จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ การวัดผล การประเมินผล ดา้ นทกั ษะ | วิธวี ัดผล | - 1-2 คะแนน พอใช้ 1.1 วิเคราะห์หลกั ฐานทาง - สังเกตการตอบคำถาม - 0 คะแนน ควรแก้ไข เพิ่มเตมิ ประวตั ิศาสตร์เพือ่ ศกึ ษา “หลักฐานทาง เรื่องราวเก่ยี วกบั รัฐโบราณใน ประวัตศิ าสตรว์ า่ จาก เกณฑ์การให้คะแนน | ดินแดนไทย หลกั ฐานและข้อมูล - 5 คะแนน: ตอบคำถาม ประกอบทีค่ รใู หม้ คี วาม เกี่ยวกบั ความเชือ่ มโยงของ เชือ่ มโยงกันอยา่ งไร” หลักฐานและข้อมูลประกอบ เครื่องมอื วดั ผล | อย่างมเี หตุผลทัง้ 5 หลกั ฐาน - คำถาม “หลกั ฐานทาง - 4 คะแนน: ตอบคำถาม ประวตั ิศาสตร์วา่ จาก เก่ียวกบั ความเช่ือมโยงของ หลักฐานและข้อมูล หลักฐานและข้อมูลประกอบ ประกอบท่ีครใู หม้ คี วาม อยา่ งมีเหตุผล 4 หลกั ฐาน เช่ือมโยงกนั อย่างไร” - 3 คะแนน: ตอบคำถาม เกย่ี วกับความเชื่อมโยงของ หลกั ฐานและข้อมูลประกอบ อย่างมีเหตผุ ล 3 หลักฐาน - 2 คะแนน: ตอบคำถาม เกยี่ วกับความเช่ือมโยงของ หลกั ฐานและขอ้ มูลประกอบ อยา่ งมเี หตุผล 2 หลกั ฐาน - 1 คะแนน: ตอบคำถาม เกี่ยวกับความเชื่อมโยงของ หลักฐานและขอ้ มูลประกอบ อย่างมเี หตผุ ล 1 หลกั ฐาน - 0 คะแนน: ไม่สามารถตอบ คำถามเกย่ี วกับความ เชอื่ มโยงของหลกั ฐานและ ขอ้ มลู ประกอบอยา่ งมี เหตผุ ลทุกหลกั ฐาน เกณฑ์การประเมินผล | Page | 43
จุดประสงค์การเรยี นรู้ การวดั ผล การประเมินผล - 5 คะแนน ดีมาก - 3-4 คะแนน ดี - 1-2 คะแนน พอใช้ - 0 คะแนน ควรแกไ้ ข เพ่ิมเติม ด้านคณุ ลกั ษณะอันพึง วธิ ีวัดผล | เกณฑก์ ารให้คะแนน | ประสงค์ | - สงั เกตการทำกจิ กรรม - 1 คะแนน: มสี ว่ นรวมใน 1. ใฝเ่ รียนรู้ ในชั้นเรียน การทำกจิ กรรมของชนั้ เรยี น 2. ม่งุ มั่นในการทำงาน - ตรวจสอบการส่ง และสง่ แบบทดสอบท้าย แบบทดสอบทา้ ยบทเรียน บทเรยี น ดา้ นสมรรถนะ เครือ่ งมอื วดั ผล | - 0 คะแนน: ไม่มสี ว่ นรว่ มใน 1. มีความสามารถในการคิด - กิจกรรมในชน้ั เรยี น การทำกิจกรรมของช้ันเรียน - แบบทดสอบท้าย และไม่สง่ แบบทดสอบท้าย บทเรยี น บทเรียน เกณฑก์ ารประเมนิ ผล | วิธวี ัดผล | - 1 คะแนน ผา่ น - สงั เกตการตอบคำถาม - 0 คะแนน ไม่ผ่าน ควร ในชนั้ เรียน แก้ไขเพ่มิ เตมิ เครื่องมอื วดั ผล | - คำถามในช้ันเรียน - 1 คะแนน: มกี ารตอบ คำถามในช้ันเรียน - 0 คะแนน: ไม่มีการตอบ คำถามในชั้นเรยี น เกณฑก์ ารประเมินผล | - 1 คะแนน ผ่าน - 0 คะแนน ไมผ่ ่าน ควร แก้ไขเพม่ิ เตมิ Page | 44
2) เกณฑ์การให้คะแนนแบบมาตรประมาณค่า (Rating Score) เป็นเกณฑ์ กลาง ไม่มรี ายละเอียดการใหค้ ะแนนอย่างชัดเจนในแตล่ ะหวั ข้อ (Item) เพอ่ื สะดวก ตอ่ การรวบรวมขอ้ มลู สำหรบั ขอ้ มูลท่ไี ดจ้ ะมีความเป็นปรนัยนอ้ ยกวา่ วิธีประเมินผล แบบรูบริกส์ โดยกำหนดเกณฑ์เป็น 5 ระดับ 4 ระดับหรือ 3 ระดับตามความ เหมาะสม ดั่งตัวอย่างเป็นการประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ “ไหทองคำ” วชิ าประวตั ศิ าสตร์ ส. 31102 ต่อไปนี้ ประเดน็ การ ระดับคะแนน ประเมิน 4 = ดมี าก 3 = ดี 2= 1 = ควร 1. การตอบคำถาม พอใช้ ปรบั ปรุง ในกิจกรรม “ไห นักเรยี น นักเรยี น นักเรยี นตอบ ทองคำ” ตอบคำถาม ตอบคำถาม นกั เรยี น คำถามถกู ต้อง ถกู ตอ้ งร้อย ถูกตอ้ งรอ้ ย ตอบ นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 2. การทำใบ ละ 80 ละ 60 คำถาม 40 กจิ กรรมรายกลุ่ม ถกู ตอ้ ง นกั เรียน นกั เรยี น ร้อยละ 50 นกั เรียนไม่ สามารถ สามารถ สามารถ วิเคราะหไ์ ด้ วิเคราะหไ์ ด้ นกั เรยี น วเิ คราะหไ์ ดอ้ ยา่ ง อยา่ งมี อย่างมี สามารถ มีเหตผุ ล เหตุผล ร้อย เหตุผล วิเคราะห์ ละ 90 มากกว่าร้อย ได้อย่างมี ละ 70 ข้ึน เหตผุ ล ไป น้อยกว่า รอ้ ยละ 70 ลงมา ส่วนปัญหาของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ครูสังคมศึกษาที่สอนวิชา ประวตั ิศาสตรม์ คี วามร้นู อ้ ยดา้ นการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ มกั จะใชแ้ บบทดสอบ/ ใบงานในการวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นมากกวา่ Page | 45
การเตรียมความพร้อมให้ครูก่อนประจำการ (Teacher Pre-Service) ให้เป็น ครสู ังคมศึกษาทจี่ ดั การเรียนรวู้ ชิ าสงั คมศกึ ษาวิชาประวัติศาสตร์ ดังที่ ราชกจิ จานุเบกษา (2562) บัญญัติว่าด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้คือ การเตรียมกลยุทธ์การ ประเมนิ ผลการเรียนรู้ การออกแบบวิธีการวดั และประเมินผลการเรียนรู้โดยใช้แนวคิด การประเมินตามสภาพจริง วิธีการที่หลากหลาย สอดคล้องกับเนื้อหา กิจกรรม และ บริบทรายวชิ า มเี ป้าหมายของการวัด และประเมินเพอ่ื ใชใ้ นการปรับปรงุ พัฒนาผู้เรียน การเรียนการสอน และการตัดสินผลการเรียน ใช้การวัดและประเมินเป็นกลไกหรือ เครื่องมือที่ทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองเป็น ทำให้ผู้เรียนรู้จักตนเอง และมี ข้อมูล สารสนเทศในการปรับปรุงพัฒนาตนเองทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ และทำให้ ผู้เก่ียวขอ้ งในหลักสูตรมขี ้อมูล สารสนเทศในการเตรียมความพร้อมและส่งเสริมพัฒนา ให้ผู้เรียนในการประกอบอาชีพเมื่อสำเร็จการศึกษา โดยมีกลยุทธ์การประเมินผลการ เรียนรู้ตามมาตรฐานคณุ วุฒทิ ง้ั 6 ดา้ น คอื 1 • ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม 2 • ด้านความรู้ 3 • ด้านทักษะทางปัญญา Page | 46
4 • ด้านทักษะความสมั พนั ธร์ ะหว่างบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ • ดา้ นทกั ษะการวเิ คราะหเ์ ชิงตัวเลข การสือ่ สาร และการใช้ 5 เทคโนโลยี 6 • ด้านวิธวี ิทยาการ จัดการเรยี นรู้ (1) การสังเกต เช่น พฤติกรรมการเรยี น การทำงานตามสภาพ จริง การปฏิบัติตามสภาพจริง หรือในห้องปฏิบัติการ การปฏิบัติการ สอนในสถานศึกษา การเขา้ รว่ มกิจกรรมเสรมิ ความเปน็ ครฯู ลฯ (2) การประเมนิ โดยเพ่อื น พอ่ แม่ ผ้ปู กครอง (3) การประเมนิ กรณีศึกษา (4) การใชแ้ บบวัดทางจติ วิทยา เชน่ แบบวดั คณุ ธรรมจริยธรรม ค่านิยม อุดมการณ์ จิตวิญญาณ ความเป็นครู ทักษะการเรียนรู้ ความ รอบรู้ด้านตา่ ง ๆ ทักษะดิจิทลั ฯลฯ Page | 47
จากประสบการณ์ที่ผู้เขียนเป็นผู้สอนวิชาประวัติศาสตร์และเป็นอาจารย์ นเิ ทศกค์ รกู ่อนประจำการ (นสิ ิต/นักศึกษาทฝ่ี ึกประสบการณ์วิชาชีพครู) มากว่า 20 ปี พบว่า การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรวู้ ชิ าประวตั ศิ าสตรข์ องครูกอ่ นประจำการ (นสิ ติ /นกั ศกึ ษาทฝ่ี กึ ประสบการณ์วิชาชพี ครู) ยังต้องปรับปรงุ เพราะ ยงั ไมเ่ ข้าใจการ วัดและประเมินผลตามสภาพจริงเพียงพอ แต่สามารถฝึกฝนได้ในระหว่างฝึก ประสบการณ์วิชาชพี ครู ความพร้อมของครูสงั คมศึกษาทีส่ อนวิชาประวตั ิศาสตร์ ในระดบั มธั ยมศึกษา สภาพและปัญหา ครูสังคมศึกษาที่จัดการเรียนรู้วิชาสอนวิชาประวัติศาสตร์ จัดการเรียนรู้ไม่ตรงสาขาวิชาฯ ที่สำเร็จการศึกษามา ขาดแคลนครูสังคมศึกษาที่ จัดการเรียนรู้วิชาสอนวิชาประวัติศาสตร์ ครูมีภาระงานมากจึงไม่สามารถจัด กิจกรรมตามที่วางแผนไว้จึงทำให้การสอนขาดประสิทธิภาพและห้องปฏิบัติการไม่ เพียงพอ แนวทางการแก้ปัญหาความพร้อมของครูสังคมศึกษาสังคมศึกษาที่จัดการ เรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษา ครูต้องขวนขวายหาความรู้ทาง ประวัติศาสตร์ และมีทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์เพราะ ประวัติศาสตร์ เปรียบเสมือนคลังข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมของผู้คนและสังคม การทำความเข้าใจ การดำเนินงานของผู้คนและสังคมในอดีตเป็นเรื่องยาก แม้ว่าการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์จะมีความพยายามที่จะเรียนรู้ ดังนั้นประวัติศาสตร์จึงจำเป็นต้องใช้ ข้อมูลจากอดีต และต้องเป็นหลักฐานที่สำคัญ ซึ่งเป็นภารกิจที่หลีกเลี่ยงไม่ได้เพ่ือ ค้นหาว่าเหตุใดสิ่งมีชีวิตที่ซับซ้อนของเรา จึงมีพฤติกรรมเหมือนในสภาพแวดล้อม ทางสังคม นี่คือเหตุผลทไ่ี มส่ ามารถอยู่ห่างจากประวัตศิ าสตรไ์ ด้เพราะ ประวัตศิ าสตร์ ที่มีหลักฐานที่ชัดเจนเพื่อการไตร่ตรองและวิเคราะห์อย่างถี่ถ้วนว่าประวัติศาสตร์ใน แต่ละบริบทของสังคมมคี วามเป็นมาน่าเช่ือถอื ประการใด อาจจะเพ่อื ตอบสนองความ Page | 48
อยากรู้อยากเห็นของผู้คนต้องการเรียนรู้อย่างแท้จริง ซึ่งจากงานวิจัยของรัชนีกร หงส์พนัส (2563) สะทอ้ นให้เห็นคุณลักษณะด้านความอยากรู้อยากเห็นของครูสังคม ศึกษาท่สี อนวิชาประวตั ิศาสตร์สูงมาก อปุ สรรคการเรยี นรู้ของผู้เรยี น ผู้เรียนไม่สามารถนำความรู้ ทักษะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์จากการ เรียนรู้ประวัติศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ผู้เรียนมีโอกาสเรียนรู้ ประวัตศิ าสตร์ไม่เท่าเทียมกนั ระหว่างสว่ นกลางและส่วนภูมิภาคที่ห่างไกล ผู้เรียนมี ทัศนคติเชิงลบกบั การเรียนรู้ประวัติศาสตร์เพราะเชื่อว่าประวัติศาสตร์เป็นวิชาที่น่า เบอื่ แนวทางการแก้ปัญหา ครูสังคมศกึ ษาที่จัดการเรียนรูว้ ชิ าประวัติศาสตร์ควร จดั การเรยี นร้วู ชิ าประวตั ิศาสตรจ์ ากเหตุการณท์ ี่อยู่ใกล้ตัวและปลูกฝังทักษะการสืบ สอบทางประวัติศาสตร์ (Historical Inquiry) ให้กับผู้เรียนเพื่อสืบค้น วิเคราะห์ วิพากษ์ ประเมินค่าข้อมลู สรุปผลและนำเสนอข้อมูล ทั้งนี้ประวัติศาสตร์ยังช่วยบง่ บอกตัวตนและนี่เป็นหนึ่งในเหตุผลที่ไม่ต้องสงสัยเลยว่าชาติสมัยใหม่ทั้งหมด สนบั สนนุ ใหม้ ีการสอนในรปู แบบใด ขอ้ มลู ทางประวัติศาสตร์ประกอบด้วยหลักฐาน เกี่ยวกับวิธีการสร้างครอบครัวกลุ่มสถาบันและทั้งประเทศและวิธีการที่พวกเขามี วิวัฒนาการในขณะที่รักษาความสามคั คี สำหรับชาวอเมริกันจำนวนมากการศึกษา ประวัติครอบครัวของตนเองเป็นการใช้ประวัติศาสตร์ที่ชัดเจนที่สุดเพราะ ให้ ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับลำดับวงศ์ตระกูลและเป็นพื้นฐานในการทำความเข้าใจว่า ครอบครัวมีปฏิสัมพันธ์อย่างไรกับการเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์ มีการสร้าง และยืนยันตัวตนของครอบครัว สถาบันธุรกิจชุมชนและหน่วยทางสังคมหลายแหง่ เช่นกลุ่มชาติพันธุ์ในสหรัฐอเมริกาใช้ประวัติศาสตร์เพื่อวัตถุประสงค์ในการระบุ ตวั ตนที่คลา้ ยคลงึ กนั เพียงแคก่ ำหนดกลมุ่ ในปจั จบุ นั เทา่ น้นั ทต่ี ่อต้านความเปน็ ไปได้ ในการสร้างตัวตนขึ้นอยู่กับอดีตอันยาวนาน และแน่นอนว่าประเทศต่าง ๆ ก็ใช้ Page | 49
ประวัติศาสตร์อัตลักษณ์เช่นกันและบางครั้งใช้ในทางท่ีผิด ประวัตศิ าสตร์ท่ีบอกเล่า เรื่องราวของชาติโดยเน้นถึงคุณลักษณะที่โดดเด่นของประสบการณ์ระดับชาติมี จุดมุ่งหมายเพื่อผลักดันให้เกิดความเข้าใจในคุณค่าของชาติ ความมุ่งมั่นในความ ภักดีของชาติและความภาคภูมใิ จในชาติ ในต่างประเทศ (Cernilo, 2008;Michael, 2014; Stynen, Ginderachter and Seixas, 2020) มีการจัดการเรียนรู้พื้นฐาน ของความเป็นชาตินิยม ความรักชาติ ตลอดถึงการวิจัยเกี่ยวกับความเป็นชาติอย่าง กว้างขวาง สรปุ ทา้ ยบท สรุปภาพรวมของสภาพและปัญหาของการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ใน ระดับมัธยมศึกษา เพื่อทำความเข้าใจที่ว่าครูสังคมศึกษาที่จัดการเรียนรู้วิชา ประวัตศิ าสตรค์ อื ครใู นกลุม่ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรมท่ีจดั การเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ซึ่งปัจจุบันมีจำนวนน้อยมากที่จะมีประสบการณ์ การถ่ายทอด ความรู้ทางประวัติศาสตร์ มีวิธีการจัดการเรียนรู้และการวัดและประเมินผลการ จัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับบริบทของผู้เรียนและสภาพแวดล้อม ในขณะที่การ เรียนรู้ประวัติศาสตร์เป็นเรื่องสำคัญ ซึ่งปฏิเสธไม่ได้เลยว่าเยาวชนในยุค Generation Alpha (Gen Alpha) ให้ความสนใจในการเรียนรู้ประวัติศาสตร์มาก ขึ้น เมื่อเข้าใจในสภาพและปัญหาของการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ภายใต้ องค์ประกอบทส่ี าระประวตั ิศาสตรเ์ ปน็ สาระหนงึ่ ในกลุม่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ครูสังคมศึกษาที่จัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ต้องพัฒนา ตนเองและร่วมแรง รว่ มใจกันในการแกป้ ัญหา เสนอแนวทางเพอ่ื สรา้ งความเข้าใจที่ ถูกต้องในการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ให้กับผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ ผูจ้ ัดการเรยี นรู้วิชาประวตั ศิ าสตรใ์ นระดับอดุ มศึกษาไดเ้ ตรยี มความพรอ้ มให้ครูก่อน ประจำการในการจดั การเรียนร้ปู ระวตั ิศาสตร์ตอ่ ไป Page | 50
บทต่อไปจะเป็นการนำเสนอการสังเคราะห์งานวิจัยของรัชนีกร หงส์พนัส (2563) เรื่องการพัฒนาตัวชี้วัดและเกณฑ์คุณลักษณะของครูประวัติศาสตร์ใน ศตวรรษที่ 21 ว่าควรมีคุณลักษณะอย่างไรในการนำความเป็นตัวตนของครูสังคม ศึกษาที่จัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ที่จะสะท้อนภาพคุณลักษณะตนเองในการ จดั การเรยี นรปู้ ระวัติศาสตรต์ อ่ ไป Page | 51
