Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SAR-สถานศึกษา-ปี-2563-โรงเรียนเทศบาลนาอ้อ-จ.เลย ล่าสุดใหม่

SAR-สถานศึกษา-ปี-2563-โรงเรียนเทศบาลนาอ้อ-จ.เลย ล่าสุดใหม่

Published by nittaya seeda, 2021-08-26 06:56:38

Description: SAR-สถานศึกษา-ปี-2563-โรงเรียนเทศบาลนาอ้อ-จ.เลย ล่าสุดใหม่

Search

Read the Text Version

๑ w

๒ คำนำ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 256๓ของโรงเรยี นเทศบาลนาอ้อ สังกัดกองการศึกษา เทศบาลตานาออ้ อาเภอเมือง จังหวัดเลย ฉบบั น้ี จัดทา ขน้ึ ตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ข้อ 3 ระบุใหส้ ถานศึกษาจัดสง่ รายงานผลการ ประเมินตนเองให้แกห่ น่วยงานต้นสังกดั หรอื หน่วยงานท่ีกากับดูแลสถานศึกษาเป็นประจาทุกปีเพ่ือรายงานผลการ ดาเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาท่ีสะทอ้ นผลการพฒั นาคุณภาพการศึกษา ซง่ึ เปน็ ผลสาเร็จจากการบริหารจัด การศึกษาท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาในระดับปฐมวัย ๓ มาตรฐาน ๑๙ ตัวบ่งชี้ ๗๕ ข้อ ไดแ้ ก่ มาตรฐานที่ 1 การบริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย มาตรฐานท่ี 2 ครู/ผู้ดูแลเด็กให้การดูแลและจัดประสบการณ์การ เรียนรู้และการเล่นเพอื่ พัฒนาเด็กปฐมวัย มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพของเด็กปฐมวยั และระดับการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน 3 มาตรฐานได้แก่ มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผู้เรียน มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและมาตรฐานท่ี ๓ การ จดั การกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญ เพ่ือนาเสนรายงานผลการจัดการศึกษาในรอบปีที่ ผ่านมาต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้รับทราบ และเตรียม ความพร้อมในการรับการประเมินภายนอก โดยสานักงานรับรองมาตรฐานการศึกษาและประเมินคุณภาพ การศกึ ษา(องค์การมหาชน) ต่อไป โรงเรียนเทศบาลนาอ้อ ขอขอบคุณผู้อานวยการโรงเรียน คณะครู ผู้ปกครอง นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พื้นฐาน และผ้ทู ม่ี ีสว่ นเกี่ยวข้องทกุ ฝ่ายทม่ี ีส่วนรว่ มในการจดั ทารายงานการประเมิน ตนเองของสถานศกึ ษาปีการศึกษา 256๓ ฉบับนี้ คณะผู้จัดทาหวังเปน็ อยา่ งย่งิ ว่าเอกสารรายงานฉบับน้ี จะเป็น ประโยชน์ตอ่ การนาไปใชใ้ นการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรยี นเทศบาลนาอ้อให้สงู ข้ึนตอ่ ไป โรงเรียนเทศบาลนาออ้ ๑๐ พฤษภาคม 256๔

๓ สำรบญั เร่ือง หน้ำ คำนำ ๒ สำรบญั ๓ บทสรุปสาหรบั ผ้บู ริหาร ๕ ตอนท่ี 1 ข้อมลู พน้ื ฐำนของสถำนศึกษำ ๑๓ 1. ขอ้ มูลทั่วไป ๑๓ 2. ข้อมลู ผบู้ รหิ าร ๑๔ 3. ขอ้ มูลครแู ละบคุ ลากร ๑๔ 4. ขอ้ มูลนักเรียน ๑๙ 5. ข้อมลู ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนระดบั สถานศึกษาปกี ารศกึ ษา 256๓ ๒๒ ๖. ขอ้ มลู ผลการประเมนิ ทดสอบความสามารถพ้นื ฐานผู้เรยี นระดบั ชาติ (National Test : NT) ๓๑ ๗. ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขั้นพน้ื ฐาน (O-NET) ๓๓ ๘. ข้อมลู อาคารสถานท่ี ๓๘ ๙. ข้อมลู สภาพชมุ ชนโดยรวม ๓๘ 10. โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ๓๙ ๑๑. แหลง่ เรยี นรู้ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิน่ ๔๖ ๑๒. ผลงานดีเด่นในรอบปีที่ผ่านมา ๔๘ ๑๓. ผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษาในปีทผี่ า่ นมา ปกี ารศึกษา 256๒ ๕๑ (ปกี ารศกึ ษาทแ่ี ล้ว) ๑๔. ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสาม ๕* 15. การนาผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษามาใช้ในการปรบั ปรงุ และ ๕๘ พัฒนาคุณภาพ การศึกษาอยา่ งต่อเนอ่ื ง 16. การพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษาตามแผนปฏิบัติการประจาปขี องสถานศึกษา ๕๘ ตอนที่ 2 ผลกำรประเมินตนเองของสถำนศกึ ษำ ๖๒ ระดับปฐมวยั ๖๒ ผลการประเมนิ มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ๖๒ มาตรฐานท่ี 1 การบรหิ ารจดั การสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ๖๒ มาตรฐานท่ี 2 คร/ู ผูด้ ูแลเด็กใหก้ ารดแู ลและจัดประสบการณก์ ารเรยี นรแู้ ละ ๖๕ การเลน่ เพอ่ื พัฒนาเดก็ ปฐมวัย มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพของเดก็ ปฐมวยั ๖๗ ระดับกำรศึกษำข้ันพน้ื ฐำน ๗๗ ผลการประเมนิ มาตรฐานการศึกษาระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ๗๗ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผูเ้ รยี น ๗๗

๔ สำรบญั เรื่อง หน้ำ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ๘๒ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ๘๖ ตอนท่ี ๓ สรุปผล แนวทำงกำรพฒั นำ และควำมต้องกำรช่วยเหลือ ๙๑ ตอนท่ี ๔ กำรปฏบิ ตั ิท่ีเป็นเลศิ ของสถำนศกึ ษำ Best Practices ๙๗ 4.1 ชือ่ ผลงาน/บทนา ๙๗ 4.2 แนวทาง/ข้ันตอนการดาเนนิ งาน/วัตถปุ ระสงค์ ๙๘ 4.3 ผลลพั ธ/์ ผลการดาเนนิ งาน ๙๘ 4.5 ปจั จยั เก้ือหนนุ หรือปจั จัยแห่งความสาเร็จ ๙๙ 4.6 แนวทางการพฒั นาให้ย่ังยืน ๙๙ 4.7 การเป็นตน้ แบบให้กับหนว่ ยงานอ่นื /การขยายผลและ/รางวลั ทไี่ ด้รบั ๑๐๐ 4.8 ร่องรอย/หลกั ฐาน/ภาพถ่าย/ชิ้นงาน ๑๐๑ ภำคผนวก ๑๑๐ • หลักฐาน ขอ้ มูลสาคัญ เอกสารอ้างองิ ต่างๆ - ประกาศโรงเรียนเทศบาลนาอ้อ เรอื่ ง มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติและ ๑๑๑ มาตรฐานการศึกษาข้นั พนื้ ฐานเพ่ือการประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษาและคา่ เปา้ หมาย การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ - ประกาศโรงเรยี นเทศบาลนาออ้ เรื่อง เห็นชอบมาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัยแห่งชาติ ๑๑๓ และมาตรฐานการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานเพอื่ การประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาและคา่ เป้าหมาย การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ - ประกาศกาหนดค่าเปา้ หมายมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาระดับปฐมวัย และระดบั ๑๑๘ การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน โรงเรียนเทศบาลนาอ้อ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ - คาส่ังแตง่ ตั้งคณะกรรมการดาเนินงานมาตรฐานการประกนั คุณภาพการศกึ ษา ๑๔๙ - คาสงั่ แตง่ ตัง้ คณะทางานและคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ๑๕๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ • เกียรตบิ ัตร ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ๑๕๔ • ประมวลภาพกิจกรรมต่างๆของโรงเรียนเทศบาลนาออ้ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ๑๕๗

๕ บทสรปุ ของผูบ้ ริหำร บทนำ โรงเรียนเทศบาลนาอ้อ ต้ังอยู่บริเวณเทศบาลตาบลนาอ้อ ตั้งอยู่เลขท่ี ๑๑๑ หมู่ที่ ๓ ตาบลนาอ้อ อาเภอเมืองเลย จังหวัดเลย รหัสไปรษณีย์ ๔๒๑๐๐ โทรศัพท์ ๐๔๒-๘๓๕๑๒๓ อาณาเขตของโรงเรียน ทิศ เหนือจดท่ีดินของนางคาภู หิรัญพรหม นางมนตรี จาปาแก่น ทางหลวงเทศบาล ป่าช้าบ้านนาอ้อ ทิศ ตะวันออก จดป่าชา้ บา้ นนาอ้อ ทิศใต้ จดป่าช้าบ้านนาอ้อ ทศิ ตะวนั ตก จดปา่ ช้าบ้านนาอ้อ และทางหลวง เทศบาล ผู้อานวยการสถานศึกษา นางสมใจ ปิตุโส วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท สาขา การบริหาร การศึกษา ปัจจุบันมีข้าราชการ/พนักงานครูเทศบาลจานวน ๑๔ คน (มาช่วยราชการจานวน ๑ คน) พนักงานจ้างตามภารกจิ จานวน ๘ คน พนกั งานจ้างเหมาบรกิ ารงานสอน จานวน ๗ คน บุคลากรสนบั สนุน การสอน จานวน ๑ คน บุคลากรสนับสนุนสถานศึกษา(นักการภารโรง) จานวน ๑ คน คนงานธุรการ จานวน ๑ คน และพนักงานจ้างเหมาบริการ(แม่ครัวประกอบอาหารกลางวันนักเรียน) จานวน ๒ คน รวมท้งั ส้นิ จานวน ๓๔ คน และนักเรยี นประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ จานวนทง้ั สิ้น ๓๑๖ คน สภำพบรบิ ทของโรงเรียน โรงเรียนเทศบาลนาอ้อมีลักษณะเป็นพื้นราบ ต้ังอยู่ใจกลางชุมชนในเขตเทศบาลตาบลนาอ้อ อยู่ ทางด้านทิศตะวันออกเฉยี งเหนือของจังหวดั เลย มรี ะยะทางห่างจากตวั จังหวดั เลยประมาณ ๑๐ กิโลเมตร การเดนิ ทางสะดวกสบายเป็นถนนลาดยาง อาชพี หลักของประชากรในชุมชนคอื อาชพี การเกษตร ไดแ้ ก่ ทา นา ทาสวนยางพารา ปลูกถั่วเหลือง ปลูกผัก เล้ียงสัตว์ มีบางครวั เรือนที่ประกอบอาชีพค้าขายและรับจ้าง ทั่วไป ฐานะทางเศรษฐกิจของผปู้ กครองค่อนข้างต่า รายได้ไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่ายทาให้ประชากรวัยแรงงาน ส่วนใหญ่ต้องละทิ้งบ้านเกิดไปประกอบอาชีพต่างจังหวัด ทาให้นักเรียนขาดการเอาใจใส่ดูแลจากผู้ปกครอง ขาดปัจจัยหลายๆอย่างในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และไม่ได้รับการสนับสนุนจากผู้ปกครองเท่าท่ีควร ทาง โรงเรียนได้ตระหนักถึงปัญหาท่ีเกิดขึ้นจึงได้หาแนวทางแก้ไขดาเนินการพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพของ โรงเรียนโดยอาศัยต้นทุนและปัจจัยในท้องถิ่น อาทิเช่น วิถีชีวิต ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ขนบธรรมเนียมประเพณี และศิลปวัฒนธรรม มาวางแผนออกแบบและบูรณาการการจัดการเรยี นร้เู พื่อพฒั นาผู้เรยี นตามศกั ยภาพ โดย ไดร้ ับการจดั สรรงบประมาณจากกรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถ่ินและองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ โรงเรียนได้ ดาเนินการปรับปรงุ หลกั สูตรสถานศกึ ษาใหเ้ ข้ากับบริบทของชุมชนและความเป็นท้องถ่ิน เพื่อยกระดับผลการ เรียนรู้ของผู้เรียนให้สูงขึ้น พัฒนานักเรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรและบรรลุมาตรฐาน การศึกษาของสถานศกึ ษาตามเอกลักษณข์ องโรงเรียนท่ีกลา่ วไว้ว่า “มีความรู้ คู่คณุ ธรรม นาพาเศรษฐกจิ พอเพียง” และบรรลุตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ

๖ ผลกำรประเมินตนเอง ระดับปฐมวัย ระดบั คุณภำพของเดก็ ระดบั คณุ ภำพ: ดี หลักฐำนสนับสนุนผลกำรประเมนิ ตนเอง เน่ืองจากโรงเรียนมีการวางแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาประสบการณ์ตามแผนการจัด ประสบการณ์ประจาวันในกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรม สร้างสรรค์ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมเสรี กิจกรรมกลางแจ้ง และกจิ กรรมเกมการศึกษาไว้ชัดเจน และดาเนินการตามแผน มีการนิเทศ ติดตามอย่างสม่าเสมอและต่อเน่ือง ซึ่งโรงเรียนได้ออกแบบกิจกรรมท่ี สามารถส่งเสริมพัฒนาการทุกด้าน ท้ังด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสตปิ ัญญาของเดก็ ได้ครอบคลุม โรงเรยี นมกี ารปรบั ปรงุ พฒั นาสภาพแวดล้อมและแหล่งเรียนรู้ท้ังภายในและภายนอกห้องเรียน จดั หาสอื่ การ จัดกิจกรรมท่ีหลากหลายและเหมาะสมกับวัยของเด็ก จัดมุมประสบการณ์เพ่ือให้เด็กได้เรียนรดู้ ้วยตนเองตาม ความสนใจ เน้นการปฏิบัติจริง (Active learning) โรงเรียนมีการจัดทาและปฏิบัติตามแผนพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษา มีการดาเนินการติดตามตรวจสอบการดาเนินการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ด้วยวงจร คุณภาพเดมม่ิง (PDCA) มีโครงสร้างการบริหารงานและมอบหมายภาระหน้าที่ให้กับฝ่ายต่างๆอย่างชัดเจน พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยโดยศึกษาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๐ เอาใจใส่และให้ คาแนะนาทางวิชาการแก่ครูผู้สอนระดับปฐมวัย ตรวจแผนการสอน เยี่ยมช้ันเรียน นิเทศ ให้คาปรึกษา ร่วม วิเคราะห์สภาพปัญหาผลการจัดการศึกษาในปีท่ีผ่านมาจากการศึกษาข้อมูลสารสนเทศและผลการนิเทศ ติดตามการประเมินผลการจัดการศึกษา จัดประชุมระดมความคิดเห็นจากบุคลากรที่เกีย่ วข้อง เพื่อวางแผน ร่วมกันในการจัดการศึกษาเพื่อให้ได้หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยที่มีความสอดคล้องกับผู้เรียน วิถีชีวิตใน ชมุ ชนและท้องถ่ิน ส่งเสริมให้ครูผู้สอนได้พฒั นาตนเองเพอ่ื ให้มีความร้คู วามสามารถในการวิเคราะหแ์ ละจัดทา หลักสูตรสถานศึกษา การออกแบบการจัดประสบการณ์ จัดทาแผนการจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็นสาคัญ บูรณาการผ่านกิจกรรมการเรียนปนเล่น ให้เด็กได้เรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติจริงและใช้ประสาทสมั ผัสท้ัง 5 ให้เด็กได้ทากิจกรรมอย่างคล่องแคล่ว และนาไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาเครื่องมือการ ประเมินพฒั นาการเด็ก และการพัฒนาส่ือนวัตกรรม ส่งเสรมิ ครูและบคุ ลากรเข้ารบั การอบรมและศกึ ษาดูงาน ในสถานศึกษาท่ีมีการดาเนินงานท่ีมีคุณภาพและไดม้ าตรฐาน ดาเนินการนิเทศการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ตาม แผนการนิเทศอย่างสม่าเสมอและตอ่ เนื่อง ส่งเสริมให้ครทู าการวิจัยเพ่ือพฒั นาการจัดการเรยี นรู้ นาผลวิจัยมา วางแผนปรบั ปรุงและพัฒนาการจดั ประสบการณ์ปฐมวัย สนับสนุนให้มีกจิ กรรมแลกเปล่ยี นเรียนรูร้ ะหว่างครู ปฐมวัยเพื่อเป็นการพฒั นาตนเองและสร้างทีมงานท่ีเข้มแข็ง สามารถพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาในระดับ ปฐมวัยได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยใช้กระบวนการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) นอกจากนี้โรงเรียนได้ ดาเนนิ การสารวจความพึงพอใจในการจัดการศึกษาของโรงเรียนโดยเกบ็ ข้อมูลจากบุคลากรทุกฝา่ ยท่เี กีย่ วขอ้ ง เช่น ครู ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา เพ่ือนาผลการศึกษามาใชว้ างแผน ปรบั ปรุงและพัฒนาการจัด การศึกษาของสถานศึกษาต่อไป ทาให้การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาระดับปฐมวัยของโรงเรียน เทศบาลนาอ้อบรรลคุ ่าเปา้ หมายทโ่ี รงเรยี นกาหนดไว้ โดยโรงเรียนจดั กจิ กรรมหลัก 6 กจิ กรรม ไดแ้ ก่ กิจกรรม การเคล่ือนไหวและจังหวะ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมเสรี กิจกรรมกลางแจ้ง และกิจกรรมเกมการศึกษา และยังมีกิจกรรมพิเศษสนับสนุนกิจกรรมหลักทั้ง 6 กิจกรรม ได้แก่ โครงการ Happy Day เป็นโครงการส่งเสริมให้เด็กได้เรียนรู้ในเร่ืองของวิชาการและกิจกรรมตามช่วงวัย เช่น ดนตรี กีฬา ศิลปะ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานผ่านกิจกรรม กิจกรรมทัศนศึกษานอกห้องเรียน กีฬาสีภายใน โครงการประกันคุณภาพภายใน โครงการพัฒนาบุคลากร

