Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SAR-สถานศึกษา-ปี-2563-โรงเรียนเทศบาลนาอ้อ-จ.เลย ล่าสุดใหม่

SAR-สถานศึกษา-ปี-2563-โรงเรียนเทศบาลนาอ้อ-จ.เลย ล่าสุดใหม่

Published by nittaya seeda, 2021-08-26 06:56:38

Description: SAR-สถานศึกษา-ปี-2563-โรงเรียนเทศบาลนาอ้อ-จ.เลย ล่าสุดใหม่

Search

Read the Text Version

๕๑ ๑๓. ผลกำรประเมินคณุ ภำพภำยในสถำนศกึ ษำในปีที่ผำ่ นมำ ปีกำรศกึ ษำ 256๒ (ปีกำรศึกษำทแ่ี ล้ว) สรุปผลกำรประเมนิ คณุ ภำพภำยในสถำนศกึ ษำ โรงเรียนเทศบำลนำออ้ ประจำปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๒ ตามท่โี รงเรยี นเทศบาลนาออ้ ไดด้ าเนินการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ ตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษาตามประกาศของกระทรวงมหาดไทย โดยจัดทารายงาน ประจาปีเสนอต่อหนว่ ยงานตน้ สงั กดั หน่วยงานทีเ่ ก่ียวขอ้ ง และเสนอตอ่ สาธารณชน เพอื่ นาไปสู่การพัฒนา คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา และเพ่อื รองรบั การประเมินคุณภาพภายนอก บดั นีก้ ารดาเนนิ การประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษา เสร็จเรยี บร้อยแล้ว จึงขอเสนอผลการประเมิน คุณภาพภายในสถานศกึ ษา แสดงในตาราง สรุปผลไดด้ ังนี้ ระดบั กำรศึกษำปฐมวัย มาตรฐาน/ตวั บง่ ชี้ คา่ เฉล่ยี ระดับ สรปุ ผลการ คณุ ภาพ ประเมนิ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเดก็ ๙๖.๔๙ ยอดเยี่ยม ได้มาตรฐาน มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ๙๕.๓๕ ยอดเยี่ยม ไดม้ าตรฐาน มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณท์ เี่ นน้ เดก็ เปน็ สาคญั ๙๖.๖๑ ยอดเยี่ยม ได้มาตรฐาน ค่าเฉลยี่ รวม ๙๖.๑๕ ยอดเย่ียม ได้มาตรฐาน สรปุ ผลการประเมินคณุ ภาพภายในระดบั การศึกษาปฐมวยั  ค่าเฉล่ยี รวมผลการประเมินคุณภาพ เทา่ กับ ๙๖.๑๕ มคี ุณภาพระดบั ยอดเย่ียม การรับรองมาตรฐานการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา  มีค่าเฉล่ยี ของผลประเมินคุณภาพ มคี ่าเฉลีย่ ตัง้ แต่ ๓.๐๐ ขึ้นไป  ใช่  ไมใ่ ช่ สรุปวา่ ผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในภาพรวม  ได้  ไม่ได้ มาตรฐานคุณภาพ จุดเดน่ เด็กมีความพร้อมมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย รักการเรียน เด็กให้ความรว่ มมือในการจัดกิจกรรมต่างๆ มีการทางานเป็นทีม กล้าแสดงออก สนใจเรียนรู้ส่ิงใหม่ๆ ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้ ที่เน้นทักษะ กระบวนการคิด ได้ปฏิบัติจริง เด็กมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการ เรียนรู้ และ บรรยากาศตามสถานทีต่ ่างๆ ทั้งภายในห้องเรียนและนอกห้องเรียนอย่างเปน็ ระบบ เด็กมีพัฒนาการ ด้านร่างกาย น้าหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานกรมอนามัย มีร่างกายแข็งแรง สามารถใช้กล้ามเน้ือมัดเล็ก มัดใหญ่ได้ คล่องแคล่ว มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตนเองและรู้จักหลีกเล่ียงต่อภาวะที่เส่ียงต่อโรค สิ่งเสพติด อุบัติเหตุ ภัยจากบุคคลและสง่ิ แวดล้อม และดา้ นสติปญั ญา เด็กสนใจเรียนรสู้ ่ิงตา่ งๆรอบตวั ชอบซักถามและคิดแก้ปัญหาได้ เหมาะสมตามวยั สถานศึกษาจัดทาและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัยให้เหมาะสมกับเด็ก และบริบทของ ท้องถิ่นสู่ประชาคมอาเซียน ครูมีความรู้ ความเข้าใจปรัชญาหลักการและจุดหมายการจัดการศกึ ษาปฐมวัย จดั ทา แผนการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสาคัญและนาไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ จัดกิจกรรมเสริม ประสบการณ์ทีห่ ลากหลายเหมาะสมกับวัย ตอบสนองความต้องการและความแตกต่างของเดก็ และสอดคล้องกับ วถิ ชี วี ิตของครอบครวั ชุมชนและท้องถน่ิ วดั และประเมินผลตามสภาพจริง และนาผลการประเมนิ มาพัฒนาเดก็ ให้ เต็มตามศักยภาพ จัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับเด็กโดยคานึงถึงความปลอดภัย มีครูปฐมวัยและครูได้เข้ารับ

๕๒ การอบรมเพื่อพฒั นาตนเองเกี่ยวกบั การจดั การศึกษาปฐมวัยอย่างน้อย 60 ชม./ปี โรงเรยี นมีหลักสตู รสถานศึกษา ทเ่ี หมาะสมกบั เดก็ และสอดคลอ้ งกับบรบิ ทของชุมชนและท้องถิ่น ครูผู้สอนสามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ได้ อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ มีการบริหาร และการจัดการอยา่ งเป็นระบบ ครจู ดั ห้องเรียนสะอาด มอี ากาศถา่ ยเท ปลอดภัย มมี ุมประสบการณ์และการจดั กิจกรรม จัดบรรยากาศ ท่ี เอื้อตอ่ การเรียนรู้ วิเคราะห์ข้อมูลเด็กเป็นรายบคุ คล จดั ทาแผนการจดั ประสบการณ์ วเิ คราะหม์ าตรฐาน คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ในหลักสตู รสถานศกึ ษา จดั ประสบการณเ์ ดก็ ด้วยรปู แบบทหี่ ลากหลายจากแหลง่ เรยี นรู้ ต่างๆ เด็กได้เลือกเล่น เรยี นรู้ ลงมือ กระทา และสรา้ งองค์ความร้ดู ว้ ยตนเอง จดุ ท่คี วรพฒั นำ ควรนาเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมใหมๆ่ มาชว่ ยในการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน ส่งเสรมิ ใหค้ รพู ฒั นาตนเองอย่างตอ่ เนอื่ งในการใชเ้ ทคโนโลยี และ ควรนาภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่นใหเ้ ข้ามามีส่วนร่วมในการจัด กจิ กรรมให้นกั เรียนไดเ้ รยี นรู้ และการให้ข้อมลู ยอ้ นกลบั แกน่ ักเรียนทันทีเพ่ือนักเรยี นนาไปใช้พฒั นาตนเอง ควรจัดกิจกรรมการเรียนร้ใู ห้หลากหลายตามแนว Active Learning ควรส่งเสรมิ ให้มีการใช้สอื่ เทคโนโลยี ให้เป็น รูปธรรมมากย่ิงข้ึนและมีการนิเทศติดตามอย่างต่อเน่ือง พัฒนาครูให้สามารถจัดกิจกรรมอย่างมีคุณภาพ ส่งเสริมให้ครูมีการบันทึกการสอนอย่างละเอียดเพ่ือนาปัญหาและอุปสรรคที่เกิดจากการจัดกิจกรรมการ เรยี นรไู้ ปจัดทาวจิ ัยในชั้นเรียน และสง่ เสริมให้เดก็ และผู้ปกครองมีส่วนรว่ มในการประชมุ PLC เพ่ือหาแนวทางใน การแก้ไขปัญหาร่วมกัน ส่งเสริมใหค้ รูนาเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมใหมๆ่ มาช่วยในการจัดการเรยี นการสอนในชน้ั เรียน สง่ เสริม ให้ ครพู ัฒนาตนเองอย่างตอ่ เน่ืองในการใช้เทคโนโลยี สง่ เสริมให้ครูมคี วามรู้ความสามารถในการจัดการเรยี นรู้ อย่าง หลากหลายรปู แบบโดยเน้นผเู้ รียนและสอดคล้องกับวถิ ชี ีวติ ของครอบครวั ชุมชน และทอ้ งถ่ิน แผนกำรพฒั นำคุณภำพเพือ่ ยกระดับคณุ ภำพมำตรฐำนให้สงู ข้นึ 1. ควรจัดกิจกรรมการเรยี นรูใ้ หห้ ลากหลายตามแนว Active Learning 2. ควรสง่ เสรมิ ใหม้ ีการใช้ส่อื เทคโนโลยี ใหเ้ ป็นรูปธรรมมากยิง่ ข้นึ และมกี ารนิเทศตดิ ตามอยา่ งต่อเนื่อง 3. พฒั นาครูให้สามารถจัดกิจกรรมจติ ศึกษาอย่างมคี ุณภาพ 4. ส่งเสริมให้ครมู ีการบันทกึ การสอนอยา่ งละเอยี ดเพอ่ื นาปัญหาและอปุ สรรคที่เกดิ จากการจัดกิจกรรม การเรยี นรูไ้ ปจัดทาวจิ ยั ในช้ันเรียน 5. ส่งเสริมใหเ้ ดก็ และผปู้ กครองมีส่วนร่วมในการประชุม PLC เพ่อื หาแนวทางในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน ๕.1 ส่งเสรมิ ให้ครไู ด้พฒั นาตนเองเพอื่ ให้สามารถจัดกจิ กรรมการเรียนรูไ้ ด้หลากหลายตามแนว Active Learning ๕.2 ส่งเสริมให้ครไู ด้ใช้สื่อเทคโนโลยี ใหเ้ ป็นรปู ธรรมมากย่งิ ขน้ึ และมกี ารนเิ ทศตดิ ตามอยา่ งต่อเนอื่ ง ๕.3 ส่งเสรมิ ให้ครูทาขอ้ ตกลงร่วมกนั ในการกาหนดแนวทางการเรียนรแู้ ละการปฏิบัตงิ านในห้องเรียน ๕.4 ส่งเสรมิ ให้ครูมกี ารบันทึกการสอนอยา่ งละเอียดเพ่ือนาไปจดั ทาวิจยั ในช้ันเรยี น ๕.5 สง่ เสริมให้ครมู ีการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ และให้ข้อมลู สะทอ้ นกลับ โดยใชก้ ระบวนการสรา้ งชมุ ชน แหง่ การเรียนรู้ (PLC) อยา่ งสม่าเสมอ

๕๓ ระดับกำรศึกษำข้ันพื้นฐำน มาตรฐาน/ตัวบง่ ช้ี คา่ เฉล่ยี ระดับ สรุปผลการ คณุ ภาพ ประเมิน มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผ้เู รียน ๘๑.๙๕ ดี ไดม้ าตรฐาน มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ ๙๓.๔๑ ยอดเย่ียม ได้มาตรฐาน มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ ๙๕.๖๐ ยอดเยีย่ ม ได้มาตรฐาน ค่าเฉล่ยี รวม ๙๐.๓๒ ดีเลิศ ไดม้ าตรฐาน สรปุ ผลการประเมินคณุ ภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน  ค่าเฉลี่ยรวมผลการประเมินคุณภาพ เทา่ กับ ๙๐.๓๒ มีคณุ ภาพระดับ ดเี ลศิ การรบั รองมาตรฐานการจดั การศึกษาของสถานศึกษา  มคี ่าเฉลีย่ ของผลประเมินคณุ ภาพ มีคา่ เฉล่ยี ตง้ั แต่ ๓.๐๐ ขึ้นไป  ใช่  ไม่ใช่ สรปุ วา่ ผลการจดั การศึกษาของสถานศึกษาในภาพรวม  ได้  ไม่ได้ มาตรฐานคุณภาพ จดุ เดน่ นักเรียนมีการพฒั นา มีความสามารถทางด้านวิชาการ ด้านทักษะอาชพี มสี ุนทรียภาพทางดา้ นดนตรี ศิลปะ และกฬี า ปฏบิ ัติตามหลักธรรมของศาสนา มมี ารยาท มีความขยัน จติ ใจเออื้ อาทร กตญั ญู มรี ะเบยี บวินัย ซื่อสตั ย์ มที ักษะในการทางาน และมีการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการโดยปราชญ์ชาวบา้ นเข้ามาให้ความรู้ มสี ุนทรยี ภาพในการทางานจนเปน็ เอกลักษณข์ องโรงเรยี นในเร่อื งการแสดงออกทางดนตรี นาฏศลิ ป์พ้ืนบา้ นและ เปน็ ท่ียอมรบั ของชุมชน สถานศึกษามีการบรหิ ารจัดการอยา่ งเป็นระบบ มอบหมายใหห้ วั หน้าฝ่ายบรหิ ารงานทง้ั 4 ฝ่ายงาน ได้ ตดิ ตามงานอยา่ งต่อเน่อื ง มีการประชุมปรกึ ษาหารือ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และให้ข้อมลู สะทอ้ นกลับ โดยใช้ กระบวนการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) เพื่อหาแนวทางร่วมกนั ในการสง่ เสริมและแก้ไขปัญหา รวมทงั้ แจ้ง ข้อราชการทส่ี าคัญและนโยบายที่ต้องการเรง่ ดว่ นอย่างสม่าเสมอ นอกจากน้นั เพอ่ื ให้ทุกฝา่ ยมีส่วนร่วมใน การ กาหนดวิสัยทัศน์ พันธกจิ เป้าหมายที่ชดั เจน มกี ารปรบั แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา แผนปฏิบัตกิ าร ประจาปี ท่ี สอดคล้องกบั ผลการจัดการศกึ ษา สภาพปญั หา ความตอ้ งการพฒั นา และนโยบาย ครูมีความตั้งใจมุ่งมั่นในการพัฒนาการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ โดยจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้ ที่เน้นทักษะกระบวนการคิด ได้ปฏิบัติจริง มีการแนะนาวิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้ผู้เรียน แสวงหาความรูจ้ ากส่ือเทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างตอ่ เน่ือง ผู้เรยี นมสี ่วนร่วมในการจดั บรรยากาศ สภาพแวดลอ้ มที่ เออ้ื ต่อการเรียนรู้ จดุ ทค่ี วรพฒั นำ ต้องพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา ผู้เรียนในระดับชั้น ป.4 -ป.6 และควรเร่งพัฒนาความรู้ด้าน ภาษาต่างประเทศ และทักษะดา้ นการคิดคานวณ เพือ่ ให้ผเู้ รยี นตระหนักถึงความสาคญั ของการใชค้ ณิตศาสตรแ์ ละ ภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวัน ผู้เรียนในระดับช้ัน ม.1 – 3 ยังต้องได้รับการส่งเสริมในด้านทัศนคติท่ีดี ต่อความ เป็นไทยไม่หลงใหลกับค่านิยมต่างชาติจนเกิดการลอกเลียนแบบทาให้ลืมวัฒนธรรม อันดีงามของไทย ผู้เรียนใน ระดับชนั้ ม.๔ ต้องได้รับการสง่ เสริมในเร่ืองระเบียบวินัย คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ของสถานศกึ ษา เพอ่ื ส่งผลให้ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นและผลการสอบระดับชาตสิ งู ขน้ึ ต่อไป

๕๔ สร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วนเก่ียวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มีความเข้มแข็ง มี ส่วนร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา และการขับเคล่ือนคุณภาพการจัดการศึกษา เช่น คณะกรรมการ สถานศกึ ษา ผปู้ กครอง ชมุ ชน สมาคมศิษยเ์ ก่า หนว่ ยงานภายนอกทง้ั ภาครฐั และเอกชน ควรนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ มาช่วยในการจัดการเรยี นการสอนในช้ันเรียนมากขนึ้ ส่งเสรมิ ให้ครู พัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองในการใช้เทคโนโลยี มีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนทันทีเพื่อผู้เรียนนาไปใช้พัฒนา ตนเอง ควรส่งเสริมให้ครูออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้เฉพาะสาหรับผู้ที่มีความจาเป็นและความต้องการความ ช่วยเหลือพิเศษ เพื่อพัฒนาผเู้ รียนที่มคี วามจาเปน็ ต้องการช่วยเหลอื พิเศษตามศักยภาพของผเู้ รียน แผนกำรพฒั นำคุณภำพเพ่อื ยกระดบั คุณภำพมำตรฐำนใหส้ งู ขนึ้ 1. พัฒนาผู้เรยี นใหม้ คี วามสามารถในการอา่ น โดยครูจดั กจิ กรรมให้นักเรียนฝึกอ่านบญั ชีคาศพั ทพ์ นื้ ฐาน ตามมาตรฐานชว่ งชั้น ฝกึ อ่านรายบคุ คลในชวั่ โมงซอ่ มเสรมิ และฝึกคิดวิเคราะหจ์ ากสถานการณ์หรือจากรปู ภาพท่ี กาหนด 2. พฒั นาผู้เรียนใหม้ ีความสามารถในการเขยี น โดยครฝู ึกเขยี นคาศพั ท์พนื้ ฐานตามมาตรฐานชว่ งช้ัน ฝึก แตง่ ประโยคจากภาพและฝึกเขียนเล่าเรอื่ งจากภาพ 3. พัฒนาผู้เรียนมคี วามสามารถการคิดคานวณ โดยครจู ดั กจิ กรรมให้ผเู้ รยี นฝกึ คณติ คิดเร็ว คณติ คิดในใจ โดยใช้แบบฝกึ หดั ในชัว่ โมงซ่อมเสรมิ ฝึกคิดวเิ คราะห์โดยการสรา้ งโจทยป์ ัญหา และจดั ให้มีการทดสอบก่อนสอบ จรงิ 4. ส่งเสริมและพัฒนาความสามารถด้านภาษาอังกฤษ ดว้ ยกจิ กรรมย้มิ ไหว้ทักทายกนั (smiling and greeting) โดยให้ผู้เรียนฝึกทักษะการพูด/การส่ือสารภาษาอังกฤษทกั ทายคุณครูและเพื่อนๆนอกหอ้ งเรียน และฝึก ทกั ษะภาษาองั กฤษโดยใช้กิจกรรมภาษาองั กฤษวันละคา ๕. พฒั นาผ้เู รียนให้มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ อภปิ ราย แลกเปลย่ี น ความคดิ เห็นและแกไ้ ขปัญหา โดยสง่ เสรมิ ให้มกี ารจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ตามแนวทาง สะเต็มศึกษาหรอื โครงงานทุกระดับชน้ั 6. พัฒนาผูเ้ รียนใหม้ ีความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม โดยจัดกิจกรรมประกวดส่ิงประดิษฐข์ องเล่นของ ใช้จากวัสดุเหลอื ใช้ การจดั ทาโครงงานสิ่งประดิษฐ์ ๗. พฒั นาผเู้ รียนใหม้ คี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร โดยพฒั นาระบบ อินเตอรเ์ น็ตใหม้ ีความเร็ว และครอบคลุมพน้ื ท่โี รงเรยี น 100 เปอร์เซ็นต์ และครูจัดกิจกรรมสง่ เสริม ความสามารถของผู้เรยี น ในการใช้อินเทอร์เน็ตสืบค้นขอ้ มลู และสรปุ ความรู้ดว้ ยตนเอง สามารถวัดและ ประเมนิ ผลผา่ นระบบได้ 8. พฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา โดยส่งเสริมครใู ห้มกี ารนาเทคโนโลยแี ละ นวัตกรรมมาใชใ้ นการจดั การเรียนการสอน มีการนเิ ทศติดตามอยา่ งเป็นระบบและต่อเนอื่ ง และส่งเสรมิ กระบวนการ PLC ครจู ัดกิจกรรมการเรยี นการสอนโดยเนน้ กระบวนการคดิ โดยผ่านกระบวนการกล่มุ ใชข้ ้อสอบ ของปีการศกึ ษาทีผ่ ่านมา เปน็ แนวทางในการสอนซ่อมเสรมิ ๙. สง่ เสรมิ การมีส่วนรว่ มของทกุ ภาคสว่ น ๑๐. ส่งเสรมิ ให้มกี ารประเมินหลักสูตรเพื่อให้เกิดการพฒั นาที่ตรงกับกลุม่ เปา้ หมายและเช่อื มโยงกับ ชวี ิตจรงิ ๑๑. สง่ เสรมิ การพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษาให้ครอบคลมุ ทกุ กลุม่ เป้าหมายและเชอื่ มโยงกับชวี ติ จริง ๑๒. ส่งเสริมให้ครแู ละบุคลากรได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานวิชาชีพ และสามารถปฏิบตั ิงานไดอ้ ยา่ งมี ประสทิ ธิภาพโดยผ่านการพฒั นาอยา่ งต่อเนอ่ื ง

๕๕ ๑๓. สง่ เสริมใหบ้ ุคลากรมกี ารแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ผา่ นกระบวนการ PLC อยา่ งต่อเน่ือง ๑๔. ปรับปรุงแหลง่ เรียนรู้ใหม้ ีสภาพแวดล้อมทีเ่ อ้ือต่อการเรยี นรอู้ ย่างหลากหลาย สะอาด และมคี วาม ปลอดภัย ๑๕. สง่ เสรมิ การจดั กจิ กรรมการเรียนรนู้ อกหอ้ งเรยี นให้สอดคลอ้ งกับสาระวิชามากขน้ึ ๑๖. พฒั นาระบบเครอื ข่ายเทคโนโลยีดิจิทัล ทท่ี ันสมยั และครอบคลุม สนองต่อความต้องการของ ผู้ใชบ้ ริการอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ๑๗. สง่ เสริมให้ครไู ดพ้ ฒั นาตนเองเพ่ือใหส้ ามารถจดั กจิ กรรมการเรียนรูไ้ ดห้ ลากหลายตามแนว Active Learning ๑๘.. สง่ เสริมให้ครูไดใ้ ชส้ ื่อเทคโนโลยี ให้เปน็ รูปธรรมมากยิง่ ขน้ึ และมีการนเิ ทศติดตามอย่างต่อเน่อื ง ๑๙. ส่งเสรมิ ให้ครทู าขอ้ ตกลงร่วมกันในการกาหนดแนวทางการเรยี นรู้และการปฏบิ ัตงิ านในหอ้ งเรยี น ๒๐. ส่งเสริมให้ครูมีการบันทกึ การสอนอย่างละเอียดเพ่ือนาปญั หาและอุปสรรคทเ่ี กดิ จากการจดั กจิ กรรม การเรยี นรไู้ ปจดั ทาวิจัยในชั้นเรยี น ๒๑. ส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นและผ้ปู กครองมีสว่ นร่วมในการประชมุ PLC เพอื่ หาแนวทางในการพฒั นาการ จัดการเรียนรแู้ ละแก้ไขปญั หาร่วมกัน ๒๒. ส่งเสริมให้ครมู ีการแลกเปลย่ี นเรียนรู้ และให้ข้อมลู สะท้อนกลับ โดยใชก้ ระบวนการสร้างชุมชนแห่ง การเรียนรู้ (PLC) อยา่ งสมา่ เสมอ ๑๔. ผลกำรประเมินคณุ ภำพภำยนอกรอบสำม ำน้หนกั คะแนน ระดับ ๑๔.๑ ระดบั กำรศกึ ษำปฐมวยั ทีไ่ ด้ คณุ ภำพ คะแนน ระดบั กำรศึกษำปฐมวยั ๔.๕๐ ดมี าก ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดมี าก กลมุ่ ตวั บง่ ชี้พน้ื ฐำน ๕.๐๐ ๔.๐๐ ตัวบ่งชีท้ ่ี ๑ เด็กมพี ัฒนาการดา้ นรา่ งกายสมวยั ๕.๐๐ ๙.๕๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๒ เดก็ มีพัฒนาการดา้ นอารมณ์และจติ ใจสมวยั ๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ดมี าก ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๓ เด็กมีพฒั นาการด้านสังคมสมวยั ๑๐.๐๐ ๓๓.๐๐ ดีมาก ตัวบ่งชี้ท่ี ๔ เด็กมพี ฒั นาการดา้ นสติปญั ญาสมวัย ๓๕.๐๐ ดมี าก ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๕ เดก็ มีความพรอ้ มศกึ ษาตอ่ ในขนั้ ตอ่ ไป ๑๔.๕๐ ตัวบ่งชี้ท่ี ๖ ประสิทธิผลการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ท่เี น้นเด็กเป็น ๑๕.๐๐ ดีมาก ๔.๙๒ สาคญั ๕.๐๐ ดมี าก ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๗ ประ สิทธิภาพ การ บริหารจัดก ารและ การพัฒน า ๒.๕๐ ๒.๕๐ ดีมาก สถานศกึ ษา ๒.๕๐ ตัวบ่งชีท้ ี่ ๘ ประสิทธผิ ลของระบบการประกันคุณภาพภายใน ๒.๕๐ ดีมาก กลุ่มตวั บ่งชีอ้ ัตลกั ษณ์ ตวั บง่ ชี้ท่ี ๙ ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกจิ และ วัตถปุ ระสงคข์ องการจัดตัง้ สถานศึกษา ตวั บง่ ชที้ ี่ ๑๐ ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นท่ีส่งผลสะท้อน เปน็ เอกลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา กลุ่มตวั บ่งชม้ี ำตรกำรส่งเสริม

๕๖ ตัวบง่ ชี้ที่ ๑๑ ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาท ๒.๕๐ ๒.๐๐ ดี ของสถานศึกษา ตวั บ่งชีท้ ่ี ๑๒ ผลการส่งเสรมิ พัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน ๒.๕๐ ๒.๐๐ ดี รกั ษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลศิ ทีส่ อดคล้องกับ แนวทางการปฏริ ูปการศึกษา คะแนนรวม ๑๐๐.๐๐ ๙๔.๔๒ ดีมาก ผลรวมคะแนนประเมนิ สถานศึกษา ๙๔.๔๒ คะแนน มีคณุ ภาพระดบั ดมี าก ผลการรบั รองมาตรฐานคุณภาพ  รบั รอง  ไม่รบั รอง ข้อเสนอแนะ ๑. เด็กควรได้รับการปลูกฝังให้มีวินัยและความรับผิดชอบ มีความซ่ือสัตย์และรู้จักประหยัด โดยครู มอบหมายหน้าที่ความรบั ผิดชอบ ร้จู ักดแู ลของใช้ของตนเองและผู้อนื่ และรู้คุณค่าของของเล่นของใช้ เชน่ เก็บโต๊ะ เก้าอ้ี เก็บของเล่นเขา้ ที่ ทาความสะอาดแก้วของตนเอง ปดิ น้าหลังจากลา้ งมือ แปรงฟันเสร็จ เปน็ ต้น ในเบือ้ งต้น ครูควรดูแลอย่างใกล้ชิด มอบรางวลั ตอบแทนความดีและซ่ือสตั ย์ เช่น ปรบมือเม่ือเพ่ือนเก็บของท่ีไม่ใช่ของตนมา สง่ ครู จนเด็กสามารถปฏิบัตไิ ดเ้ ป็นนิสัย ๒. สถานศึกษาโดยครูปฐมวัยควรมีการดาเนนิ กิจกรรมตามโครงการรินน้าใจให้น้องอบอนุ่ อย่างต่อเนื่อง และขอความร่วมมือจากผปู้ กครองในการดูแลเด็กทงั้ ท่บี า้ นและสถานศกึ ษาเพือ่ ให้เกิดพฤตกิ รรมตามคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ ใหส้ ามารถเป็นแบบอย่างของการเปล่ียนแปลงที่ดีขน้ึ ในการแก้ไขปญั หาในสถานศกึ ษาและ/หรอื ชมุ ชน รอบสถานศึกษา สามารถเผยแพร่ต่อหน่วยงานอน่ื ได้ ๓. สถานศึกษาควรพัฒนาตามแนวทางในการปรับปรุงพัฒนางานเพื่อมุ่งสู่สถานศึกษาท่ีมีคุณภาพอย่าง ต่อเนื่อง จัดทาโครงการพัฒนาคุณภาพระดับปฐมวัยท่ีครอบคลุมการพัฒนาการบริหารจัดการ พัฒนาครูปฐมวัย พฒั นาเด็กปฐมวยั อย่างเหมาะสมกับวัย สอดคลอ้ งกับการพัฒนางาน ๔ ด้าน ของสถานศึกษาอยา่ งเปน็ ระบบครบ วงจรการศกึ ษา ๔. ครูควรฝึกอบรมให้เด็กรู้จักควบคุมตนเอง อดทนรอคอย ให้เด็กรู้จักการเข้าแถวรับบริการต่างๆ ตามลาดับก่อน-หลัง รอให้เพ่ือนมาครบทุกคนเพ่ือรับประทานอาหารพร้อมกัน โดยครูควรดูแลอย่างใกล้ชิดและ กาหนดมาตรฐาน ๕. ครูควรฝึกภาวะผู้นา ผู้ตามท่ีดแี กเ่ ด็ก โดยใหเ้ ด็กทุกคนมโี อกาสเป็นผู้นาในการรว่ มกิจกรรมแล้วให้เด็ก คนอนื่ ๆ เปน็ ผตู้ าม และใหเ้ ดก็ มโี อกาสผลัดเปลย่ี นกันออกมาเปน็ ผนู้ าไดค้ รบทกุ คน ๖. สถานศึกษาได้จัดการพัฒนาการประกันคุณภาพภายในอย่างมีประสิทธิภาพดีอยู่แล้ว แต่เพ่ือความ ยั่งยืนของกระบวนการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาควรมีการจัดระบบการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาและสารสนเทศตามหลกั การบริหารคุณภาพ โดยกาหนดเป้าหมายเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพในแต่ ละมาตรฐานใหช้ ัดเจน ทาความเขา้ ใจเกี่ยวกับแนวทางในการปฏบิ ัติเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันในการดาเนินงาน กับบคุ ลากรทกุ ฝ่ายท่เี กยี่ วข้อง

