป็นหนึ่งในจุดเด่นของครู สงั คมศกึ ษาท่สี อนวิชาประวตั ศิ าสตร์ จงึ สามารถวเิ คราะห์ SWOT Analysis ออกมา อยา่ งงา่ ย ๆ ไดด้ งั ต่อไปน้ี 1. ครูสังคมศึกษาที่จัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ มีความสามารถในการ จัดการเรียนรูป้ ระวัตศิ าสตร์ เนื่องจากต้องเรยี นวิชาครูและฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ครูตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เร่อื ง มาตรฐานคุณวุฒริ ะดบั ปริญญาตรี สาขา ครศุ าสตร์และสาขาศกึ ษาศาสตร์ (Man+ & Political+) Page | 165

2. ครูสังคมศึกษาที่จัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ มีความสามารถใน การบูรณาการศาสตร์ความรู้อื่นเข้ากับวิชาประวัติศาสตร์ได้ดี เนื่องจากต้องเรียน สาระอื่นของสังคมศึกษาและสามารถบูรณาการภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรมได้ (Man+ & Political+) 3. ครูสังคมศึกษาที่จัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ มีความรู้ด้านเนื้อหา ประวัติศาสตร์น้อยกว่านักประวัติศาสตร์ เนื่องจากนโยบายหลกั สตู รด้านครุศาสตร์ ที่ต้องมีการเรียนการสอนเป็นวิชาครูส่วนหนึ่ง ตลอดจนการเรียนวิชาเอกสังคม ศึกษาที่ต้องเรียนทั้ง 5 สาระ จึงทำให้ไม่เน้นไปที่ประวัติศาสตร์เชิงลึกหรือ ประวัตศิ าสตร์เชงิ วพิ ากษ์ (Man- & Political-) 4. ผู้เรียนสังคมศกึ ษามักไม่ชอบวิชาประวัติศาสตร์ เพราะมีเนื้อหาเยอะ น่า เบื่อ อันเนื่องมาจากมีความสนใจด้านเทคโนโลยีที่ทันสมัยมากกว่า (Service- & Technological-) 5. สื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ไม่มคี วามหลากหลาย ไม่ได้สัมผัสหรือเรยี นรู้ จากหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ที่แทจ้ ริง เนอื่ งจากนโยบายการจัดการเรยี นการสอน ระดบั การศึกษาข้นั พืน้ ฐานไมไ่ ด้สนบั สนุนดา้ นการเรยี นร้ปู ระวัติศาสตร์ที่เน้นการลง พ้ืนทีภ่ าคสนาม (Material- & Political-) 6. โครงสร้างรายวชิ าประวตั ิศาสตร์ทแ่ี ยกออกมาเป็นสว่ นหนึง่ รายวิชาสังคม ศึกษา มีความทับซ้อนในแง่ของเนื้อหาถือเป็นการได้ทบทวนบทเรียน เนื่องจาก นโยบายจากสว่ นกลาง (Structure+ & Political-) Page | 166

จากตัวอย่างทง้ั 6 ข้อน้ี เปน็ ตวั อย่างในการวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมทเ่ี ริ่มจากภายใน ไปสู่ภายนอกในขอ้ เดยี วกัน เพอ่ื สะดวกต่อการนำไปทำเปน็ TOWS Matrix ดังน้ี TOWS MATRIX Opportunities (โอกาส) Threats (อุปสรรค) Strengths (จดุ แขง็ ) ++ +- Weaknesses (จดุ ออ่ น) -+ -- เมื่อนำทัง้ 6 ข้อมาใส่ในช่องตา่ ง ๆ แลว้ จะปรากฏเปน็ ดงั น้ี TOWS MATRIX Opportunities (โอกาส) Threats (อุปสรรค) 1, 2 Strengths (จดุ แขง็ ) 6 Weaknesses (จุดออ่ น) 3, 4, 5 ทีนคี้ วรจะนำแตล่ ะช่องมาสรุปเป็นกลยทุ ธท์ ค่ี รูสังคมศกึ ษาทีส่ อนวชิ าประวัติศาสตร์ ควรจะทำ ดังน้ี 1. ครูสังคมศึกษาที่จัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ มีความสามารถในการ จัดการเรียนรู้เนื่องจากต้องเรียนวิชาครูตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานคุณวฒุ ิระดบั ปริญญาตรี สาขาครุศาสตรแ์ ละสาขาศึกษาศาสตร์ (Man+ & Political+) 2. ครูสังคมศึกษาที่จัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ มีความสามารถใน การบูรณาการศาสตร์ความรู้อื่นเข้ากับวิชาประวัติศาสตร์ได้ดี เนื่องจากต้องเรียน สาระอ่ืนของสงั คมศึกษา (Man+ & Political+) สรุปได้ว่า ครูสังคมศึกษาที่จัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ มีความรู้ใน การบูรณาการศาสตร์ต่าง ๆ และความรู้ในวิชาชีพครูที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ ตลอดจนสามารถนำวิธีการทางประวัติศาสตร์ไปจัดการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ได้ ซึ่งเป็นกลยุทธ์ที่ควรเพิ่มหรือกลยุทธ์เชิงรุกที่ได้เปรียบเป็นอย่าง Page | 167