บทท่ี 2 แนวคิดการพัฒนาตัวชว้ี ดั และเกณฑค์ ุณลักษณะครูประวตั ศิ าสตรใ์ นศตวรรษท่ี 21 สืบเนื่องจากการจัดการเรียนรู้ในรายวิชา 2722318 กระบวนการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์สำหรับครูและได้ยินอยู่เสมอว่า การจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์เป็น เรื่องที่น่าสนใจ แต่ในปัจจุบันหาครูสังคมศึกษาที่สอนวิชาประวตั ิศาสตร์ยากมาก จึง ไดท้ ำโครงการวิจัยเร่ือง การพฒั นาตัวชวี้ ัดและเกณฑค์ ุณลักษณะครูประวัติศาสตร์ใน ศตวรรษท่ี 21 (รัชนีกร หงส์พนัส, 2563) ที่ได้รับทุนวิจัยจากเงินทุนส่งเสริมและ สนับสนุนกล่มุ การวิจยั กองทุนรชั ดาภเิ ษกสมโภช จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย แนวคิด บทนี้เป็นการสังเคราะห์งานวิจัย เพื่อให้เห็นคุณลักษณะครูประวัติศาสตร์ (ครูสอน สังคมศึกษาที่จัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์) ที่พบองค์ความรู้ใหม่ในการวิจัย ประกอบด้วยคุณลักษณะด้านใดบ้างที่เหมาะสมกับคุณลักษณะครูประวัติศาสตร์ใน ศตวรรษที่ 21 ที่มีการพัฒนาตัวชี้วัดและเกณฑ์ของคุณลักษณะดังกล่าว เพื่อยืนยัน ผลงานวิจัย พร้อมอธิบายความสำคัญและความสัมพันธ์ของแต่ละด้านของ คุณลักษณะของครปู ระวตั ิศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 บทนา ปัจจุบันประเทศไทยมีความทา้ ทายในการพัฒนาประเทศในหลายมิติ รัฐบาล มีความพยายามขับเคลื่อนนโยบายต่าง ๆ เพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงและสร้าง เสริมความเจริญในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของ โลกาภิวัตน์ที่มีผลกระทบตอ่ วิถีสังคม และวิถีชุมชน การไหลเวียนของข้อมูลข่าวสาร อยา่ งรวดเร็วสง่ ผลใหโ้ ลกกลายเป็นยุคแห่งการสื่อสารไรพ้ รมแดน ท้ังยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) เป็นยุทธศาสตร์ชาติฉบับแรกของประเทศไทยตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งจะต้องนำไปสู่การปฏิบัติเพื่อให้ประเทศไทย Page | 52
บรรลุวิสัยทศั น์ “ประเทศไทยมีความม่นั คง ม่งั คงั่ ยัง่ ยนื เปน็ ประเทศพัฒนาแล้ว ด้วย การพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” การพัฒนาประเทศในช่วง ยุทธศาสตร์ชาตินี้ จะมุ่งเน้นสร้างสมดุลในการพัฒนายุทธศาสตรช์ าติ 1 ใน 6 ด้านที่ ต้องพัฒนาอย่างเร่งด่วนคือ ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นการพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพ ทรัพยากรมนุษย์เพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมี คุณภาพ โดยคนไทยมีความพร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้าน และมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวยั มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิด ที่ ถูกต้อง มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564 ) ที่ยึดคนเป็นศูนย์กลางพัฒนา การยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศในทุกระดับและยกระดับการเรียนรู้ โดยเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานท้ังการบริหารจดั การโรงเรียนขนาด เล็ก ปรับระบบ การจัดการเรียนการสอน และการพัฒนาคณุ ภาพครูทัง้ ระบบ รวมท้ัง การยกระดับคณุ ภาพการศึกษาสู่ความเปน็ เลศิ ในสาขาวิชาที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ ด้าน นอกจากนี้ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 (ฉบับเพิ่มเติม) ใน มาตรา 7 วา่ ดว้ ยครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา มาตรา 52 ระบใุ ห้กระทรวง ส่งเสริม ให้มีระบบ กระบวนการผลติ และการพัฒนาครู คณาจารย์ บุคคลากรทางการ ศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐานที่เหมาะสมกับการเป็นวิชาชีพขั้นสูง “ครู” ยังต้อง ปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนรู้ให้เท่าทันการศึกษาในยุคประเทศไทย 4.0 จาก นโยบายของภาครัฐส่งสัญญาณสื่อความหมายต่อการพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้าน ตัวจักรที่สำคัญที่กล่าวถึงเสมอคือ การพัฒนาการศึกษาให้ทันกับกระแสโลกาภิวัตน์ “ครู”เป็นบุคลากรอันล้ำค่ามีบทบาทที่จะขับเคลือ่ นการศึกษาไทยและจดั การเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ พร้อม ๆ กับการปฏิรูปการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่ ปรับเปลี่ยนบทบาทครใู ห้เป็นครูในศตวรรษที่ 21 ครูสังคมศึกษาทีจ่ ัดการเรียนรู้วิชา ประวัติศาสตร์ หรือ“ครูประวัติศาสตร์”ต้องมีคุณลักษณะจำเป็นหรือคุณลักษณะ เฉพาะท่ีเอือ้ ต่อการจดั การเรียนรูป้ ระวัติศาสตร์เพ่ือก้าวสู่การเปน็ “ครปู ระวัติศาสตร์” ในศตวรรษที่ 21 และ คุณลักษณะครูประวัติศาสตร์ที่ได้รับการพัฒนาตัวชี้วัดและ Page | 53
เกณฑ์เป็นแนวทางในการพัฒนาตัวชี้วัดและเกณฑ์คุณลักษณะครูประวัติศาสตร์ใน ศตวรรษที่ 21 เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลตัวชี้วัดและเกณฑ์คุณลักษณะครูประวัติศาสตร์ ในศตวรรษท่ี 21 อีกทัง้ สามารถพัฒนาครูสอนสงั คมศกึ ษาท่สี อนวชิ าประวัตศิ าสตร์ให้ ตรงตามตัวชี้วัดและเกณฑ์คุณลักษณะครูประวัติศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 ในเชิง ประจกั ษ์ได้ ทีส่ ำคญั ไปกวา่ น้นั คอื ได้รบั ฟงั ความคดิ เห็นของครูสงั คมศกึ ษาที่สอนวิชา ประวัติศาสตร์เพื่อใช้ปรับคุณลักษณะท่ีสะท้อนความเปน็ ตัวตนของครูสังคมศึกษาที่ จัดการเรียนร้วู ิชาประวัติศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 อยา่ งแท้จริง สาระประวัติศาสตร์ เป็นสาระหนึ่งของกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ที่มุ่งศึกษา เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ วิธีการทาง ประวัติศาสตร์ พัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจุบัน ความสัมพันธ์และ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ผลกระทบที่เกิดจากเหตุการณ์สำคัญในอดีต บุคคลสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ในอดีต ความเป็นมาของชาติ ไทย วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย และแหล่งอารยธรรมที่สำคัญของโลก (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2551) สำหรับประเทศไทย เมื่อครัง้ สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ ิกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง พระราชทานพระราชเสาวนีย์แก่ คณะบุคคลต่าง ๆ ที่เข้าเฝ้าฯ ถวายชัยมงคลในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต วันจันทร์ ที่ 11 สิงหาคม พ.ศ.2551 ความว่า “...ประเทศไทยบรรพบุรุษของเราสละชีวิตมาเพ่ือ ปกป้องผืนแผ่นดินมาด้วยเลือดเนื้อ ด้วยชีวิต แต่เสียดายตอนนี้ ท่านนายกฯ เขา ไม่ให้เรียนประวัติศาสตร์แล้วนะ ฉันก็ไม่เข้าใจ เพราะตอนที่ฉันเรียนอยู่ท่ี สวิตเซอร์แลนด์ ไม่มีประวัติศาสตร์อะไรเท่าไหร่ แต่เราก็ต้องเรียนประวัติศาสตร์ ของสวิตฯ แต่เมืองไทยนี่ บรรพบุรุษเลือดทาแผ่นดิน กว่าจะมาถึงที่ให้พวกเราอยู่ นั่งอยู่กันสบาย มีประเทศชาติ เรากลับไม่ให้เรียนประวัติศาสตร์ ไม่รู้ว่าใครมาจาก ไหน เป็นความคิดที่แปลกประหลาด...” แสดงถึงความสำคัญในการเรียนรู้วิชา ประวัติศาสตร์ ที่ทำให้พลเมืองของชาติรับรู้รากเหง้าและที่มาของตนเอง จนทำให้ เกิดความภาคภูมิใจและจิตสำนึกอนุรักษ์ในวัฒนธรรมของชาติ ประกอบกับใน ปัจจุบันความก้าวหน้าของการศึกษาประวัตศิ าสตรท์ ีม่ ีการประยกุ ต์ใช้กระบวนการ Page | 54
ทางประวัตศิ าสตรเ์ ขา้ กบั ศาสตรแ์ ขนงอืน่ ๆ ทำให้เกิดองคค์ วามรู้ท่ีสำคัญและส่งผล กระทบต่อประเทศไทยเป็นอย่างมาก (ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2554) การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ยังพบปัญหาใน การจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ในสภาพห้องเรียนจริงที่เน้นการถ่ายทอด ความรู้ที่มีอยู่มากกว่าการสร้างองค์ความรู้ใหม่ และพบว่าการสอนวิชา ประวัติศาสตร์มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบบรรยาย ไม่ให้ผู้เรียนได้ฝึก การคิดวิเคราะห์ (วินัย พงศ์ศรีเพียร, 2543 อ้างถึงใน อัครเดช แสนณรงค์ และ ลัดดา ศิลาน้อย, 2558; พิศมัย เดิมสันเทียะ และลัดดา ศิลาน้อย, 2555) ซึ่งการ สอนทีไ่ ม่เนน้ ผูเ้ รยี นเป็นศนู ย์กลางนั้นมขี ้อจำกดั คือ ผ้เู รยี นมีบทบาทน้อยจงึ สง่ ผลทำ ให้ผู้เรียนขาดความสนใจในการเรียน (ทิศนา แขมมณี, 2562) และงานวิจัยของ พิศมัย เดิมสันเทียะ และลัดดา ศิลาน้อย (2555) กล่าวว่าสภาพการเรียนการสอน อย่างไรก็ตาม แม้หลักสูตรประวัติศาสตร์จะมุ่งเน้นพัฒนาพุทธิพิสัยระดับสูงของ ผู้เรียน แตย่ ังพบปัญหาในการจดั การเรียนการสอนประวัตศิ าสตรใ์ นสภาพห้องเรียน จริงท่เี น้นการถา่ ยทอดความรูท้ ่มี ีอย่มู ากกวา่ การสรา้ งองค์ความรู้ใหม่ สอดคล้องกับ งานวจิ ยั ทีพ่ บวา่ การสอนวิชาประวตั ศิ าสตร์มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ บรรยาย ไม่ให้ผู้เรียนได้ฝึกการคิดวิเคราะห์ (วินัย พงศ์ศรีเพียร, 2543 อ้างถึงใน อัครเดช แสนณรงค์ และ ลัดดา ศิลาน้อย, 2558; พิศมัย เดิมสันเทียะ และลัดดา ศิลานอ้ ย, 2555) ซง่ึ การสอนที่ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็ ศนู ยก์ ลางนั้นมีขอ้ จำกดั คือ ผู้เรียน มีบทบาทน้อยจึงส่งผลทำให้ผู้เรียนขาดความสนใจในการเรียน (ทิศนา แขมมณี, 2562) และงานวิจัยของพิศมัย เดิมสันเทียะ และลัดดา ศิลาน้อย (2555) กล่าวว่า สภาพการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ดังกล่าวข้างต้น ส่งผลให้นักเรียนขาดความ กระตือรือร้นในการเรียน จากข้อมูลดงั กล่าวจึงสามารถสรุปได้ว่าการเรียนการสอน ประวัติศาสตร์แบบเดิมที่มุ่งเน้นใหผ้ ู้สอนเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ และผูเ้ รียนเปน็ ผ้รู บั ขอ้ มูลเพยี งฝา่ ยเดยี ว ส่งผลใหผ้ เู้ รียนมเี จตคตไิ มด่ ตี ่อการเรียนวชิ าประวตั ศิ าสตร์ ทั้ง ที่เป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ครอบคลุมทั้งพุทธิพิสัย ทักษะพิสัย และจิตพิสัย ซึ่งผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ผ่านเรื่องราวที่หลากหลายของทั้ง ประวัติศาสตร์ไทย ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและประวัติศาสตร์สากล โดยนำเสนอ Page | 55
เรื่องราวในทางประวัติศาสตร์ด้วยวิธีการและมุมมองอันหลากหลาย เพื่อให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาการคิด และทักษะกระบวนการใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการ แสวงหาคำตอบต่าง ๆ ในทางประวตั ิศาสตร์ ทำใหเ้ กิดคำถามท่ีว่าเปา้ หมายสำคัญที่ เป็นแนวทางในการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาด้านการจัดเรียนการสอน ประวตั ศิ าสตรท์ ่ที นั ยุคทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงในโลกาภวิ ัตน์ทบี่ ง่ บอกถึงคณุ ลักษณะ ครูประวัตศิ าสตร์ในศตวรรษที่ 21 และยงั สามารถกำหนดตวั ชว้ี ดั รวมถงึ การกำหนด เกณฑ์ตรวจสอบคุณภาพของตัวชี้วัดคุณลักษณะครูประวัติศาสตร์เพื่อใช้ในการ พัฒนาคุณลักษณะของครูประวัติศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 และเพื่อตอบคำถาม สำคญั ในการวจิ ัยเกี่ยวกบั ตัวชวี้ ดั และเกณฑ์คุณลักษณะครูประวัติศาสตร์ในศตวรรษ ที่ 21 ควรเป็นอย่างไร และคุณภาพตวั ชี้วดั และเกณฑ์คุณลักษณะครูประวัติศาสตร์ ในศตวรรษที่ 21 ควรเปน็ อยา่ งไรต่อไป จากการรวบรวมและสังเคราะห์ความสำคัญและความเป็นมาของ ปัญหาการวจิ ยั รวมถงึ การสืบคน้ งานวิจัยทผ่ี ่านมาในประเทศไทยยังไม่ได้ กำหนดคุณลกั ษณะครสู งั คมศกึ ษาทสี่ อนวิชาประวัตศิ าสตรไ์ วอ้ ย่างชัดเจน และผู้เขียนมีความเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ และได้ กำหนดคำนิยามทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับงานวจิ ัยนีไ้ ดแ้ ก่ ตวั ชีว้ ดั หมายถึง คา่ หรือตวั แปรใด ๆ ทสี่ ะท้อนใหเ้ หน็ ถึงคุณลกั ษณะ คุณสมบตั ขิ องสง่ิ ใดสง่ิ หน่ึงทผ่ี ูท้ ำการศกึ ษาสนใจศึกษาในเรอ่ื งนน้ั ๆ เพือ่ จะไดท้ ำ การสรปุ และมองเห็นภาพอยา่ งเขา้ ใจไดง้ า่ ยมากขน้ึ Page | 56
คณุ ลักษณะครูประวัติศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 หมายถึง ลักษณะบุคลิกภาพ จริยธรรม ความสามารถในการสื่อสาร ความ กระตือรอื ร้น ความมนั่ ใจในตนเอง ความเชยี่ วชาญในศาสตร์ความรู้ ความสามารถใน การจัดการชั้นเรียน และความสามารถในการใช้สื่อเทคโนโลยี ที่ต้องการให้เกิดข้ึน เปน็ สงิ่ ทบี่ ่งช้คี วามสามารถหรือมคี ุณลกั ษณะเฉพาะของครสู งั คมศึกษาท่ีจัดการเรียน การสอนรายวิชาประวตั ิศาสตร์ ที่มมี ุมมองเชงิ เป้าหมายและเชงิ กระบวนทัศน์ก้าวทัน การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย ด้านความอยากรู้อยากเห็น (Curiosity) ดา้ นเนือ้ หา (Content) ด้านสือ่ สาร (Communication) ดา้ นความมัน่ ใจ (Confidence) ด้านการจัดการชั้นเรียน (Classroom management) ด้านดูแลเอาใจใส่ (Caring) และ ด้านการใชเ้ ทคโนโลยี (Technology) ตามลำดบั เกณฑ์คณุ ลักษณะครปู ระวัติศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 หมายถึง เกณฑ์การตัดสินคุณลักษณะแบบอิงเกณฑ์ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น แบ่ง ออกเป็น 5 ระดับ ได้แก่ ระดบั สงู มาก ระดับสงู ระดับปานกลาง ระดับต่ำ และระดับ ท่คี วรได้รบั การชแ้ี นะ/พฒั นา/สง่ เสริม แนวคิดการพฒั นาคณุ ลกั ษณะครูประวตั ศิ าสตร์ในศตวรรษที่ 21 คุณลักษณะครูประวัติศาสตร์ที่ได้จากการสังเคราะห์คุณลักษณะครู ประวัติศาสตร์ในศตวรรษท่ี 21 การสังเคราะห์คณุ ลักษณะครูประวัติศาสตร์ในศตวรรษ ที่ 21 ได้ 7 คุณลักษณะ ซึ่งจะนิยามความหมายในแต่ละคุณลักษณะตามแนวคิดของ ( Gardner, 2 0 1 0 ; Bazzano, 2 0 1 1 ; Churches, 2 0 1 1 ; Office of Teacher Education, National Institute Of Education Singapore, 2014 อ้างถงึ ใน พิณสดุ า Page | 57