๗ พัฒนาสื่อ/นวัตกรรม/เคร่ืองมือวัดและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย โครงการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีทาง การศึกษา โครงการจัดหาสื่อ วัสดุอุปกรณ์และสิ่งอานวยความสะดวก การดาเนินโครงการอาหารเสริมนม และโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียนทโี่ รงเรยี นจัดใหก้ บั นักเรียนอยา่ งพอเพียงทวั่ ถงึ และมคี ุณภาพ สถำนศึกษำมจี ดุ เดน่ จดุ ท่ีควรพัฒนำ และมแี ผนทจี่ ะพัฒนำตนเอง ดงั นี้ จดุ เด่น สถานศกึ ษาจัดทาแผนบริหารจัดการสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัยโดยสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย/หน่วยงาน ท่ีกากับดูแล ปฏิบัติตามแผนการบริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ประเมินผลการดาเนินงานตามแผน และนาผลจากการประเมินไปพัฒนาและปรับปรุงการบริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยอยู่เสมอ จัดทา และพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัยให้เหมาะสมกับเด็ก และบริบทของท้องถิ่นสู่ประชาคม อาเซยี น ครูมวี ุฒิการศึกษาปริญญาตรแี ละมีประสบการณ์ในการทางานเก่ียวกบั การพัฒนาเด็กปฐมวัยไม่นอ้ ย กว่า ๒ ปี ทุกคน ครูมีความรู้ ความเข้าใจปรัชญาหลักการและจุดหมายการจัดการศึกษาปฐมวัย จัดทา แผนการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสาคัญและนาไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ จัดกิจกรรมเสริม ประสบการณท์ ีห่ ลากหลายเหมาะสมกับวัย ตอบสนองความตอ้ งการและความแตกต่างของเดก็ และสอดคลอ้ ง กับวิถีชีวิตของครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น วัดและประเมินผลตามสภาพจริง และนาผลการประเมินมา พฒั นาเด็กให้เต็มตามศักยภาพ มีการบรหิ ารจัดการด้านสภาพแวดลอ้ มเพ่อื ความปลอดภัยอย่างเป็นระบบจัด สภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับเด็กโดยคานึงถึงความปลอดภัย จัดให้มีของเล่นท่ีปลอดภัยได้มาตรฐาน มี จานวนเพียงพอสะอาด เหมาะสมกับระดับพัฒนาการของเด็ก มีการจดั การเพื่อส่งเสริมสุขภาพ เฝ้าระวังการ เจริญเติบโตของเด็ก และดูแลการเจ็บป่วยเบ้ืองต้น จัดให้มีพ้ืนที่/มุมประสบการณ์ และแหล่งเรียนรู้ใน หอ้ งเรียนและนอกหอ้ งเรยี น และจดั กจิ กรรมทีพ่ อ่ แม/่ ผปู้ กครอง/ครอบครวั และชุมชนมสี ่วนรว่ มสม่าเสมอ จดุ ที่ควรพฒั นำ สถานศกึ ษาควรจัดให้มีระบบรับเหตุฉุกเฉนิ การป้องกนั อัคคีภยั /ภัยพิบัตติ ามความเส่ียงของพน้ื ท่ี โดยจัดทาแผนฝึกซ้อมอพยพหนไี ฟและทาการฝกึ ซ้อมแผนอพยพให้กบั บคุ ลากรและเดก็ ทกุ คนเสมือนเกดิ เหตุ จรงิ อยา่ งน้อยปีละ ๑ คร้ัง มีการตรวจสอบประเมินผลการดาเนินการและนาผลประเมินมาปรบั ปรุง/พัฒนา ตอ่ ไป สถานศึกษาควรจดั กิจกรรมและประสบการณ์ด้านคณติ ศาสตร์และวิทยาศาสตรเ์ บอ้ื งต้นตามวัย โดย เดก็ เรียนรู้ผ่านประสาทสมั ผสั และลงมือปฏิบัติดว้ ยตนเอง มแี ผนการจดั ประสบการณก์ ารเรียนร้ทู ีส่ ่งเสรมิ ทักษะคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์แบบบรู ณาการการนาความรู้และทักษะพื้นฐานด้านคณติ ศาสตร์และ วิทยาศาสตร์มาใช้ในชีวิตประจาวนั และควรมกี ารบนั ทึกทักษะดา้ นคณติ ศาสตร์และวทิ ยาศาสตรข์ องเดก็ เปน็ รายบุคคล แผนท่ีจะพัฒนำตนเอง สถานศึกษามีแผนท่ีจะจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ใหม่ท่ีเช่ือมโยงกับประสบการณ์เดิม ส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเตม็ ศักยภาพทุกคน ให้เด็กได้ทากิจกรรมอย่างอิสระ ตามความต้องการ ตามความสนใจ ตอบสนองวิธีการเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคล ปรับปรงุ พัฒนาห้องเรียน ให้สะอาด น่าเรียน มีอากาศถ่ายเท และปลอดภัย จัดพื้นท่ีในการแสดงผลงานเด็ก ป้ายนิเทศและมุม ประสบการณ์และการจัดกิจกรรมเน้นให้เด็กมสี ่วนรว่ มในการจัดสภาพแวดลอ้ มในห้องเรียน ปรับปรงุ พัฒนา เคร่ืองมือประเมินพัฒนาการเด็กใหห้ ลากหลาย นาผลการประเมินมากาหนดแผนพัฒนาเด็กในประเด็นท่ีมผี ล การประเมนิ ต่าและสนับสนุน สง่ เสรมิ ในประเดน็ ที่มีผลการประเมินในระดับทส่ี งู เพื่อเป็นพืน้ ฐานในการพฒั นา เด็กในระดับท่สี ูงข้ึนโดยโรงเรียนจะกาหนดแผนการจัดกิจกรรมอย่างหลากหลาย จัดกิจกรรมการเรียนรู้เน้น

๘ การปฏิบัติจริง (Active Learning) ที่จะส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและ สติปัญญาให้ดียิ่งๆขึ้น จัดทาหลักสูตรสถานศึกษาท่ียืดหยุ่นและสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ตอบสนองความต้องการและความแตกต่างของเด็ก จดั ครูให้เหมาะสมกับภารกิจการเรยี นการสอน จดั อบรม ครพู ฒั นาครูในการวิเคราะห์และออกแบบหลกั สตู รสถานศึกษา มีความรู้ความสามารถทนั ตอ่ สถานการณ์ มีครู เพียงพอกับชั้นเรียน มีทักษะในการจัดประสบการณ์และการประเมินเด็ก ใช้ประสบการณ์สาคัญในการ ออกแบบการจดั กจิ กรรมโดยเน้นเด็กเป็นสาคัญได้ และมกี ารประเมินเด็กเป็นรายบุคคลอย่างต่อเนื่องเน้นให้มี กระบวนการวิจยั ในช้ันเรียน จดั หาสื่อและเทคโนโลยีต่างๆใหเ้ พียงพอและเหมาะสม เน้นการมีส่วนร่วมของ ผู้ปกครองและชุมชนได้ร่วมแสดงความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะในการจัดการและพัฒนาการศึกษาให้มี ประสิทธิภาพย่ิงข้ึน 1. ควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้หลากหลายตามแนว Active Learning จัดทาหลักสูตร สถานศึกษาที่ยืดหยุ่น และสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ตอบสนองความต้องการและความ แตกต่างของเด็กปกติและกลุ่มเป้าหมาย จัดครูให้เหมาะสมกับภารกิจการเรียนการสอนหรือจัดครูที่จบ การศึกษาปฐมวัยหรือผ่านการอบรมและมพี อเพียงกับชนั้ เรียน พัฒนาครบู ุคลากรใหม้ ีความรู้ความสามารถใน การวิเคราะห์และออกแบบหลักสูตรสถานศึกษามีทักษะในการจัดประสบการณ์และการประเมินเด็ก .ใช้ ประสบการณ์สาคัญในการออกแบบการจัดกิจกรรมได้ และมีการประเมินเด็กเป็นรายบุคคล จัด สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องเรียนอย่างหลากหลาย มีความปลอดภัย เพื่อส่งเสริมให้เด็กเกิดการ เรยี นรูท้ ีห่ ลากหลายเหมาะสมกบั สภาวการณ์ในปจั จุบนั ระดบั กำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน คณุ ภำพของผ้เู รยี น ระดบั คุณภำพ : ดี หลักฐำนสนับสนนุ ผลกำรประเมนิ ตนเอง โรงเรยี นมแี ผนพัฒนาการศกึ ษาโดยกาหนดกิจกรรมโครงการตา่ ง ๆ ให้สอดคล้องกับ ปัญหา ความต้องการของผู้เรียนและชุมชน รวมท้ังวิถีชีวิตและความเป็นท้องถ่ินของชุมชน บูรณาการการ เรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีกระบวนการพัฒนาผู้เรยี นด้วยวิธีการที่หลากหลาย ออกแบบ กจิ กรรมการเรียนรทู้ ีเ่ หมาะสมตามศกั ยภาพของผู้เรยี น มีโครงการและกจิ กรรมท่ีสง่ เสรมิ สนับสนนุ การพัฒนา ผู้เรียนทั้งทางด้านวิชาการ และความเป็นเลิศด้านต่าง ๆ เช่น โครงการค่ายวิชาการ โครงการพัฒนากลุ่ม สาระการเรียนรู้วชิ าคณิตศาสตร์ โครงการพฒั นากลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาภาษาตา่ งประเทศ โครงการพฒั นา กลุ่มสาระวิชาการงานอาชีพ โครงการพฒั นากล่มุ สาระการเรยี นรู้วชิ าสุขศกึ ษาและพลศึกษา โครงการพัฒนา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ โครงการกีฬาสีภายใน โครงการส่งเสริมรักการอ่านในสถานศึกษา โครงการการพัฒนาการบริหารจดั การศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่น (SBMLD) โครงการ สง่ เสริมศักยภาพด้านวิชาการ (ป.๑-๓) โครงการส่งเสริมศักยภาพด้านดนตรี กีฬา ศิลปะ (ป.๑-๓) โครงการ สง่ เสริมความเป็นเลิศด้านวิชาการ (ป.๔ – ๖) โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านกีฬา (ป.๔ – ๖) โครงการ ส่งเสริมความเป็นเลิศด้านดนตรี (ป.4-6) โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านศิลปะ (ราไทย) (ป.4-6) โครงการสง่ เสรมิ ความเปน็ เลิศอาหารไทย (ม.๑ – ๓) โครงการสง่ เสริมความเป็นเลิศด้านงานประดษิ ฐ์ (ม.๑ – ๓) โครงการส่งเสริมความเปน็ เลิศดา้ นคอมพิวเตอร์ (ม.๑ – ๓) โครงการสง่ เสริมความเป็นเลศิ ภาษาจีน (ม.๑ – ๓) โครงการจกั สาน (ป.4-6) โครงการทอผ้า (ม.๑ – ๓) โครงการส่งเสริมความเปน็ เลศิ ด้านกีฬา (ฟุตบอล) (ม.๑ – ๓) โครงการเจ้าบ้านน้อยที่ดี โครงการศูนย์การเรียนรู้ด้านการท่องเท่ียวของโรงเรียนในสังกัดองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น โครงการวันสาคัญทางศาสนา โครงการวันสาคัญประจาปี กิจกรรมวันข้ึนปีใหม่และวัน คริสต์มาส กิจกรรมวันแม่ โครงการวันไหว้ครู กิจกรรมวันสุนทรภู่ โครงการเข้าค่ายลูกเสือ โครงการค่าย

๙ คุณธรรมจริยธรรม โครงการทัศนศึกษานอกสถานท่ี โครงการสภานักเรียน โครงการรักการอ่านใน สถานศกึ ษา โครงการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา โครงการนิเทศภายใน โครงการปรับปรุง หลักสูตรสถานศึกษา โครงการส่งเสริมสขุ ภาพในโรงเรียน โครงการศาสตร์พระราชา(ศูนย์บูรณาการท้องถิ่น ศึกษา) โครงการส่งเสริมศักยภาพสู่ความเปน็ เลิศทางวิชาการ โครงการปรับปรุงห้องสมุดโรงเรียน โครงการ อนุรักษ์พันธุกรรมพืชเน่ืองจากพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี(พัฒนาแหล่ง เรยี นรู้สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นเทศบาลนาออ้ เสรมิ สร้างจิตสานึกในการอนุรกั ษ์สง่ิ แวดลอ้ ม) กิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้านเทคโนโลยี ICT โครงการผลิตสื่อนวัตกรรมการเรียนรู้ โครงการรณรงค์ ป้องกันยาเสพติดในสถานศึกษา โครงการธนาคารขยะรีไซเคิลและมีสารสนเทศของโรงเรียน มีโครงการ ส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน มีกิจกรรมชมรม TO BE NUMBER ONE ชมรมมวยไทย ชมรมดนตรีนาฏศิลป์ ชมรมโปงลางออนซอนนาอ้อ ให้นักเรียนได้มีเวทีในการแสดงความสามารถและห่างไกลจากยาเสพติดและ อบายมุข เป็นตน้ ปลกู จิตสานึกการมีจิตอาสาให้ผเู้ รียนได้ช่วยเหลอื และร่วมกจิ กรรมกับชุมชนและนักเรียน โรงเรียนผู้สูงอายุ บูรณาการการเรยี นรูก้ ับปราชญ์ชาวบ้านตามฐานการเรียนรภู้ ายใต้โครงการศาสตร์พระราชา ฝึกทักษะชีวิต มีความรู้ มีทักษะพ้ืนฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ มีคุณลักษณะและค่านิยมท่ีดีตามที่ สถานศกึ ษากาหนด มีความภมู ิใจในท้องถน่ิ และความเป็นไทย โรงเรยี นดาเนินการตามระบบประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษาอย่างต่อเนื่องทุกข้ันตอน ด้วยวงจรคุณภาพ เดมม่ิง (PDCA) พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ระดบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ศกึ ษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ มีการจัดประชุมระดม ความคิดเห็นจากบุคลากรในสถานศึกษาเพื่อวางแผนการดาเนินงานร่วมกัน มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธ์ มีแผนพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปีสอดคล้องกับสภาพปัญหา ความ ตอ้ งการและนโยบายการปฏิรปู การศกึ ษา จัดหาทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ผรู้ ับผดิ ชอบ ดาเนนิ การพัฒนาตามแผนงานเพ่อื ให้บรรลเุ ปา้ หมายท่กี าหนดไว้ชดั เจน มกี ารดาเนนิ การนิเทศ กากับ ตดิ ตาม ประเมินผลการดาเนินงาน สรุปผลการดาเนินงานอย่างต่อเน่ืองทุกปี ดาเนินการจัดทาสารสนเทศให้เป็น ปัจจุบันและรายงานให้ผู้มีส่วนเก่ียวข้องได้รับทราบ มีโครงการที่สนับสนุนการบริหารสถานศึกษา เช่น โครงการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน โครงการนเิ ทศภายใน โครงการการพัฒนาการบริหารจัดการศึกษา โดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถ่ิน (SBMLD) โครงการอบรมสัมมนา ศึกษาดูงานครูและบุคลากร ทางการศึกษา โครงการพบปะผู้ปกครอง โครงการผลิตส่ือนวัตกรรมการเรียนรู้ โครงการจัดหาส่ือ วัสดุและ ครุภณั ฑ์สาหรับใช้ในการจดั การเรียนรขู้ องสถานศกึ ษา โครงการจัดซื้อวัสดุ โครงการจดั หาปรบั ปรุงซ่อมแซม พฒั นาครุภัณฑ์สานกั งานอาคารสถานท่ีและส่ิงอานวยความสะดวกสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ โครงการ อบรม/ สัมมนา/ ศกึ ษาดูงานเพือ่ พฒั นาศกั ยภาพครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา โครงการศูนยก์ ารเรยี นรดู้ า้ น การท่องเท่ียวในสถานศึกษา โครงการจัดซ้ือวัสดุงานบ้านงานครัว โครงการค่าถ่ายเอกสาร โครงการค่าวัสดุ น้ามันเช้ือเพลิง โครงการจัดซ้ือวัสดุ โครงการปรับปรุงห้องสมุดโรงเรียน โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ใน โรงเรียน โครงการสรา้ งเสริมความเข้มแข็งคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน โครงการเยีย่ มบ้านนักเรียน โครงการจดั ซ้ือหนังสอื เรียน โครงการเหมาครูผู้สอนวิชาที่ขาดแคลน 5 วิชาเอก โครงการจ้างเหมาครูผู้สอน วิชาภาษาจีน โครงการจ้างเหมาครูผู้สอนวิชาดนตรี โครงการจ้างเหมาครูผู้สอนวิชานาฏศิลป์ โครงการจ้าง เหมาครูผ้สู อนวิชาศลิ ปะแผนพฒั นาการศกึ ษา โครงการประชาสัมพนั ธ์และแนะแนวการศกึ ษาต่อ พฒั นาครู ให้จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ โดยส่งเสริมให้ครอู อกแบบและจัดทาแผนการจัดการ เรยี นร้ตู ามมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชี้วัดของหลกั สูตรสถานศึกษา เน้นให้ผู้เรยี นได้เรียนรโู้ ดยผ่านกระบวนการ คิดและปฏบิ ัติจริง (Active Learning) ส่งเสรมิ ให้ครูทกุ คนมีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถนาไปจัดกจิ กรรม ได้จริง มีการออกแบบการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้รับการฝึกทักษะต่างๆท้ังทางวชิ าการและทักษะชีวิต การแสดง ความคดิ เหน็ สรุปองค์ความรู้ นาเสนอผลงานและสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจาวนั ได้ ครูมีการนาภูมิ

