๔. กเิ ลสกามตวั ใดทกี่ อ่ ให้เกดิ ความออยากไดไ้ มม่ ที ส่ี ้นิ สดุ ๑. ราคะ ๒. โทสะ ๓. โมหะ ๔. โลภะ ๕. อรติ เฉลย ๔. โลภะ
๕. วัตถุกาม เรยี กวา่ อะไร ๑. ขันธมาร ๒. บว่ งแหง่ มาร ๓. มจั จมุ าร ๔. กิเลสมาร ๕. เทวปุตตมาร เฉลย ๒. บ่วงแหง่ มาร
๖. อรยิ บคุ คลระดบั ใดไมส่ ามารถอยูค่ รองเพศคฤหัสถ์ได้ ๑. โสดาบนั ๒. สกทาคามี ๓. อนาคามี ๔. อรหนั ต์ ๕. โสดาบนั สกทาคามี เฉลย ๔. อรหันต์
๗. ธมั มปฏสิ ันถาร มคี วามหมายตรงกบั ขอ้ ใด ๑. การตอ้ นรับแขกดว้ ยส่งิ ของ ๒. การต้อนรับแขกด้วยเงินทอง ๓. การตอ้ นรับแขกดว้ ยความรัก ๔. การต้อนรับแขกด้วยกริ ิยาท่าทางใบหนา้ แจ่มใส ๕. การต้อนรบั แขกด้วยขา้ วปลาอาหาร เฉลย ๔. การต้อนรบั แขกดว้ ยกริ ยิ าทา่ ทางใบหนา้ แจม่ ใส
๘. ขอ้ ใดจัดเปน็ วตั ถกุ าม ๑. ตา หู จมูก ลิ้น ๒. ดนิ นา้ ไฟ ลม ๓. ผม ขน เลบ็ ฟัน ๔. กาย เวทนา จิต ธรรม ๕. รปู เสียง กล่ิน รส เฉลย ๒. รูป เสยี ง กลิ่น รส
๙. ขอ้ ใดดงั ต่อไปนี้ จดั เปน็ มหาภูตรปู ทง้ั หมด ๑. ดนิ น้า ไฟ ลม ๒. ดิน นา้ รปู เสียง ๓. ดิน นา้ อาหาร ยา ๔. ดิน นา้ สัญญา ชีวิต ๕. ดนิ น้า อากาศ ภูเขา เฉลย ๑. ดิน น้า ไฟ ลม
ตกิ ะ หมวด ๓
๑. คดิ อยา่ งไร จดั เป็นเนกขมั มวติ ก ๑. คิดออกบวช ๒. คดิ หนปี ญั หา ๓. คดิ ทาร้ายตัวเอง ๔. คิดอยากแต่งงาน ๕. คดิ หลงผิด เฉลย ๑. คดิ ออกบวช
๒. ราคะ โทสะ โมหะ จดั เปน็ ไฟเพราะเหตใุ ด ๑. เผาโลกใหเ้ รา่ รอ้ น ๒. เผากเิ ลสให้เรา่ รอ้ น ๓. เผาจติ ใจให้เรา่ รอ้ น ๔. เผากายใหเ้ รา่ รอ้ น ๕. เผาใหร้ าคะเรา่ รอ้ น เฉลย ๓. เผาใจใหเ้ รา่ รอ้ น
๓. บุคคลผู้มคี วามอยากใด จดั เป็นวภิ วตัณหา ๑. อยากออกจากตาแหนง่ ๒. อยากมยี ศถาบรรดาศกั ดิ์ ๓. อยากเปน็ มหาเศรษฐี ๔. อยากเกดิ บนสวรรค์ ๕. อยากเป็นผนู้ า เฉลย ๑. อยากออกจากตาแหนง่
๔. การปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยในปจั จุบันจดั เขา้ ในอธปิ เตยยะขอ้ ใด ๑. อัตตาอธปิ เตยยะ ๒. โลกาธิปเตยยะ ๓. ธมั มาธปิ เตยยะ ๔. คณาธิปเตยยะ ๕. วนิ ยาธปิ เตยยะ เฉลย ๒. โลกาธปิ เตยยะ