สิริรังธศรี, 2557; Aggarwal, 2018; คุรุสภา, 2543; ธเนศ ขำเกิด, 2550; วิจารณ์ พานิช, 2555; พิณสุดา สิริรังธศรี, 2557; พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข, 2557; สุพรทิพย์ ธนภัทรโชติวัตร, 2557; อ่องจิต เมธยะประภาส, 2557; ไพฑูรย์ สิน ลารัตน์, 2557 และถนอมพร เลาหจรัสแสง, 2560 อ้างในรัชนีกร หงส์พนัส, 2563) ดังตารางท่ี 2.1 ตารางท่ี 2.1 การสังเคราะห์คณุ ลักษณะของครปู ระวตั ศิ าสตร์ในศตวรรษท่ี 21 (รชั นีกร หงสพ์ นัส, 2563) คุณลกั ษณะครู Gardner (2010) รวม ประวตั ิศาสตรใ์ น Bazzano (2011) (ร้อยละ) ศตวรรษท่ี 21 Churches (2011) Singapore (2014) Aggarwal (2018) ุครุสภา (2543) ธเนศ ขำเกิด (2550) ิวจาร ์ณ พา ินช (2555) ิพณสุดา สิริรังธศรี (2557) พิมพ์พัน ์ธ เดชะ ุคป ์ต และพเยา ์ว ิยน ีดสุข (2557) ไพ ูฑร ์ย สินลารัต ์น (2557) สุพร ิทพ ์ย ธน ัภทรโชติ ัวตร (2557) อ่องจิต เมธยะประภาส (2557) ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2560) มคี ณุ ธรรมและ จริยธรรม พร้อมทั้ง ✓✓✓✓✓✓✓✓✓ ✓✓ ✓ 12 เป็นแบบอยา่ งที่ดี (85.71%) ให้แก่ศิษย์ได้ (Caring) มีความสามารถในการ สือ่ สาร และมีทกั ษะ ในการถ่ายทอด ✓ ✓ ✓✓✓✓✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 11 ความรู้ได้อยา่ งมี (78.57%) ประสทิ ธิภาพ (Communication) มคี วามกระตอื รือรน้ ที่ จะแสวงหาความรใู้ หม่ ๆ พัฒนาตนเองอยา่ ง ✓✓✓✓✓✓✓✓ ✓✓ 10 ตอ่ เนอ่ื ง และเรยี นรู้ (71.43%) ตลอดชีวิต (Curiosity) Page | 58
คุณลักษณะครู Gardner (2010) รวม ประวตั ิศาสตร์ใน Bazzano (2011) (ร้อยละ) ศตวรรษที่ 21 Churches (2011) Singapore (2014) Aggarwal (2018) ุครุสภา (2543) ธเนศ ขำเ ิกด (2550) ิวจาร ์ณ พา ินช (2555) ิพณสุดา สิริรังธศรี (2557) พิมพ์พัน ์ธ เดชะ ุคป ์ต และพเยา ์ว ิยน ีดสุข (2557) ไพ ูฑร ์ย สินลารัต ์น (2557) สุพร ิทพ ์ย ธน ัภทรโชติ ัวตร (2557) ่อองจิต เมธยะประภาส (2557) ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2560) สามารถใช้ส่ือ ✓ ✓✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 9 เทคโนโลยอี ยา่ งมี (64.29%) ประสิทธภิ าพและ ประสทิ ธิผลทงั้ ใน ✓✓✓✓✓✓ ✓ ✓ ✓ 9 ฐานะทเี่ ป็นผู้ผลติ (64.29%) ความรู้ ผกู้ ระจาย ความรู้ และผู้ใช้ ✓✓✓✓✓✓✓ ✓✓ 9 ความรู้ (64.29%) (Technology) ✓ ✓✓✓✓✓ ✓✓ ✓ 9 มคี วามรแู้ ละทักษะที่ (64.29%) จำเป็นในวชิ าชีพครู (Classroom ✓✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 6 management) (42.86%) มวี ิสยั ทัศน์ สามารถ ปรบั ตวั และมีความ เป็นผู้นำ (Confidence) มคี วามแมน่ ยำและ ละเอียดลึกซ้งึ ใน เนื้อหาวชิ า (Content) สามารถทำงาน รว่ มกับผูอ้ ่นื ได้ รวมถึง การสร้างเครอื ขา่ ย การเรยี นรู้ (Collaborating) Page | 59
คณุ ลกั ษณะครู Gardner (2010) รวม ประวตั ิศาสตรใ์ น Bazzano (2011) (ร้อยละ) ศตวรรษท่ี 21 Churches (2011) Singapore (2014) Aggarwal (2018) ุครุสภา (2543) ธเนศ ขำเ ิกด (2550) ิวจาร ์ณ พา ินช (2555) ิพณสุดา สิริรังธศรี (2557) พิมพ์พัน ์ธ เดชะ ุคป ์ต และพเยา ์ว ิยน ีดสุข (2557) ไพ ูฑร ์ย สินลารัต ์น (2557) สุพร ิทพ ์ย ธน ัภทรโชติ ัวตร (2557) ่อองจิต เมธยะประภาส (2557) ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2560) มคี วามรเิ ร่มิ ✓ ✓✓✓ ✓ ✓ 6 สรา้ งสรรค์ และมี (42.86%) จนิ ตนาการในเรอ่ื ง ตา่ ง ๆ เป็นอย่างดี ✓✓ ✓✓ ✓✓ 6 (Creative) (42.86%) ต้องยึดมั่นใน ✓✓✓✓ ✓ 5 จรรยาบรรณวชิ าชีพ (35.71%) มีจิตวญิ ญาณของ ความเป็นครูและผู้ให้ ✓✓ ✓✓ 4 (28.57%) ต้องปรับปรุงและ กลอ่ มเกลาให้ผเู้ รยี น เปน็ พลเมืองดี มคี วาม เปน็ ประชาธิปไตย (Commitment) ตอ้ งพยายามกระตุน้ ให้ผู้เรยี นมีความม่ันใจ ในตนเอง (Catalytic Power) Page | 60
จากตารางการสังเคราะห์คุณลักษณะของครูประวัติศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 จากงานวิจัยของรัชนีกร หงส์พนัส (2563) ได้เลือกใช้องค์ประกอบที่มีความ สอดคล้องกันมากกว่าร้อยละ 50 ขึ้นไป สามารถสรุปได้ว่ามีคุณลักษณะของครู ประวตั ิศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 จำนวน 7 คณุ ลกั ษณะได้ดังน้ี องค์ประกอบ นิยาม 1. ดา้ นการดแู ลเอาใจใส่ (Caring) มีความเข้าใจ ความรักต่อนักเรียน มีความภาคภูมิใจในชาติ ไม่ 2. ด้านการสือ่ สาร บดิ เบอื นความจริงตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ีไดพ้ ิสจู นแ์ ล้ว (Communication) มีความสามารถในการสื่อสารโดยใช้ภาษาไทยในการพูด อ่าน เขียน 3. ดา้ นความรู้อยากเหน็ การใช้คำถาม การแสดงความคิดเห็น การวิพากษ์ และการอภปิ ราย (Curiosity) ได้อย่างถูกต้อง มีทักษะในการถ่ายทอดความรูท้ างประวัติศาสตรไ์ ด้ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 4. ด้านเน้อื หา (Content) รู้วิธีการศึกษาประวัติศาสตร์มีทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยวิธีการ ทางประวตั ศิ าสตร์ มคี วามอยากรู้ อยากเหน็ และมคี วามกระตือรอื รน้ 5. ด้านความมนั่ ใจ ทจ่ี ะแสวงหาองคค์ วามรปู้ ระวัตศิ าสตรใ์ หม่ ๆ (Confident) มีความรู้และมีความแม่นยำเรื่องราวในอดีต เรียนรู้อดีตของสังคม 6. ดา้ นการใช้เทคโนโลยี มนุษย์ บูรณาการความรู้วิชาประวัตศิ าสตร์กับสาระอื่น ๆ เพื่อใช้ใน (Technology) การสร้างสรรค์ วเิ คราะหเ์ หตุการณใ์ นประวตั ิศาสตร์ และรเิ ริ่มระบบ นเิ วศนก์ ารเรยี นรูป้ ระวตั ิศาสตรแ์ บบไม่มชี ั้นเรยี น 7. ด้านการจัดการชัน้ เรยี น (Classroom มีความเชื่อมั่นในตนเอง วางตัวเป็นที่เชื่อถือ คิดอยู่เสมอว่ายังมี management) เร่ืองราวทางประวตั ิศาสตร์ท่ีตนเองยังไม่รอู้ ีกมาก รู้จักปรับตัวและมี ความยืดหย่นุ ตอ้ งรจู้ กั ใช้หลักฐานทางประวตั ศิ าสตรอ์ ยา่ งกว้างขวาง มีความสามารถเลือกใช้สื่อเทคโนโลยีและใช้ได้หลากหลายในการ สืบคน้ ข้อมลู รวบรวมข้อมลู นำเสนอข้อมลู ทางประวัตศิ าสตรอ์ ย่างมี ประสิทธิภาพและให้เกิดประสิทธิผลแก่นักเรียน อีกทั้งสร้าง นวตั กรรมทางประวัตศิ าสตรอ์ ยา่ งชาญฉลาด มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเป็นการจัดสภาพแวดล้อมในชั้นเรียน ประวตั ศิ าสตร์ เพื่อช่วยรักษาสภาพแวดล้อมในการเรียนให้เป็นไปใน ทางบวกและเสริมสร้างในการบริหารจัดการชั้นเรียนประวัติศาสตร์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และการจัดองค์ประกอบของการจัดการชน้ั เรียนประวัติศาสตร์ประกอบด้วยองค์ประกอบด้านกายภาพ ด้าน สังคมและดา้ นการศึกษา Page | 61
แนวทางการพฒั นาตัวช้วี ัดและเกณฑค์ ณุ ลกั ษณะ ครปู ระวตั ศิ าสตรจ์ ากงานวิจัยสกู่ ารปฏบิ ัติ สืบเนื่องจากงานวิจัยของรัชนีกร หงส์พนัส (2563) เรื่องการพัฒนาตัวชี้วัด และเกณฑ์คุณลักษณะครูประวัติศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 ได้ผลสังเคราะห์ในแต่ละ ด้านของคุณลักษณะครูประวัติศาสตร์พบว่า การพัฒนาตัวชี้วัดคุณลักษณะครู ประวัติศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย 7 คุณลักษณะ ได้แก่ การดูแลและเอา ใจใส่ (Caring) การสื่อสาร (Communication) ความอยากรู้ อยากเห็น (Curiosity) เน้อื หา (Content) ความมั่นใจ (Confidence) การใช้เทคโนโลยี (Technology) และ การจัดการชั้นเรียน (Classroom management) พร้อมทั้งการตรวจสอบคุณภาพ ตัวชี้วัดผ่านขั้นตอนการตรวจความตรงเชิงเนื้อหา ความตรงเชิงโครงสร้าง ความตรง เชิงลู่และความเที่ยงตามกระบวนการวิจัยตามลำดับและการพัฒนาเกณฑ์ คณุ ลกั ษณะครูประวัตศิ าสตร์ในศตวรรษที่ 21 หมายถึง เกณฑก์ ารตดั สินคุณลักษณะ แบบอิงเกณฑ์ท่ีผู้วิจัยพัฒนาขึ้น แบ่งออกเป็น 5 ระดับ ได้แก่ ระดับสูงมาก ระดับสงู ระดบั ปานกลาง ระดับตำ่ และระดบั ท่คี วรไดร้ บั การชี้แนะ/พฒั นา/ส่งเสรมิ การพัฒนาตัวชี้วัดและเกณฑ์คุณลักษณะครูประวัติศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 (รัชนีกร หงส์พนสั , 2563) งานวจิ ัยนี้ทำใหไ้ ดอ้ งค์ความรู้ใหมท่ ่ีช้ีให้เห็นถึงตัวชี้วัดและ เกณฑค์ ณุ ลักษณะครปู ระวัติศาสตรใ์ นศตวรรษท่ี 21 ประกอบดว้ ย ดา้ นความอยากรู้ อยากเหน็ (Curiosity) ดา้ นเน้อื หา (Content) ดา้ นส่อื สาร (Communication) ด้าน ความมั่นใจ (Confidence) ด้านการจัดการชั้นเรียน (Classroom management) ดา้ นดแู ลเอาใจใส่ (Caring) และดา้ นการใชเ้ ทคโนโลยี (Technology) ตามลำดบั อีก ทั้งเป็นแนวทางในการพัฒนาตัวชี้วัดและเกณฑ์คุณลักษณะครูประวัติศาสตร์ใน ศตวรรษที่ 21 และใช้เป็นฐานข้อมูลตัวชี้วัดและเกณฑ์คุณลักษณะครูประวัติศาสตร์ ในศตวรรษที่ 21 พร้อมทั้งพัฒนาครูให้ตรงตามตัวชี้วัดและเกณฑ์คุณลักษณะครู ประวัติศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 ในเชิงประจักษ์ได้ และที่สำคญั ได้รับฟังความคิดเห็น ของครูประวัติศาสตร์เพื่อใช้ปรับคุณลักษณะที่สะท้อนความเป็นตัวตนของครู Page | 62
ประวัติศาสตร์จากครูสังคมศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่สอนวิชาประวัติศาสตร์ของ โรงเรียนในสังกัดการศึกษาข้นั พื้นฐานท่วั ประเทศจำนวน 3,250 คน และคณุ ลักษณะ ดังกล่าวไปประยุกต์ใช้กับครูสังคมศึกษาที่สอนวิชาอ่ืน ๆ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมหรือนำไปเป็นแนวทางพัฒนาตัวชี้วัดและเกณฑ์ คุณลกั ษณะครูในสาขาวิชาฯ อนื่ ๆ ประเด็นที่พบในงานวิจัยครั้งนี้เกี่ยวกับคุณลักษณะครูประวัติศาสตร์ในด้าน ความอยากรู้อยากเห็น (Curiosity) ภายใต้นิยามศัพท์ระบุว่า รู้วิธีการศึกษา ประวัติศาสตร์มีทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ มีความ อยากรู้ อยากเห็นและมีความกระตือรือร้นที่จะแสวงหาองค์ความรู้ประวัติศาสตร์ ใหม่ ๆ มีความสัมพันธ์สูงมากกับคุณลักษณะครูประวัติศาสตร์ ความอยากรู้อยาก เห็นเป็นคุณลักษณะที่มีคุณค่ามากขึ้นเรื่อย ๆ เพราะช่วยสร้างความมั่นใจและลด ความกลัวจากการไม่รู้ โลกยุคโลกาภิวัตน์เต็มไปด้วยเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ มากมาย ซับซ้อน น่าสืบค้นและค้นหา วิภาวี เธียรลีลา (2018) กล่าวเพิ่มเติมว่า การอยากรู้อยากเห็นทำให้เกิดการเรียนรู้และอยู่รอด การนำคุณลักษณะครู ประวัติศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 ด้านความอยากรู้อยากเห็น รู้วิธีการศึกษา ประวัติศาสตร์มีทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ มีความ อยากรู้ อยากเห็นและมีความกระตือรือร้นที่จะแสวงหาองค์ความรู้ประวัติศาสตร์ ใหม่ ๆ จากผลการวิจัยที่ได้สู่การจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และที่สำคัญใช้ทักษะ วิธีการทางประวัติศาสตร์ซึ่งนับเป็นหัวใจสำคัญในการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ และความอยากรู้อยากเห็น (Curiosity) วิธีการทางประวัติศาสตร์เป็น“ทักษะ กระบวนการ” ที่มุ่งสร้างสรรค์การเรียนรู้ด้วยตนเองในยคุ โลกาภิวัตน์โดยให้ผู้เรียน ไดอ้ อกนอกห้องเรียนไปสู่โลกในความเปน็ จริงดว้ ยความอยากรู้อยากเห็นท่ีจะสืบค้น การสืบค้นเรื่องราวทตี่ นอยากรู้ อยากเหน็ และในโลกยคุ ข้อมลู ข่าวสารนี้ วิธีการทาง ประวัติศาสตร์จะฝึกฝนให้ผู้เรียนตรวจสอบ กลั่นกรองข้อมูลให้ได้ข้อเท็จจริง และ คดิ วิเคราะห์อยา่ งเป็นเหตุเปน็ ผล กอ่ นทจี่ ะคดิ วนิ ิจฉยั วา่ สง่ิ ใดจริงน่าเชื่อถือ อันเป็น การรู้เท่าทันข้อมูลข่าวสารอย่างแท้จริง (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน, 2554) และตามที่ (สุมนทิพย์ บุญสมบัติ, 2533; กาญจนา สิริมุสิกะ, Page | 63
