Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore __Responsible Business Alliance RBA Version 6.0 (2018)

__Responsible Business Alliance RBA Version 6.0 (2018)

Published by systemscoordinator, 2020-09-25 04:23:43

Description: __Responsible Business Alliance RBA Version 6.0 (2018)

Search

Read the Text Version

(Responsible Business Alliance) (Version6.0 : 2018) หลักจรรยาบรรณแหง่ พันธมติ รธุรกิจผ้มู คี วามรับผดิ ชอบ ADAMPAK (THAILAND) LTD.

• Responsible Business Alliance Code of Conduct Version6.0 (RBA) (หลกั จรรยาบรรณแหง่ พันธมติ รธรุ กจิ ผูม้ คี วามรับผิดชอบ) Responsible Business Alliance (RBA) เป็นช่ือใหม่ อยา่ งเป็นทางการ ของ Electronic Industry Citizenship Coalition (EICC) ซง่ึ ปจั จุบนั เป็นการ รวมกลมุ่ ของบริษทั อุตสาหกรรมชั้นนา ทงั้ อุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิ ส์ อุตสาหกรรมยานยนต์ และอุตสาหกรรมของเล่น ท่ัวโลก ( เชน่ ฮิวเลตตแ์ พ็คการด์ ไอบเี อ็ม เลโนโว ไมโครซอฟท์ แอป๊ เปิล้ เดลล์ เอเซอร์ อนิ เทล ฟลิ ิปส์ ฟอร์ดมอเตอร์ แฮสโบร ฯลฯ)

• Responsible Business Alliance Code of Conduct Version6.0 (RBA) (หลกั จรรยาบรรณแหง่ พนั ธมติ รธรุ กจิ ผมู้ ีความรบั ผดิ ชอบ) หลักจรรยาบรรณแห่งพันธมิตรธุรกิจผู้มีความรับผิดชอบได้กาหนดมาตรฐานขึ้น เพ่ือให้ม่ันใจว่า สภาพแวดล้อมการทางานในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ หรือ อุตสาหกรรมอื่นท่ีมีช้ินส่วนอิเล็กทรอนิกส์เป็นองค์ประกอบหลัก รวมไปถึงห่วงโซ่อุปทาน ของอตุ สาหกรรมดงั กล่าว ➢ มีความปลอดภัยต่อพนกั งาน ➢ พนกั งานได้รับการปฏิบตั ดิ ว้ ยความเคารพและให้เกยี รติ ➢ วิธีการดาเนินธุรกิจแสดงให้เห็นถึงความรับผิดชอบต่อสภาพแวดล้อมและมี จริยธรรม

• Responsible Business Alliance Code of Conduct Version6.0 (RBA) (หลักจรรยาบรรณแห่งพันธมติ รธรุ กิจผ้มู คี วามรับผิดชอบ) จดุ มุง่ หมาย : 1. เพอื่ การนาไปใช้กบั องคก์ รอิเล็กทรอนิกสเ์ กี่ยวกับการออกแบบ การตลาด การผลิต รวมถึงการจดั การ สินค้า และการบริการที่ใช้ในการผลิตสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ ธุรกิจใดๆ ซ่ึงอยู่ในภาคส่วนด้าน อเิ ล็กทรอนิกส์ ธุรกิจในโซ่อุปทาน (Supply chain) ผู้รับจา้ งช่วง (Subcontractors) รวมถึงบริษัท รับจา้ งด้านแรงงาน (Providers of contract labor) สามารถนาจรรยาบรรณไปปรับใช้ได้โดยความ สมัครใจ 2. เพ่ือจะสามารถนาไปใช้และเป็นผู้มีส่วนร่วม (“ผู้เข้าร่วม”) ธุรกิจนั้นจะต้องแสดงเจตนารมณ์ในการ สนบั สนนุ จรรยาบรรณน้ี รวมถงึ ปฎิบัตติ ามจรรยาบรรณอย่างจริงจงั และเป็นไปตามระบบการจัดการ 3. ผ้เู ขา้ ร่วมตอ้ งถือจรรยาบรรณเปน็ จุดเริ่มต้นของโซ่อปุ ทานทั้งหมด อย่างน้อยผู้เข้าร่วมจะต้องแจ้งให้ผู้ ส่งมอบในลาดบั ถดั ไปทราบ และปฏิบัตติ ามหลักจรรยาบรรณน้ี

• Responsible Business Alliance Code of Conduct Version6.0 (RBA) (หลกั จรรยาบรรณแหง่ พนั ธมติ รธรุ กิจผู้มีความรบั ผดิ ชอบ) RBA มุ่งม่ันในการรับข้อมูลจากผู้มสี ่วนได้ส่วนเสียอย่างสมา่ เสมอในการพัฒนา จรรยาบรรณ และนาจรรยาบรรณมาปฏบิ ตั ิอยา่ งตอ่ เนื่อง ผ้มู ีส่วนไดส้ ว่ นเสีย 6. 1.ผู้ถอื 2. ลูกคา้ หุ้น พนกั งาน 5.ภาครัฐ 3. บรษิ ทั ชุมชน 4. ผูข้ าย

• Responsible Business Alliance Code of Conduct Version6.0 (RBA) (หลักจรรยาบรรณแหง่ พนั ธมิตรธรุ กิจผู้มคี วามรบั ผดิ ชอบ) จรรยาบรรณมีทงั้ หมด 5 หมวด ▪ Section A : Labor (แรงงาน) ▪ Section B : Health and Safety (สุขภาพและความปลอดภัย) ▪ Section C : Environmental (ส่งิ แวดลอ้ ม) ▪ Section D : Ethics (จรยิ ธรรม) ▪ Section E : Management Systems (ระบบการจัดการ)