มาก ดังนั้นสิ่งท่ีครูสงั คมศึกษาทีส่ อนวิชาประวัตศิ าสตร์ต้องทำคือ การนำเสนอการ จัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์โดยเชื่อมโยงหรือบูรณาการกับสาขาวิชาอื่น ๆ และ ถ่ายทอดกระบวนการจัดการเรียนการสอนออกมาได้อยา่ งเหมาะสมสอดคลอ้ งกับท่ี สิริวรรณ ศรีพหล (2555) ระบุว่าระบบการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ ในสถานศึกษา สำหรับครูสังคมศึกษา โดยภาพรวมผู้เชี่ยวชาญให้ความเห็นว่าเป็น ระบบที่มีองค์ประกอบและขั้นตอนชัดเจน เป็นลำดับต่อเนื่อง และเป็นระบบการ จดั การเรียนการสอนทน่ี า่ สนใจและสามารถนำไปสกู่ ารปฏิบตั ิได้ 3. ครูสังคมศึกษาที่จัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ มีความรู้ด้าน ประวัติศาสตร์น้อยกว่านักประวัติศาสตร์ เนื่องจากนโยบายหลกั สูตรด้านครุศาสตร์ ที่ต้องมีการเรียนการสอนเป็นวิชาครูส่วนหนึ่ง ตลอดจนการเรียนวิชาเอกสังคม ศึกษาที่ต้องเรียนทั้ง 5 สาระ จึงทำให้ไม่เน้นไปที่ประวัติศาสตร์เชิงลึกหรือ ประวตั ศิ าสตร์เชงิ วิพากษ์ (Man- & Political-) 4. ผู้เรียนสังคมศึกษามักไม่ชอบวิชาประวัติศาสตร์ เพราะมีเนื้อหาเยอะ น่า เบื่อ อันเนื่องมาจากมีความสนใจด้านเทคโนโลยีที่ทันสมัยมากกว่า (Service- & Technological-) 5. สื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ไมม่ คี วามหลากหลาย ไม่ได้สัมผัสหรือเรยี นรู้ จากหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรท์ ่แี ทจ้ ริง เนื่องจากนโยบายการจดั การเรยี นการสอน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่ได้สนับสนุนด้านการเรียนประวัติศาสตร์ที่เน้นการลง พ้นื ทภ่ี าคสนาม (Material- & Political-) ในส่วนความรู้เชิงลึก การที่ผู้เรียนไม่ชอบประวัติศาสตร์ และสื่อการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ไม่มีความหลากหลายนั้น เป็นกลยุทธ์ที่ต้องลดหรือตัดทอนไปหรือ พัฒนาตนเองให้เป็นนวัตกรการจัดการเรียนรู้ในการสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ จากงานวิจัยของรัชนีกร หงส์พนัส (2563) พบว่าคุณลักษณะครู ประวัติศาสตร์ที่มีคุณลักษณะด้านการใช้เทคโนโลยีน้อยมาก ซึ่งครูสังคมศึกษาท่ี สอนวิชาประวัติศาสตร์ควรจะพัฒนาและเติมเต็มส่วนที่ขาดเกี่ยวกับคุณลักษณะ Page | 168

ด้านการใช้เทคโนโลยีตามคำนิยามที่ว่า “มีความสามารถเลือกใช้สื่อเทคโนโลยีและ ใชไ้ ด้หลากหลายในการสืบคน้ ขอ้ มลู รวบรวมข้อมูล นำเสนอขอ้ มลู ทางประวตั ศิ าสตร์ อย่างมีประสิทธิภาพและให้เกิดประสิทธิผลแก่นักเรียน อีกทั้งสร้างนวัตกรรมทาง ประวัติศาสตร์อย่างชาญฉลาด” และกลยุทธ์ด้านสื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์จะ เกดิ ข้นึ ไดต้ อ้ งอาศัยการจัดการเรียนรู้ใหน้ สิ ติ ครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ได้เรียนรู้ในช้ัน เรียนได้ลงมือสร้างนวัตการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ได้ด้วย จากประสบการณ์ของ ผู้เขียนที่สอนในรายวิชา 2722318 กระบวนการเรียนรู้ประวัติศาสตร์สำหรับครู ผู้เขียนได้จัดการเรยี นรูป้ ระวัติศาสตร์ในการให้นิสิตครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ได้สรา้ ง สือ่ การเรียนรูป้ ระวัตศิ าสตร์จรงิ นำไปใชจ้ รงิ ในการจดั การเรียนรปู้ ระวัติศาสตร์ ดว้ ย วิธีสอนแบบโครงงานที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ อีกวิธีการหนึ่งในการสร้างกลยุทธ์คือ ครูสังคมศึกษาที่จัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์อาจจะต้องจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เสริม ให้มีวิธกี ารลงพืน้ ท่ีเชิงประวัติศาสตร์ ให้นักประวัติศาสตร์ ปราชญช์ าวบ้านได้ เป็นวิทยากร หรือใช้สื่อโครงการพัฒนานวัตกรรมสื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ชาติไทย การอ่านการเขียน เรียนประวัติศาสตร์ผ่านการสื่อสารร่วม สมัย (สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน, 2563) 6. โครงสร้างรายวิชาประวัติศาสตร์ที่แยกออกมาเป็นส่วนหน่ึงของกลุ่มสาระการ เรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีความทับซ้อนในแง่ของเนือ้ หาถือเป็นการได้ ทบทวนบทเรียน เนื่องจากนโยบายจากส่วนกลาง คือ กระทรวงศึกษาธิการ (Structure+ & Political-) ในส่วนนี้เป็นกลยุทธ์คงสภาพ คือ ทำอะไรไม่ได้ ต้องคงไวแ้ บบเดิม กล่าวคือ ภายในโรงเรยี นแบ่งรายวิชาอย่างไรก็แบ่งตามแบบน้ัน ไม่จำเป็นต้องปรับให้จำนวน คาบมากขน้ึ หรือนอ้ ยลง ดังนั้นนอกจากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมแล้ว ครูสังคมศึกษาที่จัดการ เรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ต้องคิดกลยุทธ์ในการใช้สภาพแวดล้อมต่อไปด้วย เพื่อทำ ให้เกิดการจัดการเชิงกลยุทธ์ทางการศึกษา เพื่อพัฒนาครูสังคมศึกษาที่จัดการ เรียนรวู้ ชิ าประวัตศิ าสตรใ์ นฐานะนวตั กรการจดั การเรยี นรปู้ ระวตั ิศาสตรใ์ นยคุ ดจิ ทิ ลั Page | 169