2544; เฉลิม นิติเขตต์ปรีชา, 2545; และ ฉลองศรี พิมลสมพงศ์, 2550 อ้างใน รัชนีกร หงส์พนัส, 2563) ระบุว่าการเรียนรูป้ ระวัติศาสตรช์ ่วยกระตุ้นความรู้นึกคดิ เกี่ยวกับมนุษยชาติ สนองความอยากรู้อยากเห็นในเรื่องราวของชาติต่าง ๆ ประวตั ิศาสตร์ชว่ ยฝึกฝนและใช้ทุกส่วนในการใช้ปญั ญา ความคิด เร่งเรา้ ความอยาก รอู้ ยากเห็นให้ค้นคว้า คณุ ลักษณะดา้ นความอยากรู้ อยากเห็นนสี้ ามารถเชื่อมโยงได้ จากทฤษฎีด้านจิตวิทยา Edelman (1997) กล่าวว่า ทฤษฎีความอยากรู้อยากเหน็ เกี่ยวข้องกับประสบการณ์ที่ไม่พึงปรารถนาของ \"ความไม่แน่นอน\" ในทางกลับกัน การลดความรู้สึกไม่พึงประสงค์เหล่านี้เป็นรางวัล ทฤษฎีนี้ชี้ให้เห็นว่าผู้คนต้องการ ความเชื่อมโยงและความเข้าใจในกระบวนการคิดของตน เมื่อการเชื่อมโยงกันนี้ถูก รบกวนด้วยสิ่งที่ไม่คุ้นเคยไม่แน่นอนหรือคลมุ เครือมันเป็นแรงผลักดันความอยากรู้ อยากเห็นที่พยายามรวบรวมข้อมูลและความรู้เกี่ยวกับสิ่งที่ไม่คุ้นเคยเพื่อฟื้นฟู กระบวนการคดิ ท่สี อดคล้องกัน หากครูสอนสังคมศึกษาที่จัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ใช้เทคนิคการต้ัง คำถามมาช่วยในการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์แบบ Active Learning ด้วยแล้ว Edwings (2019) กล่าววา่ การตั้งคำถามเป็นตวั กระตุน้ ท่ีดีให้เกิดความอยากรูอ้ ยาก เห็น ผู้สอนอาจจะใช้วิธีการถามคำถามอย่างมีคุณภาพ การถามท่ีดีจะทำใหผ้ ู้สนใจ และอยากรู้ต่อ นอกจากนั้นการสร้างบรรยากาศให้ผู้เรียนรู้สึกสบายใจที่จะถามได้ เร่ืองต่าง ๆ ได้ เปิดโอกาสให้เกิดการพูดคุยกัน จะทำให้เกิดความอยากรู้อยากเห็น มากขึ้น คุณลักษณะความอยากรู้ อยากเห็นของครูสังคมศึกษาที่จัดการเรียนรู้วิชา ประวัติศาสตร์จะเกิดขึ้นได้ในตัวครู ซึ่งครูสังคมศึกษาที่จัดการเรียนรู้วิชา ประวัติศาสตร์มีคุณลักษณะด้านนี้อยู่แล้ว แต่อาจไม่รู้ตัว เมื่อเริ่มอยากรู้อยากเห็น (Curiosity) นกั วิชาการจากประเทศตา่ ง ๆ ทส่ี นใจประเด็นน้มี ากมายไดร้ วมกลมุ่ กัน ภายใต้ช่ือ Community of Curiosity Researcher (ชมุ ชนนักวิจยั เรอื่ งความอยาก รู้ อยากเห็น) ในเว็บไซต์ Researchgate.com ทำให้รู้ว่าการศึกษาเรือ่ งความอยาก รู้ อยากเห็นสามารถต่อยอดไปตอบโจทย์งานวิจัยเพื่อพัฒนาการศึกษาและ เทคโนโลยีการศึกษา ความอยากรู้ อยากเห็นในตัวเอง (intrapersonal curiosity) และความอยากรู้ อยากเห็นสนใจในผู้อื่น (interpersonal curiosity) ในหมู่วงการ Page | 64
วิชาการด้านความอยากรู้ อยากเห็น (The Matter, 2017) การยืนยันจาก ผลการวิจัยที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้นเมื่อได้นำคุณลักษณะความอยากรู้ อยากเห็นนี้ ไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้คู่ขนานหรืออยู่ในกิจกรรมการเรียนรู้ได้ทุกขั้น ตั้งแต่การ วางแผนการจัดการเรียนรู้ จุดประเด็นสงสัย และการออกแบบการเรียนรู้: ขั้นนำ ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นสรุป และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ใน ขณะเดียวกันครูสังคมศึกษาที่จัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ได้แสดงตัวตนที่มี คุณลักษณะด้านความอยากรู้ อยากเห็นมาจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์แล้ว ยัง สามารถปลูกฝังผู้เรียนด้านคุณลักษณะที่พึงประสงคใ์ ฝ่รู้ ใฝ่เรียน อยากรู้ อยากเห็น เช่นกัน ความอยากรู้อยากเห็นที่เป็นคุณลักษณะเด่นของครูสังคมศึกษาที่สอนวิชา ประวัตศิ าสตรใ์ นศตวรรษท่ี 21 จะช่วยใหก้ ระบวนการเรยี นรปู้ ระวตั ิศาสตรผ์ ่านการ แก้ปัญหาเป็นขั้นตอนสำคัญ ครูสังคมศึกษาที่จัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์จะ กระตุ้นใหผ้ ู้เรียนต้งั คำถาม และตรวจสอบคำถามของพวกเขา วิธกี ารเช่นนี้จะทำให้ หลักสูตรมีความหมายมากขึ้น บทเรียนประวัติศาสตร์ไม่จำเป็นต้องจบลงด้วย คำตอบที่ ถูก หรือ ผดิ บุญชนก ธรรมวงศา (2018) และศุภาวรรณ คงสวุ รรณ์ (2563) ขยายภาพคุณลักษณะความอยากรู้ อยากเห็น ว่าการกระตุ้นส่งเสริมบรรยากาศใน ทางบวกของการใช้คำถาม ทำให้ผู้สอนและผู้เรียนเกิดความมั่นใจและกล้าคิดกล้า ทำ ผลลัพธ์ที่น่าชื่นใจคือ การได้เห็นพวกเขาตระหนักว่าทุกประสบการณ์ระหว่าง ทางทพ่ี ยายามหาวิธกี ารหรือคดิ วิเคราะห์ข้อมูลเหลา่ น้นั จะลงเอยด้วยการเตบิ โตทาง ความคิดทีละเลก็ ละน้อยไปสูค่ ำตอบที่อาจกว้างใหญแ่ ละมีคุณค่ากว่าแค่ถูกหรือผิด ขณะเดียวกันครูต้องกล้าที่ถูกตั้งคำถาม เอาหลักฐานมาให้ดู ชวนคิด ต่อให้ผู้เรียน คิดไม่เหมือนครู ครูควรทำให้การตั้งคำถามเป็นปกติ การเรียนรู้ประวัติศาสตร์เริ่ม ดว้ ยคำถาม ตอ่ ด้วยคำถาม จบลงดว้ ยคำถาม การออกแบบการจัดกจิ กรรมการจัดการเรียนร้ปู ระวัติศาสตรด์ ว้ ยวิธีการทาง ประวัติศาสตร์ร่วมกับเทคนิคการใช้คำถาม การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ลักษณะแบบ นี้ช่วยให้ครูสังคมศึกษาที่จัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ไปพัฒนาผู้เรียนให้มี คุณลกั ษณะด้านอยากรู้ อยากเหน็ ได้ การหาคำตอบไมเ่ พียงถามว่า ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อไร คำถามเหล่านี้เป็นคำถามที่ค่อนข้างสกัดกั้นความอยากรู้อยากเห็นของครู Page | 65
และนักเรียน คำถามที่ครูสังคมศึกษาที่จัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ใช้ถามเพ่ิม ควรจะตั้งคำถามว่า ทำไม อย่างไร เพื่อหาคำตอบที่สามารถขยายผลไปสู่การต้ัง คำถามและใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ระหว่างครูสังคมศึกษาที่จัดการเรียนรู้วิชา ประวัติศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 และผู้เรียนเพื่อหาคำตอบหรืออาจนำไปสู่คำถาม ใหม่ ๆ และคำตอบใหม่ ๆ ต่อไปได้ไม่มีที่สิ้นสุด อีกทั้งคุณลักษณะความอยากรู้ อยากเห็น (Curiousity) ของครูสังคมศึกษาที่จัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ ที่ สอดคล้องและสัมพันธ์กับวิธีการทางประวัติศาสตร์ด้วย Active learning ในการ เรียนรู้ประวัติศาสตร์ เพื่อสร้างความเข้าใจการเปลี่ยนแปลง ความสัมพันธ์ อิทธิพล มิติเวลา มิติสถานที่ ทิศทาง ความเชื่อมโยง ศึกษานอกสถานที่เพื่อสร้างแรงจูงใจ อยากรู้อยากเห็น มีอารมณ์ร่วมและคล้อยตาม สร้างความกระหายอยากรู้ กระตุ้น ให้รับรู้เรื่องราว ด้วยการสังเกต ดู ฟัง สัมผัส ศึกษาวิธีการทางประวัติศาสตร์ เรียงลำดบั เหตกุ ารณ์ จำแนกความเหมอื นและความตา่ งของสิ่งทเ่ี กิดขึ้นในอดีตและ ปจั จุบัน วิเคราะหแ์ ละอธิบายเหตุและผล เปรยี บเทียบหลักฐาน สรุปปัญหา สาเหตุ ผลกระทบและแนวทางการสืบทอดประเด็นปัญหา และนำเสนอผลการเรียนรู้ ประวตั ิศาสตรพ์ รอ้ มหลกั ฐานประกอบ (ครรชติ มนูญผล, 2016) การจัดการเรียนรู้เป็นหัวใจสำคัญที่จะทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตาม จุดประสงค์ ดังนั้นผู้สอนควรมีความรู้ความเข้าใจในความหมาย กระบวนการของ การออกแบบและการจัดการเรียนรู้ ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน การพัฒนา รูปแบบการเรยี นการสอนในศตวรรษที่ 21 สำหรับสภาพปัจจุบันและปญั หาเก่ียวกบั การเรียนรู้ประวตั ิศาสตรใ์ นประเทศไทยซ่งึ มีปัญหามายาวนาน การวิเคราะห์ผู้เรียน เป็นวิธีที่จะช่วยให้ผูเ้ รียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี การกำหนดจุดประสงค์ของการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การบูรณาการเนื้อหาในกลุ่มสาระการ เรียนรู้ฯ การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงและเทคนิควิทยาการจัดการเรียนรู้ การจัดทำแผนการเรียนรู้ระดับต่าง ๆ การนำเทคโนโลยีมาใช้เป็นสื่อการจัดการ เรียนรู้ ทั้งนี้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพของ แตล่ ะคน และสามารถนำสงิ่ ทไ่ี ด้เรยี นรูไ้ ปใชใ้ นชีวิตจริงได้ Page | 66
ค่าน้ำหนักองคป์ ระกอบในรูปคะแนนมาตรฐานน้อยท่ีสุดในผลงานวิจัยท่พี บ ของ รัชนีกร หงส์พนัส (2563) ประกอบด้วยคุณลักษณะครูประวัติศาสตร์ด้านการ ดูแลและเอาใจใส่ซึ่งมีคำนิยามไว้ว่า “มีความเข้าใจ ความรักต่อนักเรียน มีความ ภาคภูมิใจในชาติ ไม่บิดเบือนความจริงตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ได้พิสูจน์ แล้ว” ทั้งนีค้ ล้ายคลึงกับการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ในประเทศมาเลซยี Talin (2014) ได้ระบุใน The teaching of History In Secondary School ว่าในการสอนเรื่อง ค่านยิ มความรกั ชาตจิ ะไม่ถูกละเลย สำหรับสถานศึกษาครตู ้องหาวิธีปลูกฝังค่านิยม ในบทเรยี นโดยหวงั ว่าจะสามารถเพม่ิ ประสิทธภิ าพในการสอนของครไู ดเ้ ช่นกนั และ ด้านการใช้เทคโนโลยีที่ระบุคำนิยามว่า “มีความสามารถเลอื กใช้สื่อเทคโนโลยแี ละ ใช้ได้หลากหลายในการสบื คน้ ข้อมลู รวบรวมข้อมลู นำเสนอขอ้ มูลทางประวัติศาสตร์ อย่างมีประสิทธิภาพและให้เกิดประสิทธิผลแก่นักเรียน อีกทั้งสร้างนวัตกรรมการ จัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์อย่างชาญฉลาด คุณลักษณะครูประวัติศาสตร์ 2 คุณลักษณะนสี้ ะทอ้ นภาพการเรียนร้แู บบเดิม ๆ ทคี่ รูทีใ่ ชก้ ารบรรยายเป็นหลัก หรือ การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ไม่ใช่แค่ผ่านหนังสือแบบเรียนซึ่งมีอยู่น้อยมาก ตรงกับ นักวิชาการหลายท่านอาทิ และทิชานนท์ ชุมแวงวาปี (2555) (ศิริวรรณ สุโขทัย, 2558 ; ยุวดี ชมชน่ื ,2561) อ้างในรัชนกี ร หงสพ์ นสั , 2563) ที่ว่า การเรยี นการสอน ประวตั ศิ าสตร์ของครใู นอดตี ว่ามคี วามนา่ เบ่ือและประวตั ิศาสตร์ถูกมองวา่ เป็นยาขม ของผู้เรียน ผู้เรียนจะเบื่อหน่ายต่อการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ แท้จริงแล้ว เนื้อหาวชิ าประวัตไิ มไ่ ดน้ ่าเบ่ือแม้แตน่ อ้ ย แต่ตัวแปรสำคัญที่ทำให้การเรยี นการสอน วิชาประวัติศาสตร์ นั้นน่าเบื่อคือ ครู นั่นเอง ซึ่งครูสังคมศึกษาที่จัดการเรียนรู้วิชา ประวัติศาสตร์แบบครูเป็นศูนย์กลางและเน้นความรู้ความจำ จึงทำให้เสียอรรถรส ของการเรียนรู้ประวัติศาสตรโ์ ดยสิ้นเชิง ซึ่งทำให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกด้านเจตคติที่ ไม่ดีต่อการเรยี นรู้ประวัติศาสตร์และไม่อยากรับรู้ประวัติศาสตรซ์ ึ่งจะเป็นผลเสียต่อ สังคมและประเทศชาติ อีกทั้งตา่ งประเทศพบปัญหาด้านสื่อการจัดการเรียนรูท้ ่เี ปน็ เทคโนโลยีตามท่ี Cobbold & Adabo's (2010) ระบวุ ่าการจดั การเรียนรปู้ ระวัติศาสตร์ มกั ถกู ท้าทายดว้ ยความทา้ ทายมากมายเช่น การขาดแคลนและการใชท้ รพั ยากรการ เรียนการสอนไมเ่ พียงพอเป็นปญั หาสำคญั ผลที่ได้คือ ครสู ว่ นใหญใ่ ช้วิธีการสอนท่ีไม่ Page | 67
เหมาะสมเชน่ การบรรยายและการอ่านในช้นั เรยี นเพ่ือถา่ ยทอดข้อมูลโดยไม่ต้องให้ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญ คำสอน เหล่านก้ี ารปฏิบัติทจี่ ำกดั การมีส่วนรว่ มของผเู้ รียนในชัน้ เรยี นและความเขา้ ใจในสง่ิ ท่ี ครูสอน ทำให้ประวัติศาสตร์เป็นเรื่องที่น่าเบื่อและเป็นนามธรรมและไม่น่าสนใจ สำหรับผู้เรียน ถึงเวลาแล้วหรือยังที่ครูสังคมศึกษาที่จัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์เรียก ความมนั่ ใจกลบั มา ท้งั นี้คุณลักษณะดา้ นความมั่นใจเป็นคุณลักษณะครูประวัติศาสตร์ ในศตวรรษที่ 21 มีความเชื่อมั่นในตนเอง วางตัวเป็นที่เชื่อถือ คิดอยู่เสมอว่ายังมี เรื่องราวทางประวัติศาสตร์ที่ตนเองยังไม่รู้อีกมาก รู้จักปรับตัวและมีความยืดหยุ่น ต้องรู้จักใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์อย่างกว้างขวาง ครูสังคมศึกษาที่จัดการ เรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ต้องช่วยกันให้เกิดพลังเพียงพอที่จะกล้าพลิกบทบาท ตนเองให้ทดลองสอนด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ (Historical method) ซึ่งถือ ว่าสอดคล้องกับการเรียนรู้ของคนในศตวรรษที่ 21 ที่มุ่งให้ผู้เรียนใช้ทักษะ ความสามารถในการคดิ การแก้ปญั หา การติดต่อสือ่ สาร รสู้ ารสนเทศ มีการร่วมมือ ปรับตัว ยดื หยนุ่ มที ักษะทางสงั คม ข้ามวัฒนธรรม ส่กู ระบวนการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ อย่างมีชีวิตชีวาด้วยทักษะการเรียนรู้ที่คล่องแคล่ว สามารถสืบค้น ค้นคว้าอย่างมี วิจารณญาณ เคารพในเหตุผล หลักฐานอ้างอิง เห็นประโยชน์ของการศึกษาอดีต เพื่อเข้าใจปัจจุบันเห็นความเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยในบริบทเวลาที่ต่างกัน ได้ เรียนรู้รากเหง้าที่แท้จริงของคนไทย ความเพียรพยายามของบรรพบุรุษไทยใน การรวมผคู้ น รวมรฐั ให้เปน็ อนั หนึ่งอนั เดียวกนั ทงั้ โดยสันติวิธีและวธิ กี ารทำสงคราม ต่อสู้ซงึ่ แลกมาดว้ ยชีวิตเลอื ดเน้ือของผ้คู นจำนวนมาก ซง่ึ น่ันเทา่ กับครูผูส้ อนได้สร้าง ระบบการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเป็นนักอ่านนักค้นคว้า นักคิด สู่การเป็นปัญญาชนของ สังคม พร้อมกับซึมซับความรสู้ ึกรกั แผ่นดนิ ถน่ิ เกดิ และภาคภมู ใิ จในความเป็นไทยถึง เวลาแล้วที่ครูสังคมศึกษาที่สอนวิชาประวัติศาสตร์ต้องใช้บทเรียนในอดีต พัฒนา ตนเองสู่โลกอนาคต โดย X- RAY กระบวนการสร้างภมู ปิ ญั ญาการเรียนรดู้ ้วยวธิ ีการ ทางประวัติศาสตร์ (Historical method) พลิกวิธีสอนจาก “ ใครทำอะไร ที่ไหน เมอ่ื ไหร”่ เปน็ “ทำไมถงึ เกิด ทำไมถึงเปลย่ี น ทำไมถึงเป็น เกิดขึน้ ไดอ้ ย่างไรเปลยี่ นแปลง Page | 68