๑๐ ปญั ญาทอ้ งถิน่ มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ มกี ารบริหารจดั การชั้นเรียนโดยเน้นการมีปฏสิ มั พนั ธ์เชิงบวก ให้เด็ก รักครู ครูรักเด็ก และเด็กรักเดก็ มีการจัดกิจกรรมสง่ เสรมิ ให้เด็กรักที่จะเรียนรู้ สามารถเรยี นร้รู ่วมกันอย่างมี ความสุข มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ ใช้เคร่ืองมือวัดและ ประเมินผลอย่างหลากหลายและเหมาะสม ครูและผู้มีส่วนเก่ยี วข้องร่วมกันแลกเปลีย่ นความรู้ ความคิดเห็น และประสบการณ์ ครูมีการนาข้อมูลป้อนกลับเพื่อนาไปใช้ในการวางแผนปรับปรุงและพัฒนาการจัดการ เรียนรู้ให้กับผู้เรียนตอ่ ไป สถำนศกึ ษำมจี ดุ เดน่ จดุ ที่ควรพัฒนำ และมีแผนทจี่ ะพฒั นำตนเอง ดังนี้ จุดเด่น ผูเ้ รยี นมผี ลการทดสอบระดับชาติ O – net สูงขึ้น วิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ และมี คะแนนเฉลี่ยรวมสูงข้ึน ในระดับช้ันประถมศึกษา ส่วนระดับชั้นมัธยมศึกษา คะแนนเฉลี่ยรายวชิ าภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และคณิตศาสตร์สูงขึ้น และมีคะแนนเฉลี่ยรวมสูงขึ้น นักเรียนมีการพัฒนา มีความสามารถ ทางด้านวิชาการ ด้านทักษะอาชีพ มีสุนทรียภาพทางด้านดนตรี ศิลปะ และกีฬา ปฏิบัติตามหลักธรรมของ ศาสนา มมี ารยาท มีความขยัน จิตใจเอ้ืออาทร กตัญญู มีระเบียบวินัย ซ่ือสัตย์ มที ักษะในการทางาน และมี การจดั การเรียนการสอนแบบบรู ณาการโดยปราชญช์ าวบ้านเข้ามาให้ความรู้ มีสุนทรียภาพในการทางานจน เป็นเอกลักษณ์ของโรงเรียนในเรื่องการแสดงออกทางดนตรี นาฏศิลป์พื้นบ้านและเป็นท่ียอมรับของชุมชน สถานศกึ ษามกี ารบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ มอบหมายใหห้ วั หน้าฝ่ายบรหิ ารงานท้ัง 4 ฝา่ ยงาน ได้ตดิ ตาม งานอย่างต่อเนื่อง มีการประชุมปรึกษาหารือ แลกเปล่ียนเรียนรู้ และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ เพื่อหาแนวทาง ร่วมกันในการส่งเสริมและแก้ไขปัญหา รวมท้ัง แจ้งข้อราชการที่สาคัญและนโยบายที่ต้องการเร่งด่วนอย่าง สมา่ เสมอ นอกจากน้ันเพ่อื ใหท้ กุ ฝา่ ยมสี ว่ นร่วมใน การกาหนดวสิ ยั ทัศน์ พันธกิจ เปา้ หมายท่ีชดั เจน มีการปรับ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการ ประจาปี ที่สอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบาย ที่มุ่งเน้นการพัฒนา ให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตาม หลักสูตรสถานศึกษา ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ มีคุณธรรมจริยธรรม มีการบริหาร และการจัดการอย่างเป็นระบบ ใช้เทคนิคการประชุมท่ีหลากหลาย เช่น การประชุมแบบมีส่วนร่วม การ ประชุมระดมสมอง การประชุมกลมุ่ ประชมุ ออนไลน์ เพอื่ ใหท้ กุ ฝ่ายมีสว่ นรว่ มในการกาหนดนโยบาย จุดท่ีควรพฒั นำ สถานศึกษาควรพัฒนาด้านการอ่าน การเขียน ให้กับผู้เรียนในระดับช้ันประถมศึกษา ให้ผู้เรียนฝึก อา่ นบัญชีคาศัพท์พ้นื ฐานตามมาตรฐานชว่ งชน้ั ฝกึ อา่ นรายบคุ คลในช่ัวโมง ซอ่ มเสริม ฝกึ เขยี นคาศัพทพ์ น้ื ฐาน ตามมาตรฐานชว่ งชั้น จดั กจิ กรรมใหผ้ ู้เรียนฝึกแตง่ ประโยคจากภาพ ฝึกเขยี น เลา่ เร่ืองจากภาพ ส่วนในดา้ น ของการคิดคานวณ ครูควรจดั กจิ กรรมใหผ้ ู้เรียนฝึกคณิตคิดเร็ว คณิตคิดในใจ โดยใช้ แบบฝึกหัดในชั่วโมงซ่อม เสริมรวมถึงจัดกิจกรรมให้นักเรียนฝึกคิดวิเคราะห์โดยการสร้างโจทย์ปัญหา และควรเร่งพัฒนาความรู้ด้าน ภาษาต่างประเทศ ภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวัน ส่งเสริมความสามารถด้านภาษาอังกฤษด้วย กิจกรรมย้ิม ไหว้ทักทายกัน (smiling and greeting) โดยให้ผู้เรียนฝึกทักษะการพูด/การสื่อสารภาษาอังกฤษ ทักทาย คุณครูและเพื่อนๆนอกห้องเรียนและฝึกทักษะภาษาอังกฤษผู้เรียนในระดับช้ัน ม.1 – 3 ยังต้องได้รับการ สง่ เสริมในด้านทัศนคติที่ดี ต่อความเป็นไทยไม่หลงใหลกับค่านยิ มต่างชาตจิ นเกิดการลอกเลียนแบบทาให้ลืม วัฒนธรรม อันดงี ามของไทย ผ้เู รยี นในระดบั ชนั้ ม.๔-๕ ตอ้ งไดร้ ับการส่งเสรมิ ในเร่ืองระเบียบวินัย คุณลักษณะ อนั พึงประสงค์ของสถานศึกษา เพื่อส่งผลใหผ้ ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นและผลการสอบระดับชาติสูงขึ้นต่อไป

๑๑ วิสยั ทศั น์ พันธกิจ และเปา้ หมาย ท่ีชัดเจน ครผู ู้สอนสามารถจัดการเรยี นรู้ไดอ้ ย่างมีคุณภาพ มีการดาเนนิ การ นิเทศ กากบั ติดตาม ประเมินผลการดาเนนิ งาน จดั ทารายงานผลการจัดการศกึ ษา และใช้กระบวนการวิจัยใน การรวบรวมข้อมลู เพอื่ ใชเ้ ป็นฐานและแนวทางในการวางแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษาต่อไป สถานศึกษาควรพฒั นาครูและบคุ ลากรให้มีความเชีย่ วชาญทางวชิ าชีพ ใหค้ รไู ด้รบั การอบรมพฒั นาให้ มีความเช่ยี วชาญทางวิชาชีพตรงตามมาตรฐานตาแหน่ง ได้รบั การสง่ เสริม สนับสนนุ และพัฒนาให้มีความ เชยี่ วชาญทางวชิ าชีพไมน่ อ้ ยกว่า ๒๐ ชั่วโมงต่อปี จดั ใหม้ ีชุมชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพมาใช้ในการพัฒนางาน และการเรียนรู้ของผเู้ รยี นอยา่ งสมา่ เสมอและเปน็ รูปธรรมมากขน้ึ แผนทีจ่ ะพฒั นำตนเอง สถานศกึ ษากาหนดนโยบายส่งเสริม สนับสนุน ให้มีการปฏิรปู ทางการเรียนรู้ จดั กระบวนการเรยี นรู้ท่ี เน้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ ใช้ทักษะการเรียนร้แู บบ Active Learning ส่งเสริมทักษะการคดิ คิดคานวณ อ่านออก เขียนได้ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ จัดการเรยี นรู้ผ่านกิจกรรมโครงงาน ฝึกทักษะชีวิตและดารงตน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จัดหาส่ือเทคโนโลยีที่หลากหลายให้เอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้อย่าง เหมาะสมและเพียงพอ มีการทบทวนแผนพัฒนาการศึกษา ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารงานให้เหมาะสม และมกี ารกระจายอานาจการบริหารงานให้กบั ฝ่ายต่าง ๆ ส่งเสริมให้ครูเห็นความสาคญั ของการจัดการเรยี นรู้ เขียนแผนการจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ เน้นทักษะการคิด และเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง ให้ครูทาวิจัยในชั้นเรียน นาผลการวจิ ัยมาปรังปรุงพฒั นาต่อยอดใหด้ ีขึ้น เน้นการพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคล ไห้ชัดเจนข้ึน นาสารสนเทศในปีการศึกษาท่ีผ่านมาเปรียบเทียบผลการดาเนินงานและใช้เป็นข้อมูลในการ วางแผนพัฒนาการจัดการศึกษาในปีต่อไป ส่งเสริมใหผ้ ู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามามีบทบาทมีส่วนร่วมในการจัด การศึกษามากขึ้นเพ่ือพัฒนาและยกผลสาเร็จของผู้เรยี นรว่ มกนั

๑๒ สรุปผลกำรประเมินคณุ ภำพภำยในสถำนศึกษำ โรงเรยี นเทศบำลนำออ้ ประจำปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๓ ตามท่โี รงเรียนเทศบาลนาอ้อ ได้ดาเนินการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ประจาปี การศกึ ษา ๒๕๖๓ ตามระบบการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาตามประกาศของกระทรวงมหาดไทย โดย จดั ทารายงานประจาปเี สนอต่อหนว่ ยงานต้นสงั กัด หน่วยงานท่เี ก่ยี วขอ้ ง และเสนอตอ่ สาธารณชน เพอ่ื นาไปสู่ การพฒั นาคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา และเพ่ือรองรบั การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก บดั นี้การดาเนนิ การประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา เสรจ็ เรยี บรอ้ ยแล้ว จึงขอเสนอผลการ ประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา แสดงในตาราง สรปุ ผลไดด้ งั นี้ ระดบั กำรศึกษำปฐมวยั (ตำมมำตรฐำนสถำนพฒั นำเดก็ ปฐมวัยแหง่ ชำติ) ดีมาก สรปุ ผลกำรประเมินภำพรวม ต้องปรับปรุง ผ่านเกณฑ์ขั้นตน้ √ ดี มำตรฐำน/ตัวบ่งชี้ ค่ำเฉลยี่ ระดบั สรปุ ผลกำร จำนวน คณุ ภำพ ประเมิน ขอ้ ที่ตอ้ ง มาตรฐานที่ ๑ การบริหารจัดการสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ๙๖.๑๕ ปรบั ปรงุ มาตรฐานที่ ๒ ครู/ผู้ดูแลเด็กให้การดูแลและจัดประสบการณ์ ๙๘.๓๓ ดี ไดม้ าตรฐาน ดีมาก ไดม้ าตรฐาน 1 ข้อ การเรียนรูแ้ ละการเล่น เพื่อพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ๑๐๐ มาตรฐานที่ ๓ คณุ ภาพของเดก็ ปฐมวัย ๙๘.๑๖ ไมม่ ี ค่ำเฉล่ียรวม ดมี าก ไดม้ าตรฐาน ไมม่ ี ดี ได้ มำตรฐำน ระดับกำรศึกษำข้นั พื้นฐำน ยอดเย่ียม สรปุ ผลกำรประเมนิ ภำพรวม กาลงั พฒั นา ปานกลาง √ ดี ดเี ลิศ มาตรฐาน/ตวั บ่งชี้ คา่ เฉล่ยี ระดับ สรุปผลการ คณุ ภาพ ประเมิน มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผเู้ รียน ๗๗.๖๘ ปานกลาง ได้มาตรฐาน มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ๘๙.๖๘ ไดม้ าตรฐาน มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เน้นผูเ้ รียนเป็นสาคัญ ๙๓.๖๖ ดี ได้มาตรฐาน ๘๗.๐๑ ดี คำ่ เฉลี่ยรวม ได้มำตรฐำน ดี

๑๓ ตอนท่ี 1 ข้อมูลพนื้ ฐำนของสถำนศึกษำ ๑. ข้อมลู ทัว่ ไป ๑.๑ ข้อมลู ทั่วไป โรงเรียนเทศบาลนาอ้อ ตั้งอยู่เลขท่ี ๑๑๑ หมู่ท่ี ๓ ตาบลนาอ้อ อาเภอเมือง จังหวัดเลย รหัสไปรษณีย์ ๔๒๑๐๐ โทรศัพท์ ๐๔๒-๘๓๕๑๒๓ โทรสาร - E-mail : [email protected] สังกัด เทศบาลตาบลนาอ้อ อาเภอเมืองเลย จังหวัดเลย เปิดสอนระดบั ชั้นอนุบาล ๑ - ๓ ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๖ และระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ – ๔ โรงเรียนมีเน้อื ท่ี ๓ ไร่ ๔๖ ตารางวา ประวตั ิควำมเปน็ มำของโรงเรียน โรงเรยี นเทศบาลนาอ้อ ไดร้ ับอนุญาตให้จดั ต้ังข้ึนโดยกระทรวงมหาดไทย ตามหนังสือท่ี มท ๐๘๙๓.๓/ ๑๔๗๙๕ ลงวันที่ ๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๐ ในสงั กัดกรมสง่ เสริมการปกครองทอ้ งถิน่ กระทรวงมหาดไทย โรงเรียนเทศบาลนาอ้อ ตั้งอยบู่ รเิ วณเทศบาลตาบลนาอ้อ อาณาเขตของโรงเรียน ทศิ เหนือจดที่ดินของ นางคาภู หิรญั พรหม นางมนตรี จาปาแก่น ทางหลวงเทศบาล ป่าช้าบ้านนาอ้อ ทิศตะวันออก จดป่าช้า บา้ นนาออ้ ทิศใต้ จดป่าช้าบ้านนาอ้อ ทศิ ตะวนั ตก จดปา่ ช้าบา้ นนาอ้อ ทางหลวงเทศบาล แผนผังบรเิ วณโรงเรียน หมายเลข 1 วัดธรรมวราลังการ หมายเลข 2 ลานวฒั นธรรม หมายเลข 3 อาคารอนุบาล หมายเลข 4 อาคารศูนยเ์ รยี นรูช้ ุมชน หมายเลข 6 โรงอาหาร หมายเลข 5 หอ้ งสมุด หมายเลข 8 ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ (อาคารสมพร 2) หมายเลข 7 ห้องนา้ นักเรยี น หมายเลข 10 เทศบาลตาบลนาอ้อ หมายเลข 9 อาคารสมพร 1 หมายเลข 11 สนามฟตุ บอล

๑๔ ๒. ข้อมูลผ้บู รหิ ำร ๑) ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา นางสมใจ ปิตุโส วิทยฐานะผ้อู านวยการชานาญการพเิ ศษ วุฒกิ ารศกึ ษาสงู สุด ปริญญาโท สาขา การบริหารการศกึ ษา โทรศัพท์ ๐๙๕-๖๖๘๙๒๔๘ e-mail : [email protected] ดารงตาแหนง่ นที้ โ่ี รงเรยี นนีต้ ั้งแต่ ๑๔ มถิ ุนายน ๒๕๕๗ จนถึงปจั จุบัน เป็นเวลา ๗ ปี - เดือน ๒) รองผู้อานวยการสถานศึกษา(ตามมาตรฐานตาแหน่ง) จานวน ........-.......... คน ๓. ขอ้ มลู ครแู ละบคุ ลำกรสนับสนุนกำรสอน ช่อื สถานศกึ ษา: โรงเรียนเทศบาลนาอ้อ ท่ีอยู่: เลขท่ี ๑๑๑ หมทู่ ี่ ๓ บ้าน นาออ้ ตาบล นาอ้อ อาเภอเมอื งเลย จงั หวัดเลย รหสั ไปรษณีย์ สงั กัด: เทศบาลตาบลนาอ้อ โทรศพั ท์: ๐๔๒-๘๓๕๑๒๓ โทรสาร : - E-Mail : [email protected] เปิดสอน: ระดับช้ันอนุบาลปที ่ี ๑ ถงึ ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๕ ๓.๑ ขำ้ รำชกำรครู/พนกั งำนครู ที่ ชื่อ – ช่ือสกุล อำยุ อำยุ ตำแหนง่ / วฒุ ิ วิชำเอก สอนกลุ่ม จำนวน รำชกำร วทิ ยฐำนะ สำระ ชัว่ โมง พัฒนำ/ ปี 1 นางสาวดวงใจ ขันชมุ พล ๔๙ ๒๖ ครู/ คศ.๓ ค.ม., วัดและประเมินผล, ศลิ ปะ ๘๐ ชม. ค.บ. บรรณารกั ษ์ 2 นางณิฏญา สีดา ๓๘ ๑๕ คร/ู คศ.๓ ศษ.ม. คณิตศาสตรศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ ๘๒ ชม. ศษ.บ , คณติ -ชวี วทิ ยา 3 น.ส.ปราณี ยายืน ๔๑ ๑๕ ครู/ คศ.๓ ค.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย ๒๕ ชม. 4 น.ส.ปิยภากรณ์ กรมทอง ๓๙ ๑๑ คร/ู คศ.๒ ค.ม., บริหารการศึกษา, วทิ ยาศาสตร์ ๑๖๒ ค.บ. ชวี วิทยา ชม. 5 นางสาวจนิ ตนา แสงชมภู ๔๓ ๑๑ คร/ู คศ.๒ ค.บ. การประถมศึกษา การงานฯ ๑๕ ชม. ภาษาไทย 6 นางนฤมล กุณะวงษ์ ๓๕ ๖ ครู ศศ.ม, บริหารการศกึ ษา, ภาษาต่าง ๑๕ ชม. ศศ.บ. ภาษาองั กฤษ ประเทศ 7 น.ส.วัฒนา พรมลารักษ์ ๓๘ ๗ ครู ค.ม., บรหิ ารการศึกษา, อนุบาล ๘ ชม. ค.บ. ปฐมวยั 8 นางวีระวรรณ สอนเพง็ ๕๕ ๗ ครู ศศ.ม., บรหิ ารการศกึ ษา, อนบุ าล ๔๘ ชม. ค.บ. ปฐมวยั 9 น.ส.อรชร ปัถพี ๔๔ ๑๒ ครู ค.บ. สังคมศึกษา สงั คมศึกษา ๒๘ ชม. 10 นางสาวชญาภา พชั รดนย์ ๔๒ ๑๑ ครู ค.บ. ภาษาอังกฤษ ภาษาตา่ ง ๑๕ ชม. ประเทศ 11 นายชาติชาย พมิ พ์เสนา ๓๓ ๔ ครู วท.บ. วิทยาศาสตร์การ สุขศึกษา พล ๑๐๐ กฬี า ศึกษา ชม. ๑๒ นายปิยะพงษ์ โสดาตา ๓๓ ๙ ครู ค.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย ๘๔ ๑๓ ว่าท่ี รต.ชนชน สิริวฒั นการ ๓๔ ๕ ครู ค.บ. ภาษาอังกฤษ ภาษาต่าง ๗ กลุ ประเทศ