ทั้งนี้ครูอาจจะกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์ในการทำกลยุทธ์ ใหป้ ระสบความสำเร็จไดด้ งั ต่อไปนี้ 1. วิสัยทัศน์ คือ สิ่งทีย่ ังไมเ่ ป็น และต้องการจะเป็นตามเวลาที่กำหนด เช่น ฉันอยากจะสอนวิชาประวัติศาสตร์โดยวิธีสอนที่หลากหลาย เสริมสร้าง ประสบการณ์โดยตรงให้แกผ่ ู้เรียน ผ่านส่อื การเรียนรู้และแหล่งการเรยี นรู้ต่าง ๆ ไม่ ว่าจะเป็นภาพยนตร์ ละคร การลงพื้นที่จริง การทัศนศึกษา การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จากปราชญ์ชาวบ้านและสื่อเทคโนโลยีต่าง ๆ เช่น สื่อการเรียนรู้ประวัตศิ าสตร์โลก เสมือนจรงิ หรือความเป็นจริงเสมอื น 2. พันธกิจ คือ ข้อผูกพันตามกฎหมาย เช่น เราเป็นครูมีหน้าที่อะไรบ้าง มี ขอบเขตการใช้หน้าที่ได้มากน้อยเพียงใดในการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ โดยเฉพาะครูสงั คมศึกษาทส่ี อนได้ถึง 5 สาระ ในบางสถานศึกษา 3. เป้าประสงค์ เพื่อตอบสนองกลยุทธ์ที่คิดออกมาหากครูสังคมศึกษาท่ี จัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์มีแผนที่เชิงกลยุทธ์ท่ีชัดเจนแล้ว ครูสังคมศึกษาใน ฐานะนวัตกรการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ก็ไม่ไกลเกินความจริง เสริมจุดแข็ง และโอกาสควบคู่กับการปอ้ งกันภาวะคุกคามในการจัดกระบวนการสร้างนวตั กรรม การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ เสริมจุดแข็งและโอกาสควบคู่กับการลดจุดอ่อนในการ เสริมสร้างวัฒนธรรมสร้างสรรค์ เสริมโอกาสควบคู่กับการลดจุดอ่อนและป้องกัน ภาวะคุกคามในการวัดความสามารถขององค์กรในการสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ และเสริมจุดแข็งและโอกาสควบคู่กับการลดจุดอ่อนและป้องกัน ภาวะคกุ คามในการใหร้ างวลั ผ้สู ร้างนวตั กรรมการเรียนรู้ประวตั ิศาสตร์ (ณิชา ฉิมดี, 2588) อีกทั้งครูสอนสังคมศึกษาในฐานะนวัตกรการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ จำเป็นพัฒนานวัตกรรมการเรยี นร้ปู ระวัติศาสตร์อย่างต่อเน่ือง Page | 170

สรุปทา้ ยบท ความทา้ ทายสำคญั ของครสู ังคมศึกษาที่จัดการเรียนรู้วชิ าประวตั ิศาสตร์ คือ การรจู้ กั ตนเองกอ่ นจงึ จะสามารถพฒั นาตนเองได้เป็นอยา่ งดี โดยเราอาจจะ SWOT Analysis ตัวเราเองอย่างง่ายเพื่อดูสภาพที่เป็นอยู่ หรือจะเป็นการทำ SWOT Analysis ที่สามารถพัฒนาเป็น TOWS Matrix ได้ ทั้งนี้เป็นการพยากรณ์หรือ กำหนดกลยทุ ธ์ทเี่ ราจะมุง่ ไปในอนาคตไดอ้ ย่างมีทิศทาง วิธีการวิเคราะห์ SWOT Analysis นี้เป็นวิธีที่นิยมในการพัฒนาตนเองได้ อย่างเป็นสากล ที่ใช้คาดการณ์สถานการณ์ปัจจุบัน ตัวอย่างเช่น Resnawati, Kristiawan & Sari (2020) ที่มีการศึกษาเกี่ยวกับการวิเคราะห์ SWOT Analysis ที่ สอดคล้องกับความสามารถทางวิชาชีพของครูโดยใช้การศึกษาเชิงคุณภาพ สอดคล้องกับ Jena & Bhardawaj (2018) ที่พยายามสำรวจว่าการนำ SWOT ไป ปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพเพียงใด การปฏิบัติการวิเคราะห์มีประโยชน์ในการ อำนวยความสะดวกในการเติบโตของสถาบันเพื่อให้มั่นใจในคุณภาพโดยการ วิเคราะหท์ ัง้ สองอยา่ งทั้งปจั จัยภายในและภายนอก หากครสู งั คมศกึ ษาทีจ่ ัดการเรียนรู้วิชา ประวัติศาสตรท์ ร่ี ้จู กั ตนเองและสามารถ พัฒนาตนเองไดแ้ ล้ว ย่อมจะเป็นนวตั กร การจดั การเรยี นรูป้ ระวตั ศิ าสตรใ์ นยุค ดิจทิ ลั ไดโ้ ดยไมย่ าก Page | 171