อย่างไร มีผลต่ออะไร อย่างไรบ้าง” โดยลดเวลาบรรยาย และเพิ่มเวลาทำกิจกรรมที่มี ความหมาย เปน็ ครูสอนประวตั ศิ าสตร์ทส่ี ังคมคาดหวงั (สมาน เขยี วเขว้า, 2013) สรุปท้ายบท องค์ความร้ใู หมท่ ีไ่ ด้จากการวจิ ยั เร่อื งการพัฒนาตัวช้วี ดั และเกณฑ์คุณลักษณะ ครูประวตั ิศาสตร์ในศตวรรษท่ี 21 ท่ีพบในการวจิ ัยเร่อื ง การพฒั นาตัวชวี้ ัดและเกณฑ์ ครูประวัติศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย 7 คุณลักษณะ ได้แก่ ความอยากรู้ อยากเห็น (Curiosity) เนื้อหา (Content) การสื่อสาร (Communication) ความ มั่นใจ (Confidence) การจัดการชั้นเรียน (Classroom management) การดูแล และเอาใจใส่ (Caring) และการใชเ้ ทคโนโลยี (Technology) จะเป็นแนวทางสำคัญ เป็นฐานข้อมูลและเป็นกำลังใจในการพัฒนา คุณลักษณะครูสังคมศึกษาท่ีจัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ในอนาคต ตัวชี้วดั และ เกณฑ์คุณลักษณะที่เด่นของครูสังคมศึกษาที่จัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์คือ “คุณลักษณะด้านความอยากรู้ อยากเห็น (Curiousity)” และการปรับปรุง คณุ ลกั ษณะท่ีไดค้ า่ องค์ประกอบในรปู แบบมาตรฐานคา่ คะแนนน้อยโดยเฉพาะอย่าง ยิ่ง “คุณลักษณะการใช้เทคโนโลยี (Technology)” เพื่อครูสังคมศึกษาที่จัดการ เรยี นรวู้ ิชาประวัตศิ าสตร์ทพ่ี ัฒนาตนเองให้มคี ณุ ลักษณะทเ่ี ปน็ ผู้อำนวยความสะดวก ในการจัดการเรียนรู้วชิ าประวตั ศิ าสตร์ต่อไป จากกรอบแนวคิด แนวทางการศึกษา การพัฒนาตัวชี้วดั และเกณฑ์คุณลกั ษณะ ครูประวตั ศิ าสตร์ในศตวรรษท่ี 21 สกู่ ารปรับกระบวนทัศน์เกา่ ซ่ึงต้องได้รับการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงตามกาลเวลาให้เหมาะสมกับแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ระบุไว้ในวัตถุประสงค์ว่า เพื่อผลิตและพัฒนาครูผู้สอนในทุกระดับ ทุกประเภท การศึกษาให้เป็นครูที่มีคุณธรรม มีจิตวิญญาณความเป็นครู มีสมรรถนะสูง สอดคล้อง กับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และยุทธศาสตร์ระยะเวลา 20 ปี และยุทธศาสตร์ ประเทศไทย 4.0 (สำนกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2560) Page | 69
บทที่ 3 กระบวนทัศน์สร้างนวัตกรการจดั การเรียนรู้ประวัติศาสตรใ์ นยุคดิจทิ ัล จากบทที่ 2 ผลการวิจัยของรัชนีกร หงส์พนัส (2563) เรื่องการพัฒนาตัวชี้วัด และเกณฑ์คุณลักษณะครูประวัติศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 ได้องค์ความรู้ใหม่ที่ว่า ครปู ระวตั ศิ าสตร์มีคณุ ลักษณะด้านการใช้เทคโนโลยีที่ระบุคำนิยามว่า “มีความสามารถ เลือกใช้สือ่ เทคโนโลยีและใช้ได้หลากหลายในการสืบคน้ ข้อมูล รวบรวมขอ้ มลู นำเสนอ ขอ้ มูลทางประวัติศาสตร์อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและให้เกดิ ประสทิ ธิผลแกน่ กั เรียน อีกทั้ง สร้างนวัตกรรมทางประวัติศาสตร์อย่างชาญฉลาด” เป็นตัวชี้วัดและเกณฑ์ในลำดับ สดุ ทา้ ยของคุณลกั ษณะครปู ระวัติศาสตร์ในศตวรรษท่ี 21 ในขณะที่การใช้เทคโนโลยีมี ความสำคัญมากกับยุคดิจิทัลนี้ ผู้เขียนนำเสนอเป็น 2 ส่วน ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 แนวคิด ทฤษฎพี น้ื ฐานในการสร้างนวัตกรเชิงปรัชญาประวัติศาสตร์ และสว่ นท่ี 2 การ เปลี่ยนกระบวนทศั น์เก่าท่ีใช้ในการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตรม์ าผสมผสานกระบวน ทัศน์ใหม่ทางดา้ นเทคโนโลยีในการเรียนรู้ประวัติศาสตร์เพื่อสรรคส์ ร้างองค์ความรู้ใหม่ และสร้างนวัตกรการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ประวตั ศิ าสตร์ด้วยนวัตกรรมการเรียนร้ปู ระวัตศิ าสตร์ดว้ ยกรอบแนวคิด Technological Pedagogical Knowledge (TPACK ) วัตถุประสงค์ในบทนี้เพื่อให้เห็นที่มาของ กระบวนทัศน์ในการสร้างนวัตกรการจดั การเรียนรู้ประวตั ศิ าสตร์ในยคุ ดิจทิ ัล บทนา โลกที่เปลี่ยนแปลงในสังคม ในยุคของโลกาภิวัตน์การเปลี่ยนแปลงของใน สังคมที่ก้าวเข้าสู่สังคมแห่งยุคโลกาภิวัตน์ หรือยุคเทคโนโลยีขั้นสูง ( Hi – Tech ) ดังนั้น จึงทำให้บทบาทของครูในยุคปัจจุบันต้องเปลี่ยนไปตามสถานการณ์ เพื่อให้ ตอบสนองกับสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ เมื่อบทบาทของความในการเป็นครูต้อง Page | 70
เปลีย่ นไป ทำใหก้ ารเรยี นการสอนต้องเปลีย่ นไปด้วยอีกเชน่ เดยี วกนั อาจกล่าวได้ว่า ครูทุกคนคงต้องมีปฏิสัมพันธ์ ( Interaction ) ทั้งทางตรงและทางอ้อมกับความรู้ ใหม่ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีทางการศึกษาในหลากหลายรูปแบบ ทั้งประเภทวัสดุ อุปกรณ์ หรือเทคนิควิธีการต่าง ๆ ดังนั้นบุคลากรหรือครูต้องเป็นผู้ที่มีศักยภาพ พื้นฐานต่อการปรับใช้เทคโนโลยีทางการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยยึดหลัก ดังนี้ (Bitter and Yohe, 1989) ครูจะต้องมีความเชี่ยวชาญและชำนาญที่เกี่ยวกับ เทคโนโลยี เพื่อครูจะสามารถนำวิทยาการด้านเทคโนโลยีต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ใน เทคโนโลยีทางการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพที่สูงสุด ....ครูจะต้องมีความคิดทาง การศึกษากว้างไกล และมีวิสัยทัศน์ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการสอน นวัตกรรมทางเทคโนโลยีของการศึกษา รวมไปถึงการบริหารจัดการด้านคุณภาพ การศึกษา และพัฒนาการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อก้าวทันเทคโนโลยีท่ี ก้าวขึ้นไปแบบไม่มีวันจบสิ้น.....ครูต้องมีความรู้ความสามารถในการเป็น นักออกแบบกล่าวคือ เป็นนักออกแบบการเรียนการสอนให้ก้าวทันเทคโนโลยีอยู่ เสมอ เพอื่ พัฒนาการเรียนการสอนในรปู แบบใหม่ทมี่ ีประสทิ ธิภาพในการสอนอย่าง สูงสุด โลกแห่งการเรียนรู้ได้พัฒนาไปอย่างมากจากการที่มีระบบอินเตอร์เน็ตและ การพัฒนาของเทคโนโลยีดิจิทัล ซึ่งระบบเครือข่ายความรู้ออนไลน์มกี ารขับเคลือ่ น อย่างเห็นได้ชัด ระบบอินเตอร์เน็ตจะมีบทบาทมากขึ้นจะช่วยให้คนที่อยู่ในพื้นที่ หา่ งไกลความเจรญิ สามารถเข้าถงึ ความร้ไู ด้ ในขณะท่กี ารเรยี นรใู้ นพื้นทท่ี ่ีได้ปฏบิ ตั ิ จริงซึ่งยังเป็นส่วนสำคัญที่ช่วยพัฒนาเสริมทักษะด้านต่าง ๆ ในหลากหลายมิติ รปู แบบการเรยี นรู้ใหม่ ๆ ในยคุ ดิจิทลั ขอ้ มลู องค์ความรตู้ ่าง ๆ ในปจั จบุ นั ไมไ่ ดห้ าได้ เพียงในห้องเรียนอย่างเดียว รูปแบบการเรียนรูแ้ ละช่องทางใหม่ ๆ ได้ถูกพัฒนาขึ้น อย่างมากมาย ไมว่ ่าจะเป็นจากภาครฐั หรือภาคเอกชนหรอื แม้กระท่ังบุคคลทั่วไปท่ีมี การแชร์ข้อมูลองคค์ วามรู้ นำองค์ความรู้ของตนเองมาสร้างรายได้ เกิดคอร์สเรียนรู้ ทางช่องทางออนไลน์และออฟไลน์ในรูปแบบตามแต่ที่คนสนใจเฉพาะด้าน (Customized) ซึ่งทำให้ผูเ้ รียนสามารถเข้าถึงองค์ความรูไ้ ด้งา่ ยขึ้น พัฒนาทกั ษะได้ ตรงตามที่ตนเองสนใจเช่น ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี เนื่องด้วยใน Page | 71
ปัจจุบันมีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางสื่อและเทคโนโลยีมากมาย ผู้เรียนจึง ต้องมีความสามารถในการแสดงทักษะการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณและปฏบิ ัติงานได้ หลากหลาย โดยอาศัยความรู้ในหลายด้านดังนี้ ความรู้ด้านสารสนเทศ ความรู้ เกี่ยวกับส่อื ความรดู้ ้านเทคโนโลยี ยกตัวอย่างภาคเอกชนเปดิ หลักสตู รเองเพื่อตอบ โจทย์ตามความตอ้ งการขององคก์ ร องคก์ รต่าง ๆ รวมถึงสถาบนั การศกึ ษาทงั้ ในไทย และต่างประเทศเริ่มหันมาทำแพลตฟอร์มหรือหลักสูตรการเรียนรู้ของตนเองหรือ แบง่ ปนั ข้อมลู องค์ความรู้ของตนเองผา่ นทางช่องทางออนไลน์ทางแพลตฟอรม์ ต่าง ๆ มากขึ้นตัวอย่างเช่น แพลตฟอร์มการเรียนรู้ที่เรียกว่า MOOCs ที่เปิดให้คนทั่วไป สามารถเรียนได้จากที่ไหนก็ได้ในโลก นอกจากนี้สื่อสังคมออนไลน์และสื่อเพื่อการ เรยี นร้เู กิดขึน้ มากมายให้คนได้ศกึ ษาคน้ คว้าตามเน้ือหาทต่ี นสนใจ ไมว่ า่ จะเป็นเรื่อง ความรู้รอบตัว ทักษะเฉพาะด้าน ไลฟ์สไตล์ วิชาและทฤษฎีความรู้ด้านต่าง ๆ ทาง ช่องทาง อาทิ เฟซบุ๊ก ยูทูบ Google+ Instagram podcast เป็นต้น สำหรับ แอปพลิเคชันกย็ ังคงมีหลากหลายทีช่ ว่ ยส่งเสรมิ การเรียนรูม้ ากมาย ไม่ว่าจะสำหรบั ครู นักเรียน ผู้ที่สนใจเรียนรู้เรื่องต่าง ๆ ทั่วไป อาทิ แอปพลิเคชันช่วยครูจัดระบบ การเรียนการสอน แอปพลิเคชันนำเสนอองค์ความรู้ด้านต่าง ๆ แอปพลิเคชันที่ใช้ เทคโนโลยี AR เข้ามาชว่ ยส่งเสรมิ การเรียนรู้ เป็นต้น นวัตกรรมเทคโนโลยที ่ีเกดิ ขน้ึ ในปัจจุบันได้มีการพัฒนาไปอย่างมาก มีการนำไปปรับประยุกต์ใช้ในวงการต่าง ๆ รวมทั้งในเรื่องของการเรียนรู้และมิติรอบข้าง ไม่ว่าจะเป็น 5G VR AR IOTs แอป พลิเคชันตา่ ง ๆ หรือ AI ซง่ึ สง่ ผลตอ่ การเรียนรู้และการนำไปประยุกตใ์ ช้ทัง้ ตอ่ ผู้เรยี น ผสู้ อน ผปู้ ระกอบการรวมถึงคนท่ัวไปด้วยลองมาดูกันว่าการเรียนร้ใู นยคุ ดจิ ิทัลมกี าร เปลี่ยนแปลงที่น่าสนใจที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ VR เป็นรูปแบบหนึ่งที่ถูกนำมาใช้ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กโดยใช้แว่นตาดูฉากจำลองโลกเสมือนจริงซึ่งถูก นำมาใช้ในการเรียนรู้ทั้งด้านประวัติศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ ชีววิทยาฯ (Office of Knowledge Management and Development, 2020) Page | 72
พื้นที่ในการเรียนรู้ประวัติศาสตร์จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งในการช่วย สนับสนุนการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ และช่วยสร้างความเป็นนวัตกรของผู้สอน เพราะการจัดการเรียนรู้เรื่องราวทางประวัติศาสตร์ ซึ่งจะช่วยกระตุ้นให้เกิดการ เรียนรู้ควบคู่ไปกับเครื่องมือและเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่พร้อมให้สร้างสิ่งประดิษฐ์ นำไปสู่การพัฒนาและสร้างนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์และใช้งานได้จรงิ ที่สำคัญคือ พื้นที่การสร้างนวัตกรเป็นสิ่งที่เป็นมากกว่าสถานที่ มากกว่าห้องปฏิบัติการหรือ ห้องทดลอง สถานทีใ่ นการสร้างแนวความคิดที่สามารถแลกเปลี่ยนเรยี นร้กู บั ชุมชน การเรียนรู้ ความเป็นนวัตกรการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์สามารถพัฒนาการ เรียนรู้ประวัติศาสตร์ของผู้เรียนจากผู้บริโภค หรือผู้ใช้งานนวัตกรรมต่าง ๆ ให้ กลายเป็นผูส้ ร้างสรรค์นวัตกรรมสิ่งใหม่ขึ้นมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงการระบาด ของเชื้อไวรัสโควิด 19 ที่ทำให้การจัดรูปแบบการเรียนการสอนเปลี่ยนไป การ คาดการณ์ตา่ ง ๆ เพียงเพ่อื ใหอ้ ุดรอยรั่วกับการเปลย่ี นแปลงการศึกษา การศึกษาจะ คงอยู่ได้และมีประสิทธิภาพขึ้นอยู่กับการปรับตัว ทักษะ รวมถึงการคิดค้น พัฒนาการเรียนรู้สิ่งใหม่ โควิด-19 อาจจะไม่โหดร้ายต่อการศึกษาเสมอไป แต่เปน็ การเตือนให้เราเกิดการตั้งรับ ตื่นตัว สร้างสรรค์นวัตกรรม เทคโนโลยี ยืดหยุ่นกับ ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม หรือโรคระบาดที่จะเกิดขึ้นทำให้เกิดการสมดุล กับการ จัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ที่ต้องอาศัยวิธีการทางประวัติศาสตร์ในการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ แต่ในช่วงวิกฤตโควิด 19 ดังกล่าว ผู้สอนและผู้เรียนจำเป็นต้องการ ตัวช่วยให้เกิดการเรียนรูป้ ระวัตศิ าสตร์มากที่สุด ในขณะที่ทุกคนถูกจำกัดพื้นทีก่ าร เรียนรู้ ความเป็นนวัตกรการจดั การเรียนรู้ประวตั ิศาสตร์จะเกิดข้ึนได้ต้องอาศัยการ เรียนรู้ประวัติศาสตร์ผ่านวิธีการทางประวัติศาสตร์และสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ประวัตศิ าสตร์เพื่อค้นพบองคค์ วามรู้ใหม่ทั้งครูสังคมศึกษาทีส่ อนวิชาประวัติศาสตร์ และผู้เรียนกับการปฏิบัติควบคู่กันภายใต้กฎแห่งธรรมชาติที่ผู้สอนและผู้เรียนไม่ สามารถล่วงรู้ได้ แต่ผู้สอนและผู้เรียนไม่ควรหยุดที่จะเรียนรู้ ถึงแม้ว่าจะมีการ เปลยี่ นแปลงใด ๆ ท่ีเกิดขน้ึ ในอนาคต Page | 73
แนวคดิ ทฤษฎพี ้ืนฐานในการสร้างนวตั กร เชิงปรชั ญาประวัติศาสตร์ แนวคดิ เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ (Historical idea) หรือปรัชญาประวัตศิ าสตร์ (Philosophical history) แนวคดิ เกย่ี วกบั ประวัติศาสตร์ (Historical idea) หรือปรชั ญาประวัติศาสตร์ (Philosophical history) คอื แนวคดิ ทก่ี ล่าวถงึ กฎเกณฑ์ ระเบยี บวิธกี ารศึกษาต่าง ๆ อันกล่าวถึงที่มา และความสำคัญของประวัติศาสตร์ วิธีการศึกษา และค้นหา แหล่งข้อมูล การพิจารณา และตีความหลักฐาน ตลอดจนสังเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับ ประมวลผลออกมาเป็นรูปแบบของแนวความคิด ถึงวิธีการที่มีประสิทธิภาพใน กระบวนการการศึกษา เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนากระบวนการศึกษาทาง ประวัติศาสตร์เพิ่มความน่าเชื่อถือให้กับการเรียนรู้ รวมไปถึงอาจจะช่วยเพิ่ม คุณภาพของผลงานการศึกษาอีกด้วย โดยแนวคิดดังกล่าว อาจได้รับมาจาก ประสบการณ์ตรงของนักประวัติศาสตร์ ความรอบรใู้ นการศึกษาเพม่ิ เตมิ ท้งั ในอดีต และในปัจจุบัน สำหรับแนวคิดเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ มีวิวัฒนาการตามยุคสมัยของ การศึกษา โดย เฉลิม นิติเขตต์ปรีชา (2559) ได้แบ่งแนวคิดทางประวัติศาสตร์ ออกเป็น 4 กลุ่มแนวคดิ ดงั น้ี 1.) แนวคดิ ประวัติศาสตรใ์ นแบบกรกี แนวคิดประวัติศาสตร์แบบกรกี นี้ เป็นแนวคิดที่นักประวัติศาสตร์มีความเชื่อ ว่า ประวัติศาสตร์เปรียบเสมือนกลไกเครื่องยนต์ ตั้งอยู่บนพื้นฐานวัฏจักรแห่งการ เปลี่ยนแปลง โดยเปรียบเทียบประวัติศาสตร์ ว่าเป็นสิง่ ที่มีวิถีการดำเนินประดุจล้อ รถยนต์ที่หมุนวนรอบตัวเอง โดยนักประวัติศาสตร์ผู้มชี ื่อเสียงของยุค ที่เชื่อในกลุม่ แนวคดิ ดังกลา่ ว ได้แก่ Herodotus, Plato, Thucydides และ Polybius Page | 74