๑๕ ๓.๒ พนกั งำนจำ้ ง(ปฏบิ ตั หิ นำ้ ทสี่ อน) ที่ ชอื่ – ชอื่ สกลุ อำยุ ประสบกำรณ์ วฒุ ิ วชิ ำเอก สอนกลมุ่ สำระ จ้ำงด้วยเงนิ กำรสอน (ปี) กำรเรยี นรู้ 1 นางสาวธีรนันท์ คงทน 2 นายวัตรสรรค์ ปานกลาง ๓๓ ๖ ค.บ. คณติ ศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทศบาล 3 นางสาววชั รีกร ศรมี งคล 4 นายจีระศกั ดิ์ ศรพี ิมพา ๓๐ ๗ ค.บ. ปฐมวัย อนุบาล เทศบาล 5 นางสาวสวุ ษิ า พลดาหาร 6 นางสาวจิตตมาศ ไตรศรี ๕๑ ๑๓ ค.บ. ประถมศึกษา อนุบาล กรมฯ 7 นายกติ ตชิ ัย เหลา่ พิทักษ์ 8 นางสาวนภาพร กองฉันทะ ๒๘ ๕ ค.บ. ชีววทิ ยา วทิ ยาศาสตร์ เทศบาล 9 นายปรีชา อาคะนยั ๓๑ ๕ ค.บ. คอมพิวเตอร์ อนุบาล เทศบาล 10 นายธวัชชัย อินทสอน 11 นางสาวจีระประภา สุ่มมาตย์ ๒๗ ๓ ค.บ. ปฐมวยั อนุบาล เทศบาล 12 นายววิ ชิ ชยั อปุ แสน 13 นางสาวขนษิ ฐา สยุ่ หา ๒๖ ๓ ค.บ. นาฏศิลป์ ศิลปะ เทศบาล 14 นายเกยี รตศิ ักด์ิ อธิสมุ งคล ๒๘ ๓ ค.บ. คอมพิ การงานฯ เทศบาล ๑๕ นายไพรัตน์ ไชยะศรี ๑๖ นางสาวพัชราวรรณ น้อย วเตอร์ ผาง ๒๙ ๓ ค.บ. สงั คมศกึ ษา สงั คมศกึ ษา เทศบาล ๓๐ ๒ ศศ.บ. ศลิ ปะ ศลิ ปะ โรงเรยี น ๒๖ ๒ ศษ.บ. พลศกึ ษา สุขศกึ ษาฯ โรงเรียน ๓๐ ๔ ค.บ. ดนตรี ศิลปะ โรงเรียน ๒๗ ๖ ศศ.บ. ภาษาจีน ภาษาต่างประเทศ โรงเรยี น ๒๘ ๖ ค.บ. พลศึกษา สุขศกึ ษาฯ โรงเรียน (๕ ป)ี ๓๖ ๖ ค.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย โรงเรยี น ๒๔ ๑ ค.บ. ศกึ ษาพิเศษ การศึกษาพิเศษ โรงเรียน และ ภาษาไทย ๓.๓ พนกั งำนจำ้ ง/ลูกจำ้ ง (สนบั สนุนกำรสอน) ท่ี ชือ่ – ช่ือสกุล อำยุ ตำแหน่ง วุฒิ สำขำ ปฏิบัติหน้ำท่ี จ้ำงด้วยเงนิ ๑ นางสาวจริยา ชัชวาลย์ ๓๓ บุคลากร ปวช. บริหารธุรกจิ ผูช้ ว่ ย กรมส่งเสริมฯ สนบั สนนุ (การบัญชี) เจา้ หน้าที่ การสอน การเงิน ๒ นายองอาจ ขนั ทะสทิ ธ์ิ ๓๖ นักการภาร ม.๖ ทว่ั ไป นกั การ กรมส่งเสรมิ ฯ โรง ภารโรง ๓ นางนภาพร โคตรชนะ ๕๑ แม่ครวั ม.๓ ท่วั ไป แม่ครัว เทศบาล ๔ นางสาวนภัทร วานมนตรี ๔๒ ผช.แมค่ รัว ม.๓ ทวั่ ไป ผช.แม่ครัว เทศบาล ๕ นางสาวภริ มญา สถติ ย์ ๒๘ เจา้ หน้าท่ี ป.ตรี รฐั ประ เจา้ หนา้ ที่ โรงเรยี น ธุรการ ศาสน ธุรการ ศาสตร์

๑๖ ๓.๔ สรปุ จำนวนบุคลำกร ๓.๔.๑ จำนวนบุคลำกรจำแนกตำมประเภท/ตำแหน่งและวุฒกิ ำรศกึ ษำ ประเภท/ตำแหนง่ จำนวนบุคลำกร (คน) รวม ต่ำกว่ำ ปริญญำตรี ปริญญำโท ปรญิ ญำ รอ้ ยละ ปรญิ ญำตรี เอก ๒.๘๗ 1. ผู้บริหำรสถำนศึกษำ ๓๗.๑๔ - ผู้อานวยการ ๑๑ ๔๕.๗๑ ๘๒.๘๕ รวม - - ๑ - ๑ ๕.๗๑ 2. ครผู ู้สอน ๘.๕๗ ๑๔.๒๘ - ข้าราชการ/พนกั งานครู ๗๖ ๑๓ ๑๐๐ - พนักงานจ้าง(สอน) ๑๖ ๑๖ รวม - ๒๓ ๖ - ๒๙ 3. บุคลำกรสนบั สนุน - พนักงานจ้างตามภารกิจ ๒ ๒ - พนักงานจ้างทว่ั ไป ๒๑ ๓ รวม ๔ ๑ - - ๕ รวมทั้งส้นิ ๔ ๒๔ ๗ - ๓๕ ร้อยละ ๑๑.๔๓ ๖๘.๕๗ ๒๐.๐๐ ๑๐๐ แผนภมู แิ สดงร้อยละของวฒุ ิการศกึ ษาสูงสุดของบคุ ลากร 0% ๑๑.๔๓ ๒๐.๐๐ ๖๘.๕๗ ตำ่ กวำ่ ปรญิ ญำตรี ปริญญำตรี ปริญญำโท ปรญิ ญำเอก

๑๗ แผนภูมิแสดงร้อยละของบคุ ลากรจาแนกตามประเภทตาแหน่ง 2.87% 14.28% 37.14% ประเภท/ตาแหนง่ 45.71% ผบู้ ริหารสถานศึกษา ขา้ ราชการ/พนักงานครู พนกั งานจ้าง(สอน) บคุ ลากรสนับสนนุ ๓.๔.๒ จำนวนครูจำแนกตำมกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ จำนวน (คน) รอ้ ยละ ปฐมวัย ๖ ๒๑.๔๒ ภาษาไทย ๓ ๑๐.๗๒ คณิตศาสตร์ ๑ ๓.๕๗ วิทยาศาสตร์ ๓ ๑๐.๗๒ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๒ ๗.๑๔ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๓ ๑๐.๗๒ ศิลปะ ๔ ๑๔.๒๘ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๒ ๗.๑๔ ภาษาตา่ งประเทศ ๓ ๑๐.๗๒ การศกึ ษาพเิ ศษ ๑ ๓.๕๗ ๒๘ ๑๐๐ รวม จานวนครูทีส่ อนวชิ าตรงเอก จานวน ๒๖ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๙๒.๘๖ จานวนครทู ส่ี อนตรงความถนดั จานวน ๒ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๗.๑๔ ภาระงานสอนของครูโดยเฉลย่ี ชั่วโมง : สปั ดาห์ ประมาณ ๒๐ ช่ัวโมง : สัปดาห์

๑๘ แผนภมู ิแสดงร้อยละของบุคลากรจาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๗.๑๔ ๑๔.๒๘ ๑๐.๗๒ ๑๐.๗๒ ๒๑.๔๒ ๗.๑๔ ๑๐.๗๒ ๑๐.๗๒ ครปู ฐมวัย ครูกลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ภำษ๓ำไ.ท๕ย๗ ครูกล่มุ สำระกำรเรยี นรคู้ ณิตศำสตร์ ครูกลุ่มสำระกำรเรยี นร้วู ทิ ยำศำสตร์ ครูกลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้สังคมศกึ ษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม ครูกลมุ่ สำระกำรเรียนรู้สขุ ศกึ ษำและพลศึกษำ ครกู ล่มุ สำระกำรเรียนรศู้ ลิ ปะ ครกู ลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี ครกู ลุ่มสำระกำรเรยี นรภู้ ำษำต่ำงประเทศ

๑๙ ๔. ขอ้ มลู นักเรียน (ณ วนั ที่ ๖ สงิ หาคม ๒๕๖๓) ๔.๑ จานวนนักเรยี นในโรงเรยี น ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ท้งั สิน้ 3๒๑ คนจาแนกตามระดบั ชน้ั ทเ่ี ปดิ สอน ระดับชนั้ เรียน จำนวนห้อง เพศ รวม จำนวนเฉลย่ี ชำย หญงิ อ.๑ ๒ 44 ต่อห้อง อ.๒ ๒ 28 16 28 อ.๓ ๒ 15 13 33 ๒๒ รวม ๖ 17 16 1๔ ป.๑ ๑ 105 1๖.๕๐ ป.๒ ๑ ๖๐ ๔๕ ป.๓ ๑ 29 ๑๗.๕ ป.๔ ๑ 12 17 24 ป.๕ ๑ 12 12 31 29 ป.๖ ๑ 19 12 23 24 รวม ๖ 13 10 24 31 ม.๑ ๑ 13 11 26 23 ม.๒ ๑ 16 10 ๑๕๗ 24 ม.๓ ๑ 8๕ ๗๒ 26 รวม ๓ 22 2๖.17 ม.๔ ๑ 13 9 8 ม.๕ ๑ -8 19 22 รวม ๒ 9 10 8 รวมทั้งสิ้น ๑๗ ๔๙ ๒๒ ๒๗ 19 6 42 4 ๑๖.๓๔ 13 ๑๐ 6 ๕๕ 3๒๑ 4 1๗๒ 1๔๙ ๕ 1๘.๘๙ จานวนเด็กพิเศษในโรงเรยี น ชาย …๗…… คน หญงิ ……๔…….. คน รวม จานวน ……๑๑…..คน อัตราส่วนนักเรยี น : ครูระดับอนบุ าล =……๑๘……. : ……๑….. เป็นไปตามเกณฑ์ อัตราสว่ นนกั เรียน : ครูระดบั ประถมศึกษา =……25……. : ……๑….. เป็นไปตามเกณฑ์ อัตราส่วนนกั เรียน : ครูระดบั มัธยมศกึ ษา =……๑3……. : ……๑….. เป็นไปตามเกณฑ์

แผนภมู แิ สดงจำนวนนักเรยี นชัน้ อนุบำล ๑ - ๓ ๒๐ เปรียบเทยี บ ๓ ปีกำรศกึ ษำ 50 อ.๓ 33 39 อ.๒ 33 อ.๑ 28 37 45 0 44 29 35 ป.๖ ป.๕ 10 20 30 40 ป.๔ ป.๓ ปี 2563 ปี 256๒ ปี 2561 ป.๒ ป.๑ แผนภูมิแสดงจำนวนนกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษำปที ่ี ๑ - ๖ เปรยี บเทยี บ ๓ ปีกำรศกึ ษำ 0 13 21 26 22 24 26 2223 27 31 22 26 24 27 31 25 29 31 5 10 15 20 25 30 35 ปี 2563 ปี 256๒ ปี 2561

๒๑ แผนภมู ิแสดงจำนวนนักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษำปที ่ี ๑ - ๓ เปรียบเทียบ ๓ ปีกำรศึกษำ ม.๓ 8 ๑1๔4 19 ม.๒ ๑๑ ม.๑ 21 9๑๐ 22 ๐ ๕ ๑๐ ๑๕ ๒๐ ๒๕ ปี 2563 ปี 256๒ ปี 2561 ม.๕ 0 แผนภูมิแสดงจำนวนนักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษำปที ี่ ๔ - ๕ ๑๒ ๐ เปรยี บเทียบ ๓ ปีกำรศึกษำ ม.๔ 4 ๐ 6 ๐ 10 ๒ ๔ ๖ ๘ ๑๐ ปี 2563 ปี 256๒ ปี 2561

๒๒ ๕. ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรยี นระดับสถำนศึกษำปีกำรศกึ ษำ 256๓ ๕.๑ ระดับกำรศกึ ษำปฐมวยั ๕.๑.๑ พฒั นำกำรด้ำนร่ำงกำย ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๓ จำนวนเดก็ ท่ีมผี ลกำร รวม ค่ำเฉล่ยี เด็กทีม่ ีผลกำร ประเมนิ พัฒนำกำร รอ้ ยละ ประเมนิ ระดับ ๒ จำนวน (พอใช)้ ข้นึ ไป ระดบั ช้ัน ระดบั ช้ัน เดก็ ท่ี ๑ ๒ ๓ จำนวน ร้อยละ ประเมนิ ปรบั ปรุง พอใช้ ดี อ.1/๑ 23 - - 23 23 100 23 100 อ.๑/2 ๒๒ - - ๑๗ ๒๒ ๑๐๐ ๑๗ ๗๗.๒๗ อนุบำล รวม ๔๕ ๕ - ๔๐ ๔๕ - ๔๐ ๘๘.๘๙ ๑ (๓ ปี) รอ้ ยละ ๑๐๐ ๑๑.๑๑ - ๘๘.๘๙ ๑๐๐ - ๘๘.๘๙ - อ.๒/๑ ๑๔ - - ๑๔ ๑๔ ๑๐๐ ๑๔ ๑๐๐ อ.๒/2 14 - - 14 14 100 14 100 อนบุ ำล รวม ๒๘ - - ๒๘ ๒๘ - ๒๘ 100 ๒ (๔ ปี) ร้อยละ 100 - - 100 100 - 100 - อ.๓/๑ 17 - - 17 17 ๑๐๐ 17 ๑๐๐ อ.๓/2 ๑๖ - - ๑๖ ๑๖ 100 ๑๖ 100 อนุบำล รวม ๓๓ - - ๓๓ ๓๓ - ๓๓ ๑๐๐ ๓ (๕ ปี) รอ้ ยละ ๑๐๐ - - ๑๐๐ ๑๐๐ - ๑๐๐ - รวมทุกระดับชัน้ ๑๐๖ ๕ - ๑๐๑ ๑๐๖ - ๑๐๑ ๙๕.๒๘ รอ้ ยละรวม ๑๐๐ ๔.๗๒ - ๙๕.๒๘ ๑๐๐ - ๙๕.๒๘ - แผนภมู แิ สดงรอ้ ยละของเดก็ มผี ลกำรประเมินพฒั นำกำรดำ้ นรำ่ งกำย ๖.๖% ๑๖.๐๔ ๗๗.๓๖% ระดับ ๑ (ปรบั ปรุง) ระดบั ๒ (พอใช้) ระดับ ๓ (ดี)

๒๓ ๕.๑.๒ พฒั นำกำรด้ำนอำรมณ์ จิตใจ ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๓ จำนวนเด็กทีม่ ผี ลกำร รวม ค่ำเฉลย่ี เด็กทมี่ ีผลกำร ประเมินระดบั ๒ จำนวน ประเมนิ พฒั นำกำร รอ้ ยละ (พอใช)้ ขึ้นไป ระดบั ช้ัน ระดบั เดก็ จำนวน ร้อยละ ชน้ั ท่ี ๑ ๒ ๓ 23 100 อ.1/๑ ๒๐ ๙๐.๙๐ อ.๑/2 ประเมนิ ปรับปรุง พอใช้ ดี ๔๓ ๙๕.๕๖ อนุบำล ๑ รวม ๙๕.๕๖ - (๓ ป)ี รอ้ ยละ 23 - - 23 23 100 ๑๔ ๑๐๐ อ.๒/๑ 14 100 อ.๒/2 ๒๒ ๒ ๒๐ - ๒๒ ๑๐๐ ๒๘ 100 อนบุ ำล ๒ รวม ๑๐๐ - (๔ ปี) ร้อยละ ๔๕ ๒ ๒๐ ๒๓ ๔๕ - 17 100 อ.๓/๑ ๑๖ 100 อ.๓/2 ๑๐๐ ๔.๔๔ ๔๔.๔๕ ๕๑.๑๑ ๑๐๐ - ๓๓ 100 อนบุ ำล ๓ รวม ๑๐๐ - (๕ ป)ี รอ้ ยละ ๑๔ - - ๑๔ ๑๔ ๑๐๐ ๑๐๔ ๙๘.๑๑ รวมทุกระดับชนั้ ๙๘.๑๑ - ร้อยละรวม 14 - - 14 14 100 ๒๘ - - ๒๘ ๒๘ - 100 - - ๑๐๐ ๑๐๐ - 17 - - 17 17 ๑๐๐ ๑๖ - - ๑๖ ๑๖ 100 ๓๓ - - ๓๓ ๓๓ - ๑๐๐ - - ๑๐๐ ๑๐๐ - ๑๐๖ ๒ ๒๐ ๘๔ ๑๐๖ - ๑๐๐ ๑.๘๙ ๑๘.๘๗ ๗๙.๒๔ ๑๐๐ - แผนภมู แิ สดงรอ้ ยละของเด็กมผี ลกำรประเมินพัฒนำกำร ดำ้ นอำรมณ์ จติ ใจ ๖.๖% ๑๖.๐๔% ๗๗.๓๖% ระดบั ๑ (ปรับปรุง) ระดบั ๒ (พอใช้)