รายการอา้ งอิง Aggarwal, M. (2018, July 4). Successful History Teacher: Qualities, Qualifications and Characteristics. www.historydiscussion.net Aguilar, F. J. (1967). Scanning the business environment. New York: Macmillan Algeli, C.& Valanidas, n. (2009). Epistemological and methodogical issues for the Concep tualization, development and assessment of ICT: TPCK Avances in technologi cal pedagogical content Knowledge. Computer & Education. 52, 154-168. Bazzano, D. (2011, March 8). Teaching skills what 21st century educators need to learn to survive. https://www.masternewmedia.org/teaching-skills-what-21st-century -educators-need-to-learn-to-survive Bauch, N. (2 0 1 1 ) . The Extensible digestive system bio – teachnology at the battle Sanitarium. Cultural Geographie. Bitter, G. and Yohe, L. (1989). Preparing Teachers for the Information Age. Educational Technology 29 (3) 114-128. Brown, S.R ( 1980, January 8) . Political subjectivity. New Haven. CT: Yale University https://qmethod.org/1980/01/08/brown-1980-political-subjectivity/ Brown, A. (1960). A Brief Intellectual History of the STEPE Model or Framework—(i.e., the Social, Technical, Economic, Political, and Ecological). Cobbold, C. & Adabo's, C. (2 0 1 0 ) . Re- Echoing The Place of history In The School Curriculum. University of Cape Coast. Consumer Insight. (2013, May 20). เจเนอเรชั่น และความต่าง “Gen-X Gen-Y Gen-C”. https:// www.marketingoops.com/reports/behaviors/gen-x-gen-y-gen-c/ Chernilo, D. (2008, July 10). Methodological nationalism: theory and history. https://www. academia.edu/1085776/Methodological_nationalism_theory_and_history Choek, A.D. (2013). Making a Huggleble Internet Over. On IEEE Spectrum. Churches, A. (2 0 1 1 , May 11) . Eight Habits of Highly Effective 2 1 st Century Teachers. https://www.masternewmedia.org/teaching-skills-what-2 1 st-centuryeducators- need-to-learn-to-survive/ Culp, R. W. (2 0 0 3 ) . Corrilational study of eastern Pennsylvania public Eastern. Pennsylvania public middle school principals preferred rankings of the attributer of teacher candidates. Diamantopoulos, A., & Siguaw, J. A. (2000). Introducing LISREL. London: SAGE. Edelman, S. (1997). Curiosity and Exploration. California Sate University: Northridge. Edwings. (2019, November 4). Growth Mindset. https://edwings.co/2019/11/04/curiosity/ Page | 172

Encyclopeadia Universalis. ( 2 0 1 2 , July 20) . Sciences Sociales.https://www.universalis.fr /encyclopedie/sciences-sociales/ Gardner, H. (2010). Five Minds for the Future. In J. Bellanca & R. Brandt (Eds.), 21st century skills: Rethinking How Student Learn. Bloomington: Solution Tree Press. Good, Carter V. (1973). Dictionary of Education. New York: McGraw-Hill Book Campany. Goodmaterial. (2021, March 5). SWOT คือ แนะนำหลักการใช้ SWOT Analysis ในการวิเคราะห์ ธรุ กิจ.https://www.goodmaterial.co/swot-analysis/ IM2. (2015, 8 พฤษภาคม). SWOT คืออะไร ? จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และ อุปสรรค. https://www. im2market.com/2015/05/08/403 Jacques Grenier. (2016, May 2). Le Devoir. www.ledevoir.com James M. McPherson. (2003, May 10). Newsletter of the American Historical Association. https://sites.google.com/site/teacherna2558/home/khakhm-Prawatisastr. Jena, P. C. & Bhardawaj, P. (2018). SWOT ANALYSIS: BEST PRACTICES FOR ENHANCING QUALITY IN EDUCATION. International Journal of Advance and Innovative Research. 5(4), 269-272. Johnstone, J. N. (1981). Indicators to Education System. London: The Anchor Press. Kamarulzaman. (2014). Virtual Reality and Augmented Reality Combination as a hoslitic application for heritage preservation in the UNESCO world heritage site Melaka. International of Social Science and Humanity, 4 (5). 333-338. Kenton, W. ( 2021, March 30) . Strength, Weakness, Opportunity, and Threat (SWOT) Analysis. https://www.investopedia.com/terms/s/swot.asp Office of Knowledge Management and Development. (2020, June 10). การเรียนรู้ในยุค ดิจทิ ลั . http://www.okmd.or.th/okmd-opportunity/life-long-learning. O’Hara. L and O’Hara.M. (2001). Teaching History 3-11. London: Continuum. Peerpower. (2018, April 4). วิเคราะห์คู่แข่งด้วย Porter’s Five Forces Model. https://www. peerpower.co.th/blog/smes/porters-five-forces-model/ Pierre Noreau. ( 2016) . Le droit forme de lien social. Québec: Centre de recherche le droitEn public. Porter, M.E. (1979). How Competitive Forces Shape Strategy. Boston: Harvard Business Publishing. Preston, Ralph.C. (1960). Teaching in Social Studies in Elementary School. New York: Holt Reinhart and Winston. Management. (2019, 19 สิงหาคม). SWOT คืออะไร? วิธีวิเคราะห์ SWOT Analysis ที่ถูกต้อง. https:// thaiwinner.com/swot/ Mcgriff, J.S. ( 2000) . Instructional System Design: Using the ADDIE Model Instructional System. Penn State University. Page | 173

Medgadget. (2013, August 8) Augmented Reality iPad App Guides Surgeons During Tumor Removal.http://www.medgadget.com/2013/08/augmented-reality-ipad- appguides surgeons-during-tumor-removal.html Michael, G. (2013, April 15). Nationalism: A Global History. https://www.academia.edu/ 11934772/Nationalism_A_Global_History Mishra,P., & Koehler,M. J. (2006). Technological Pedagogical Content Knowledge: A Framework for Teacher Knowledge. Teachers College Record, 108(6), 1017- 1054. Ministry of Education. (2009, April 10). THE SCHOOL CURRICULUM OF THE REPUBLIC OF KOREA.http://ictmsn.org/curriculum/the%20school%20curriculcum%20of%20t he%20republic%20of%20Korea%20-2009.pdf Rastogi, N. & Trivedi M.K. (2016). PESTLE Technique – A Tool to Identify External Risks in Construction Projects, International Research Journal of Engineering and Technology (IRJET), 03(1), 384. Resnawati, A., Kristiawan, M. & Sari, A.P. (2020). Swot Analysis of Teacher’s Professional Competency. International Journal of Progressive Sciences and Technologies (IJPSAT), 20(1), 17-25. Ricky W. Griffin. (1999). Management. 6th ed. Boston: Houghton Griffin. Seels, B.B. and Richy, R.C. (1994). Instructional Technology : The Difinition and Domains of the field. Washington D.C.: Association for Educational Communication and Technology. SME. (2021, January 7). SWOT คืออะไร. https://smehow.net/archives/38 Suh, Y et al. (2020, May 20). Planning to teach difficult history through historical inquiry: The case of school desegregation https://www.sciencedirect.com/science/ article/abs/pii/S0885985X2030053X?via%3Dihub Shulman, L. S. (1986). Those who understand: Knowledge growth in teaching. Educational Researcher, 15(2), 4-14. Stavos, J.M. & Hinrichs, G. (2 0 0 9 ) . The Thin Book of SOAR: Building Strenghts-based Strategy. Oregon: Thin Book Publishing. Stynen, A. Ginderachter, M. and Seixas, X. M. (2020, October 5). Emotions and everyday nationalism in modern European history. https://www.academia.edu/4296 1529/Introduction_emotions_and_everyday_nationalism_in_modern_Europea n_history Suradech, W. (2017). SWOT Analysis คอื อะไร?. Talin, R. ( 2014) . The teaching of History In Secondary School. International of Social Science and Humanities research. 2(3), 72-78. Page | 174