ปรากฏแนวทางเกย่ี วกบั การศึกษาทางดา้ นประวตั ิศาสตร์ทไี่ ด้มีการกลา่ วถึงเกี่ยวกับ แนวคดิ แบบกรีกไว้ ดงั น้ี Thucydides ผู้เขียนประวัตศิ าสตร์เร่ือง “Peloponnesian War” อันเปน็ สงคราม ระหว่างจักรวรรดิเอเธนส์ และกลุ่มสปาร์ตา โดยหลักฐานข้อมูลเกี่ยวกับ ประวัติชีวิตของ Thucydides นั้นไม่ปรากฏมากเท่าใดนัก จากหลักฐาน ทั่วไป บอกเพียงว่า Thucydides เป็นขุนนางในกลุ่มชนชั้นสูงชาวเอเธนส์ และมีหน้าที่ควบคุมกองเรือเอเจียนในช่วงสงครามดังกล่าว แต่เกิดเหตุบาง ประการ ทำให้เขาบกพร่องในหน้าที่ และถูกตัดสินเนรเทศ ทำให้ Thucydides ได้มีโอกาสได้ทบทวนตนเอง และเริ่มลงมือเขียนเรื่องราว ประวัติศาสตร์เก่ยี วกับสงครามครง้ั น้ีขน้ึ มา (ศลิ ปวฒั นธรรม, 2563) หลังจาก ที่เรื่องราวมหาสงครามระหว่างจักรวรรดิเอเธนส์ และกลุ่มสปาร์ตาได้ถูก ถ่ายทอดจากบุคคลที่อยู่ร่วมเหตุการณ์จริงอย่าง Thucydides แล้ว เขาได้มี การรวบรวมขอ้ มลู แนวทางการเขียนประวัตศิ าสตร์ และกล่นั กรองออกมาใน รูปแบบของข้อปฏิบัติ ทั้งนี้ นอกจากเขาจะใช้ข้อปฏิบัตินี้สำหรับการศึกษา ของตนเองแล้ว เขายังใช้เป็นข้อเสนอแนะในการสร้างงานประวตั ศิ าสตร์ของ นักประวัตศิ าสตร์อืน่ ๆ อีกดว้ ย Page | 75
Polybius ได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาประวัติศาสตร์ไว้ว่า การศึกษา ประวัติศาสตร์นั้น ไม่ใช่ศึกษาเพียงเพื่อต้องการทราบที่มาที่ไป และเปิดเผย เรื่องราวในอดีตเท่านั้น หากแต่ศึกษาเพื่อทที่จะเรียนรู้เรื่องราวในอดีตที่เคย เกิดขึ้น และนำเอาประโยชน์ท่ีได้รบั จากการศึกษา นำมาใช้ในชวี ิตประจำวนั ดงั น้นั ประวตั ศิ าสตร์จงึ ไมใ่ ชเ่ พยี งตำราเล่มใหญท่ ่ีผู้อ่านจะไม่ได้ประโยชน์อัน ใด แต่ประวตั ิศาสตรจ์ ะเป็นตำราการศึกษาที่ช่วยบม่ เพาะ และฝึกทกั ษะการ กลั่นกรองข้อมูลความคิดอ่านที่จำเป็นจากบุคคลในอดีต เพื่อใช้ในการวาง แนวทางการปฏิบตั งิ านสำหรบั แผนงานปจั จบุ นั Herodotus นักประวตั ิศาสตร์ชาวกรีกซง่ึ เป็นบันทกึ เร่ืองราวสงครามเปอร์เซีย เป็นผู้ เริ่มต้นการเขียนประวัติศาสตร์นิพนธ์ตะวันตก เดิมทีอาศัยอยู่ที่กรุงเอเธนส์ ต่อมาจึงได้เดินทางไปยัง Thurii, Sicily, Babylon, Susa, Bizantine และ สิ้นสุดที่ Macedonia โดย Herodotus ได้เดินทางทั้งทางบก และทางน้ำ เป็น ระยะเวลายาวนานหลายปี เพื่อรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้พบเห็น และได้นำมา เผยแพร่ ทำให้ Herodotus ได้รับการขนานนามว่า บิดาแห่งประวัติศาสตร์ (Mora, 2007) โดยผลงานทางด้านประวัติศาสตร์ มรดกทางด้านความคิดใน แขนงอนื่ ๆ ท่สี ำคญั ท่ี Herodotus บันทึกน้ัน มีการรวบรวมไว้ถงึ 9 เล่ม ได้แก่ Cilo, Euterpe, Thaleia, Melpomene, Terpsichore, Erato, Polymnia, Urania, และ Calliope (Heredotus, 2013) Page | 76
จากงานเขียนท้ังหมดของ Herodotus สามารถสรุปแนวความคดิ ของเขาได้ ว่า ประวัติศาสตร์นิพนธ์ ควรเป็นวรรคดีที่ดี แต่วรรณคดีนั้นก็ควรที่จะเป็น ประวตั ศิ าสตร์ทด่ี ดี ้วยกล่าวคือ การจะเป็นผเู้ ขียนประวัติศาสตร์ ส่ิงแรกที่ต้องคำนึง คือ การรวบรวม และค้นคว้าข้อมูลให้ถ่องแท้ก่อนจะเริ่มตน้ ลงมือสร้างงานช้นิ หนึ่ง ทั้งนี้ นอกเหนือจากการเขียนประวัติศาสตร์ที่ถูกต้องแล้ว งานนิพนธ์ทางด้าน ประวัติศาสตร์ควรที่จะมีคุณค่าทางวรรณศิลป์ ใช้ภาษาที่ไพเราะในการเรียบเรียง และเหมาะแก่การให้ประชาชนทั่วไปได้รับรดู้ ว้ ย 2.) แนวคิดประวตั ศิ าสตร์ในแบบศาสนา แนวคิดประวัติศาสตร์แบบศาสนานี้ เกิดขึ้นจากกลุ่มนักบวชในศาสนาครสิ ต์ และจากจำนวนนักประวัติศาสตร์ที่เชื่อในแนวคิดนี้เกือบทั้งหมด ล้วนเป็นนักบวช และบาทหลวงในศาสนาคริสต์เชน่ กัน พวกเขาศึกษาประวัตศิ าสตร์บนพ้ืนฐานความ เชื่อเกี่ยวกับพระผู้เป็นเจ้า โดยแบ่งจุดมุง่ หมายในการศึกษาประวัติศาสตร์ออกเป็น 2 ประการ คือ การใช้อิทธิพลของศาสนาและความเชื่อเกี่ยวกับพระผู้เป็นเจ้าเป็น แนวทางในการย้อนมองประวัติศาสตร์ และการศึกษาประวัติศาสตร์ในฐานะ เครื่องมือที่ช่วยให้เข้าใจเจตจำนงของพระผู้เป็นเจ้า อาจกล่าวได้ว่า นักบวชใน ศาสนาคริสต์ ได้รับแรงบันดาลใจในการศึกษา และเกิดความสำนึกในด้าน ประวัติศาสตร์ ทั้งในแง่ของวิถีชีวิต และความเป็นมาของศาสนา จากแนวทางการ ปฏิบัติตนตามหลักศาสนา อาศัยความศักดิ์สิทธิ์ของพระผู้เป็นเจ้าตามความเช่ือ หล่อหลอมวิถีชีวติ ของผู้คนสว่ นใหญใ่ นสังคมใหอ้ ย่ใู นทำนองเดียวกนั และเมื่อผ้คู นมี ความเชื่อในรูปแบบเดียวกันแลว้ นักประวัติศาสตร์ หรอื ผู้คนทีม่ คี วามสนใจเรือ่ งราว ทางประวัติศาสตร์ จะสามารถใช้วิถีดังกล่าวเป็นแนวทางในการศึกษาเรื่องราวต่าง ๆ ได้ โดยนักประวัติศาสตร์ผู้มีชื่อเสียงที่เชื่อในกลุ่มแนวคิดดังกล่าว ได้แก่ St. Augustine ปรากฏแนวทางเกี่ยวกับการศึกษาประวัติศาสตร์แบบศาสนา ดงั น้ี Page | 77
St. Augustine หรอื Aurelius Augustine บิชอปแห่ง Hippo Regius ผูเ้ สนอผลงาน ประวัติศาสตร์ชิ้นสำคัญที่ยึดแนวทางของศาสนาในการบันทึกอย่าง “The City of God” เรอ่ื งราวเกยี่ วกบั จกั รวรรดโิ รมนั ในยุคสมัยที่ยงั ไม่มีการ ปรากฏของศาสนาคริสต์ และถูกครอบงำด้วยศาสนา หรือความเชื่ออื่น St. Augustine มคี วามเชอื่ ว่า พระผ้เู ปน็ เจา้ และการสรรเสรญิ นมสั การพระองค์ มีสว่ นช่วยใหจ้ ักรวรรดโิ รมนั กลบั มาเจรญิ รงุ่ เรือง และเฟื่องฟูขึ้นอีกครั้งเพราะ ความเชือ่ ในองคพ์ ระผเู้ ปน็ เจ้า การเกดิ ขึ้นของศาสนาครสิ ตช์ ่วยกอบกู้กรุงโรม กลับมาจากความหายนะอีกครั้ง หลังจากเสื่อมโทรมไปเพราะมีการนับถือ ภูตผี และปีศาจ เขามคี วามเหน็ ว่า มีเพยี งพระผูเ้ ปน็ เจา้ พระองค์เดียวเท่านั้น ท่สี ามารถช่วยใหก้ รุงโรมรอดพ้นจากความช่วั รา้ ยท้งั ปวงได้ ทุกคนจึงควรที่จะ หันมาสรรเสริญพระเจ้า เพื่อที่จะได้รับพระพร คือ ชีวิตอันนิจนิรันดร์ (Augustin, 2014) จากผลงานดังกล่าว จะเห็นไดว้ ่า St. Augustine มีการบนั ทกึ ประวัติศาสตร์ ด้วยการใช้ศาสนาเป็นเครื่องมือ เขาไม่ได้ศึกษาเรื่องราวประวัติศาสตร์เพื่อการ เรียนรู้ที่มาของศาสนาที่เขานับถือเพียงอย่างเดียว หากแต่เขายังใช้บทเรียนใน ประวัตศิ าสตร์ เชื่อมโยงกับความเชือ่ พรอ้ มท้ังใช้ผลงานเหลา่ นเี้ ปน็ เคร่ืองมือในการ ชี้นำแนวทางการดำเนินชีวิตของผู้อื่น จากแนวคิด และผลงานที่ปรากฏ สามารถ สรุปไดว้ า่ แนวคิดแบบศาสนาของ St. Augustine เป็นแนวคดิ ที่เชือ่ ว่าประวตั ิศาสตร์ คือกระบวนการที่มีการเปลี่ยนแปลงในลักษณะของเส้นตรง (Linear procession) สอดคล้องกับแนวคิดประวัติศาสตร์ของ Arnold J. Toynbee กล่าวว่า “ประวัติศาสตร์ คือ ภาพของการที่พระผู้เป็นเจ้าสร้างโลก และมนุษย์ ภาพนี้จะ เคลื่อนไปเรื่อย ๆ จากจุดกำเนิดคือพระผู้เป็นเจ้า ไปสู่จุดหมายปลายทางคือพระผู้ Page | 78
เป็นเจ้า” (Toynbee, n.d. อ้างถึงใน เฉลิม นิติเขตต์ปรีชา, 2559) กล่าวคือ ประวตั ศิ าสตรเ์ รม่ิ ต้นเมื่อพระเจา้ สร้างโลก ดำเนินต่อไปโดยมีมนุษย์เป็นผู้ขับเคลื่อน โดยการปฏิบัติตามความประสงค์ของพระผู้เป็นเจ้า และสิ้นสุดลงเมื่อมนุษย์หมด หน้าที่บนโลก ประวัติศาสตร์ก็จะจบลง และกลับคืนสู่พระเจ้าในวันพิพากษา ตาม หลกั ศาสนาอกี คร้งั แนวคิดประวตั ศิ าสตร์แบบศาสนามอี ิทธพิ ลอยู่ในวงการการศึกษาประวัติศาสตร์ อยู่นานกว่า 1,000 ปี จนกระทั่งในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา (Renaissance) แนวคิดนี้จึงได้ คลายอิทธพิ ลลง และถกู ทา้ ทาย ตอ่ ต้านดว้ ยแนวคดิ ประวตั ศิ าสตรท์ ย่ี ดึ หลักเหตุผลและ ปรัชญาในเวลาต่อมา (Reason and Philosophy) 3) แนวคิดประวตั ศิ าสตรใ์ นหลกั เหตุผลและปรชั ญา แนวคดิ ประวตั ศิ าสตร์ในหลักเหตผุ ล และปรชั ญาน้ี เป็นแนวคิดประวัตศิ าสตร์ ที่แตกต่าง และขัดต่อแนวคิดประวัติศาสตร์แบบศาสนาโดยสิ้นเชิง ภายใต้การนำ ของ Voltaire และ Kant Voltaire หรือ François-Marie Arouet นักปรัชญาชาวฝรั่งเศสทีม่ ีบทบาท ในการขับเคลื่อน และเป็นแรงบันดาลใจให้เกิดการปฏิวัติฝรั่งเศส จากการสร้าง ผลงานเขยี นเสียดสีสังคม ตีแผ่สภาพความเปน็ อยู่ของประชาชน และความบิดเบี้ยว ที่เกิดมาจากระบอบศักดินาในยุคสมัยดังกล่าว อีกทั้งยังมีบทบาทในการโจมตีการ จัดตั้งศาสนจักรคาทอลิกในฝรั่งเศส ด้วยความคิดที่เช่ือว่า ศาสนาคริสต์มอมเมาให้ โลกหลงอยู่ในความเชื่ออันงมงาย เห็นได้ชัดจากแนวคิดการศึกษาประวัติศาสตร์ แบบศาสนา Voltaire มีความเชื่อว่าทุกคนมีเสรีภาพในการนับถือศาสนา ไม่ควรใช้ บทบัญญัติ หรือความเชื่อของศาสนาใดเพียงศาสนาหนึ่ง ในการกำหนดกรอบ ศีลธรรมของสังคม นอกจากจะไม่ทำให้โลกเกิดความสงบสุขแล้ว ยังเป็นชนวนใน การเกิดสงครามไดอ้ ีกด้วย (อนงค์นาฏ เมธาคุณวฒุ ิ, 2521) Voltaire จึงได้เสนอแนวทาง และข้อคิดเห็นเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ว่า ประวัติศาสตร์เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นด้วยตนเอง ไม่ได้มีพลังอำนาจลึกลับ มหัศจรรย์ใด ๆ มาควบคุม สอดคล้องกับแนวคิดของ Johan Gottfried Herder Page | 79
นกั ปรัชญาชาวเยอรมนั ท่ีไดส้ รา้ งผลงานอนั โดดเด่นไว้หลายแขนง ท้งั ในดา้ นปรชั ญา ประวัติศาสตร์ ภาษาศาสตร์ รัฐศาสตร์ และมานุษยวิทยา โดยเขาได้เสนอแนวคิด เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไว้ว่า ประวัติศาสตร์เป็นกระบวนการอิสระ ตามธรรมชาติ ของการกระทำท่เี กิดขนึ้ ตามสัญชาตญาณของมนษุ ย์ในแตล่ ะช่วงเวลา แต่ละสถานที่ ทุกสิ่งดำเนินดว้ ยตนเอง ปราศจากอำนาจของตำนาน ความเชื่อ หรอื สง่ิ ทม่ี องไม่เหน็ มาเกี่ยวข้อง นอกเหนือจาก Herder แล้ว ยังมีนักประวัติศาสตร์ร่วมสำนักคิด และ วงการการศึกษากับเขาอย่าง Georg Wilhelm Friedrich Hegel ได้แสดงทัศนะ เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไว้ว่า มนุษย์ไม่สามารถไปสู่อาณาจักรอันเป็นนิรันดร์ หรือ อาณาจักรอื่นใดที่ไม่สามารถพิสูจน์ด้วยหลักฐานทางประวัติศาสตร์ได้ จากแนวคิด ข้างต้น แสดงให้เห็นถึงความเชือ่ เรื่องของตรรกะ และความเป็นเหตุเปน็ ผล อันเปน็ พื้นฐานของนักประวัติศาสตร์กลุ่มนี้ สะท้อนผ่านแนวคิดที่ต่อต้านอำนาจศักดิ์สิทธิ์ ของศาสนจักรทคี่ รอบงำจติ ใจผู้คนมาเปน็ เวลานาน สามารถสรปุ ได้ว่า ใจความหลัก ของแนวประวัติศาสตร์ในหลักเหตุผล และปรัชญา คือเรื่องราวของชีวิตมนุษย์ นัก ปรชั ญาเชื่อว่ามนษุ ย์จะสามารถเข้าใจประวัตศิ าสตรไ์ ด้ เม่ือมนุษย์เข้าใจในเหตุ และ ผล ที่มาของเหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างถ่องแท้ ไม่ใช่ความเข้าใจท่ีเกิดจากการหลงเชอ่ื ในอำนาจศักดิ์สิทธิ์ ในที่สุดแล้ว ประวัติศาสตร์ในแนวคิดหลักเหตุผล และปรัชญา ได้มีส่วนสำคัญในการวางรากฐาน ระเบียบวิธใี นการศกึ ษาทางประวัติศาสตร์ สร้าง กฎเกณฑ์ในการค้นหาความจริงทางปรัชญา ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อมนุษยชาติโดย ส่วนรวม 4) แนวคิดประวตั ศิ าสตร์การคิดวิเคราะห์ (Historicism) แนวคิดประวัติศาสตร์การคิดวิเคราะห์นี้ เป็นอีกแนวคิดหนึ่งที่เกิดขึ้นเพ่ือ ต้องการต่อต้านแนวคิดแบบศาสนาเช่นเดียวกันกับแนวคิดประวัติศาสตร์ในหลัก เหตุผล และปรัชญา ดังนั้น Johan Gottfried Herder จึงเป็นนักประวัติศาสตร์คน สำคัญทีม่ บี ทบาทในแนวประวัตศิ าสตรก์ ารคดิ วเิ คราะหน์ ้ีด้วย Herder ได้เสนอแนวทางในการศึกษาประวตั ศิ าสตร์ภายใต้แนวคิดประวตั ิศาสตร์ การคิดวิเคราะห์ว่า หลักสำคัญในการศึกษาประวัติศาสตร์คือ ความเข้าถึงจิตใจ Page | 80
(Empathy) ของผู้อ่ืน นักประวตั ิศาสตรจ์ ะต้องไมศ่ ึกษาจากมุมมองของบุคคลภายนอก เพียงอย่างเดียว แต่พึงสรา้ งจิตใจให้มีความรูส้ กึ ประดจุ การมชี ีวิตร่วมสมัย และร่วม เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์นั้นให้ได้ อาศัยทักษะการสร้างจินตภาพในการสร้าง เหตกุ ารณส์ มมติ บุคลกิ สถานที่ และบรรยากาศเพอื่ สร้างความร้สู ึกร่วมในการสร้าง งานเขยี นประวัติศาสตร์ สอดคล้องกับท่ี Robin George Collingwood กล่าวว่า “นักประวัติศาสตร์จะต้องสร้างประสบการณ์แห่ง อดีตให้กลับเข้ามาเป็นความรู้สึกของปัจจุบัน จะต้องดึงแรงบันดาลใจจากในอดีต กลับมา รวมไปถึงความเข้าใจในเหตุการณ์ต่าง ๆ เหล่านั้น เพื่อที่จะสร้างชีวิตขึ้น ใหม่อีกครั้งหนึ่ง” (เฉลมิ นิตเิ ขตต์ปรชี า, 2559) นอกจากนี้ เฉลิม นิติเขตต์ปรีชา (2559) ได้มีการศึกษา และสังเกตวิธี การศึกษาประวัติศาสตร์ภายใต้แนวคิดการคิดวิเคราะห์ว่า เป็นการศึกษา ประวัติศาสตร์แบบที่ใช้ประสบการณ์ของผู้เขียนเป็นหลักคล้ายกับวิธีการสร้างงาน เขียนประวัติศาสตร์ในยุคของประวัตศิ าสตร์แบบกรีกเช่น การศึกษาประวัติศาสตร์ และการสร้างผลงานของ Thucydides, Polibius และ Herodotus แต่มีความ แตกต่างกันที่ประวัติศาสตร์ในแนวคิดการคิดวิเคราะห์ ไม่ได้บันทึกโดยใช้วิธีการ คาดคะเนเป็นหลักฐานอีกต่อไป แต่มีการนำหลักการทางวิทยาศาสตร์มาปรับใชใ้ น การพิสูจน์หลักฐาน ในระยะต่อมานักประวัติศาสตร์แนวคิดวิเคราะห์ได้ปรับ แนวทางการศึกษาจากการอาศัยหลกั วิทยาศาสตร์ในการดำเนนิ การศึกษาเปลีย่ นมา เป็นการใช้วิชาในสาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ในการศึกษาร่วมกับแนว ปรัชญาวิเคราะห์ของประวัติศาสตร์ ทำให้เกิดเป็นแนวทฤษฎีใหม่ ในการวิเคราะห์ พฤติกรรม และค้นหาปัจจัยที่ทำให้มนุษย์กระทำการใด ๆ ที่ส่งผลให้เกิดเป็น ประวัตศิ าสตร์ขน้ึ ตัง้ แต่ในอดตี จนถึงปจั จบุ ัน ดังนั้น จากการศึกษาข้อมูลแนวคิดหรือทฤษฎีปรัชญาประวัติศาสตร์ อาจ แบ่งแนวคิดดังกล่าวออกเป็น 2 แขนงใหญ่คือ แนวคิดประวัติศาสตร์ทฤษฎี (Speculative History) และแนวคดิ ประวตั ิศาสตร์วิเคราะห์ (Analytical History) Page | 81