๒๔ ๕.๑.๓ พัฒนำกำรดำ้ นสังคม ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๓ จำนวนเด็กท่ีมผี ลกำรประเมนิ รวม คำ่ เฉ เดก็ ท่มี ผี ลกำร จำนวน พัฒนำกำร ลยี่ ประเมนิ ระดบั ๒ ระดบั ชน้ั ระดบั ชนั้ รอ้ ย (พอใช้) ข้นึ ไป เดก็ ละ จานวน รอ้ ยละ ท่ี ๑ ๒ ๓ ดี ประเมนิ ปรบั ปรุง พอใช้ อ.1/๑ 23 - - 23 23 100 23 100 อ.๑/2 ๒๒ ๒ ๒๐ - ๒๒ ๑๐๐ ๒๐ ๙๐.๙๐ อนบุ ำล ๑ รวม ๔๕ ๒ ๒๐ ๒๓ ๔๕ - ๔๓ ๙๕.๕๖ (๓ ป)ี ร้อยละ ๑๐๐ ๔.๔๔ ๔๔.๔๕ ๕๑.๑๑ ๑๐๐ - ๙๕.๕๖ - อ.๒/๑ ๑๔ - - ๑๔ ๑๔ ๑๐๐ ๑๔ ๑๐๐ อ.๒/2 14 - - 14 14 100 14 100 อนบุ ำล ๒ รวม ๒๘ - - ๒๘ ๒๘ - ๒๘ 100 (๔ ป)ี รอ้ ยละ 100 - - 100 100 - 100 - อ.๓/๑ 17 - - 17 17 100 17 100 อ.๓/2 ๑๖ - - ๑๖ ๑๖ 100 ๑๖ 100 อนุบำล ๓ รวม ๓๓ - - ๓๓ ๓๓ - ๓๓ ๑๐๐ (๕ ปี) ร้อยละ ๑๐๐ - - 100 100 - 100 ๙๕.๕๖ รวมทกุ ระดบั ชน้ั ๑๐๖ ๒ ๒๐ ๘๔ ๑๐๖ - ๑๐๔ ๙๘.๑๑ รอ้ ยละรวม ๑๐๐ ๑.๘๙ ๑๘.๘๗ ๗๙.๒๔ ๑๐๐ - ๙๘.๑๑ - แผนภมู ิแสดงรอ้ ยละของเด็กมีผลกำรประเมินพฒั นำกำร ดำ้ นสงั คม ๖.๖% ๑๖.๐๔% ๗๗.๓๖% ระดับ ๑ (ปรบั ปรุง) ระดบั ๒ (พอใช้)

๒๕ ๕.๑.๔ พฒั นำกำรดำ้ นสติปญั ญำ ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๓ จำนวนเดก็ ทม่ี ผี ลกำรประเมนิ รวม ค่ำเฉล่ยี เด็กที่มีผลกำร พัฒนำกำร ร้อยละ ประเมินระดับ ๒ จำนวน (พอใช้) ขน้ึ ไป ระดบั ชั้น ระดบั ช้ัน เดก็ ท่ี ๑ ๒ ๓ จานวน ร้อยละ ประเมนิ ปรบั ปรงุ พอใช้ ดี อ.1/๑ 23 - - 23 23 100 23 100 อ.๑/2 ๒๒ ๒ ๑๗ ๓ ๒๒ ๑๐๐ ๒๐ ๙๐.๙๐ อนบุ ำล รวม ๔๕ ๒ ๑๗ ๒๖ ๔๕ - ๔๓ ๙๕.๕๖ ๑ (๓ ป)ี รอ้ ยละ ๑๐๐ ๔.๔๔ ๓๗.๗๘ ๕๗.๗๘ ๑๐๐ - ๙๕.๕๖ - อ.๒/๑ ๑๔ ๔ - ๑๐ ๑๔ ๑๐๐ ๑1 78.57 อ.๒/2 14 1 - 13 14 100 13 92.85 อนุบำล รวม ๒๘ ๕ - ๒๓ ๒๘ - ๒๓ ๘๒.๑๔ ๒ (๔ ปี) รอ้ ยละ 100 ๑๗.๘๖ - ๘๒.๑๔ ๑๐๐ - ๘๒.๑๔ - อ.๓/๑ 17 - - 17 17 100 17 100 อ.๓/2 ๑๖ - - ๑๖ ๑๖ 100 ๑๖ 100 อนบุ ำล รวม ๓๓ - - ๓๓ ๓๓ - ๓๓ ๑๐๐ ๓ (๕ ป)ี ร้อยละ ๑๐๐ - - ๑๐๐ ๑๐๐ - ๑๐๐ - รวมทกุ ระดบั ชนั้ ๑๐๖ ๗ ๑๗ ๘๒ ๑๐๖ - ๙๙ ๙๓.๔๐ ร้อยละรวม ๑๐๐ ๖.๖๐ ๑๖.๐๔ ๗๗.๓๖ ๑๐๐ - ๙๓.๔๐ - แผนภูมิแสดงร้อยละของเด็กมผี ลกำรประเมินพัฒนำกำร ดำ้ นสติปัญญำ ๖.๖% ๑๖.๐๔% ๗๗.๓๖% ระดบั ๑ (ปรบั ปรงุ ) ระดับ ๒ (พอใช้) ระดบั ๓ (ดี)

๒๖ ๕.๒ ระดบั กำรศึกษำขนั้ พน้ื ฐำน ๕.๒.๑ สรุปผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนรวมทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ระดับประถมศกึ ษาทมี่ ีผลการเรยี นระดบั 3 ขนึ้ ไป ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ผลกำร S.D. นักเรยี นทีไ่ ด้ ๓ เรียน ขึน้ ไป จำนวน จำนวนนักเรียนทไี่ ดผ้ ลกำรเรยี น เฉล่ีย กลมุ่ สำระกำร นักเรยี นที่ 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 จำ ร้อยละ เรียนรู้รำยวิชำ เข้ำสอบ - ๙ นวน - ๑๗ 1.ภาษาไทย ๑๕๖ ๒๕ ๒๗ ๓๔ ๑๗ ๑๗ ๒๗ 2.62 0.34 ๖๑ 39.10 ๑๕๖ - ๑๖ 2.คณติ ศาสตร์ ๒๑ ๒๒ ๒๗ ๒๖ ๒๔ ๑๙ ๒.๕๘ ๐.๓๗ ๖๙ 44.23 ๑๕๖ 3.วิทยาศาสตร์และ ๑๔ ๑๘ ๒๒ ๒๑ ๑๙ ๔๖ ๒.๘๖ ๐.๔๒ ๘๖ 55.13 เทคโนโลยี 4. สงั คมศกึ ษาฯ ๑๕๖ - ๒ ๑๙ ๒๗ ๓๓ ๒๙ ๒๓ ๒๓ ๒.๗๙ ๐.๑๖ ๗๕ 48.08 5.ประวัตศิ าสตร์ ๑๕๖ - ๒ ๑๐ ๒๘ ๓๑ ๔๑ ๑๘ ๒๖ ๒.๘๖ ๐.๑๖ ๘๕ 54.49 ๑ ๑๐ ๑๒ ๕๑ ๓๔ ๔๒ ๓.๒๒ ๐.๑๑ ๑๒๗ 81.41 6.สขุ ศกึ ษา ๑๕๖ - ๖ ๐ ๑๐ ๑๖ ๕๖ ๔๖ ๒๗ ๓.๒๒ ๐.๑๑ ๑๒๙ 82.69 ๒ ๒๑ ๓๐ ๔๖ ๒๕ ๒๘ ๒.๙๔ ๐.๓๓ ๙๓ 59.62 7.ศิลปะ ๑๕๖ - ๑ ๘ ๒๒ ๒๖ ๔๐ ๓๑ ๒๔ ๒.๙๐ ๐.๓๑ ๙๕ 60.90 8.การงานอาชพี ๑๕๖ - ๔ ๑๕๖ - ๕ ๙. ภาษาตา่ งประเทศ รวม ๑๔๐๔ 0 ๖๒ ๑๐๐ ๑๘๕ ๒๓๑ ๓๒๗ ๒๓๗ ๒๖๒ ๒.๘๙ ๐.๒๖ ๘๒๐ 58.40 ร้อยละ ๑๐๐ 0 4.42 7.12 13.18 16.45 23.29 16.88 18.66 ๕๘ ร้อยละของนกั เรยี น ๕๙ ผลการเรยี นระดับดี (๓) ข้ึนไป ๔๑ ผา่ นเกณฑ์ขัน้ ตา่ (๑) ถึงค่อนขา้ งดี (๒.๕) ๐ ไมผ่ า่ นการประเมนิ (๐) แผนภมู ิแสดงรอ้ ยละของระดบั ผลสัมฤทธท์ิ ำงกำรเรียนรวมทกุ กล่มุ สำระกำรเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษำ 0% 41% 59% ผลการเรยี นระดับดี (๓) ข้นึ ไป ผ่านเกณฑข์ นั้ ต่า (๑) ถึงค่อนขา้ งดี (๒.๕) ไมผ่ า่ นการประเมิน (๐)

๒๗ ๕.๒.๒ สรุปผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นรวมทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรรู้ ะดบั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 – 4 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา ๒๕๖๓ ผลกำร S.D. นกั เรียนทีไ่ ด้ ๓ เรียน จำนวน จำนวนนกั เรยี นที่ไดผ้ ลกำรเรยี น เฉลี่ย ขน้ึ ไป นกั เรียนที่ กลมุ่ สำระกำร จำ รอ้ ยละ นวน เรยี นรูร้ ำยวิชำ เข้ำสอบ 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 1.ภาษาไทย ๕๗ 1 11 3 3 9 17 7 6 2.39 0.55 30 52.63 2.คณิตศาสตร์ ๕๗ 4 15 3 4 11 5 3 12 2.1 0.47 20 35.09 3.วิทยาศาสตร์ ๕๗ 13 9 4 7 4 2 11 7 1.84 0.83 20 35.09 และเทคโนโลยี 4. สงั คมศึกษาฯ ๕๗ 8 3 2 4 10 7 4 19 2.69 0.39 30 52.63 5.ประวตั ิศาสตร์ ๕๓ 4 2 9 2 9 1 5 ๒๑ 1.94 0.52 27 50.94 6.สขุ ศึกษา ๕๗ 3 6 9 3 8 9 7 12 2.42 0.52 28 49.12 7.ศลิ ปะ ๕๗ 4 1 4 4 11 1 8 24 2.75 0.38 33 57.89 0 1 10 21 15 5 2.09 0.23 41 77.36 8.การงานอาชีพ ๕๓ - 1 ๙.ภาษาตา่ ง ๕๗ 3 4 10 5 13 9 6 7 2.2 0.37 22 38.60 ประเทศ รวม ๕๐๕ 40 52 44 33 85 72 66 113 2.27 0.47 251 49.70 รอ้ ยละ ๑๐๐ 7.9 10.30 8.71 6.53 16.83 14.26 13.07 22.38 49. 2 70 ร้อยละของนกั เรยี น ผลการเรียนระดบั ดี (๓) ขึน้ ไป ๕๐ ผ่านเกณฑ์ข้นั ต่า (๑) ถึงคอ่ นขา้ งดี (๒.๕) ๔๒ ไมผ่ ่านการประเมนิ (๐) ๘ kj แผนภูมแิ สดงร้อยละของระดบั ผลสัมฤทธทิ์ ำงกำรเรียนรวมทกุ กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ ระดบั มัธยมศึกษำ ภำคเรยี นท่ี 1 ปกี ำรศกึ ษำ 2563 8% 50% 42% ผลการเรยี นระดับดี (๓) ข้ึนไป ผ่านเกณฑ์ข้ันต่า (๑) ถงึ ค่อนขา้ งดี (๒.๕) ไมผ่ า่ นการประเมนิ (๐)

๒๘ ๕.๒.๓ สรปุ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนรวมทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้ระดบั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 – 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ กล่มุ สำระกำร จำนวน จำนวนนกั เรียนทไี่ ด้ผลกำรเรยี น ผลกำร S.D. นักเรียนที่ได้ ๓ เรยี น ข้ึนไป เรียนรู้ นกั เรียนที่ 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 จำ รอ้ ยละ รำยวชิ ำ เข้ำสอบ 0 นวน 1.ภาษาไทย ๕๖ ๒ ๘ ๔ ๑ ๕ ๑๔ ๑๐ ๑๒ 2.56 0.74 ๓๖ 64.29 2.คณติ ศาสตร์ ๕๖ ๕ ๖ ๙ ๗ ๘ ๖ ๑ ๑๔ 2.06 0.34 ๒๑ 37.50 3. วทิ ยาศาสตร์ ๕๖ ๑๐ ๕ ๒ ๔ ๙ ๙ ๕ ๑๒ 2.26 0.68 ๒๖ 46.43 และเทคโนโลยี 4. สังคมศึกษา ๕๖ 9 2 5 5 7 10 4 14 2.54 0.39 ๒๘ 50.00 ฯ 5. ๕๓ 5 4 4 5 7 7 9 12 1.9 0.6 ๒๘ 52.83 ประวัตศิ าสตร์ 6.สขุ ศกึ ษา ๕๓ 10 3 0 6 8 5 2 19 1.87 0.56 ๒๖ 49.06 7.ศลิ ปะ ๕๖ ๔ ๗ ๑๒ ๔ ๕ ๒๔ 2.15 0.37 ๓๓ 58.93 8.การงาน ๕๖ - ๓ ๖ ๕ ๕ ๘ ๑ ๒๘ 2.14 0.67 ๓๗ 66.07 อาชีพ ๙.ภาษาตา่ ง ๕๖ ๓ ๔ ๑๒ ๙ ๕ ๔ ๘ ๑๑ 2.14 0.32 ๒๓ 41.07 ประเทศ รวม ๔๙๘ ๔๔ ๓๕ ๔๖ ๔๙ ๖๖ ๖๗ ๔๕ ๑๔๖ 2.18 0.52 ๒๕๘ 51.81 รอ้ ยละ ๑๐๐ 8.84 7.03 9.24 9.84 13.25 13.45 9.04 29.32 51. 81 รอ้ ยละของนกั เรียน ๕๒ ผลการเรยี นระดับดี (๓) ขึน้ ไป ๓๙ ผา่ นเกณฑข์ ้นั ต่า (๑) ถึงค่อนขา้ งดี (๒.๕) ๙ ไมผ่ ่านการประเมนิ (๐) แผนภมู แิ สดงร้อยละของระดบั ผลสัมฤทธทิ์ ำงกำรเรียนรวมทุกกลมุ่ สำระกำรเรียนรู้ ระดับมัธยมศึกษำ ภำคเรียนท่ี ๒ ปีกำรศึกษำ 2563 9% 39% 52% ผลการเรียนระดับดี (๓) ข้ึนไป ผ่านเกณฑ์ข้นั ต่า (๑) ถงึ คอ่ นข้างดี (๒.๕) ไม่ผ่านการประเมิน (๐)

๒๙ ๕.๒.๔ รอ้ ยละของนกั เรยี นทมี่ ผี ลกำรประเมนิ กำรอำ่ น คิดวิเครำะห์ และเขยี น ในระดบั ดขี ้นึ ไป ระดบั ชั้นประถมศึกษำปที ี่ 1 ถึงระดับชั้นมธั ยมศึกษำปีที่ ๕ ปีกำรศกึ ษำ 256๓ ระดบั ชัน้ จำนวน ไมผ่ ่ำน ผลกำรประเมิน ดเี ยี่ยม ระดบั ดี ร้อยละ นักเรียน - ผ่ำน ดี ๙ ขึน้ ไป - ๘ ๑๒ ๑๐ ป. ๑ ๒๙ - -๙ 20 ๒๑ ๗๒.๔๑ - 39 13 ป.2 ๒๓ 19 ๒๓ ๑๙ ๘๒.๖๑ - 5 ป.3 32 - ๑๔ ๒๙ ๙๐.๖๓ - 3 ป.4 23 ๖ ๒๒ ๙๕.๖๕ - 6 ป.๕ ๒๓ - ๑ ๒๓ ๑๐๐. ๑๑๐ ป.6 ๒๖ 11 10 ๑๕ ๕๗.๖๙ ๑ ๑๑ ๕๑.๘๙ ม.1 ๒๑ 2 3 ๒๕ ๑๑๙.๐๕ ๔ ๖ ม.2 ๙ - - ๖ ๖๖.๖๗ 2 ม.๓ ๑๗ ๓๐ ๗๑ ๑๒ ๗๐.๕๙ ๑๔.๑๕ ๓๓.๔๙ ม.4 6 ๖ ๑๐๐. ม.๕ ๓ ๓ ๑๐๐. รวม ๒๑๒ ๑๘๑ ๘๕.๓๘ เฉล่ีย ๘๕.๓๘ แผนภมู ิรอ้ ยละของนักเรียนที่มผี ลกำรประเมนิ กำรอ่ำน คิดวเิ ครำะห์และเขียน ในระดบั ดขี นึ้ ไประดับชนั้ ประถมศกึ ษำปีท่ี ๑ ถึงระดับชนั้ มัธยมศึกษำปที ่ี ๕ 0% ๑๔.๑๕% ๕๑.๘๙% ๓๓.๔๙% ไมผ่ ่าน ผา่ น ดี ดเี ยยี่ ม