๕๗ ๑๔.๒ ระดับกำรศกึ ษำขนั้ พ้นื ฐำน ระดบั กำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน ำน้หนกั คะแนน คะแนน ระดับ ที่ได้ คุณภำพ (ประถมศึกษำ และมธั ยมศึกษำ) ดีมาก กลมุ่ ตวั บ่งช้ีพ้นื ฐำน ดมี าก ดีมาก ตวั บ่งชท้ี ี่ ๑ ผเู้ รียนมสี ุขภาพกายและสุขภาพจติ ทด่ี ี ๑๐.๐๐ ๙.๖๔ ๑๐.๐๐ ๙.๕๗ ดี ตัวบ่งชีท้ ี่ ๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มทพี่ ึงประสงค์ ๑๐.๐๐ ๙.๒๕ - ตัวบ่งช้ีท่ี ๓ ผ้เู รียนมคี วามใฝ่รู้ และเรียนรู้อยา่ งตอ่ เน่อื ง ๑๐.๐๐ ๘.๙๙ ดี ดีมาก ตัวบ่งชี้ท่ี ๔ ผเู้ รียนคิดเป็น ทาเปน็ - - ดีมาก ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๕ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของผู้เรียน ๑๐.๐๐ ๘.๐๐ ตัวบง่ ชท้ี ี่ ๖ ประสทิ ธผิ ลของการจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผูเ้ รียนเป็นสาคญั ๕.๐๐ ๕.๐๐ ตัวบง่ ชที้ ่ี ๗ ประสทิ ธภิ าพของการบรหิ ารจดั การและการพัฒนาสถานศกึ ษา ๕.๐๐ ๔.๘๓ ตัวบง่ ชี้ที่ ๘ พัฒนาการของการประกนั คุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้นสังกัด กลุม่ ตวั บ่งชีอ้ ตั ลกั ษณ์ ตวั บ่งชี้ที่ ๙ ผลการพัฒนาใหบ้ รรลตุ ามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการ ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดมี าก จดั ตั้งสถานศึกษา ตวั บง่ ชี้ที่ ๑๐ ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของ ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดมี าก สถานศึกษา กลมุ่ ตวั บง่ ช้ีมำตรกำรสง่ เสรมิ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑ ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพอื่ ส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดีมาก ตวั บ่งช้ที ่ี ๑๒ ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพอื่ ยกระดบั มาตรฐาน รกั ษามาตรฐาน และ ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดมี าก พัฒนาสคู่ วามเปน็ เลิศทส่ี อดคล้องกับแนวทางการปฏริ ูปการศกึ ษา คะแนนรวม ๘๐.๐๐ ๗๕.๒๘ ดมี าก ผลรวมคะแนนประเมนิ สถานศกึ ษา ๗๕.๒๘ คะแนน มคี ุณภาพระดบั ดมี าก ผลการรบั รองมาตรฐานคุณภาพ  รับรอง  ไม่รบั รอง หมำยเหตุ สถานศึกษาไม่มีผลการประเมินในตัวบ่งชี้ที่ ๕ ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เน่ืองจากไม่มีผู้เข้ารับการ ทดสอบ O-NET ในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ข้อเสนอแนะ ๑. ผู้เรยี นควรไดร้ ับการพฒั นาให้มคี วามสามารถด้านการคดิ วิเคราะห์ คดิ สังเคราะห์ โดยครูจัดกจิ กรรมให้ ผเู้ รียน ไดค้ ดิ และสามารถสรุปองค์ความร้ดู ว้ ยตนเอง ฝึกการนาเสนอขอ้ มูลดว้ ยวธิ ีการหลากหลาย เชน่ เรียงความ ยอ่ ความ รายงาน ทาหนงั สือเล่มเลก็ และครคู วรตรวจผลงานผ้เู รยี นอย่างละเอียด เพ่ือให้ผู้เรียนนาไปปรบั ปรงุ ทุก ครงั้ ๒. สถานศึกษามีผลการส่งเสริมสถานศึกษาที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษาในระดับดีมาก เพ่ือการพัฒนาที่ยั่งยืน สถานศึกษาควรเพิ่มมาตรการในการพัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่ ตามอัตลักษณ์ของ ผู้เรียน พัฒนาคุณภาพครู ส่งเสริมครูให้พัฒนาตนเอง มีความรอบรใู้ นการจดั ประสบการณ์เรยี นรู้ท่ตี อบสนองความ ตอ้ งการของผู้เรียน พัฒนาคณุ ภาพสถานศกึ ษาและแหล่งเรียนรู้ โดยดูแลและรกั ษาแหลง่ เรียนรู้ที่มีอยู่ให้คงสภาพ เดิมไว้ และอาจเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีข้ึนตามกาลเวลา และควรสรรหาแหล่งเรียนรู้เพิ่มขึ้น ผู้ท่ีเกี่ยวข้องท้ัง ทางตรงและทางอ้อม ร่วมกันกระตนุ้ ใหผ้ ูบ้ ริหารได้พัฒนาคุณภาพในการบริหารจัดการยคุ ใหม่ มคี วามทันสมัยและ กา้ วทันประชาคมอาเซยี น เพ่อื ให้สถานศกึ ษารักษามาตรฐานและสามารถนาสถานศึกษาพฒั นาไปสู่ความเป็นเลิศ ไดใ้ นอนาคต

๕๘ ๓. สถานศกึ ษาควรสง่ เสริมสนบั สนุนครูทุกคนได้รบั การพฒั นาในวชิ าที่สอนตามเกณฑ์อยา่ งต่อเน่อื ง มีการ ประเมนิ แผนการจดั การเรียนรู้ ประเมินการจัดการเรียนการสอน ประเมนิ แบบวดั แบบทดสอบของครูทุกคนอย่าง สม่าเสมอ และนาผลประเมนิ ไปพฒั นาครแู ต่ละคนอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ๔. ครูควรจัดทาบันทึกข้อมูลผู้เรียนทุกด้าน เช่น ด้านการเรียน การปกครอง เศรษฐกิจและด้านความ ประพฤติและนามาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล นาผลการวิเคราะห์ ควรออกแบบการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับ ความสามารถของผู้เรียน ผู้เรียนที่เรียนอ่อนให้ทาแบบฝึกตา่ งๆ เพิ่มข้ึน ผู้เรียนที่เรียนปานกลางให้ศึกษาบทเรียน สาเร็จรปู ชดุ การสอน ส่วนผู้เรยี นที่เรยี นดีเปิดโอกาสใหเ้ ข้ารว่ มการแขง่ ขันทางวชิ าการท้งั ในและนอกสถานศกึ ษา ๕. สถานศึกษาได้จัดการพัฒนาการประกันคุณภาพภายในอย่างมีประสิทธิภาพดีอยู่แล้ว แต่เพ่ือความ ย่ังยืนของกระบวนการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาควรมีการประเมินคุณภาพภายในอย่างเข้มแข็ง โดย คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในมีการตัดสินระดับคุณภาพและครอบคลุมท้ัง ๑๕ มาตรฐาน ควรนาผลการ ประเมินคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัดมาเป็นข้อมูลวางแผนการพัฒนาคุณภาพในปี การศกึ ษาต่อไปอย่างเป็นระบบและตอ่ เนือ่ ง 15. กำรนำผลกำรประเมนิ คุณภำพกำรศกึ ษำของสถำนศกึ ษำมำใช้ในกำรปรบั ปรงุ และพฒั นำคณุ ภำพ กำรศึกษำอยำ่ งต่อเน่ือง มกี ารพัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนเร่งพัฒนาคุณภาพผเู้ รียนเพอ่ื ยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน พฒั นา ความรู้ควบคู่กับคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมอันพึงประสงค์ ส่งเสริมนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษให้ สามารถพัฒนาตนเองได้ตามศักยภาพ พัฒนาทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ และ ภาษาจีน เสริมสร้างสมรรถนะ และความสามารถในการสื่อสารทางด้านภาษา นอกจากนี้สถานศึกษายังมีการ ป้องกันส่ิงเสพติดและพฤติกรรมท่ีไม่พึงประสงค์ โดยการเข้าไปช่วยเหลือและแก้ไขไม่ให้มีพฤติกรรมที่ไม่พึง ประสงค์จากปัจจัยเสี่ยงรอบบริเวณสถานศึกษา มีการแนะแนวส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเองสามารถ กาหนดเป้าหมายและวางแผนชีวิตได้ พัฒนากระบวนการจดั การเรียนการสอนของครู และบคุ ลากรทางการศึกษา ซึ่งเปน็ ปัจจัยสาคญั ในการพฒั นาผูเ้ รยี นเข้าสู่ระดบั มาตรฐาน พฒั นาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม วินัย และจรรยาบรรณ วชิ าชีพของครู อบรมสงั่ สอนฝึกฝนศิษย์ให้เป็นคนท่ีสมบูรณพ์ ร้อมคือ มีความรบั ผิดชอบตอ่ ตนเอง ต่อครอบครัว และสังคม พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน และสามารถใช้ข้อมูล สารสนเทศได้อยา่ งรวดเรว็ 16. กำรพฒั นำคณุ ภำพกำรจดั กำรศึกษำตำมแผนปฏิบัติกำรประจำปีของสถำนศึกษำ 16.1. การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนเทศบาลนาอ้อ สังกัดกองการศึกษา เทศบาลนาอ้อ ได้จัด โครงสร้างการบริหารการศึกษาเป็น ๔ ฝ่ายแบ่งเป็น การบริหารงานวิชาการ การบริหารงานงบประมาณ การ บริหารงานบุคคล และการบริหารงานทั่วไป โดยยึดหลักการบริหาร 3 ประการ ได้แก่ การมีส่วนร่วม การ กระจายอานาจและการทางานเป็นทีม โดยใช้ระบบการบริหารคุณภาพ PDCA เป็นเครื่องมือในการบริหาร สถานศึกษา มีการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นการพัฒนาสู่ความเป็นมาตรฐานการศึกษา โดยยึดหลักยึด มาตรฐานการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน นามาเป็นต้นแบบมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน และมกี ารจัดทาโครงการ / กิจกรรมทพี่ ัฒนาผู้เรียนทางด้านวชิ าการ ส่งเสริมให้นกั เรยี นมีคุณธรรม จริยธรรม ยึด มนั่ ในขนบธรรมเนยี มประเพณีอันดีงาม ระเบียบแบบแผนการดารงชวี ิตท่ีเหมาะสม นาความรู้ความสามารถ ไป ปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างมีคุณภาพและเช่ือมโยงการจัดการศึกษากับวิถีชุมชนในท้องถิ่นอย่างใกล้ชิด ใน ขณะเดียวกันคณะกรรมการสถานศึกษายังเข้ามามีส่วนร่วมส่งเสริมสนับสนุนและร่วมวางแผนพัฒนาการจัด

๕๙ การศึกษาของโรงเรียน พร้อมทงั้ ได้ความไว้วางใจจากผปู้ กครองและชุมชนตลอดมา มีความมงุ่ ม่ันท่ีจะพฒั นาการ จดั การศึกษาภายใตบ้ รบิ ทของศลิ ปวัฒนธรรมทอ้ งถ่ินสู่ความเปน็ สากลอยา่ งมีคุณภาพในอนาคตตอ่ ไป ด้านการจัดการเรียนการสอนทเี่ น้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ ครูจัดกจิ กรรมส่งเสริมการเรยี นรู้เพอ่ื ให้ นักเรียน มีการพัฒนาครบทุกด้าน ครูจัดทาแผนการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกบั วัย ความพร้อม พัฒนาการ วิธีการเรียนรู้ของเดก็ นกั เรียนตามบริบทของสงั คมและวัฒนธรรมท้องถิ่นทเ่ี ด็กอาศยั มาจัดประสบการณ์และวธิ ีการ เรยี นรู้ทีห่ ลากหลาย จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อให้เด็กมีพฒั นาการครบทุกดา้ น รวมถงึ การจัดการเรยี นรู้ที่ ตอบสนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการของเด็กนักเรียน มีปฏิสัมพันธ์ทางบวกกับผู้ปกครองและเด็กนักเรียน มี ความรกั ความเมตตา ดูแลเอาใจใสเ่ ด็กเท่าเทียมกนั เปดิ โอกาสใหผ้ ู้ปกครองมีส่วนร่วมในการจดั การศึกษาและทา กจิ กรรมร่วมกบั โรงเรียน สถานศึกษาตั้งอยู่ในชุมชนที่มีแหล่งเรียนรู้ ปราชญ์ชาวบ้านและภูมิปัญญาท้องถ่ินอย่างหลากหลาย มี คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ชุมชน ศิษย์เก่า ผู้ปกครองและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องท้ังภาครัฐและเอกชน ไว้วางใจในประสิทธิภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน ให้การสนับสนุนสถานศึกษาอย่างต่อเนื่องและให้ความ ร่วมมือในการพัฒนาสถานศึกษาอย่างเต็มท่ี ประกอบกับสถานศึกษาเป็นโรงเรียนสังกัดเทศบาลตาบลนาอ้อจึง ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินและเทศบาลตาบลนาอ้อในการบริหารอย่าง ตอ่ เนือ่ ง สง่ ผลใหส้ ถานศกึ ษามงี บประมาณในการจัดการศึกษาอยา่ งเพยี งพอและเหมาะสม

๖๐ ๑๖.๒ วสิ ัยทัศน์ พนั ธกิจ ยุทธศำสตร์ กลยุทธ์ จุดมงุ่ หมำยเพ่อื กำรพฒั นำ อัตลักษณ์ และเอกลักษณ์ ของ สถำนศกึ ษำ วิสยั ทัศน์ โรงเรียนเทศบาลนาออ้ เป็นสถานศกึ ษามงุ่ พัฒนาผ้เู รียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน การศกึ ษา มคี ุณธรรม จริยธรรม มีความรูต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีจิตสานกึ ความเป็นไทยและ ทอ้ งถนิ่ ใช้ภาษาไทยไดถ้ ูกตอ้ ง ก้าวทนั เทคโนโลยี มที กั ษะการเรียนรู้ ม่งุ สู่ศตวรรษท่ี ๒๑ พันธกจิ โรงเรียนเทศบาลนาอ้อ จัดระบบการศึกษาโดยครูต้องจัดการเรียนการสอนให้เป็นไปตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ และบูรณาการตามหลักสูตรท้องถ่ินโดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ เนน้ ภารกจิ โดยจัดทาแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาให้มี โครงการ/ งาน/ กจิ กรรม ครอบคลมุ ภารกิจ ๔ ด้าน ดงั นี้ ๑. ส่งเสริมและปลกู จิตสานกึ ความจงรกั ภักดีตอ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ๒. ผลติ นกั เรยี นให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาและเตม็ ตามศกั ยภาพของแตล่ ะบคุ คล ๓. เป็นสถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ใหม้ ีคณุ ภาพ นา่ เชอ่ื ถือ ตรวจสอบได้ด้วยระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ๔. สร้างความสัมพันธ์กับชุมชนให้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการและมีการดาเนินการตาม โครงการ / งานและกจิ กรรม ครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ยุทธศำสตร์และกลยุทธ์ 1.ยุทธศาสตรก์ ารสง่ เสรมิ สนับสนนุ พัฒนา ใหม้ ีการปฏริ ูปการเรยี นร้จู ดั กระบวนการเรยี นร้ทู ่เี นน้ เด็ก/ผเู้ รยี นเป็น สาคัญให้มีทกั ษะและมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา 1.1 กลยุทธ์พัฒนาเดก็ /ผ้เู รยี นให้มที ักษะการอา่ นออกเขยี นได้ 1.2 กลยทุ ธ์สง่ เสริมและพฒั นาเดก็ /ผู้เรียนให้มคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ สงั เคราะหม์ ีวจิ ารญาณและมีความคิดสร้างสรรค์ 1.3 กลยุทธ์พัฒนาเด็ก/ผเู้ รียนใหม้ คี ุณธรรมจรยิ ธรรมและมีคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1.4 กลยุทธ์ส่งเสริมสนับสนุนเด็ก/ผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะท่ีจาเป็นตามหลักสูตรและมาตรฐาน การศึกษา 1.5 กลยุทธ์สร้างบรรยากาศให้เด็ก/ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และ พฒั นาตนเองอยา่ งต่อเนอ่ื งสร้างนิสยั พัฒนาให้ผเู้ รยี นมที ักษะในการทางาน รกั การทางาน สามารถทางาน รว่ มกับผู้อ่ืนได้ และมเี จตคติที่ดีตอ่ อาชีพสุจรติ 1.6 กลยุทธส์ ง่ เสริมใหเ้ ด็ก/ผ้เู รียนมีสุขนสิ ัยทีด่ ี 2.ยุทธศาสตร์การพัฒนาส่งเสริมสนับสนุนครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง สามารถปฏิบัตงิ านตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวชิ าชพี อีกทง้ั มีความก้าว หนา้ ในวชิ าชพี 2.1กลยุทธ์พัฒนาครูให้มีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพโดยใช้ กระบวนการเรียนร้ทู ี่หลากหลายและเนน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคญั 2.2 กลยุทธส์ ่งเสริมให้ครูมคี วามรู้ ความสามารถตรงกบั งานทร่ี บั ผิดชอบและมีครูเพยี งพอ 3. ยุทธศาสตร์การพฒั นาระดม จดั หา ส่ือและเทคโนโลยีที่ทันสมัย ส่งเสริมสนับสนุนให้มีนวัตกรรม พัฒนา แหล่งเรยี นรทู้ ห่ี ลากหลายทเี่ อื้อตอ่ การจัดการเรยี นรู้ 3.1 กลยุทธส์ ง่ เสริม สนับสนุนการผลิต การพัฒนา การใช้สอ่ื นวัตกรรม เทคโนโลยีแหลง่ เรียนรู้ ทเี่ อ้อื ต่อ การพัฒนาการเรียนรู้

๖๑ 4. ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาการระดม จัดสรรและบริหารทรัพยากรเพื่อใชใ้ นการจดั การศึกษาให้เพยี งพอโดยยึดหลัก ความถูกต้องและมีประสิทธภิ าพ 4.1 กลยทุ ธก์ ารพฒั นาผบู้ รหิ ารมีภาวะผูน้ าและมีความสามารถในการบรหิ ารจดั การอยา่ งมรี ะบบ 4.2 กลยุทธ์การพัฒนาจัดให้มีโครงสร้างองค์กรและการบริหารงานอย่างเป็นระบบครบวงจรให้บรรลุ เปา้ หมายการศึกษา 4.3 กลยทุ ธ์สนับสนุน สง่ เสรมิ การจดั บรรยากาศ สภาพแวดลอ้ มท่เี อ้อื ต่อการพัฒนาการเรียนรู้ 4.4 กลยทุ ธ์พฒั นาอาคาร สถานท่ี และสง่ิ อานวยความสะดวกอย่างเพยี งพอ 5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการบริหารจัดการโดยให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการบริหารงานโดยใช้โรงเรียนเป็น ฐาน 5.1กลยุทธ์ ปลกู ฝังให้ผู้เรียนตระหนัก เหน็ คุณค่าและมสี ่วนรว่ มในการอนุรักษ์ พัฒนาส่ิงแวดล้อม ศิลปะ วัฒนธรรมและภูมิปญั ญาไทย 5.2 กลยทุ ธ์ จัดการเรียนรู้โดยใช้หลักสตู รที่เหมาะสมกบั ผูเ้ รียนและท้องถ่ิน 5.3 กลยทุ ธ์ สร้างภาคี เครือขา่ ยทางการศกึ ษา มีการส่งเสริมความสมั พันธ์และความรว่ มมอื กบั ผู้ปกครอง ศิษย์เกา่ ชุมชนในการพัฒนาการศกึ ษา อตั ลักษณ์ของโรงเรียน “ผู้เรียนรักความเป็นไทยและทอ้ งถ่นิ ” เอกลกั ษณ์ของโรงเรยี น “มีความรู้ คคู่ ณุ ธรรมนาพาเศรษฐกจิ พอเพยี ง”

62 ตอนท่ี 2 ผลกำรประเมนิ ตนเองของสถำนศกึ ษำ ระดบั ปฐมวยั 1. ผลกำรประเมินคุณภำพตำมมำตรฐำนกำรประกันคุณภำพภำยในสถำนศึกษำ มำตรฐำน / ประเดน็ กำรพิจำรณำ ผลกำรดำเนินงำน ระดับปฐมวยั ๒๕63 มาตรฐานที่ ๑ การบริหารจัดการสถานพฒั นาเด็กปฐมวัย มาตรฐานท่ี ๒ ครู/ผู้ดแู ลเดก็ ให้การดูแล และจดั ประสบการณ์ ดี ดีมาก การเรยี นรู้ และการเล่น เพ่อื พัฒนาเด็กปฐมวัย มาตรฐานท่ี ๓ คณุ ภาพของเด็กปฐมวยั ดมี าก ดี เฉล่ยี ระดับคณุ ภำพ 1.1 ระดบั ปฐมวยั มำตรฐำนท่ี ๑ กำรบรหิ ำรจดั กำรสถำนพัฒนำเดก็ ปฐมวัย ระดับคุณภำพ ดี จุดเนน้ สถานศึกษาส่งเสริมให้มีการพัฒนาครูให้มีความรู้และสามารถจัดทาและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การศกึ ษาปฐมวัยให้เหมาะสมกับเด็ก มีการกากับ ดูแล นิเทศ ครูปฐมวัยให้จัดทาแผนการจัดประสบการณ์ท่ี เน้นเด็กเป็นสาคัญและนาไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ จัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ที่หลากหลาย เหมาะสมกบั วยั ตอบสนองความตอ้ งการและความแตกต่างของผู้เรียนและสอดคล้องกบั วถิ ชี ีวติ ของครอบครัว ชมุ ชน ท้องถิน่ วดั และประเมินผลตามสภาพจรงิ และนาผลการประเมินมาพฒั นาเด็กให้เตม็ ตามศักยภาพ จัด สภาพแวดล้อมใหเ้ หมาะสมกบั ผู้เรียนโดยคานงึ ถึงความปลอดภยั จัดครปู ฐมวยั ให้ครบทุกช้นั เรียน สถานศึกษา อานวยความสะดวกและการให้บริการส่ือเทคโนโลยี สารสนเทศ วัสดุ อุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการจัด ประสบการณส์ าหรบั ครู สง่ เสรมิ ครูเข้ารับการอบรม เพือ่ พฒั นาตนเองเกี่ยวกับการจดั การศึกษาปฐมวัยอย่าง น้อย 60 ชม./ปี กาหนดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการ ดาเนินงาน การเยี่ยมช้ันเรียน การนิเทศ การประชุมประจาเดือน และจัดทารายงานผลการประเมินตนเอง ประจาปคี รบทกุ คน ส่งเสริมให้ครูทาการวิจัยเพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบและใช้ผลในการปรับปรุงและ พัฒนาการจัดประสบการณ์การปฐมวยั สนบั สนุนให้มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรยี นรรู้ ะหวา่ งครปู ฐมวัยเพือ่ เป็นการ พัฒนาตนเองและสร้างทีมงานที่เข้มแข็งสามารถพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในระดับปฐมวัยได้อย่างมี ประสิทธภิ าพรวมท้ังดาเนนิ กิจกรรมตามโครงการตา่ งๆ เช่น โครงการพฒั นาบุคลากร โครงการพฒั นาคุณภาพ การจัดการศึกษาปฐมวัย โครงการพัฒนาสื่อ/นวัตกรรม/เคร่ืองมือวัดและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย โครงการส่งเสริมการใชเ้ ทคโนโลยที างการศกึ ษา โครงการ Happy Day จดั หาสอื่ ของเล่น วัสดุอุปกรณ์และสิ่ง อานวยความสะดวกทีม่ ีความปลอดภัย เหมาะสม และเพียงพอกับความต้องการของเด็ก

63 ในการบริหารจัดการโรงเรียนมีการกาหนดโครงสรา้ งการบริหารจัดการที่ชัดเจน มีการจัดทาและ ปฏิบัตติ ามแผนพฒั นาคุณภาพของสถานศึกษา มีการตดิ ตาม/ตรวจสอบการดาเนนิ การอย่างเป็นระบบ เอาใจใส่การศกึ ษาปฐมวัยและให้คาแนะนาปรึกษาทางวิชาการแกค่ รูผ้สู อนระดับปฐมวยั นอกจากนี้โรงเรยี นได้ ดาเนนิ การศึกษาความพงึ พอใจในการจดั การศึกษาของโรงเรยี นโดยเกบ็ ขอ้ มูลจากบคุ ลากรทกุ ฝ่ายท่ีเกยี่ วขอ้ ง เช่น ครู ผู้ปกครอง กรรมการสถานศกึ ษา เพื่อนาผลการศกึ ษามาใช้ในการปรับปรงุ และพฒั นาการจัดการศึกษา ของสถานศึกษาต่อไป วธิ ดี ำเนินกำร การวางแผน (P) สถานศึกษาได้ดาเนินการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย โดยศึกษาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2560 วิเคราะหส์ ภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาท่ีผ่านมาจากการศึกษาขอ้ มูลสารสนเทศ และผลการ นเิ ทศตดิ ตามประเมนิ การจดั การศึกษา และจดั ประชมุ ระดมความคิดเหน็ จากบุคลากรท่ีเกยี่ วข้อง เพื่อวางแผน ร่วมกนั ในการกาหนดปรัชญา วิสยั ทศั น์ และพนั ธกจิ ในการจดั การศึกษา เพือ่ ใหไ้ ด้หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ทมี่ ีความสอดคลอ้ งกบั ผู้เรียน วิถชี วี ติ ในชุมชนและท้องถ่นิ การดาเนนิ การ ( D ) ในการบริหารจัดการสถานศึกษามกี ารกาหนดโครงสร้างการบริหารจัดการท่ีชดั เจน มกี ารจัดทาและ ปฏิบัติตามแผนพฒั นาคณุ ภาพของสถานศกึ ษา มกี ารติดตาม/ตรวจสอบการดาเนินการอยา่ งเปน็ ระบบ การประเมนิ ผล ( C ) สถานศึกษามีการติดตาม/ตรวจสอบการดาเนินการอย่างเป็นระบบ เอาใจใส่การศึกษาปฐมวัยและ ใหค้ าแนะนาปรกึ ษาทางวิชาการแก่ครูผสู้ อนระดบั ปฐมวยั ผา่ นการตรวจแผนการสอน การเยี่ยมชน้ั เรียน การนิเทศ นอกจากน้ีสถานศกึ ษาเด็กเล็กได้ดาเนินการศึกษาความพึงพอใจในการจัดการศกึ ษาโดยเก็บข้อมูล จากบุคลากรทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้อง เช่น ครู ผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษา เพ่ือนาผลการศึกษามาใช้ ในการ ปรบั ปรงุ และพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษาตอ่ ไป การนาผลการประเมินไปปรบั ปรงุ ( A ) สถานศึกษามีการนาผลการประเมินไปปรับปรุง มีการประชุมสรุปผลการดาเนินงานเพ่ือนา ขอ้ บกพร่อง ขอ้ ปัญหาที่ได้รบั นาไปปรบั ใช้ในการดาเนนิ งานครัง้ ต่อไป ผลกำรดำเนินกำร จากการดาเนนิ งาน/โครงการ/กจิ กรรม เพ่อื พฒั นากระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ส่งผลใหก้ าร ประเมินคุณภาพมาตรฐานที่ ๑ อยใู่ นระดบั ดี ตวั บง่ ชม้ี ำตรฐำน คะแนนกำรประเมนิ มำตรฐำนท่ี ๑ กำรบริหำรจัดกำรสถำนพัฒนำเด็กปฐมวัย 1.๑ การบรหิ ารจดั การอย่างเปน็ ระบบ ๙ ๑.๒ การบรหิ ารจัดการบคุ ลากรทกุ ประเภทตามหน่วยงานท่ีสังกดั ๑๒ ๑.๓ การบริหารจัดการสภาพแวดลอ้ มเพ่อื ความปลอดภัย ๒๑ ๑.๔ การจัดการเพื่อสุขภาพและการเรยี นรู้ ๒๑ ๑.๕ การสง่ เสรมิ การมสี ่วนรว่ มของครอบครวั และชุมชน ๑๒ มำตรฐำนด้ำนที่ ๑ มีคะแนนรวม คิดเปน็ รอ้ ยละ ๙๖.๑๕ มำตรฐำนด้ำนที่ ๑ มีตัวบง่ ช้ที ี่ต้องปรับปรุง (จำนวนข้อ) ๑ ขอ้