▪ เสรีภาพในการเลือกงาน ▪ ใบอนุญาตและการรายงานดา้ น ▪ แรงงานเยาวชน สง่ิ แวดลอ้ ม ▪ ชว่ั โมงการทางาน ▪ การปอ้ งกันมลภาวะและการลด ▪ คา่ จ้างและสวัสดิการ การใชท้ รัพยากร ▪ การปฏิบัตอิ ยา่ งมมี นุษยธรรม ▪ วัตถอุ นั ตราย ▪ การไม่เลอื กปฏบิ ตั ิ ▪ ขยะมูลฝอย ▪ เสรีภาพในการสมาคม ▪ การปล่อยมลภาวะทางอากาศ ▪ ข้อจากดั ด้านวัสดุ ▪ ความปลอดภยั ในการทางาน ▪การจัดการน้า ▪ ความพร้อมในกรณฉี ุกเฉิน ▪การใชพ้ ลังงานและการปล่อย ▪ การบาดเจ็บและความ ก๊าซเรือนกระจก เจบ็ ปว่ ยอันเนอื่ งจากการทางาน ▪ สุขอนามยั อตุ สาหกรรม ▪ ความซื่อสตั ย์ทางธุรกิจ ▪ งานทตี่ อ้ งการแรงงานทาง ▪ ไมม่ กี ารเอ้อื ประโยชนท์ ่ไี ม่ กายภาพ เหมาะสม ▪ การป้องกนั อันตรายจากการใช้ ▪ การเปดิ เผยขอ้ มลู เครอ่ื งจกั รกล ▪ ทรพั ย์สินทางปัญญา ▪ สขุ อนามยั อาหาร และที่อยู่ ▪ การดาเนนิ ธุรกจิ การโฆษณา อาศัย และการแข่งขันทีเ่ ปน็ ธรรม ▪การสอ่ื สารดา้ นสขุ ภาพและ ▪ การปกป้องลกั ษณะบคุ คลและ ความปลอดภยั การไม่ตอบโต้ ▪ การหาแหล่งแรธ่ าตุโดยมีความ รับผดิ ชอบ ▪ ความเป็นส่วนตัว

แผนผังคณะทำงำนดำ้ นควำมรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม ประธาน RBA Organization คณุ ชยั รตั น์ ทฆี เสนีย์ ผูจ้ ดั การทว่ั ไป ตวั แทนฝา่ ยบริหาร CSRMR คุณยวุ ลกั ษณ์ ราชคมน์ แรงงาน และจรยิ ธรรม สุขภาพ, ความปลอดภัย ประธานคณะทางาน และสง่ิ แวดลอ้ ม คณุ จติ ตมิ า ปฏมิ าประกร ประธานคณะทางาน คุณบศุ รากร มากบู่ ฝ่ายทรพั ยากร ฝ่ายบญั ชีการเงิน ฝ่ายเทคโนโลยี ฝ่ายขาย ฝา่ ยสุขภาพและ ฝา่ ยส่ิงแวดลอ้ ม ฝา่ ยซอ่ มบารงุ มนษุ ย์ คณุ นวลทิพย์ สารสนเทศ คุณศศิธร ม่ังค่งั ความปลอดภัย คุณยวุ ลักษณ์ ราชคมน์ คณุ คู เนียม ซู นวนพรัตน์สกุล คุณณฐั วทิ ย์ หนั ตรา คณุ บศุ รากร มากบู่ คณุ สนั ทัด ถาวรคง ฝ่ายผลติ (PR&QA) ฝา่ ยจดั ซอ้ื ฝา่ ยวิศวกรรม-ผลติ ภัณฑ์ ฝ่ายวศิ วกรรม-กระบวนการ คณุ เกียรตพิ ร เช้ือปรางค์ คณุ พรธนา สวุ รรณเวช คุณวริ ัณภทั ร์ ศุภศิริรจุ ิรางค์ คุณณฐั วุฒิ มาตย์ภธู ร คณุ มาลัยทพิ ย์ จันทร์เทศ

• Responsible Business Alliance Code of Conduct Version6.0 (RBA) (หลักจรรยาบรรณแหง่ พันธมติ รธุรกิจผู้มคี วามรับผดิ ชอบ)

1. Freely Chosen Employment (เสรภี าพในการเลือกทางาน) 2. Young Workers (แรงงานเยาวชน) 3. Working Hours (ช่ัวโมงการทางาน) 4. Wages and Benefits (ค่าจ้างและสวสั ดกิ าร) 5. Humane Treatment (การปฏิบตั อิ ยา่ งมีมนุษยธรรม) 6. Non-Discrimination (การไม่เลือกปฏบิ ัติ) 7. Freedom of Association (เสรีภาพในการสมาคม)