Teacherinnovator. (2560, 2 มิถุนายน ). AR Book กับเด็กปฐมวัย http://teacherinnovator .com/?p=3666 Techoffside. (2560, 30 ตุลาคม ). ARZIO เทคโนโลยี AR บนแผ่นพับที่ระลึก พระราชพิธีถวายพระ เพลงิ พระบรมศพฯ http://www.techoffside.com/2017/10/arzio-แผน่ พบั ทีร่ ะลกึ / The Matter. (2017, November 28). สงสัยในความสงสัย : ทำไมมนุษย์ถึงสนใจใคร่รู้. https:// thematter.co/thinkers/curious-case-of-curiosity/42547 Think about Wealth” (2020, November 23). TOWS Matrix ต่อยอดจาก SWOT เพื่อกำหนดกล ยุทธ์ขององคก์ ร https://www.thinkaboutwealth.com/tows-matrix/ Waterman, R. H., Peters, T. J., & Phillips, J. R. (1980). Structure is not organization. Business Horizons, 23(3), 14-26. Weihrich, H. ( 1982) . “The TOWS Matrix a Tool for Situational Analysis,” Long Range Planning, 15(2), 54-66. Whitman, B. A. (2 0 0 2 ) . Professional Teachers for Quality Education: Characteristics of Teachers Certified by the Board of Professional Teaching Standards. New Brunswick, NJ: Rutgers, The State University of New Jersey. https://management modellensite.nl/webcontent/uploads/Structure-is-not-organization.pdf Y, H.,H. & Chen, P. (2010). Building Teacher’s TPACK, though WebQuest Development and Blended Learning Process [Paper presented] at the ICSL 2010 LNCS 6248, 71- 81. กรรณิกา ไวโสภา.( 2564). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทาง การศึกษา โดยการบูรณาการใช้ TPACK Model ของนักศึกษาสาขาการสอนสังคมศึกษา. วารสารศรลี า้ นชา้ งปรทิ ศั น.์ 7 (1). 59-72. กรมวิชาการ. (2542) ก. การพัฒนารายวิชาสังคมศึกษาให้สอดคล้องกับท้องถิ่นในหลักสูตร ระดับ มธั ยมศึกษา, ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2533. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์ครุ ุสภา. กรมวิชาการ. (2542) ข. การพัฒนารายวิชาประวัติศาสตร์ไทย. ในเอกสารรายงานการประชุมเกี่ยวกับ วชิ าประวตั ศิ าสตรไ์ ทย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพก์ ารศาสนา. กรมวิชาการ. กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). คู่มือการจัดการสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพมหานคร: องค์การ รับส่งสินคา้ และพสั ดภุ ณั ฑ์ (ร.ส.พ.). กรมวชิ าการ. กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2551). หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพช์ ุมชนสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย. กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (2542) และที่แก้ไขเพิ่มเติม พทุ ธศกั ราช 2545.กรุงเทพฯ: บริษัทสยามสปอรต์ ซนิ ดิเค จำกดั กระทรวงศึกษาธิการ. (2554). เพื่อนคู่คิด มิตรคู่ครู แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร.์ กรุงเทพฯ: โรงพิมพช์ ุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. กาญจนา สิริมุสิกะ. (2544). สังคมศึกษา: การสอนทีเน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง. สงขลา: คณะ ศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์. Page | 175

คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาต.ิ (2561). ยุทธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี พ.ศ. 2561 – 2580. คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ. (2560). แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ีสิบสอง พ.ศ. 2560 - 2564. ครรชิต มนญู ผล. (2561, 20 มิถนุ ายน ). สอนประวัตศิ าสตร์อย่างไร ให้เดก็ เป็นคนดขี องแผ่นดิน Active learning ในวชิ าประวัตศิ าสตร์ https://www.facebook.com/1512687895617470 ฉลองศรี พิมลสมพงศ์. (2550). การวางแผนและพัฒนาตลาดการท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.์ จินตนา ดาวใส. (2561). การพัฒนาแบบจำลองสารสนเทศสามมิติเชิงแนะนำสำหรับผลิตภัณฑ์ การเกษตรด้วยเทคโนโลยีความจรงิ เสมอื น. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต] มหาวิทยาลยั ศรปี ทุม เฉลมิ นขิ ติ เขตต์ปรชี า. (2545). เทคนคิ วธิ ีการสอนประวัตศิ าสตร์. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช. เฉลียว บุรีภักดี และคณะ. (2520). ลักษณะของครูทีด่ ี. กรุงเทพมหานคร: หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมการ ฝึกหัดครู. ชินภัทร ภูมิรัตน์. (2554). เพื่อนคู่คิด มิตรคู่ครู แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย. โชครัตน์ จันทน์สุคนธ์. (2551). วิชาสังคมศึกษา : ศาสตร์แห่งการบูรณาการ. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ. โชติกา ภาษีผล. (2554). การวัดและประเมินผลการศึกษา. กรุงเทพฯ: ภาควิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . ชาญวิทย์ ปรีชาพาณิชพัฒนา. (2555, 5 มกราคม). ความรู้พื้นฐานทางประวัติศาสตร์. https:// sites.google.com/site/2 5 5 5 preecha/withi-kar-thang-prawatisastr/1 - khwam- hmay-laea-khwam-sakhay-khxng-prawatisastr ชญาพิมพ์ อุสาโห. (2557). นโยบายและแผน. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา การกำหนดนโยบาย และการวางแผนการศึกษาเชิงกลยุทธ์ 2747734. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั . ธเนศ ขำเกิด. (2550). สมรรถนะเฉพาะ ของครูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. https://www. gotoknow.org/posts/75044 ทิศนา แขมมณี. (2552). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ (พมิ พค์ ร้งั ที่ 1 ed.). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพแ์ หง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. ทิศนา แขมมณี. (2562). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ (พิมพค์ รั้งที่ 21 ed.). กรุงเทพฯ: สำนกั พมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . ทป่ี รกึ ษาตลาดออนไลน์. (2021, 4 สิงหาคม) SWOT Analysis คอื อะไร และ ใช้ ทำการตลาดออนไลน์ Digital Marketing ยังไง. https://www.brandingchamp.com/swot-analysis ทัศนัย สุนทราลัย. (2015, 15 กุมภาพันธ์). ความหมายของวิชาสังคม. http://57gc1000422. blogspot.com/2014/12/blog-post.html. Page | 176

ธงชัย วินิจจะกูล. (2534). วิธีการศึกษาประวัติศาสตร์แบบวงศาวิทยา (Genealogy). กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์. ณิชา ฉิมทองดี. (2558). กลยุทธ์การบริหารโรงเรียนเพื่อสร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้. วารสารครุ ศาสตร์, 43(4), 29-44. นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2542). โมเดลลิสเรล: สถิติวิเคราะห์สำหรับการวจิ ยั (พิมพ์ครั้งท่ี3 ed.). กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2551). การพัฒนาตัวบ่งชี้การประเมิน. Paper presented at the การประชุม วชิ าการ เปิดขอบฟา้ คุณธรรมจรยิ ธรรม, โรงแรมแอมบาสเดอร.์ บุญชนก ธรรมวงศา. (2018, 6 พฤศจิกายน). กระตุ้นให้เด็กคิดวิเคราะห์ ครูต้องเลิกถามว่าเข้าใจไหม และไม่รีบเฉลยคำตอบ. https://thepotential.org/knowledge/teaching-critical- thinking/ บุษรินทร์ เชี่ยววานิช. (2549). การพัฒนาตัวบ่งชี้รวมคุณภาพการสอนวิชาภาษาอังกฤษ ของครู ชาวตา่ งชาติ ในโรงเรียนสองภาษา. กรุงเทพมหานคร: จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์. (2552). แนวคิดและหลักการจัดทำแผนกลยุทธ์ (Strategic planning) การ บริหารและการจัดการศึกษาเพ่อื โลกใบเล็ก. กรงุ เทพฯ: พรกิ หวานกราฟฟคิ . พรแก้ว พรหมปัญญา. (2020, March 2). เทคโนโลยีภาพโลกเสมือนก้าวสู่โลกความจริง Virtual Reality ( VR) , Augmented Reality ( AR) แ ล ะ Mixed Reality ( MR) . http://km.prd .go.th พระวีรศักดิ์ จนฺทวํโสและคณะ. (2018, 12 พฤษภาคม). การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการวิชาสังคม ศึกษา. รายงานการประชุมระดับชาติครั้งที่ 2. การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาจิตใจ และสังคมอยา่ งยง่ั ยนื ในยุค Thailand 4.0 http://www.qasurin.mcu.ac.th/wp content /uploads/2018/12/05 พิณสดุ า สิรริ งั ธศร.ี (2557). การยกระดับคณุ ภาพครูไทยในศตวรรษท่ี 21. กรงุ เทพมหานคร: สำนักงาน สง่ เสรมิ สังคมแหง่ การเรยี นร้แู ละคุณภาพเยาวชน (สสค.). พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข. (2557). การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . พิมพันธ์ เดชะคปุ ต์ และพเยาว์ ยนิ ดสี ขุ . (2561). การจดั การเรยี นรูเ้ ชิงรกุ แบบรวมพลังกับ PLC เพื่อการ พฒั นา. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . พรกมล จันทรีย์. (2554). ปัญหาการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ไทย ในระดับ มัธยมศึกษา ตอนต้น สังกัดกรมสามัญศึกษา ในเขตกรุงเทพมหานคร https://dric.nrct.go.th/ index.php?/Search/SearchDetail/106467 พิศมัย เดิมสันเทียะ และลัดดา ศิลาน้อย. (2555). การศึกษาทักษะการคิดวิเคราะห์จากการสอนโดย วิธีการทางประวัติศาสตร์ ร่วมกับการใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชน วิชาประวัติศาสตร์ ส31103 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษา, 6(3), 91- 99. เพ็ญพนอ พ่วงแพ. (2557). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมสมรรถนะการออกแบบ กิจกรรมการเรียนรู้สังคมศึกษาสําหรับนักศึกษาวิชาชีพครู. [วิทยานิพนธ์หลักสูตรปรัชญา Page | 177