64 ข้อมูล หลักฐำน เอกสำรเชงิ ประจกั ษท์ ่ีสนบั สนนุ ผลกำรประเมินตนเอง สถานศึกษามีโครงการที่สนับสนุนผลการประเมินตนเองได้แก่ โครงการปรับปรุงหลักสูตร สถานศึกษา โครงการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โครงการนิเทศภายใน โครงการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา โครงการพัฒนาครูและครูอัตราจ้างโรงเรียนเทศบาลนาอ้อ โครงการพบปะ ผปู้ กครอง โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ โครงการประชาสัมพนั ธ์โรงเรยี น โครงการจัดซ้ือวัสดุสื่อการเรยี นการ สอน โครงการจัดหาส่ือ วัสดุและครุภัณฑ์สาหรับใช้ในการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษา โครงการจัดซื้อวัสดุ สานักงาน โครงการจ้างเหมาบริการงานสอน โครงการจ้างเหมาบริการงานทาความสะอาด โครงการจัดหา ปรับปรุง ซ่อมแซม บารุงรักษา วัสดุ ครุภัณฑ์ สานักงานและอาคารสถานท่ี กรณีมีความจาเป็นเร่งด่วน โครงการจัดหา ปรับปรุงซ่อมแซมหรือพัฒนาสิ่งอานวยความสะดวกสาธารณปู โภคหรือสาธารณูปการโครงการ สรรหาครูสอนวิชาศิลปะ(จ้างเหมาบริการงานสอน) โครงการสรรหาครูสอนวิชาดนตรี(จ้างเหมาบริการงาน สอน) โครงการสรรหาครูฝกึ สอนฟตุ บอล(จา้ งเหมาบรกิ ารงานสอน) โครงการสรรหาครสู อนพลศกึ ษา โครงการ สรรหาครูผู้สอนนาฏศิลป์ โครงการอบรม/ สัมมนา/ ศึกษาดงู านเพ่ือพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการ ศกึ ษา โครงการพฒั นาข้าราชการครขู องโรงเรียนในสงั กัด อปท. โครงการศูนย์การเรียนร้ดู ้านการท่องเท่ียวใน สถานศกึ ษา โครงการจัดซอื้ วสั ดุงานบ้านงานครัว โครงการคา่ ถ่ายเอกสาร โครงการจัดซอื้ วัสดคุ อมพวิ เตอร์ จุดเด่น สถานศกึ ษาจัดทาแผนบริหารจัดการสถานพฒั นาเด็กปฐมวัยโดยสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย/หนว่ ยงาน ที่กากับดูแล ปฏิบัติตามแผนการบริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ประเมินผลการดาเนินงานตามแผน และนาผลจากการประเมินไปพัฒนาและปรับปรุงการบริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยอยู่เสมอ จัดทา และพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัยให้เหมาะสมกับเด็ก และบริบทของท้องถ่ินสู่ประชาคม อาเซียน ครูมีวุฒิการศึกษาปริญญาตรีและมปี ระสบการณ์ในการทางานเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กปฐมวัยไมน่ ้อย กว่า ๒ ปี ทุกคน ครูมีความรู้ ความเขา้ ใจปรชั ญาหลกั การและจุดหมายการจดั การศึกษาปฐมวัย จดั ทาแผนการ จัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสาคัญและนาไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ จัดกิจกรรมเสริม ประสบการณ์ทีห่ ลากหลายเหมาะสมกับวัย ตอบสนองความต้องการและความแตกต่างของเด็กและสอดคลอ้ ง กับวิถีชีวิตของครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น วัดและประเมินผลตามสภาพจริง และนาผลการประเมินมา พัฒนาเด็กให้เต็มตามศักยภาพ มีการบริหารจัดการด้านสภาพแวดลอ้ มเพอ่ื ความปลอดภัยอย่างเป็นระบบจัด สภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับเด็กโดยคานึงถึงความปลอดภัย จัดให้มีของเล่นที่ปลอดภัยได้มาตรฐาน มี จานวนเพียงพอสะอาด เหมาะสมกบั ระดบั พัฒนาการของเด็ก มีการจดั การเพ่ือส่งเสริมสขุ ภาพ เฝ้าระวังการ เจริญเติบโตของเด็ก และดูแลการเจ็บป่วยเบ้ืองต้น จัดให้มีพ้ืนท่ี/มุมประสบการณ์ และแหล่งเรียนรู้ใน ห้องเรียนและนอกหอ้ งเรียน และจดั กิจกรรมที่พอ่ แม่/ผปู้ กครอง/ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมสม่าเสมอ จุดทีค่ วรพัฒนำ สถานศึกษาควรจัดให้มีระบบรับเหตุฉุกเฉิน การป้องกันอัคคีภัย/ภัยพิบัติตามความเส่ียงของพ้ืนท่ี โดยจัดทาแผนฝึกซ้อมอพยพหนีไฟและทาการฝึกซ้อมแผนอพยพให้กบั บุคลากรและเด็กทุกคนเสมือนเกิดเหตุ จริง อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง มีการตรวจสอบประเมินผลการดาเนินการและนาผลประเมินมาปรับปรุง/พัฒนา ตอ่ ไป

65 มำตรฐำนที่ 2 ครู/ผดู้ แู ลเดก็ ให้กำรดแู ล และจดั ประสบกำรณก์ ำรเรยี นรู้และกำรเล่นเพอื่ พฒั นำ เดก็ ปฐมวยั ระดับคณุ ภำพ ดมี ำก จดุ เน้น สถานศึกษาดาเนินการส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยจัด กจิ กรรมพัฒนาประสบการณต์ ามแผนการจดั ประสบการณ์ประจาวันซ่งึ ประกอบดว้ ยกิจกรรมหลกั 6 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมเคล่ือนไหวและจังหวะ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมเสรี กิจกรรม กลางแจ้ง กจิ กรรมเกมการศกึ ษา โดยจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ในรูปแบบบรู ณาการผ่านกจิ กรรมการเรยี นปนเล่น มงุ่ ให้เด็กไดเ้ รียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติและการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ให้เด็กได้ทากิจกรรมอย่างคล่องแคล่ว เป็นการส่งเสริมให้เด็กได้เรียนรู้ในเรื่องของวิชาการและกิจกรรม เช่น กีฬา ดนตรี ศิลปะ วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ภาษาองั กฤษ รวมทัง้ การจดั กิจกรรมทัศนศึกษานอกหอ้ งเรียน ซึ่งเป็นกจิ กรรมท่ีเด็กไดเ้ รยี นรู้และ ได้ลงมือปฏิบตั ิจริงทีส่ ่งผลการพฒั นาการเรียนรู้ของเด็ก ส่งเสริมดแู ล อานวยความสะดวกให้ครูจัดห้องเรียนให้ สะอาด อากาศถ่ายเท ปลอดภัย จัดให้มีมุมประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีหลากหลายและการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้หลากหลายรูปแบบ เหมาะสมกับเด็ก จัดบรรยากาศท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ ส่งเสริมให้ครูวิเคราะห์ข้อมูล เด็กเป็นรายบุคคล กากับ ติดตามนิเทศครู ให้ครูจัดทาแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ หลักสูตรและเหมาะสมกับเด็ก สามารถเอามาใช้ได้จริง วิเคราะห์มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ใน หลักสูตรสถานศึกษา ส่งเสริมและพัฒนาครูให้สามารถจัดประสบการณ์เด็กด้วยรูปแบบที่หลากหลายจาก แหลง่ เรยี นรตู้ ่างๆ เด็กได้เลือกเลน่ เรียนรู้ ลงมอื ทาและสร้างองคค์ วามรู้ดว้ ยตนเอง ให้เด็กมสี ่วนรว่ ม ครรู ูจ้ ัก ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ดาเนินการตรวจสอบและประเมินเดก็ อย่างเป็นระบบ มีการนาเสนองาน และนาผลมา พัฒนาเด็ก รวมทง้ั รว่ มกนั แลกเปล่ียนเรยี นรู้ และนาผลทไ่ี ดม้ าปรบั ปรงุ การจัดการเรียนรโู้ ดยจัดกิจกรรมพัฒนา ประสบการณ์ตามแผนการจดั ประสบการณป์ ระจาวนั ซงึ่ ประกอบด้วยกจิ กรรมหลัก 6 กิจกรรม ได้แก่ กจิ กรรม เคล่ือนไหวและจังหวะ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมเสรี กิจกรรมกลางแจ้ง กจิ กรรมเกมการศกึ ษา โดยจดั กิจกรรมการเรยี นรใู้ นรูปแบบบรู ณาการผ่านกิจกรรมการเรียนปนเล่น มุ่งให้เด็ก ได้เรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติและการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ให้เด็กได้ทากิจกรรมอย่างคล่องแคล่วตาม โครงการ Happy Day เป็นการส่งเสริมให้เด็กได้เรียนรู้ในเรื่องของวิชาการและกิจกรรม เช่น กีฬา ดนตรี ศลิ ปะ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ รวมท้ังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน ผ่านกิจกรรม Cooking Day (การประกอบและการปรุงอาหาร) และกิจกรรมทัศนศึกษานอกหอ้ งเรียน ซงึ่ เปน็ กิจกรรมที่เด็ก ไดเ้ รียนรแู้ ละได้ลงมือปฏิบตั ิจรงิ ทส่ี ง่ ผลการพัฒนาการเรียนรขู้ องเดก็ อย่างยง่ั ยืนได้ วธิ ีดำเนินกำร การวางแผน (P) สถานศึกษาได้ดาเนินการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย โดยศึกษาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2560 วิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศกึ ษาที่ผ่านมาจากการศึกษาขอ้ มูลสารสนเทศ และผลการ นิเทศตดิ ตามประเมนิ การจัดการศึกษา และจัดประชุมระดมความคิดเห็นจากบุคลากรท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือวางแผน ร่วมกนั ในการกาหนดปรัชญา วิสยั ทัศน์ และพนั ธกิจในการจัดการศึกษา เพอื่ ให้ไดห้ ลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวัย ทม่ี ีความสอดคล้องกับผ้เู รียน วิถีชีวติ ในชมุ ชนและท้องถนิ่ การดาเนินการ ( D ) ในการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษามีการกาหนดโครงสร้างการบริหารจัดการทชี่ ัดเจน มีการจดั ทาและ ปฏิบัตติ ามแผนพัฒนาคณุ ภาพของสถานศกึ ษา มีการตดิ ตาม/ตรวจสอบการดาเนินการอย่างเป็นระบบ การประเมนิ ผล ( C ) สถานศึกษามีการติดตาม/ตรวจสอบการดาเนินการอย่างเป็นระบบ เอาใจใส่การศึกษาปฐมวัยและ ใหค้ าแนะนาปรกึ ษาทางวิชาการแกค่ รูผสู้ อนระดับปฐมวยั ผา่ นการตรวจแผนการสอน การเยีย่ มช้ันเรยี น การนิเทศ นอกจากนี้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้ดาเนินการศึกษาความพึงพอใจในการจัดการศึกษาโดยเก็บข้อมูล จากบุคลากรทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เช่น ครู ผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษา เพื่อนาผลการศึกษามาใช้ ในการ ปรบั ปรงุ และพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาตอ่ ไป

66 การนาผลการประเมินไปปรับปรุง ( A ) สถานศึกษามีการนาผลการประเมนิ ไปปรับปรงุ มีการประชุมสรุปผลการดาเนินงานเพ่ือนา ขอ้ บกพร่อง ข้อปัญหาท่ีได้รบั นาไปปรับใช้ในการดาเนินงานครง้ั ตอ่ ไป ผลกำรดำเนนิ กำร จากการดาเนินงาน/โครงการ/กจิ กรรม เพ่ือพัฒนากระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ส่งผลใหก้ าร ประเมนิ คุณภาพมาตรฐานที่ ๒ อยใู่ นระดับ ดมี าก ตวั บ่งชมี้ ำตรฐำน คะแนนกำรประเมนิ มำตรฐำนที่ ๒ ครู/ผ้ดู ูแลเดก็ ใหก้ ำรดูแล และจัดประสบกำรณ์กำรเรยี นรแู้ ละ เล่นเพอ่ื พฒั นำเด็กปฐมวัย ตัวบง่ ช้ี ๒.๑ การดูแลและพัฒนาเดก็ อยา่ งรอบดา้ น ๑๕ ตวั บ่งช้ี ๒.๒ การสง่ เสรมิ พฒั นาการด้านรา่ งกายและดูแลสุขภาพ ๑๕ ตัวบ่งชี้ ๒.๓ การส่งเสริมพัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา ภาษาและการส่อื สาร ๑๔ ตวั บ่งช้ี ๒.๔ การส่งเสริมพัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ สงั คม ปลูกฝังคุณธรรมและ ๙ ความเป็นพลเมืองดี ตัวบง่ ชี้ ๒.๕ การสง่ เสริมเดก็ ในระยะเปลี่ยนผ่านให้ปรับตวั สู่การเชอ่ื มตอ่ ในขน้ั ๖ ถัดไป มำตรฐำนดำ้ นที่ ๑ มีคะแนนรวม คิดเปน็ รอ้ ยละ ๙๘.๓๓ มำตรฐำนด้ำนที่ ๑ มีตวั บ่งชี้ท่ีตอ้ งปรบั ปรุง (จำนวนขอ้ ) ๐ ข้อ ขอ้ มูล หลักฐำน เอกสำรเชงิ ประจักษ์ท่ีสนับสนนุ ผลกำรประเมนิ ตนเอง สถานศกึ ษามีการจดั ทา โครงการที่ส่งเสรมิ พฒั นาเด็กอยา่ งรอบด้าน เช่น โครงการ Happy Day โครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้เด็กปฐมวัย โครงการกีฬาสีภายใน โครงการวันสาคัญทางศาสนา กิจกรรมวนั ขึ้นปีใหม่และวันคริสต์มาส โครงการวันแม่ โครงการวันไหว้ครู โครงการทัศนศึกษานอกสถานท่ี โครงการปัจฉิมนิเทศและมอบวุฒิบัตรบัณฑิตน้อย โครงการนาผู้เรียนไปร่วมกิจกรรมการแข่งขันกีฬา การ แข่งขันทักษะทางการศึกษาภายในประเทศและต่างประเทศ โครงการส่งเสริมรักการอ่านในสถานศึกษา โครงการสวนพฤกษศาสตรใ์ นโรงเรียน โครงการศูนยบ์ รู ณาการท้องถ่ินศึกษา โครงการค่าอนิ เทอรเ์ น็ตโรงเรียน แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ บันทึกผลหลังการเรียนรู้ รายงานการวิจยั ในชั้นเรียน มุมประสบการณ์ การเรยี นรู้ จุดเด่น ครูจัดทาแผนการจดั ประสบการณ์ทกุ คน จัดประสบการณ์เดก็ ด้วยรูปแบบทหี่ ลากหลายจากแหล่ง เรียนรู้ตา่ งๆ เดก็ ไดเ้ ลอื กเล่น เรยี นรู้ ลงมือทา และสร้างองค์ความรู้ดว้ ยตนเอง มุง่ ใหเ้ ดก็ ได้เรียนรู้ผา่ นการลง มือปฏบิ ตั แิ ละการใช้ประสาทสัมผัสทัง้ 5 จดุ ทคี่ วรพัฒนำ สถานศึกษาควรจดั กจิ กรรมและประสบการณ์ด้านคณิตศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์เบอ้ื งต้นตามวยั โดย เด็กเรียนร้ผู า่ นประสาทสมั ผสั และลงมอื ปฏิบัติดว้ ยตนเอง มแี ผนการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ท่ีส่งเสริม ทักษะคณิตศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์แบบบรู ณาการการนาความร้แู ละทักษะพื้นฐานด้านคณิตศาสตร์และ วิทยาศาสตร์มาใช้ในชีวิตประจาวนั และควรมกี ารบนั ทกึ ทักษะดา้ นคณติ ศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ของเดก็ เปน็ รายบคุ คล

67 มำตรฐำนท่ี 3 คุณภำพของเด็กปฐมวัย ระดบั คุณภำพ ดมี ำก จดุ เนน้ สถานศึกษาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญาเหมาะสมตามวัย จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและลงมือปฏิบัติจริงสามารถนาไป ประยุกต์ใช้ในชีวิต ได้ผ่านการทาโครงงานและกิจกรรมอื่นๆ อย่างหลากหลาย ครูจัดการเรียนการสอน เน้น การปฏิบัติ (Active learning) ให้ผู้เรียนผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัตจิ ริงเพื่อนาไปสกู่ ารเรียนรู้ทล่ี กึ ซงึ้ และ คงทน ตามมาตรฐานและตัวชวี้ ดั ของหลักสตู รสถานศึกษา ให้นกั เรียนมีสว่ นรว่ ม ครูร้จู ักผูเ้ รยี นเป็นรายบุคคล ดาเนนิ การตรวจสอบและประเมินผู้เรยี นอยา่ งเป็นระบบมกี ารนาเสนองาน และนาผลมาพัฒนาผู้เรียน รวมท้ัง รว่ มกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนาผลทไ่ี ด้มาปรับปรุงการจดั การเรยี นรู้ โดยมกี ระบวนการพัฒนาทง้ั ๔ ด้าน วิธดี ำเนนิ กำร การวางแผน (P) สถานศึกษาได้ดาเนนิ การพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โดยศึกษาหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พ.ศ. 2560 วิเคราะห์สภาพปญั หา ผลการจัดการศกึ ษาท่ีผ่านมาจากการศึกษาข้อมลู สารสนเทศ และผลการ นิเทศติดตามประเมินการจดั การศกึ ษา และจดั ประชมุ ระดมความคิดเหน็ จากบุคลากรที่เก่ยี วข้อง เพื่อวางแผน ร่วมกนั ในการกาหนดปรชั ญา วิสัยทศั น์ และพนั ธกจิ ในการจดั การศกึ ษา เพอื่ ใหไ้ ด้หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวัย ทม่ี คี วามสอดคล้องกับผเู้ รยี น วถิ ชี วี ติ ในชุมชนและทอ้ งถิ่น การดาเนินการ ( D ) ในการบริหารจดั การสถานศึกษามีการกาหนดโครงสร้างการบรหิ ารจดั การท่ชี ัดเจน มกี ารจดั ทาและ ปฏิบตั ติ ามแผนพัฒนาคุณภาพของสถานศกึ ษา มีการตดิ ตาม/ตรวจสอบการดาเนนิ การอยา่ งเป็นระบบ มี กระบวนการพฒั นาทั้ง ๔ ด้านดงั นี้ พฒั นำกำรดำ้ นรำ่ งกำย เด็กทกุ คนได้รบั ประทานอาหารกลางวนั ตามโครงการอาหารกลางวนั และ อาหารสริมนมอย่างท่ัวถึงและเพียงพอ มีการจัดทาบันทึกการให้อาหารเสริมนม บันทึกการเจริญเติบโตและ สขุ อนามัยของนักเรียนเดือนละ 1 คร้ัง และติดตามภาวะโภชนาการอย่างต่อเน่ืองโดยเจ้าหน้าที่ฝ่ายส่งเสริม สุขภาพจากโรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลนาออ้ มกี ารตรวจสขุ ภาพเพ่อื คัดกรองเดก็ ก่อนเข้าเรยี นทกุ วนั ครู จดั กิจกรรมพัฒนาประสบการณ์ตามแผนการจัดประสบการณ์ประจาวันซ่ึงกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมพัฒนาการ ด้านร่างกายของเด็กได้ดี คือ กิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะ กจิ กรรมศิลปะสร้างสรรค์ กิจกรรมการเล่น ตามมุมและกิจกรรมกลางแจ้ง รวมทั้งจัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ออกกาลังกายในช่วง กิจกรรมหน้าเสาธง ให้เด็กได้นอนหลับพักผ่อนตามตารางกิจกรรมประจาวัน ๆ ละ ๒ ชั่วโมง ปรับปรุงสนาม เด็กเล่นให้มีความปลอดภัยและเหมาะสมตามสภาพ พัฒนาพ้ืนท่ีระเบียงหน้าห้องเรียนในอาคารเรียนอนุบาล เปน็ สนามฟุตบอลหญา้ เทียมให้เป็นแหลง่ เรียนรู้ เพือ่ ส่งเสรมิ พฒั นาการทางด้านร่างกายควบคูไ่ ปกบั การกระตุ้น การทางานของสมองผู้เรียน มีการจัดกจิ กรรมการแขง่ ขันกฬี าอนบุ าลในระดับโรงเรียนเพือ่ เปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ ทุก คนได้แสดงความสามารถด้านการกีฬาอย่างทั่วถึง นอกจากน้ียังได้มีการดาเนินการส่งเสริมพัฒนาการด้าน ร่างกายของเด็กโดยการดาเนินงานตามแนวดาเนินการของกระทรวงสาธารณสุข เพื่อให้เด็กมีสุขภาพอนามัย และสขุ นสิ ัยทีด่ ปี ลอดภยั จากโรคติดต่อ พัฒนำกำรด้ำนอำรมณ์และจิตใจ จัดกิจกรรมพัฒนาประสบการณ์ตามแผนการจัดประสบการณ์ ประจาวันซ่ึงประกอบด้วยกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมการเคล่ือนไหวและจังหวะ กิจกรรม สร้างสรรค์ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมเสรี กจิ กรรมกลางแจ้ง และกิจกรรมเกมการศึกษา ซึง่ จะชว่ ย ส่งเสรมิ พฒั นาการทกุ ด้านอย่างสมดลุ ครสู รา้ งปฏสิ ัมพนั ธ์ทดี่ กี บั เด็ก สร้างบรรยากาศในการเรยี นรู้ทอ่ี บอนุ่ และ เป็นมิตรส่งเสริมให้นกั เรียนได้เรียนรตู้ ามความถนัดและความสนใจ สนบั สนุนใหเ้ ด็กได้แสดงความสามารถตาม ความถนัดในทางทส่ี รา้ งสรรค์ และไดด้ าเนินกจิ กรรมตามโครงการตา่ งๆ เช่น โครงการ Happy Day

68 โครงการกีฬาสภี ายใน โครงการวันสาคัญทางศาสนา กจิ กรรมวันขึ้นปีใหมแ่ ละวันคริสต์มาส โครงการวันแม่ โครงการวันไหว้ครู โครงการทัศนศึกษานอกสถานท่ี โครงการปัจฉิมนิเทศและมอบวุฒิบัตรบัณฑิตน้อย ตลอดจนได้ดาเนนิ การปรบั ปรุง/พัฒนาสภาพแวดลอ้ มและแหล่งเรียนรูท้ ั้งภายในและภายนอกหอ้ งเรียน จัดหา ส่ือ/ของเล่น ที่หลากหลายและเหมาะสมกับวัยของเด็ก จัดห้องศูนย์ส่ือเพ่ือให้เด็กได้เรียนรู้ด้วยตนเองตาม ความสนใจ พฒั นำกำรด้ำนสังคม ใหเ้ ด็กไดท้ ากจิ กรรมร่วมกันเปน็ กลุ่มท้ังกลุ่มเล็กและกลุ่มใหญ่ เพอื่ ให้เด็กได้ มีปฏิสัมพันธก์ ับผู้อื่น สนบั สนุนให้เดก็ เข้าร่วมกจิ กรรมในวันสาคญั และประเพณีในท้องถน่ิ การดาเนนิ กิจกรรม ตามโครงการวันสาคัญทางศาสนา โครงการวันไหว้ครู และปฏบิ ัติตนตามวัฒนธรรมอันดีงาม มีการช่วยเหลือ ตนเองในการทากิจวัตรประจาวนั มีวินัยในตนเอง และเปน็ สมาชกิ ทีด่ ีของสังคม และตลอดจนการจัดกิจกรรม ออมทรัพย์ออมความดีเพ่อื สนบั สนุนใหเ้ ด็กรจู้ กั การประหยัดและอดออม พัฒนำกำรด้ำนสตปิ ัญญำ โรงเรียนได้ดาเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาประสบการณ์ตามแผนการจัด ประสบการณป์ ระจาวันโดยใช้วิธีการสอนท่ีหลากหลายและเน้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญ จัดกิจกรรมบรู ณาการทักษะ และประสบการณ์ท่ีสาคัญ จัดกิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ตามโครงการ Happy Day เพ่ือพัฒนา ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีของเด็ก นอกจากนี้โรงเรียนยงั ได้ดาเนินการ จัดกจิ กรรมพัฒนาทักษะภาษาจนี สาหรบั เดก็ อนบุ าลสัปดาหล์ ะ ๑ ครง้ั การประเมนิ ผล ( C ) สถานศึกษามีการติดตาม/ตรวจสอบการดาเนินการอย่างเป็นระบบ เอาใจใส่การศึกษาปฐมวัยและ ให้คาแนะนาปรึกษาทางวิชาการแก่ครูผู้สอนระดับปฐมวัยผ่านการตรวจแผนการสอน การเย่ียมช้ันเรียน การ นิเทศ นอกจากนี้ศนู ย์พัฒนาเด็กเล็กได้ดาเนินการศึกษาความพึงพอใจในการจัดการศึกษาโดยเก็บข้อมูลจาก บุคลากรทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เช่น ครู ผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษา เพ่ือนาผลการศึกษามาใช้ ในการ ปรับปรุงและพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษาต่อไป การนาผลการประเมินไปปรับปรงุ ( A ) สถานศึกษามีการนาผลการประเมินไปปรับปรุง มีการประชุมสรุปผลการดาเนินงานเพ่ือนา ขอ้ บกพร่อง ขอ้ ปัญหาทไี่ ดร้ ับ นาไปปรบั ใช้ในการดาเนนิ งานครั้งตอ่ ไป ผลกำรดำเนินกำร คะแนนกำรประเมนิ ตวั บ่งชีม้ ำตรฐำน ๙ มำตรฐำนที่ ๓ คุณภำพของเดก็ ปฐมวัย ๓ ตัวบง่ ช้ี ๓.๑ ข เด็กมกี ารเจรญิ เตบิ โตสมวยั และมีสุขนสิ ัยท่เี หมาะสม ๖ ตัวบง่ ช้ี ๓.๒ ข เดก็ มีพัฒนาการสมวยั ๙ ตวั บ่งช้ี ๓.๓ ข เดก็ มพี ฒั นาการดา้ นการเคล่ือนไหว ๑๕ ตัวบ่งช้ี ๓.๔ ข เดก็ มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ๑๒ ตัวบ่งช้ี ๓.๕ ข เด็กมพี ฒั นาการด้านสตปิ ญั ญา เรียนรู้และสร้างสรรค์ ๑๒ ตวั บง่ ช้ี ๓.๖ ข เด็กมพี ฒั นาการดา้ นภาษาและการสือ่ สาร ๑๐๐ ตวั บง่ ช้ี ๓.๗ ข เดก็ มพี ัฒนาการดา้ นสังคม คุณธรรมมีวนิ ยั และความเปน็ พลเมืองดี ๐ ข้อ มำตรฐำนดำ้ นท่ี ๑ มคี ะแนนรวม คดิ เป็นร้อยละ มำตรฐำนดำ้ นที่ ๑ มตี วั บง่ ช้ที ี่ตอ้ งปรับปรงุ (จำนวนขอ้ )