1. Freely Chosen Employment (เสรภี าพในการเลอื กงาน) ❑ หา้ มการบังคับใช้แรงงาน การผูกมดั แรงงาน (รวมถึงการผกู มดั ดว้ ยภาระหนี้) จะโดยสมัครใจหรอื ไมส่ มคั ร ใจ ❑ หรือแรงงานตามพันธะสญั ญา แรงงานนกั โทษ ทาส ❑ หรือการค้ามนษุ ย์ รวมถึงการขนส่ง การเคลือ่ นย้าย การเกณฑ์ การถ่ายโอน ❑ หรือการบงั คับบุคคลเขา้ ทางานดว้ ยการขม่ ขู่ บงั คบั ขเู่ ขญ็ ลักพาตัว ❑ หรือหลอกลวงให้ใช้แรงงาน หรอื ให้บริการ ❑ หา้ มมขี ้อจากดั ที่ปราศจากเหตผุ ลอันควรในการห้ามแรงงานเคล่ือนทภี่ ายในสถานประกอบการ ❑ นอกจากนย้ี งั รวมถึงข้อจากัดที่ปราศจากเหตผุ ลอันควรในการเขา้ หรือออกจากสถานที่ซึ่งจดั หาใหโ้ ดย บริษัท ❑ แรงงานจะตอ้ งไดร้ ับหนังสอื สญั ญาจ้างงานทเ่ี ขียนเป็นภาษาแมข่ องตน ซ่งึ ต้องมีรายละเอยี ดขอ้ กาหนด และเงอ่ื นไขการจา้ งงานครบถ้วนก่อนที่แรงงานจะออกจากประเทศทเ่ี ปน็ ถ่นิ กาเนดิ ของตน และตอ้ งไม่มี การสับเปล่ียนหรอื การเปลี่ยนแปลงเน้อื หาในสัญญาจา้ งงานหลังจากทแ่ี รงงานมาถึงยงั ประเทศปลายทาง ทร่ี บั แรงงาน เว้นแตเ่ ปลย่ี นแปลงใหต้ รงตามกฎหมายในทอ้ งถิ่น และมีเงือ่ นไขที่เทยี บเทา่ หรือดกี วา่

1. Freely Chosen Employment (เสรภี าพในการเลอื กงาน) (con.) ❑ งานทัง้ หมดตอ้ งเปน็ ตามสมัครใจ และแรงงานตอ้ งมอี สิ ระที่จะลาออกจากงาน หรอื ยกเลกิ สญั ญา จ้างงานไดท้ กุ เมื่อ ❑ ผูว้ า่ จา้ งและตวั แทนตอ้ งไมย่ ึด ทาลาย ปกปิด อายัด ❑ หรือปฏิเสธไม่ใหแ้ รงงานถอื เอกสารระบตุ วั บุคคลหรือเอกสารเขา้ เมืองของแรงงาน เชน่ บตั ร ประจาตวั ท่ีออกใหโ้ ดยรฐั บาล หนังสือเดินทาง หรือหนงั สอื อนุญาตทางาน เว้นแต่การยึดเอกสาร ดงั กล่าวจาเปน็ ต้องกระทาตามกฎหมาย ❑ แรงงานตอ้ งไมม่ กี ารจา่ ยคา่ ธรรมเนยี มใดๆ หรอื คา่ ธรรมเนยี มอื่นที่เกี่ยวกับการจ้างงานของตน ให้แก่นายจา้ งหรือตวั แทนในการจัดหางาน หากพบวา่ แรงงานเปน็ ผู้จา่ ยคา่ ธรรมเนยี มดังกลา่ ว ค่าธรรมเนยี มจานวนน้นั ๆ ต้องถูกคืนใหก้ ับแรงงาน

2. Young Workers (แรงงานเยาวชน) ❑ หา้ มใช้แรงงานเด็กในทกุ ขั้นตอนของการผลติ – “เด็ก” หมายถึง บคุ คลใดๆทม่ี ีอายตุ ่ากว่า 15 ปี หรือมอี ายุต่ากว่าอายุสาเร็จการศึกษาภาคบังคับ หรือมอี ายตุ ่ากวา่ อายุการจา้ งงานขน้ั ต่าในประเทศ โดยถืออายุท่ีสูงสดุ เป็นหลัก ❑ สนบั สนุนใหม้ ีโครงการฝกึ งานเพ่อื การเรยี นรู้ที่ถกู ตอ้ งตามกฎหมาย ❑ แรงงานท่ีมีอายุต่ากว่า 18 ปี (แรงงานเยาวชน) ต้องไม่ทางานท่ีเสี่ยงอันตรายต่อสุขภาพหรือความ ปลอดภยั ของตน รวมถงึ การไมท่ างานกะกลางคืนและการไมท่ างานลว่ งเวลา ❑ ต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่ามีระบบการจัดการแรงงานนักเรียนอย่างเหมาะสม โดยมีการเก็บรักษาข้อมูล ระเบียนนักเรียน ตรวจสอบเง่ือนไขการจ้างงานของหน่วยงานการศึกษาท่ีเข้าร่วมอย่างเข้มงวด และ ปกปอ้ งสทิ ธิของนักเรยี นตามกฎหมายและกฎระเบยี บที่เก่ยี วข้อง ❑ ต้องใหก้ ารสนบั สนนุ และการฝึกอบรมตามสมควรแก่ แรงงานนักเรยี นทุกคน ❑ หากไม่มีกฎหมายในท้องถิ่นกาหนดไว้ อัตราค่าจ้างแรงงานนักเรียน ผู้ฝึกงาน และแรงงานฝึกหัดอย่าง นอ้ ยต้องเทา่ กบั อัตราคา่ จา้ งของแรงงานข้นั เรมิ่ ต้นท่ที างานแบบเดยี วกันหรือคลา้ ยคลงึ กนั

3. Working Hours (ชว่ั โมงการทางาน) ❑ ช่วั โมงการทางานต้องไมเ่ กนิ จานวนสงู สุดท่กี าหนดไวใ้ นกฎหมายทอ้ งถ่ิน นอกจากน้ี ชั่วโมงทางานไมค่ วรมากกวา่ 60 ชั่วโมงตอ่ สัปดาห์ รวมถึงชั่วโมงทางานล่วงเวลา – เว้นแตใ่ นกรณฉี ุกเฉนิ หรือสถานการณ์ที่ไมป่ กติ ❑ ต้องไดร้ บั อนญุ าตให้มวี ันหยุดอยา่ งนอ้ ยหน่งึ วันต่อสัปดาห์