1) ปรชั ญาประวตั ศิ าสตร์ทฤษฎี (Speculative History) ปรัชญาประวัติศาสตร์ทฤษฎี (Speculative History) คือ หลักปรัชญาที่มงุ่ ในการศึกษาความสำคัญของเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่มา ความหมาย รวมไปถึงลักษณะ ทั่ว ๆ ไปของกระบวนการในการศกึ ษาประวตั ิศาสตร์เหลา่ น้นั โดยปรชั ญาน้ี เร่ิมต้น ขึ้นเมื่อ St. Augustine แสดงทัศนะว่าพระเจ้า เป็นผู้บันดาลทุกอย่าง และเป็นผู้ เดียวที่กำหนดประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ (Divine providence) และมีลักษณะ เป็นสากล (Universal) ตามความคิดของ St. Augustine เป็นที่น่าแปลกใจที่ แนวคดิ นมี้ ีอทิ ธพิ ลในวงการการศึกษาทางด้านประวัติศาสตร์ถงึ 1,000 ปี ก่อนที่จะ ถูกโต้แย้งด้วยแนวคิดประวัติศาสตร์ทฤษฎีใหม่ ในช่วงศตวรรษที่ 19 เช่น ทฤษฎี แนวการคิดวิเคราะห์เชิงบวก (Positivism) อันเป็นแนวคิดที่นำเอาหลักการทาง วิทยาศาสตร์เข้ามาพิสูจน์ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ เพื่อให้ได้มาซึ่งหลักฐานเชิง ประจักษ์ และใช้หลักฐานดังกล่าวในการวิเคราะห์ที่มา ความสำคัญของเหตุการณ์ ทางประวัติศาสตร์ได้ และลัทธิแนวอุดมคติเยอรมัน (German Idealism) อันเป็น ลัทธิที่เกดิ ขึน้ มาเพื่อแยกการศึกษาประวัติศาสตร์ออกจากเทววิทยา ประกาศความ เป็นอิสระต่อความเชื่อ หรือลัทธิใด ๆ เน้นย้ำความเชื่อที่ว่า ประวัติศาสตร์ เกิด ข้นึ มาจากการกระทำ และผลงานตา่ ง ๆ ของมนุษย์ อยา่ งไรกด็ ี Vico นักปรัชญาผู้มี ชื่อเสียงในช่วงศตวรรษที่ 18 ได้แสดงทัศนะเกี่ยวกับวัฏจักรประวัติศาสตร์ไว้ใน ผลงานที่ชื่อว่า New Science (Science Nuova) โดยแบ่งวิวัฒนาการทางสังคม ออกเป็น 3 ยุคด้วยกันคือ ยุคเทววิทยา (The Age of Gods) ยุคมหาบุรุษ (The Age of Heroes) และยคุ มนุษยชาติ (The Age of Men) เป็นการอธบิ ายกระบวนการ สืบเนื่องกันของประวัติศาสตร์ที่อยู่ในรูปแบบของความเจริญ และความเสื่อม เม่ือ ยุคปัจจุบันเสื่อมถอยลง จะกำเนิดยุคใหม่ที่จะเจริญขึ้นในอนาคตอันใกล้ เข้ามา แทนที่ เป็นการดำเนินในทำนองเดียวกันกับแนวคิดประวัติศาสตร์อิงเทวนิยมของ St. Augustine และ แนวคิดประวัติศาสตร์ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้น นอกจากแนวคิดข้างต้นแล้ว ประวัติศาสตร์ทฤษฎียังมีอีกแนวคิดหนึ่งทีน่ ่าสนใจคือ แนวคิดประวตั ศิ าสตรแ์ บบมารก์ ซสิ ต์ Page | 82
Padmanabhan (2011) และ พรเพญ็ ฮนั่ ตระกลู (2529) ได้อธบิ ายแนวคิด ประวัติศาสตร์แบบมาร์กซิสต์ หรือ ปรัชญาแบบวัตถุนิยมไว้ว่า เป็นปรัชญาทาง ประวัติศาสตร์ที่มีต้นกำเนิดมาจากทฤษฎีของ Karl Marx โดยแนวคิดนี้เชื่อว่า ประวัติศาสตร์ไม่ใช่สิ่งที่เคลื่อนไหว และไม่ได้เป็นผู้ขับเคลื่อนสิ่งใด ๆ บนโลก หากแต่การขับเคลื่อน หรือทำกิจกรรมต่าง ๆ เกิดจากการกระทำของมนุษย์ ดังน้ัน ประวัติศาสตร์จึงไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มนุษย์เป็นผู้กำหนด และเป็น ผู้สร้างประวัติศาสตร์ของตัวเอง ทั้งนี้แม้มนุษย์จะเป็นผู้สร้างประวัติศาสตร์ได้ แต่ มนษุ ย์ก็ไม่มอี สิ ระการดำเนนิ การทุกอย่างตามอำเภอใจ แต่จะตอ้ งสร้างประวัติศาสตร์ ภายใต้ข้อจำกัดในด้านสภาวะแวดล้อม และกฎเกณฑ์ทางสังคม ที่หล่อหลอมให้ มนุษยอ์ ยรู่ ่วมกนั ในสังคมอยา่ งมขี อบเขต 2) ปรชั ญาประวัตศิ าสตรว์ ิเคราะห์ (Analytical History) ปรัชญาประวตั ิศาสตร์วิเคราะห์ (Analytical History) คือ หลักปรัชญาที่มุ่ง วิเคราะห์การเขียนผลงานประวัติศาสตร์ของนักประวัติศาสตร์ ในด้านเหตุผล ทัศนคติ รวมไปถึงความรู้ท่ีผู้เขียนไดส้ ัง่ สมไว้ โดยหลกั ปรัชญาน้ี มีร่องรอย และเรม่ิ วิวัฒนาการอย่างแท้จริงเพียงประมาณ 100 ปีเศษ หรือเริ่มต้นขึ้นในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 18 โดยผู้มีส่วนสำคัญในการวางรากฐานปรัชญาแขนงนี้คือ Leopold von Ranke และ Reinhold Niebuhr เขาทงั้ สองเปน็ ผรู้ ิเรม่ิ การนำหลัก วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และตรรกศาสตร์ เข้ามาผนวกรวมกันกับการศึกษา ประวัติศาสตรม์ ากขนึ้ และด้วยเหตนุ ีท้ ำใหม้ นี กั ปรัชญาบางคนพยายามอธิบาย และ เสนอแนวคิดความคล้ายคลึงกันของประวัติศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ในทาง กลบั กัน ก็มีนกั ปรชั ญาบางกลุ่มโตแ้ ย้งการเชอื่ มโยงนี้ Wilhelm Dilthey นักปรชั ญา ประวัติศาสตร์ที่มชี ื่อเสียงชาวเยอรมัน ได้อธิบายถึงความแตกตา่ งของประวัติศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ไว้ว่า วิทยาศาสตร์ เป็นศาสตร์การศึกษาเนื้อหาเชิงรูปธรรม กล่าวคือ วิทยาศาสตร์ เป็นเรื่องของวัตถุ สิ่งที่ปรากฏอยู่ สามารถมองเห็น จับต้อง และพิสูจน์ได้ แตกต่างกับประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาเชิง นามธรรมกล่าวคือ ในการศึกษาประวัติศาสตร์ จำเป็นที่จะอาศัยความรู้สึก และ Page | 83
ความเข้าใจ ในที่มา และความสำคญั ของเหตุการณใ์ นอดีต นอกเหนือจาก Dilthey แล้ว Benedetto Croce นักปรัชญาชาวอิตาลี กลา่ วว่า “All history is a contemporary history” (Croce, 1944 as cited in Trafton, 1999) ซึง่ มคี วามหมายว่า ประวตั ศิ าสตร์ ในทุกรูปแบบคอื ประวัติศาสตร์ของปัจจุบัน กล่าวคือ ประวัติศาสตรแ์ ท้จริงแล้วคอื ประวัตศิ าสตร์ความคิดของมนุษย์ การสร้างประสบการณข์ ึ้นใหม่ของมนุษย์ล้วนทำ ให้เกิดประวัติศาสตร์ขึ้น ทั้งนี้ เรื่องราวในอดีตที่เคยเกิดขึ้นจะถูกนับเป็น ประวัติศาสตร์หรือไม่ ขึ้นอยู่กับการตัดสิน และประเมินค่าของนักประวัติศาสตร์ โดยยึดถือในแนวความคิดที่ว่า อดีตที่จะเป็นประวัติศาสตร์ได้ จะต้องมีคุณค่าต่อ ปัจจุบัน สอดคล้องกับทัศนะของ Robin George Collingwood ที่กล่าวว่า นัก ประวัติศาสตร์ควรที่จะศึกษาจุดมุ่งหมายของประวัติศาสตร์ และตีความหลักฐาน อยา่ งจรงิ จัง จากปรัชญาดงั กล่าวสะท้อนใหเ้ ห็นว่า แม้ปรัชญาประวัติศาสตร์จะเป็นเรื่อง ที่ไม่สามารถกำหนดขอบเขตการศึกษา หรือนิยามได้อย่างชัดเจน แต่อย่างไรก็ตาม ในการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ มีสิ่งหนึ่งที่ผู้ศึกษาควรยึดเป็นหลักแกนกลางในการ เรียนรู้คือ ประวัติศาสตร์เกิดจากการกระทำของมนุษย์ ทั้งในทางที่พิสูจน์ได้จาก หลักฐานเชิงประจักษ์ และในทางที่พิสูจน์ไม่ได้ ด้วยว่าอยู่ในขอบข่ายของความเช่ือ แตเ่ มื่อทุกส่ิงดำเนนิ ไปอย่างเป็นวฏั จักร ท้งั ในอดตี ปจั จุบัน และอนาคต ประวัตศิ าสตร์ จะเป็นสิง่ เตือนใจใหม้ นุษยร์ ะลึกถงึ อยเู่ สมอ สอดคล้องกับ Robinson (n.d.) อา้ งถึง ใน เฉลิม นิตเิ ขตต์ปรีชา (2559) ทไี่ ด้ใหน้ ิยามประวัตศิ าสตร์ไว้ว่า ประวัติศาสตร์คือ ทกุ สงิ่ ทุกอยา่ งทมี่ นษุ ย์ได้คดิ ไดก้ ระทำ และได้รสู้ ึก วทิ ยากร เชียงกรู (2561) กล่าว เสริมวา่ ประวตั ิศาสตร์สมั พันธก์ ับการพฒั นาประเทศ สมั พันธก์ บั โลกยคุ ทนุ นิยมข้าม ชาติในแง่ที่ว่า การเรียนรู้วิวัฒนาการการเปลี่ยนแปลงของสังคม จะทำให้เรา มองเห็นสภาพที่มาหรือสาเหตุของความด้อยพัฒนาของสังคมเราได้ และจะทำให้ เราวเิ คราะหส์ ิง่ ทีก่ ำลังเกิดข้ึนในปัจจุบันและที่จะเกิดขน้ึ ตอ่ ไปไดด้ ้วย Page | 84
จากการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ตามแนวคิดและทฤษฎีประวัติศาสตร์ของนัก ปรัชญาทางประวัติศาสตร์มากมาย หลากหลายมุมมอง หลากหลายแนวคิดใน การศึกษาประวัติศาสตร์ อาจกล่าวได้ว่าเป็นนักปรัชญาทางประวัติศาสตร์เหล่าน้ี เปรียบเสมือนนวัตกรเชิงปรัชญาทางประวัติศาสตร์ ที่สร้างองค์ความรู้ใหม่ในแตล่ ะ สมัยและที่สำคัญเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ที่ให้มุมมองของคนและ สังคมและเปน็ ท่ยี อมรบั อยา่ งกว้างขวางทั่วโลกในเวลาตอ่ มา การจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ในปัจจุบัน สร้างทัศนคติที่ไม่น่าประทับใจ ใหก้ บั ใหก้ บั ผ้เู รียน เนอื่ งจากครูสงั คมศกึ ษาทีส่ อนวชิ าประวตั ิศาสตร์มักจะออกแบบ กระบวนการเรียนร้แู บบมอบหมายให้ผู้เรียนท่องจำเน้ือหาตา่ ง ๆ อยา่ งแม่นยำ เพ่ือ ใช้ในการวัดประเมินผล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง วันเดือนปีที่เกิดเหตุการณ์ต่าง ๆ ใน ประวัติศาสตร์ ผู้เรียนหลายคนต่างออกความเห็นในทางเดียวกันวา่ การท่องจำ ทำ ให้การเรียนประวัติศาสตร์เป็นเรื่องน่าเบื่อ แต่อย่างไรก็ตามผู้เรียนอีกกลุ่มหนึ่งได้ แสดงความคิดเห็นว่า การเรียนประวัติศาสตร์เป็นเรื่องที่สนุกสนาน และท้าทาย เนอ่ื งจากครูสงั คมศกึ ษาทส่ี อนวิชาประวตั ศิ าสตรม์ กั จะนำเกรด็ ความรปู้ ระวัตศิ าสตร์ เล็กน้อย มาเล่าสู่กันฟัง เพื่อเสริมความเข้าใจเพิ่มเติมจากเนื้อหาในบทเรียนหลัก สะท้อนให้เห็นถึงความลม้ เหลวที่เกิดจากการจัดการเรียนรู้ประวตั ิศาสตร์ ส่งผลให้ ผู้เรียนเกิดความเบื่อหน่าย ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ในการเรียนรู้ เนื่องจากผู้เรียนไม่ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมต่อไปได้ สอดคล้องกับวินัย พงศ์ศรีเพียร (2543) กล่าวว่า จากจำนวนวิชาในสาย สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ทั้งหมด วิชาประวัติศาสตร์เป็นเพียงวิชาเดียวท่ี สามารถช่วยให้ผู้เรียนสามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical mind) ได้ หาก ผู้สอนมีการจัดกระบวนการเรียนการสอนที่ถูกวิธี ไม่ใช่เพียงการสอนให้ผู้เรียน ท่องจำวันเดือนปี และชื่อบุคคลสำคัญเพียงอย่างเดียว ประวัติศาสตร์ยังมีประเด็น สำคัญอีกมากที่ครูสังคมศึกษาที่สอนประวัติศาสตร์ควรตีความให้ถูกจุด ครูสังคม Page | 85
ศกึ ษาที่สอนวชิ าประวตั ศิ าสตรต์ ้องยอมรับว่าประวัตศิ าสตรค์ ือ ศาสตรท์ ่มี คี วามเป็น พลวัต ครูสังคมศึกษาที่สอนวิชาประวัติศาสตร์ นักประวัติศาสตร์สามารถค้นพบ และตีความหลักฐานใหมไ่ ดเ้ สมอ อีกทั้งแนวคิดการศึกษา และการวิพากษ์หลักฐาน ทางประวตั ิศาสตร์ สามารถเปลีย่ นแปลงได้ในแต่ละยุคสมัยเชน่ กัน ดังนั้น ครูสังคม ศึกษาที่สอนวิชาประวัติศาสตร์จึงจำเป็นที่จะต้องเป็นผู้กระตือรือร้น และมีความ พยายามในการแสวงหาความรใู้ หม่อยูเ่ สมอ ก่อนอื่นขอเสนอแนวคิดพื้นฐานของการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ด้วย วิธีการทางประวัติศาสตร์ กระบวนการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ในปัจจุบันถูกตำหนิว่า เปน็ การสอนทล่ี ้มเหลว และไมส่ มควรถกู จัดเปน็ วชิ าบงั คบั สำหรับผู้เรยี น เตม็ ไปด้วย เนื้อหาที่ต้องอาศยั การท่องจำ นำไปประยุกต์ใช้จริงไม่ได้ ครูสังคมศึกษาทีส่ อนวชิ า ประวัติศาสตร์และผู้เรียนจึงมีความจำเป็นที่จะต้องเปลี่ยนแปลงทัศนคติ และ พฤติกรรมในการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ จากนั้นจึงร่วมมือกันในการเริ่มต้นทำความ เข้าใจระเบียบวิธีการศึกษาประวัติศาสตร์ ตระหนักในธรรมชาติของรายวิชา และ ความสำคัญของการประวัติศาสตร์อย่างแท้จริง เมื่อครูสังคมศึกษาที่สอนวิชา ประวัติศาสตร์และผู้เรียนมีแนวคิดที่ตรงกันแล้ว การศึกษาประวัติศาสตร์จะทำได้ ง่ายและเตม็ ประสิทธิภาพมากยิ่งขนึ้ การจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ผ่านกระบวนการจัดการเรียนการสอน ประวัติศาสตร์ด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ ซึ่งถือเป็นหัวใจของการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ Fullerton (2011) ได้มีการอธิบายถึงความหมาย และข้อควรระวังเกี่ยวกับ การวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตรไ์ ว้วา่ เปน็ วิธีการท่ีใช้ในการศึกษาเรื่องราวประวัติศาสตร์ อย่างเป็นระเบียบแบบแผน มีข้อปฏิบัติอย่างชัดเจน ด้วยความเข้าใจในข้อกำหนด และบริบทของวัฒนธรรม ณ ช่วงเวลานั้น นอกจากนี้ หลักฐานประกอบการศึกษา ดังกล่าว ควรจะมีลักษณะเป็นหลักฐานด้ังเดิม อยู่ในรูปแบบของเอกสาร วัตถุ การ รายงานข่าว ไม่ผา่ นการทำซำ้ หรอื เรยี บเรียงข้นึ ใหม่ Padmanabhan (2011) ได้มีการกล่าวถึงวิธีการทางประวัติศาสตร์ไว้ว่า เป็นการศึกษาเรื่องราวในอดีตที่ต้องอาศัยองค์ความรู้ในการทำความเข้าใจบริบท Page | 86