69 ขอ้ มูล หลกั ฐำน เอกสำรเชงิ ประจักษท์ ่ีสนับสนนุ ผลกำรประเมนิ ตนเอง จุดเดน่ เดก็ มคี วามพร้อมมพี ฒั นาการเหมาะสมตามวัย รักการเรยี น เดก็ ให้ความร่วมมอื ในการ จัดกิจกรรมต่าง ๆ มีการทางานเป็นทีม กล้าแสดงออก สนใจเรียนรู้ส่ิงใหม่ ๆ ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้ เรยี นรู้ ท่ีเน้นทกั ษะกระบวนการคิด ได้ปฏบิ ัตจิ ริง เด็กมีสว่ นร่วมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อ การ เรียนรู้ และบรรยากาศตามสถานที่ต่าง ๆ ทั้งภายในหอ้ งเรียนและนอกห้องเรยี นอย่างเป็นระบบ เด็กมี พัฒนาการ ด้านร่างกาย น้าหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานกรมอนามัย มีร่างกายแข็งแรง สามารถใช้ กล้ามเนื้อมัดเล็ก มัดใหญ่ได้คล่องแคล่ว มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตนเองและรู้จักหลีกเล่ียงต่อภาวะที่ เสี่ยงต่อโรค สิ่งเสพติด อุบัติเหตุ ภัยจากบคุ คลและส่ิงแวดล้อม และด้านสติปัญญา เด็กสนใจเรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ รอบตัว ชอบซกั ถามและคิดแก้ปญั หาได้เหมาะสมตามวยั จดุ ทีค่ วรพัฒนำ ควรนาเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมใหม่ ๆ มาชว่ ยในการจดั การเรยี นการสอนในชนั้ เรยี น สง่ เสริม ใหค้ รูพัฒนาตนเองอย่างตอ่ เนื่องในการใชเ้ ทคโนโลยี และ ควรนาภูมิปัญญาท้องถิน่ ใหเ้ ข้ามามสี ่วนร่วมในการ จดั กจิ กรรมให้นักเรยี นไดเ้ รียนรู้ และการให้ข้อมลู ยอ้ นกลบั แก่เดก็ ทันทีเพ่อื เด็กนาไปใช้พฒั นาตนเอง ควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้หลากหลายตามแนว Active Learning ควรสง่ เสริมใหม้ ีการใช้ส่อื เทคโนโลยี ให้ เป็นรูปธรรมมากย่ิงขึ้นและมีการนิเทศติดตามอย่างต่อเน่ือง พัฒนาครูให้สามารถจัดกิจกรรมอย่างมีคุณภาพ ส่งเสริมให้ครูมีการบันทึกการสอนอย่างละเอียดเพื่อนาปัญหาและอุปสรรคท่ีเกิดจากการจัดกิจกรรมการ เรยี นรู้ไปจัดทาวจิ ัยในชั้นเรยี น สง่ เสรมิ ให้เด็ก และผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการประชุม PLC เพ่ือหาแนวทางใน การแกไ้ ขปัญหาร่วมกัน สรุปผลกำรประเมนิ ในภำพรวม ผลกำรประเมินตนเองของสถำนศึกษำ ระดับกำรศึกษำปฐมวัย อยใู่ นระดับ ดี จากผลการดาเนินงานโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ส่งผลให้สถานศึกษาจัดการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา ประสบผลสาเร็จตามท่ีตั้งเป้าหมายไว้ในแต่ละมาตรฐาน จากผลการประเมินสรุปว่า อยู่ในระดับ คุณภาพ ดี ทั้งน้ี เพราะ มาตรฐานท่ี 1 การบริหารจดั การสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ดี มาตรฐานท่ี 2 ครู/ผู้ดูแลเด็ก และให้การดูแล จัดประสบการณ์การเรียนรู้และเล่นเพ่อื พัฒนา เด็กปฐมวยั อยู่ในระดับคุณภาพ ดมี าก มาตรฐานที่ 3 คณุ ภาพของเดก็ ปฐมวยั อยู่ในระดับ ดมี าก ทงั้ น้ี สถานศกึ ษามีการวางแผน กาหนดหลักสูตรครอบคลมุ พัฒนาการท้งั 4 ดา้ น โดยมกี ารประเมิน และ พัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษาใหส้ อดคล้องกับหลกั สตู รปฐมวัย และบรบิ ทของทอ้ งถน่ิ โดยการมสี ว่ นรว่ มของ ผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน มีอัตราครูท่ีเพียงพอต่อจานวนนักเรียน ในอัตราส่วน 1 ต่อ 10 ครูได้รับการพัฒนา และ ฝึกอบรมตามเกณฑ์การพฒั นา มกี ารจัดชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ PLC สภาพแวดลอ้ มภายในโรงเรียน เออ้ื ต่อการจดั การเรียนรู้ มคี วามสะอาด รม่ รืน่ เรียบร้อยและปลอดภัย มีสอื่ เทคโนโลยีในการจัดการเรยี นรทู้ ุก หอ้ งเรยี น อยา่ งหลากหลาย ผู้บริหารตดิ ตามตรวจสอบการดาเนินการตามระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษา ใช้ผลการประเมินและการดาเนินงานที่ผ่านมาเป็นฐานในการพัฒนาและสอดคล้อง กับเป้าหมายการพัฒนา ตรวจสอบผลการดาเนนิ งานและการปรบั ปรุง แก้ไขงานใหด้ ีข้ึนอย่างตอ่ เนอ่ื ง โดยกาหนดใหบ้ คุ ลากรมสี ว่ นร่วม

70 รับผิดชอบการดาเนินงาน จนได้รับการยอมรับจากหน่วยงานต่าง ๆ เข้ามาศึกษาดูงานอย่างต่อเน่ือง ส่งผล ใหผ้ ลการประเมินใน มาตรฐานท่ี ๑ การบรหิ ารจดั การสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั อย่ใู นระดับคุณภาพ ดี มาตรฐานท่ี ๒ ครู/ผดู้ แู ลเดก็ ใหก้ ารดแู ล และจัดประสบการณ์การเรยี นรแู้ ละเล่นเพ่อื พัฒนา เด็กปฐมวัย อยู่ในระดับคุณภาพ ดีมาก ทั้งน้ี เพราะครูออกแบบการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ส่งเสริม พฒั นาการเด็กอยา่ งสมดลุ และเป็นไปตามวัย โดยการมีสว่ นร่วมของผปู้ กครอง จากการติดตามสอบถามโดยให้ ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการประเมินพัฒนาการและเปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็น ช่วยเหลือนักเรียนเพื่อ พัฒนาและแก้ปัญหารายบุคคลและการประเมินผลจากสภาพจริงในทุกข้ันตอน การจัดกิจกรรมของครูมี ลักษณะเล่นปนเรียน โดยเน้นรปู แบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบ Active Learning และในระดบั อนบุ าล 3 (5 ป)ี มกี ารเรียนรู้โดยใชโ้ ครงงาน ทกุ คน สถานศึกษามกี ารจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นอย่างหลากหลายท่ีเป็นไปตามปญั หาและ ความต้องการพัฒนาตามสภาพของเด็กปฐมวัย สอดคล้องกับจุดเน้นของสถานศึกษาและสภาพของชุมชน ท้องถิ่น จนมีผลการพัฒนาคุณภาพของเด็กอยู่ในระดับ ดี พัฒนาการของค่าเฉลี่ยผลการประเมินพัฒนาการ สูงข้ึน เด็กมีพฒั นาการด้านรา่ งกายแข็งแรง มีสขุ นิสัยที่ดี และดแู ลดแู ลความปลอดภัยของตนเอง มีพัฒนาการ ด้านอารมณ์ จิตใจ สามารถควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้ดี ช่วยเหลือตนเองและเป็นสมาชิกท่ีดีของ สงั คม และมีพัฒนาการด้านสติปัญญาสื่อสารได้ดี มีทักษะการคิดพื้นฐานและแสวงหาความรู้ ดังที่ปรากฏผล ประเมินใน มาตรฐานท่ี ๓ คุณภาพของเด็กปฐมวัย อย่ใู นระดับคุณภาพมาตรฐานอยู่ในระดบั ดมี าก

71 สถานศึกษาประเมนิ ตนเองตามมาตรฐาน และตัวบง่ ช้ี ระดับปฐมวัย จานวน ๓ มาตรฐาน ๑๙ ตวั บ่งชี้ ๗๕ ขอ้ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ไดผ้ ลการประเมินดงั น้ี ตำรำงแสดงผลกำรประเมินภำยในตำมมำตรฐำนสถำนพฒั นำเด็กปฐมวยั แห่งชำติ มำตรฐำนดำ้ นท่ี ๑ กำรบรหิ ำรจดั กำรสถำนพฒั นำเดก็ ปฐมวยั ตวั บง่ ช้ีมำตรฐำน คะแนนกำรประเมิน ตวั บง่ ช้ีที่ 1.1 กำรบรหิ ำรจดั กำรอย่ำงเป็นระบบ ๐ ๑ ๒ ๓ รวม ๑.๑.๑ บริหารจดั การสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยอยา่ งเป็นระบบ ๙ ๑.๑.๒ บริหารหลกั สูตรสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั  ๑.๑.๓ บริหารจัดการข้อมลู อย่างเปน็ ระบบ  ตวั บ่งชท้ี ี่ 1.2 กำรบรหิ ำรจดั กำรบคุ ลำกรทุกประเภทของหน่วยงำนทกุ สงั กัด ๐ ๑ ๒ ๓ รวม ๑.๒.๑ บริหารจดั การบุคลากรอย่างเป็นระบบ  ๑๒ ๑.๒.๒ ผ้บู ริหารสถานพฒั นาเด็กปฐมวัย/หัวหนา้ ระดับปฐมวยั /ผูด้ าเนนิ กจิ การ  มคี ณุ วุฒิ/ คุณสมบตั เิ หมาะสม และ บริหารงานอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ๑.๒.๓ คร/ู ผู้ดูแลเดก็ ท่ีทาหนา้ ที่หลักในการดูแลและพัฒนาเดก็ ปฐมวัย  มีวฒุ ิการศกึ ษา/คณุ สมบตั ิเหมาะสม ๑.๒.๔ บรหิ ารบคุ ลากรจัดอตั ราส่วนของครู/  ผูด้ ูแลเด็กอยา่ งเหมาะสมพอเพียงต่อจานวนเดก็ ในแต่ละกลุม่ อายุ ตัวบ่งชท้ี ่ี 1.3 การบรหิ ารจัดการสภาพแวดลอ้ มเพอ่ื ความปลอดภยั ๐ ๑ ๒ ๓ รวม ๑.๓.๑ บริหารจดั การด้านสภาพแวดลอ้ มเพอื่ ความปลอดภยั อยา่ งเปน็ ระบบ  ๒๑ ๑.๓.๒ โครงสร้างและตัวอาคารมนั่ คงต้งั อยู่ในบรเิ วณและสภาพแวดลอ้ มที่  ปลอดภยั ๑.๓.๓ จัดการความปลอดภัยของพน้ื ท่ีเล่น/สนามเดก็ เล่น และสภาพแวดลอ้ ม  ภายนอกอาคาร ๑.๓.๔ จัดการสภาพแวดล้อมภายในอาคาร ครภุ ัณฑ์ อปุ กรณเ์ ครอ่ื งใชใ้ ห้  ปลอดภัยเหมาะสมกับการใช้งานและเพยี งพอ ๑.๓.๕ จดั ใหม้ ีของเลน่ ทป่ี ลอดภยั ไดม้ าตรฐาน มีจานวนเพยี งพอ สะอาด  เหมาะสมกับระดับพัฒนาการของเด็ก ๑.๓.๖ ส่งเสริมใหเ้ ด็กปฐมวยั เดินทางอยา่ งปลอดภัย  ๑.๓.๗ จัดให้มรี ะบบป้องกนั ภยั จากบุคคลทงั้ ภายในและภายนอก  สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ๑.๓.๘ จัดใหม้ รี ะบบรับเหตุฉุกเฉนิ ปอ้ งกันอัคคภี ยั /ภยั พิบตั ติ ามความเสย่ี งของ  พื้นท่ี

72 ตัวบง่ ช้ที ่ี 1.4 กำรจัดกำรเพื่อส่งเสรมิ สขุ ภำพและกำรเรยี นรู้ ๐ ๑ ๒ ๓ รวม ๑.๔.๑ มกี ารจัดการเพ่อื ส่งเสรมิ สุขภาพ เฝ้าระวังการเจรญิ เติบโตของเด็ก  ๒๑ และดูแลการเจบ็ ป่วยเบ้อื งตน้ ๑.๔.๒ มแี ผนและดาเนินการตรวจสขุ อนามยั ประจาวัน ตรวจสุขภาพประจาปี  และปอ้ งกันควบคมุ โรคติดต่อ ๑.๔.๓ อาคารตอ้ งมพี ื้นที่ใชส้ อยเปน็ สัดส่วนตามกจิ วตั รประจาวนั ของเด็กที่  เหมาะสมตามชว่ งวัย และการใชป้ ระโยชน์ ๑.๔.๔ จดั ใหม้ ีพนื้ ท่/ี มมุ ประสบการณ์ และแหล่งเรยี นรู้ในห้องเรยี นและนอก  หอ้ งเรยี น ๑.๔.๕ จัดบริเวณหอ้ งนา้ ห้องสว้ ม ท่แี ปรงฟัน/ลา้ งมือให้เพยี งพอ สะอาด  ปลอดภัย และเหมาะสมกับการใช้งานของเดก็ ๑.๔.๖ จัดการระบบสขุ าภิบาลทีม่ ีประสทิ ธิภาพครอบคลุมสถานทปี่ รุงประกอบ  อาหาร นา้ ด่ืมนา้ ใช้ กาจัดขยะ สงิ่ ปฏิกูลและ พาหะนาโรค ๑.๔.๗ จัดอุปกรณภ์ าชนะและเครือ่ งใชส้ ่วนตวั ให้เพียงพอกับการใช้งานของ  เดก็ ทุกคน และดแู ลความสะอาดและปลอดภัยอย่างสม่าเสมอ ตวั บ่งชท้ี ี่ 1.5 กำรส่งเสรมิ กำรมสี ่วนร่วมของครอบครวั และชมุ ชน ๐ ๑ ๒ ๓ รวม ๑.๕.๑ มกี ารส่ือสารเพื่อสร้างความสัมพนั ธแ์ ละความเข้าใจอนั ดี ระหวา่ งพ่อแม่  ๑๒ /ผู้ปกครอง กับสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยเกี่ยวกบั ตัวเดก็ และการ ดาเนนิ งานของสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ๑.๕.๒ การจดั กจิ กรรมทพ่ี ่อแม่/ผู้ปกครอง/ครอบครวั และชุมชน มสี ่วนร่วม  ๑.๕.๓ ดาเนินงานใหส้ ถานพัฒนาเด็กปฐมวยั เปน็ แหล่งเรียนรูแ้ กช่ มุ ชนในเร่อื ง  การพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ๑.๕.๔ มคี ณะกรรมการสถานพฒั นาเด็กปฐมวัย  มาตรฐานดา้ นท่ี ๑ มคี ะแนนรวม ๗๕ คะแนน มาตรฐานดา้ นท่ี ๑ มคี ะแนนรวม คิดเป็นร้อยละ = คะแนนรวม x ๑๐๐ ๙๖.๑๕ 78 มาตรฐานดา้ นที่ ๑ มีจานวนตัวบง่ ช้ี ท่ีตอ้ งปรับปรงุ ๑ ขอ้

73 มำตรฐำนดำ้ นที่ ๒ คร/ู ผู้ดูแลเดก็ ให้กำรดแู ล และจดั ประสบกำรณ์กำรเรยี นรู้ และกำรเลน่ เพอ่ื พัฒนำเดก็ ปฐมวัย ตัวบง่ ช้มี ำตรฐำน คะแนนกำรประเมนิ ตวั บ่งชท้ี ี่ 2.1 กำรดูแลและพัฒนำเดก็ อย่ำงรอบดำ้ น ๐ ๑ ๒ ๓ รวม ๒.๑.๑ มีแผนการจดั ประสบการณก์ ารเรียนร้ทู ่ีสอดคล้องกับหลกั สตู รการ  ๑๕ ศึกษาปฐมวัย มีการดาเนินงานและประเมนิ ผล ๒.๑.๒ จดั พื้นที่/มุมประสบการณ์การเรียนรู้และการเล่นทเี่ หมาะสมอยา่ ง  หลากหลาย ๒.๑.๓ จดั กิจกรรมส่งเสรมิ พฒั นาการทกุ ด้านอย่างบรู ณาการตามธรรมชาติ  ของเดก็ ท่เี รียนรดู้ ว้ ยประสาทสมั ผัส ลงมือทา ปฏิสัมพันธ์ และการเลน่ ๒.๑.๔ เลือกใช้สือ่ /อปุ กรณ์ เทคโนโลยี เคร่ืองเลน่ และจัดสภาพแวดล้อม  ภายใน ภายนอก แหล่งเรียนรทู้ เี่ พยี งพอ เหมาะสม ปลอดภยั ๒.๑.๕ เฝ้าระวงั ตดิ ตามพฒั นาการเดก็ รายบุคคลเป็นระยะเพ่ือใชผ้ ลในการจัด  กจิ กรรมพัฒนาเดก็ ทกุ คนใหเ้ ต็มตามศกั ยภาพ ตัวบง่ ชี้ 2.2 กำรส่งเสรมิ พฒั นำกำรดำ้ นรำ่ งกำยและดแู ลสุขภำพ ๐ ๑ ๒ ๓ รวม ๒.๒.๑ ใหเ้ ด็กรบั ประทานอาหารทีค่ รบถ้วนในปริมาณที่เพยี งพอและส่งเสรมิ  ๑๕ พฤตกิ รรมการกนิ ที่เหมาะสม ๒.๒.๒ จัดกจิ กรรมใหเ้ ด็กได้ลงมือปฏิบัติอยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม  ในการดแู ลสุขภาพ ความปลอดภยั ในชีวติ ประจาวัน และ ในการเคลือ่ นไหวด้านร่างกาย ออกกาลงั เลน่ กิน/ นอน/ พักผอ่ น ๒.๒.๓ ตรวจสขุ ภาพอนามยั ของเดก็ ประจาวัน ความสะอาดของร่างกาย  ฟันและช่องปากเพือ่ คดั กรองโรคและการบาดเจ็บ ๒.๒.๔ เฝ้าระวงั ติดตามการเจริญเตบิ โตของเด็กเป็นรายบุคคล  บันทกึ ผลภาวะโภชนาการอยา่ งต่อเน่อื ง ๒.๒.๕ จดั ใหม้ ีการตรวจสุขภาพรา่ งกาย ฟนั และชอ่ งปาก สายตา หู  ตามกาหนด ตัวบง่ ชที้ ี่ 2.3 การสง่ เสริมพฒั นาการด้านสติปัญญา ภาษาและการสือ่ สาร ๐ ๑ ๒ ๓ รวม ๒.๓.๑ จัดกจิ กรรมสง่ เสริมให้เด็กไดส้ งั เกต สัมผัส ลองทา คดิ ตงั้ คาถาม  ๑๔ สืบเสาะหาความรู้ แก้ปญั หา จนิ ตนาการ คดิ สร้างสรรค์ โดย ยอมรับความคดิ และผลงานทแ่ี ตกตา่ งของเด็ก ๒.๓.๒ จดั กจิ กรรมและประสบการณ์ทางภาษาที่มีความหมายต่อเด็ก  เพื่อการสอื่ สารอย่างหลากหลาย ฝึกฟงั พดู ถาม ตอบ เล่าและสนทนาตามลาดบั ขน้ั ตอนพฒั นาการ ๒.๓.๓ จดั กจิ กรรมปลูกฝังให้เด็กมีนิสัยรกั การอา่ นใหเ้ ด็กมที กั ษะการดภู าพ  ฟงั เร่อื งราว พูดเล่า อา่ น วาด/เขยี น เบอ้ื งต้น ตามลาดบั พฒั นาการ โดยคร/ู ผดู้ ูแลเดก็ เปน็ ตัวอย่างของการพูด และการอา่ นท่ีถกู ตอ้ ง ๒.๓.๔ จดั ให้เดก็ มีประสบการณ์เรียนรู้เกี่ยวกบั ตวั เดก็ บคุ คล สงิ่ ตา่ งๆ 

74 สถานท่แี ละธรรมชาตริ อบตวั ดว้ ยวธิ ีการที่เหมาะสมกบั วยั ๐  ๐ ๒.๓.๕ จดั กิจกรรมและประสบการณด์ ้านคณติ ศาสตร์และวิทยาศาสตร์เบือ้ ง ๑ ๒ ๓ รวม ต้นตามวยั โดยเดก็ เรยี นรผู้ า่ นประสาทสมั ผสั และลงมือปฏบิ ตั ิด้วย ๙ ตนเอง  ตัวบง่ ช้ที ี่ 2.4 กำรส่งเสริมพัฒนำกำรดำ้ นอำรมณ์ จิตใจ สงั คม ปลูกฝังคณุ ธรรมและควำมเป็นพลเมอื งดี  ๒.๔.๑ สร้างความสัมพันธท์ ี่ดีและมั่นคง ระหวา่ งผใู้ หญ่กบั เดก็  จัดกิจกรรมสร้างเสริมความสมั พนั ธ์ทด่ี รี ะหวา่ งเดก็ กับเดก็ และการแก้ไขข้อขดั แยง้ อย่างสรา้ งสรรค์ ๑ ๒ ๓ รวม ๖ ๒.๔.๒ จดั กิจกรรมสง่ เสริมให้เดก็ มีความสุข แจม่ ใส ร่าเริง มคี วามรู้สกึ ดตี ่อ ตนเองแสดงออกด้านอารมณโ์ ดยผ่านการเคลือ่ นไหวรา่ งกาย ศิลปะ  ดนตรีตามความสนใจและความถนดั  ๒.๔.๓ จดั กจิ กรรมและประสบการณ์ ปลกู ฝงั คุณธรรมให้เด็กใฝ่ดี มวี ินัย ๕๙ คะแนน ซ่ือสัตย์ รจู้ กั สิทธแิ ละหนา้ ท่รี ับผดิ ชอบของพลเมืองดรี ักครอบครวั ๙๘.๓๓ โรงเรยี นชุมชนและประเทศชาตดิ ้วยวิธที ีเ่ หมาะสมกับวัยและพฒั นาการ ๐ ขอ้ ตัวบง่ ชท้ี ่ี 2.5 กำรส่งเสริมเด็กในระยะเปล่ยี นผ่ำนใหป้ รับตวั สูก่ ำรเชือ่ มตอ่ ในขน้ั ถัดไป ๒.๕.๑ จัดกจิ กรรมกับผปู้ กครองให้เตรยี มเดก็ กอ่ นจากบ้านเข้าส่สู ถานพัฒนา เดก็ ปฐมวยั /โรงเรียนและจัดกิจกรรมชว่ งปฐมนเิ ทศให้เด็กปรับตวั ใน บรรยากาศทเ่ี ปน็ มติ ร ๒.๕.๒ จดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การปรบั ตวั ก่อนเข้ารับการศึกษาในระดบั ทีส่ ูงขนึ้ แต่ ละขั้น จนถงึ การเป็นนักเรียนระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ มาตรฐานดา้ นท่ี ๒ มคี ะแนนรวม มาตรฐานดา้ นท่ี ๒ มคี ะแนนรวม คดิ เป็นรอ้ ยละ = คะแนนรวม x ๑๐๐ 60 มาตรฐานดา้ นท่ี ๒ มีจานวนตัวบ่งช้ี ที่ต้องปรบั ปรงุ

75 มำตรฐำนดำ้ นที่ ๓ ข 3 ปี – อำยุ 6 ปี (ก่อนเขำ้ ประถมศกึ ษำปีที่ 1) ตัวบง่ ชม้ี ำตรฐำน คะแนนกำรประเมนิ ๑ ๒ ๓ รวม ตวั บ่งช้ที ี่ 3.1 ข เดก็ มกี ำรเจริญเตบิ โตสมวยั และมสี ุขนสิ ยั ท่เี หมำะสม ๐ ๙ ๓.๑.๑ ข เด็กมีน้าหนกั ตัวเหมาะสมกับวยั และสูงดีสมสว่ นซ่ึงมบี ันทกึ เปน็  รายบคุ คล  ๑ ๒ ๓ รวม ๓.๑.๒ ข เดก็ มีสุขนิสยั ท่ดี ีในการดูแลสุขภาพตนเองตามวยั ๓ ๑ ๒ ๓ รวม ๓.๑.๓ ข เดก็ มสี ุขภาพช่องปากดี ไม่มีฟนั ผุ ๖ ตัวบ่งชท้ี ่ี 3.2 ข เด็กมพี ัฒนำกำรสมวยั ๐  ๓.๒.๑ ข เด็กมพี ัฒนาการสมวัยโดยรวม ๕ ดา้ น (คดั กรองตามช่วงอาย)ุ ๑ ๒ ๓ รวม ๙ ตัวชีว้ ดั ที่ 3.3 ข เด็กมีพัฒนาการดา้ นการเคล่อื นไหว ๐  ๓.๓.๑ ข เดก็ มีพฒั นาการดา้ นการใชก้ ล้ามเน้ือมดั ใหญส่ ามารถเคล่ือนไหวและ  ทรงตัวไดต้ ามวยั ๑ ๒ ๓ รวม ๓.๓.๒ ข เด็กมพี ัฒนาการดา้ นการใชก้ ลา้ มเน้ือมดั เลก็ และการประสานงาน  ๑๕ ระหว่างตากบั มอื ตามวยั  ตวั บ่งชท้ี ี่ 3.4 ข เด็กมพี ัฒนำกำรด้ำนอำรมณ์ จิตใจ ๐   ๓.๔.๑ ข เดก็ แสดงออก ร่าเริง แจ่มใส รู้สึกมัน่ คง ปลอดภัยแสดงความร้สู ึกที่ดี  ๑ ๒ ๓ รวม ต่อตนเองและผอู้ ่ืนไดส้ มวยั  ๑๒  ๓.๔.๒ ข เดก็ มคี วามสนใจและรว่ มกิจกรรมตา่ งๆ อย่างสมวยั ซึ่งรวมการเล่น การทางาน ศิลปะ ดนตรี กฬี า ๓.๔.๓ ข เด็กสามารถอดทน รอคอย ควบคมุ ตนเอง ยับยั้งชงั่ ใจ ทาตามขอ้ ตกลง คานึงถึงความรสู้ กึ ของผู้อ่นื มกี าลเทศะปรบั ตัวเข้ากับสถานการณ์ใหม่ ได้สมวัย ตัวบ่งชที้ ี่ 3.5 ข เด็กมพี ฒั นาการดา้ นสติปัญญา เรยี นรแู้ ละสรา้ งสรรค์ ๐ ๓.๕.๑ ข เดก็ บอกเกย่ี วกบั ตวั เด็ก บุคคล สถานทีแ่ วดล้อมธรรมชาติ และสิง่ ต่าง ๆ รอบตัวเด็ก ไดส้ มวัย ๓.๕.๒ ข เดก็ มพี ื้นฐานดา้ นคณิตศาสตร์ สามารถสงั เกต จาแนกและเปรยี บเทียบ จานวนมติ สิ มั พันธ์ (พืน้ ท/่ี ระยะ) เวลาไดส้ มวัย ๓.๕.๓ ข เด็กสามารถคิด อย่างมีเหตผุ ล แก้ปญั หาได้สมวยั ๓.๕.๔ ข เด็กมีจินตนาการ และความคดิ สร้างสรรค์ ทแี่ สดงออกได้สมวยั ๓.๕.๕ ข เด็กมคี วามพยายาม มุ่งมน่ั ต้งั ใจ ทากิจกรรมให้สาเรจ็ สมวยั ตวั บง่ ชที้ ี่ 3.6 ข เด็กมีพฒั นาการด้านภาษาและการสอื่ สาร ๐ ๓.๖.๑ ข เด็กสามารถฟัง พูด จบั ใจความ เลา่ สนทนา และสอ่ื สารได้สมวยั ๓.๖.๒ ข เด็กมที ักษะในการดูรปู ภาพ สัญลกั ษณ์ การใชห้ นังสือ รู้จกั ตัวอักษร การคิด เขียนคา และการอ่านเบอื้ งต้นได้สมวัยและตามลาดบั พัฒนาการ