๕. ข้อใดจดั เป็นอนศุ าสนปี าฏิหารยิ ์ ๑. ผ้ไู ดว้ ชิ ชา ๓ ๒. ผู้ได้อภญิ ญา ๖ ๓. ผู้สามารถทายจิตใจผอู้ น่ื ได้ ๔. การกาหนดรู้จรติ และอปุ นิสยั ผ้อู ื่น ๕. คาสอนทสี่ ามารถนาไปปฏิบตั ิไดจ้ รงิ เฉลย ๕. คาสอนทส่ี ามารถนาไปปฏบิ ตั ไิ ดจ้ รงิ
๖. ข้อใดเรยี งหลกั การของสทั ธรรม ๓ ไดถ้ กู ตอ้ งตามขน้ั ตอนการ ปฏบิ ัติ ๑. ปรยิ ตั ิ-ปฏบิ ตั ิ-ปฏเิ วธ ๒. ปรยิ ัต-ิ ปฏเิ วธ-ปฏิบตั ิ ๓. ปฏิบัติ-ปริยตั ิ-ปฏเิ วธ ๔. ปฏบิ ัต-ิ ปฏิเวธ-ปรยิ ตั ิ ๕. ปฏเิ วธ-ปฏิบัติ-ปริยัติ เฉลย ๑. ปริยตั -ิ ปฏบิ ตั -ิ ปฏเิ วธ
๗. ขอ้ ใดมคี วามสัมพันธก์ บั โอวาท ๓ ๑. ความไมป่ ระมาทในกาลทุกเม่อื ๒. การประกอบสุจรติ คือประพฤตชิ อบด้วยกาย วาจา ใจ ๓. การรกั ษาศีลเป็นสิง่ ทด่ี ีทีส่ ดุ ของชาวพุทธ ๔. การใหท้ านอันเลศิ ยอ่ มไดส้ งิ่ อนั เลิศ ๕. การสั่งสมบญุ นาสุขมาให้ทง้ั ภพนแี้ ละภพหนา้ เฉลย ๒. การประกอบสจุ รติ คือการประพฤตชิ อบดว้ ยกาย วาจา ใจ
๘. ขอ้ ใด ไม่ใช่ อกศุ ลวติ ก ๑. ความตริในทางกาม ๒. ความตรใิ นทางวาจา ๓. ความตรใิ นทางพยาบาท ๔. ความตรใิ นทางเบียดเบียน ๕. ความตริในทางพยาบาทเบยี ดเบียน เฉลย ๒. ความตรใิ นทางวาจา
๙. นักเรยี นดขู า่ วเหตุการณบ์ า้ นเมอื ง เกดิ ความวนุ่ วายไม่ สงบสขุ เพราะสังคมขาดหลักธรรมขอ้ ใด ๑. ความมีธรรมเปน็ ใหญ่ ๒. ความมคี รอบครัวเป็นใหญ่ ๓. ความมตี นเป็นใหญ่ ๔. ความมเี พอื่ นเปน็ ใหญ่ ๕. ความมโี ลกเปน็ ใหญ่ เฉลย ๑. ความมธี รรมเปน็ ใหญ่
๑๐. สถานการณ์ : ภกิ ษรุ ปู หนงึ่ ไดน้ ่ังพิจารณาความร้อนรมุ่ ทเ่ี กิด ภายในจติ ใจโดยเฉพาะความร้อนรุ่ม ท่ีเกดิ จากคนรักเกา่ สมยั ทย่ี งั ไมไ่ ด้อุปสมบท ภกิ ษุรปู นก้ี าลงั พจิ ารณาความรอ้ นร่มุ ทเ่ี กดิ จากอะไร ๑. ราคัคคิ ๒. โทสัคคิ ๓. โมหคั คิ ๔. ปฏชิ ัคคิ ๕. ตทังควิมุตติ เฉลย ๑. ราคัคคิ
จตตุ กะ หมวด ๔
๑. อปัสเสนธรรมขอ้ วา่ พิจารณาแล้วอดกลน้ั ควรใชเ้ มอื่ ใด ๑. ถูกกเิ ลสครอบงา ๒. ถูกทกุ ขเวทนางา ๓. ถกู ความเสอื่ มครอบงา ๔. ถูกพยาบาทครอบงา ๕. ถกู ความโง่ครอบงา เฉลย ๒. ถกู ทุกขเวทนาครอบงา