4. Wages and Benefits (คา่ จ้างและสวสั ดิการ) ❑ ค่าตอบแทนทจี่ ่ายใหแ้ ก่แรงงานตอ้ งเป็นไปตามทก่ี ฎหมายกาหนดไว้ ❑ รวมถึงกรณีท่ีเก่ยี วขอ้ งกบั คา่ แรงขน้ั ตา่ ค่าลว่ งเวลา และสวัสดิการตามทกี่ ฎหมายได้ กาหนดไว้ ❑ ต้องได้รบั คา่ ตอบแทนสาหรับการทางานลว่ งเวลามากกว่าอัตราคา่ แรงรายช่ัวโมงในเวลา ทางานปกติ ❑ หา้ มใชว้ ิธกี ารหกั ค่าแรงเพ่ือเปน็ มาตรการลงโทษทางวินยั ❑ ต้องได้รบั แจ้งรายการค่าจา้ งภายในเวลาอนั ควรและสามารถเขา้ ใจง่าย

5. Humane Treatment (การปฏบิ ัตอิ ย่างมมี นุษยธรรม) ❑ ไมม่ ีการปฏบิ ัติโดยใชค้ วามรุนแรงหรอื ไร้มนษุ ยธรรม ❑ ไม่มีการลว่ งละเมดิ ทางเพศ การขม่ เหงทางเพศ การลงโทษรุนแรง การขเู่ ข็ญทางจิตใจหรอื ร่างกาย หรือการละเมิดด้วยวาจาตอ่ แรงงาน ❑ หรอื แม้แต่การขู่ว่าจะกระทาการดงั กลา่ ว ตอ้ งกาหนดนโยบายและกระบวนการทางวนิ ยั เพ่อื ป้องกันการกระทาขา้ งต้นตอ้ งได้รบั การกาหนดไวอ้ ย่างชัดเจน และแจ้งให้แรงงานรบั ทราบ

ผงั กระบวนการทางวินัย (การดาเนินการทไ่ี ม่เป็น ทางการ)

ผงั กระบวนการทางวนิ ัย (การดาเนนิ การทางวนิ ัย อย่างเปน็ ทางการ)



6. Non-Discrimination (การไมเ่ ลือกปฏิบตั )ิ ❑ ปราศจากการเลอื กปฏบิ ัติที่ผดิ กฎหมาย ❑ ไม่เลือกอันเนื่องมาจากชาติพันธุ์ สีผิว อายุ เพศ รสนิยมทางเพศ การแสดงออกทางเพศสภาวะ เผ่าพันธ์ุหรือถ่ินกาเนิด ความพิการ การต้ังครรภ์ ศาสนา ฝ่ายการเมือง สมาชิกสหภาพ สถานะ ทหารผ่านศึก ข้อมูลทางพันธุกรรมหรือสถานะการสมรส ในการจ้างงานและวิธีปฏิบัติในการ ทางาน เช่น คา่ แรง การเลอ่ื นขนั้ การให้รางวัล และโอกาสในการไดร้ บั การฝกึ อบรม ❑ ตอ้ งมีสถานที่ปฏบิ ัติศาสนกิจตามเหตผุ ลอันควร ❑ ไม่ควรต้องถูกกาหนดให้ทาการตรวจสุขภาพหรือทดสอบสมรรถภาพทางรา่ งกาย ซ่ึงอาจนาไปสู่ การเลอื กปฏบิ ัติ

7. Freedom of Association (เสรีภาพในการสมาคม) ❑ ต้องเคารพสิทธิของแรงงานทุกคนที่ต้องการก่อตั้งและเข้าร่วมสหภาพแรงงานตามความสมัคร ใจ เพอื่ การตอ่ รองรว่ มกันและการชมุ นุมอย่างสันติ ❑ ผู้แทนต้องสามารถสื่อสารและแบง่ ปนั แนวคดิ และความกังวลกับฝ่ายบริหารเก่ียวกับสภาพการ ทางานและวิธีการบริหารได้อย่างเปิดเผย โดยปราศจากความกลัวจากการถูกเลือกปฏิบัติ ลงโทษ ข่มขู่ หรอื คุกคาม

Responsible Business Alliance Code of Conduct Version 6.0 (2018) หลักจรรยาบรรณแห่งพนั ธมิตรธรุ กจิ ผ้มู คี วามรับผดิ ชอบ สาหรบั การนาไปปฏิบตั ิ

1. Occupational Safety(ความปลอดภัยในการทางาน) 2. Emergency Preparedness (ความพร้อมในกรณีฉกุ เฉิน) 3. Occupational Injury and Illness (การบาดเจ็บและความเจบ็ ป่วยอนั เนื่องจากการ ทางาน) 4. Industrial Hygiene (สขุ อนามยั อุตสาหกรรม) 5. Physically Demanding Work (งานท่ีต้องการแรงงานทางกายภาพ) 6. Machine Safeguarding (การปอ้ งกนั อันตรายจากการใชเ้ ครือ่ งจักรกล) 7. Sanitation, Food, and Housing (สุขอนามัย อาหาร และทอ่ี ยอู่ าศัย) 8. Health and Safety Communication (การส่อื สารด้านสุขภาพและความปลอดภยั )