ดุษฎีบัณฑิต] สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. (2554, 8 มีนาคม). เอกสารประกอบ โครงการ“โครงการอบรมครูประวัติศาสตร์”. http:// news.swu.ac.th/doc/302314798.doc มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา. (2018, 11 มกราคม). ทำไมต้องเรียนประวัติศาสตร์. https:// localtraining.in.th/public/webboard/data/listcomment/forum_id/7/topic_id/44 /page/5/menu/329 ดนยั ไชยโยธา. (2534). หลักการเรยี นการสอนในสถานศึกษา. กรุงเทพมหานคร: โอเดยี นสโตร์. ดวงธดิ า รักษาแก้ว. (2556). ผลของการปฏิสัมพันธก์ ารเรียนออนไลนใ์ นสถานการณ์จำลองท่ีมีต่อทักษะ การส่อื สารระหวา่ งบุคคลของนักเรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 5 [วิทยานพิ นธป์ รญิ ญามหาบัณฑติ ] ภาควิชาหลกั สตู รและการสอน คณะครสุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . ไทยรัฐออนไลน์. (2564, 22 เมษายน). รู้จัก 5 วิธีการทางประวตั ิศาสตร์ ศึกษาอดีตเพื่อเข้าใจปัจจุบัน. https://www.thairath.co.th/home นิพนธ์ แย้มเล็ก. (2562, 16 กันยายน). ทุ่งสังหาร..ไม่ใช่ตำนานแต่เป็นเรื่องจริง. https://www. matichon.co.th/columnists/news_1670256 บา้ นจอมยทุ ธ. (2543, 5 สงิ หาคม). ความสำคัญของประวตั ิศาสตร์. https://www.baanjomyut.com/ library_2/extension1/the_importance_of_history/index.html บุษยาพรรณ เรียงสนาม. (2559). คุณลักษณะครูสังคมศึกษายุคใหม่. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, สรุ นิ ทร์. มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์และสาขาศึกษาศาสตร์ (หลักสูตรสี่ปี) ราชกิจจจา นุเบกษา. (2562, 6 มีนาคม). เล่ม 136 ตอนพิเศษ 56 ง.ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ. 2561- 2580. ราชกจิ จานุเบกษา. (2561, 13 ตุลาคม). เลม่ ที่ 135 ตอนท่ี 82 A. รักษพล ธนานุวงศ์ (2556) สื่อเสริมการเรียนรู้โลกเสมือนผสมโลกจริง (Augmented Reality) ชุดการ จมและการลอย นติ ยสาร สสวท. 41(181), 28-31. รัชนีกร หงส์พนัส. (2563). การพัฒนาตัวชี้วัดและเกณฑ์คุณลักษณะครูประวัติศาสตรใ์ นศตวรรษที่ 21. กรงุ เทพฯ:เงินทนุ ส่งเสริมและสนับสนนุ กลมุ่ การวจิ ยั กองทุนรชั ดาภเิ ษกสมโภช จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั . รัชนีกร หงสพ์ นัส. (2564, 26 สิงหาคม). การพฒั นาตวั ชวี้ ดั และเกณฑค์ รูประวตั ิศาสตร์ในศตวรรษที่ 21, การประชุมทางวิชาการการวิจัยทางการศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 16 “นวัตกรรมกำรศึกษา : กล้าเปลี่ยน สร้างสรรค์ ยกระดับการศึกษา”(เอกสารออนไลน์). สำนักงานเลขาธิการสภา การศกึ ษา กรุงเทพฯ. ลิขิต กาญจนาภรณ์ .(2548). จิตวิทยาการศึกษา: จิตวิทยาประยุกต์เพื่อการเรียนการสอนที่มี ประสทิ ธิภาพ. (พิมพค์ ร้ังที่ 3) นครปฐม: โรงพมิ พศ์ ิลปากร. ลาวัณย์ วิทยาวฒุ ิกลุ. (2533). การสอนสังคมศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ ครุศาสตร.์ (อัดสำเนา) วสัน ปุ่นผล. (2551). การพัฒนาตัวบ่งชี้คุณลักษณะนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ : การประยกุ ต์ใช้ระเบยี บวิจัยแบบผสานวิธ.ี วารสารวจิ ัยทางการศกึ ษา. 3(1), 36-46. Page | 178

วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21 (พิมพ์ครั้งที่ 3 ed.). กรงุ เทพมหานคร: มลู นธิ ิสดศร-ี สฤษดิ์วงศ.์ วินัย พงษ์ศรีเพียร. (2543). ประวัติศาสตร์ ไทยจะเรียนจะสอนกันอย่างไร: คู่มือการจัดกิจกรรม การ เรยี นการสอนประวตั ศิ าสตร์. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์การศาสนา กรมการศาสนา. วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร. (2564, 5 สิงหาคม). สังคมไทยมีปัญหาเรื่องประวัติศาสตร์. https://www. matichon.co.th/columnists/news_576372 วิภาวี เธยี รลลี า.(2018, 4 มิถุนายน). CQ: CURIOSITY QUOTIENT ความอยากรู้อยากเหน็ ที่นำไปสู่การ เรยี นรู้และอย่รู อด. https://thepotential.org/knowledge/curiosity-quotient/ วิทยากร เชยี งกรู . (2561, 30 กรกฏาคม). ศกึ ษาประวตั ศิ าสตร์เพอ่ื ปัจจบุ ันและอนาคต. กรงุ เทพธุรกจิ . วิทยาลัยครูบ้านเจ้าพระยา. (2553, 10 เมษายน). โครงการวิจัยลักษณะของครูที่สังคมต้องการโดย นักเรียน ผู้ปกครอง ในเขตกรุงเทพฯhttps://www.bsru.ac.th/grad2019/document/ MgradKO/00TC.pdf ศักด์ชิ ัย นริ ญั ทวี. (2548). รายงานการวิจัยเอกสาร การจัดการเรียนรเู้ พอื่ พัฒนาให้เป็นพลเมืองดี สำนัก เลขาธิการการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ กรุงเทพมหานคร: พมิ พด์ ีการพมิ พ.์ สารสนเทศเพื่อการศึกษาแห่งชาติ. (2561). สถิติการศึกษาประจำปี 2561. Retrieved from http:// www.mis.moe.go.th/ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2558, 12 พฤษภาคม). การจัดการเรียนการสอน แบบสเต็มศึกษา. http://www.stemedthailand.org/wp-content/uploads/ 2015/05 /STEM-Education2.pdf สมาน เขียวเขว้า. (2013, 24 มีนาคม). พลิกวิธีสอนประวัติศาสตร์ไทยให้มีชีวิตชีวากันเถอะ.https:// www.gotoknow.org/posts/530554 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2555). คู่มือการประเมินสมรรถนะสําคัญของ ผู้เรียน ระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์สํานกั งานพระพทุ ธศาสนา. สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน. (2558). แนวทางการจดั ทักษะการเรียนรทู้ ่ีเน้นสมรรถนะ ทางวิชาชีพคู่มือการประเมินสมรรถนะ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สหกรณ์ชุมชนการเกษตรแห่ง ประเทศไทย. สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2563, 1 ธนั วาคม). สพฐ.นำสื่อเทคโนโลยีสร้างแรงจูงใจ ใหเ้ ดก็ เรยี นรปู้ ระวัติศาสตร์. https://www.obec.go.th/archives/342179 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2563, 5 พฤศจิกายน). สพฐ.เร่งผลิตหลักศูตรฐาน สมรรถนะ. https://www.obec.go.th/archives/330412 สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ. (2561, 11 มกราคม). ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ. 2561-2580 http://plan.bru.ac.th สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษาชาต.ิ (2560). แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579. กรุงเทพฯ: บริษัทพริกหวานกราฟฟิก จำกดั . สำนักงานวิชาการและมาตรฐานการศึกษา.(2556). อยุธยา Virtual Field Trip.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สหกรณ์ชมุ ชนการเกษตรแห่งประเทศไทย. Page | 179