๒. ข้อใดตอ่ ไปน้ี เปน็ อารมณข์ องอัปปมญั ญา ๑. ต้นไม้ ๒. ภูเขา ๓. แม่นา้ ๔. สรรพสตั ว์ ๕. บ้าน เฉลย ๔. สรรพสตั ว์
๓. โสดาบันบุคคล ได้แกบ่ คุ คลประเภทใด ๑. ผู้สิน้ กิเลส ๒. ผู้หา่ งไกลกเิ ลส ๓. ผ้ถู งึ กระแสพระนิพพาน ๔. ผไู้ มก่ ลับมาเกิดอกี ๕. ผรู้ ะงับกิเลส เฉลย ๓. ผถู้ งึ กระแสพระนพิ พาน
๔. ขอ้ ใดไมจ่ ดั เข้าในอบาย ๔ ๑. นรก ๒. โลกมนุษย์ ๓. ภมู ิแห่งเปรต ๔. กาเนดิ เดรจั ฉาน ๕. พวกอสรุ กาย เฉลย ๒. โลกมนษุ ย์
๕. เมื่อมคี นพูดส่อเสยี ดกระทบกระทงั่ เราเม่อื พิจารณาแลว้ ควรทา อยา่ งไร ๑. ใช้สอย ๒. โตต้ อบ ๓. อดกล้ัน ๔. บรรเทา ๕. ละเว้น เฉลย ๕. ละเวน้
๖. ขอ้ ใดแสดงถงึ พระอรหันต์ทหี่ ลุดพน้ ดว้ ยอานาจแหง่ ปญั ญา ๑. ผู้ได้วิชชา ๒. ผ้ไู ด้ปฏสิ ัมภทิ า ๔ ๓. ผู้ไดอ้ ภญิ ญา ๖ ๔. ผแู้ สดงฤทธิไ์ ด้ ๕. ผู้ไดส้ ุกขวปิ สั สกะ เฉลย ๕. ผูไ้ ดส้ ุกขวปิ สั สกะ
๗. ผู้ที่ไดช้ อ่ื วา่ “เป็นผ้ฉู ลาดในนริ ตุ ติ หรอื นิรตุ ติ ปฏิสัมภิทา” ตอ้ งฝึกฝนตัวเองอย่างไร ๑. การคน้ คว้า ๒. การใหเ้ หตุผล ๓. การคิดคานวน ๔. การฝกึ หัดด้านภาษา ๕. การศึกษาเหตกุ ารณ์รอบตัว เฉลย ๔. การฝกึ หดั ดา้ นภาษา
๘. ความเชอื่ ตามขอ้ ใดทส่ี อดคลอ้ งกบั คาวา่ “โอปปาตกิ ะ” ๑. ไหว้ครู ๒. บูชาพ่อแม่ ๓. บวงสรวงเทวดา ๔. กราบไหว้สัตว์แปลกๆ ๕. ถือเคร่ืองรางของขลงั เฉลย ๓. บวงสรวงเทวดา
ปญั จกะ หมวด ๕
๑. อาการปวดศรี ษะ จัดเปน็ มารประเภทใด ๑. กิเลสมาร ๒. ขนั ธมาร ๓. อภิสังขารมาร ๔. เทวปุตตมาร ๕. มจั จมุ าร เฉลย ๒. ขันธมาร
๒. ความดีใจทไ่ี ดร้ บั เหรยี ญรางวลั จดั เป็นเวทนาใด ๑. สุขเวทนา ๒. อเุ บกขาเวทนา ๓. โสมนัสเวทนา ๔. โทมนสั เวทนา ๕. อุบเกขา เฉลย ๓. โสมนสั เวทนา
๓. เทศนาทข่ี ดั เกลาจิตมใิ หเ้ ปน็ คนหยาบกระดา้ งตรงกบั ขอ้ ใด ๑. ทานกถา ๒. สลี กถา ๓. สัคคกถา ๔. กามทนี วกถา ๕. เนกขัมมานสิ ังสกถา เฉลย ๒. สีลกถา
๔. การแสดงธรรมตามรปู แบบอนปุ พุ พิกถา คือการแสดงธรรมแบบใด ๑. โดยยอ่ ๒. โดยลาดบั ๓. โดยโต้แย้ง ๔. โดยโตต้ อบ ๕. โดยยกตัวอยา่ ง เฉลย ๒. โดยลาดบั