1. Occupational Safety (ความปลอดภัยในการทางาน) ➢ แรงงานทมี่ ีความเสย่ี งตอ่ อันตรายด้านความปลอดภัย (เชน่ อนั ตรายจากไฟฟา้ หรือแหลง่ พลังงานอ่ืน ไฟ ยานพาหนะ และอนั ตรายจากการตกจากท่ีสงู ) ตอ้ งถกู ชบ้ี ่งและประเมนิ และถูกควบคมุ โดยการ ออกแบบเฉพาะ ➢ ต้องมกี ารควบคมุ ดา้ นวศิ วกรรม และการจัดการทเ่ี หมาะสม การบารงุ รักษาเชิงป้องกัน และระเบียบ ปฏบิ ัติด้านความปลอดภัยในการทางาน (รวมทง้ั อุปกรณ์ Lockout-Tagout) ➢ มีการฝึกอบรมดา้ นความปลอดภยั อย่างต่อเนอื่ ง ➢ ต้องไดร้ ับอุปกรณ์ป้องกนั ส่วนบุคคลที่ไดร้ ับการบารุงรกั ษาอย่างดีและเหมาะสม รวมท้ังเอกสารให้ ความร้เู กีย่ วกับความเสี่ยงตอ่ การเกิดอนั ตรายเหล่านั้น ➢ ตอ้ งดาเนินขัน้ ตอนเพ่ือนาสตรีตั้งครรภ์/มารดาที่ใหน้ มบุตรออกจากสภาวะการทางานท่มี ีอนั ตรายสงู ขจัดหรือลดความเส่ียงเรื่องสุขภาพและความปลอดภัยในทีท่ างานของสตรตี ้ังครรภ์และมารดาทใ่ี ห้ นมบุตร รวมถงึ ความเส่ียงอนั สบื เน่ืองจากการทางาน รวมถึงการจดั หาสถานทสี่ าหรับมารดาที่ให้นม บตุ รที่เหมาะสม

2. Emergency Preparedness (ความพร้อมในกรณฉี ุกเฉนิ ) ➢ ต้องช้บี ่ง และประเมินสถานการณ์ และเหตุการณใ์ นกรณฉี กุ เฉนิ ที่อาจเกิดขึน้ ➢ ต้องมกี ารใชแ้ ผนรับมอื ฉุกเฉิน และกระบวนการตอบสนอง ➢ มกี ารรายงานเหตุฉุกเฉนิ การแจ้งเตือนพนกั งาน และระเบียบปฏบิ ัติการอพยพ ➢ มีการฝึกอบรม และฝกึ ซ้อมของแรงงาน ➢ เครื่องมือตรวจจบั และดบั เพลิงทเ่ี หมาะสม ➢ ทางออกทสี่ ะดวกและปราศจากสิ่งกดี ขวาง ➢ แผนฟืน้ ฟหู ลงั เกิดเหตุ แผนและกระบวนการดังกลา่ วต้องเนน้ ที่การลดอันตราย ทีเ่ กดิ ขนึ้ ตอ่ ชีวิต สิ่งแวดล้อม และทรพั ย์สนิ ใหเ้ หลอื นอ้ ยท่สี ุด

3. Occupational Injury and Illness (การบาดเจ็บ และความเจ็บปว่ ยอนั เนอื่ งจากการ ทางาน) มีการนาระเบยี บปฏบิ ตั ิ และระบบต่างๆ มาใช้เพอ่ื ปอ้ งกัน จัดการ ตดิ ตาม และรายงานการ บาดเจบ็ และความเจ็บป่วยอนั เนื่องมาจากการทางาน รวมถึง ▪ มาตรการส่งเสรมิ การรายงานของแรงงาน ▪ การจาแนกและบันทึกกรณีบาดเจ็บ และเจบ็ ปว่ ย ▪ การให้การรักษาท่ีจาเป็น ▪ การสอบสวนและดาเนินการเพ่อื แกไ้ ขทส่ี าเหตุ ▪ การอานวยความสะดวกให้แรงงานกลบั เข้าทางาน

4. Industrial Hygiene (สขุ อนามัยอุตสาหกรรม) แรงงานทีเ่ ส่ยี งต่อการไดร้ บั สารเคมี สารชวี ภาพและกายภาพ ต้องไดร้ ับการชีบ้ ง่ ประเมนิ ควบคุมตามลาดบั ข้ันของการควบคมุ อันตรายท่ีอาจเกดิ ขน้ึ ต้องถูกขจัดหรอื ควบคุมผา่ นการควบคมุ ที่เหมาะสมด้านการออกแบบ ด้าน วศิ วกรรมและด้านการจดั การ เมื่อไมส่ ามารถควบคมุ ความเส่ยี งอันตรายไดอ้ ยา่ งเพียงพอโดยวธิ กี าร ดังกลา่ ว สขุ ภาพของแรงงานต้องไดร้ บั การป้องกนั โดยการใช้อุปกรณ์ปอ้ งกันส่วนบุคคลทเ่ี หมาะสม ซ่ึงตอ้ งไดร้ บั การบารุงรักษาอยา่ งดี โปรแกรมการปอ้ งกันตอ้ งรวมถึงมเี อกสารใหค้ วามร้เู กี่ยวกับความเส่ียงทีเ่ ชอื่ มโยงกบั อนั ตรายเหลา่ น้นั

5. Physically Demanding Work (งานที่ต้องการแรงงานทางกายภาพ) แรงงานที่เสีย่ งต่ออนั ตรายจากงานที่ใชแ้ รงงานทางกายภาพ รวมถงึ การจัดการกับวัสดโุ ดย แรงงานคนและการยกของหนัก หรือยกของเปน็ ประจา การยืนเปน็ เวลานานหรือเป็นประจา หรอื งาน ประกอบที่ใช้แรงมาก ต้องได้รับการบง่ ชี้ ประเมนิ และควบคมุ