สิริวรรณ ศรีพหล. (2555). การจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ในสถานศึกษา พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบรุ :ี สำนักพมิ พม์ หาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช. สุพรทิพย์ ธนภัทรโชติวัตร. (2557). การพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์วิชาชีพครูเพื่อส่งเสริม คณุ ลักษณะครูในศตวรรษท่ี 21. [วิทยานพิ นธป์ รญิ ญาดุษฎีบัณฑติ ] มหาวทิ ยาลยั นเรศวร. สุพตั รา แสงสุวรรณ. (2549). การพฒั นาแบบวัดความสามารถการคิด สำหรับนกั เรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3. กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย สุวทิ ย์ เมษินทรีย.์ (2556). โลกเปลย่ี น ไทยปรับ. กรงุ เทพฯ: กรุงเทพธุรกิจ. ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์. (2563, 6 พฤศจิกายน). ประวัติศาสตร์ที่เริ่มต้นด้วยคำถาม ในห้องเรียนของครู ภาคนิ นมิ มานนรวงศ.์ https://today.line.me/th/v2/article/23RBYB ศักด์ชัย นิรัญทวี. (2548). รายงานการวจิ ัยเอกสารการจัดการเรียนรู้เพือ่ พฒั นาผู้เรียนให้เป็นพลเมอื งด.ี กรุงเทพฯ: พมิ พด์ กี ารพิมพ.์ ศศิพัชร จำปา. (2561). สภาพและปัญหาในการจัดการเรียนรู้รายวิชาประวัติศาสตร์ของนักศึกษาฝึก ประสบการณ์วิชาชีพครูสังคมศึกษา. Veridian E Journal, Silapakorn ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศิลปะ 11(2), 1121-1137. อนงคศ์ ริ ิ วชิ าลยั . (2012). หลกั สูตรและกระบวนการจัดการเรยี นการสอน. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลัยราช ภฎั เชียงใหม.่ อ่องจิต เมธยะประภาส. (2557). การจัดการสมัยใหม่ของสถานศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานเขต พนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาพน้ื ท่เี ขต 13. อคั รเดช แสนณรงค์ และ ลดั ดา ศิลาน้อย. (2558). การศกึ ษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและการคิดอย่างมี วิจารณญาณรายวิชา ส 31102 ประวัติศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การ สอนด้วยวธิ ีการ ทางประวตั ศิ าสตรร์ ว่ มกบั เทคนิคผังกราฟิก. วารสารศกึ ษาศาสตร์ ฉบับวิจัย บัณฑติ ศึกษา. 9 (1), 222-228. Page | 180

ประวัติผูเ้ ขียน ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.รัชนีกร หงส์พนัส ประวัติการศกึ ษา • ครศุ าสตรบณั ฑิต มธั ยมศกึ ษา(สงั คมศึกษา-ภาษาฝรั่งเศส) จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั • Maîtrise en Histoire, Université de Montpellier III, France. • Diplôme d’études Approfondies, Université de Montpellier III, France. • Diplôme de Doctorat, Université de Montpellier III, France. ตำแหน่งปจั จุบนั เมษายน 2548-ปจั จบุ นั ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ประจำสาขาวชิ าการสอนสงั คมศึกษา คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย Page | 181

สงิ หาคม 2563-ปัจจุบนั คณะกรรมการบรหิ ารคณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประเภทผแู้ ทนคณาจารย์ มีนาคม 2558 – มีนาคม 2562 ประธานสาขาวิชาการสอนสงั คมศกึ ษา มนี าคม 2553 – มนี าคม 2558 เลขานุการสาขาวิชาการสอนสงั คมศกึ ษา มนี าคม 2555 – มีนาคม 2557 คณะกรรมการบรหิ ารภาควิชาหลกั สตู รและการสอนประเภทผูแ้ ทนอาจารย์ กรกฎาคม2555 – กรกฎาคม 2558 คณะกรรมการบริหารคณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเภทผู้แทนอาจารย์ ธนั วาคม 2548 – ธันวาคม 2552 - เลขานกุ ารภาควชิ าหลกั สูตรการสอนและเทคโนโลยีการศึกษา ประสบการณแ์ ละผเู้ ชีย่ วชาญ - การสอนสังคมศกึ ษา - การสอนภาษาฝรั่งเศส Page | 182

Page | 183