76 ๓.๖.๓ ข เดก็ มีทักษะการวาด การขีดเขียน ตามลาดบั ข้ันตอนพฒั นาการสมวยั  นาไปสกู่ ารขดี เขียนคาทีค่ ุ้นเคยและสนใจ ๓.๖.๔ ข เดก็ มีทักษะในการส่อื สารอย่างเหมาะสมตามวัย  โดยใช้ภาษาไทยเปน็ หลกั และมคี วามคนุ้ เคยกบั ภาษาอืน่ ด้วย ตวั บง่ ชี้ที่ 3.7 ข เดก็ มพี ัฒนาการดา้ นสังคม คุณธรรม ๐ ๑ ๒ ๓ รวม มวี นิ ัยและความเป็นพลเมอื งดี ๑๒ ๓.๗.๑ ข เดก็ มปี ฏิสมั พนั ธก์ บั ผอู้ ่ืนได้อย่างสมวัยและแสดงออกถงึ ยอมรบั ความ  แตกตา่ งระหว่างบุคคล ๓.๗.๒ ข เด็กมีความเมตตา กรณุ า มวี นิ ยั ซ่ือสัตยร์ บั ผดิ ชอบตอ่ ตนเองและ  สว่ นรวม และมีคา่ นยิ มทพ่ี งึ ประสงคส์ มวัย ๓.๗.๓ ข เด็กสามารถเลน่ และทางานรว่ มกับผู้อื่นเปน็ กลุ่มเปน็ ไดท้ ง้ั ผนู้ าและผู้  ตาม แกไ้ ขขอ้ ขัดแยง้ อย่างสร้างสรรค์ ๓.๗.๔ ข เดก็ ภาคภูมใิ จทีเ่ ป็นสมาชิกทด่ี ใี นครอบครัว ชุมชน  สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยและตระหนกั ถงึ ความเป็นพลเมอื งดีของประเทศ ไทยและภมู ภิ าคอาเซียน มาตรฐานดา้ นที่ ๓ ข มีคะแนนรวม ๖๖ คะแนน มาตรฐานดา้ นท่ี ๓ ข มีคะแนนรวม คิดเป็นร้อยละ = คะแนนรวม x ๑๐๐ ๑๐๐ ๖๖ มาตรฐานด้านที่ ๓ ข มีจานวนตัวบง่ ช้ี ทต่ี อ้ งปรบั ปรุง ๐ ขอ้ สรปุ ผลกำรประเมินในภำพรวม ผลรวมของร้อยละคะแนนเฉลีย่ รวมมำตรฐำนทกุ ดำ้ น ร้อยละ ๙๘.๑๖ มำตรฐำนทุกดำ้ น มีจำนวนตวั บ่งชี้ทีต่ ้องปรบั ปรุงรวม ๑ ข้อ ระดับคณุ ภำพ  A ดมี ำก  B ดี  C ผ่ำนเกณฑข์ ้นั ตน้  D ตอ้ งปรับปรุง ระดับคณุ ภำพ เกณฑ์กำรพิจำรณำ A ดมี ำก คะแนนเฉล่ยี จำนวนข้อท่ตี ้องปรบั ปรุง B ดี C ผำ่ นเกณฑข์ ้ันต้น รอ้ ยละ ๘๐ ขึ้นไป ไมม่ ี D ตอ้ งปรับปรุง ร้อยละ ๖๐-๗๙.๙๙ ๑-๗ ข้อ รอ้ ยละ ๔๐-๕๙.๙๙ ๘-๑๕ ขอ้ ต่ำกวำ่ รอ้ ยละ ๔๐ ๑๖ ขอ้ ข้ึนไป

77 ระดับกำรศกึ ษำขนั้ พ้นื ฐำน ผลกำรประเมนิ มำตรฐำนกำรศึกษำระดับกำรศกึ ษำขัน้ พน้ื ฐำน มำตรฐำนกำรศึกษำ ระดับคุณภำพ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รยี น ปานกลาง มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ดี มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี น้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญ ดี ดี เฉลี่ยระดบั คณุ ภาพ มำตรฐำนที่ 1 คณุ ภำพของผู้เรยี น ระดบั คณุ ภำพ : ปำนกลำง ๑. วิธดี ำเนนิ งำน สถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีที่หลากหลาย ครูจัดการเรียนการสอนเป็นไปตาม ศกั ยภาพของผเู้ รียนและมาตรฐานและตัวช้ีวดั ของหลักสตู ร ออกแบบกจิ กรรมการเรียนการสอนท่เี หมาะสมกับ ผเู้ รียน เชน่ การเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัตจิ ริง การเรียนรผู้ ่านกิจกรรมโครงงาน การใช้ปัญหาเป็นฐานในการ ระดมความคิดแก้ปัญหา STEM EDUCATION โดยใชก้ ระบวนการ Active Learning การจดั การเรียนรู้โดยใช้ กระบวนการ 5 Step การการระดมสมองแบบลงมือปฏิบัติจริงแบบร่วมมือกันเรียนรู้ ใช้กระบวนการคิด กระบวนการใช้ปัญหา เป็นหลักและเน้นเรื่องการอ่านออกของผู้เรียนเป็นเรื่องสาคัญที่สุดโดยมุ่งพัฒนาให้ ผูเ้ รียนทกุ คนอ่านออกและเขียน ได้ตง้ั แต่ระดับชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๑ ครใู ช้เทคนิคการสอนที่หลากหลายตรง ตามศักยภาพผู้เรยี น ใช้ส่ือเทคโนโลยีช่วยสอน โรงเรยี นมีแหล่งเรียนรู้ท้ังภายในและภายนอกสถานที่ เพ่ือจัด กจิ กรรมพฒั นาทักษะชวี ิตของผู้เรยี นให้อยูใ่ นสงั คมอยา่ งมีความสขุ มโี ครงการและกจิ กรรมทสี่ ง่ เสรมิ สนับสนุน การพัฒนาผู้เรียนทั้งทางด้านวิชาการ มีโครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านต่าง ๆ เช่น ส่งเสริมความเป็นเลิศ ด้านกีฬา ไม่ว่าจะเป็นกีฬาฟุตบอล ตะกร้อ มวยไทย ส่งเสริมด้านความเป็นเลิศดนตรี ศิลปะ วิชาการ คอมพิวเตอร์ ภาษาจีน สง่ เสรมิ ความเปน็ เลิศด้านอาหารไทย งานประดิษฐ์ เพือ่ ให้นักเรียนได้ฝึกฝนงานศลิ ปะ งานหัตถศิลป์ งานใบตอง การรอ้ ยมาลยั การแกะสลักผกั ผลไม้ การทาอาหารและขนมไทย โครงการสง่ เสริม ความเป็นเลศิ ด้านศิลปะ (ราไทย) ปลกู จิตสานึกการมีจิตอาสาให้ผู้เรียนไดช้ ่วยเหลือและร่วมกิจกรรมกับชุมชน เช่น ร่วมแสดงราหน้าไฟในงานฌาปนกิจศพ และร่วมแสดงดนตรีพื้นบ้าน เป็นต้น สว่ นด้านคุณลกั ษณะอันพึง ประสงค์ของผ้เู รียน โรงเรยี นมีความคาดหวังให้นักเรียนมีพฤติกรรม “เป็นคนดี คนเก่ง อยู่ในสงั คมไดอ้ ย่างมี ความสขุ ” โดยผา่ นโครงการค่ายคุณธรรมจรยิ ธรรมนกั เรยี น กิจกรรมคณุ ธรรมจริยธรรมสวดมนต์หมูท่ กุ วันศกุ ร์ กจิ กรรมสภานักเรียน จัดกิจกรรมพัฒนาให้เหมาะสมกับวัย เน้นให้ผู้เรียนมีวินัย ซ่อื สัตย์ รับผิดชอบและมีจิต สาธารณะ ช่วยเหลือสังคม มีระบบแนะแนวและการดูแลสุขภาวะจิต มโี ครงการส่งเสริมสุขภาพในโรงเรยี น มี กจิ กรรมชมรม TO BE NUMBER ONE ชมรมมวยไทย ชมรมดนตรีนาฏศิลป์ ชมรมโปงลางออนซอนนาอ้อ ให้ นกั เรียนไดม้ เี วทใี นการแสดงความสามารถและห่างไกลจากยาเสพตดิ และอบายมุข นอกจากนีย้ งั ไดจ้ ัดการเรียนการสอนโดยบูรณาการรว่ มเรียนรกู้ บั ปราชญ์ชาวบ้านกบั นกั เรียนโรงเรียน ผสู้ งู อายุ เข้าเรยี นรู้ตามฐานการเรยี นรู้ ภายใตโ้ ครงการศาสตร์พระราชาของเทศบาลตาบลนาอ้อ ดงั นี้ ฐานท่ี ๑ กลมุ่ ผลิตอาหารสาเร็จรูป/ถนอมอาหาร ฐานที่ ๒ ซุ้มงานประดษิ ฐข์ องฝากของทร่ี ะลกึ ฐานท่ี ๓ ซ้มุ งานถกั ไม้ กวาดดอกหญ้า ฐานท่ี ๔ ปลูกพืชออแกนิคส์/เลี้ยงปลา/เล้ียงกบ ฐานที่ ๕ งานจักรสานพลาสติก ฐานที่ ๖

78 งานจกั รสานดว้ ยไม้ไผ่ ฐานที่ ๗ กล่มุ ผลิตข้าวกลอ้ ง ฐานที่ ๘ กลุ่มเลีย้ งไก่ไข/่ เตาเผาถา่ น ๒๐๐ ลติ ร ฐานท่ี ๙ กลุ่มทอผ้าพื้นเมือง ฐานท่ี ๑๐ กลุ่มปลูกผักกางมุ้ง ฐานท่ี ๑๑ ร้านค้าสวัสดิการบ๊าดทายนาอ้อ ทาให้ผู้เรียนมี พ้ืนฐานในการพัฒนาทักษะอาชีพ มีโครงการทอผ้า (ม.๑ – ๓) มีโครงการจักสาน (ป.4-6) ให้นักเรียนได้ฝึก ปฏิบัติ ๆ มีสวนพืชผักสมุนไพรของแต่ละระดับช้ันให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมและรับผิดชอบ เรียนรู้หลักการ ดารงชวี ติ ตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี งและนอกจากน้ยี ังใช้กิจกรรม ลูกเสอื -เนตรนารี ในการฝึกทักษะชีวิต มี กจิ กรรมตอ่ ต้านการทุจริตเพื่อปลกู ฝงั ใหเ้ ดก็ มคี วามละอายต่อการทุจริต เปน็ คนดขี องประเทศชาติ สง่ เสรมิ ให้ ผู้เรียนใช้สื่อเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ มีแหล่งการเรียนรู้และแหล่งสืบค้นข้อมูลโดยมีห้องคอมพิวเตอร์ หอ้ งสมุด ห้องศูนย์การเรียนรู้ด้านการท่องเท่ียว สาหรับสืบค้น มีห้องปฏิบัติการต่าง ๆ ที่ส่งเสริมวิทยาการที่ ทนั สมัย มีอุปกรณ์ เครื่องมือส่งเสริมการเรียนรู้ เช่น ห้องปฏิบัติการวทิ ยาศาสตร์ ห้องคหกรรม ห้องดนตรี – นาฏศลิ ป์ ให้ผ้เู รยี นไดศ้ กึ ษาหาความรู้และลงมือปฏบิ ตั จิ รงิ ๒. ผลกำรดำเนนิ งำน ในดา้ นผลการประเมินผลสัมฤทธิท์ างวชิ าการ ผูเ้ รยี นมีผลการทดสอบระดับชาติ O – net สูงขึ้น วิชา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ วทิ ยาศาสตร์ และมีคะแนนเฉลี่ยรวมสูงข้ึน ในระดับชั้นประถมศึกษา ส่วนระดับชั้น มัธยมศึกษา คะแนนเฉลี่ยรายวิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และคณิตศาสตร์สูงข้ึน และมีคะแนนเฉล่ียรวม สงู ขึ้นเชน่ กัน นักเรียนมคี วามสามารถในการอา่ น เขียน การส่ือสาร และการคิดคานวณ มีความสามารถในการ คิด วิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย สามารถแลกเปล่ียนความคิดเห็น และแก้ไขปัญหา มี ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม เห็นได้จากผลงานนักเรียน สิ่งประดิษฐ์ โครงงานนักเรียน และอื่น ๆ ผูเ้ รียนยังมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารสืบค้นข้อมูลหรือแสวงหาความรู้จาก ส่ือเทคโนโลยไี ดด้ ้วยตนเอง รวมทัง้ สามารถวเิ คราะห์ จาแนกแยกแยะไดว้ ่าส่งิ ไหนดี สาคัญ จาเป็น รวมทัง้ รเู้ ท่า ทนั ส่อื และสังคมที่เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ผู้เรยี นมีความรู้ทักษะพ้ืนฐานและเจตคติทด่ี ีต่องานอาชพี เหน็ ได้ จากการจัดการเรียนการสอนโดยบูรณาการร่วมเรียนรู้กับปราชญ์ชาวบ้านกับนักเรียนโรงเรียนผู้สูงอายุ เข้า เรยี นรู้ตามฐานการเรียนรู้ต่าง ๆ ภายใตโ้ ครงการศาสตร์พระราชา(ศนู ย์บูรณาการทอ้ งถน่ิ ศกึ ษา) ทาใหผ้ ู้เรียนมี ทักษะอาชีพขั้นพ้ืนฐาน นาไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวันได้ ผู้เรียนมีคุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ ผู้เรียนรแู้ ละ ตระหนักถึงโทษและพษิ ภัยของสิง่ เสพติดต่าง ๆ เลอื กรบั ประทานอาหารทีส่ ะอาด และมีประโยชน์ รกั การออก กาลังกาย นักเรียนทุกคนสามารถเล่นกีฬาได้อย่างน้อยคนละประเภท ยอมรับในกฎกติกาของกลุ่มของ สถานศึกษาและของสังคม มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพสุจริตรวมถึงมีความเข้าใจเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล เพศ และวยั จากการดาเนนิ งาน/โครงการ/กจิ กรรม เพอื่ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน สง่ ผลให้การประเมนิ คณุ ภาพ มาตรฐานที่ ๑ อย่ใู นระดบั ปานกลาง ตัวบ่งช้ี/เปำ้ หมำยของสถำนศกึ ษำ ผลกำร ดำเนินงำน มำตรฐำนท่ี ๑ คุณภำพของผเู้ รียน ปำนกลำง ๑.๑ ผลสัมฤทธทิ์ ำงวิชำกำรของผูเ้ รยี น 52.00 ๑) มีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอ่ื สารและการคดิ คานวณ 44.85 (๑) ผู้เรยี นร้อยละ ๘๒ สามารถอ่าน เขียนภาษาไทยได้ในระดับ ๓ ขน้ึ ไป (๒) ผู้เรยี นร้อยละ ๔๑ สามารถอา่ น เขยี นภาษาอังกฤษไดใ้ นระดับ ๓ ข้นึ ไป

(๓) ผเู้ รียนรอ้ ยละ ๘๙ สามารถส่อื สารภาษาไทยไดใ้ นระดับ ๓ ขนึ้ ไป 79 (๔) ผู้เรยี นรอ้ ยละ ๔๑ สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษไดใ้ นระดบั ๓ ขนึ้ ไป 52.00 (๕) ผู้เรียนร้อยละ ๘๒ สามารถคิดคานวณในระดบั ๓ ขน้ึ ไป 44.85 ๒) มีความสามารถในการวิเคราะหแ์ ละคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ อภปิ ราย 40.72 แลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ และแก้ปญั หา (๑) ผเู้ รียนร้อยละ ๘๒ สามารถจาแนกแยกแยะ ไตร่ตรอง พจิ ารณาอยา่ ง ๘๒.๔๗ ๘๒.๔๗ รอบคอบใช้เหตผุ ลประกอบการตัดสินใจในระดบั ดีขึ้นไป (๒) ผู้เรยี นร้อยละ ๘๒ สามารถอภิปรายแลกเปลยี่ นเรียนรู้และแก้ปัญหาโดยใช้ ๘๕ ๘๕ เหตผุ ลประกอบการตดั สนิ ใจในระดบั ดีขน้ึ ไป ๓) มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม ๘๘ ๘๗ (๑) ผูเ้ รียนร้อยละ ๘๖ สามารถรวบรวมความรู้ เช่ือมโยงองคค์ วามรู้ มา สร้างสรรคส์ ิ่งใหม่ๆได้ดว้ ยตนเองและในการทางานเป็นทีมได้อย่างน้อย ๑ ชิ้น ๘๗ (๒) ผเู้ รยี นร้อยละ ๘๖ มคี วามรแู้ ละทกั ษะพน้ื ฐานในการสรา้ งนวตั กรรมในระดบั 71.53 ดีข้นึ ไป 29.57 28.09 ๔) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสาร 31.90 (๑) ผ้เู รยี นร้อยละ ๘๗ มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารเพ่ือพัฒนาตนเองไดอ้ ย่างน้อย ๒ ช่องทาง ๘๓ (๒) ผ้เู รียนรอ้ ยละ ๘๖ มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการ ๘๓ สอื่ สารเพื่อพฒั นางานของตนเองได้อยา่ งสร้างสรรค์อย่างน้อย ๑ ชิ้น/งาน/ ๘๘ โครงงาน (๓) ผ้เู รียนร้อยละ ๘๖ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารเพือ่ พัฒนางานของ ๙๖ ตนเองได้อยา่ งสร้างสรรค์และมคี ุณธรรมในระดบั ดีข้ึนไป ๙๖ ๑) มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศกึ ษา ๑) ผู้เรียนร้อยละ ๘๐ มีผลสมั ฤทธิ์ทางเรียนเรียนสงู ขน้ึ เมือ่ เทยี บกับปกี ารศกึ ษาที่ ผา่ นมา ๒) ผู้เรยี นร้อยละ ๓๕ มีผลการทดสอบระดบั ชาติ(O-NET) สงู ขึ้น ๓) ผูเ้ รยี นร้อยละ ๖๐ มผี ลการทดสอบอ่ืนๆ (NT) สงู ข้นึ ๔) ผ้เู รยี นร้อยละ ๖๐ มผี ลการทดสอบอ่นื ๆ (RT) สูงขึ้น ๖) มีควำมรู้ ทักษะพ้ืนฐำนและเจตคตทิ ดี่ ีต่องำนอำชีพ (๑) ผู้เรียนรอ้ ยละ ๘๒ มคี วามรู้ พนื้ ฐานพร้อมในการศกึ ษาต่อใน ระดบั ช้ันท่สี ูงข้นึ ในระดับดขี นึ้ ไป (๒) ผู้เรยี นร้อยละ ๘๒ มีทักษะพ้นื ฐานในการทางานในระดบั ดขี ้นึ ไป (๓) ผเู้ รียนร้อยละ ๘๘ มีเจตคติท่ดี ตี อ่ การทางานในระดับดขี ้นึ ไป ๖๑.๒ คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ของผู้เรียน ๑) การมคี ุณลกั ษณะและคา่ นยิ มทด่ี ีตามที่สถานศึกษากาหนด (๑) ผ้เู รยี นร้อยละ ๙๓ มีพฤตกิ รรมคุณธรรมจรยิ ธรรม ในระดับดขี ึ้นไป

(๒) ผู้เรยี นร้อยละ ๙๓ มีค่านยิ มและจติ สานกึ ทีด่ ีตามทสี่ ถานศึกษากาหนดโดยไม่ 80 ขัดกับกฎหมายและวฒั นธรรมอันดีของสังคมในระดับดีขึน้ ไป ๙๐ ๒) ความภมู ใิ จในทอ้ งถิ่นและความเปน็ ไทย ๘๗ ๘๖ (๑) ผู้เรยี นร้อยละ ๘๖ มีความภูมิใจในความเป็นไทยและทอ้ งถิน่ ในระดับดีขึ้นไป ๘๖ (๒) ผูเ้ รียนร้อยละ ๘๖ มสี ่วนร่วมในการอนรุ ักษว์ ฒั นธรรมประเพณีและภูมิ ๘๖ ปญั ญาท้องถ่ินและภมู ิปญั ญาไทยในระดับดีข้ึนไป ๘๙ ๓) การยอมรับที่จะอยู่รว่ มกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ๘๙ ๘๙ (๑) ผู้เรียนรอ้ ยละ ๘๕ สามารถอยู่รว่ มกันบนความแตกต่างในด้าน เพศ วยั ใน ระดบั ดขี ้นึ ไป (๒) ผเู้ รียนร้อยละ ๘๕ สามารถอย่รู ว่ มกันบนความแตกตา่ งในดา้ น เช้ือชาติ ศาสนาในระดบั ดขี น้ึ ไป (๓) ผู้เรยี นร้อยละ ๘๕ สามารถอยูร่ ว่ มกันบนความแตกตา่ งในด้านภาษา วัฒนธรรม ประเพณใี นระดบั ดีขน้ึ ไป ๔) สุขภาวะทางร่างกายและจติ สงั คม (๑) ผูเ้ รยี นร้อยละ ๘๐ สามารถดูแลรักษาสขุ ภาพกายของตนเองอย่างเหมาะสมใน แตล่ ะช่วงวัยในระดบั ดีข้ึนไป (๒) ผเู้ รียนร้อยละ ๘๐ สามารถดแู ลรกั ษาสขุ ภาพจิตและอารมณ์ของตนเองอย่าง เหมาะสมในแต่ละช่วงวยั ในระดบั ดีข้ึนไป (๓) ผเู้ รยี นร้อยละ ๘๐ สามารถดแู ลรักษาทางสงั คม เข้าใจผู้อนื่ ไมม่ ีความขดั แย้ง กบั ผูอ้ ่ืนและสามารถอยรู่ ่วมกบั คนอนื่ ได้อย่างมคี วามสขุ อย่างเหมาะสมในแต่ ละชว่ งวยั ในระดับดีขนึ้ ไป ๓. ข้อมลู หลักฐำน เอกสำรเชิงประจกั ษท์ ีส่ นับสนุนผลกำรประเมนิ ตนเอง สถานศกึ ษาไดจ้ ัดทา โครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น โครงการคา่ ยวิชาการ โครงการ พัฒนากลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ โครงการพัฒนากลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาภาษาต่างประเทศ โครงการพัฒนากลุ่มสาระวิชาการงานอาชีพ โครงการพัฒนากลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา โครงการพัฒนากล่มุ สาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ โครงการกีฬาสภี ายใน โครงการส่งเสริมรักการอ่านใน สถานศึกษา โครงการการพัฒนาการบริหารจัดการศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถ่ิน (SBMLD) โครงการส่งเสริมศกั ยภาพด้านวิชาการ (ป.๑-๓) โครงการส่งเสริมศกั ยภาพด้านดนตรี กีฬา ศิลปะ (ป.๑-๓) โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศดา้ นวชิ าการ (ป.๔ – ๖) โครงการส่งเสรมิ ความเปน็ เลศิ ด้านกีฬา (ป.๔ – ๖) โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านดนตรี (ป.4-6) โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านศิลปะ (รา ไทย) (ป.4-6) โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศอาหารไทย (ม.๑ – ๓) โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านงาน ประดิษฐ์ (ม.๑ – ๓) โครงการส่งเสรมิ ความเป็นเลิศด้านคอมพวิ เตอร์ (ม.๑ – ๓) โครงการส่งเสริมความเป็น เลิศภาษาจีน (ม.๑ – ๓) โครงการจักสาน (ป.4-6) โครงการทอผ้า (ม.๑ – ๓) โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศ

81 ด้านกีฬา (ฟุตบอล) (ม.๑ – ๓) โครงการเจ้าบ้านน้อยท่ีดี โครงการศูนย์การเรียนรู้ด้านการท่องเท่ียวของ โรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โครงการวันสาคัญทางศาสนา โครงการวันสาคัญประจาปี กจิ กรรมวนั ข้ึนปใี หมแ่ ละวันครสิ ต์มาส กิจกรรมวันแม่ โครงการวนั ไหว้ครู กิจกรรมวันสุนทรภู่ โครงการเข้า คา่ ยลูกเสือ โครงการค่ายคณุ ธรรมจริยธรรม โครงการทัศนศึกษานอกสถานท่ี โครงการสภานักเรยี น โครงการ รักการอ่านในสถานศึกษา โครงการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โครงการนิเทศภายใน โครงการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา โครงการส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน โครงการศาสตร์พระราชา(ศูนย์ บูรณาการท้องถ่ินศึกษา) โครงการส่งเสริมศักยภาพสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ โครงการปรับปรุงห้องสมุด โรงเรียน โครงการอนุรักษพ์ ันธุกรรมพืชเนอ่ื งจากพระราชดารสิ มเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าสยามบรมราชกุมารี (พัฒนาแหล่งเรียนรู้สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเทศบาลนาอ้อเสริมสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้านเทคโนโลยี ICT โครงการผลิตสื่อนวัตกรรมการเรียนรู้ โครงการรณรงค์ป้องกันยาเสพตดิ ในสถานศึกษา โครงการธนาคารขยะรีไซเคิลและมีสารสนเทศของโรงเรียน บนั ทึกการนิเทศ เอกสารธุรการชั้นเรียนต่างๆ เช่น บนั ทึกข้อตกลงร่วมกันในห้องเรียน แบบบันทึกการเยี่ยม บา้ นนกั เรียน แผนการจัดการเรียนรู้ บันทึกผลหลงั การเรยี นรู้ รายงานการวจิ ัยในชน้ั เรยี น ปถ.๐๒ แบบบันทึก การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน บัญชีเรียกช่ือ (ป.๐๓) แบบบันทึกผลการเรียนรู้ ปถ.๐๔ แบบ บนั ทกึ การประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ปถ.๐๕ บันทกึ การตรวจสขุ ภาพ ปถ.๐๖ แบบรายงานการพัฒนา คณุ ภาพผูเ้ รยี นรายบคุ คล ปถ.๐๘ ระเบียนสะสม บัตรบนั ทึกสุขภาพนกั เรยี น แบบบันทึกการรับจ่ายนม บนั ทึก การออม บันทึกการเข้าสอนรายห้อง บันทึกการเข้าแถวหน้าเสาธง แบบบันทึกกิจกรรมลูกเสือ แบบบันทึก กจิ กรรมชมุ นมุ แบบบันทกึ กจิ กรรมต่อต้านการทุจรติ รายงานการใชส้ ือ่ /นวัตกรรม บันทกึ การเข้าสอนรายห้อง แบบบันทึกการเยี่ยมบ้านนักเรียน แบบสรุปการวิเคราะห์ผู้เรียน SDQ และสรุปโครงการที่รับผิดชอบ ปีงบประมาณ 2563 ๔. จุดเดน่ ผู้เรียนมีผลการทดสอบระดับชาติ O – net สงู ข้ึน มีคะแนนเฉล่ยี รวมสูงข้ึน ในระดบั ชั้นประถมศึกษา ปที ี่ ๖ สว่ นระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ มีคะแนนเฉล่ียรวมสูงขนึ้ เช่นกัน นกั เรียนมกี ารพัฒนา มีความสามารถ ทางด้านวิชาการ ด้านทักษะอาชีพ มีสุนทรียภาพทางด้านดนตรี ศิลปะ และกีฬา ปฏิบัติตามหลักธรรมของ ศาสนา มีมารยาท มีความขยัน จิตใจเอื้ออาทร กตัญญู มีระเบียบวินัย ซ่ือสัตย์ มีทักษะในการทางาน และมี การจัดการเรยี นการสอนแบบบูรณาการโดยปราชญ์ชาวบา้ นเข้ามาให้ความรู้ มสี ุนทรียภาพในการทางานจน เป็นเอกลักษณ์ของโรงเรยี นในเรอ่ื งการแสดงออกทางดนตรี นาฏศิลป์พืน้ บ้านและเปน็ ที่ยอมรบั ของชุมชน ๕. จุดท่คี วรพฒั นำ สถานศกึ ษาควรพฒั นาด้านการอา่ น การเขยี น ใหก้ บั ผเู้ รียนในระดับชนั้ ประถมศกึ ษา ให้ผูเ้ รียนฝึกอา่ น บัญชีคาศพั ทพ์ ื้นฐานตามมาตรฐานชว่ งชัน้ ฝึกอ่านรายบุคคลในชั่วโมง ซ่อมเสริม ฝกึ เขียนคาศัพท์พื้นฐานตาม มาตรฐานช่วงช้ัน จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนฝึกแต่งประโยคจากภาพ ฝกึ เขยี น เล่าเรื่องจากภาพ ส่วนในด้านของ การคดิ คานวณ ครูควรจัดกิจกรรมใหผ้ ู้เรียนฝกึ คณติ คิดเร็ว คณิตคิดในใจ โดยใช้ แบบฝึกหัดในช่วั โมงซ่อมเสริม รวมถึงจัดกิจกรรมให้นักเรียนฝึกคิดวิเคราะห์โดยการสร้างโจทย์ปัญหา และควรเร่งพัฒนาความรู้ด้าน ภาษาต่างประเทศ ภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวัน ส่งเสรมิ ความสามารถด้านภาษาอังกฤษดว้ ยกิจกรรมยิ้มไหว้ ทักทายกัน (smiling and greeting) โดยให้ผู้เรียนฝึกทักษะการพูด/การส่ือสารภาษาอังกฤษ ทักทายคุณครู และเพือ่ น ๆ นอกห้องเรียนและฝกึ ทกั ษะภาษาองั กฤษผู้เรยี นในระดับช้นั ม.1 – 3 ยงั ต้องได้รับการสง่ เสรมิ ใน ด้านทัศนคติท่ีดี ตอ่ ความเป็นไทยไม่หลงใหลกับค่านิยมต่างชาติจนเกิดการลอกเลยี นแบบทาให้ลืมวฒั นธรรม