๓๐ ๕.๒.๕ ร้อยละของนกั เรยี นทีม่ ผี ลกำรประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงคใ์ นระดบั ดีขึน้ ไป ระดับชั้นประถมศึกษำปที ่ี 1 ถงึ ระดับชน้ั มัธยมศึกษำปที ่ี ๕ ปีกำรศึกษำ 256๓ ระดบั ช้นั จำนวน ไมผ่ ่ำน ผลกำรประเมิน ดเี ย่ียม ระดับดี ร้อยละ นกั เรยี น - ผ่ำน ดี ๒๙ ขนึ้ ไป -- 12 ๒๙ ๑๐๐.๐๐ ป. ๑ ๒๙ - 29 19 ๒๑ ๙๑.๓๐ - - 13 16 ๓๒ ๑๐๐.๐๐ ป.2 23 16 ๒๒ ๙๕.๖๕ - ๒๓ ๒๓ ๑๐๐.๐๐ ป.3 32 - ๖. ๒๖ ๑๐๐.๐๐ - ๑ ๑๐ ๒๐. ๒๐ ๙๕.๒๔ ป.4 23 -- ๑๐ ๑๐๐.๐๐ ๓๔ 9 ๙ ๗๖.๔๗ ป.๕ ๒๓ -- ๙ ๑๓ ๑๐๐.๐๐ 11 6 ๖ ๖๖.๖๗ ป.6 ๒๖ ๘ ๔๙ 1 ๒ ๙๕.๗๕ ๓.๗๗ ๒๓.๑๑ ๑๕๔ ๒๐๓ ม.1 ๒๑ ๗๒.๖๔ ๙๕.๗๕ ม.2 ๙ ม.๓ ๑๗ ม.4 6 ม.๕ 3 รวม ๒๑๒ เฉลยี่ แผนภูมริ อ้ ยละของนักเรียนที่มีผลกำรประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคใ์ น ระดับดีขึน้ ไป ระดบั ชนั้ ประถมศึกษำปีที่ ๑ ถึง ชนั้ มัธยมศึกษำปที ่ี ๕ ๓.๗๗% 0% ๒๓.๑๑% ๗๒.๖๔% ไม่ผา่ น ผ่าน ดี ดเี ยยี่ ม

๓๑ ๖. ข้อมูลผลกำรประเมนิ ทดสอบควำมสำมำรถพ้นื ฐำนผู้เรยี นระดับชำติ (National Test : NT) ๖.๑ ระดับชั้นประถมศกึ ษำปที ่ี 3 ประจำปกี ำรศึกษำ 256๓ ๖.๑.๑ คะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละจำแนกตำมระดับ ควำมสำมำรถ คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ ดา้ นคณิตศาสตร์ ระดบั โรงเรยี น ระดับจงั หวัด ระดบั สังกัด ระดบั ประเทศ ด้านภาษาไทย ๒๕.๙๓ ๔๐.๔๗ รวมความสามารถ ๓๐.๒๕ ๓๖.๓๖ ๓๖.๖๙ ๔๗.๔๖ ทงั้ ๒ ด้าน ๒๘.๐๙ ๔๓.๗๒ ๔๔.๖๘ ๔๓.๙๗ ๔๐.๐๔ ๔๐.๖๙ แ ผ น ภู มิ แ ส ด ง ค ะ แ น น เ ฉ ลี่ ย ร้ อ ย ล ะ ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น ก า ร ท ด ส อ บ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง ผู้ เ รี ย น ร ะ ดั บ ช า ติ จา แ น ก ต า ม ร ะ ดั บ ๓๖.๓๖ ๔๓.๗๒ ๔๐.๐๔ ๓๖.๖๙ ๔๔.๖๘ ๔๐.๖๙ ๔๐.๔๗ ๔๗.๔๖ ๔๓.๙๗ ๒๕.๙๓ ๓๐.๒๕ ๒๘.๐๙ ด้ ำ น ค ณิ ต ศ ำ ส ต ร์ ด้ำนภำษำไทย รวมควำมสำมำรถท้ัง ๒ ด้ำน ระดับโรงเรยี น ระดับจังหวัด ระดับสังกัด ระดับประเทศ

๓๒ ๖.๑.๒ เปรยี บเทยี บผลกำรประเมินทดสอบควำมสำมำรถพนื้ ฐำนของผู้เรยี นระดับชำติ (National Test : NT) และรอ้ ยละผลต่ำงระหวำ่ งปีกำรศกึ ษำ 256๒ – 256๓ ควำมสำมำรถ ปกี ำรศกึ ษำ ปกี ำรศกึ ษำ รอ้ ยละของผลตำ่ ง 256๒ 256๓ ระหว่ำงปีกำรศึกษำ ดา้ นภาษา ๒๙.๗๑ ๒๕.๙๓ ดา้ นคานวณ ๓๓.๒๑ ๓๐.๒๕ - ๓.๗๘ รวมความสามารถทัง้ ๒ ดา้ น ๓๑.๔๖ ๒๘.๐๙ - ๒.๙๖ - ๓.๓๗ แผนภูมเิ ปรียบเทยี บผลกำรประเมนิ กำรทดสอบควำมสำมำรถพื้นฐำนผเู้ รียนระดบั ชำติและ ร้อยละผลต่ำงระหวำ่ งปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๒ - ๒๕๖๓ ๓๕. ๓๓.๒๑ ๓๑.๔๖ ๓๐.๒๕ ๒๘.๐๙ ๓๐. ๒๙.๗๑ ๒๕.๙๓ ๒๕. ๒๐. ๑๕. ๑๐. ๕. ๐. ดา้ นคานวณ รวมความสามารถทัง้ 2 ด้าน ด้านภาษา 2562 2563

๓๓ ๗. ผลกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดบั ชำติข้ันพนื้ ฐำน (O-NET) ๗.๑ ระดับชน้ั ประถมศกึ ษำปีท่ี 6 ประจำปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๓ ๗.๑.๑ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขนั้ พ้ืนฐาน (O-NET) ปีการศกึ ษา 256๓ รำยวชิ ำ คะแนนเฉล่ีย ภาษาไทย ระดบั โรงเรียน ระดับจงั หวัด ระดับสงั กัด ระดบั ประเทศ คณติ ศาสตร์ ๓๖.๕๒ ๕๖.๒๐ วทิ ยาศาสตร์ ๒๔.๑๗ ๕๒.๐๙ ๔๗.๑๑ ๒๙.๙๙ ภาษาองั กฤษ ๒๘.๘๔ ๓๘.๗๘ ๒๕.๖๓ ๒๗.๔๐ ๒๘.๕๓ ๔๓.๕๕ ๓๖.๖๑ ๓๗.๗๐ ๓๗.๔๔ ๔๑.๗๑ แ ผ น ภู มิ แ ส ด ง ค ะ แ น น เ ฉ ล่ี ย ร้ อ ย ล ะ ผ ล ก ำ ร ป ร ะ เ มิ น ก ำ ร ท ด ส อ บ ร ะ ดั บ ช ำ ติ ขั้ น พื้นฐำน (O-NET) ชั้น ป.๖ ระดบั โรงเรยี น ระดบั จังหวดั ระดบั สังกัด ระดบั ประเทศ ๕๑.๒๒ ๕๐.๓๘ ๕๔.๒๙ ๔๑.๑ ๒๘.๖๘ ๓๑.๕๕ ๒๓.๐๖ ๒๘.๖ ๓๐.๗๒ ๒๔.๔๔ ๒๙.๑๙ ๓๔.๓๘ ๒๒.๐๓ ๒๗.๙๙ ๒๕.๔๖ ๒๙.๘๙ ภาษาไทย ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ

๓๔ ๗.๑.๒ เปรยี บเทียบผลกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดบั ชำตขิ น้ั พ้ืนฐำน (O-NET) ชั้นประถมศึกษำปที ่ี ๖ ปกี ำรศกึ ษำ 256๒ – 256๓ รำยวชิ ำ ปีกำรศกึ ษำ 256๒ คะแนนเฉลยี่ ผลตำ่ ง ระหว่ำงปีกำรศึกษำ ภาษาไทย ๓๔.๐๕ ปีกำรศึกษำ 256๓ คณิตศาสตร์ ๒๖.๖๗ ๒.๔๗ วิทยาศาสตร์ ๒๗.๔๔ ๓๖.๕๒ -๒.๕๐ ภาษาองั กฤษ ๒๒.๙๘ ๒๔.๑๗ ๑.๔๐ ๒๘.๘๔ ๒.๖๕ ๒๕.๖๓ แผนภูมิเปรียบเทยี บผลกำรทดสอบระดับชำติ ชั้นประถมศึกษำปที ่ี ๖ ระหว่ำงปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒ - ๒๕๖๓ ภาษาองั กฤษ ๒๕.๖๓ ๒๒.๙๘ วทิ ยาศาสตร์ ๒๘.๘๔ ๒๗.๔๔ คณิตศาสตร์ ๒๔.๑๗ ๒๖.๖๗ ภาษาไทย ๓๖.๕๒ ๔๐. ๐. ๓๔.๐๕ ๕. ๑๐. ๑๕. ๒๐. ๒๕. ๓๐. ๓๕. ปกี ารศึกษา 256๓ ปีการศกึ ษา 256๒

๗.๒ ระดับชน้ั มัธยมศึกษำปที ่ี 3 ประจำปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๓ ๓๕ ๗.๒.๑ คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละจาแนกตามระดับ ระดับประเทศ รำยวิชำ คะแนนเฉลี่ย ๕๔.๒๙ ๒๕.๔๖ ภาษาไทย ระดับโรงเรียน ระดบั จังหวดั ระดับสงั กัด ๒๙.๘๙ คณติ ศาสตร์ ๔๑.๑๐ ๓๔.๓๘ วทิ ยาศาสตร์ ๒๓.๐๖ ๕๑.๒๒ ๕๐.๓๘ ภาษาอังกฤษ ๒๘.๖๐ ๒๘.๖๘ ๒๔.๔๔ ๒๒.๐๓ ๒๙.๑๙ ๒๗.๙๙ ๓๑.๕๕ ๓๐.๗๒ ๕๑.๒๒ แ ผ น ภู มิ แ ส ด ง ค ะ แ น น เ ฉ ลี่ ย ร้ อ ย ล ะ จำ แ น ก ต ำ ม ร ะ ดั บ ๕๐.๓๘ ระดบั โรงเรยี น ระดบั จงั หวัด ระดับสงั กดั ระดบั ประเทศ ๕๔.๒๙ ๔๑.๑ ๒๓.๐๖ ๒๘.๖ ๒๘.๖๘ ๒๔.๔๔ ๒๙.๑๙ ๓๑.๕๕ ๒๒.๐๓ ๒๗.๙๙ ๓๐.๗๒ ๒๕.๔๖ ๒๙.๘๙ ๓๔.๓๘ ภาษาไทย ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ

๓๖ ๗.๒.๒ เปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 256๒ – 256๓ รำยวชิ ำ ปกี ำรศกึ ษำ 256๒ คะแนนเฉลี่ย ผลตำ่ ง ระหว่ำงปีกำรศกึ ษำ ภาษาไทย ๔๑.๐๐ ปกี ำรศกึ ษำ 256๓ คณิตศาสตร์ ๒๑.๕๔ ๐.๑๐ วทิ ยาศาสตร์ ๒๙.๘๑ ๔๑.๑๐ ๑.๕๒ ภาษาอังกฤษ ๒๘.๓๑ ๒๓.๐๖ -๑.๒๑ ๒๘.๖๐ ๐.๓๗ ๒๘.๖๘ ภาษาองั กฤษ แผนภูมเิ ปรยี บเทียบผลกำรทดสอบระดบั ชำติ ชนั้ ม.๓ ระหวำ่ งปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒ - ๒๕๖๓ ๒๘.๖๘ ๒๘.๓๑ วทิ ยาศาสตร์ ๒๘.๖ ๒๙.๘๑ คณิตศาสตร์ ๒๓.๐๖ ๒๑.๕๔ ภาษาไทย ๔๑.๑ ๐. ๔๑. ๕. ๑๐. ๑๕. ๒๐. ๒๕. ๓๐. ๓๕. ๔๐. ๔๕. ปีการศึกษา 256๓ ปีการศึกษา 256๒

๓๗ ๗.๓ ข้อมูลนกั เรยี นดำ้ นอน่ื ๗.๓.๑ ข้อมูลเดก็ ปฐมวัยดำ้ นอน่ื ๆ ท่ี รำยกำร จำนวน คิดเปน็ (คน) ร้อยละ* ๑. จานวนเด็กปฐมวัยมีน้าหนัก ส่วนสูง และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ รวมทั้ง ๑๐๑ ๙๕.๒๘ รจู้ ักดูแลตนเองใหม้ ีความปลอดภัย ๑๐๖ ๑๐๐ ๒. จานวนเดก็ ปฐมวัยท่ีปลอดจากปัญหาทางเพศ ยาเสพติด และส่งิ มอมเมา เช่น สรุ า บุหรี่ เครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ เกม ฯลฯ ๑ ๐.๙๔ ๐ ๐ ๓. จานวนเดก็ ปฐมวัยทีม่ คี วามบกพรอ่ งทางรา่ งกาย/เรยี นรว่ ม ๐ ๐ ๔. จานวนเด็กปฐมวัยมภี าวะทพุ โภชนาการ ๑ ๕. จานวนเด็กปฐมวยั ท่มี ีปัญญาเลิศ ๐ ๐.๙๔ ๖. จานวนเดก็ ปฐมวัยทตี่ ้องการความชว่ ยเหลือเปน็ พเิ ศษ ๐ ๐ ๗. จานวนเด็กปฐมวยั ทีอ่ อกกลางคนั (ปกี ารศึกษาปัจจุบนั ) ๐ ๐ ๘. จานวนเด็กปฐมวยั ทม่ี ีเวลาเรียนไม่ถงึ รอ้ ยละ ๘๐ ๑๐๖ ๐ ๙. จานวนเดก็ ปฐมวยั ทเ่ี รียนซ้าช้นั ๑๐๐ ๑๐ จานวนเดก็ ปฐมวัยที่จบหลักสตู รปฐมวยั . หมายเหตุ: รอ้ ยละของนักเรยี นท้งั หมด ๗.๓.๒ ข้อมูลนักเรยี นระดบั กำรศึกษำขั้นพ้นื ฐำนดำ้ นอ่นื ๆ ท่ี รำยกำร จำนวน คดิ เปน็ (คน) ร้อยละ ๑. จานวนนกั เรยี นมนี ้าหนัก ส่วนสูง และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ รวมทั้ง ๒๑๒ ๑๐๐ รู้จกั ดแู ลตนเองให้มีความปลอดภัย ๒๑๒ ๑๐๐ ๒. จานวนนักเรียนท่ีปลอดจากปัญหาทางเพศ ยาเสพติด และส่ิงมอมเมา เช่น สุรา บหุ ร่ี เคร่ืองดมื่ แอลกอฮอล์ เกม ฯลฯ ๑๐ ๔.๗๑ ๐ ๐ ๓. จานวนนกั เรยี นที่มคี วามบกพรอ่ งทางร่างกาย/เรยี นรว่ ม ๐ ๐ ๔. จานวนนกั เรยี นมีภาวะทพุ โภชนาการ ๑๔ ๕. จานวนนกั เรียนที่มีปญั ญาเลิศ ๑ ๖.๖๐ ๖. จานวนนกั เรียนที่ตอ้ งการความชว่ ยเหลือเป็นพเิ ศษ ๑ ๐.๔๗ ๗. จานวนนกั เรียนที่ออกกลางคัน (ปกี ารศึกษาปัจจุบัน) ๐ ๐.๔๗ ๘. จานวนนักเรยี นที่มีเวลาเรยี นไม่ถงึ ร้อยละ ๘๐ ๔๐ ๙. จานวนนกั เรียนที่เรียนซา้ ชนั้ ๒๖ ๐ ๑๐ จานวนนักเรยี นทจี่ บหลกั สตู ร ๑๔ ๙๓.๐๒ ๑๐๐ ประถมศกึ ษำ ๘๒.๓๕ มธั ยมศกึ ษำตอนตน้

๓๘ ๘. ข้อมูลอำคำรสถำนที่ จำนวน ท่ี รำยกำร ๓ หลงั ๑ อาคารเรียน ๑ หลัง ๒ อาคารประกอบ (โรงอาหาร) ๒ หลัง ๓ ห้องนา้ /หอ้ งส้วม ๑ สนาม ๔ สนามเดก็ เลน่ ๑ หลงั ๕ ห้องโสตทศั นูปกรณ์ ๑ หลัง ๖ อาคารห้องสมดุ ๑ หลัง ๗ อาคารเอนกประสงค์ (หอประชุม) ๑ ห้อง ๘ ห้องปฏิบตั ิการคอมพวิ เตอร์ ๑ หอ้ ง ๙ ห้องปฏบิ ตั ิการทางวิทยาศาสตร์ ๑ หอ้ ง ๑๐ ห้องนาฏศิลป์ ๑ หอ้ ง ๑๑ ห้องดนตรี ๑ หอ้ ง ๑๒ หอ้ งจรยิ ธรรม ๑ ห้อง ๑๓ หอ้ งงานคหกรรม ๑ ห้อง ๑๔ ห้องงานประดิษฐ์ ๑ ห้อง ๑๕ ห้องแนะแนว ๑ หอ้ ง ๑๖ หอ้ งพยาบาล ๑ สนาม ๑๗ สนามกีฬาฟตุ บอล ๒ สนาม ๑๘ สนามกฬี าตะกรอ้ ๑ สนาม ๑๙ สนามกฬี าวอลเลยบ์ อล ๑ เวที ๒๐ เวทีมวย ๔ สนาม ๒๑ สนามกฬี าเปตอง ๑ สนาม ๒๒ สนามกรฑี า ๙. ขอ้ มลู สภำพชมุ ชนโดยรวม 9.1 สภำพชมุ ชน รอบบริเวณโรงเรยี นมลี กั ษณะกงึ่ เมอื งมีประชากรประมาณ ๖,๑๙๗ คน บรเิ วณใกลเ้ คียง โดยรอบโรงเรียน ได้แก่ ชุมชนนาอ้อหมู่ 1 – ๙ อาชพี หลักของชมุ ชน คือเกษตรกรรม รบั จ้างและค้าขาย ส่วน ใหญน่ ับถอื ศาสนาพุทธ ประเพณี / ศลิ ปวัฒนธรรมทอ้ งถิน่ ที่เป็นที่รู้จกั โดยท่ัวไป คือ ประเพณบี ญุ ข้าวจ่ี ซมิ ขา้ ว แดกงา เวา้ จาภาษาเลย 9.2 กำรศึกษำของผูป้ กครอง สว่ นใหญ่ จบการศกึ ษาระดบั ช้นั ประถมศึกษา อาชพี หลกั คือ เกษตรกรรม รบั จ้างและค้าขาย สว่ นใหญน่ ับถอื ศาสนาพุทธ ฐานะทางเศรษฐกจิ /รายไดโ้ ดยเฉลย่ี ตอ่ ครอบครัว ต่อปี 6,000 – 8,000 บาท 9.3 โอกำสและข้อจำกดั ของโรงเรยี น โอกำส ผู้เรยี นส่วนใหญ่มีความพร้อมและรักการเรยี น มคี วามพรอ้ มดา้ นปัจจยั สือ่ และเครอ่ื งมือ อุปกรณ์สาหรบั จัดการเรียนรู้ ผู้เรียนให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมตา่ งๆมีลักษณะเดน่ ในการทางาน เป็นทมี กล้าแสดงออกสนใจเรียนรู้ส่งิ ใหม่ๆครมู จี านวนเพียงพอและมคี วามร้คู วามสามารถตรงกับงาน มคี วามพร้อมในการ พัฒนาตนเอง ผูบ้ รหิ ารเอาใจใสแ่ ละกากับติดตามงานอย่างต่อเนอ่ื ง ต้นสงั กดั สง่ เสริมสนบั สนนุ งบประมาณ