๕. บคุ คลตามขอ้ ใดเปน็ ผเู้ วน้ จากธมั มมัจฉรยิ ะ ๑. สุดาใหเ้ พื่อนยมื เงนิ ๒. สุภาซอ้ื ของไปฝากเพ่อื น ๓. สวุ ฒั นใ์ หเ้ พ่ือนพกั ทีบ่ ้าน ๔. สุวิทยส์ อนเพื่อนขับรถยนต์ ๕. สรุ ศกั ด์เิ ปน็ คนไม่ถอื ตัวกับเพอ่ื น เฉลย ๔. สวุ ิทยส์ อนเพอื่ นขบั รถยนต์
๖. พระอรยิ บคุ คลตามขอ้ ใด เม่ือละสังขารจากโลกนไ้ี ปแลว้ จะไปเกิด ในสทุ ธาวาส ๕ ๑. พระโสดาบัน ๒. พระอรยิ บคุ คล ๓. พระสกทาคามี ๔. พระอนาคามี ๕. พระอรหันต์ เฉลย ๔. พระอนาคามี
๗. ผ้ขู ม่ กเิ ลสดว้ ยการเขา้ ฌานทท่ี า่ นเปรยี บเสมอื นการนาแผน่ หนิ กดทบั หญ้าไว้ตรงกบั การพ้นแบบใด ๑. ตทังควิมุตติ ๒. วิกขัมภนวิมุตติ ๓. สมุจเฉทวิมุตติ ๔. ปฏิปัสสทั ธิวิมุตติ ๕. นิสสรณวมิ ตุ ติ เฉลย ๒. วิกขมั ภนวมิ ตุ ติ
๘. ครสู อนนกั เรยี นโดยหวงวชิ าความรู้ เพราะต้องการให้เรียนพเิ ศษ กบั ตนเอง ตรงกบั มจั ฉรยิ ะขอ้ ใด ๑. กุลมัจฉรยิ ะ ๒. ลาภมจั ฉรยิ ะ ๓. วณั ณมจั ฉรยิ ะ ๔. ธมั มมจั ฉริยะ ๕. สมบัตมิ ัจฉรยิ ะ เฉลย ๔. ธัมมมจั ฉรยิ ะ
๙. มารในขอ้ ใดนามนษุ ยไ์ ปสูช่ าติ ชรา ๑. ขนั ธมาร ๒. กิเลสมาร ๓. อภิสงั ขารมาร ๔. เทวปุตตมาร ๕. มจั จุมาร เฉลย ๓. อภสิ ังขารมาร
๑๐. คนที่มคี วามระมดั ระวงั ไมห่ ลงไปตามกระแสกามคณุ ๕ อนั ไดแ้ ก่ รปู เสยี ง กล่นิ รส โผฏฐพั พะ และอารมณ์ทเ่ี กดิ กบั ใจ ได้ช่ือวา่ มธี รรมขอ้ ใด ๑. สตสิ งั วร ๒. สลี สังวร ๓. ญาณสังวร ๔. ขันตสิ ังวร ๕. วิรยิ สงั วร เฉลย ๑. สติสงั วร
ฉกั กะ หมวด ๖
๑. การที่บคุ คลลว่ งรถู้ ึงจิตใจของผอู้ ่นื ได้ถอื วา่ ได้อภญิ ญา ๖ ตาม ข้อใด ๑. อทิ ธวิ ิธี ๒. ทพิ พโสตะ ๓. ทิพพจักขุ ๔. เจโตปรยิ ญาณ ๕. ปุพเพนิวาสานุสสติ เฉลย ๔. เจโตปรยิ ญาณ
๒. ผู้มีปกตหิ ลงไม่รู้จรงิ ควรแก้ไขตนเองดว้ ยการเจรญิ กมั มฐาน ในขอ้ ใด ๑. อสุภะ ๒. กายคตาสติ ๓. อานาปานาสติ ๔. จตุธาตวุ ัตถาน ๕. อาหาเรปฏกิ ลู สัญญา เฉลย ๓. อานาปานาสติ