82 อันดีงามของไทย ผู้เรียนในระดับชั้น ม.๔-๕ ต้องได้รับการส่งเสริมในเรื่องระเบียบวินัย คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ของสถานศึกษา เพ่อื สง่ ผลใหผ้ ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นและผลการสอบระดบั ชาตสิ งู ขนึ้ ตอ่ ไป มำตรฐำนท่ี 2 กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจัดกำร ระดบั คณุ ภำพ : ดี 1. วิธดี ำเนนิ งำน โรงเรียนได้ดาเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหาผลการจัดการศึกษาท่ีผ่านมา โดยการศึกษาข้อมูล สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตามประเมนิ การจัดการศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา และการจัด ประชุมระดมความคิดเห็นจากบุคลากรในสถานศึกษา เพื่อวางแผนร่วมกันในการกาหนดเป้าหมาย ปรับ วิสัยทัศน์ กาหนดพันธกิจ กลยุทธ์ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียนมีการปรับ แผนพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษา แผนปฏิบัตกิ ารประจาปที ่ีสอดคล้องกับสภาพปญั หาความต้องการ พร้อมทั้ง จดั หาทรัพยากรจัดสรรงบประมาณมอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบดาเนินการพัฒนาตามแผนงานเพ่ือให้บรรลุ เป้าหมายท่ีกาหนดไว้มีการดาเนินการนิเทศกากบั ติดตามประเมินผลการดาเนินงานและจัดทารายงานผลการ จัดการศึกษา โรงเรียนมีการจัดทาวิสัยทัศน์ พันธกิจ และ เป้าหมาย โดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกภาคี เครือข่าย เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา จัดทาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาร่วมกัน และมีระบบ การจัดการคุณภาพของสถานศึกษาทไี่ ด้มาตรฐาน จะเห็นได้จากการกระจายอานาจในการบริหารจัดการ โดย มอบบทบาทหน้าที่ให้หัวหน้าฝ่ายงาน 4 ฝ่าย ได้แก่ งานบริหารวิชาการ งานบริหารบุคลากร งานบริหาร งบประมาณ และงานบริหารทั่วไป รวมทั้งหัวหน้ากลุม่ สาระการเรยี นรู้ หัวหน้าสายช้นั ในการตัดสนิ ใจในสว่ น ที่รับผิดชอบ และบูรณาการการบริหารจัดการร่วมกันทั้ง 4 กลุ่มงาน มีการจัดทาระบบและดาเนินงานตาม ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอย่างมีส่วนร่วม มีภาคีเครือข่ายการพัฒนาจากคณะกรรมการ สถานศึกษาขัน้ พ้นื ฐานในการร่วมมือ สง่ เสริม ชว่ ยเหลือดา้ นการบรหิ ารจัดการศึกษาอยา่ งตอ่ เน่ือง นอกจากน้ี ยงั มีการนิเทศภายใน โดยการนเิ ทศการจัดการเรยี นรู้ โรงเรยี นมกี ารบรหิ ารหลกั สูตรและการจัดการเรยี นรทู้ ี่ได้ มาตรฐาน เหน็ ได้จากการโครงการปรับปรุงหลกั สูตรสถานศึกษา โดยให้ครูเขา้ รับการอบรมการจัดทาหลักสตู ร สถานศึกษาทุกปีและนาหลักสูตรไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ มีการประเมินผลการใช้หลักสูตรและปรับปรุง หลกั สูตรให้เหมาะสมกับบริบทของสถานศกึ ษา 2. ผลกำรดำเนนิ งำน ๒.๑ สถานศึกษามกี ารกาหนดเปา้ หมาย วิสัยทศั น์และพันธกจิ สอดคลอ้ งกบั สภาพปญั หาความตอ้ งการ พฒั นาของสถานศึกษา นโยบายการปฏิรปู การศึกษา ความต้องการของชมุ ชน ท้องถิน่ และสอดคล้องกับแนว ทางการปฏริ ูปตามแผนการศึกษาชาติ ๒.๒ สถานศึกษามีแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี สอดคล้องกับการ พัฒนาผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเช่ียวชาญ ตาม มาตรฐานตาแหน่ง ข้อมูลสารสนเทศมีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นาไปประยุกต์ใช้ได้ ดาเนินการอย่าง เป็นระบบ และมีกจิ กรรมจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทก่ี ระตุ้นผู้เรียนใหใ้ ฝ่เรยี นรู้ ๒.๓ สถานศึกษามีการทบทวนและปรับแผนพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการและนโยบายการปฏิรูปการศึกษาโดยผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมใน การพฒั นา

83 ๒.๔ ผู้เก่ียวขอ้ งทุกฝ่ายและเครอื ข่ายการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษามีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนา คณุ ภาพการศกึ ษา รบั ทราบและรบั ผิดชอบตอ่ ผลการจัดการศึกษา ๒.๕ สถานศึกษามกี ารนเิ ทศภายใน กากับ ตดิ ตาม และประเมินผลการบรหิ ารและการจัดการศกึ ษา ท่ี เหมาะสมเป็นระบบและตอ่ เนือ่ ง เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เกีย่ วข้องมีส่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษา ๒.๖ สถานศึกษามีรปู แบบการบริหารและการจดั การเชิงระบบโดยทกุ ฝา่ ยมีส่วนรว่ มยึดหลัก ธรรมาภิบาล และแนวคดิ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งโดยม่งุ พฒั นาผ้เู รยี นตามแนวทางปฏริ ปู การศึกษา ๒.๗ สถานศึกษาใหน้ ักเรียนมสี ว่ นรว่ มในการจดั บรรยากาศ สภาพแวดล้อมทเ่ี ออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ จากการดาเนนิ งาน/โครงการ/กจิ กรรม เพื่อพัฒนากระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ส่งผลให้การ ประเมนิ คุณภาพมาตรฐานท่ี ๒ อยู่ในระดบั ดี ตวั บง่ ชี/้ เป้ำหมำยของสถำนศึกษำ ผลกำร ดำเนนิ งำน มำตรฐำนที่ ๒ กระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำร ๒.๑ การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพนั ธกจิ ที่สถานศึกษากาหนดชัดเจน ดี ๑) รอ้ ยละ ๙๓ ของผู้ตอบแบบสอบถามแสดงความคิดเหน็ ในการกาหนดเปา้ หมาย ๙๕ วิสยั ทัศน์ และพันธกจิ ของสถานศึกษาไว้อยา่ งชดั เจนในระดบั ดขี ึน้ ไป ๙๓ ๙๓ ๒) รอ้ ยละ ๙๓ ของผู้ตอบแบบสอบถามแสดงความคดิ เห็นในการกาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพนั ธกิจของสถานศึกษามีความสอดคล้องกับบรบิ ทของสถานศึกษา ความ ๙๖ ตอ้ งการของชุมชน ท้องถน่ิ วตั ถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของรฐั บาล และของตน้ สังกัดรวมในระดบั ดขี ึน้ ไป ๙๖ ๓) ร้อยละ ๙๓ ของผู้ตอบแบบสอบถามแสดงความคดิ เหน็ ในการกาหนดเปา้ หมาย ๙๗ วิสยั ทศั น์ และพันธกจิ ของสถานศึกษาทนั ตอ่ การเปลีย่ นแปลงของสังคมในระดบั ดีขึน้ ไป ๒.๒ มีระบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา ๙๘ ๑) ร้อยละ ๙๖ ของผู้ตอบแบบสอบถามแสดงความคดิ เหน็ ตอ่ การบรหิ ารจัดการ คณุ ภาพของสถานศกึ ษาอย่างเป็นระบบในด้านการวางแผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษาในระดบั ดขี ้ึน ๒) รอ้ ยละ ๙๕ ของผู้ตอบแบบสอบถามแสดงความคิดเหน็ ต่อการบรหิ ารจัดการ คณุ ภาพของสถานศกึ ษาอย่างเปน็ ระบบในด้านการนาแผนไปปฏิบัติเพือ่ พฒั นาคุณภาพ การศกึ ษาในระดบั ดีข้นึ ไป ๓) ร้อยละ ๙๗ ของผูต้ อบแบบสอบถามแสดงความคดิ เห็นต่อการบริหารจัดการ คุณภาพของสถานศกึ ษาอยา่ งเป็นระบบในดา้ นการการตดิ ตามตรวจสอบประเมนิ ผลและ ปรับปรงุ พฒั นางานอย่างต่อเนอ่ื งในระดับดีข้นึ ไป ๔) ร้อยละ ๙๘ ของผู้ตอบแบบสอบถามแสดงความคดิ เห็นต่อการบริหารจดั การ คุณภาพของสถานศกึ ษาอย่างเปน็ ระบบในดา้ นการบรหิ ารอัตรากาลงั ทรัพยากรทางการ ศึกษาในระดับดีขน้ึ ไป

84 ตัวบ่งช้ี/เปำ้ หมำยของสถำนศึกษำ ผลกำร ดำเนนิ งำน ๕) ร้อยละ ๙๘ ของผู้ตอบแบบสอบถามแสดงความคดิ เห็นต่อการบรหิ ารจัดการ คุณภาพของสถานศกึ ษาอย่างเปน็ ระบบในด้านระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน ใน ระดบั ดี ๙๘ ขึ้นไป ๙๗ ๙๘ ๖) รอ้ ยละ ๙๗ ของผตู้ อบแบบสอบถามแสดงความคดิ เห็นตอ่ ระบบการนเิ ทศ ภายในและมีการนาขอ้ มลู มาใชใ้ นการพัฒนาในระดับดีข้ึนไป ๙๕ ๙๕ ๗) ร้อยละ ๙๘ ของผูต้ อบแบบสอบถามแสดงความคิดเหน็ ตอ่ การบรหิ ารจัดการ คณุ ภาพของสถานศึกษาอย่างเปน็ ระบบในดา้ นการมสี ่วนร่วมของผ้เู กีย่ วขอ้ งทกุ ฝา่ ยให้ ๕๔.๕๔ รว่ มรบั ผดิ ชอบตอ่ ผลการจัดการศึกษา ในระดับดีขนึ้ ไป ๔๐.๙๐ ๒.๓ ดาเนินงานพฒั นาวชิ าการท่เี นน้ คุณภาพผูเ้ รียนรอบดา้ นตามหลกั สูตรสถานศึกษา ๙๔ และทุกกลุ่มเป้าหมาย ๘๕ ๑) รอ้ ยละ ๙๕ ของผ้ตู อบแบบสอบถามแสดงความคิดเห็นต่อการบริหารจดั การ ๘๘ เกย่ี วกับงานวิชาการในด้านการพฒั นาหลกั สตู รในระดบั ดีข้นึ ไป ๙๕ ๒) รอ้ ยละ ๙๕ ของผ้ตู อบแบบสอบถามแสดงความคิดเหน็ ตอ่ การบรหิ ารจัดการ เกี่ยวกบั งานวิชาการในดา้ นกิจกรรมเสรมิ หลักสูตรทีเ่ น้นคณุ ภาพผ้เู รียนรอบ ดา้ น เชอ่ื มโยงวิถชี ีวติ จริง และครอบคลมุ ทกุ กลุ่มเป้าหมายในระดับดีข้ึนไป ๒.๔ พัฒนาครแู ละบคุ ลกรให้มีความเชย่ี วชาญทางวชิ าชพี ๑) รอ้ ยละ ๙๗ ของครูไดร้ ับการอบรมพัฒนาให้มีความเช่ยี วชาญทางวิชาชพี ตรง ตามมาตรฐานตาแหน่ง ๒) รอ้ ยละ ๙๗ ของครูที่ได้รับการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ และพัฒนาใหม้ คี วาม เช่ียวชาญทางวิชาชีพไม่น้อยกว่า ๒๐ ช่ัวโมงต่อปี ๓) รอ้ ยละ ๙๔ ของผู้ตอบแบบสอบถามแสดงความคดิ เห็นในการท่ีสถานศึกษาจัด ให้มีชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพมาใชใ้ นการพฒั นางานและการเรียนรู้ของผู้เรียนในระดบั ดขี ึน้ ไป ๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอ้ือตอ่ การจดั การเรียนรู้อยา่ งมีคณุ ภาพ ๑) รอ้ ยละ ๘๓ ของผู้ตอบแบบสอบถามแสดงความคิดเห็นตอ่ การจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพทงั้ ภายในและภายนอกหอ้ งเรียนและสภาพแวดล้อมทาง สงั คมท่เี อื้อตอ่ การจดั การเรียนรูใ้ นระดับดีขนึ้ ไป ๒) รอ้ ยละ ๘๓ ของผตู้ อบแบบสอบถามแสดงความคดิ เหน็ ตอ่ การจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพทัง้ ภายในและภายนอกห้องเรียนและสภาพแวดลอ้ มทาง สังคมท่ปี ลอดภยั ในระดบั ดีข้นึ ไป ๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื สนบั สนุนการบรหิ ารจัดการและการจดั การ เรยี นรู้ ๑) ร้อยละ ๙๕ สถานศึกษาจดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนบั สนุนการ บริหารจดั การและการจัดการเรยี นรทู้ เ่ี หมาะสมกับสภาพของสถานศึกษาอยู่ในระดับดขี น้ึ ไป

85 ตวั บง่ ช/้ี เป้ำหมำยของสถำนศึกษำ ผลกำร ดำเนินงำน ๒) ร้อยละ ๙๓ สถานศึกษามีขอ้ มลู สารสนเทศที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมยั นาไปประยกุ ต์ใชไ้ ดแ้ ละดาเนนิ การอย่างเป็นระบบอยใู่ นระดับดีข้นึ ไป ๙๕ ๓. ข้อมลู หลักฐำน เอกสำรเชงิ ประจักษท์ ่สี นับสนนุ ผลกำรประเมินตนเอง สถานศึกษาจัดทาโครงการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา โครงการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โครงการนเิ ทศภายใน โครงการการพฒั นาการบรหิ ารจัดการศึกษาโดยใชโ้ รงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถ่ิน (SBMLD) โครงการอบรมสัมมนา ศึกษาดูงานครูและบุคลากรทางการศึกษา โครงการพบปะผู้ปกครอง โครงการผลิตสื่อนวัตกรรมการเรียนรู้ โครงการจัดหาสอ่ื วัสดุและครุภัณฑ์สาหรับใช้ในการจัดการเรียนรู้ของ สถานศึกษา โครงการจัดซ้ือวัสดุ โครงการจดั หาปรับปรุงซ่อมแซมพฒั นาครุภัณฑส์ านักงานอาคารสถานท่ีและ สิ่งอานวยความสะดวกสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ โครงการอบรม/ สัมมนา/ ศึกษาดูงานเพื่อพัฒนา ศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา โครงการศูนย์การเรียนรู้ด้านการท่องเที่ยวในสถานศึกษา โครงการ จัดซ้ือวัสดุงานบ้านงานครัว โครงการค่าถ่ายเอกสาร โครงการค่าวัสดุน้ามันเช้ือเพลิง โครงการจัดซ้ือวัสดุ โครงการปรับปรงุ ห้องสมดุ โรงเรียน โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน โครงการสรา้ งเสริมความเขม้ แข็ง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โครงการเยี่ยมบ้านนักเรียน โครงการจัดซื้อหนังสือเรียน โครงการเหมา ครูผ้สู อนวิชาท่ีขาดแคลน 5 วิชาเอก โครงการจ้างเหมาครูผูส้ อนวชิ าภาษาจีน โครงการจา้ งเหมาครผู ู้สอนวิชา ดนตรี โครงการจ้างเหมาครูผู้สอนวิชานาฏศิลป์ โครงการจ้างเหมาครูผู้สอนวิชาศิลปะ แผนพัฒนาการศึกษา โครงการประชาสัมพันธ์และแนะแนวการศึกษาต่อ แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ แผนปฏิบัติการ ประจาปีการศึกษา ปฏิทินปฏบิ ัติงานประจาปีการศกึ ษา ปฏิทินวชิ าการ และปฏทิ ินการดาเนนิ การจดั การเรียน การสอนในชว่ งสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ๔. จุดเด่น สถานศึกษามีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ มอบหมายให้หัวหน้าฝ่ายบริหารงานท้ัง 4 ฝ่ายงาน ได้ติดตามงานอย่างต่อเนื่อง มีการประชุมปรึกษาหารือ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และให้ข้อมูลสะทอ้ นกลับ เพ่ือหา แนวทางร่วมกนั ในการส่งเสริมและแก้ไขปัญหา รวมทงั้ แจ้งข้อราชการทีส่ าคัญและนโยบายทีต่ ้องการเร่งด่วน อยา่ งสมา่ เสมอ นอกจากน้นั เพ่อื ให้ทกุ ฝา่ ยมีสว่ นร่วมในการกาหนดวสิ ยั ทัศน์ พนั ธกิจ เป้าหมายทชี่ ัดเจน มกี าร ปรับแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา แผนปฏบิ ัติการประจาปี ท่ีสอดคลอ้ งกับผลการจัดการศึกษา สภาพปญั หา ความต้องการพัฒนา และนโยบาย ท่ีมุ่งเน้นการพัฒนา ให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตาม หลกั สตู รสถานศกึ ษา ครูผู้สอนสามารถจดั การเรยี นรู้ได้อย่างมคี ุณภาพ มีคณุ ธรรมจรยิ ธรรม มีการบรหิ ารและ การจัดการอย่างเป็นระบบ ใช้เทคนิคการประชุมที่หลากหลาย เช่น การประชุมแบบมีส่วนร่วม การประชุม ระดมสมอง การประชมุ กลุ่ม ประชุมออนไลน์ เพือ่ ให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการกาหนดนโยบาย วิสยั ทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมาย ท่ีชัดเจน ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ มีการดาเนินการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผลการดาเนนิ งาน จัดทารายงานผลการจัดการศึกษา และใช้กระบวนการวิจัยในการ รวบรวมข้อมลู เพ่อื ใช้เปน็ ฐานและแนวทางในการวางแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาต่อไป

86 ๕. จดุ ท่คี วรพัฒนำ สถานศกึ ษาควรพฒั นาครแู ละบุคลากรใหม้ คี วามเช่ียวชาญทางวชิ าชพี ให้ครูไดร้ ับการอบรมพัฒนาให้ มีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพตรงตามมาตรฐานตาแหน่ง ได้รับการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาให้มีความ เช่ียวชาญทางวิชาชีพไม่นอ้ ยกว่า ๒๐ ชว่ั โมงต่อปี จดั ให้มีชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนางาน และการเรยี นรู้ของผเู้ รียนอยา่ งสมา่ เสมอและเปน็ รูปธรรมมากข้นึ มำตรฐำนที่ 3 กระบวนกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ ระดบั คุณภำพ : ดี 1. วธิ ีดำเนนิ กำร สถานศึกษามกี ารจดั การเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิจริงสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ โดยการดาเนินงานตามโครงการและกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ ส่งเสริมให้ครู จัดการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ (Active learning) ให้ผู้เรียน ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงเพื่อ นาไปสกู่ ารเรยี นรทู้ ่ีลึกซึ้งและคงทน ตามมาตรฐานและตัวช้วี ัดของหลกั สูตรสถานศกึ ษา ครูมีความสามารถใน การสร้างส่ือนวัตกรรมด้วยตนเอง โดยให้ผู้เรียนสามารถเข้าไปเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ ผ่านเวปไซต์ E-Leaning มีการประเมินผู้เรียนตามสภาพจริง โดยใช้เคร่ืองมือและวิธีการวัดและ ประเมินผลที่หลากหลาย โดยดาเนินการแจ้งผลการประเมินชิ้นงาน ภาระงาน อย่างเป็นปัจจุบันท้ังระบบ เอกสาร และระบบสารสนเทศ ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการพัฒนาผู้เรียนโดยเปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็น และร่วมมือ ในการช่วยเหลือนักเรียนเพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาผู้เรียนเป็นรายบุคคล และสร้างเครือข่าย ผู้ปกครองท้ังในระดับชั้นเรียนและระดับโรงเรียนโดยผ่านเทคโนโลยี มีการพัฒนารูปแบบวิธีการเรียนรู้ผ่าน กระบวนการสรา้ ง นวตั กรรมของนักเรียน โดยใชร้ ูปแบบ Project Approach ผู้เรยี นมกี ารสรา้ งนวตั กรรมและ มีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ KM ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม ครูมีแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี สามารถนาไปใชจ้ ัดกจิ กรรมได้จริง ครูใชส้ อ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ รวมทงั้ นาภูมิปัญญาท้องถ่ิน มาใช้ ในการจัดการเรียนรู้ และสร้างโอกาสให้ผเู้ รียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากสื่อท่ีหลากหลาย ครูมี การบริหารจัดการชัน้ เรียนเชงิ บวก ครูรว่ มแลกเปลยี่ นเรียนร้กู ับผู้เรียนเน้นการมีปฏิสัมพนั ธ์ ระหว่างผเู้ รียนกับ ครู ครูกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียน ผ่านการจัดกิจกรรมโฮมรูมอย่างมีคุณภาพ และนาข้อมูลมาร่วมพัฒนา ปรับปรุงทาข้อตกลงร่วมกันในการกาหนดแนวทางการเรยี นรู้และการปฏิบตั ิงานในห้องเรียนเพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนรัก การเรียนร้แู ละเรยี นรู้รว่ มกนั อยา่ งมคี วามสุข 2. ผลกำรดำเนนิ งำน จากการดาเนนิ งาน/โครงการ/กจิ กรรม เพือ่ พฒั นาให้ครจู ัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเป็น สาคัญ ส่งผลให้การประเมนิ คณุ ภาพมาตรฐานที่ ๓ อยู่ในระดับ ดี

87 ตัวบง่ ช/้ี เป้ำหมำยของสถำนศึกษำ ผลกำร ดำเนนิ งำน มำตรฐำนท่ี ๓ กระบวนกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคญั ๓.๑ จดั การเรียนร้ผู า่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ัตจิ รงิ และสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ใน ดี ชวี ติ ได้ 91 ๑) รอ้ ยละ ๙๑ ของครูมีการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ช้วี ดั ของ หลักสูตรสถานศกึ ษาท่ีเน้นใหผ้ ูเ้ รยี นไดเ้ รยี นรโู้ ดยผ่านกระบวนการคดิ และปฏิบัติจริง 100 ๒) ครูทุกคนมีแผนการจดั การเรียนรทู้ สี่ ามารถนาไปจัดกิจกรรมได้จริง 9๑ ๓) รอ้ ยละ ๙๑ ของครูมีแผนการจดั การเรียนรเู้ ฉพาะสาหรับผูท้ ่มี ีความจาเป็นและ ตอ้ งการความช่วยเหลอื พเิ ศษ 92 ๔) ร้อยละ ๙๒ ของครูออกแบบการเรียนรใู้ ห้ผูเ้ รียนไดร้ บั การฝกึ ทักษะการแสดงออก การแสดงความคิดเหน็ และสรปุ องค์ความรู้ 9๐ ๕) รอ้ ยละ ๙๐ ของครอู อกแบบการเรียนรู้ที่ผเู้ รียนสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ได้ ๓.๒ ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ทีเ่ ออื้ ตอ่ การเรยี นรู้ ๙๕ ๑) รอ้ ยละ ๙๕ ของครูมีการใช้สือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ทห่ี ลากหลาย ตงั้ แต่ ๕ รายการขน้ึ ไป ๙๕ ๒) รอ้ ยละ ๙๕ ของครูนาภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่นมาใชใ้ นการจัดการเรยี นรู้ โดยสร้างโอกาสให้ ผ้เู รยี นไดแ้ สวงหาความรู้ดว้ ยตนเองต้ังแต่ ๕ รายการข้นึ ไป ๓.๓ มีการบริหารจัดการชน้ั เรยี นเชิงบวก ๙๔ ๑) รอ้ ยละ ๙๔ ของครูมกี ารบรหิ ารจดั การชั้นเรียนโดยเน้นการการมีปฏิสัมพันธ์เชงิ บวก ๙๕ ให้เด็กรักครู ครูรักเด็ก และเด็กรกั เด็ก ๒) รอ้ ยละ ๙๕ ของครูมีการบริหารจดั การช้ันเรยี นให้เดก็ รักที่จะเรียนรู้ สามารถเรียนรู้ ร่วมกนั อย่างมีความสุข ๓.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผูเ้ รียนอย่างเปน็ ระบบ และนาผลมาพัฒนาผู้เรยี น ๙๔ ๑) ร้อยละ ๙๔ ของครมู กี ารตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่างเปน็ ๙๔ ๙๔ ระบบ ๒) ร้อยละ ๙๔ ของครูมใี ช้เครื่องมอื และวิธีการวัดและประเมนิ ผลทีเ่ หมาะสมกบั ๙๒ ๙๒ เปา้ หมายในการจดั การเรยี นรู้ ๓) รอ้ ยละ ๙๔ ของครนู าขอ้ มลู ย้อนกลับของผเู้ รยี นมาใช้พฒั นาการเรียนรู้ ๓.๕ มกี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรู้และใหข้ ้อมูลสะทอ้ นกลับเพ่อื พฒั นาและปรบั ปรุงการจดั การ เรยี นรู้ ๑) รอ้ ยละ ๙๒ ของครูและผ้มู ีสว่ นเกีย่ วขอ้ งแลกเปลี่ยนความรูแ้ ละเสนอแนวคิดรว่ มกนั ๒) ร้อยละ ๙๒ ของครูนาประสบการณร์ วมท้ังใหข้ ้อมลู ป้อนกลับเพอ่ื นาไปใช้ในการ ปรบั ปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้