สังคม ณ ช่วงเวลานัน้ รวมไปถงึ จะต้องตระหนักถึงวิธีการ และระเบียบข้อบังคับใน การศกึ ษา อย่างไรก็ดกี ารศกึ ษาประวตั ิศาสตร์สามารถถกเถยี งในประเด็นท่ีน่าสนใจ หรอื อภปิ รายร่วมกนั เพอ่ื ใหไ้ ดม้ าซึง่ ข้อมูลทถ่ี ูกตอ้ งได้ Lorenz (2015) ได้มีการกล่าวถึง วิธีการทางประวัติศาสตร์ไว้ ว่าเป็นวิธี การศึกษาปรัชญา ที่ไม่ได้มีกฎในการศึกษาอย่างชัดเจน แต่เป็นการศึกษาที่ใช้ หลักการ 5 ประการร่วมกันในการศกึ ษา ได้แก่ วิธีวิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ของ มนุษยชาติ รายละเอยี ดเชิงลึกของเรือ่ งราว บริบทของวัฒนธรรม และภาษาทีใ่ ช้ใน การศึกษา เพื่อประเมินถึงความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่ได้รับผ่านการตีความของนัก ประวตั ิศาสตร์ สรุปรวมได้ว่าวิธีการทางประวัติศาสตร์คือ วิธีการศึกษาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ เรื่องราวในอดีตอย่างมีระเบียบแบบแผน อาศัยความละเอียด และรอบคอบใน การศึกษาค้นคว้า คล้ายกับวิธีวิทยาศาสตร์ มีข้อแตกต่างคือ วิธีวิทยาศาสตร์ สามารถตั้งสมมติฐาน เพื่อทำการทดลอง และสามารถเชื่อมโยงข้อมูลที่ได้รับกับ ทฤษฎีที่เคยมีผู้คิดค้นไว้ได้ แต่ในส่วนของวิธีการทางประวัติศาสตร์นั้น จำเป็นท่ี จะต้องคำนงึ ถึงมติ เิ วลา พฒั นาการทางสังคมอันสง่ ผลตอ่ ระบบความคิดของมนุษย์ที่ เปลี่ยนแปลงไป ท้ังในแง่ของวัฒนธรรม และการเมืองการปกครอง ดังนั้นการศึกษา ด้วยวิธีการทางประวตั ิศาสตร์ จึงเป็นการศึกษาที่มคี วามยืดหยุ่นสูง ไม่ยึดติดกับผล การศึกษาที่ได้จากทฤษฎีเพียงอย่างเดียว หากแต่คำนึงถึงบริบทสังคม รวมไปถึง ปัจจยั ภายนอกที่สง่ ผลตอ่ เหตกุ ารณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึน้ ในประวัตศิ าสตรอ์ ีกด้วย นอกจากนี้องค์ประกอบของการสอนด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์มีความ ยืดหยุ่นสูง ตามความตอ้ งการของผู้ออกแบบการจัดการเรียนรู้ ไมก่ ำหนดชัดเจนเป็น มาตรฐานแกนกลาง แต่ผู้สอนจะต้องคำนึงถึงกระบวนการในการเลือกใช้วิธีการทาง ประวัติศาสตร์ประกอบการเรยี นการสอนเป็นสำคญั จากวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์ ใน แนวคิดของสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา (2554) กล่าวคือ การกำหนด หัวข้อ การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ประเมินคุณค่าหลักฐาน การตีความ สังเคราะห์หลักฐาน และการนำเสนอผลงาน จะพบว่า หลักสำคัญของวิธีการทาง ประวัติศาสตร์คือ การวิพากษ์หลักฐาน ตีความ และสังเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับ Page | 87
ดังนั้น ในการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ จึงจะต้องประกอบไปด้วย ข้อกำหนดเหลา่ นี้ หรอื หากไม่กำหนดเป็นขอ้ ในลักษณะคล้ายขอ้ กำหนดเดิม ครสู ังคม ศึกษาที่จัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์จะต้องวางแผน และออกแบบการจัดการ เรียนรู้ประวัติศาสตร์เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนสูงสุด เพื่อรักษาไว้ซึ่งผลการ เรียนรู้ของผ้เู รยี น กระบวนทัศน์ใหมใ่ นการสรา้ งนวัตกรการจัดการเรียนรู้ ประวตั ิศาสตรใ์ นยคุ ดจิ ทิ ลั กรอบแนวคิดทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ที่กำหนดขึ้น ได้ถูกนำมาเป็นกรอบ ในการร่างแผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ในด้านการพัฒนาจัดการศึกษาเพ่ือ พัฒนาศักยภาพของคนในชาติให้มีทักษะทีจ่ ำเป็นในการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 เพื่อให้สอดรับกับการพัฒนาประเทศ ไทยสู่ยุค 4.0 ซึ่งเป็นยุคของการขับเคลื่อน เศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม ที่ต้องอาศัยกำลังคนที่มีความรู้ ความสามารถ ในการ ขับเคลื่อนไปสู่การเป็นประเทศที่มั่นคงและยั่งยืนอย่างเป็นรูปธรรม มีการปฏิรูป โครงสร้างเศรษฐกิจ ปฏิรูปการวิจัยและการศึกษา โดยการผนึกกำลังกับเครือข่าย พันธมิตรทางธุรกิจ การวิจัยพัฒนา และบุคลากรระดับโลก (สุวิทย์ เมษินทรีย์, 2559) เมื่อกระบวนทัศน์เก่าไม่เอื้อต่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ในการสร้างนวัตกร การจดั การเรยี นรู้ประวัติศาสตร์ แล้วเราจะมีแนวทางสรา้ งนวัตกรการจัดการเรียนรู้ ประวตั ศิ าสตร์ได้อย่างไร ก่อนอื่นมาเข้าใจความหมายท่ีเปน็ นยั ยะสำคัญของนวัตกร การจดั การเรยี นรู้ประวัตศิ าสตร์ในยคุ ดจิ ิทัล Page | 88
ความหมายของนวัตกรการจัดการเรยี นรู้ประวตั ิศาสตร์ จากการศึกษาขา้ งต้น สามารถสรุปความหมายของนวตั กรการจัดการเรียนรู้ ประวัติศาสตรไ์ ด้ ดงั น้ี วิธีการทางประวัติศาสตร์ คือ วิธีการศึกษาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องราวใน อดีตอย่างมีระเบียบแบบแผน อาศัยความละเอียด และรอบคอบในการศึกษา คน้ ควา้ จะตอ้ งคำนึงถงึ มิติเวลา และพัฒนาการทางสงั คมอนั ส่งผลตอ่ ระบบความคดิ ของมนุษย์ที่เปลี่ยนแปลงไป ทั้งในแง่ของวัฒนธรรม และการเมืองการปกครอง ดงั นนั้ การศึกษาดว้ ยวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์ จงึ เปน็ การศกึ ษาท่มี ีความยืดหยุ่นสูง ไม่ยึดติดกับระเบียบวิธี หรือผลการศึกษาที่ได้จากทฤษฎีเพียงอย่างเดียว หากแต่ พิจารณาบริบทสังคม รวมไปถงึ ปัจจัยภายนอกทีส่ ่งผลต่อเหตุการณ์ต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้น ในประวัติศาสตร์อีกด้วย นวตั กร คือ บุคคลผู้สร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ผ่านกระบวนการทางเทคโนโลยี ด้วยความคิดริเริ่ม หรือนำของเก่ามาปรับผสมผสานสิ่งใหม่ และความคิด สร้างสรรค์ โดยสิง่ ที่นวตั กรเป็นผสู้ ร้างสรรค์นน้ั จะต้องเปน็ สงิ่ ทไ่ี ม่เคยเกิดขึ้น หรอื ไม่เคยมีอยู่ นอกจากนน้ี วัตกรจะตอ้ งเปน็ ผูท้ ม่ี ีความกล้าเสย่ี ง มีความคิด นอกกรอบ กล้าที่จะเร่ิมทำการทดลอง และลงมือทำในสิ่งทีต่ ้ังใจ อย่างไรก็ดี ทักษะ หรือคณุ ลกั ษณะอีกหน่ึงส่งิ ทส่ี ำคญั ของการเปน็ นวตั กรคอื การเป็นผู้ท่ี แก้ไขปญั หาเฉพาะหนา้ ได้ดี มไี หวพรบิ และสามารถแบกรับความเสี่ยงท่ีอาจ เกดิ ขึน้ ระหวา่ งการสร้างสรรค์นวตั กรรมน้นั ๆ ได้ Page | 89
สามารถสรุปความหมายได้ว่า นวัตกรการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์คือ บุคคลผู้สร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ที่แปลกใหม่ หรืออาจนำของเดิมมา ปรับปรุงใหม่ ด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยี ผ่านความคิดริเริ่ม และความคิด สร้างสรรค์ เพือ่ นำไปใชใ้ นการศึกษาเร่ืองราวในอดีตร่วมกบั วธิ ีการทางประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นพื้นฐานที่สำคัญของการเริ่มต้นการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ช่วยส่งเสริม และ อำนวยความสะดวกใหก้ ารศึกษาเปน็ ไปได้อย่างราบรืน่ และถกู ต้องแม่นยำมากย่งิ ขึ้น ความหมายของยคุ ดจิ ิทลั ยุคดิจิทัล เป็นยุคสมัยแห่งการเปลี่ยนผ่านจากการใช้เครื่องมือแบบเก่า มา อาศัยเครื่องมือในทางเทคโนโลยีอจั ฉริยะ และระบบสือ่ สาร การเชื่อมโยงเครือข่าย ท่ัวโลกท่ีมเี สถยี รภาพมากขึ้นตามกาลเวลา ยคุ สมัยแหง่ ดจิ ิทลั นเี้ ป็นยุคสมัยแห่งการ สื่อสารที่ไร้พรมแดน มีการพัฒนาแอปพลิเคชัน หรือโปรแกรมเพื่อตอบสนองการ ทำงานท่ีรวดเรว็ ของมนุษย์อยู่เสมออยา่ งไม่หยดุ ยง้ั เพอ่ื ให้การทำงานตา่ ง ๆ เป็นไป ด้วยความสะดวกรวดเร็ว ลดค่าใช้จ่ายในด้านการบริหารจัดการ การลงทุน การ บรกิ าร ท้ังในภาครฐั ภาคเอกชน และประชาชนทั่วไป สามารถแบง่ ววิ ัฒนาการของ ยคุ ดจิ ทิ ัลได้ 4 ยคุ ดงั นี้ (ปัณณทัต กาญจนะวสิต, ม.ป.ป.) 1) ยุคดิจิทลั 1.0 หรือยคุ อินเทอรเ์ นต็ เป็นยุคแห่งการเริ่มต้นของการนำอินเทอร์เน็ต (Internet) เข้ามาใช้ใน ชีวิตประจำวัน เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการดำเนินชีวิต จากระบบออฟไลน์ (Offline) เป็นระบบออนไลน์ (Online) มีการริเริ่มจัดทำเว็บไซต์ (Website) ของ องค์กร หรือหน่วยงานต่าง ๆ การเปลี่ยนรูปแบบของการส่งจดหมาย จากการส่ง จดหมายทางไปรษณีย์ เป็นการส่งจดหมายทางอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) และท่ี สำคัญที่สุดคือ เมื่อมีการนำอินเทอร์เน็ตเข้ามาปรับใช้กับชีวิตประจำวันของมนุษย์ แล้ว ย่อมเกิดผลกระทบต่อการดำเนินธุรกิจงของทั้งภาครัฐ และภาคเอกชนเป็น อย่างมาก เนื่องจากประชาชนจะโหยหาความสะดวกสบายมากขึ้น ในการทำธุรกจิ Page | 90
ใด ๆ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องปรับตัว และปรับแผนนโยบาย เพื่อให้ตอบรับกับ กระแสการเขา้ มาของเทคโนโลยดี จิ ิทลั ทมี่ ผี ลตอ่ ทัศนคติในการทำงานทเ่ี ปลย่ี นแปลง ไป 2) ยุคดจิ ิทัล 2.0 หรือยคุ เปิดโลกโซเชียลมีเดยี (Social Media) เป็นยุคที่มนุษยเ์ ริม่ ตน้ พัฒนาเครือข่ายทางสงั คม มีการจัดทำแอพลเิ คชันต่าง ๆ สำหรับใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ และโทรศัพท์มือถือที่ถูกพัฒนาให้เป็ น โทรศัพท์เคลื่อนที่อัจฉริยะ ที่มีความสามารถคลา้ ยคลึงกับคอมพิวเตอร์พกพา แต่มี ตน้ ทุนในการครอบครองต่ำกวา่ ในยคุ สมัยน้ี ประชาชนจะเรม่ิ ตน้ สร้างความสัมพันธ์ ผ่านเครือข่ายสังคมจากการคุยในกลุ่มเพื่อน ขยายวงกว้างไปสู่การสร้างเครือข่าย สำหรับดำเนนิ ธรุ กิจ และนำไปสู่การเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวันอย่างหลกี เลี่ยง ไม่ได้ เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค อีกทั้งยังช่วยในการส่งเสริม การตลาด พัฒนาภาพลักษณ์ขององค์กรใหม้ ีความน่าเชื่อถือมากข้ึน นอกเหนือจาก การพัฒนาเพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือให้กับองค์กรแล้ว ยังสามารถช่วยให้ผู้บริโภค ตดั สินใจเลือกสนิ ค้า และบรกิ ารจากหลากหลายรา้ นค้าไดง้ า่ ยข้ึน 3) ยคุ ดจิ ิทัล 3.0 หรือยุคแหง่ การเกบ็ ข้อมูล Big data หลังจากผ่านยุคสมัยแห่งการเริ่มต้นใช้เครือยข่ายทางสังคมออนไลน์ในการ ดำเนินธุรกิจแล้ว เมื่อผู้ประกอบการเริ่มต้นที่จะทำธุรกิจบนพื้นที่ออนไลน์มากขึ้น ขอ้ มูลของผู้บริโภคย่อมจะตอ้ งถกู ประมวลผล และจัดเกบ็ ในรูปของฐานข้อมูลขนาด ใหญ่ (Big data) บนระบบคลาวด์ (Cloud computing) ซึ่งเป็นระบบที่ใช้ในการ จัดเก็บข้อมูลแบบไม่ใช้พื้นที่คอมพิวเตอร์ แต่จะอาศัยพื้นที่บนเครื่องคอมพิวเตอร์ หลัก ที่ทำหน้าที่เป็นตัวควบคุมคอมพิวเตอร์อื่น ๆ หรือที่ผู้คนมักรู้จักในชื่อของ เซิร์ฟเวอร์ (Server) เพื่อใช้ข้อมูลในการอำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจการ ต่าง ๆ และขยายฐานลูกค้าได้อย่างรวดเร็วเช่น ใช้ในการสร้างแพลตฟอร์ม (Platform) ทั่วไปในฐานะตัวกลาง หรือตัวแทน เพื่อให้ผู้บริโภคสามารถซื้อขาย สินค้า และบริการบนแพลตฟอร์ม (Platform) ที่สร้างขึ้นได้ อาจกล่าวได้ว่าในยคุ น้ี Page | 91
ผู้ที่มีอำนาจต่อรองในการทำธุรกิจมากคือ ผู้ที่เป็นครอบครองข้อมูลในฐานระบบ Big data จำนวนมาก 4) ยคุ ดิจิทัล 4.0 หรอื ยคุ เทคโนโลยเี ร่มิ มมี นั สมอง เป็นยุคแห่งการพฒั นาเทคโนโลยี และอุปกรณท์ างอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ต่าง ๆ ให้มี ความสามารถในการทำงานมากข้นึ ในระดบั ท่สี ามารถตดิ ต่อสื่อสาร และสัง่ งานผ่าน เสียง หรือแอพลิเคชัน ได้อย่างอัตโนมัติ อย่างไรก็ดี เทคโนโลยีในยุคนี้อาจกล่าวได้ ว่ามีการพัฒนาต่อยอดจากยุคก่อนหน้า เพื่อลดบทบาททหน้าที่การทำงานของ มนุษย์ เช่น การใช้ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) สำหรับการโต้ตอบ ข้อความ หรือการสั่งงานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่น ๆ ด้วยเสียง เป็นตน้ เพราะเหตุ นี้ ทำให้เทคโนโลยดี ิจิทัลคบื คลานเขา้ มาเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวนั ของมนษุ ย์ อย่างช้า ๆ แต่หนักแน่น องค์กรต่าง ๆ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องปรับตัวให้เข้ากับ ยุคสมัย และพัฒนาเทคโนโลยีมากขึ้น เพื่อปรับปรุงงการดำเนินการกิจการต่าง ๆ ให้มีการสอดคลอ้ งกับเทคโนโลยี และยุคสมยั ในปจั จบุ นั จากการศึกษานิยามข้างต้น สามารถสรุปรวมความได้ว่า ความเป็นนวัตกร การจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ในยุคดิจิทัล คือ บุคคลผู้สร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ประวตั ิศาสตร์ท่แี ปลกใหม่ ด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยี และความคดิ สร้างสรรค์ เพื่อนำไปใช้ในการศึกษาเรื่องราวในอดีต ร่วมกับวิธีการทางประวัติศาสตร์บน พื้นฐานของความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และมีการปรับตัวเช้ากับยุคสมัยที่ เปลี่ยนแปลงไป ก้าวทันต่อสถานการณ์ และความเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ท่ี อาจเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว อีกทั้งยังมีส่วนในการอำนวยความสะดวกให้การ เรยี นรูป้ ระวัติศาสตร์เป็นไปไดอ้ ย่างราบรืน่ มากยงิ่ ขนึ้ การสร้างนวตั กรการจดั การเรียนร้ปู ระวัติศาสตร์ในยคุ ดจิ ทิ ัลน้ี การนำกรอบ แนวคิด TPACK ที่เหมาะกับการนำความรู้ด้านเทคโนโลยีมาบูรณาการกับเนื้อหา ทางประวัติศาสตร์ วิธีสอน มารู้จักกรอบแนวคิด TPACK กับการเป็นนวัตกรการ จดั การเรียนรู้ประวตั ศิ าสตร์ในลำดับต่อไป Page | 92
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191