๓๙ ข้อจำกัด สถานศึกษาควรพฒั นาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นทุกกลุ่มสาระ ควรส่งเสรมิ กจิ กรรมอยา่ ง หลากหลาย ใหผ้ ู้เรยี นไดพ้ ฒั นาการตามวยั เพ่ิมจานวนนักเรียนตอ่ หอ้ งตามเกณฑ์ จดั การเรยี นรู้เพอื่ พฒั นาการ คดิ วิเคราะห์ สังเคราะห์มากขน้ึ ครคู วรพฒั นาการปฏบิ ตั งิ านอยา่ งเปน็ ระบบมากขนึ้ เพิม่ การพฒั นาครดู ้านการ จัดการเรยี นรทู้ ีเ่ นน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคัญ พัฒนาครใู ห้ใช้สือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศมากขนึ้ 10. โครงสรำ้ งหลักสตู รสถำนศึกษำ โรงเรียนเทศบาลนาออ้ จดั สอนตามหลักสตู รสถานศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 และหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช 256๐ โดยโรงเรียนได้จัดสดั สว่ นสาระการ เรียนรู้และเวลาเรียน ดังแสดงในตารางดังน้ี 10.1 ระดบั กำรศึกษำปฐมวัย โครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษาในระดับการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนเทศบาลนาอ้อ เพื่อใหก้ ารจัดการศกึ ษา เปน็ ไปตามหลกั การ จุดหมายท่ีกาหนดไว้ สถานศึกษาและผทู้ ี่เก่ยี วข้องกับการอบรมเลีย้ งดเู ดก็ จึงได้จดั ทา หลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั มีโครงสรา้ งหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั ดงั นี้ โครงสรำ้ งหลักสูตรกำรศึกษำปฐมวยั พทุ ธศักรำช 25๖๓ ชว่ งอำยุ อำยุ ๓ – 6 ปี ประสบการณส์ าคญั สาระทคี่ วรเรียนรู้ ดา้ นรา่ งกาย เรอ่ื งราวเก่ียวกบั ตัวเดก็ เรอื่ งราว สาระการเรยี นรู้ ดา้ นอารมณแ์ ละจิตใจ เก่ียวกับบคุ คลและสถานท่แี วดลอ้ ม ดา้ นสงั คม เด็ก ธรรมชาตริ อบตวั สิง่ ตา่ ง ๆ ดา้ นสตปิ ญั ญา รอบตวั เด็ก ระยะเวลาเรยี น ๓ ปกี ารศึกษา กำหนดกำรจัดประสบกำรณ์รำยปี โรงเรยี นเทศบาลนาอ้อ สังกดั กองการศึกษา เทศบาลตาบลนาออ้ จัดการศึกษาใหก้ บั เด็กปฐมวยั (อนบุ าล) โดยแบง่ ออกเป็น ๓ ระดับ เวลาเรยี นสาหรบั เด็กปฐมวัย (อนบุ าล) ในโรงเรียนเทศบาล นาออ้ ได้จัดการศึกษาเปน็ 2 ภาคเรยี น ต่อ 1 ปกี ารศกึ ษาหรือ 200 วันต่อปีการศกึ ษา ในแต่ละวันจะใชเ้ วลา 5 – 6 ชว่ั โมง 1. ปฐมวัย(อนุบาล)ปีที่ ๑ อายุ ๓ ปี 2. ปฐมวยั (อนบุ าล)ปีที่ 2 อายุ ๔ ปี ๓. ปฐมวัย(อนุบาล)ปีที่ 3 อายุ ๕ ปี กิจกรรม อนบุ ำลปที ี่ ๑ อนบุ ำลปที ี่ ๒ อนบุ ำลปที ่ี 3 70 ชัว่ โมง/ปี 70 ชวั่ โมง/ปี 70 ช่ัวโมง/ปี 1. กิจกรรมเคลื่อนไหว และจังหวะ 140 ชั่วโมง/ปี 140 ชัว่ โมง/ปี 140 ชั่วโมง/ปี 2. กจิ กรรมเสริม ประสบการณ์ (กิจกรรมใน 140 ช่ัวโมง/ปี 140 ชว่ั โมง/ปี 140 ชัว่ โมง/ปี วงกลม) 70 ชัว่ โมง/ปี 70 ชว่ั โมง/ปี 70 ชว่ั โมง/ปี 3. กิจกรรมสร้างสรรค์ 100 ชวั่ โมง/ปี 100 ช่วั โมง/ปี 100 ชัว่ โมง/ปี 4. กจิ กรรมเสรี 70 ช่วั โมง/ปี 70 ชัว่ โมง/ปี 70 ช่วั โมง/ปี 5. กจิ กรรมกลางแจง้ 6. เกมการศกึ ษา

๑๐.๒ ระดบั ประถมศกึ ษำ เวลำเรียน (ช่ัวโมง) ๔๐ ระดับชั้น กลมุ่ สำระกำรเรยี นร/ู้ กจิ กรรม ป.๖ ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ ๑๖๐ ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ คณติ ศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๘๐ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ - ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม (๘๐) - หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง วฒั นธรรม (๔๐) (๔๐) (๔๐) (๘๐) (๘๐) - เศรษฐศาสตร์ ๔๐ - ภมู ศิ าสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ - ประวตั ศิ าสตร์ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ สุขศึกษาและพลศึกษา ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ศลิ ปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ การงานอาชีพ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๘๐ ๘๐ ๘๔๐ ภาษาต่างประเทศ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๒๔๐ รวมเวลำเรยี น (พนื้ ฐำน) ๒๔๐ ๒๔๐ ๒๔๐ ๒๔๐ ๒๔๐ ๔๐ รำยวิชำเพิ่มเตมิ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ หน้าที่พลเมือง ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ - คอมพิวเตอร์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ - - - สง่ เสรมิ ศักยภาพด้านวชิ าการ ๘๐ ๘๐ ๘๐ - - ๑๖๐ สง่ เสรมิ ศักยภาพด้านดนตรี กฬี า ศิลปะ - - - ๑๖๐ ๑๖๐ ส่งเสรมิ ความเป็นเลศิ ดา้ นวชิ าการ* ป.๖ เวลำเรยี น (ชว่ั โมง) ๒๔๐ ๑๐.๒ ระดบั ประถมศึกษำ (ต่อ) ระดบั ชน้ั - กลมุ่ สำระกำรเรียนร้/ู กิจกรรม ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ - ๒๔๐ ๒๔๐ ๒๔๐ ๒๔๐ ๒๔๐ ๑๖๐ รำยวิชำเพม่ิ เตมิ ๘๐ ๘๐ ๘๐ - - ๑๖๐ ส่งเสริมศกั ยภาพดา้ นวชิ าการ ๘๐ ๘๐ ๘๐ - - ๑๖๐ ส่งเสริมศกั ยภาพด้านดนตรี กฬี า ศลิ ปะ ๑๖๐ ส่งเสริมความเป็นเลศิ ดา้ นวชิ าการ* - - - ๑๖๐ ๑๖๐ สง่ เสริมความเป็นเลศิ ดา้ นกฬี า* - - - ๑๖๐ ๑๖๐ ส่งเสริมความเป็นเลิศด้านดนตรี* - - - ๑๖๐ ๑๖๐ สง่ เสริมความเปน็ เลศิ ด้านศลิ ปะ (ราไทย)* - - - ๑๖๐ ๑๖๐

๔๑ กจิ กรรมพัฒนำผู้เรียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ กจิ กรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ กิจกรรมนักเรยี น ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ - ลูกเสอื /เนตรนารี ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ - ชุมนมุ /ชมรม ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ กิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์ กิจกรรมลดเวลำเรียน เพมิ่ เวลำรู้ ๑,๒๐๐ ๑,๒๐๐ ๑,๒๐๐ ๑,๒๐๐ ๑,๒๐๐ ๑,๒๐๐ รวมเวลำเรียนท้ังหมด * นักเรียนเลอื กเรยี นเพียง ๑ รำยวชิ ำเท่ำน้นั ๑๐.3 ระดบั มัธยมศกึ ษำ กล่มุ สำระกำรเรียนร/ู้ กิจกรรม เวลำเรียน  กลุม่ สาระการเรียนรู้ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ภาษาไทย ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) คณิตศาสตร์ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) - ประวัติศาสตร์ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ - ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม (๔ นก.) (๔ นก.) (๔ นก.) - หน้าทีพ่ ลเมอื ง วฒั นธรรมและการดาเนินชีวิตในสังคม - ภมู ิศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ - เศรษฐศาสตร์ (๑ นก.) (๑ นก.) (๑ นก.) สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ศิลปะ (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) การงานอาชพี ๘๐ ๘๐ ๘๐ (๒ นก.) (๒ นก.) (๒ นก.) ๘๐ ๘๐ ๘๐ (๒ นก.) (๒ นก.) (๒ นก.) ๘๐ ๘๐ ๘๐ (๒ นก.) (๒ นก.) (๒ นก.)

๔๒ ๑๐.3 ระดบั มธั ยมศกึ ษำ (ต่อ) เวลำเรยี น กลุ่มสำระกำรเรยี นร/ู้ กิจกรรม ม.๑ ม.๒ ม.๓  กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ภาษาต่างประเทศ (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) รวมเวลาเรียนรายวิชาพน้ื ฐาน ๘๘๐ ๘๘๐ ๘๘๐  รายวชิ าเพ่ิมเติม (๒๒ นก.) (๒๒ นก.) (๒๒ นก.) หนา้ ทพี่ ลเมือง ๔๐ ๔๐ ๔๐ (๑ นก.) (๑ นก.) (๑ นก.) ความเป็นเลิศดา้ นฟตุ บอล* ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ความเป็นเลิศดา้ นอาหารไทย* (๔ นก.) (๔ นก.) (๔ นก.) ความเปน็ เลิศด้านงานประดษิ ฐ์* ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ (๔ นก.) (๔ นก.) (๔ นก.) ความเปน็ เลิศดา้ นคอมพิวเตอร์* ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ความเป็นเลิศดา้ นภาษาจนี * (๔ นก.) (๔ นก.) (๔ นก.) รวมเวลาเรยี นรายวิชาเพ่ิมเตมิ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐  กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน (๔ นก.) (๔ นก.) (๔ นก.) กจิ กรรมแนะแนว ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ กิจกรรมนักเรียน (๔ นก.) (๔ นก.) (๔ นก.) - ลูกเสอื /เนตรนารี - ชมุ นุม/ชมรม ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ (๕ นก.) (๕ นก.) (๕ นก.) กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ กจิ กรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ รวมเวลาเรยี นท้งั หมด ๔๐ ๔๐ ๔๐ * นักเรยี นเลอื กเรยี นเพียง ๑ รายวชิ าเทา่ นน้ั ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑,๒๐๐ ๑,๒๐๐ ๑,๒๐๐

๔๓ โครงสร้ำงเวลำเรียนหลกั สูตรสถำนศึกษำโรงเรียนเทศบำลนำออ้ ตำมหลักสูตรแกนกลำง พทุ ธศักรำช ๒๕๕๑ช้นั มธั ยมศึกษำตอนปลำย (แผนกำรเรียนศลิ ป์ – ทวั่ ไป) ม.๔ ม.๕ ม.๖ กล่มุ สำระ ภำค ภำคเรียน ภำคเรยี น ภำคเรียน ภำคเรียน ภำคเรียน เรียนท่ี ท่ี ๒ ท่ี ๑ ท่ี ๒ ท่ี ๑ ท่ี ๒ ๑ สาระการเรยี นรูพ้ ื้นฐาน ภาษาไทย ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ คณติ ศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ วิทยาศาสตร์และ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ เทคโนโลยี สังคมศกึ ษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ศาสนาและ วฒั นธรรม ประวตั ศิ าสตร์ ๔๐ ๔๐ - - - - สขุ ศึกษาและพล ๔๐ ๔๐ ๒๐ - ๒๐ - ศึกษา ศลิ ปะ ๔๐ ๔๐ ๒๐ - ๒๐ - การงานอาชีพ ๔๐ ๔๐ - - ๒๐ ๒๐ ภาษาตา่ งประเทศ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ รวมเวลาเรยี น ๓๖๐ ๓๖๐ ๒๔๐ ๒๐๐ ๒๖๐ ๒๒๐ พ้นื ฐาน สาระการเรยี นรู้ ๒๔๐ ๒๔๐ ๓๒๐ ๓๖๐ ๓๒๐ ๓๖๐ เพ่มิ เตมิ ภาษาไทย ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ วิทยาศาสตร์และ - - - - ๔๐ ๔๐ เทคโนโลยี สงั คมศกึ ษา ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ศาสนาและ วฒั นธรรม สุขศึกษาและพล ๘๐ ๔๐ - ๔๐ ๔๐ ๔๐ ศกึ ษา ศิลปะ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ การงานอาชีพ - - ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ภาษาตา่ งประเทศ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

๔๔ กลมุ่ สำระ ม.๔ ม.๕ ม.๖ ภำคเรียน ภำคเรียน ภำคเรยี น ภำคเรียน ภำคเรยี น ภำคเรยี น กจิ กรรมพัฒนา ผู้เรียน ท่ี ๑ ท่ี ๒ ท่ี ๑ ท่ี ๒ ท่ี ๑ ท่ี ๒ แนะแนว ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ กจิ กรรมพัฒนา ผเู้ รยี น ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ รด./บาเพญ็ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ประโยชน์/ชุมนมุ เพ่ือสงั คมและ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ สาธารณะ ประโยชน์ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ กิจกรรมลดเวลา เรียนเพ่ิมเวลารู้ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๖๐ ๖๐ กิจกรรมป้องกนั การทจุ รติ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ กิจกรรมศกึ ษา ค้นคว้าอสิ ระ ๒๐ ๒๐ ๖๐ ๖๐ ๔๐ ๔๐ รวม ๗๐๐ ๗๐๐ ๗๐๐ ๗๐๐ ๗๐๐ ๗๐๐

๔๕ โครงสร้ำงเวลำเรียนหลกั สตู รสถำนศึกษำโรงเรยี นเทศบำลนำออ้ ตำมหลักสูตรแกนกลำง พทุ ธศกั รำช ๒๕๕๑ ช้นั มัธยมศึกษำตอนปลำย (แผนกำรเรียนศิลป์ – ทั่วไป) โครงกำรควำมร่วมมือเปิดหลกั สตู รประกำศนียบตั รวิชำชพี (ปวช.)ควบคูห่ ลักสูตรกำรศึกษำขนั้ พน้ื ฐำน สำขำวิชำ ชำ่ งเชื่อม ม.๔ ม.๕ ม.๖ กลุ่มสำระ ภำคเรียนท่ี ภำคเรยี นท่ี ภำคเรียนท่ี ภำคเรยี นท่ี ภำคเรียนท่ี ภำคเรียนท่ี ๑๒๑๒๑๒ สาระการเรยี นร้พู ืน้ ฐาน ภาษาไทย ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ คณติ ศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ วิทยาศาสตร์และ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ เทคโนโลยี สังคมศกึ ษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ศาสนาและ วฒั นธรรม ประวตั ิศาสตร์ ๔๐ ๔๐ - - - - สขุ ศึกษาและพล ๔๐ ๔๐ ๒๐ - ๒๐ - ศกึ ษา ศลิ ปะ ๔๐ ๔๐ ๒๐ - ๒๐ - การงานอาชพี ๔๐ ๔๐ - - ๒๐ ๒๐ ภาษาต่างประเทศ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ รวมเวลาเรียน ๓๖๐ ๓๖๐ ๒๔๐ ๒๐๐ ๒๖๐ ๒๒๐ พนื้ ฐาน สาระการเรยี นรู้ ๑๖๐ ๔๘๐ ๕๔๐ ๗๒๐ ๕๖๐ ๕๖๐ เพิ่มเติม การงานอาชีพ ๑๖๐ ๔๘๐ ๕๔๐ ๗๒๐ ๕๖๐ ๕๖๐ และเทคโนโลยี กิจกรรมพฒั นา ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ผเู้ รยี น แนะแนว ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ลกู เสอื ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ชุมนมุ /เพ่อื สงั คม ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ และสาธารณะ ประโยชน์ กิจกรรมลดเวลา ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ เรียนเพม่ิ เวลารู้ กิจกรรมปอ้ งกัน ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ การทจุ ริต รวม ๖๐๐ ๙๒๐ ๘๖๐ ๑,๐๐๐ ๙๐๐ ๘๖๐