88 ๓. ข้อมูล หลักฐำน เอกสำรเชงิ ประจักษท์ ่ีสนบั สนุนผลกำรประเมนิ ตนเอง สถานศึกษาจัดทาโครงการท่สี นับสนุนผลการประเมินตนเอง ดังนี้ โครงการกจิ กรรมลูกเสือ/เนตรนารี โครงการค่ายวิชาการ โครงการพัฒนากลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ โครงการพัฒนากลุ่มสาระการ เรยี นรู้วชิ าภาษาตา่ งประเทศ โครงการพัฒนากลุ่มสาระวิชาการงานอาชพี โครงการพัฒนากล่มุ สาระการเรยี นรู้ วชิ าสุขศึกษาและพลศึกษา โครงการพฒั นากลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์ โครงการส่งเสริมศักยภาพ ดา้ นวิชาการ (ป.๑-๓) โครงการส่งเสริมศักยภาพด้านดนตรี กีฬา ศิลปะ (ป.๑-๓) โครงการส่งเสริมความเป็น เลิศดา้ นวิชาการ (ป.๔ – ๖) โครงการส่งเสริมความเปน็ เลศิ ด้านกฬี า (ป.๔ – ๖) โครงการส่งเสริมความเปน็ เลิศ ดา้ นดนตรี (ป.4-6) โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านศิลปะ (ราไทย) (ป.4-6) โครงการส่งเสริมความเป็น เลิศอาหารไทย (ม.๑ – ๓) โครงการสง่ เสรมิ ความเปน็ เลศิ ดา้ นงานประดิษฐ์ (ม.๑ – ๓) โครงการสง่ เสริมความ เปน็ เลศิ ด้านคอมพิวเตอร์ (ม.๑ – ๓) โครงการสง่ เสรมิ ความเปน็ เลศิ ภาษาจนี (ม.๑ – ๓) โครงการจักสาน (ป.4-6) โครงการทอผา้ (ม.๑ – ๓) โครงการสง่ เสรมิ ความเป็นเลิศดา้ นกฬี า (ฟตุ บอล) (ม.๑ – ๓) โครงการ เจ้าบ้านน้อยที่ดี โครงการวันสาคัญทางศาสนา โครงการวันสาคัญประจาปี กิจกรรมวันข้ึนปีใหม่และวัน คริสต์มาส กิจกรรมวันแม่ โครงการวันไหว้ครู โครงการค่ายคุณธรรมจริยธรรม โครงการทัศนศึกษานอก สถานที่ โครงการสภานักเรยี น โครงการกีฬาสภี ายใน โครงการนาผู้เรียนไปรว่ มกจิ กรรมการแข่งขันกีฬาการ แข่งขันทักษะทางการศึกษาภายในประเทศและต่างประเทศ โครงการส่งเสริมรักการอ่านในสถานศึกษา โครงการสวนพฤกษศาสตร์ในโรงเรยี น โครงการศาสตรพ์ ระราชา(ศูนย์บรู ณาการท้องถ่ินศึกษา) โครงการศนู ย์ เรียนรู้ด้านการท่องเที่ยวโรงเรียนสังกัดอปท. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้านเทคโนโลยี ICT แผนการจดั การเรียนรู้ รายงานการวจิ ยั ในช้ันเรียน กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน บันทกึ ข้อตกลงรว่ มกันในหอ้ งเรียน แผนการจดั การเรยี นรู้ งานวิจัยในช้ันเรียน 1 คน/1 เร่ือง/1 ภาคเรียน แบบบันทึกผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนรายวิชา (ปถ. 05) และกจิ กรรม PLC ระดับสายช้นั /ช่วงชนั้ /กล่มุ สาระการเรียนร/ู้ กลุ่มยอ่ ย ๔. จดุ เด่น ครมู คี วามตงั้ ใจมงุ่ มั่นในการพัฒนาการเรยี นการสอนอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ โดยจัดกิจกรรมให้ผู้เรยี นได้ เรียนรู้ ท่เี น้นทกั ษะกระบวนการคดิ ไดป้ ฏิบัตจิ ริง มีการแนะนาวิธกี ารและแหลง่ เรยี นรู้ท่หี ลากหลาย ให้ผ้เู รยี น แสวงหาความรู้จากส่ือเทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างต่อเน่ือง ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอ้ มท่เี อื้อตอ่ การเรียนรู้ ๕. จุดควรพัฒนำ ควรนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ มาชว่ ยในการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนมากข้ึน ส่งเสริม ใหค้ รูพฒั นาตนเองอย่างต่อเนือ่ งในการใชเ้ ทคโนโลยี มกี ารใหข้ ้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนทันทเี พอ่ื ผเู้ รียนนาไปใช้ พัฒนาตนเอง ควรส่งเสริมให้ครูออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้เฉพาะสาหรับผู้ที่มีความจาเป็นและความ ต้องการความช่วยเหลือพิเศษ เพ่ือพัฒนาผู้เรียนที่มีความจาเป็นต้องการช่วยเหลือพิเศษตามศักยภาพของ ผูเ้ รียน

89 สรปุ ผลกำรประเมนิ ในภำพรวม ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาระดับการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน อยู่ในระดบั ปานกลาง จากผลการดาเนินงานโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ส่งผลให้สถานศึกษาจัดการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา ประสบผลสาเร็จตามที่ต้ังเป้าหมายไว้ในแต่ละมาตรฐาน จากผลการประเมินสรุปว่า อยู่ในระดับ คณุ ภาพ ดี ทั้งนี้ เพราะ มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพผูเ้ รยี น อย่ใู นระดับคณุ ภาพ ปานกลาง มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและ จัดการ อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ดี มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผูเ้ รยี นเป็นสาคญั อยู่ใน ระดบั ดี ท้ังน้ีสถานศึกษามีการจัด กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลายท่ีเป็นไปตามปัญหาและ ความต้องการพัฒนาตามสภาพของผู้เรียน สอดคล้องกบั จุดเน้นของสถานศึกษาและสภาพของชุมชนท้องถิ่น จนมีพัฒนาการของค่าเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติสูงข้ึน ผู้เรยี นมีความสามารถในการอ่านและการเขยี นการ สื่อสารท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ความสามารถในการคิดคานวณ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารได้ดีและมีความประพฤติด้านคุณธรรมจริยธรรมค่านิยมและ คุณลักษณะตามที่สถานศึกษากาหน ด ปรากฏอย่างชัดเจน ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ใช้นวัตกรรม และมีการเผยแพร่โดย การจัดนิทรรศการและเผยแพร่ในสื่อ Social Network อีกท้งั ผู้เรียนมีการค้นพบความถนัดและความสามารถ ตนเอง สามารถเลือกศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพได้ตามความถนดั ความตอ้ ง และความสนใจ ผา่ นกิจกรรม การจัดการเรยี นรู้โดยใชโ้ รงเรียนเปน็ ฐานในการพัฒนาทอ้ งถิ่น SBMLD ดงั ที่ ปรากฏผลประเมินใน มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพเดก็ อยู่ในระดบั คณุ ภาพมาตรฐานอยใู่ นระดบั ปานกลาง สถานศกึ ษามีการวางแผนผ่านแผนพฒั นาการศึกษาส่ปี ี ทีก่ าหนดเปา้ หมาย วิสยั ทัศน์ พนั ธกิจที่ชัดเจน สอดคล้องกับบริบทและจุดเน้นของสถานศึกษาและบริบทของท้องถ่ินโดยการมสี ่วนร่วมของผเู้ กีย่ วข้องและผู้มี ส่วน ได้สว่ นเสียทุกภาคสว่ น โรงเรียนดาเนินการปรบั ปรุงและพฒั นาหลกั สตู รตามเพื่อให้ผู้เรยี นมีความเปน็ เลิศ เฉพาะด้าน และมกี ารประเมินผลการใชห้ ลักสูตรอย่างต่อเนอ่ื ง ครูไดร้ ับการพฒั นาและฝกึ อบรมตามเกณฑก์ าร พฒั นา มกี ารจัดชุมชนการเรยี นร้ทู างวิชาชีพ PLC จดั สภาพแวดลอ้ มภายในโรงเรยี นเอ้ือต่อการจดั การเรียนรู้ มี ความสะอาด ร่มรน่ื เรียบรอ้ ย และปลอดภยั มีส่อื เทคโนโลยีในการจดั การเรยี นร้ทู กุ ห้องเรยี นอย่างหลากหลาย และมกี ารให้บริการส่ือเทคโนโลยใี ห้กับนักเรียนและบุคลากร รวมทั้งให้บริการแกช่ ุมชมผ่านศนู ย์การเรยี น ICT ชุมชน ผู้บรหิ ารติดตามตรวจสอบการดาเนินการตามระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษา ตามระบบคุณภาพ PDCA ใช้ผลการประเมนิ และการดาเนินงานทผี่ ่านมาเป็นฐานข้อมูลในการพัฒนา และสอดคล้องกบั เป้าหมาย การพัฒนา ตรวจสอบผลการดาเนินงาน และการปรับปรุงแก้ไขงานให้ดีขึ้นอย่างต่อเน่ือง โดยกาหนดให้ บุคลากรมีส่วนร่วม รับผิดชอบการดาเนินงาน จนได้รับการยอมรับจากหน่วยงานต่าง ๆ เข้ามาศึกษาดูงาน อยา่ งต่อเนอ่ื ง สง่ ผลให้ผลการประเมินในมาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและจดั การ อยใู่ นระดบั คุณภาพ ดี มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีผลประเมินอยู่ในระดับ คุณภาพ ดี ทั้งนี้โรงเรียนได้ส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ Active Leaning เพ่ือให้ ผู้เรียนมที กั ษะกระบวนการคิด ครูออกแบบการเรยี นรู้โดยจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ทม่ี ุ่งเน้นกระบวนการคิด โรงเรียนมีสื่อนวัตกรรมที่ทันสมัย และครูมีความสามารถในการสร้างส่ือนวัตกรรมด้วยตนเอง โดยให้ผู้เรียน สามารถเขา้ ไปเรียนรดู้ ว้ ยตนเองผา่ นระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ผา่ นเวปไซต์ E-Leaning มีการประเมนิ ผู้เรยี น ตามสภาพจริง โดยใชเ้ คร่ืองมือและวธิ ีการวัดและประเมินผลท่ีหลากหลาย โดยดาเนนิ การแจง้ ผลการประเมิน

90 ช้ินงาน ภาระงาน อย่างเป็นปัจจุบัน ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการพัฒนาผู้เรียนโดยเปิดโอกาสให้แสดงความ คดิ เหน็ และร่วมมอื ในการช่วยเหลอื นักเรียนเพ่ือพัฒนาและแก้ปัญหาผู้เรียนเป็นรายบุคคล และสร้างเครือข่าย ผู้ปกครองท้ังในระดับชั้นเรียนและระดับโรงเรียนโดยผ่านเทคโนโลยี มีการพัฒนารูปแบบวิธีการเรียนรู้ผ่าน กระบวนการสร้างนวัตกรรมของนักเรียน โดยใช้กระบวนการ โดยใช้รูปแบบโครงงาน ผู้เรียนมีการสร้าง นวัตกรรมและมกี ระบวนการแลกเปลย่ี นเรียนรโู้ ดยใช้กระบวนการ KM

91 ตอนที่ ๓ สรุปผล แนวทำงกำรพฒั นำและควำมต้องกำรกำรช่วยเหลือ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาถือเป็นข้อมูลสารสนเทศสาคัญที่สถานศึกษาจะต้องนาไป วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพ่ือสรุปนาไปสู่การเช่ือมโยงหรือสะท้อนภาพความสาเร็จกับแผนพัฒนาคุณภาพการจัด การศึกษาของสถานศึกษาและนาไปใชใ้ นการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ดงั น้นั จากผล การดาเนินงาน ของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมินในภาพรวมของจุดเด่น จุดควรพัฒนาของแต่ละ มาตรฐานพร้อมทงั้ แนวทางการพัฒนาในอนาคตเพอื่ ให้ไดม้ าตรฐานทีส่ ูงข้ึนและความตอ้ งการช่วยเหลอื ดงั น้ี ระดบั กำรศกึ ษำปฐมวยั สรปุ ผล จุดเด่น จุดควรพัฒนำ กำรบรหิ ำรจัดกำรสถำนพฒั นำเดก็ กำรบริหำรจัดกำรสถำนพฒั นำเดก็ ปฐมวยั ปฐมวยั สถานศกึ ษาควรจัดให้มีระบบรับเหตุฉุกเฉิน การปอ้ งกัน สถานศกึ ษาจัดทาแผนบรหิ ารจดั การ อัคคภี ยั /ภยั พิบัตติ ามความเสี่ยงของพนื้ ที่ โดยจดั ทาแผน สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั โดยสถานพัฒนาเดก็ ฝึกซอ้ มอพยพหนีไฟและทาการฝกึ ซอ้ มแผนอพยพใหก้ ับ ปฐมวยั /หน่วยงานท่ีกากับดูแล ปฏิบัติตาม บคุ ลากรและเดก็ ทุกคนเสมอื นเกดิ เหตุจริง อยา่ งน้อยปลี ะ แผนการบริหารจัดการสถานพฒั นาเด็ก ๑ คร้ัง มกี ารตรวจสอบประเมนิ ผลการดาเนนิ การและนา ปฐมวัย ประเมินผลการดาเนินงานตามแผน ผลประเมินมาปรับปรงุ /พัฒนาต่อไป และนาผลจากการประเมินไปพฒั นาและ ครู/ผูด้ ูแลเดก็ ใหก้ ำรดแู ลและจัดประสบกำรณ์กำร ปรับปรุงการบรหิ ารจัดการสถานพัฒนาเดก็ เรยี นรู้และกำรเล่นเพื่อพัฒนำเดก็ ปฐมวยั ปฐมวยั อยเู่ สมอ สถานศึกษาควรจัดกิจกรรมและประสบการณ์ดา้ น คร/ู ผดู้ ูแลเด็กให้กำรดแู ลและจัด คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์เบ้ืองต้นตามวยั โดยเด็ก ประสบกำรณ์กำรเรียนร้แู ละกำรเลน่ เพ่อื เรยี นรูผ้ ่านประสาทสมั ผัส และลงมือปฏิบัตดิ ้วยตนเอง มี พัฒนำเดก็ ปฐมวยั แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่สี ่งเสริมทกั ษะ ครจู ดั ทาแผนการจัดประสบการณ์ทกุ คน คณิตศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์แบบบรู ณาการการนาความรู้ จัดประสบการณ์เดก็ ดว้ ยรูปแบบที่ และทกั ษะพ้ืนฐานดา้ นคณิตศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตรม์ าใช้ หลากหลายจากแหลง่ เรยี นรตู้ ่างๆ เด็กได้ ในชีวิตประจาวนั และควรมีการบนั ทกึ ทกั ษะด้าน เลอื กเลน่ เรยี นรู้ ลงมอื กระทา และสร้างองค์ คณิตศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตรข์ องเดก็ เปน็ รายบุคคล ความรู้ดว้ ยตนเอง ม่งุ ใหเ้ ด็กได้เรยี นรู้ผา่ นการ คุณภำพของเด็กปฐมวัย ลงมอื ปฏิบตั ิและการใชป้ ระสาทสัมผัสทั้ง 5 ครคู วรนาเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมใหม่ๆ มาช่วยในการ คณุ ภำพของเด็กปฐมวยั จัดการเรียนการสอนในช้ันเรียน สง่ เสริม เดก็ มคี วามพรอ้ มมีพฒั นาการเหมาะสม ให้ครพู ัฒนาตนเองอย่างต่อเนอ่ื งในการใช้เทคโนโลยี การ ตามวยั รกั การเรยี น เด็กมีพัฒนาการ ด้าน ให้ขอ้ มลู ย้อนกลับแก่นักเรยี นทันทเี พอื่ นักเรยี นนาไปใช้ ร่างกาย นา้ หนัก สว่ นสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน พัฒนาตนเอง ควรจัดกิจกรรมการเรียนรใู้ หห้ ลากหลายตาม กรมอนามยั มรี า่ งกายแขง็ แรง แนว Active Learning

92 แผนกำรพฒั นำคณุ ภำพเพอ่ื ยกระดบั คณุ ภำพมำตรฐำนให้สงู ขึ้น 1. ควรจัดกจิ กรรมการเรยี นร้ใู หห้ ลากหลายตามแนว Active Learning 2. ควรสง่ เสรมิ ใหม้ ีการใชส้ ่ือเทคโนโลยี ใหเ้ ปน็ รปู ธรรมมากย่งิ ขน้ึ และมีการนิเทศตดิ ตามอย่าง ตอ่ เนื่อง 3. พัฒนาครูใหส้ ามารถจัดกจิ กรรมจิตศึกษาอยา่ งมคี ุณภาพ 4. ส่งเสรมิ ให้ครมู กี ารบนั ทกึ การสอนอย่างละเอียดเพ่อื นาปัญหาและอุปสรรคทีเ่ กิดจากการจัด กิจกรรมการเรยี นรไู้ ปจัดทาวจิ ัยในชัน้ เรยี น ๕. ส่งเสรมิ ให้ครแู ละผู้ปกครองมีสว่ นรว่ มในการประชุม PLC เพอื่ หาแนวทางในการแก้ไขปัญหา ร่วมกนั แนวทำงกำรพฒั นำสถำนศึกษำในอนำคต 1. จดั ทาหลกั สูตรสถานศึกษาท่ียืดหยุ่น และสอดคล้องกับหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั ตอบสนองความ ตอ้ งการและความแตกตา่ งของเดก็ ปกติและกลุ่มเป้าหมาย 2. จดั ครูให้เหมาะสมกับภารกิจการเรยี นการสอนหรือจัดครูที่จบการศกึ ษาปฐมวัยหรือผ่านการอบรม และมพี อเพยี งกบั ชัน้ เรยี น 3. พัฒนาครูบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์และออกแบบหลักสูตรสถานศึกษามี ทกั ษะในการจัดประสบการณ์และการประเมินเด็ก .ใช้ประสบการณส์ าคัญในการออกแบบการจัดกิจกรรมได้ และมีการประเมินเด็กเปน็ รายบคุ คล 4. จดั สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องเรียนอยา่ งหลากหลาย มีความปลอดภัย เพ่ือส่งเสรมิ ให้ เดก็ เกิดการเรียนร้ทู ่หี ลากหลายเหมาะสมกับสภาวการณ์ในปจั จบุ ัน ควำมตอ้ งกำรและกำรชว่ ยเหลือ ๑. ตอ้ งการรบั การสนบั สนุนอตั รากาลัง ตาแหนง่ ครปู ระจาการ/ข้าราชการ ตามวชิ าเอก ให้เพียงพอ ๒. ต้องการศึกษานเิ ทศก์/ผู้เชี่ยวชาญเป็นทีป่ รึกษาในการพฒั นาศกั ยภาพของครูปฐมวยั -

93 ระดบั กำรศกึ ษำขนั้ พน้ื ฐำน สรปุ ผล จุดเดน่ จุดควรพัฒนำ คุณภำพผู้เรียน คุณภำพผเู้ รยี น ผู้เรียนมีผลการทดสอบระดับชาติ O – net สูงขึ้น สถานศึกษาควรพัฒนาด้านการอ่าน การเขียน วิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ และมี ให้กับผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษา ด้านการคิด คะแนนเฉล่ียรวมสูงขึ้น ในระดับช้ันประถมศึกษา คานวณ ครูควรจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนฝึกคณิตคิดเร็ว ส่วนระดับช้ันมัธยมศึกษา คะแนนเฉล่ียรายวิชา คณิตคิดในใจ โดยใช้แบบฝึกหัดในชั่วโมงซ่อมเสริม ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และคณิตศาสตรส์ ูงข้ึน และ รวมถึงจดั กจิ กรรมใหน้ กั เรียนฝกึ คิดวเิ คราะห์โดยการ มีคะแนนเฉล่ียรวมสูงข้ึน นักเรียนมีความสามารถ สร้างโจทย์ปัญหา และควรเร่งพัฒนาความรู้ด้าน ทางด้านวิชาการ ด้านทักษะอาชีพ มีสุนทรียภาพ ภาษาต่างประเทศ ภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวัน ทางด้านดนตรี ศิลปะ และกีฬา ปฏิบัติตาม สง่ เสรมิ ความสามารถดา้ นภาษาองั กฤษ หลักธรรมของศาสนา มีมารยาท มีความขยัน จิตใจ กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจดั กำร เออ้ื อาทร กตญั ญู มรี ะเบียบวินยั ซอ่ื สัตย์ มีทกั ษะใน สถานศึกษาควรพฒั นาครูและบคุ ลากรใหม้ ีความ การทางาน และมีการจัดการเรียนการสอนแบบ เชย่ี วชาญทางวชิ าชีพ ให้ครไู ด้รบั การอบรมพฒั นาให้ บูรณาการโดยปราชญ์ชาวบ้านเข้ามาให้ความรู้ มี มีความเชีย่ วชาญทางวิชาชีพตรงตามมาตรฐาน สุนทรียภาพในการทางานจนเป็นเอกลักษณ์ของ ตาแหน่ง ไดร้ ับการส่งเสรมิ สนบั สนุน และพฒั นาให้ โรงเรียนในเรื่องการแสดงออกทางดนตรี นาฏศิลป์ มคี วามเช่ยี วชาญทางวชิ าชพี ไมน่ ้อยกวา่ ๒๐ ชัว่ โมง พ้ืนบ้านและเป็นที่ยอมรับของชมุ ชน ตอ่ ปี จดั ให้มชี มุ ชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพมาใช้ในการ กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจัดกำร พฒั นางานและการเรียนรู้ของผูเ้ รียนอยา่ งสม่าเสมอ สถานศึกษามีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ และเปน็ รปู ธรรมมากขนึ้ มอบหมายให้หัวหน้าฝ่ายบริหารงานท้ัง 4 ฝ่ายงาน กำรจัดกำรเรียนรูท้ ีเ่ นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั ได้ติดตามง านอย่าง ต่อเนื่อง มีก าร ปร ะ ชุม ครูควรนาเทคโนโลยีและนวตั กรรมใหม่ ๆ มาช่วย ปรึกษาหารือ แลกเปล่ียนเรียนรู้ และให้ข้อมูล ในการจัดการเรียนการสอนในช้ันเรียนมากขึ้น สะท้อนกลับ เพื่อหาแนวทางร่วมกันในการส่งเสริม ส่งเสริมให้ครูพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองในการใช้ และแก้ไขปัญหา มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพ เทคโนโลยี มีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนทันที การศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี ท่ีสอดคล้องกับ เพ่ือผู้เรียนนาไปใช้พัฒนาตนเอง ควรส่งเสริมให้ครู ผลการจัดการศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการ ออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้เฉพาะสาหรับผู้ที่มี พัฒนา และนโยบาย ความจาเป็นและความตอ้ งการความชว่ ยเหลือพิเศษ กำรจดั กำรเรยี นรู้ที่เนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ เพื่อพัฒนาผู้เรียนที่มีความจาเป็นตอ้ งการช่วยเหลือ ครูมีความต้ังใจมุ่งม่ันในการพัฒนาการเรียนการ พิเศษตามศักยภาพของผู้เรียน สอนอย่างมปี ระสิทธิภาพ โดยจัดกิจกรรมให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้ ที่เน้นทักษะกระบวนการคิด ไดป้ ฏบิ ัตจิ ริง มีการแนะนาวิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้ผู้เรียน แสวงหาความรู้จากส่ือเทคโนโลยีด้วย ตนเองอย่างต่อเน่ือง ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัด บรรยากาศ สภาพแวดลอ้ มทเ่ี อ้อื ตอ่ การเรียนรู้

94 แผนกำรพัฒนำคณุ ภำพเพอื่ ยกระดับคุณภำพมำตรฐำนใหส้ งู ข้นึ 1. พัฒนายกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนทุกกลุ่มสาระให้สูงขึ้น โดยให้ครูติดตามการวัดผล ประเมินผลอยา่ งเปน็ ระบบ 2. พัฒนาผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน โดยครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนฝึกอ่านบัญชี คาศัพทพ์ นื้ ฐานตามมาตรฐานชว่ งชน้ั ฝกึ อา่ นรายบคุ คลในชว่ั โมงซ่อมเสริม และฝกึ คดิ วเิ คราะห์จากสถานการณ์ หรือจากรูปภาพที่กาหนด ครูฝึกเขียนคาศัพท์พ้ืนฐานตามมาตรฐานช่วงชั้น ฝึกแต่งประโยคจากภาพและฝึก เขียนเล่าเรือ่ งจากภาพ 3. พัฒนาผู้เรียนมีความสามารถการคิดคานวณ โดยครูจัดกิจกรรมใหผ้ ู้เรียนฝึกคณิตคิดเรว็ คณิตคิด ในใจ โดยใช้แบบฝึกหัดในช่ัวโมงซ่อมเสริม ฝึกคิดวิเคราะห์โดยการสร้างโจทย์ปัญหา และจัดใหม้ ีการทดสอบ กอ่ นสอบจรงิ 4. ส่งเสริมและพัฒนาความสามารถดา้ นภาษาองั กฤษ ด้วยกจิ กรรมยิ้มไหวท้ ักทายกัน (smiling and greeting) โดยให้ผู้เรียนฝึกทักษะการพูด/การสื่อสารภาษาอังกฤษทักทายคุณครูและเพื่อน ๆ นอกห้องเรียน และฝกึ ทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้กจิ กรรมภาษาองั กฤษวนั ละคา ๕. พัฒนาผู้เรียนให้มคี วามสามารถในการคิด วิเคราะห์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยน ความคดิ เห็นและแก้ไขปัญหา โดยส่งเสริมให้มีการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ตามแนวทาง สะเตม็ ศกึ ษา หรือโครงงานทกุ ระดับชัน้ 6. พัฒนาผู้เรียนมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม โดยจัดกิจกรรมประกวดสิ่งประดิษฐ์ของเล่น ของใช้จากวัสดเุ หลือใช้ การจดั ทาโครงงานสิง่ ประดิษฐ์ 7. พัฒนาผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร โดยพัฒนาระบบ อินเตอร์เน็ตให้มีความเร็ว และครอบคลุมพื้นที่โรงเรียน 100 เปอร์เซ็นต์ และครูจัดกิจกรรมส่งเสริม ความสามารถของผู้เรียน ในการใช้อินเทอร์เน็ตสืบค้นข้อมูล และสรุปความรู้ด้วยตนเอง สามาร ถวัดและ ประเมินผลผา่ นระบบได้ 8. พัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา โดยส่งเสริมครูให้มีการนาเทคโนโลยีและ นวัตกรรมมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน มีการนิเทศติดตามอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง และส่งเสริม กระบวนการ PLC ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นกระบวนการคิด โดยผ่านกระบวนการกลุ่ม ใช้ ขอ้ สอบของปีการศกึ ษาท่ผี ่านมา เปน็ แนวทางในการสอนซ่อมเสริม ๙ พัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนส่งเสริมระเบียบวินัยของผู้เรียน โดยวิเคราะห์ คุณลักษณะท่ีเป็นจุดด้อยของผู้เรียน แล้วนามาพัฒนาให้ดียิ่งข้ึน และจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณลักษณะที่พึง ประสงคอ์ ย่างต่อเน่อื ง 1๐. ส่งเสรมิ การมีส่วนร่วมของทุกภาคสว่ น ๑๑. ส่งเสริมให้มีการประเมินหลักสูตรเพือ่ ให้เกิดการพัฒนาที่ตรงกับกลุ่มเป้าหมายและเช่ือมโยงกับ ชวี ติ จรงิ ๑๒. ส่งเสริมการพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาใหค้ รอบคลุมทกุ กลมุ่ เป้าหมายและเชอื่ มโยงกบั ชีวิตจรงิ ๑๓. สง่ เสรมิ ใหค้ รแู ละบคุ ลากรได้รบั การพัฒนาตามมาตรฐานวชิ าชพี และสามารถปฏิบัติงานได้อย่าง มีประสิทธิภาพโดยผ่านการพัฒนาอย่างต่อเนอื่ ง ๑๔. ส่งเสรมิ ให้บุคลากรมีการแลกเปลย่ี นเรียนรผู้ า่ นกระบวนการ PLC อย่างต่อเนอื่ ง ๑๕. ปรับปรุงแหล่งเรียนรู้ให้มีสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้อย่างหลากหลาย สะอาด และมี ความปลอดภัย