6. Machine Safeguarding (การป้องกนั อนั ตรายจากการใช้เคร่ืองจกั รกล) เครื่องจักรกลการผลติ และเคร่อื งจักรอ่นื ๆ ตอ้ งไดร้ ับการประเมนิ ความปลอดภัย ในกรณที ่ี เคร่อื งจกั รอาจก่อให้เกดิ อนั ตรายและการบาดเจบ็ ตอ่ แรงงาน ตอ้ งมเี คร่ืองป้องกันทางกายภาพ เครือ่ งลอ็ กและสงิ่ ปอ้ งกัน ซึ่งต้องได้รบั การบารุงรกั ษาอย่างเหมาะสม

7. Sanitation, Food, and Housing (สขุ อนามยั อาหาร และทอี่ ยู่อาศัย) แรงงานต้องสามารถเข้าถึงห้องสุขาท่ีสะอาด น้าดื่มสะอาด และการเตรียม การจัดเก็บอาหาร และสถานที่รับประทานอาหารท่ีถูกสุขลักษณะ หอพักแรงงานที่ผู้เข้าร่วมหรือผู้แทนจัดหาให้ต้อง ได้รับการดูแลรักษาให้สะอาดและปลอดภัย พร้อมด้วยทางออกฉุกเฉินท่ีเหมาะสม น้าร้อนสาหรับ อาบน้า แสงสว่าง ความอบอุ่นและการระบายอากาศท่ีเพียงพอ และพ้ืนที่ส่วนบุคคลท่ีมีความ ปลอดภัยเพือ่ เก็บรักษาทรัพย์สินส่วนบุคคล หรือของมีค่า และพ้ืนที่ส่วนตัวพร้อมสิทธิในการเข้าออก สถานทไี่ ดต้ ามเหตผุ ลอันควร

8. Health and Safety Communication (การสื่อสารด้านสขุ ภาพและความปลอดภัย) ผู้เข้าร่วมต้องให้ข้อมูลเร่ืองสุขภาพและความปลอดภัยท่ีเหมาะสมแก่แรงงาน และการฝึกอบรม ในภาษาที่แรงงานเข้าใจ เกี่ยวกับอนั ตรายท่ีถูกชี้บ่งในสถานที่ทางาน ซึ่งแรงงานเหล่านั้นมีความเส่ียง ทจ่ี ะประสบ รวมถึงแตไ่ ม่จากัดเพียงอันตรายจากเคร่ืองจกั ร ไฟฟา้ สารเคมี อัคคีภัย และอันตรายทาง รา่ งกาย ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับด้านสุขภาพและความปลอดภัยต้องได้รับการติดประกาศไว้อย่างชัดเจนในสถาน ประกอบการ หรือติดไว้ในสถานท่ีท่ีชี้บ่งไว้และ แรงงานเข้าถึงได้ ต้องมีการฝึกอบรมให้กับแรงงานทุก คนก่อนเร่ิมตน้ การทางานและเปน็ ประจาหลังจากนน้ั แรงงานต้องได้รับการส่งเสริมให้แจ้งความกังวล ใจเรื่องความปลอดภัย

Responsible Business Alliance Code of Conduct Version 6.0 (2018) หลักจรรยาบรรณแห่งพนั ธมิตรธรุ กจิ ผ้มู คี วามรับผดิ ชอบ สาหรบั การนาไปปฏิบตั ิ

1. Environmental Permits and Reporting (ใบอนุญาตและการรายงานดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม) 2. Pollution Prevention and Resource Reduction (การปอ้ งกนั มลภาวะและการลดการใช้ทรัพยากร) 3. Hazardous Substances (วัตถุอันตราย) 4. Solid Waste (ขยะมลู ฝอย) 5. Air Emissions (การปล่อยมลภาวะทางอากาศ) 6. Materials Restrictions (ขอ้ จากัดด้านวัสด)ุ 7. Water Management (การจดั การนา้ ) 8. Energy Consumption and Greenhouse Gas Emissions (การใชพ้ ลังงานและการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก)

1. Environmental Permits and Reporting (ใบอนญุ าตและการรายงานดา้ นส่ิงแวดล้อม) ใบอนญุ าตดา้ นสงิ่ แวดล้อมที่จาเป็นท้ังหมด (เช่น การเฝ้าพินจิ การปล่อยของเสยี ) การอนุมตั ิ และการขึน้ ทะเบียนต้องไดร้ ับการดาเนินการ เก็บรักษา และปรบั ปรุงใหต้ รงกับสถานการณ์ ปจั จบุ นั และตอ้ งปฏิบตั ติ ามข้อกาหนดในการรายงาน

2. Pollution Prevention and Resource Reduction (การป้องกนั มลภาวะและการลดการใช้ทรพั ยากร) ต้องมกี ารลดการปลอ่ ย การระบายสารพษิ และการผลิตของเสยี ใหเ้ หลอื นอ้ ยทส่ี ุด รวมถึง การขจัดให้หมดไปทแ่ี หลง่ ก่อเกดิ หรอื ทาการปฏบิ ัตกิ าร ตัวอยา่ งเชน่ การเพ่มิ อปุ กรณค์ วบคุม มลพิษ การปรับปรงุ ข้ันตอนการผลิต การบารุงรกั ษา และกระบวนการทางสาธารณูปโภค หรือโดย วิธกี ารอ่นื ๆ ตอ้ งอนรุ ักษก์ ารใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ซ่ึงรวมถึงนา้ เช้อื เพลิงฟอสซิล แรธ่ าตุ และ ผลิตภัณฑ์จากปา่ ดงดิบ หรอื ดว้ ยวิธีการปฏบิ ตั กิ าร เช่น ปรบั ปรุงขั้นตอนการผลิต การบารุงรักษา และกระบวนการทางสาธารณูปโภค การใชว้ ัสดทุ ดแทน การนาไปใชซ้ า้ การอนรุ กั ษ์ การรไี ซเคลิ หรอื โดยวิธกี ารอ่นื ๆ