๔๖ ๑๑. แหลง่ เรยี นรู้ ภมู ิปัญญำทอ้ งถ่ิน ๑๑.๑ ห้องสมดุ มีพ้ืนที่ขนาด ๔๘ ตารางเมตร หนังสือในห้องสมุดมีจานวน ๑,๓๓๗ เลม่ การสืบค้นหนังสือ และการยืม-คืน ใช้ระบบบัตรยืมหนังสือ มีเครื่องคอมพิวเตอร์ให้บริการสืบค้นเทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุด จานวน .......-...... เครื่อง มีจานวนนักเรียนที่ใช้ห้องสมุด (ในปีการศึกษาที่รายงาน) เฉล่ีย ๘๐ คน ต่อวัน คิดเป็น ร้อยละ ๕๓.๓๔ ของนักเรียนทั้งหมด มีการให้บริการห้องสมุดแก่ชุมชนรอบนอก โดยมีบุคคลมาใช้บริการ เฉล่ีย ......-....คน ตอ่ ปี (ในปีการศกึ ษาท่รี ายงาน) ๑๑.๒ ห้องปฏบิ ตั ิกำร ทั้งหมด ๗ หอ้ ง จาแนกเป็น 1) ห้องปฏบิ ตั ิการวิทยาศาสตร์ จานวน ………๑………. หอ้ ง 2) ห้องปฏิบัติการคอมพวิ เตอร์ จานวน ………๑.……. ห้อง 3) หอ้ งนาฏศลิ ป์ จานวน ………๑………. หอ้ ง 4) หอ้ งดนตรี จานวน .........๑.......... หอ้ ง 5) หอ้ งจรยิ ธรรม จานวน .........๑.......... หอ้ ง 6) หอ้ งส่อื การเรยี นการสอน (DLIT) จานวน .........๒.......... ห้อง 7) ห้องโสตทัศนูปกรณ์ จานวน .........๑.......... หอ้ ง ๑๑.๓ เครื่องคอมพวิ เตอร์ ทั้งหมด จานวน ๒๖ เครอ่ื ง จาแนกเปน็ ๑) ใช้เพือ่ การเรยี นการสอน จานวน ………๒๖………. เคร่ือง ๒) ใช้เพือ่ ให้บรกิ ารสืบค้นขอ้ มลู ทางอินเทอร์เนต็ จานวน ………๒๖...………. เครื่อง โดยมจี านวนนกั เรยี นที่ใช้บริการสืบคน้ ขอ้ มลู ทางอินเตอร์เน็ต (ในปกี ารศกึ ษาทร่ี ายงาน) เฉล่ยี ๖๐ คน ต่อวัน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๙.๔๒ ของนกั เรยี นท้งั หมด ๓) ใช้เพอ่ื สนับสนุนการบริหารสถานศึกษา (สานักงาน) จานวน ………๓………. เคร่อื ง ๑๑.๔ แหล่งเรยี นรูภ้ ำยในโรงเรียน สถิตกิ ำรใช้ ท่ี ชอื่ แหล่งเรียนรู้ จำนวนครั้ง/ปี ๑ หอ้ งสมดุ โรงเรียน เปน็ ประจา ๒ หอ้ งโสตทัศนปู กรณ์ เป็นประจา ๓ หอ้ งปฏิบัตกิ ารคอมพวิ เตอร์ เปน็ ประจา ๔ ลานวัฒนธรรมเฉลมิ พระเกยี รติ เป็นประจา ๕ ศนู ย์บรู ณาการทอ้ งถ่นิ ศกึ ษา เป็นประจา ๖ หอ้ งปฏิบตั กิ ารทางวิทยาศาสตร์ เป็นประจา ๗ ห้องจรยิ ธรรม เป็นประจา ๘ ศนู ย์การเรยี นรู้ดา้ นการท่องเท่ยี ว เปน็ ประจา ๙ ห้องดนตรี เปน็ ประจา ๑๐ ห้องนาฏศลิ ป์ เป็นประจา ๑๑ หอ้ งคหกรรม เป็นประจา ๑๒ ห้องงานประดิษฐ์ เปน็ ประจา ๑๓ ห้องสอื่ การเรยี นการสอน (DLIT) เปน็ ประจา

๔๗ ๑๑.๕ แหลง่ เรยี นรภู้ ำยนอกโรงเรียน สถติ กิ ำรใช้ ที่ ช่ือแหลง่ เรยี นรู้ จำนวนครั้ง/ปี ๑ วัดธรรมวราลงั การ เป็นประจา ๒ พิพิธภัณฑ์ประภัสจนั ทโชติ วัดศรีจันทร์ เปน็ ประจา ๓ สนามกฬี าเทศบาลตาบลนาออ้ เปน็ ประจา ๔ ลานวัฒนธรรม เทศบาลตาบลนาอ้อ เปน็ ประจา ๕ วัดถา้ ผาปู่ ๖ วัดหว้ ยหา้ ว ๓ ๗ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เลย ๓ ๘ ศนู ยว์ ัฒนธรรมจงั หวัดเลย ๓ ๙ คา่ ยทหาร ร.๘ พนั ๑ ๓ ๑๐ สานกั งานเทศบาลตาบลนาอ้อ ๑ ๑๑ สวนสมนุ ไพร เฉลิมพระเกียรติ เทศบาลตาบลนาอ้อ เป็นประจา ๑๒ ห้างสรรพสินค้าบิ๊กซี เป็นประจา ๑๓ พิพธิ ภัณฑศ์ ิลปวัฒนธรรม จังหวดั เลย ๑ ๑๔ พพิ ธิ ภัณฑ์หอยหิน 150 ล้านปี และซากฟอสซิลไดโนเสาร์จังหวัด ๑ ๑ หนองบวั ลาภู ๑๕ สกายวอล์ค อ.เชยี งคาน จ.เลย ๑ ๑๖ หม่บู ้านไทดา อ.เชียงคาน จ.เลย ๑ ๑๗ ถนนคนเดิน อ.เชียงคาน จ.เลย ๑ ๑๑.๖ ภมู ปิ ัญญำทอ้ งถ่นิ ปรำชญช์ ำวบำ้ น ผทู้ รงคณุ วุฒิ วทิ ยำกร ทีส่ ถานศกึ ษาเชิญมาให้ความรู้แกค่ รู นกั เรยี น ท่ี ชื่อ-สกลุ ใหค้ วำมรเู้ ร่ือง จำนวนครง้ั /ปี ๑ นางวฒั นา จลุ ะนนั ท์ การทาขา้ วจ่ี ๒ ๑ ๒ นางจันจิรา กนิ รีสี ผักชุบแปง้ ทอด ๑ ๑ ๓ นางสาวจนั ทรเ์ พ็ญ แสนคาคูณ การทาดอกแก้วกลั ยา ๒ ๒ ๔ นางสาวแปลก ชชั วาลย์ การทาดอกไม้จากผ้าใยบวั ๒ ๓ ๕ ยายแจม๋ การสานพดั จากไมไ้ ผ่ ๓๘ ๓๘ ๖ นางสาวประเทือง เร่งรอ้ น การละเลน่ พนื้ บ้าน ๑๖ ๓ ๗ นางไพรวรรณ แสงชมพู การสานตะกร้า (งานประดษิ ฐ์) ๘ นางบุญมี พทุ ธมาตย์ การทาขา้ วจี่ ๙ พระวัชระ วิวฒั ฑโน พระพทุ ธศาสนา ๑๐ พระบรรจง พรหมวณั โณ พระพทุ ธศาสนา ๑๑ ดต.สากล เจริญภมู ิและคณะ พิษภยั ของยาเสพตดิ ๑๒ กลุ่มอาชพี และเจ้าหน้าที่ การทาหนา้ กากอนามยั สาธารณสุข

๔๘ ๑๒. ผลงำนดเี ดน่ ในรอบปที ่ผี ำ่ นมำ ๑๒.๑ ผลงำนดีเดน่ ประเภท ระดบั รำงวัล/ชอ่ื รำงวัลท่ไี ดร้ ับ/วนั ท่ไี ด้รบั หนว่ ยงำนที่ให้ สถำนศกึ ษำ ได้รบั การคัดเลอื กระดับเขตพน้ื ที่การศกึ ษาใน สถำนศึกษำ สถำนศึกษำ โครงการคดั เลอื กนักเรียนและสถานศกึ ษา สานกั งานเขตพ้นื ที่ เพ่อื รบั รางวลั พระราชทาน ระดับการศึกษา การศึกษา ประถมศกึ ษา ข้นั พื้นฐาน ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ ระดบั เลย เขต ๑ ประถมศึกษา ขนาดกลาง ได้รับการคัดเลอื กระดบั จงั หวัดในโครงการ คดั เลือกนกั เรียนและสถานศึกษา เพื่อรบั สานักงานเขตพื้นที่ รางวัลพระราชทาน ระดับการศกึ ษาขัน้ การศกึ ษา ประถมศกึ ษา พื้นฐาน ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ ระดับ เลย เขต ๓ ประถมศึกษา ขนาดกลาง การแขง่ ขันดนตรีพน้ื บ้าน รบั รางวลั รอง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง ชนะเลศิ อันดับ 1 กรณราชวิทยาลัย ประเภท ระดบั รำงวัล/ชอื่ รำงวลั ทีไ่ ดร้ บั /วันท่ี หนว่ ยงำนท่ีให้ ได้รบั ผู้บรหิ ำร/ครู พฒั นาสถานศึกษาจนได้รับการคัดเลือก สานกั งานเขตพ้ืนที่ นางสมใจ ปิตโุ ส และคณะครู ระดับเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาในโครงการ การศกึ ษา ประถมศกึ ษา โรงเรยี นเทศบาลนาอ้อ คดั เลือกนกั เรยี นและสถานศึกษา เพื่อรบั เลย เขต ๑ รางวลั พระราชทาน ระดบั การศึกษาข้ัน ผู้บรหิ ำร พื้นฐาน ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ ระดับ สมาคมครู ผดู้ ูแลเดก็ นางสมใจ ปิตุโส ประถมศกึ ษา ขนาดกลาง และบคุ ลากรองคก์ ร ไดร้ ับรางวลั “ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาดีเดน่ ” ปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ครู เนอ่ื งในโอกาสวนั ครู ประจาปี ๒๕๖๔ สมาคมครู ผูด้ ูแลเด็ก นางสาวอรชร ผานิล และบคุ ลากรองค์กร ไดร้ บั รางวัล “ครผู สู้ อนดเี ด่น” เน่อื งใน ปกครองส่วนท้องถน่ิ นักเรียน โอกาสวันครู ประจาปี ๒๕๖๔ มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลง เดก็ หญิงนติ ยา จาปาอ่วม กรณราชวิทยาลยั เดก็ หญิงณฐั กานต์ จาปาอว่ ม รบั รางวลั รองชนะเลิศอันดับ 1 การ วทิ ยาลัยสงฆเ์ ลย เด็กหญงิ ศรัณภทั ร เฉยฉิว ประกวดวงดนตรโี ปงลาง (ระดบั เด็กหญงิ มนปรยิ า จนิ ดา ประถมศึกษา) “โครงการอนรุ ักษ์ เดก็ หญิงวรัญญา มฐั ผา ศิลปะการแสดงท้องถ่ิน”

๔๙ ๑๒.๒ งำน/โครงกำร/กิจกรรม ท่ปี ระสบผลสำเรจ็ จนไดร้ ับกำรยอมรบั หรอื เป็นตัวอยำ่ งกำรปฏิบัติ (ระดับ ปฐมวยั /กำรศกึ ษำขน้ั พื้นฐำน) ชื่อ วตั ถุประสงค์/ วธิ ดี ำเนนิ กำร ตัวบ่งช้ี ควำมสำเร็จ ท่ี งำน/โครงกำร/ เปำ้ หมำย (โดยยอ่ ) (ร้อยละ) กิจกรรม ๑๐๐ ๑. กจิ กรรมเพือ่ สังคม เพอื่ ส่งเสริมให้ผู้เรยี นมี -จัดกจิ กรรมทาความสะอาดใน และ จติ สานึกในการ โรงเรียนทุกสัปดาห์ สาธารณประโยชน์ อนรุ ักษแ์ ละพฒั นา -จัดกจิ กรรมสภานกั เรียนจติ อาสา สงิ่ แวดลอ้ ม พฒั นาชมุ ชน ๒. กจิ กรรมลูกเสอื / เพ่ือสง่ เสรมิ ให้ผู้เรียนมี -จดั กจิ กรรมลูกเสอื /เนตรนารี ทกุ ๑๐๐ ๑๐๐ เนตรนารี คุณธรรม จริยธรรม วันพธุ ๑๐๐ และคุณลักษณะท่พี ึง -จัดกจิ กรรมเขา้ คา่ ยพักแรม เดนิ ๑๐๐ ประสงค์ ทางไกล ๓. โครงการศูนยก์ าร เพื่อสง่ เสริมใหน้ กั เรยี น ๑) รับสมคั รนกั เรยี นทสี่ นใจเข้ารว่ ม เรียนรดู้ ้านการ มคี วามร้เู กย่ี วกบั การ โครงการ ท่องเท่ียวใน เป็นเจ้าบา้ นน้อยที่ดี ๒) ประสานจดั หาวิทยากร สถานศึกษาสงั กัด ฝกึ ทกั ษะการบรรยาย ๓) ดาเนนิ การจดั อบรมให้ความรูใ้ น องคก์ รปกครอง การพูดในท่ี เรื่องการทอ่ งเทีย่ ว ส่วนท้องถน่ิ สาธารณชน ๔) ฝึกจากประสบการณต์ รงจาก บคุ ลกิ ภาพเพิ่มพนู แหลง่ ท่องเทยี่ วในชุมชน ความรูเ้ ก่ียวกบั สถานท่ี ๕) มอบวฒุ บิ ัตรแก่ผูเ้ ข้ารว่ ม ทอ่ งเท่ียวทสี่ าคญั ใน โครงการ พนื้ ที่ ๖) คัดเลือกเจา้ บ้านนอ้ ยท่ีดี เพื่อ ฝกึ ปฏบิ ตั ิ กิจกรรมภาคสนาม ๔. โครงการสภา เพือ่ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมี -ประชาสัมพันธก์ ารรับสมคั ร นกั เรียน คณุ ธรรม จริยธรรม สมาชกิ สภานกั เรยี น ดารงชีวติ ตามระบอบ -รบั สมคั รสมาชิกสภานักเรียน ประชาธิปไตย -ผสู้ มัครประชาสัมพันธห์ าเสยี ง เลือกตัง้ -ลงคะแนนเลอื กสมาชกิ สภา นักเรียน-ประกาศผลการเลือกต้งั – แตง่ ตัง้ คณะกรรมการสภานกั เรยี น ๕. กจิ กรรมวนั สาคัญ เพ่อื สง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี น -จัดกจิ กรรมให้ผูเ้ รยี นเข้าร่วมในวนั ประจาปี ตระหนัก เห็นคณุ คา่ สาคญั ประจาปีกบั ชุมชนทุกครั้ง และมีสว่ นร่วมในการ อนุรักษ์วฒั นธรรมและ ภูมปิ ัญญาไทย

๕๐ ช่ือ วัตถุประสงค์/ วิธดี ำเนินกำร ตวั บง่ ช้ี ท่ี งำน/โครงกำร/ เปำ้ หมำย (โดยยอ่ ) ควำมสำเรจ็ กิจกรรม (รอ้ ยละ) ๖. กจิ กรรมวนั สาคัญ เพอื่ สง่ เสริมให้ผู้เรียน -จดั กจิ กรรมให้ผู้เรยี นเขา้ รว่ มในวนั ๑๐๐ ทางศาสนา ตระหนกั เห็นคุณค่า สาคญั ทางศาสนา และมสี ่วนร่วมในการ อนรุ ักษว์ ฒั นธรรมและ ภมู ิปัญญาไทย ๗. โครงการสง่ เสริม เพือ่ ให้ผู้เรียนมีทักษะ -จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนกฬี า ๗๓.๓๓ ความเปน็ เลิศด้าน ความสามารถทางกฬี า มวยไทย ส่งเสริมนักเรียนเขา้ รว่ ม กฬี า(มวยไทย) มวยไทย มีการฝกึ แขง่ ขนั กฬี ามวยไทย ปฏิบัติทด่ี ีในการเลน่ และการเปน็ นกั กีฬา มวยไทย ๘. โครงการส่งเสริม เพื่อศกึ ษาและเรียนรู้ -จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนวิชา ๖๘ ความเปน็ เลิศดา้ น วิธีการฝกึ ปฏิบัตดิ นตรี ดนตรี ดนตรี -จดั ตงั้ วงดนตรขี องโรงเรียน ๙. โครงการสง่ เสริม เพอ่ื ให้นักเรียนได้ -จัดกจิ กรรมการเรียนการสอน ๑๐๐ ความเป็นเลิศดา้ น แสดงออกซ่งึ นาฏศลิ ป์ ศิลปะ (ราไทย) ความสามารถในดา้ น -จดั ตั้งวงดนตรีนาฏศลิ ป์ ทกั ษะทางด้านราไทย ๑๐. โครงการส่งเสริม เพอ่ื สง่ เสริมใหน้ ักเรียน จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนวชิ า ๑๐๐ ความเปน็ เลิศด้าน มีความเปน็ เลิศดา้ น ภาษาจนี ภาษาจนี ภาษาจนี ๑๒.๓ โครงกำร/กิจกรรมพิเศษ ท่ีดำเนินกำรตำมนโยบำยชำติ นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จุดเน้น แนวทางการปฏิรูป การศึกษา ฯลฯ ได้แก่ ๑๒.๑ กิจกรรมสง่ เสริมค่านิยมหลกั ๑๒ ประการ ๑๒.๒ โครงการศาสตร์พระราชา (ศนู ย์บูรณาการท้องถิ่นศึกษา) ๑๒.๓ โครงการรณรงคป์ ้องกนั ยาเสพตดิ ในสถานศึกษา ๑๒.๔ โครงการเจ้าบา้ นนอ้ ยท่ีดี ๑๒.๕ กิจกรรมเสริมหลกั สตู ร “โตไปไม่โกง” ๑๒.๖ โครงการพฒั นาการจดั การศึกษาโดยใชโ้ รงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาทอ้ งถ่นิ (SBMLD) ๑๒.๗ กิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่มิ เวลารู้ ๑๒.๘ กิจกรรมเสรมิ หลักสูตร “ต่อต้านการทุจริต” ๑๒.๙ โครงการศูนย์การเรยี นร้ดู า้ นการท่องเท่ยี ว