95 ๑๖. ส่งเสรมิ การจัดกิจกรรมการเรยี นร้นู อกหอ้ งเรยี นให้สอดคลอ้ งกบั สาระวิชามากขน้ึ ๑๗. พัฒนาระบบเครือข่ายเทคโนโลยีดิจิทัล ที่ทันสมัยและครอบคลุม สนองต่อความต้องการของ ผ้ใู ชบ้ ริการอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 1๘. ส่งเสริมให้ครูได้พัฒนาตนเองเพ่ือให้สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้หลากหลายตามแนว ActiveLearning ๑๙. สง่ เสริมใหค้ รูไดใ้ ช้สื่อเทคโนโลยี ใหเ้ ปน็ รปู ธรรมมากยิ่งข้นึ และมกี ารนเิ ทศติดตามอย่างตอ่ เนือ่ ง ๒๐. ส่งเสรมิ ให้ครทู าข้อตกลงรว่ มกนั ในการกาหนดแนวทางการเรยี นรู้และการปฏบิ ตั งิ านในหอ้ งเรียน ๒๑. ส่งเสริมให้ครูมีการบันทึกการสอนอย่างละเอียดเพ่ือนาปัญหาและอุปสรรคท่ีเกิดจากการจัด กิจกรรมการเรียนร้ไู ปจัดทาวิจัยในชัน้ เรียน ๒๒. ส่งเสริมให้ผู้เรียนและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการประชุม PLC เพื่อหาแนวทางในการพฒั นาการ จดั การเรียนรู้และแก้ไขปญั หาร่วมกนั ๒๓. ส่งเสริมให้ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ โดยใช้กระบวนการสร้างชุมชน แหง่ การเรียนรู้ (PLC) อยา่ งสมา่ เสมอ แนวทำงกำรพฒั นำสถำนศกึ ษำในอนำคต ๑. พฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการศึกษาโดยใหท้ ุกฝ่ายมีสว่ นร่วมในการบริหารงานโดยใชโ้ รงเรียนเป็น ฐาน (SBMLD) อย่างต่อเน่ืองและเปน็ ระบบ ๒. สง่ เสรมิ สนบั สนุน พัฒนาให้มกี ารปฏริ ูปทางการเรยี นรู้ จัดกระบวนการเรยี นการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสาคัญ ผ้เู รียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบตั ิจริง (Active Learning) จัดสื่อเทคโนโลยีที่หลากหลายให้เอื้อ ตอ่ การจดั การเรียนการสอนใหม้ ากขน้ึ ๓. ส่งเสริม สนับสนุนครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง สามารถ ปฏบิ ัตงิ านตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพ อีกท้ังมคี วามกา้ วหน้าในวชิ าชพี ๔. ระดมจดั สรรงบประมาณและทรพั ยากรทางการศกึ ษาเพื่อใช้ในการจัดการศึกษาใหเ้ พียงพอ ๕. พัฒนาผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน โดยครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนฝึกอ่านบัญชี คาศพั ทพ์ ื้นฐานตามมาตรฐานช่วงช้ัน ฝกึ อ่านรายบุคคลในช่วั โมงซอ่ มเสริม และฝึกคดิ วิเคราะหจ์ ากสถานการณ์ หรอื จากรปู ภาพทกี่ าหนด ๖. พัฒนาผู้เรียนมีความสามารถการคิดคานวณ โดยครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนฝึกคณิตคิดเร็ว คณิต คิดในใจ โดยใช้แบบฝึกหัดในชั่วโมงซ่อมเสริม ฝึกคิดวิเคราะห์โดยการสร้างโจทย์ปัญหา และจัดให้มี การทดสอบกอ่ นสอบจริง ๗. ส่งเสรมิ และพัฒนาความสามารถด้านภาษาองั กฤษ ด้วยกจิ กรรมยิ้มไหวท้ ักทายกัน (smiling and greeting) โดยให้นักเรียนฝึกทักษะการพูด/การส่ือสารภาษาอังกฤษทักทายคุณครูและเพื่อนๆ นอก หอ้ งเรยี น และฝกึ ทักษะภาษาอังกฤษโดยใชก้ จิ กรรมภาษาอังกฤษวันละคา ๘. พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการคิด วเิ คราะห์ คดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยน ความคิดเห็นและแก้ไขปัญหา โดยส่งเสริมให้มีการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็ม ศึกษาหรือโครงงานทุกระดับชั้น ๙. พัฒนาผู้เรียนมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม โดยจัดกิจกรรมประกวดส่ิงประดิษฐ์ของเล่น ของใชจ้ ากวัสดุเหลอื ใช้

96 ๑๐. พัฒนาผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสาร โดยพัฒนาระบบ อนิ เตอรใ์ หม้ ีความเรว็ และครอบคลมุ พน้ื ที่โรงเรียน 100 เปอร์เซน็ ต์ และครูจดั กิจกรรมส่งเสริมความสามารถ ของผูเ้ รยี นในการใช้อินเทอรเ์ นต็ สืบค้นขอ้ มลู และสรุปความรดู้ ว้ ยตนเอง ๑๑. พัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา โดยส่งเสริมครูให้มีการนาเทคโนโลยี และนวัตกรรมมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน มีการนิเทศติดตามอย่างเป็นระบบและต่อเน่ือง และส่งเสริม กระบวนการ PLC ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นกระบวนการคิด โดยผ่านกระบวนการกลุ่ม ใช้ ข้อสอบของปีการศึกษาทผี่ ่านมา เป็นแนวทางในการสอนซ่อมเสริม และจัดกจิ กรรมส่งเสริมสมรรถนะสาคัญ ของผู้เรยี นทงั้ 5 ด้านอย่างต่อเนอ่ื ง ๑๒. พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ทักษะพ้ืนฐานและเจตคติท่ีดีต่องานอาชีพ โดยสร้างเครือข่ายเพื่อจัด กจิ กรรมแนะแนวอย่างต่อเน่ือง 1๓. พัฒนาคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรียน โดยวิเคราะห์คุณลักษณะที่เป็นจุดด้อยของผู้เรียน แล้วนามาพัฒนาให้ดียิ่งข้ึน และจดั กิจกรรมส่งเสริมคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์อยา่ งต่อเนื่อง 1๔. ส่งเสริมใหม้ ีการประเมินหลกั สูตรเพ่ือให้เกิดการพัฒนาที่ตรงกับกลุ่มเป้าหมายและเช่ือมโยงกับ ชีวติ จริง 1๕. ส่งเสริมการพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษาใหค้ รอบคลุมทกุ กลุ่มเป้าหมายและเช่ือมโยงกับชวี ติ จริง 1๖. ควรปรับปรุงแหล่งเรยี นรู้ใหม้ ีสภาพแวดล้อมท่ีเอ้อื ต่อการเรยี นรู้ สะอาด และมคี วามปลอดภยั 1๗. ส่งเสรมิ การจัดกิจกรรมการเรียนรนู้ อกห้องเรียนให้สอดคลอ้ งกบั สาระวชิ ามากขึน้ 1๘. พัฒนาระบบเครือข่ายเทคโนโลยีดิจิทัล ที่ทันสมยั และครอบคลุม สนองต่อความต้องการของ ผใู้ ช้บริการอย่างมีประสทิ ธิภาพ 1๙. ส่งเสริมให้ครูมีการบันทึกการสอนอย่างละเอียดเพื่อนาปัญหาและอุปสรรคท่ีเกิดจากการจัด กจิ กรรมการเรยี นรู้ไปจดั ทาวจิ ัยในชน้ั เรียน 2๐. ส่งเสริมให้นักเรียน และผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการประชุม PLC เพื่อหาแนวทางในการแก้ไข ปัญหารว่ มกัน 2๑. ส่งเสริมให้ครูมกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และให้ข้อมลู สะท้อนกลับ โดยใช้กระบวนการสร้างชุมชน แหง่ การเรยี นรู้ (PLC) อยา่ งสม่าเสมอ ควำมตอ้ งกำรและกำรชว่ ยเหลือ 1. สง่ เสรมิ ให้ครไู ดร้ ับการอบรมเพ่อื พัฒนาทกั ษะการสอนใหต้ อ่ เน่อื งทันต่อการพัฒนาประเทศ 2. ลดภาระงานทีไ่ ม่เกี่ยวข้องกบั งานสอนให้น้อยลง ๓. เพ่ิมบุคลากรสนับสนุนการสอนเพื่อให้ครูได้มีเวลาเต็มทใ่ี นการเตรียมการสอน ๔. สรรหาครูตรงตามวิชาเอกทข่ี าดแคลนให้เพียงพอ โดยเฉาะวิชาเอกภาษาไทย และคณิตศาสตร์ ๕. ตอ้ งการรับการสนบั สนุนอตั รากาลัง ตาแหน่งครูประจาการ/ขา้ ราชการ ตามวิชาเอกให้เพยี งพอ ๖. ตอ้ งการศกึ ษานเิ ทศก/์ ผเู้ ช่ยี วชาญเป็นทปี่ รกึ ษาในการพฒั นาศกั ยภาพของระดับการศกึ ษาข้ัน พนื้ ฐาน

97 ตอนที่ ๔ กำรปฏบิ ตั ทิ ี่เปน็ เลศิ ของสถำนศกึ ษำ ชื่อผลงำน (Best Practices) โครงกำรส่งเสรมิ ควำมเป็นเลศิ ศิลปะ (รำไทย) คำสำคัญ รำไทย ประจำปีกำรศึกษำ ๒๕๖๓ ๑. บทนำ ชุมชนตาบลนาอ้อเป็นชุมชนกึ่งเมือง ก่ึงชนบทอยู่ห่างจากตัวจังหวัด ๑๐ กิโลเมตร มีประชากร ๖,๑๙๗ คน เป็นชุมชนเก่าแก่มีประวัติที่ยาวนานกว่า ๔๕๐ ปี มีภาษาพูดที่เป็นเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ของ ตนเองมสี ถาปัตยกรรมบ้านไทเลยโบราณที่เรียบเรียบง่าย มวี ิถีชวี ิตท่ีเปน็ วัฒนธรรมสืบทอดต่อกันมาตงั้ แต่คร้ัง บรรพชน การช่วยเหลอื เก้ือกลู กัน เออ้ื อาทรต่อกันในการดารงชีวติ แต่จากการเปล่ียนแปลงไปของวิวฒั นาการ ทางสงั คม ส่ิงแวดล้อมในปจั จบุ ัน สังคมขยายใหญข่ ึน้ ผู้คนมีปญั หาความเป็นอย่มู ากขึ้น สังคมพฒั นารูปแบบไป ตามกระแสของโลกตะวันตกในยุคโลกาภวิ ตั น์ทาให้มผี ลกระทบตอ่ วิถชี วี ิต คา่ นยิ ม ประเพณีอันดงี ามของคนใน ชุมชนท้องถ่ินซ่ึงมีแนวโน้มกาลงั จะเลือนหายไปและก่อให้เกิดปัญหาทางสังคมตามมาไม่ว่าจะเป็นปญั หาเร่ือง ความยากจน ความเหลื่อมลา้ ความไม่เท่าเทียมกันในสังคม มีรายได้ไมเ่ พียงพอกบั รายจ่าย ทาใหเ้ กิดการกยู้ ืม เกิดหน้ีสนิ ปัญหาเหล่านหี้ ากไมไ่ ด้รบั การเยียวยาในอนาคตจะเป็นปัญหาทย่ี ากจะแกไ้ ข เพราะสง่ ผลกระทบกับ เด็กและเยาวชนในพ้ืนท่ีโดยตรง ผู้ปกครองต้องไปทางานนอกบ้าน ต่างจังหวัด ปล่อยให้เด็กเป็นภาระของ ผสู้ ูงอายุท่ีบ้าน เดก็ ถกู ทอดท้งิ ไม่ได้รับการดูแลเอาใจใสเ่ ทา่ ทค่ี วร สง่ ผลให้เด็กขาดความอบอุ่น มีพัฒนาการช้า ทงั้ ดา้ นรา่ งกาย สติปัญญา อารมณ์ และสงั คม หลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนท่ีสมบูรณ์มีความสมดุลท้ังด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสตปิ ญั ญา สามารถพัฒนาตนเองและรว่ มมือกบั ผู้อ่นื ไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ศลิ ปะเป็นกลมุ่ สาระการเรยี นร้ทู ี่มุ่งเนน้ การส่งเสริมให้ผูเ้ รยี นมีความคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรคม์ ีจินตนาการทางศลิ ปะ ชน่ื ชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมคี ุณค่าซ่ึงมีผลต่อคุณภาพชีวติ มนษุ ย์ดงั นัน้ กิจกรรมศิลปะสามารถนาไปใช้ ในการพัฒนาผู้เรียนโดยตรงทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาตลอดจนนาไปสู่การพัฒนา สง่ิ แวดล้อม สง่ เสริมใหผ้ ้เู รียนมีความเช่อื ม่นั ในตนเองและแสดงออกในเชงิ สร้างสรรค์ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน กระทรวงมหาดไทย ได้สนับสนุนงบประมาณเพื่อส่งเสริมศักยภาพ การจัดการศึกษาท้องถิ่นโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถ่ิน(SBMLD) เพ่ือส่งเสริมให้นักเรียนมี อัจฉริยภาพด้านศิลปะ มีความเป็นเลิศด้านศิลปะ เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ในระดับชั้นท่ีสูงขึ้นและสามารถ นาไปประกอบอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้ให้กับผู้เรียนได้ในอนาคต ลดปัญหาความยากจน ความเหลือ่ มล้า ความไม่เท่าเทียมกันทางสงั คมและยกฐานะทางเศรษฐกจิ ให้ดีขนึ้ ได้ โรงเรยี นเทศบาลนาออ้ มุ่งที่จะให้ผ้เู รียน ได้เรียนรู้ ท้ังดา้ นร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คมและสติปญั ญา ได้ลงมือปฏิบัติจริง และเพื่อเป็นการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระศิลปศึกษา สาระท่ี 3 วิชา นาฏศิลป์ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โรงเรียนจงึ จัดโครงการส่งเสริมความเปน็ เลิศด้านศิลปะ(ราไทย) โดย ได้รับการสนับสนุนงบประมาณส่งเสริมศักยภาพการจัดการศึกษาท้องถิ่นเพ่ือพัฒนาการจัดการศึกษาโดยใช้ โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่น(SBMLD) จากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เพ่อื ส่งเสริมให้นักเรยี นมี อัจฉริยภาพด้านศิลปะ(ราไทย) มีความเป็นเลิศด้านศิลปะ(ราไทย) เพ่ือเป็นพ้ืนฐานการเรียนรู้และพัฒนาต่อ ยอดส่คู วามเป็นเลิศไดใ้ นอนาคตและสามารถนาไปประกอบอาชีพสรา้ งรายไดใ้ หก้ บั ตนเองได้

98 วัตถุประสงค์ ๒.๑ เพ่ือใหน้ กั เรียนไดแ้ สดงออกซึ่งความสามารถในดา้ นทกั ษะการราไทย ๒.๒ เพื่อส่งเสรมิ ความถนดั ของผู้เรียนด้านราไทยและชว่ ยในการสร้างบคุ ลกิ ภาพทา่ ทางสงา่ งาม ๒.๓ เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นได้พฒั นารา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ๒.๔ เพ่อื เป็นการอนรุ กั ษก์ ารราไทยไว้เปน็ สมบัติอนั มคี ่าประจาชาตใิ ห้คงอย่ตู ่อไป เป้ำหมำย ตวั ช้วี ดั เชิงปริมำณ - นกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔-๖ จานวน 17 คน เข้าร่วมโครงการราไทย ตัวชี้วดั เชงิ คณุ ภำพ - นักเรยี นไดร้ ับการพัฒนาร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คม - นกั เรียนมบี ุคลิกภาพท่าทางสง่างาม - เปน็ การรักษาการราของไทยให้เปน็ สมบัตอิ นั มคี า่ ประจาชาติ ๒. แนวทำง/ข้นั ตอนกำรดำเนนิ งำน/Flow Chart (แผนภูมิ)วิธีหรอื แนวทำงปฏิบตั ิท่เี ปน็ เลศิ ๑) ออกประชาคมร่วมกับเทศบาลตาบลนาอ้อ เพือ่ รายงานผลการจัดการศึกษา รับฟังความคิดเห็น ขอ้ เสนอแนะ ปัญหา ความตอ้ งการต่างๆจากชุมชนและผู้มสี ่วนเก่ียวขอ้ ง ๒) ประชุมผู้ปกครอง ผู้ปกครองเครือข่าย เพ่ือรับฟังความคิดเห็น ปญั หา ความต้องการต่าง ๆ จาก ผู้ปกครองนักเรยี นและตัวแทนผู้ปกครองนักเรียน ๓) เสนอขอ้ คิดเหน็ ปัญหา ความตอ้ งการต่อคณะอนุกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน ๔) เขยี นและวางแผนโครงการจากการสรปุ วิเคราะหป์ ัญหาความตอ้ งการ ๕) เสนอโครงการต่อคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พื้นฐานเพ่อื ขอความเหน็ ชอบในการดาเนนิ โครงการ ๖) ประชมุ ช้แี จง ผบู้ ริหารมอบนโยบายให้นักเรยี น คณะครูบคุ ลากรในโรงเรียน ชมุ ชนและ ตวั แทนผปู้ กครองเครือขา่ ย ไดท้ ราบวัตถปุ ระสงคข์ องการดาเนินโครงการ ๗) กาหนดภาระงานใหบ้ ุคลากรรับผิดชอบตามความเหมาะสมตามบทบาทหนา้ ที่ ๘) คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานจัดทาหลักสูตร โดยบรรจุ หลักสูตรเพิ่มเติมในหลักสตู รสถานศึกษา ตามโครงการพัฒนาการบริหารจดั การศึกษาขององค์กรปกครองส่วน ท้อง ถิ่นโดยใช้โร งเรียน เป็น ฐาน ในก าร พัฒน าท้อ งถ่ิน ( School Based Management for Local Development : SBMLD) ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๒ โดยใหน้ กั เรียนเลือกเรียนตามความสนใจ ความถนัด และตามศกั ยภาพของผู้เรยี นเอง ๙) ดาเนนิ การตามโครงการท่ีกาหนดไว้ ๓. ผลลัพธ/์ ผลกำรดำเนนิ กำร ๑) นกั เรยี นได้แสดงออกซ่งึ ความสามารถในด้านทักษะราไทย ร้อยละ ๑๐๐ ๒) นักเรียนมีความถนดั ดา้ นราไทย และมบี คุ ลกิ ภาพท่าทางสงา่ งาม รอ้ ยละ ๑๐๐ ๓) นกั เรียนได้พฒั นารา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญา รอ้ ยละ ๑๐๐ ๔) นักเรียนมีสว่ นร่วมในการอนุรักษร์ าไทยใหเ้ ป็นสมบัติอนั มคี ่าประจาชาติ รอ้ ยละ ๑๐๐

99 ๔. ปจั จยั เก้ือหนุนหรอื ปจั จัยแห่งควำมสำเร็จ ๔.1. ความมุ่งมน่ั ทมุ่ เทของปราชญ์ชาวบ้านและคณะครใู นการถา่ ยทอดวชิ าความรู้อันเป็นภมู ปิ ัญญา ท้องถิ่นใหก้ บั นกั เรยี นด้วยความมุ่งม่นั และตั้งใจจนเกดิ ผลสาเร็จ ๔.2. การสนับสนนุ ของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาท้ังในส่วนของงบประมาณ บคุ ลากร และขวญั กาลงั ใจท่ีดี ยง่ิ ในการทางาน ๔.3. ความรว่ มมอื ของทกุ ภาคสว่ นในการดาเนนิ กจิ กรรมตามโครงการ ทั้งปราชญช์ าวบา้ น คณะกรรมการสถานศกึ ษา ผู้ปกครอง ผูน้ าชมุ ชน คณะครู และบคุ ลากรในโรงเรียนทุกๆคน ๔.4. นอกจากได้เรยี นรใู้ นชัน้ เรยี นแล้วนกั เรียนยังไดม้ โี อกาสไปทากิจกรรมร่วมกบั ชมุ ชนในโอกาส ต่างๆ ๕. แนวทำงกำรพัฒนำใหย้ ่ังยนื ๕.๑ กำรถอดบทเรียนกำรดำเนินงำน ผู้เรียนให้ได้รับการพัฒนาการเรียนรู้ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ และ ๓R ๗C ซ่ึงประกอบด้วย ๓R ไดแ้ ก่ Reading = การอ่านออกนักเรยี นสามารถอ่านข้อมลู ข้อความบทความต่าง ๆ ทเ่ี ก่ียวข้อง เพือ่ นามา พัฒนาการ (W)Riting = การเขียนได้ นกั เรียนเขียนประโยชน์ที่ได้จากการทาโครงการ ทาการถอดบทเรยี นท่ี ได้เป็นแผนภาพความคิด (A)Rithemetics = การคิดเลขเป็น นักเรียนคิดคานวณค่าใช้จ่ายในการดาเนินการ คิดคานวณ รายจ่าย – รายรับ ทักษะ ๗C ได้แก่ Critical Thinking and Problem Solving ทักษะด้านการ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา Creativity and Innovation ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม Cross-cultural Understanding ทักษะดา้ นความเข้าใจ ความตา่ งวฒั นธรรม ตา่ งกระบวนทศั น์ นกั เรียนได้เรียนรูก้ ารทางานร่วมกันความเขา้ ใจในความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล วัฒนธรรมใน การทางาน ร่วมกัน Collaboration, Teamwork and Leadership เกดิ ทักษะด้านความร่วมมือ การทางาน เป็นทีม และ ภาวะผู้นา การทางานเปน็ กลุม่ ทม่ี ีกระบวนการ ข้ันตอน ทไี่ ด้กาหนดไว้อยา่ งเปน็ ระบบ ได้แก่ การ วางแผนการดาเนินการ การรายงานผล ให้กับเพ่ือน ครู ผู้บริหารและชุมชนได้รับทราบเม่ือเกิดปัญหา มีการ แกไ้ ขทนั ที โดยรับฟงั ความคิดเห็นท่แี ตกตา่ งจากผูอ้ น่ื ดาเนินงานตามหลักประชาธปิ ไตย มีการสรุปผลอภปิ ราย ถึงปัจจัยท่ีทาให้ประสบความสาเร็จ เปน็ ตน้ Communications, Information, and Media Literacy ทักษะ ด้านการส่ือสารสารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ นักเรียนได้ฝึกฝนการส่ือสารท่ีมีประสิทธิภาพ คือการส่ือสารที่ ถูกต้อง ตามความหมายท่ีผู้พูดต้องการจะส่ือสาร นอกจากน้ียังได้ฝึกการประชาสัมพันธ์นาเสนอให้กับ บุคคลภายนอก คณะผู้มาศึกษาดูงานได้รับร้อู ีกด้วย Computing and ICT Literacy ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร นกั เรยี นได้ฝกึ ทาแผ่นพับโครงการฝกึ ฝนการออกแบบผ่านโปรแกรม ในคอมพิวเตอร์ เพ่ือประชาสัมพันธ์โครงการและลงภาพถ่ายกิจกรรมต่าง ๆ ลงส่ือโซเชียล เช่น เฟซบุ๊ค ไลน์ เพ่อื ประชาสมั พนั ธ์แจ้งข้อมลู ขา่ วสารให้กบั ผเู้ กยี่ วข้องทราบ Career and Learning Skills ทักษะอาชพี และ ทกั ษะการเรียนรู้ นักเรียนได้ฝึกทักษะอาชีพในการรา ซึ่งสามารถนาไปต่อยอดที่อาจเป็นอาชีพใหก้ ับนักเรียน ตอ่ ไปในอนาคตได้ โดยในการดาเนินโครงการในครั้งนี้ได้รับความร่วมมอื จากนกั เรียน คณะครู ผู้อานวยการ โรงเรียนเทศบาลนาอ้อ ตลอดจนชุมชนบ้านนาอ้อ ปราชญ์ชาวบ้านท่ีมาเป็นวิทยากรถ่ายทอดองค์ความรู้ให้ นกั เรียนได้เรียนรู้ ตลอดจนคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานที่ช่วยผลกั ดันโครงการ เกิดความร่วมมือกัน จากทกุ ฝา่ ย

100 ๕.๒ กำรพัฒนำตอ่ ยอด/ออกแบบพัฒนำใหม่ ในปีการศึกษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นเทศบาลนาออ้ จะดาเนนิ การพัฒนาต่อยอดโครงการ โดยการนา นกั เรียนเข้าร่วมกิจกรรมกับทางชุมชนใหม้ ากข้นึ โดยอาจจะจัดคา่ ยนาฏศิลป์ เพื่อฝึกฝนนกั เรียนทีส่ นใจ หรอื เยาวชนในท้องถ่ินทสี่ นใจการราไทย ให้มาฝกึ ฝนการราไทยให้ชานาญมากย่ิงข้ึน ๖. กำรเป็นตน้ แบบใหก้ ับหนว่ ยงำนอนื่ /กำรขยำยผลและ/หรอื รำงวัลท่ไี ดร้ บั โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศดา้ นศิลปะ (ราไทย) โรงเรยี นเทศบาลนาออ้ ได้ ดาเนินการอยา่ งเป็น รปู ธรรม ทาใหเ้ กดิ กระบวนการเรยี นรู้ ทเ่ี กิดจากการเชือ่ มประสานความร่วมมอื จากภาคสว่ นต่าง ๆ ทเี่ กยี่ วข้อง โดยมีเปา้ หมายทส่ี าคญั ในการรักษา สืบสานภมู ิปัญญาท้องถิน่ อันดงี ามของชมุ ชนนาอ้อ กอ่ ให้เกิดความรักและ ความภาคภูมิใจในท้องถ่นิ ใหก้ ับนกั เรียน จนเปน็ ท่ียอมรับของชุมชน ผู้ปกครอง และหนว่ ยงานอ่ืน ๆ โครงการ มกี ารจัดทารายงานการประเมินตนเอง /รายงานการประเมินผลการดาเนินงานเผยแพร่ให้สาธารณชนทราบ ผ่านสื่อออนไลน์ เช่น ไลน์ เฟสบุ๊ค เพจเทศบาลตาบลนาอ้อ หรือจดหมายข่าวเทศบาล เป็นต้น นอกจากน้ี นักเรยี นยังมีโอกาสได้นาเสนอผลงานด้านต่าง ๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และหน่วยงานอ่ืนๆในโอกาสต่างๆ พร้อมท้ังไดร้ บั รางวัลต่าง ๆ อนั เกิดจากการดาเนินงานโครงการอีกด้วย ซง่ึ ขอสรุปไวด้ ังตอ่ ไปน้ี ตำรำงแสดงรำงวัล/เกียรตคิ ุณท่ีได้รับกิจกรรม Best Practice โครงกำรสง่ เสริมควำมเปน็ เลศิ ศิลปะ (รำไทย) ท่ี วัน/เดอื น/ปี รำงวัล/เกยี รติคุณ หนว่ ยงำนที่มอบ หลักฐำน 16-20/ต.ค./ โครงการอบรมนาฏศิลป์สาหรับสภา เทศบาลตาบลนาอ้อ เกยี รตบิ ตั ร ๑ 2563 เด็กและเยาวชนตาบลออ้ ณ เทศบาลตาบลนาออ้ 25/ก.ย./ การประกวดวงดนตรโี ปงลาง มหาวิทยาลยั จฬุ าลงกรณ์ เกยี รติบตั ร ๒ 2563 ราชวทิ ยาลยั (วิทยาลัย สงฆ์เลย) ตลอดปี เขา้ ร่วมการแสดงต้อนรบั คณะศึกษา เทศบาลตาบลนาออ้ ภาพถา่ ย/ ๓ การศึกษา ดูงานทม่ี าศึกษาดงู านเทศบาลตาบล แบบบนั ทึก นาอ้อ การเข้ารว่ ม ตลอดปี ราแสดงในพธิ ฌี าปนกิจศพ (ราหนา้ ชุมชน ภาพถา่ ย/ การศกึ ษา ไฟ) ของชมุ ชนนาอ้อ ตามที่ไดร้ ับ แบบบันทึก ๔ การร้องขอและจิตอาสา ตลอดปี การเขา้ ร่วม การศึกษา