3. Hazardous Substances (วัตถอุ ันตราย) ต้องมีการช้บี ง่ สารเคมีและวัตถุอนื่ ใดทก่ี ่ออันตรายหากปลอ่ ยออกสู่ส่งิ แวดลอ้ ม ตดิ ปา้ ยแสดง เพื่อใหม้ ั่นใจวา่ มกี ารดแู ลดา้ นความปลอดภยั ในเรอื่ งการจัดการ การเคล่ือนย้าย การจัดเก็บ การรี ไซเคลิ หรือการนากลับมาใชใ้ หม่ รวมถงึ การกาจัดทงิ้

4. Solid Waste (ขยะมูลฝอย) ผ้เู ข้ารว่ มตอ้ งใช้วธิ ีการอยา่ งเปน็ ระบบและรับผิดชอบในการช้ีบ่ง จัดการ ลด และกาจัดหรือรี ไซเคลิ ขยะมลู ฝอย (ท่ไี ม่เป็นอนั ตราย)

5. Air Emissions (การปลอ่ ยมลภาวะทางอากาศ) การปล่อยสารระเหยท่ีเป็นสารอินทรีย์เคมี ละอองลอย สารกัดกร่อน สารอนุภาค สารเคมี ทาลายโอโซน และการเผาไหม้ท่ีเกิดจากการปฏิบัติงานออกสู่อากาศ ต้องได้รับการจาแนก ต้องมี การตรวจสอบ ควบคมุ และบาบดั กอ่ นปลอ่ ยออกเป็นประจา ผู้เขา้ รว่ มต้องดาเนินการตรวจสอบการทางานของระบบควบคุมการปล่อยมลภาวะทางอากาศเป็น ประจา

6. Materials Restrictions (ข้อจากดั ด้านวสั ด)ุ ผู้เข้าร่วมต้องยึดถอื การปฏิบตั ิตามกฎหมาย ระเบยี บ และข้อกาหนดของลูกค้าเก่ียวกับการห้าม หรือการจากัดสารเฉพาะในสนิ ค้า และการผลติ รวมถึงการติดฉลากระบุเกี่ยวกับการรีไซเคิล และการ กาจดั ท้งิ

7. Water Management (การจัดการนา้ ) ผู้เข้าร่วมต้องดาเนินโครงการการจัดการน้าซ่ึงต้องจัดทาบันทึก กาหนดคุณลักษณะ และ ตรวจสอบติดตามแหล่งน้า การใช้น้า และการปล่อยน้า รวมถึงการแสวงหาโอกาสในการอนุรักษ์ น้าและควบคุมช่องทางการปนเป้ือน ต้องกาหนดคุณลักษณะ ตรวจติดตาม ควบคุม และบาบัดน้า เสียทุกชนดิ ตามท่กี าหนด ก่อนทาการปล่อยหรอื ทิ้งสูภ่ ายนอก ผู้เข้าร่วมต้องทาการเฝ้าพินิจประสิทธิภาพของระบบการบาบัดน้าเสีย และระบบการกักเก็บเป็น ประจา เพอ่ื ใหแ้ นใ่ จถงึ สมรรถนะและสอดคลอ้ งกับกฎระเบียบ

8. Energy Consumption and Greenhouse Gas Emissions (การใช้พลงั งานและการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจก) ต้องมีการติดตามและบันทึกการใช้พลังงานและการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ที่เก่ียวข้อง ทั้งหมดใน Scope 1 และ 2 ท้ังในระดับสถานประกอบการและ/หรอื ในระดับองค์กร ผู้เข้าร่วมต้องหาวิธีที่คุ้มค่าต่อต้นทุนเพ่ือปรับปรุงประสิทธิภาพในการใช้พลังงาน และเพื่อลด ปริมาณการใช้พลงั งาน และการปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจกใหต้ ่าทส่ี ุด

Responsible Business Alliance Code of Conduct Version 6.0 (2018) หลักจรรยาบรรณแห่งพนั ธมิตรธรุ กจิ ผ้มู คี วามรับผดิ ชอบ สาหรบั การนาไปปฏิบตั ิ

1. Business Integrity (ความซอ่ื สตั ยท์ างธุรกิจ) 2. No Improper Advantage (ไมม่ ีการเอื้อประโยชน์ท่ีไม่เหมาะสม) 3. Disclosure of Information (การเปิดเผยข้อมลู ) 4. Intellectual Property (ทรพั ย์สินทางปัญญา) 5. Fair Business, Advertising and Competition (การดาเนินธรุ กิจ การโฆษณา และการแขง่ ขนั ทเ่ี ป็นธรรม) 6. Protection of Identity and Non-Retaliation (การปกป้องลักษณะบุคคลและการไม่โต้ตอบ) 7. Responsible Sourcing of Minerals (การหาแหล่งแรธ่ าตโุ ดยมคี วามรบั ผิดชอบ) 8. Privacy (ความเป็นส่วนตวั )