๓. ผูม้ ีจริตประเภทใดตอ้ งแกด้ ว้ ยการเจรญิ เมตตา ๑. ราคจรติ ๒. โทสจรติ ๓. โมหจริต ๔. วติ ักกจริต ๕. พทุ ธจิ ริต เฉลย ๒. โทสจรติ
๔. ในวัดแหง่ หนงึ่ มพี ระภิกษสุ งฆแ์ ตกแยกไม่ทาสงั ฆกรรมรว่ มกนั ใช้ เรยี กเหตกุ ารณน์ ต้ี ามขอ้ ใด ๑. อรหันตฆาต ๒. สงั ฆเภท ๓. โลหิตปุ บาท ๔. อัญญสตั กุทเทส ๕. ปิตุฆาต เฉลย ๒. สงั ฆเภท
สตั ตกะ หมวด ๗
๑. กิเลสทนี่ อนเนอื่ งอย่ใู นสนั ดานสตั วไ์ ดช้ ่อื วา่ อนสุ ยั นั้นยงั มชี อ่ื เรยี ก อกี อย่างหนงึ่ อย่างไร ๑. โอฆะ ๒. โยคะ ๓. อาสวะ ๔. สงั โยชน์ ๕. เมถุนสังโยค เฉลย ๔. สังโยชน์
๒. ผปู้ ฏบิ ตั ติ นจนถึงขน้ั กงั ขาวสิ ทุ ธจิ ะได้ความหมดจดในเรื่องใด ๑. ศลี ๒. จติ ๓. ความเห็น ๔. ความสนิ้ ข้อสงสยั ๕. ความรู้ด้วยปญั ญา เฉลย ๔. ความสิ้นขอ้ สงสยั
๓. บคุ คเชน่ ไรคอื ผมู้ ปี ฏปิ ทาญาณทศั นในวสิ ทุ ธิ ๗ ๑. ความหมดจดแหง่ ศลี ๒. รู้จกั วิธีทาใหแ้ จ้ง ๓. รู้จักวธิ ีทาใหเ้ ห็นทางปฏบิ ัติ ๔. รู้จกั วิธขี ้ามความสงสัย ๕. รู้จกั วิธีทาใหเ้ หน็ วา่ นีเ้ ป็นทางน้ไี ม่ใช่ทาง เฉลย ๓. รจู้ กั วธิ ีทาให้เหน็ ทางปฏบิ ตั ิ
๔. ในวสิ ทุ ธิ ๗ ข้อใดเปน็ โลกตุ ตระ ๑. สลี วสิ ุทธิ ๒. จิตตวิสทุ ธิ ๓. ทฏิ ฐิวิสุทธิ ๔. ญาณทสั สนวิสทุ ธิ ๕. ปฏิปทาญาณทสั สนวิสทุ ธิ เฉลย ๔. ญาณทสั สนวิสทุ ธิ
๕. คนในปจั จบุ ันมคี วามเชอ่ื วา่ ทาดไี ดด้ มี ีทไ่ี หน ทาชว่ั ไดด้ ีมถี มไป ท่านจะแนะนาใหเ้ ขาละธรรมข้อใด ๑. กามราคานุสยั ๒. มานานุสัย ๓. ภวราคานุสยั ๔. ทฏิ ฐานุสยั ๕. ปฏิฆานุสัย เฉลย ๔. ทฏิ ฐานสุ ยั
๖. สถานการณ์ : ในการปฏบิ ตั ธิ รรมกมั มฏั ฐาน ณ วดั ปา่ แหง่ หนง่ึ พระอาจารยไ์ ดส้ อนเกี่ยวกบั ลกั ษณะกเิ ลสทนี่ อนเนอื่ งในสนั ดา โดยเฉพาะความกาหนดั ในกามทเี่ กดิ ขน้ึ แลว้ อาจเปน็ เหตใุ หท้ าชว่ั ไดไ้ มว่ ่า บุคคลนนั้ จะอยใู่ นเพศภาวะหรอื ฐานะใด ก็มีโอกาสทจ่ี ะประพฤตอิ กศุ ลกรรมบทกาเมสุมจิ ฉาจารได้ ๑. มานะ ๒. กามราคะ ๓. อวิชชา ๔. วจิ ิกจิ ฉา ๕. ปฏิฆะ เฉลย ๒. กามราคะ
อฏั ฐกะ หมวด ๘
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167