1. Business Integrity (ความซือ่ สัตย์ทางธุรกจิ ) ▪ ต้องยึดถอื มาตรฐานความซ่อื สตั ย์ข้นั สูงสดุ ในทุกการดาเนนิ ธรุ กิจ ▪ ต้องมีนโยบายไม่ประนีประนอมต่อการทุจริตโดยสิ้นเชิง ท้ังน้ี เพื่อป้องกันการติดสินบน การ คอรร์ ปั ชัน การรดี ไถ และการฉอ้ ฉลในทุกรปู แบบ นโยบายดา้ นจรยิ ธรรม Ethics Policy

2. No Improper Advantage (ไม่มีการเออื้ ประโยชนท์ ไ่ี ม่เหมาะสม) ▪ ตอ้ งไมส่ ญั ญา เสนอ มอบอานาจ ให้ หรอื ยอมรบั การติดสนิ บน หรอื วธิ ีการอ่ืนใดทจี่ ะทาให้ ได้รับผลประโยชนท์ ี่ไม่ควรหรอื ไม่เหมาะสม ▪ ขอ้ หา้ มน้ีรวมถึงการสญั ญา เสนอ มอบอานาจ ให้ หรอื ยอมรบั สงิ่ ของใดทมี่ มี ูลคา่ ไม่วา่ โดยตรงหรือโดยอ้อม เพ่อื ใหไ้ ด้มาหรอื รักษาธรุ กจิ ไว้ ชน้ี าธรุ กิจแกผ่ ู้ใดผ้หู นึง่ หรอื ไดร้ ับ ผลประโยชน์ท่ไี มเ่ หมาะสม ▪ ตอ้ งมกี ารตรวจสอบติดตามและบังคบั ใช้กระบวนการต่างๆ เพื่อให้ม่นั ใจว่าเปน็ ไปตาม กฎหมายต่อต้านการคอร์รัปชนั

3. Disclosure of Information (การเปิดเผยข้อมลู ) ▪ การเจรจาทางธรุ กจิ ทั้งหมดควรกระทาอย่างโปรง่ ใสและมกี ารอา้ งอิงในเอกสารและบันทกึ ข้อมลู ทางธุรกิจของผเู้ ข้ารว่ มอยา่ งถูกตอ้ งแม่นยา ข้อมูลเกย่ี วกับแรงงาน สุขภาพและความ ปลอดภัย วิธีปฏบิ ัติด้านสิง่ แวดล้อม กจิ กรรมทางธุรกจิ โครงสรา้ ง สถานะและผลประกอบการ ทางการเงนิ ของผู้เขา้ รว่ ม ▪ ตอ้ งไดร้ ับการเปิดเผยตามกฎระเบียบและแนวปฏบิ ตั ิท่ีเกยี่ วขอ้ งของอตุ สาหกรรม การปลอม แปลงบันทึกข้อมูลหรอื แถลงขอ้ ความอันเปน็ เทจ็ เกยี่ วกับเงื่อนไขหรอื วิธีปฏิบตั ิในหว่ งโซ่ อุปทานเป็นส่ิงทยี่ อมรับไมไ่ ด้

4. Intellectual Property (ทรัพย์สนิ ทางปญั ญา) สทิ ธใิ นทรัพย์สินทางปัญญาตอ้ งได้รับการเคารพ กลา่ วคือ การถ่ายโอนเทคโนโลยีและ ฐานความรตู้ อ้ งกระทาในลกั ษณะที่มกี ารปกปอ้ งสิทธิในทรพั ยส์ ินทางปญั ญา ข้อมูลของลูกค้าและ ผ้สู ่งมอบ ตอ้ งได้รับการปกป้อง

5. Fair Business, Advertising and Competition (การดาเนินธรุ กิจ การโฆษณา และการแข่งขนั ที่เป็นธรรม) ต้องรักษามาตรฐานของการดาเนนิ ธุรกิจ การโฆษณา และการแข่งขนั ท่เี ป็นธรรม

6. Protection of Identity and Non-Retaliation (การปกปอ้ งลักษณะบุคคลและการไม่โต้ตอบ) ▪ มีโครงการคมุ้ ครองความลบั ความเปน็ นิรนาม และการปกป้องซพั พลายเออรแ์ ละลูกจ้างที่เปน็ ผูร้ ้องเรยี น เว้นแตจ่ ะถูกห้ามโดยกฎหมาย ▪ มีกระบวนการสื่อสารสาหรับบคุ ลากรเพื่อให้สามารถแจง้ ความกังวลของตนได้โดยปราศจาก ความกลวั จากการถกู ตอบโต้

7. Responsible Sourcing of Minerals (การหาแหล่งแรธ่ าตโุ ดยมีความรบั ผิดชอบ) ▪ ต้องมนี โยบายทส่ี มเหตผุ ลในการหาแร่ธาตุแทนทาลัม ดีบุก ทังสเตน และทองคา ที่นามาใช้ใน การผลิตสินค้า ซ่ึงมิได้เป็นการสนับสนุนด้านเงินทุนแก่กลุ่มติดอาวุธท่ีละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างร้ายแรงไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อมในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกหรือประเทศ ใกล้เคียง ▪ ผูเ้ ขา้ รว่ มตอ้ งดาเนนิ การตรวจสอบสถานะอยา่ งเครง่ ครดั ในการหาแหล่งท่ีมา และลาดับห่วงโซ่ ของการคุ้มครองแร่ธาตุเหล่าน้ี และแสดงมาตรฐานการตรวจสอบสถานะที่มีให้แก่ลูกค้าเม่ือ ลูกคา้ ร้องขอ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook