Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore annualreport2559

annualreport2559

Published by sukanya nunn, 2021-03-17 03:34:23

Description: annualreport2559

Search

Read the Text Version

๔ ภาพรวม 6 คณะกรรมการการทางพิเศษเเหง่ ประเทศไทย ดา้ นการเงิน ๑๘ เเผนภูมิองคก์ ารเเละอัตรากำ�ลัง 3ประ สธาานรกรรมการ ๒๐ คณะผู้บรหิ ารการทางพเิ ศษเเห่งประเทศไทย การทางพเิ ศษเเหง่ ประเทศไทย ๒๖ ประวัตผิ ้บู รหิ ารระดบั สูงและค่าตอบแทน 2 ท ศิ ทางองคก์ าร ๒๘ การพฒั นาบคุ ลากร ๒๙ จรรยาบรรณในการดำ�เนินงานของ การทางพิเศษเเหง่ ประเทศไทย ๓๐ เเนวทางการเสริมสร้างการกำ�กบั ดูเเลกจิ การ ในการทางพเิ ศษเเหง่ ประเทศไทย 7๒ รายงานผลการด�ำ เนนิ งาน ของคณะกรรมการตรวจสอบ สารบญั 7๔ การวเิ คราะห์การด�ำ เนนิ งาน 7๗ การควบคุมภายใน 7๘ การบริหารความเส่ียง ๗๙ การวจิ ัยเเละพฒั นาการใหบ้ รกิ ารทางพเิ ศษ ๘๒ ก ารดำ�เนินงานด้านความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม ของการทางพเิ ศษเเหง่ ประเทศไทย 8๔ ผลการด�ำ เนินงานในรอบปี ๒๕๕๙ ๙๑ ก ารดำ�เนินงานตามพระราชบญั ญตั ิ ขอ้ มูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ๙๔ ร ายงานความรบั ผิดชอบของคณะกรรมการ ตอ่ รายงานทางการเงิน ๙๕ รายงานของผสู้ อบบัญชเี เละรายงานการเงิน 9๗ งบการเงนิ ๑๐๒ หมายเหตุประกอบงบการเงนิ ๑1๖ สถติ กิ ารใช้ทางพิเศษ ๑๒๘ เเผนที่ทางพเิ ศษ

ทศิ ทางองคก์ าร วสิ ยั ทศั น์ ทางเลอื กทคี่ ้มุ ค่า พฒั นาก้าวไกล ใสใ่ จสิ่งแวดลอ้ ม ภารกิจ (พันธกิจ) 1. จดั ใหม้ ี พฒั นา/ปรับปรุงทางพเิ ศษให้เป็นไปตามมาตรฐาน และปลอดภยั 2. บริการอย่างมีนวัตกรรมและคุณคา่ เพม่ิ 3. บรหิ ารจดั การสนิ ทรพั ยอ์ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เพอื่ เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพการด�ำ เนนิ ธรุ กจิ ทางพเิ ศษและประโยชน์ต่อสงั คม 4. พฒั นาระบบการบริหารจดั การและการลงทนุ เพ่ือเพิ่มมลู ค่าองค์การ ยทุ ธศาสตรก์ ารดำ�เนนิ งาน ยุทธศาสตรท์ ี่ ๑ : พัฒนาธุรกิจและบริการ ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรให้เต็ม ประสิทธิภาพเพ่ือสร้างรายได้ และเสริมสร้างคุณภาพการให้ บรกิ าร รวมทั้งแกป้ ญั หาการจราจร ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๒ : เพิ่มประสิทธิภาพการบำ�รุงรักษา การควบคุมดูแลรักษา ความปลอดภัยและคุณภาพสิ่งแวดล้อมเพื่อลดความสูญเสีย และเสริมสรา้ งคณุ ภาพชีวิตท่ดี แี กล่ ูกค้าประชาชน และสงั คม ยุทธศาสตร์ที่ ๓ : พัฒนาการบริหารจัดการ และกำ�กับดูแลองค์การที่ดี เพื่อเพ่ิม ประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลของระบบงาน และเสริมสร้างขดี ความสามารถในการดำ�เนินธุรกิจรวมทั้งเสริมสร้างภาพลักษณ์ องคก์ าร ตลอดจนเสรมิ สรา้ งสมรรถนะและคณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ขี อง บุคลากร ยุทธศาสตรท์ ่ี ๔ : สรา้ งสรรค์องค์ความร้แู ละนวัตกรรมดา้ นทางพเิ ศษ 2 รายงานประจ�ำ ปี 255๙

สารประธานกรรมการ การทางพิเศษแหงประเทศไทย พลเอก วิวรรธน สชุ าติ ประธานกรรมการการทางพิเศษแหงประเทศไทย ป ๒๕๕๙ การทางพเิ ศษแหง ประเทศไทยไดด าํ เนนิ ภารกจิ หลกั ในการใหบ รกิ ารทางพเิ ศษ ภายใตว สิ ยั ทศั น “มงุ มน่ั พฒั นา ทางพเิ ศษ เพอ่ื ใหบริการทด่ี ี มคี วามคุมคา สะดวก รวดเรว็ ปลอดภยั อยา งยง่ั ยนื ” ดวยการเรงรดั พัฒนาทางพเิ ศษทกุ สายทางให สามารถเชอื่ มโยงเปน โครงขา ยทส่ี มบรู ณ โดยในปท ผี่ า นมา เมอ่ื วนั ท่ี ๒๒ สงิ หาคม ๒๕๕๙ ไดเ ปด ใหบ รกิ ารทางพเิ ศษสายศรรี ชั -วงแหวน รอบนอกกรุงเทพมหานคร เพื่อขยายโครงขายทางพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยขยายขอบขายการใหบริการจาก ทางพเิ ศษศรรี ชั ไปทางทศิ ตะวนั ตกของกรงุ เทพมหานคร สนิ้ สดุ ทถี่ นนวงแหวนรอบนอกกรงุ เทพมหานครฝง ตะวนั ตก เพอ่ื แบง เบาปรมิ าณ จราจรบนถนนระดบั ดนิ และระบายการจราจรทางดา นทศิ ตะวนั ตกระหวา งกรงุ เทพมหานครและจงั หวดั ใกลเ คยี งใหม ปี ระสทิ ธภิ าพมากขนึ้ นอกจากการดําเนินการกอสรางทางพิเศษแลว การทางพิเศษแหงประเทศไทยยังไดพัฒนาระบบเก็บคาผานทางพิเศษ อัตโนมตั ิ โดยใชบตั รอัตโนมตั ิ (Easy Pass) อยา งตอ เน่ือง ไมว าจะเปน การปรบั ปรงุ ระบบซอฟตแ วรของระบบจัดเกบ็ ขอมูลใหส ามารถ รองรบั ขอ มลู ผใู ชบ รกิ ารไดเ พม่ิ มากขนึ้ รวมถงึ การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพของระบบเกบ็ คา ผา นทางพเิ ศษอตั โนมตั ิ และการพฒั นาเพม่ิ ชอ งทาง การทําธุรกรรมตาง ๆ ท่ีเก่ียวกับ Easy Pass อาทิ เพิ่มชองทางการเติมเงินคาผานทางพิเศษในบัตร และการสมัครใชบริการบัตร Easy Pass ในอนาคต ทง้ั นี้ กระทรวงคมนาคมไดมนี โยบายใหด ําเนินการเชือ่ มตอระบบเกบ็ คา ผา นทางพิเศษอัตโนมัตริ วมกนั ระหวาง การทางพเิ ศษแหง ประเทศไทยกับกรมทางหลวง ซงึ่ จะไดม กี ารลงนามบนั ทึกขอ ตกลงความรวมมอื เพ่ือเช่อื มตอระบบบัตร Easy Pass และบัตร M-Pass ภายใตร ะบบเก็บคาผานทางอตั โนมัติ (Electronic Toll Collection System : ETCS) รวมกันในเดือนตุลาคม ๒๕๕๙ การใหบรกิ ารดา นความปลอดภยั แกผใู ชบรกิ ารทางพเิ ศษ เปนอกี หนึง่ ภารกจิ สาํ คัญทีไ่ ดด าํ เนนิ การเพ่มิ ขีดความสามารถ ดานการกูภัย การจัดการจราจร การพัฒนาพื้นท่ีในเขตทางพิเศษเพ่ือสาธารณประโยชน การใหบริการขอมูลผูใชบริการ (EXAT Call Center) หมายเลขโทรศัพท ๑๕๔๓ ตลอด ๒๔ ช่ัวโมง ซ่ึงมีผลใหไดรับการรับรองมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพดานบริการ ISO 9001 : 2008 และมาตรฐานระบบการจดั การสงิ่ แวดลอ ม ISO 14001 : 2004 รวมถึงการดําเนินงานเพอ่ื ตอบแทนคนื สูสงั คม โดยการจัดกจิ กรรมตา ง ๆ อยางตอ เน่อื ง อาทิ กจิ กรรมแบง ปน รอยย้ิมแดน องริมทางดว น กจิ กรรมทางดว นเพ่ือเยาวชน และโครงการ จติ อาสาทางดว นไทย เปน ตน สําหรับโครงการทางพิเศษในป ๒๕๖๐ การทางพิเศษแหงประเทศไทยจะเรงดําเนินการโครงการทางพิเศษสาย พระราม ๓-ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ระยะทาง ๑๙ กิโลเมตร เพ่ือบรรเทาปญหาจราจรและความหนาแนน ของทางพิเศษเฉลิมมหานคร ชวงบางโคล-ดาวคะนอง โดยจะเปนเสนทางรองรับในกรณีที่สะพานพระราม ๙ จําเปนตองปด การจราจรเพ่ือซอมบํารุงเนื่องจากเปดใชงานมาแลวเกือบ ๓๐ ป ซึ่งมีกําหนดการกอสรางแลวเสร็จพรอมเปดใหบริการไดในป ๒๕๖๓ ท้ังนี้ การทางพเิ ศษแหง ประเทศไทยยังไดเ รงดาํ เนินโครงการระบบทางดว นขั้นท่ี ๓ สายเหนือ ตอน N2 และ E-W Corridor ดานตะวันออก ใหสามารถเริม่ ดาํ เนนิ การไดใ นป ๒๕๖๐ เชนกนั ความสําเร็จที่ผานมาการทางพิเศษแหงประเทศไทยยึดหลักเกณฑการบริหารงานท่ีตอบสนองนโยบายของรัฐบาล โดย ไดรับการสนับสนุนและความรวมมือเปนอยางดีจากพนักงานและลูกจางการทางพิเศษแหงประเทศไทย รวมถึงผูใชบริการทางพิเศษ ตลอดจนหนวยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวของ ทําใหสามารถดําเนินงานไดบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายท่ีกําหนดไว มุงสูการเปน องคการทีใ่ หบรกิ ารทางพิเศษอยางมีคุณภาพบนรากฐานการบรกิ ารและดําเนนิ งานอยางโปรงใส พลเอก (ววิ รรธน สชุ าติ) ประธานกรรมการการทางพิเศษแหงประเทศไทย ๓รายงานประจําป ๒๕๕๙

ภาพรวมด้านการเงิน หนว่ ย : ล้านบาท รายการ 2559 2558 เปลย่ี นแปลง เพ่ิม (ลด) จำ�นวนเงนิ รอ้ ยละ ผลการด�ำ เนนิ งาน (สำ�หรับปีสน้ิ สดุ 30 กันยายน) รายได้รวม 16,406.41 16,059.90 346.51 2.16 คา่ ใชจ้ า่ ยรวม 7,481.69 7,679.22 (197.53) (2.57) กำ�ไร (ขาดทุน) เบด็ เสรจ็ 8,924.72 8,380.68 544.04 6.49 ฐานะทางการเงิน (ณ 30 กันยายน) สนิ ทรัพยร์ วม 198,898.52 180,696.01 18,202.51 10.07 หน้สี นิ รวม 84,483.73 68,903.34 15,580.39 22.61 ส่วนของทุน 114,414.79 111,792.67 2,622.12 2.35 อตั ราส่วนทางการเงนิ อัตราสว่ นเงินทนุ หมนุ เวียน เท่า 0.36 0.56 (0.20) (35.71) อัตราส่วนหนส้ี ินรวมตอ่ สินทรัพยร์ วม เทา่ 0.42 0.38 0.04 10.53 อตั ราส่วนหนสี้ นิ ตอ่ ส่วนของทุน เท่า 0.74 0.62 0.12 19.35 ความสามารถในการชำ�ระดอกเบย้ี จา่ ย เท่า 8.82 6.89 1.93 28.01 ความสามารถในการชำ�ระดอกเบ้ียจ่ายและเงนิ ต้น เท่า 0.67 0.95 (0.28) (29.47) อัตราหมุนเวียนของสนิ ทรพั ย์ถาวร เทา่ 0.07 0.08 (0.01) (12.50) อัตราหมุนเวียนของสินทรพั ย์รวม เทา่ 0.07 0.08 (0.01) (12.50) อัตราสว่ นผลตอบแทนจากการด�ำ เนนิ งาน % 56.39 56.34 0.05 0.09 อตั ราส่วนผลตอบแทนจากกำ�ไรสทุ ธิ % 63.08 60.75 2.33 3.84 อตั ราสว่ นผลตอบแทนจากสนิ ทรพั ยร์ วม % 4.70 4.60 0.10 2.17 อัตราส่วนผลตอบแทนสุทธิจากสว่ นทนุ % 7.89 7.67 0.22 2.87 ความสามารถในการหารายได้ EBIDA ลา้ นบาท 11,052.83 10,947.61 105.22 0.96 ทีม่ า : กองบัญชี ฝา่ ยการเงนิ และบัญชี ข้อมลู ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2559 4 รายงานประจ�ำ ปี 255๙

ฐานะการเงิน สินทรัพยห์ มนุ เวียน 2557 2558 หนว่ ย : ล้านบาท เพม่ิ (ลด) % 10,261.65 7,654.27 2559 สนิ ทรัพย์ไมห่ มนุ เวยี น 5,053.27 เพม่ิ (ลด) % 51.42 (25.41) (33.98) สนิ ทรัพยไ์ ม่หมนุ เวยี นอ่ืน 169,980.11 170,578.54 192,338.52 เพ่ิม (ลด) % 12.76 รวมสนิ ทรัพย์ (0.37) 0.35 1,506.73 เพิม่ (ลด) % 3,671.19 2,463.20 (38.83) หนส้ี ินรวม 198,898.52 เพม่ิ (ลด) % (15.68) (32.90) สว่ นทนุ 183,912.95 180,696.01 10.07 เพิม่ (ลด) % 84,483.73 รวมหน้สี นิ และทนุ 1.19 (1.75) เพมิ่ (ลด) % 77,267.96 68,903.34 22.61 114,414.79 ผลการดำ�เนินงาน (3.17) (10.83) 106,644.99 111,792.67 2.35 198,898.52 4.61 4.83 183,912.95 180,696.01 10.07 1.19 (1.75) รายไดร้ วม 2557 2558 หน่วย : ลา้ นบาท เพิ่ม (ลด) % 15,366.92 16,059.90 2559 ค่าใชจ้ า่ ยรวม 16,406.41 เพิม่ (ลด) % 5.86 4.51 ก�ำ ไร (ขาดทนุ ) เบ็ดเสรจ็ 7,811.41 7,679.22 2.16 เพ่ิม (ลด) % 7,481.69 (1.46) (1.69) 7,555.51 8,380.68 (2.57) 8,924.72 14.67 10.92 6.49 อัตราส่วนทางการเงิน หนว่ ย : ลา้ นบาท 2559 อตั ราสว่ นสนิ ทรพั ยห์ มนุ เวยี น 2557 2558 ต่อหน้ีสนิ หมนุ เวยี น (เทา่ ) 0.86 0.56 0.36 อตั ราส่วนหน้ีสนิ รวม 0.42 0.38 ตอ่ สินทรัพย์รวม (เทา่ ) 0.72 0.62 0.42 อตั ราสว่ นหนีส้ ินรวม 4.13 ตอ่ ส่วนทนุ (เทา่ ) 7.24 0.74 อัตราผลตอบแทนของกำ�ไรสุทธิ ตอ่ สินทรัพยร์ วม (ถัวเฉลย่ี ) % 4.60 4.70 อัตราผลตอบแทนของก�ำ ไรสทุ ธิ ตอ่ สว่ นทุน (ถัวเฉล่ีย) % 7.67 7.89 ทม่ี า : กองบญั ชี ฝา่ ยการเงนิ และบญั ชี ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 2559 5รายงานประจ�ำ ปี 255๙

คณะกรรมการ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย พลเอก ววิ รรธน์ สุชาติ ประธานกรรมการ วันเกิด ประกาศนยี บัตร - ห ลักสูตรชน้ั นายร้อย รุน่ ท ี่ ๕๔ ๙ กันยายน ๒๔๙๙ - หลักสูตรชั้นนายพนั รุน่ ท่ี ๒๗ - หลักสตู รหลักประจำ� ชุดท ี่ ๖๗ ตำ�แหน่ง โรงเรียนเสนาธกิ ารทหารบก ผ้ทู รงคณุ วฒุ พิ ิเศษกองทัพบก - ห ลกั สูตรวิทยาลยั การทพั บก ชดุ ท่ี ๔๖ - ห ลกั สตู รพฒั นาสมั พันธก์ ารบริหารงานส่งกำ�ลังบำ�รุง การศึกษา และการอตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศท ่ี ๒ ปริญญาตรี - หลกั สูตรสง่ ก�ำ ลังบำ�รุงร่วม (ILS) ส�ำ หรบั ผบู้ งั คับบัญชา - โรงเรยี นนายร้อยพระจลุ จอมเกลา้ โรงเรยี นนายรอ้ ยดนั ทรูน ประวัตกิ ารท�ำ งาน (Duntroon, Royal Military College) ประเทศออสเตรเลีย - ป ระจ�ำ กรมการทหารชา่ ง - วศิ วกรรมศาสตรบณั ฑิต (เครอ่ื งกล) - ผบู้ ังคับกองรอ้ ยทหารชา่ งซ่อมบำ�รงุ สนาม - หวั หน้าแผนก กรมสง่ ก�ำ ลังบ�ำ รงุ ทหารบก เกยี รตนิ ิยมอันดับ ๒ - อาจารยห์ วั หนา้ วชิ าโรงเรียนสง่ ก�ำ ลังบำ�รงุ ทหารบก มหาวิทยาลัย New South Wales ประเทศออสเตรเลีย - ผูอ้ �ำ นวยการกอง กรมส่งกำ�ลงั บ�ำ รงุ ทหารบก ปรญิ ญาโท - รองผ้บู ัญชาการ โรงเรยี นสง่ กำ�ลังบ�ำ รงุ ทหารบก - ว ิศวกรรมศาสตรมหาบณั ฑติ (เคร่อื งกล) - รองเจา้ กรมส่งกำ�ลังบำ�รุงทหารบก มหาวทิ ยาลัย New South Wales ประเทศออสเตรเลีย - เจา้ กรมยทุ ธโยธาทหารบก ปริญญาบตั ร - รองเสนาธกิ ารทหารบก - ห ลักสตู รการปอ้ งกันราชอาณาจักรภาครฐั เอกชน และการเมอื ง (วปม.) รนุ่ ท ่ี ๕ วิทยาลยั ปอ้ งกันราชอาณาจักร 6 รายงานประจ�ำ ปี 255๙

นางสาวบัณฑรโฉม แกว้ สอาด กรรมการผู้แทนกระทรวงการคลัง วันเกิด - M acroeconomic Management for Senior Officials, IMF ประเทศสงิ คโปร์ 26 มถิ นุ ายน 2501 - หลกั สูตร Modern Management Executives ตำ�แหนง่ ส�ำ นกั งานเศรษฐกิจการคลัง ท่ีปรกึ ษาด้านเศรษฐกจิ การคลัง สำ�นักงานเศรษฐกิจการคลัง - โครงการพฒั นาบุคลากรใหเ้ ปน็ นกั บรหิ ารมืออาชพี ส�ำ หรับขา้ ราชการของกระทรวงการคลงั โดย Kellogg School of การศกึ ษา Management ปริญญาตรี - ห ลักสูตรการบริหารเศรษฐกิจสาธารณะ - เศรษฐศาสตรบณั ฑติ (การเงนิ การคลงั ) จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั สำ�หรับผูบ้ รหิ ารระดบั สงู รุ่นท่ี 6 สถาบันพระปกเกลา้ ปริญญาโท - พ ฒั นบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาการเศรษฐกจิ ) - โครงการสมั มนาผบู้ ริหารธนาคารและสถาบันการเงนิ รุ่นท่ี 19 (Financial Executive Development Program - FINEX XIX) สถาบนั บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ สมาคมสถาบันการศกึ ษาการธนาคารและการเงนิ ไทย - M .A. (Finance and Investment) University of Exeter, - Global Customer Summit South East Asia Executive England Program, GE ประกาศนยี บตั ร - Negotiation on Access to Capital Market Workshop. - Senior Executive Program London Business School, London, England UNTCT / ASEAN COFAB UNDP - E conomic Crime Cambridge University, England - โครงการพฒั นานกั บรหิ ารระดบั สงู : ผบู้ รหิ ารสว่ นราชการ (นบส. 2) - Financial Development and ODA Loan, JICA ประเทศญีป่ นุ่ ร่นุ ท่ี 5 ส�ำ นักงานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น - Modern Management Professional Development Training - ห ลกั สูตรผบู้ รหิ ารระดับสงู รนุ่ ที่ 20 สถาบันวิทยาการตลาดทุน Program, Canada - S pecialized Course on Financial Market And New ประวตั กิ ารท�ำ งาน Financial Instruments, IMF Washington D.C., U.S.A. - ผ้เู ช่ยี วชาญเฉพาะดา้ นการเงนิ สำ�นกั นโยบายระบบการเงิน - A FDP Workshop on Developing Government Bond และสถาบันการเงนิ ส�ำ นักงานเศรษฐกิจการคลงั Markets in APEC Economies, APEC นครเซย่ี งไฮ้ - ผ้อู ำ�นวยการสำ�นกั นโยบายระบบการเงินและสถาบนั การเงิน - International Investment Promotion Course, Madrid ส�ำ นกั งานเศรษฐกจิ การคลงั ประเทศสเปน - รองผอู้ �ำ นวยการส�ำ นักงานเศรษฐกจิ การคลงั 7รายงานประจ�ำ ปี 255๙

นายชศู ักดิ์ เกวี กรรมการผแู้ ทนกระทรวงคมนาคม วนั เกิด ประวัตกิ ารท�ำ งาน ๘ สงิ หาคม ๒๕๐๑ - วศิ วกรโยธา ๗ วช. (ผู้ชำ�นาญการพิเศษด้านการวางแผนและโครงการ) ตำ�แหนง่ กองวางแผน กรมทางหลวง ผูต้ รวจราชการกระทรวงคมนาคม - ว ศิ วกรโยธา ๘ วช. ส�ำ นักแผนและโครงการทางหลวง กรมทางหลวง การศึกษา - ผู้เชีย่ วชาญวชิ าชีพเฉพาะด้านวศิ วกรรมโยธา ปรญิ ญาตรี (ด้านวางแผน) - วิศวกรรมศาสตรบัณฑติ (วศิ วกรรมโยธา) - ว ิศวกรวิชาชีพ ๙ วช. วศิ วกรรมโยธา ส�ำ นักวางแผน มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ (ผอู้ �ำ นวยการกลุม่ งานวางแผนดำ�เนินงาน) กรมทางหลวง ปริญญาโท - Master of Engineering (M. Eng.) - ผ ู้อำ�นวยการส�ำ นกั ส�ำ นักแผนงาน กรมทางหลวง สาขา Structural Engineering and Construction - รองอธบิ ดีฝ่ายวิชาการ กรมทางหลวง สถาบันเทคโนโลยแี ห่งเอเซีย (AIT) - รองปลัดกระทรวงคมนาคม (หัวหน้ากลุม่ ภารกิจ ปรญิ ญาบัตร - หลกั สูตรการป้องกนั ราชอาณาจักร (วปอ.) การพฒั นาโครงสรา้ งพ้ืนฐานฯ) กระทรวงคมนาคม วทิ ยาลยั ป้องกันราชอาณาจกั ร - อธิบดกี รมทางหลวง สถาบนั วิชาการปอ้ งกนั ประเทศ ประกาศนียบตั ร - Certificate of Transportation Planning University of Westminster, London และ University of Birmingham, England - ห ลกั สูตรการกำ�กบั ดูแลกิจการสำ�หรับกรรมการ และผ้บู ริหารระดบั สูงของรัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชน รุน่ ที่ ๑๓ สถาบนั พัฒนากรรมการและผูบ้ ริหารระดบั สงู ภาครัฐ (Public Director Institute : PDI) 8 รายงานประจ�ำ ปี 255๙

นายสมศักด์ิ โชติรัตนะศริ ิ กรรมการผู้แทนสำ�นกั งบประมาณ วันเกิด ประวตั กิ ารท�ำ งาน 13 กันยายน 2500 - เจ้าหนา้ ทวี่ เิ คราะหง์ บประมาณ 8 - ผู้เช่ียวชาญดา้ นยทุ ธศาสตร์การงบประมาณ ต�ำ แหน่ง (เจ้าหนา้ ท่ีวิเคราะห์งบประมาณ 9 ชช.) - ผูอ้ ำ�นวยการสำ�นักจัดท�ำ งบประมาณ ดา้ นเศรษฐกิจ 4 ผ้อู �ำ นวยการส�ำ นักงบประมาณ - ผ ู้อำ�นวยการสำ�นักจัดท�ำ งบประมาณ ด้านสังคม 1 - ท ่ปี รึกษาสำ�นักงบประมาณ การศึกษา - รองผ้อู �ำ นวยการสำ�นกั งบประมาณ ปริญญาตรี - ศลิ ปศาสตรบณั ฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปริญญาโท - พ ฒั นบรหิ ารศาสตรมหาบณั ฑติ (รัฐประศาสนศาสตร์) สถาบันบัณฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร์ ปริญญาบตั ร - หลักสูตรการปอ้ งกันราชอาณาจักร วทิ ยาลยั ป้องกันราชอาณาจกั ร ประกาศนยี บัตร - หลักสตู ร Director Certification Program (DCP) รุน่ ท่ี 113 สมาคมส่งเสรมิ สถาบนั กรรมการบริษทั ไทย (IOD) - ห ลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รนุ่ ที่ 33 สมาคมสง่ เสริมสถาบันกรรมการบรษิ ัทไทย (IOD) 9รายงานประจำ�ปี 255๙

นายชาญวิทย์ อมตะมาทชุ าติ กรรมการผู้แทน สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ วนั เกดิ - ห ลกั สตู ร “ผบู้ รหิ ารระดบั สูงด้านการคา้ และการพาณิชย์ (Top Executive Program in Commerce and Trade : 18 มีนาคม 2499 TEP CoT)” รนุ่ ท่ี 4 สถาบนั วิทยาการการค้า - ห ลกั สตู ร “4 ภารกิจหลักของผนู้ ำ� ต�ำ แหนง่ (The 4 Imperatives of Great Leaders)” รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ ส�ำ นักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรอื น สังคมแห่งชาติ - หลกั สตู ร “Cross-Border Infrastructure in a Market การศกึ ษา ปริญญาตรี Economy” กรงุ พนมเปญ ประเทศกมั พชู า - ศิลปศาสตรบัณฑติ (เศรษฐศาสตร์) มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ - ห ลกั สตู ร “การกำ�กบั ดแู ลกิจการส�ำ หรับกรรมการและ ปริญญาโท ผบู้ ริหารระดับสงู ของรัฐวิสาหกิจและองคก์ ารมหาชน” - พฒั นบริหารศาสตรมหาบัณฑติ (พฒั นาการเศรษฐกิจ) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ สถาบันพฒั นากรรมการและผ้บู รหิ ารระดับสงู ภาครฐั (Public DirectorInstitute : PDI) ปริญญาบัตร - หลกั สูตรการปอ้ งกันราชอาณาจักร รุ่นท่ี 50 ประวตั ิการท�ำ งาน วิทยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจักร - ผ อู้ ำ�นวยการกองโครงการพ้ืนฐาน ประกาศนยี บตั ร (เจา้ หน้าที่วเิ คราะหน์ โยบายและแผน 8) - ห ลกั สูตรการบรหิ ารเศรษฐกิจสาธารณะสำ�หรบั นักบรหิ าร - เลขานุการกรม (เจ้าหนา้ ทบ่ี ริหารงานทั่วไป 8) - ผอู้ �ำ นวยการส�ำ นกั วเิ คราะหโ์ ครงการลงทุนภาครัฐ ระดับสงู ร่นุ ท่ี 5 สถาบนั พระปกเกล้า - นกั บริหารระดับกลาง (เจ้าหน้าท่ีวิเคราะห์นโยบายและแผน 9) - ผอู้ ำ�นวยการส�ำ นักพัฒนาขดี ความสามารถในการแข่งขัน ส�ำ นกั งานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน - หลักสตู ร Director Certification Program (DCP) รุน่ ท่ี 109 ทางเศรษฐกิจ (เจ้าหนา้ ท่วี ิเคราะหน์ โยบายและแผน 9) - ทป่ี รกึ ษาดา้ นนโยบายและแผนงาน สมาคมสง่ เสริมสถาบันกรรมการบรษิ ัทไทย (IOD) (นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนทรงคณุ วฒุ )ิ - ห ลกั สตู ร Audit Committee Program (ACP) รนุ่ ท ี่ ๓๙/๒๐๑๒ สมาคมสง่ เสริมสถาบนั กรรมการบริษทั ไทย (IOD) 10 รายงานประจ�ำ ปี 255๙

พลต�ำ รวจตรี สุรเชษฐ์ หักพาล กรรมการผแู้ ทนส�ำ นักงานต�ำ รวจแห่งชาติ วันเกดิ - รองสารวัตร งาน 5 กองกำ�กับการสบื สวนตำ�รวจภธู รภาค 7 - ส ารวตั ร (ท�ำ หน้าทน่ี ิตกิ รดา้ นพจิ ารณาฑัณฑ์ทางวินยั ) 29 ตลุ าคม 2513 กองวินัย ต�ำ แหนง่ - ส ารวตั รสถานีต�ำ รวจทางหลวง 4 กองกำ�กบั การ 5 ผบู้ งั คับการต�ำ รวจท่องเที่ยวสำ�นักงานตำ�รวจแห่งชาติ กองบงั คบั การต�ำ รวจทางหลวง - ส ารวตั รสถานตี �ำ รวจทางหลวง 2 กองก�ำ กับการ 3 การศกึ ษา กองบังคับการต�ำ รวจทางหลวง ปริญญาตรี - ผ ู้ช่วยนายเวร (สบ 3) หัวหนา้ นายตำ�รวจราชสำ�นกั ประจำ� - รฐั ประศาสนศาสตรบัณฑติ โรงเรยี นนายร้อยตำ�รวจ ปริญญาโท (สบ 10) - ส งั คมศาสตรมหาบณั ฑติ (อาชญาวิทยาและการบริหาร - ผ ู้ชว่ ยนายเวร (สบ 3) งานยุติธรรม) มหาวทิ ยาลัยมหิดล ประจำ�ส�ำ นกั งานผ้บู ัญชาการต�ำ รวจแหง่ ชาติ ปริญญาเอก - ผ กู้ �ำ กับการ ประจ�ำ สำ�นักงานผบู้ ญั ชาการต�ำ รวจแหง่ ชาติ - ปรชั ญาดุษฎบี ัณฑิต (รฐั ประศาสนศาสตร์) - ผ ู้ก�ำ กับการ 3 กองบงั คบั การการปราบปราม มหาวทิ ยาลยั อีสเทริ ์นเอเชีย การกระท�ำ ความผิดเกย่ี วกบั การคา้ มนุษย์ - ผ ู้กำ�กบั การ ฝ่ายอ�ำ นวยการ 10 กองบังคบั การอำ�นวยการ ประวตั ิการทำ�งาน กองบญั ชาการ ตำ�รวจสอบสวนกลาง - รองสารวตั ร ประจำ�โรงเรียนนายรอ้ ยต�ำ รวจ - ผ กู้ ำ�กับการ สถานตี �ำ รวจภูธรหาดใหญ่ - รองสารวตั รสืบสวนสอบสวน - รองผ้บู งั คบั การต�ำ รวจภูธรจังหวดั สงขลา - รองผู้บงั คบั การสายตรวจและปฏบิ ตั กิ ารพิเศษ สถานีตำ�รวจนครบาลหนองแขม - ผ บู้ งั คบั การ ประจ�ำ ส�ำ นักงานผบู้ ัญชาการตำ�รวจแหง่ ชาติ - รองสารวตั รสบื สวนสอบสวน สถานตี ำ�รวจภธู ร (ทำ�หน้าทป่ี ระสานนโยบายกับนายกรัฐมนตร)ี อำ�เภอเมืองสมุทรสาคร - รองผบู้ ญั ชาการต�ำ รวจแหง่ ชาติ - ผ ชู้ ่วยนายเวร (สบ 1) ผูบ้ ัญชาการตำ�รวจภูธรภาค 3 - ผ ู้ช่วยนายเวร (สบ 1) ผู้บญั ชาการตำ�รวจภธู รภาค 7 11รายงานประจำ�ปี 255๙

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ วเรศรา วีระวัฒน์ กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิ ตำ�แหน่ง ประวัติการทำ�งาน อาจารยป์ ระจ�ำ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ - รองคณบดฝี า่ ยวชิ าการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล การศึกษา - รองคณบดีฝา่ ยกจิ การนกั ศกึ ษา คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ปริญญาตรี - Industrial Engineering (Honors), Mahidol University, - รองผอู้ ำ�นวยการศนู ย์การจดั การโลจสิ ติกส์ สำ�หรับคณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหิดล Thailand 1994 ปริญญาโท - รองหวั หนา้ ภาค ภาควชิ าวศิ วกรรมอุตสาหการ - Industrial Engineering, USA 1996 มหาวิทยาลัยมหดิ ล ปริญญาเอก - Industrial Engineering, USA 2003 - ก รรมการประจำ�ส่วนงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ ประกาศนียบตั ร มหาวิทยาลยั มหิดล - ห ลกั สูตรการกำ�กับดูแลกิจการส�ำ หรบั กรรมการและผบู้ รหิ าร - หัวหนา้ โครงการศนู ยน์ วตั กรรมทางโลจิสติกส์ ระดบั สูงของรัฐวิสาหกิจและองคก์ ารมหาชน รนุ่ ที ่ ๑๓ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหดิ ล สถาบันพฒั นากรรมการและผบู้ ริหารระดบั สูง ภาครฐั (Public Director Institute : PDI) 12 รายงานประจำ�ปี 255๙

นายพลากร หวั่งหลี กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิ วนั เกดิ ประวตั กิ ารท�ำ งาน 21 เมษายน 2509 - M anagement Associate การธนาคารระหวา่ งประเทศ ธนาคารแคลฟิ อรเ์ นีย ซานฟรานซิสโก ตำ�แหน่ง - ผชู้ ว่ ยผู้จดั การฝา่ ยการตลาด ก รรมการผ้จู ัดการใหญแ่ ละประธานเจา้ หน้าท่บี ริหารของ บรษิ ัท พรอ็ คเตอร์ แอนด์ แกมเบิล (ประเทศไทย) ธนาคารสแตนดารด์ ชาร์เตอร์ด (ไทย) จำ�กดั (มหาชน) - ห ัวหนา้ กลมุ่ วาณิชธนกิจ ด้านโทรคมนาคมและการสอ่ื สาร การศึกษา และโครงสร้างสาธารณูปโภคพ้ืนฐาน บริษัท เงนิ ทุนเอกธนกิจ จ�ำ กัด (มหาชน) ปริญญาตรี - พาณชิ ยศาสตรบัณฑติ (สาขาการบญั ช)ี - ผ ูอ้ �ำ นวยการและหวั หนา้ กลมุ่ บรรษัทธนกจิ ดา้ นโทรคมนาคมและการส่อื สาร จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ธนาคารเอบเี อน็ แอมโร เอน็ .วี สาขาประจำ�ประเทศไทย ปริญญาโท - บรหิ ารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั ซานฟรานซสิ โก - หัวหนา้ ฝา่ ยบรรษัทธนกจิ ธนาคารเอบเี อ็น แอมโร เอน็ .วี สาขาประจ�ำ ประเทศไทย ประเทศสหรฐั อเมรกิ า - ประธานเจา้ หนา้ ที่บริหาร ธนาคารเดอะรอยลั แบงค์ ออ๊ ฟสกอตแลนด์ เอ็น.วี สาขาประจ�ำ ประเทศไทย - รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หวั หน้าสายงานลูกคา้ องคก์ รและลกู คา้ สถาบนั ธนาคารสแตนดารด์ ชาร์เตอร์ด (ไทย) จำ�กดั (มหาชน) 13รายงานประจ�ำ ปี 255๙

นายวุฒพิ งศ์ วิบลู ย์วงศ์ กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิ วนั เกิด ประวตั ิการทำ�งาน ๑๙ พฤษภาคม ๒๔๙๔ - รองอธบิ ดีอยั การฝ่ายคดปี กครอง จงั หวดั นครราชสีมา - รองอธบิ ดอี ยั การฝ่ายคดที รัพยส์ นิ ทางปัญญาและการค้า ต�ำ แหนง่ ระหว่างประเทศ อัยการอาวโุ ส - อธบิ ดีอัยการฝา่ ยคดศี าลสงู เขต ๕ จงั หวัดเชียงใหม่ - อธบิ ดีอัยการฝ่ายคณะกรรมการอยั การ (ก.อ.) การศกึ ษา - ผ ู้ตรวจการอยั การ - รองอัยการสูงสดุ ปริญญาตรี - น ิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปรญิ ญาโท - รฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ สถาบันบณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์ ประกาศนียบัตร - เนตบิ ณั ฑิตไทย ส�ำ นักอบรมศกึ ษากฎหมายแห่งเนตบิ ัณฑติ ยสภา 14 รายงานประจำ�ปี 255๙

พลอากาศเอก ยุทธนา สุกมุ ลจันทร์ กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ วนั เกดิ ประวตั ิการท�ำ งาน ๒๓ กนั ยายน ๒๔๙๗ - ผบู้ ังคับหมวดปนื เล็ก กองพันทหารอากาศโยธิน กองบนิ ๔๑ จงั หวดั เชียงใหม่ ต�ำ แหนง่ - ผบู้ งั คบั กองพนั ทหารอากาศโยธนิ กองบิน ๔๑ ข้าราชการบำ�นาญ จงั หวดั เชยี งใหม่ การศึกษา - ผู้บังคบั การกรมทหารอากาศโยธิน รกั ษาพระองค์ - เสนาธิการหน่วยบญั ชาการอากาศโยธนิ ปริญญาตรี - รองผู้บัญชาการหนว่ ยบัญชาการอากาศโยธนิ - ว ิทยาศาสตรบัณฑติ โรงเรยี นนายเรอื อากาศ - ผ ้บู ญั ชาการหนว่ ยบญั ชาการอากาศโยธิน ปรญิ ญาบัตร - ผ ้ทู รงคุณวุฒพิ ิเศษกองทัพอากาศ - วทิ ยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุน่ ท ี่ ๕๐ ประกาศนยี บัตร - ห ลักสูตรช้ันนายรอ้ ยเหลา่ ราบ ร่นุ ที่ ๕๘ - ห ลกั สตู รช้ันนายพันเหล่าราบ รุ่นท่ ี ๔๓ - โรงเรยี นเสนาธิการทหารอากาศ รนุ่ ท่ ี ๓๓ - ว ทิ ยาลัยการทัพอากาศ ร่นุ ท ่ี ๓๒ 15รายงานประจำ�ปี 255๙

นายณรงค์ เขียดเดช กรรมการและเลขานกุ าร วันเกดิ - หลกั สตู รการนำ� SIX SIGMA บรหิ ารองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ บมจ. ธนาคารกรงุ ไทย 12 มกราคม 2502 - หลกั สตู รการจดั การโครงสรา้ งและการบรหิ ารความเสย่ี งในการระดมทนุ ต�ำ แหน่ง คณะพาณิชยศาสตรแ์ ละการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ผู้วา่ การการทางพิเศษแห่งประเทศไทย - ห ลกั สตู รหลกั การและแนวคดิ ของ Public Private Partnerships (PPPs) ส�ำ นักงานบรหิ ารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลงั การศกึ ษา - หลกั สูตรการบริหารความเส่ียงดา้ นการคลงั ปรญิ ญาตรี สำ�นักงานเศรษฐกจิ การคลัง - เศรษฐศาสตรบณั ฑิต มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ปริญญาโท - โครงการ CFO State Enterprise Forum เรอื่ ง บทบาทผบู้ รหิ ารการเงนิ - ศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ของรฐั วสิ าหกจิ เรอ่ื ง บทบาท CFO ภายใตก้ ระแสความเปลย่ี นแปลง - ว ิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑติ (วิศวกรรมโยธา) เรือ่ ง ภยั เงียบหลังวกิ ฤตเศรษฐกจิ สถาบันเทคโนโลยแี ห่งเอเชยี (A.I.T.) ส�ำ นักงานคณะกรรมการนโยบายรฐั วสิ าหกจิ ประกาศนยี บัตร - หลักสตู ร TLCA Annual Risk Management Conference 2010 - ห ลักสูตรการบรหิ ารเศรษฐกจิ สาธารณะส�ำ หรับนกั บริหารระดบั สูง ส�ำ นกั งานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกจิ รนุ่ ที่ 8 สถาบนั พระปกเกล้า - หลักสตู รการบูรณาการระบบบรหิ ารจดั การสคู่ วามเป็นเลิศ - หลักสตู รการบรหิ ารทรพั ยากรมนุษย์ขัน้ สงู มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ - หลักสตู รนกั บรหิ ารการคลงั (นบค.) สำ�นกั งานคณะกรรมการนโยบายรัฐวสิ าหกิจ - หลกั สตู ร Global Environment and Investment Innovation for the Future สถาบันวทิ ยาการเศรษฐกิจและการคลงั รุน่ ที่ 4 - ห ลกั สูตรวิทยาการประกนั ภยั ระดบั สงู (วปส.) รุน่ ที่ 3 บรษิ ัท หลกั ทรพั ยจ์ ดั การกองทนุ เอม็ เอฟซี จ�ำ กดั ส�ำ นกั งานคณะกรรมการก�ำ กบั และสง่ เสรมิ การประกอบธรุ กจิ ประกนั ภยั ประวัติการท�ำ งาน - หลักสูตรหลกั และข้ันตอนการปรบั ตวั เขา้ ส่ธู รุ กิจที่มีประสทิ ธภิ าพ - เศรษฐกร 4 แผนกวเิ คราะห์เศรษฐกิจและการเงนิ (มาเลเซีย สิงคโปร์ และญป่ี ุ่น) สถาบันบัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์ กองวชิ าการและวางแผน ฝา่ ยวชิ าการ การทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย - หลกั สูตร Micro MBA กทพ. และมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ - เศรษฐกร 5 แผนกวิเคราะหเ์ ศรษฐกิจและการเงนิ - ห ลักสูตร Urban Transport Planning and Design ประเทศสิงคโปร์ กองวชิ าการและวางแผน ฝา่ ยวชิ าการ การทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย - ห ลกั สตู รนโยบายและการวางแผนขนส่งในเมือง - เศรษฐกร 6 แผนกวเิ คราะหเ์ ศรษฐกจิ และการเงิน กองวชิ าการและวางแผน ฝา่ ยวชิ าการ การทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย ส�ำ นกั งานคณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก - หวั หนา้ แผนกวเิ คราะห์เศรษฐกจิ และการเงนิ - ห ลักสตู ร Managing Asia-Pacific Mega - Cities : Policies to กองนโยบายและวางแผนโครงการ ส�ำ นกั ผู้ว่าการ การทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย Promote Sustainable Urban สถาบันบัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร์ - ผ อู้ �ำ นวยการกองวิชาการและวางแผน - หลักสูตร Policy Formulation, Strategic Planning and ฝ่ายวางแผนโครงการและระบบงาน การทางพิเศษแห่งประเทศไทย - ผ ูอ้ �ำ นวยการฝา่ ยการเงนิ และบัญชี การทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย Implementation สำ�นกั งานคณะกรรมการจดั ระบบการจราจรทางบก - รองผวู้ ่าการฝ่ายบรหิ าร การทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย - ห ลักสูตร Environment and Public Transport Management ราชอาณาจักรสวีเดน - ห ลกั สูตรผ้บู รหิ ารการเงนิ ภาครฐั วิสาหกจิ ส�ำ นักงานคณะกรรมการนโยบายรฐั วิสาหกจิ 16 รายงานประจำ�ปี 255๙

จุดมุ่งหมายหลักของการทางพิเศษ แหง่ ประเทศไทย ในการด�ำ เนนิ งาน คอื การบรรเทาปญั หาการจราจรตดิ ขดั ในเขตกรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล เพ่ือลดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ ของประเทศ รวมทั้งจะต้องดำ�เนิน กิจการให้มีความมั่นคงทางการเงิน และเติบโตอย่างยั่งยืน ดังนั้น การ บริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพและ การกำ�กับดูแลกิจการท่ีดีจึงเป็น ส่งิ ส�ำ คญั 17รายงานประจ�ำ ปี 255๙

แผนภูมอิ งค์การและอัตรากำ�ลงั ผวู้ า่ การ คณะกรรมการชุดตา่ งๆ ที่แต่งตัง้ โดยคณะกรรมการ กทพ. สำ�นักผู้ว่าการ กองกลางและการประชุม กองประชาสมั พันธ์ กองขอ้ มลู ข่าวสาร กองพัฒนาธรุ กจิ และการตลาด - แผนกสารบรรณ - แผนกประชาสมั พันธ์ - แผนกประสานงาน - แผนกงานสมั พันธ์ - แผนกบรกิ ารขอ้ มูลผู้ใช้ทางพิเศษ - แผนกพฒั นาธุรกจิ - แผนกสอื่ ประชาสมั พนั ธ์ - แผนกห้องสมดุ และศนู ย์เอกสาร - แผนกการตลาด การประชุม - แ ผนกส่งเสรมิ กิจกรรม - แ ผนกวเิ คราะหแ์ ละเผยแพรข่ ้อมูล - แผนกลูกค้าสมั พันธ์ - แผนกเอกสาร - แผนกวิจยั ตลาด เพอ่ื สังคมและชุมชน ขา่ วสาร การประชมุ - แ ผนกพัฒนาระบบขอ้ มลู ขา่ วสาร รองผวู้ ่าการ รองผวู้ า่ การ รองผ้วู า่ การฝ่ายกฎหมาย ฝา่ ยบริหาร ฝ่ายวิชาการ และกรรมสทิ ธ์ิที่ดนิ ฝ่ายบริหารทัว่ ไป ฝา่ ยการเงนิ และบัญชี ฝา่ ยนโยบายและแผน ฝา่ ยสารสนเทศ ฝ่ายกรรมสทิ ธทิ์ ี่ดิน กองการเจ้าหนา้ ท่ี กองการเงิน กองวางแผนและ กองระบบงาน กองจัดกรรมสทิ ธิท์ ่ดี ิน - แผนกสรรหาบคุ คล - แผนกการเงิน วิเคราะห์โครงการ คอมพวิ เตอร์ - แผนกส�ำ รวจและรงั วดั - แผนกทะเบียนประวตั ิ - แผนกเงินกู้ - แผนกวางแผน - แผนกระบบงาน - แผนกประเมนิ ราคา - แผนกสวสั ดิการ - แผนกตรวจจ่าย 1 - แผนกวิเคราะหว์ ศิ วกรรม คอมพิวเตอร์ 1 - แผนกสอบสวนสิทธ์ิ - แผนกงานสงเคราะห์ - แผนกตรวจจา่ ย 2 - แผนกวิเคราะห์ - แผนกระบบงาน - แผนกกรรมสิทธิ์ - แผนกพนกั งานสมั พันธ์ สง่ิ แวดล้อม คอมพิวเตอร์ 2 - แผนกอทุ ธรณ์ - แ ผนกความปลอดภยั กองบัญชี - แผนกวเิ คราะห์เศรษฐกิจ - แผนกพัฒนาฐานข้อมลู และรอ้ งทกุ ข์ - แผนกประมวลบญั ชี และการเงิน - แผนกข้อมลู กรรมสทิ ธิ์ อาชีวอนามัยและ - แผนกบญั ชีตน้ ทุน กองปฏิบตั กิ าร สภาพแวดล้อม กองประเมนิ ผล คอมพวิ เตอร์ และจัดการทดี่ ิน ในการทำ�งาน - แ ผนกควบคุมและบ�ำ รุง กองพฒั นาและ กองงบประมาณ - แผนกประเมินผล รักษาคอมพวิ เตอร์ รักษาเขตทาง ๑ กองพัฒนาบุคคล - แผนกสถติ ิ - แผนกระบบเครอื ข่าย และระบบงาน - แ ผนกวเิ คราะห์และ คอมพิวเตอร์ - แผนกวางแผน - แผนกพฒั นาบุคคล จดั ท�ำ งบทำ�การ การใชพ้ น้ื ที่ 1 - แผนกพฒั นาระบบงาน - แผนกวิเคราะห์และจดั ทำ�งบลงทนุ - แผนกจัดการ - แผนกตดิ ตามและประเมนิ ผลงานงบประมาณ การใช้พ้นื ท่ี 1 กองพัสดุ - แผนกจดั เก็บรายได้ 1 - แผนกจดั หา กองตรวจสอบรายได้ - แผนกรักษาเขตทาง 1 - แผนกพัสดุ - แ ผนกตรวจสอบรายได้ 1 - แผนกรักษาเขตทาง 2 - แผนกตรวจสอบรายได้ 2 - แผนกรักษาเขตทาง 3 - แผนกตรวจสอบรายได้ 3 กองพัฒนาและ กองก�ำ กบั ดแู ลกิจการและพัฒนามลู ค่าองคก์ ร รักษาเขตทาง ๒ - แผนกพฒั นาการก�ำ กบั ดแู ลกิจการ - แผนกวางแผน - แผนกพัฒนามลู คา่ องค์กร การใช้พื้นที่ 2 - แผนกจดั การ ผรผหผหหอ้ช้ชวููู้นนนง่า�่วำ ่วว่ว่ ผกนยยยยวู้าผางงง่ารญู้วาาา กนนน่ากากรรรราาะะะ รรดดด ับบับั กแฝผอา่ ยนง ก 135195๒2211 แกฝผอ่ายนงก จำ�นวนพนักงานและลกู จา้ งในแตล่ ะสว่ นงานหลกั ทั้งหมด 3 ปียอ้ นหลัง การใช้พน้ื ที่ 2 - แผนกจัดเกบ็ รายได้ 2 กลุ่มพนกั งาน ปี 255๙ จ�ำ นวนพนักงาน (คน) ปี 255๗ - แผนกรกั ษาเขตทาง 4 4,๘๒๗ 4,623 - แผนกรกั ษาเขตทาง 5 พนกั งาน ปี 255๘ - แผนกรกั ษาเขตทาง 6 ลกู จา้ ง ๕๕๖ 4,701 608 62๔ ข้อมูล ณ วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2559 ค�ำ สงั่ กทพ.ท่ี 103/2559 18 รายงานประจำ�ปี 255๙

ผ้ชู ่วยผู้วา่ การ คณะกรรมการตรวจสอบ สำ�นกั ตรวจสอบภายใน ผู้ช�ำ นาญการ กองวิจยั และพฒั นาวศิ วกรรม กองบรหิ ารความเสยี่ งและ กองตรวจสอบภายใน 1 กองตรวจสอบภายใน 2 (ดา้ นการบรหิ าร) ระบบทางพเิ ศษ ควบคุมภายใน ผชู้ �ำ นาญการ - แผนกวจิ ัยและพฒั นาระบบจราจร - แ ผนกพฒั นาระบบการบรหิ ารความเสี่ยง - แผนกตรวจสอบภายใน 1 - แผนกตรวจสอบภายใน 4 (ดา้ นวิศวกรรมศาสตร)์ - แ ผนกทดสอบ ควบคุมคณุ ภาพ และ - แผนกประเมนิ ผลการบริหารความเสยี่ ง - แผนกตรวจสอบภายใน 2 - แผนกตรวจสอบภายใน 5 - แผนกควบคุมภายในระบบงานหลัก - แผนกตรวจสอบภายใน 3 - แผนกตรวจสอบภายใน 6 ผูช้ �ำ นาญการ พัฒนามาตรฐาน (ด้านนติ ิศาสตร์) - แผนกบรหิ ารงานวิจยั และพัฒนา - แผนกควบคุมภายในระบบงานสนับสนนุ รองผวู้ ่าการฝ่ายก่อสร้าง รองผู้วา่ การ และบ�ำ รุงรักษา ฝ่ายปฏบิ ตั กิ าร ฝ่ายกฎหมาย ฝา่ ยก่อสร้างทางพิเศษ ฝา่ ยบ�ำ รงุ รกั ษา ฝ่ายควบคุมการจราจร ฝา่ ยจัดเก็บคา่ ผา่ นทาง กองคดี กองวศิ วกรรม กองบำ�รุงรักษาทาง กองจัดการจราจร กองจดั เกบ็ คา่ ผา่ นทาง 1 กองวางแผน - แผนกคดปี กครอง ทางด่วน ๑ - แผนกวางแผนบำ�รุง - แผนกจัดการจราจร 1 - แผนกจัดเกบ็ ดินแดง ปฏิบตั กิ าร - แผนกคดแี พง่ - แผนกวิศวกรรม - แผนกจัดการจราจร 2 - แผนกจัดเกบ็ บางนา - แผนกวางแผน - แผนกอนุญาโตตุลาการ ทางด่วน 1 รักษาทาง - แผนกจดั การจราจร 3 - แผนกจัดเกบ็ ระบบจัดเก็บ - แผนกวิศวกรรม - แ ผนกตรวจสอบและ ดาวคะนอง ค่าผา่ นทาง กองนิติการ ทางด่วน 2 กองกภู้ ัยและสื่อสาร - แผนกจดั เก็บ - แ ผนกวางแผนระบบ - แผนกสัญญา - แผนกวศิ วกรรม บ�ำ รุงรักษาสายทาง 1 - แผนกกภู้ ยั 1 สขุ ุมวิท 62 ความปลอดภัย - แผนกวินัย ทางดว่ น 3 - แ ผนกตรวจสอบและ - แผนกก้ภู ยั 2 - แผนกจดั เกบ็ สขุ สวสั ดิ์ และการจราจร - แผนกนิติธรรม - แผนกบริหารงาน 1 - แผนกกภู้ ยั 3 - แผนกจดั เก็บรามอินทรา บ�ำ รงุ รกั ษาสายทาง 2 - แผนกสอ่ื สาร - แผนกจดั เกบ็ ประชาอุทศิ กองวิศวกรรม - แผนกบำ�รุงรกั ษาสะพาน - แผนกจัดเก็บอาจณรงค์ ทางดว่ น ๒ กองบำ�รงุ รักษาอาคาร และความสะอาด อัตรากำ�ลังบุคลากร - แผนกวศิ วกรรม - แผนกบำ�รงุ รกั ษาอาคาร 1 กองจัดเกบ็ คา่ ผา่ นทาง ๒ จ�ำ นวนพนกั งานตามระดับ (คน) ทางดว่ น ๔ - แผนกบำ�รงุ รักษาอาคาร 2 - แผนกจัดเกบ็ ประชาช่ืน ผบู้ ริหารสูงสดุ (ผวู้ ่าการ) 1 - แผนกวิศวกรรม - แผนกรกั ษาความสะอาด - แผนกจัดเกบ็ รัชดาภิเษก พนักงานระดบั 11 5 ทางด่วน ๕ - แผนกจัดเกบ็ ยมราช พนกั งานระดับ 10 1 - แผนกวิศวกรรม และสวน - แผนกจัดเก็บหวั ลำ�โพง พนกั งานระดับ 9 14 ทางดว่ น ๖ กองบ�ำ รุงรักษาอุปกรณ์ - แผนกจัดเก็บสุรวงศ์ พนกั งานระดบั 8 27 - แผนกบรหิ ารงาน ๒ - แผนกวางแผนและบ�ำ รุงรกั ษาอุปกรณ์ - แผนกจดั เก็บสาทร พนักงานระดับ 7 146 - แผนกอุปกรณเ์ กบ็ ค่าผา่ นทาง 1 - แผนกจดั เก็บอโศก กองก่อสร้างทัว่ ไป - แผนกอปุ กรณ์เก็บค่าผ่านทาง 2 - แผนกจดั เกบ็ ศรีนครินทร์ - แผนกวศิ วกรรม - แผนกอปุ กรณ์ควบคมุ การจราจร - แผนกจดั เกบ็ ศรีสมาน - แผนกสถาปตั ยกรรม - แผนกวศิ วกรรมระบบเกบ็ ค่าผา่ นทาง - แผนกจัดเก็บบางปะอนิ - แผนกก่อสรา้ ง อิเลก็ ทรอนิกส์ พนกั งานระดบั 4-6 2,745 - แผนกบริหารงาน 3 - แผนกบริหารและพัฒนาฐานข้อมลู พนักงานระดับ 1-3 1,889 ธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ รวมพนักงาน 4,827 กองจัดเกบ็ คา่ ผ่านทาง ๓ กองบรกิ ารธุรกรรม ลูกจ้าง 556 กองไฟฟา้ เครอ่ื งกล - แผนกจดั เก็บบางนา กม.6 ทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ตามวุฒิการศึกษา (คน) และยานพาหนะ - แผนกจัดเกบ็ บางพลี - แ ผนกบริหารข้อมูลศูนย์จัดการบัญชี ปริญญาเอก 1 - แผนกจัดเกบ็ ชลบุรี - แผนกบรหิ ารบัตรอัตโนมัติ และ ปริญญาโทและเทยี บเทา่ 120 - แผนกไฟฟ้าสายทาง - แผนกจัดเก็บบางขนุ เทยี น ธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ปริญญาตรแี ละเทยี บเท่า 833 - แผนกไฟฟ้าอาคารและด่าน - แผนกจดั เก็บบางเมือง - แ ผนกสื่อสารลูกค้าบรกิ าร ปวส.และเทียบเทา่ 650 - แผนกเคร่อื งกลและยานพาหนะ - แผนกจัดเก็บเทพารกั ษ์ ธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ปวช.และเทยี บเทา่ 1,273 - แ ผนกพัฒนาระบบบรกิ าร มธั ยมปลาย 1,788 ธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ มธั ยมต้น 93 ประถมศึกษาภาคบังคับ 69 รวม 4,826 19รายงานประจำ�ปี 255๙ ** จ�ำ นวนพนักงาน/ลกู จ้าง ตามวุตกิ ารศกึ ษา ยกเวน้ ผวก.

คณะผู้บรหิ าร การทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย 20 รายงานประจ�ำ ปี 255๙

๕๑ ๒ ๑. นายณรงค์ เขียดเดช ๔ ๓ ผวู้ า่ การการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย ๒. นายสุทธศิ ักด์ิ วรรธนวนิ จิ รองผูว้ ่าการฝ่ายกฎหมายและกรรมสทิ ธท์ิ ด่ี ิน ๓. นายสชุ าติ ชลศกั ด์พิ พิ ฒั น ์ รองผวู้ า่ การฝ่ายกอ่ สรา้ งและบ�ำ รุงรักษา ๔. นายวชิ าญ เอกรนิ ทรากลุ รองผู้ว่าการฝา่ ยวิชาการ ๕. นายด�ำ เกิง ปานขำ� รองผู้วา่ การฝา่ ยปฏบิ ตั กิ าร 21รายงานประจ�ำ ปี 255๙

๙ ๖๘ ๖ . นางอุรวดี ชศู รี ๗ รองผวู้ า่ การฝา่ ยบรหิ าร ๗ . นางภานุมาตฐี ต์ สมทุ รคีรจี ์ ผู้ชว่ ยผวู้ ่าการ ๘. นายมนัส บ้นุ มัจฉา ผชู้ ำ�นาญการ (ดา้ นการบรหิ าร) ๙. นายสรุ ศักดิ์ กาญจนไวกูณฐ ์ ผู้อำ�นวยการฝ่ายควบคมุ การจราจร 22 รายงานประจำ�ปี 255๙

๑๐ ๑๓ ๑๐. นางเบญจมาส ปิยโชตสิ กุ ิจ ๑๒ ผอู้ �ำ นวยการส�ำ นักผูว้ ่าการ ๑๑. นางสาวสุวรรณ ลอลือเลศิ ๑๑ ผอู้ �ำ นวยการสำ�นกั ตรวจสอบภายใน ๑๒. นายวิทยตุ ม์ ปาลิโพธิ ผูช้ ำ�นาญการ (ดา้ นนิตศิ าสตร์) ๑๓. นายสมชาย แสงทิพยบ์ วร ผชู้ ำ�นาญการ (ด้านวศิ วกรรมศาสตร์) 23รายงานประจ�ำ ปี 255๙

๑๗ ๑๕ ๑๘ ๑๔. นางสาวภาวนิ ี ศริ ะยุทธโยธิน ๑๖ ๑๔ ผูอ้ ำ�นวยการฝา่ ยบริหารทั่วไป ๑๕. นางสาวจริยา ทองจนั ทกึ ผูอ้ �ำ นวยการฝ่ายนโยบายและแผน ๑๖. นายจิระสกั ด์ิ เปมะศริ ิ ผู้อ�ำ นวยการฝา่ ยสารสนเทศ ๑๗. นายพุฒิกัญจน์ กาญจนะพังคะ ผูอ้ �ำ นวยการฝา่ ยกอ่ สร้างทางพเิ ศษ ๑๘. นายสมพร โสมะบท ผู้อำ�นวยการฝา่ ยจดั เก็บค่าผา่ นทาง 24 รายงานประจ�ำ ปี 255๙

๑๙ ๒๐ ๒๒ ๑๙. นายปญั ญา ไชยานนท ์ ๒๑ ผู้อำ�นวยการฝา่ ยการเงนิ และบัญชี ๒๐. นายประสทิ ธิ์ เดชศิร ิ ผอู้ �ำ นวยการฝ่ายกรรมสิทธท์ิ ีด่ ิน ๒๑. นายพงศโ์ สภณ ครุ ุรตั นช์ ัยกลุ ผอู้ ำ�นวยการฝา่ ยกฎหมาย ๒๒. นายสมบตั ิ สรุ ะประสทิ ธ ์ิ ผอู้ ำ�นวยการฝ่ายบ�ำ รงุ รกั ษา 25รายงานประจ�ำ ปี 255๙

ประวตั ิผ้บู ริหารระดับสูง และคา่ ตอบแทน นายณรงค์ เขียดเดช - โครงการ CFO State Enterprise Forum เร่ือง บทบาทผู้บริหาร การเงินของรัฐวิสาหกิจ เร่ือง บทบาท CFO ภายใต้กระแส ผวู้ ่าการการทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย ความเปลย่ี นแปลง เร่อื ง ภยั เงยี บหลงั วกิ ฤตเศรษฐกจิ วันเกิด 12 มกราคม 2502 สำ�นกั งานคณะกรรมการนโยบายรฐั วิสาหกจิ การศกึ ษา ปริญญาตรี - ห ลักสูตร TLCA Annual Risk Management Conference 2010 - เศรษฐศาสตรบณั ฑติ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ สำ�นกั งานคณะกรรมการนโยบายรัฐวสิ าหกจิ ปรญิ ญาโท - ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั - หลักสูตรการบูรณาการระบบบริหารจัดการสู่ความเป็นเลิศ - วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑติ (วิศวกรรมโยธา) ส�ำ นักงานคณะกรรมการนโยบายรฐั วิสาหกิจ สถาบนั เทคโนโลยีแหง่ เอเชยี (A.I.T.) - หลกั สตู ร Global Environment and Investment Innovation for the Future การอบรม บริษทั หลกั ทรพั ยจ์ ัดการกองทนุ เอม็ เอฟซี จำ�กดั - หลักสูตรการบริหารเศรษฐกิจสาธารณะสำ�หรับนักบริหารระดับสูง ประวัติการท�ำ งาน รุน่ ที่ ๘ สถาบันพระปกเกลา้ - ผ ู้อ�ำ นวยการกองวิชาการและวางแผน - หลกั สตู รการบรหิ ารทรพั ยากรมนษุ ยข์ นั้ สงู มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ฝา่ ยวางแผนโครงการและระบบงาน - ห ลักสตู รนักบริหารการคลัง (นบค.) - ผ อู้ �ำ นวยการฝา่ ยการเงนิ และบัญชี สถาบนั วิทยาการเศรษฐกจิ และการคลงั รุ่นท ่ี ๔ - รองผวู้ า่ การฝา่ ยบรหิ าร - หลักสูตรวิทยาการประกันภัยระดับสงู (วปส.) รนุ่ ท ่ี ๓ ส�ำ นกั งานคณะกรรมการก�ำ กบั และสง่ เสรมิ การประกอบธรุ กจิ ประกนั ภยั นายสทุ ธิศักด์ิ วรรธนวนิ ิจ - หลักสูตรหลักและข้ันตอนการปรับตัวเข้าสู่ธุรกิจที่มีประสิทธิภาพ รองผูว้ ่าการฝ่ายกฎหมายและกรรมสทิ ธท์ิ ด่ี นิ (มาเลเซีย สงิ คโปร์ และญป่ี ่นุ ) สถาบนั บณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตร์ วนั เกดิ 24 กรกฎาคม 2502 - หลกั สูตร Micro MBA กทพ. และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การศึกษา - หลกั สตู ร Urban Transport Planning and Design ประเทศสงิ คโปร์ ปริญญาตรี - ห ลักสตู รนโยบายและการวางแผนขนสง่ ในเมอื ง - น ิติศาสตรบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั รามคำ�แหง สำ�นกั งานคณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก ปรญิ ญาโท - ห ลักสูตร Managing Asia-Pacific Mega - Cities : Policies to - รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั ธรุ กิจบณั ฑติ ย์ ประวัติการท�ำ งาน Promote Sustainable Urban สถาบนั บณั ฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - ผ อู้ �ำ นวยการกองพฒั นาและรักษาเขตทาง 2 ฝ่ายกรรมสิทธ์ทิ ่ีดิน - ห ลักสูตร Policy Formulation, Strategic Planning and - ผ ้อู ำ�นวยการฝ่ายกฎหมาย - รกั ษาการในต�ำ แหนง่ รองผู้ว่าการฝา่ ยกฎหมายและกรรมสทิ ธ์ทิ ด่ี นิ Implementation ส�ำ นกั งานคณะกรรมการจดั ระบบการจราจรทางบก - หลักสูตร Environment and Public Transport Management นายสุชาติ ชลศักดิพ์ ิพฒั น์ ราชอาณาจกั รสวีเดน รองผ้วู า่ การฝ่ายกอ่ สรา้ งและบำ�รงุ รกั ษา - ห ลกั สูตรผู้บรหิ ารการเงินภาครฐั วิสาหกิจ วันเกดิ 3 กรกฎาคม 2503 สำ�นกั งานคณะกรรมการนโยบายรฐั วิสาหกิจ การศกึ ษา - ห ลักสูตรการนำ� SIX SIGMA บริหารองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ ปรญิ ญาตรี - ว ศิ วกรรมศาสตรบณั ฑติ (วศิ วกรรมโยธา) จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั บมจ. ธนาคารกรุงไทย ปริญญาโท - ห ลกั สตู รการจดั การโครงสรา้ งและการบรหิ ารความเสย่ี งในการระดมทนุ - ว ิศวกรรมศาสตรมหาบณั ฑติ วศิ วกรรมโยธา The University of New South Wales คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั - บรหิ ารธรุ กจิ มหาบณั ฑติ การบรหิ ารธรุ กจิ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั - ห ลักสูตรหลักการและแนวคิดของ Public Private Partnerships (PPPs) สำ�นกั งานบรหิ ารหนส้ี าธารณะ กระทรวงการคลงั - ห ลักสูตรการบรหิ ารความเสี่ยงดา้ นการคลงั สำ�นกั งานเศรษฐกจิ การคลัง 26 รายงานประจำ�ปี 255๙

ปริญญาเอก นางอรุ วดี ชูศรี - รฐั ประศาสนศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ การจดั การภาครฐั และภาคเอกชน รองผู้ว่าการฝ่ายบริหาร สถาบันบณั ฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร์ วนั เกิด 19 เมษายน 2499 ประวัติการทำ�งาน การศึกษา - ผ อู้ �ำ นวยการกองวศิ วกรรมทางดว่ น 1 ฝา่ ยก่อสร้างทางพิเศษ ปรญิ ญาตรี - รักษาการในต�ำ แหนง่ ผูอ้ �ำ นวยการฝา่ ยก่อสรา้ งทางพเิ ศษ - เศรษฐศาสตรบัณฑติ เศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย - ผ อู้ ำ�นวยการฝา่ ยกอ่ สรา้ งทางพิเศษ ปรญิ ญาโท - พ ัฒนบรหิ ารศาสตรมหาบณั ฑิต พฒั นาเศรษฐกจิ นายวิชาญ เอกรนิ ทรากุล สถาบนั บัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์ ประวัตกิ ารท�ำ งาน รองผู้วา่ การฝา่ ยวชิ าการ - ผ ู้อำ�นวยการกองการเงิน ฝ่ายการเงนิ และบญั ชี วนั เกดิ 25 พฤษภาคม 2507 - ผู้อ�ำ นวยการฝา่ ยการเงนิ และบัญชี การศึกษา - ผ อู้ �ำ นวยการส�ำ นกั ตรวจสอบ ปรญิ ญาโท - ว ศิ วกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต วศิ วกรรมโยธาขนสง่ นางภานมุ าตีฐต์ สมุทรครี ีจ์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประวัตกิ ารท�ำ งาน ผชู้ ว่ ยผู้วา่ การ - ผู้อำ�นวยการกองวิศวกรรมทางดว่ น 1 ฝ่ายโครงการทางด่วน วนั เกดิ 11 มนี าคม 2499 - ผ ู้อ�ำ นวยการกองวางแผนและวิเคราะหโ์ ครงการ การศกึ ษา ฝ่ายนโยบายและแผน ปรญิ ญาตรี - ผ อู้ �ำ นวยการฝ่ายนโยบายและแผน - เศรษฐศาสตรบัณฑิต เศรษฐศาสตร์การเงนิ มหาวทิ ยาลัยรามคำ�แหง นายดำ�เกิง ปานข�ำ - ศิลปศาสตรบณั ฑิต รฐั ศาสตร์ มหาวิทยาลยั รามค�ำ แหง ปริญญาโท รองผู้วา่ การฝ่ายปฏิบตั ิการ - รัฐศาสตรมหาบัณฑิต การบรหิ ารรัฐกิจ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ วันเกดิ 17 ตุลาคม 2505 - รัฐศาสตรมหาบณั ฑิต การเมอื งการปกครองท้องถ่นิ การศึกษา มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช ปรญิ ญาตรี ประวตั กิ ารทำ�งาน - น ิติศาสตรบัณฑติ นิติศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ - ผอู้ ำ�นวยการกองตรวจสอบงานปฏิบัตกิ ารและวิศวกรรม ประวตั ิการทำ�งาน สำ�นักตรวจสอบภายใน - ผ ้อู �ำ นวยการกองนติ กิ าร ฝา่ ยกฎหมาย - ผอู้ ำ�นวยการกองงบประมาณ ฝา่ ยการเงินและบญั ชี - ผ อู้ ำ�นวยการกองจัดกรรมสทิ ธ์ทิ ีด่ นิ ฝ่ายกรรมสทิ ธ์ทิ ด่ี นิ - ผชู้ ำ�นาญการ ระดบั 9 (ดา้ นการคลัง) - ผู้อำ�นวยการฝ่ายจดั เก็บคา่ ผ่านทาง ค่าตอบแทนผบู้ รหิ ารระดบั สูง (หน่วย : ล้านบาท) รายการ 2557 2558 2559 คา่ ตอบแทนผ้บู ริหาร 13.23 12.91 13.13 หมายเหตุ : ค่าตอบแทนผูบ้ รหิ าร ประกอบด้วย เงนิ เดือนและโบนสั ของผู้ว่าการ รองผู้วา่ การ ผชู้ ่วยผ้วู ่าการ 27รายงานประจำ�ปี 255๙

การพฒั นาบุคลากร การทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย (กทพ.) ไดต้ ระหนกั และใหค้ วามสำ�คญั กับการพฒั นาศักยภาพหรือ ขีดความสามารถของพนักงานทุกระดับ ซึ่งถือเป็นปัจจัยสำ�คัญในการขับเคลื่อนองค์กรมุ่งสู่องค์การ สมรรถนะสงู (High Performance Organization) ตามระบบประเมนิ คณุ ภาพรัฐวิสาหกจิ (State Enterprise Performance Appraisal : SEPA) โดยยดึ แนวทางการบรหิ ารจัดการทีด่ ีในรัฐวิสาหกิจ (Good Corporate) เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลแก่ผู้บริหาร และส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมแก่พนักงานทุกระดับให้ปฏิบัติงานด้วยความขยันหมั่นเพียร ซื่อสัตย์ สุจริต มีสุขภาพกาย สุขภาพใจท่ีดี เพ่ือให้เกดิ ความรักความผกู พันตอ่ องค์การ โดยในปงี บประมาณ 2559 มกี ารดำ�เนนิ การ ตามแผนพฒั นาบคุ ลากรประจ�ำ ปใี นดา้ นตา่ ง ๆ ท่สี ำ�คัญ ดงั นี้ 1) ใหค้ วามรแู้ กผ่ บู้ รหิ ารและพนกั งานเพอื่ เตรยี มความพรอ้ มองคก์ รมงุ่ สอู่ งคก์ ารสมรรถนะสงู (High Performance Organization) ตามระบบประเมนิ คณุ ภาพรฐั วสิ าหกจิ (State Enterprise Performance Appraisal : SEPA) 2) เสริมสร้างขีดความสามารถหรือสมรรถนะของพนักงานในการปฏิบัติงาน โดยนำ�ผล การวิเคราะห์ช่องว่างความสามารถ (Competency Gap) มาพัฒนาและจัดหลักสูตรอบรมเพื่อพัฒนา พนกั งานใหม้ คี วามรู้ ความสามารถ มที กั ษะและความพรอ้ มในการปฏบิ ตั งิ านตามความสามารถหลกั (Core Competency) ความสามารถเฉพาะต�ำ แหน่ง (Functional Competency) และความสามารถทางการบรหิ าร (Managerial Competency) 3) พฒั นาและส่งเสริมองค์การแห่งการเรยี นรู้ (Learning Organization) มีการบริหารจดั การ ความรู้ภายในองค์การ (Knowledge Management) มีคณะทำ�งานบริหารจัดการความรู้หรือกลุ่มชุมชน นักปฏิบัติ (Community of Practice : CoP) เพ่ือส่งเสริมบรรยากาศการแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกันของ กลุ่มผู้ปฏิบัติงาน มีการพัฒนาระบบเครือข่ายการจัดการความรู้ Web KM และจัดนิทรรศการ KM Day เพอ่ื ใหพ้ นกั งานได้มีสว่ นรว่ มแลกเปลีย่ นเรียนรู้ มีการแบ่งปนั และถ่ายทอดความรู้ร่วมกัน 4) สนบั สนนุ กิจกรรมการเรยี นร้แู ละสรา้ งนวัตกรรมในองคก์ าร เพ่ือยกระดบั มาตรฐานการให้ บรกิ ารที่มคี วามสะดวก รวดเรว็ และปลอดภัย เพือ่ สร้างความพึงพอใจแก่ผูใ้ ช้บริการ ในปีงบประมาณ 2559 การทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้จัดโครงการอบรม สัมมนาและดูงาน ให้กับผูบ้ รหิ ารและพนกั งาน จ�ำ นวน 81 หลักสูตร ซ่ึงยงั ไมร่ วมหลักสตู รอืน่ ๆ ท่ีจดั ส่งพนักงานไปศึกษา และฝึกอบรมกับหน่วยงานภายนอกท้ังภาครัฐและเอกชน รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนให้พนักงาน ไดศ้ กึ ษาต่อในระดับที่สงู ข้ึนทั้งในระดบั ปริญญาโทและปรญิ ญาเอก 28 รายงานประจ�ำ ปี 255๙

จรรยาบรรณในการดำ�เนินงานของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย จรรยาบรรณ คือ ประมวลกฎเกณฑ์ความประพฤติหรือประมวลมารยาทของเจ้าหน้าท่ีการทางพิเศษแห่งประเทศไทย เพ่ือรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณชื่อเสียงและฐานะของสมาชิกและเป็นหลักความประพฤติที่ใช้เป็นเคร่ืองยึดเหนี่ยวจิตใจให้ เจ้าหนา้ ทกี่ ารทางพิเศษแหง่ ประเทศไทยมคี ุณธรรมและจรยิ ธรรม คำ�ว่า “จริยธรรม” แยกออกได้เป็น จริย+ธรรม ซ่ึงคำ�ว่า จริยะ หมายถึง ความประพฤติหรือกิริยาท่ีควรประพฤติ สว่ นคำ�วา่ ธรรม มีความหมายหลายประการ เชน่ คณุ ความด,ี หลักค�ำ สอนของศาสนา, หลักปฏิบตั ิ เมอ่ื นำ�คำ�ทั้งสองมารวมกนั เปน็ “จริยธรรม” จึงมคี วามหมายตามตวั อักษรวา่ “หลกั แห่งความประพฤต”ิ หรอื “แนวทางของการประพฤต”ิ ทั้งน้ี กทพ. จึงไดใ้ ห้ความหมายของ จรยิ ธรรม คือ ศีลธรรมและแนวทางประพฤตปิ ฏิบัติตนของเจ้าหน้าทก่ี ารทางพิเศษ แห่งประเทศไทยด้วยความซ่ือสัตย์ สุจริต และเท่ียงธรรม ทั้งในการปฏิบัติต่อองค์การและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม ตลอดจน สาธารณชนและสังคม เพือ่ การบรรลุถึงเปา้ หมายสงู สดุ ขององค์การ ในการเปน็ องคก์ ารรฐั วิสาหกิจช้นั นำ�ของประเทศ อยา่ งไรก็ตาม จะเห็นไดว้ า่ “จรยิ ธรรม” หรอื “จรรยาบรรณ” มีเป้าหมายอย่างเดยี วกัน คอื ต้องการใหค้ นแต่ละคน หรอื องค์การต่าง ๆ มีแนวปฏิบัติและการประพฤติปฏิบัติในสิ่งท่ีดีงาม หรือการประพฤติดีประพฤติชอบทั้งต่อตนเองและบุคคลอื่น เปน็ เร่ืองของการใช้เหตผุ ลและดลุ ยพินิจ อกี ท้ังเปน็ การสรา้ งจติ สำ�นกึ ทางจิตใจอย่างสงู สง่ ของแต่ละบคุ คล กทพ. เปน็ หนว่ ยงานทมี่ ภี ารกจิ หลกั ในการแกไ้ ขปญั หาจราจรในกรงุ เทพฯ และปรมิ ณฑล ตลอดจนสายทางการขนสง่ ตา่ ง ๆ ทน่ี �ำ ไปสกู่ ารพฒั นาระบบโลจสิ ตกิ สใ์ นประเทศ โดยท�ำ หนา้ ทบ่ี รหิ ารจดั การทางพเิ ศษของประเทศไทย โดยมงุ่ เนน้ การบรหิ ารจดั การ อย่างมีหลักธรรมาภิบาล ดังนั้นจึงมุ่งม่ันท่ีจะสร้างความตระหนักรู้เรื่องการทำ�งานอย่างมีจรรยาบรรณให้เกิดขึ้นใน กทพ. อยา่ งมนี ัยส�ำ คัญ และมคี วามหมายต่อการได้รับการยอมรบั และความไว้วางใจจากผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสียและประชาชน ซึง่ แนวทาง ท่ีจะผลักดันให้เกิดความตระหนักรู้ขึ้นได้นั้นต้องมีการปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความมุ่งมั่นเพ่ือให้เกิดสัมฤทธิผลในหมู่เจ้าหน้าท่ี การทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทยทกุ คน โดยทผ่ี มู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ผใู้ ชบ้ รกิ าร และประชาชนสามารถรบั รแู้ ละสมั ผสั ไดถ้ งึ ลกั ษณะเดน่ ด้านจรรยาบรรณของบคุ ลากร กทพ. ไดอ้ ย่างชดั เจน กทพ. ได้นำ�มาตรฐานจริยธรรมขององค์การ และมาตรฐานจริยธรรมอันเป็นค่านิยมหลักของ กทพ. มาประมวลใหม่ ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2554 โดยใช้คำ�ที่ส่ือความหมาย ถึงความมุ่งมั่นภายในของเจ้าหน้าท่ีการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ในการท่ีจะทำ�หน้าที่ในฐานะเจ้าหน้าท่ีการทางพิเศษแห่งประเทศไทยอย่างมีจรรยาบรรณ และมีการปฏิบัติตามแนวปฏิบัติ ทีอ่ งค์การได้ให้ไว้อยา่ งจริงจัง ดงั ค�ำ ย่อทส่ี อ่ื ความม่งุ มัน่ ของเจา้ หนา้ ทก่ี ารทางพิเศษแห่งประเทศไทยวา่ “HEARTS” อนั หมายถงึ “ปฏิบัติหนา้ ท่ีด้วยหวั ใจ” ความมุ่งม่ันที่นำ�ไปสู่การ “ปฏิบัติหน้าท่ีด้วยหัวใจ” หรือ “HEARTS” ประกอบด้วยหลักจรรยาบรรณในการปฏิบัติหน้าที่ ซ่ึงเจ้าหน้าที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยทุกคน ควรจะต้องนำ�ไปใช้เป็นแนวปฏิบัติในการทำ�งานตลอดเวลาท่ีดำ�รงตำ�แหน่ง และปฏบิ ัติหน้าทีภ่ ายใต้ กทพ. ดงั น้ี H Honesty ความซ่อื สตั ย์ E Equity/Equitable Treatment ความเทา่ เทยี มและความเสมอภาค A Accuracy ความถูกต้อง เทีย่ งตรง R Responsibility ความรับผิดชอบ T Transparency ความโปร่งใส S Society ค�ำ นงึ ถึงสังคมและผลประโยชนข์ องสว่ นรวม “เท่ยี งตรงซ่ือสัตย์ ปฏบิ ัติเท่าเทียม รับผดิ ชอบโปร่งใส ใสใ่ จสงั คม” กทพ. ได้มีการทบทวนคู่มือจรรยาบรรณในการดำ�เนินงานของ กทพ. ให้มีความเหมาะสมและเป็นปัจจุบัน โดย คณะกรรมการ กทพ. ไดร้ ับทราบการทบทวนคู่มือดังกล่าว ในการประชุมครง้ั ท่ี 3/2559 เมอ่ื วันที่ 9 มนี าคม 2559 29รายงานประจำ�ปี 255๙

แกานรเสวรทิมสารงา้ งการก�ำ กบั ดูแลกิจการใน การทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย นโยบายการกำ�กับดูแลกจิ การท่ดี ี จุดมุ่งหมายหลักของการทางพิเศษแห่งประเทศไทยในการดำ�เนินงาน คือ การบรรเทาปัญหาการจรจารติดขัดในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เพ่ือลดความสูญเสียทางเศรษฐกิจของประเทศ รวมท้ังจะต้องดำ�เนินกิจการให้มีความม่ันคง ทางการเงนิ และเตบิ โตอย่างยง่ั ยืน ดังนนั้ การบริหารจดั การท่มี ปี ระสทิ ธิภาพและการก�ำ กับดูแลกจิ การที่ดจี ึงเปน็ สิง่ ส�ำ คัญ คณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย จึงมีเจตนารมณ์ที่จะส่งเสริมให้การทางพิเศษแห่งประเทศไทยเป็นองค์การ ที่มีประสิทธิภาพในการดำ�เนินธุรกิจและการกำ�กับดูแลกิจการ มีการบริหารจัดการท่ีดีเลิศโดยมุ่งเน้นการให้บริการทางพิเศษท่ีมี ความสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัยแก่ผู้ใช้ทางพิเศษ ตลอดจนมีความโปร่งใสและตรวจสอบได้ จึงได้กำ�หนดให้คณะกรรมการ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ผ้บู รหิ าร และพนกั งานการทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย ยึดถือ “หลักสำ�คญั อนั เป็นมาตรฐานสากล 7 ประการในการกำ�กบั ดูแลกิจการทด่ี ี” คือ 1. Accountability มคี วามรบั ผดิ ชอบต่อผลลัพธอ์ ันเกิดจากการปฏิบัติหนา้ ที่ 2. Responsibility มีความสำ�นึกในหน้าท่ีที่จะให้บริการที่ดีต่อผู้ใช้บริการ หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่าง ๆ 3. Equity/Equitable ดว้ ยขดี ความสามารถและประสิทธิภาพทเี่ พียงพอ Treatment ปฏิบตั ิตอ่ ผมู้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสียอย่างเทา่ เทยี มกนั 4. Transparency ด�ำ เนินงานอยา่ งโปรง่ ใส เปิดเผยขอ้ มลู และสามารถตรวจสอบได้ 5. Value Creation เพม่ิ ความสามารถในการด�ำ เนนิ งานทกุ ดา้ นเพอ่ื ยกระดบั การแขง่ ขนั และสรา้ งมลู คา่ เพม่ิ 6. Ethics แกก่ ิจการทง้ั ในระยะสน้ั และระยะยาว 7. Participation ปฏิบตั ิตามประมวลจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณของการทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย ให้ประชาชนมสี ว่ นร่วมในการแสดงความคดิ เหน็ เกี่ยวกบั การด�ำ เนนิ งานใด ๆ ทีอ่ าจมี ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัย คุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ของชุมชน หรือทอ้ งถิน่ ทงั้ นค้ี ณะกรรมการการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย ไดม้ อบหมายใหค้ ณะอนกุ รรมการก�ำ กบั ดแู ลกจิ การทดี่ ที �ำ หนา้ ทก่ี �ำ หนด นโยบาย กลยทุ ธ์ เปา้ หมาย และแผนการด�ำ เนนิ งานดา้ นการก�ำ กบั ดแู ลกจิ การทดี่ ี ตลอดจนก�ำ กบั ดแู ล ตดิ ตาม สง่ เสรมิ การด�ำ เนนิ งาน ตามแนวทางการกำ�กับดแู ลกจิ การท่ดี ี คณะกรรมการการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย ไดร้ บั ทราบนโยบายนใ้ี นการประชมุ ครงั้ ที่ 6/2553 เมอื่ วนั ที่ 28 มถิ นุ ายน 2553 สรุปผลการก�ำ กบั ดแู ลกิจการในการทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย กรรมการอิสระ คณะกรรมการ กทพ. ในการประชมุ ครง้ั ที่ 9/2558 เมอื่ วันที่ 22 ตลุ าคม 2558 ได้มีมตเิ หน็ ชอบคำ�จ�ำ กัดความของ “กรรมการอิสระ” ดังน้ี 30 รายงานประจ�ำ ปี 255๙

“กรรมการอิสระ” หมายถึง กรรมการท่ีได้รับการแต่งต้ังโดยคณะรัฐมนตรีให้เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งมีอิสระ ในการใช้ดุลยพินิจ การตัดสินใจ และการกระทำ�ท่ีเป็นอิสระอย่างแท้จริง สามารถผลักดันให้เกิดการปรับเปลี่ยน หรือยังยั้ง การด�ำ เนนิ การตา่ ง ๆ ไดเ้ มอื่ จ�ำ เปน็ และไมม่ คี วามสมั พนั ธท์ างธรุ กจิ ใด ๆ หรอื ความคาดหวงั ทางผลประโยชน์ หรอื มคี วามสมั พนั ธ์ ทางผลประโยชนไ์ ดเ้ สยี อนื่ ใดไมว่ า่ ทางตรงหรอื ทางออ้ มกบั ผบู้ รหิ ารรฐั วสิ าหกจิ กระทรวงเจา้ สงั กดั หนว่ ยงาน หรอื บรษิ ทั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ปงี บประมาณ 2559 คณะกรรมการ กทพ. มีกรรมการอสิ ระ จ�ำ นวน 4 คน คือ พลอากาศเอกยทุ ธนา สกุ ุมลจนั ทร์ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์วเรศรา วรี ะวฒั น์ นายพลากร หวั่งหลี และนายวุฒิพงศ์ วบิ ลู ยว์ งศ์ (พน้ จากต�ำ แหน่งกรรมการผทู้ รงคณุ วุฒิ ในคณะกรรมการ กทพ. เม่อื วนั ที่ 19 พฤษภาคม 2559 เนื่องจากมีอายุครบ 65 ปีบรบิ ูรณ์) ผลการด�ำ เนนิ งานของคณะกรรมการอสิ ระในปีงบประมาณ 2559 ปงี บประมาณ 2559 คณะกรรมการอสิ ระไดม้ ีการประชุมจ�ำ นวน 2 ครัง้ คือ 1. คณะกรรมการอสิ ระในการประชมุ ครั้งท่ี 2/2558 เม่อื วันท่ี 15 ตุลาคม 2558 ไดม้ ีมติ ดังน้ี เหน็ ชอบคำ�จ�ำ กดั ความของ “กรรมการอิสระ” ดงั นี้ “กรรมการอิสระ” หมายถึง กรรมการท่ีได้รับการแต่งตั้งโดยคณะรัฐมนตรีให้เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ซ่ึงมีอิสระ ในการใช้ดุลยพินิจ การตัดสินใจ และการกระทำ�ท่ีเป็นอิสระอย่างแท้จริง สามารถผลักดันให้เกิดการปรับเปลี่ยน หรือยังย้ัง การด�ำ เนนิ การตา่ ง ๆ ไดเ้ มอื่ จ�ำ เปน็ และไมม่ คี วามสมั พนั ธท์ างธรุ กจิ ใด ๆ หรอื ความคาดหวงั ทางผลประโยชน์ หรอื มคี วามสมั พนั ธ์ ทางผลประโยชนไ์ ดเ้ สยี อนื่ ใดไมว่ า่ ทางตรงหรอื ทางออ้ มกบั ผบู้ รหิ ารรฐั วสิ าหกจิ กระทรวงเจา้ สงั กดั หนว่ ยงาน หรอื บรษิ ทั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 2. คณะกรรมการอสิ ระในการประชมุ คร้ังท่ี 1/2559 เมื่อวนั ท่ี 9 สงิ หาคม 2559 ได้มมี ติ ดังนี้ 1. เห็นชอบให้ปรับปรุงแบบประเมินตนเองของคณะกรรมการ กทพ. แบบรายบุคคล แบบประเมินไขว้ และ แบบรายคณะ และให้น�ำ เสนอคณะกรรมการ กทพ. ใหค้ วามเห็นชอบตอ่ ไปโดยมรี ายละเอยี ดดังน้ี 1) ปรับปรุงรายการประเมินและข้อความอธิบายระดับคะแนนของแบบประเมินตนเอง แบบรายบุคคล และ แบบประเมินไขว้ 2) ปรบั ปรุงรายการประเมินของแบบประเมนิ ตนเอง แบบรายคณะ 2. เห็นชอบให้มีการประเมินตนเองของคณะกรรมการ กทพ. แบบประเมินไขว้ต่อไป ทั้งน้ี เพ่ือให้เป็นไปตาม หลกั การและแนวทางการก�ำ กบั ดูแลท่ดี ใี นรัฐวสิ าหกิจปี 2552 การให้ความเคารพต่อผลประโยชนข์ องผ้มู ีสว่ นไดส้ ว่ นเสีย กทพ. ดำ�เนินงานโดยคำ�นึงถึงผลกระทบที่จะมีต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ท้ังน้ี จากการทำ�การศึกษาผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ขั้นต้น ทั้งด้านความสัมพันธ์ในเชิงผลกระทบตามกลุ่มอิทธิพลและความสนใจและตามประเด็นความรับผิดชอบต่อสังคม และส่ิงแวดล้อม สามารถกำ�หนดกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของ กทพ. ออกเป็น 7 กลุ่มหลัก เรียงตามลำ�ดับความสำ�คัญ ได้แก่ ผู้ใช้บริการทางพิเศษ ภาครัฐในฐานะเจ้าของ เจ้าหน้าท่ีการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการเวนคืน คู่ค้า ชุมชนรอบเขตทางพิเศษ และสังคม พร้อมทั้งได้กำ�หนดนโยบายในการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียด้วยความเสมอภาคและ เป็นธรรม โดยคำ�นึงถึงสทิ ธขิ องผมู้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสียทุกกลมุ่ 31รายงานประจำ�ปี 255๙

การเปดิ เผยข้อมูลสารสนเทศและความโปร่งใสในการดำ�เนินงาน กทพ. ได้เล็งเห็นความสำ�คัญของการเปิดเผยสารสนเทศและความโปร่งใสในการดำ�เนินงาน เนื่องจากข้อมูลสารสนเทศ ขององค์การมีความสำ�คัญต่อการตัดสินใจในการบริหารงานสำ�หรับผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายท้ังภายในและภายนอก ตลอดจน การประเมินประสิทธิภาพในการด�ำ เนินงานขององค์การ ดังน้ัน กทพ. จึงใหบ้ ริการข้อมูลสารสนเทศทางการเงินและมิใช่การเงิน กบั ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี อยา่ งเปน็ ธรรม เทา่ เทยี มกนั ผา่ นชอ่ งทางตา่ ง ๆ เชน่ รายงานประจ�ำ ป,ี Internet, Intranet, EXAT Call Center ฯลฯ ด้วยข้อมูลสารสนเทศที่เหมาะสม ถูกต้อง เชื่อถือได้ และทันเวลา ตลอดจนดำ�เนินกิจกรรมเพื่อประชาสัมพันธ์ท้ังภายใน และภายนอก กทพ. ผา่ นสื่อตา่ ง ๆ รวมท้งั ด�ำ เนินการเปิดเผยขอ้ มลู ตามพระราชบญั ญัติขอ้ มูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 โดยในปี 2554 ได้มีการก่อสร้างอาคารศูนย์ข้อมูลข่าวสารการทางพิเศษแห่งประเทศไทยเพื่ออำ�นวยความสะดวกให้กับ ผ้ทู ี่มาใช้บริการ นอกจากน้ี กทพ. ไดต้ ดิ ตามและประเมนิ ผลดา้ นการควบคมุ ภายในและการบรหิ ารความเสยี่ ง เพอื่ น�ำ เสนอตอ่ ผบู้ รหิ ารและ คณะกรรมการบริหารความเส่ยี งเพอ่ื ให้ความเห็นชอบและเสนอตอ่ คณะกรรมการ กทพ. เพื่อทราบภายในระยะเวลาทก่ี ำ�หนด การสง่ เสรมิ จริยธรรมและจรรยาบรรณ กทพ. ได้มีการจัดอบรมสัมมนา/กิจกรรมต่างๆ เพ่ือส่งเสริมให้ผู้บริหารและพนักงานมีจริยธรรมและจรรยาบรรณ ตลอดจนเผยแพร่ความรูเ้ กย่ี วกับคู่มือจรรยาบรรณในการด�ำ เนินงานของ กทพ. เช่น กิจกรรม CG สัญจร : HEARTS to HEART, EXAT CG Day และ EXAT CG My Idol นอกจากนี้ยังไดก้ �ำ หนดใหผ้ บู้ ริหาร พนักงานและลกู จ้างทกุ คนจัดท�ำ รายงานความขดั แยง้ ทางผลประโยชน์เสนอต่อผู้ว่าการเป็นประจำ�ทุกปี หรือกรณีได้รับตำ�แหน่งใหม่ หรือกรณีมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์เกิดข้ึน ระหวา่ งปี ซึ่งในปงี บประมาณ 2559 ผบู้ รหิ าร พนกั งาน และลูกจ้างไมม่ คี วามขัดแยง้ ทางผลประโยชน์ การติดตามและประเมนิ ผลการด�ำ เนนิ งานด้านการก�ำ กับดูแลกจิ การทดี่ ี สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายรฐั วิสาหกิจ (สคร.) กระทรวงการคลัง มนี โยบายให้ กทพ. นำ�ระบบการประเมนิ คุณภาพ รฐั วสิ าหกจิ (State Enterprise Performance Appraisal : SEPA) มาใชเ้ พอื่ ประเมนิ ผลการด�ำ เนนิ งานรฐั วสิ าหกจิ โดยการก�ำ กบั ดแู ล ของรัฐวิสาหกิจบรรจุในหมวด 1 การนำ�องค์กร ดังนั้น เพ่ือให้การดำ�เนินงานด้าน CG บรรลุถึงเกณฑ์ประเมินดังกล่าว กทพ. จงึ ไดด้ �ำ เนนิ การตามขนั้ ตอนของวงจรควบคมุ คณุ ภาพ (Deming Cycle) โดยจดั ท�ำ แผนการด�ำ เนนิ งานดา้ นการก�ำ กบั ดแู ลกจิ การทด่ี ี ประจำ�ปีงบประมาณ ตามหลักการและแนวทางกำ�กับดูแลท่ีดีในรัฐวิสาหกิจปี 2552 ของ สคร. โดยนำ�หลักสำ�คัญอันเป็น มาตรฐานสากล 7 ประการดังนี้ Accountability, Responsibility, Equitable Treatment, Transparency, Value Creation, Ethics และ Participation มากำ�กับดูแลใน 8 หมวด (Plan) ได้แก่ 1) การดำ�เนินการของภาครัฐในฐานะเจ้าของ 2) คณะกรรมการ 3) รายงานทางการเงิน รายงานทางการบริหาร การควบคุมและการตรวจสอบภายใน 4) บทบาทต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 5) การเปิดเผยสารสนเทศและความโปร่งใส 6) ความขัดแยง้ ทางผลประโยชน์ 7) การบริหารความเส่ียง และ 8) จรรยาบรรณ และกำ�หนดให้มีการดำ�เนินงานตามแผนดังกล่าว (Do) โดยมีการติดตามและรวบรวมผลการดำ�เนินการด้าน CG ทั้ง 8 หมวด (Check) และน�ำ ผลการด�ำ เนนิ งานของแตล่ ะหมวดมาวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ผล CG เพอื่ ท�ำ การปรบั ปรงุ การด�ำ เนนิ งานตอ่ ไป (Act) ทง้ั นี้ กทพ. ได้น�ำ เสนอผลการด�ำ เนินงานดา้ น CG ต่อคณะอนกุ รรมการกำ�กับดแู ลกจิ การที่ดีและคณะกรรมการ กทพ. เพือ่ ทราบ ทุกไตรมาส ขา่ วสารการก�ำ กับดูแลกิจการ กทพ. ไดส้ อ่ื สารใหค้ ณะกรรมการ ผบู้ รหิ าร พนกั งานและลกู จา้ ง กทพ. ทกุ คนไดร้ บั ทราบและ ถอื ปฏบิ ตั ใิ นเรอ่ื งนโยบายและ แนวทางการก�ำ กบั ดแู ลกจิ การทด่ี ขี อง กทพ. ตลอดจนขอ้ มลู ขา่ วสารตา่ งๆ เกย่ี วกบั การก�ำ กบั ดแู ลกจิ การทด่ี ผี า่ นสอื่ ประชาสมั พนั ธ์ ต่างๆ เช่น การแจ้งเวียน การติดประกาศตามอาคารสำ�นักงานของ กทพ. วิทยุกระจายเสียงภายในองค์การ (EXAT Sound), แผ่นพับประชาสัมพันธ์, LED TV, Roll up, Internet และ Intranet อีกท้ังการเน้นย้ำ�ในโอกาสต่างๆ เช่น การประชุม การฝึกอบรมสัมมนา การจัดกจิ กรรมตา่ งๆ เปน็ ตน้ ส�ำ หรับประชาชนทวั่ ไปสามารถรับทราบข้อมลู ไดจ้ ากรายงานประจ�ำ ปี และ ชอ่ งทางสารสนเทศของ กทพ. 32 รายงานประจ�ำ ปี 255๙

แผนผังโครงสรา้ งการบริหารของคณะกรรมการการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย คณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะอนกุ รรมการพฒั นา คณะอนกุ รรมการ คณะอนกุ รรมการ ของการทางพเิ ศษ กจิ การสัมพนั ธ์ บริหารความเสย่ี ง และบรหิ ารจดั การพื้นที่ ประสานงานการบริหาร พิจารณากล่ันกรอง แหง่ ประเทศไทย การจราจรในทางพิเศษ ในเขตทางพิเศษ แผนปฏิบตั ิการ คณะอนุกรรมการ และประเมนิ ผล คณะกรรมการอสิ ระ กำ�กบั ดแู ลกิจการทีด่ ี การปฏบิ ัตงิ านของ ผวู้ ่าการการทางพิเศษ คณะกรรมการตรวจสอบ แห่งประเทศไทย คณะอนกุ รรมการ ดา้ นกฎหมาย คณะอนกุ รรมการก�ำ หนดยุทธศาสตร์ คณะอนกุ รรมการกำ�กบั การตดิ ตาม คณะอนกุ รรมการกล่ันกรอง เพื่อพฒั นาการให้บรกิ าร ตรวจสอบและการปฏิบัตติ ามมาตรการ และกำ�กบั เร่งรดั การเบกิ จา่ ยงบประมาณ ระบบเกบ็ คา่ ผ่านทางพิเศษอัตโนมัติ ดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม ประจำ�ปีของการทางพเิ ศษ ชว่ งด�ำ เนินการก่อสร้างโครงการทางพิเศษ แหง่ ประเทศไทย รายงานประจำ�ปี 33255๙ สายศรรี ชั -วงแหวนรอบนอก กรุงเทพมหานคร คณะอนุกรรมการเพอ่ื การศกึ ษาเสน้ ทางยุทธศาสตรส์ �ำ หรับ คณะอนุกรรมการโครงการทางพิเศษ คณะอนุกรรมการกลน่ั กรอง การรองรบั ยทุ ธศาสตรด์ า้ นโครงสรา้ งพืน้ ฐานของ สายพระราม 3-ดาวคะนอง- และพิจารณาเสนอเรอ่ื งตอ่ คณะกรรมการการทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย กระทรวงคมนาคมตามนโยบายคณะรักษาความสงบแห่งชาติ วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร และการรองรบั ประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น ดา้ นตะวนั ตก (ASEAN Economic Community : AEC)

คณะกรรมการและคณะอนกุ รรมการชดุ ต่างๆ คณะกรรมการ กทพ. ได้มีการแต่งต้ังคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ เพื่อปฏิบัติหน้าท่ีตาม ขอ้ กฎหมายทเี่ ก่ียวขอ้ งและปฏบิ ตั ิหนา้ ทต่ี ามทค่ี ณะกรรมการ กทพ. มอบหมายเพอ่ื ประโยชนข์ อง กทพ. ดังน้ี 1. คณะกรรมการทเี่ ปน็ ไปตามข้อกฎหมายทเ่ี กย่ี วข้อง ไดแ้ ก่ - คณะกรรมการตรวจสอบ - คณะกรรมการกจิ การสัมพนั ธ์ - ค ณะกรรมการกำ�กบั ดแู ลโครงการระบบทางดว่ นขั้นที่ 2 - ค ณะกรรมการกำ�กับดูแลโครงการทางด่วนสายบางปะอิน-ปากเกร็ด 2. คณะกรรมการและคณะอนกุ รรมการ เพ่ือปฏิบตั หิ นา้ ทต่ี ามท่ไี ด้รับมอบหมาย ได้แก่ - ค ณะกรรมการบรหิ ารของการทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย - คณะอนกุ รรมการพฒั นาและบริหารจัดการพื้นท่ใี นเขตทางพิเศษ - คณะอนุกรรมการดา้ นกฎหมาย - คณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองแผนปฏิบัติการและประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ว่าการ การทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย - คณะกรรมการสรรหาผวู้ า่ การการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย - คณะอนุกรรมการพจิ ารณาผลตอบแทนของผูว้ า่ การการทางพิเศษแห่งประเทศไทย - คณะอนกุ รรมการกำ�กับดูแลกิจการทด่ี ี - ค ณะกรรมการบรหิ ารความเส่ียง - ค ณะกรรมการอสิ ระ - ค ณะอนกุ รรมการกลั่นกรองและพจิ ารณาเสนอเรื่องตอ่ คณะกรรมการ กทพ. - ค ณะอนุกรรมการประสานงานการบรหิ ารการจราจรในทางพิเศษ - คณะกรรมการก�ำ กับการตดิ ตามตรวจสอบและการปฏิบตั ติ ามมาตรการด้านสง่ิ แวดลอ้ ม ชว่ งดำ�เนินการก่อสรา้ งโครงการทางพเิ ศษสายศรีรัช-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร - คณะกรรมการกำ�กบั ดแู ลโครงการทางพเิ ศษสายศรรี ัช-วงแหวนรอบนอกกรงุ เทพมหานคร - คณะอนกุ รรมการก�ำ หนดยทุ ธศาสตรเ์ พอื่ พฒั นาการใหบ้ รกิ ารระบบเกบ็ คา่ ผา่ นทางพเิ ศษอตั โนมตั ิ - คณะอนกุ รรมการเพอื่ การศกึ ษาเสน้ ทางยทุ ธศาสตรส์ �ำ หรบั การรองรบั ยทุ ธศาสตรด์ า้ นโครงสรา้ ง พื้นฐานของกระทรวงคมนาคมตามนโยบายคณะรักษาความสงบแห่งชาติและการรองรับ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) - ค ณะอนุกรรมการโครงการทางพิเศษสายพระราม 3-ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอก กรงุ เทพมหานครดา้ นตะวันตก 34 รายงานประจ�ำ ปี 255๙

การประชุมคณะกรรมการ กทพ. ในปีงบประมาณ ๒๕๕9 คณะกรรมการ กทพ. ไดม้ กี ารประชมุ จำ�นวน ท้งั สิ้น 16 ครง้ั โดยมรี ายชอื่ คณะกรรมการ กทพ. จ�ำ นวนคร้งั ที่เขา้ รว่ มประชมุ คา่ ตอบแทน (เบย้ี ประชุม ค่าตอบแทน รายเดอื น และโบนสั กรรมการ) ดงั นี้ คณะกรรมการการทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย (คณะกรรมการ กทพ.) รายชือ่ /หน่วยงาน ตำ�แหน่ง ช่วงเวลา การ เบ้ยี ประชมุ คา่ ตอบแทน โบนัสกรรมการ ทด่ี ำ�รงตำ�แหนง่ เข้ารว่ ม (บาท) รายเดือน ประจ�ำ ประชุม (บาท) (ครง้ั ) ปีงบประมาณ ๑5๐,๐๐๐ ๑5๐,๐๐๐.๐๐ 2558 (บาท) ๑. พลเอก วิวรรธน์ สชุ าติ ประธานกรรมการ ๓ ก.พ. 58-๓๐ ก.ย. ๕๙ 16/16 148,660.71 ผู้ทรงคุณวฒุ พิ ิเศษกองทัพบก แต่งตัง้ ตามมติ - 3,548.39 คณะรฐั มนตรี 120,000 116,451.61 180,000.๐๐ 120,000 113,548.39 - เมือ่ วันท ่ี ๓ ก.พ. ๕๘ 110,000 120,000.๐๐ 100,000 120,000.๐๐ 111,411.29 ๒. นายนรินทร์ กลั ยาณมติ ร กรรมการผแู้ ทน ๒๒ ก.ย. ๕๗-11 ต.ค. ๕๘ - 147,148.62 ผู้ตรวจราชการกระทรวงการคลัง กระทรวงการคลัง หนว่ ยงานเปน็ ผแู้ ต่งต้งั -- 180,000.๐๐ - 2,258.06 สำ�นกั งานปลดั กระทรวงการคลัง 90,000 117,741.94 82,850.80 10๐,000 120,000.๐๐ 55,500.๐๐ 3. นางสาวบัณฑรโฉม แก้วสอาด กรรมการผู้แทน 12 ต.ค. ๕8-๓๐ ก.ย. ๕๙ 14/16 180,000.๐๐ ท่ีปรกึ ษาด้านเศรษฐกจิ การคลงั กระทรวงการคลงั หน่วยงานเปน็ ผู้แต่งต้ัง 100,000 120,000.๐๐ 180,000.๐๐ 4. นายชศู ักดิ์ เกวี กรรมการผ้แู ทน 21 ต.ค. ๕8-30 ก.ย. ๕๙ 15/16 180,000.๐๐ ผูต้ รวจราชการกระทรวงคมนาคม กระทรวงคมนาคม หน่วยงานเปน็ ผูแ้ ต่งต้ัง 5. นายสมศกั ด์ิ โชตริ ตั นะศิริ กรรมการผู้แทน 28 ต.ค. 54-30 ก.ย. 59 11/16 ผ้อู �ำ นวยการส�ำ นักงบประมาณ ส�ำ นกั งบประมาณ หน่วยงานเปน็ ผ้แู ตง่ ต้ัง 6. นายชาญวทิ ย์ อมตะมาทชุ าติ กรรมการผแู้ ทน 21 ต.ค. 54-30 ก.ย. 59 12/16 รองเลขาธิการคณะกรรมการ สำ�นักงาน หนว่ ยงานเปน็ ผแู้ ตง่ ตงั้ พฒั นาการเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมการ แห่งชาติ พฒั นาการเศรษฐกิจ ส�ำ นักงานคณะกรรมการพัฒนาการ และสังคมแหง่ ชาติ เศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ 7. พลต�ำ รวจเอก เรอื งศกั ด์ิ จรติ เอก กรรมการผู้แทน ๓๐ ต.ค. ๕๗-๙ ม.ิ ย. ๕๘ - รองผบู้ ัญชาการตำ�รวจแห่งชาติ ส�ำ นกั งานต�ำ รวจ หนว่ ยงานเปน็ ผแู้ ตง่ ตัง้ ส�ำ นกั งานตำ�รวจแหง่ ชาติ แหง่ ชาติ 8. พลตำ�รวจโท ประวุฒิ ถาวรศิริ กรรมการผู้แทน ๑๐ ม.ิ ย. ๕๘-7 ต.ค. ๕๘ - ผ ู้ช่วยผู้บญั ชาการต�ำ รวจแหง่ ชาติ สำ�นักงานต�ำ รวจ หน่วยงานเป็นผแู้ ต่งตงั้ ส�ำ นักงานต�ำ รวจแห่งชาติ แหง่ ชาติ 9. พลต�ำ รวจตรี สรุ เชษฐ์ หักพาล กรรมการผูแ้ ทน 8 ต.ค. ๕๘-30 ก.ย. ๕๙ 12/16 ผ้บู งั คบั การตำ�รวจท่องเที่ยว ส�ำ นักงานต�ำ รวจ หนว่ ยงานเป็นผแู้ ต่งต้งั สำ�นกั งานต�ำ รวจแหง่ ชาติ แหง่ ชาติ 10. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ วเรศรา วรี ะวฒั น์ กรรมการ 21 ก.ค. 57-30 ก.ย. ๕๙ 13/16 อาจารย์ประจ�ำ ภาควชิ า ผู้ทรงคุณวุฒิ แต่งต้งั โดยความเห็นชอบ วิศวกรรมอุตสาหการ ของหวั หน้า คสช. คณะวิศวกรรมศาสตร์ เม่อื วนั ท่ี 21 ก.ค. 57 มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล 11. นายพลากร หว่ังหลี กรรมการ 21 ก.ค. 57-30 ก.ย. 59 11/16 กรรมการผจู้ ัดการใหญ่และ ผู้ทรงคณุ วุฒิ แต่งต้ังโดยความเห็นชอบ ประธานเจา้ หน้าที่บรหิ ารของ ของหัวหน้า คสช. ธนาคารสแตนดด์ ารด์ ชารเ์ ตอรด์ เมื่อวนั ท่ี 21 ก.ค. 57 (ไทย) จำ�กดั (มหาชน) 35รายงานประจ�ำ ปี 255๙

คณะกรรมการการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย (คณะกรรมการ กทพ.) (ต่อ) รายช่อื /หน่วยงาน ต�ำ แหน่ง ช่วงเวลา การ เบี้ยประชมุ คา่ ตอบแทน โบนสั กรรมการ 12. นายวฒุ พิ งศ์ วิบูลยว์ งศ์ ท่ดี �ำ รงต�ำ แหน่ง เข้ารว่ ม (บาท) รายเดอื น ประจ�ำ อยั การอาวุโส ประชมุ 80,000 (ครง้ั ) (บาท) ปีงบประมาณ 13. พลอากาศเอก ยทุ ธนา สกุ มุ ลจนั ทร์ 75,806.45 2558 (บาท) ข้าราชการบำ�นาญ กรรมการ 22 ต.ค. ๕๗-18 พ.ค. ๕๙ 8/10 169,838.72 14. นายอยั ยณฐั ถินอภยั ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ แตง่ ต้งั โดยความเหน็ ชอบ ผวู้ า่ การการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย การทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย ของหัวหน้า คสช. 15. นายณรงค์ เขียดเดช เม่ือวันที่ 4 ก.ย. 57 ผวู้ า่ การการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย โดยมผี ลต้ังแตว่ นั ท่ี 22 การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ต.ค. 57 (คณะกรรมการ 16. นางเบญจมาส ปิยโชติสกุ จิ อัยการอนมุ ัต)ิ ผ้อู �ำ นวยการส�ำ นกั ผวู้ ่าการ กรรมการ ๓ ก.พ. ๕๘-๓๐ ก.ย. ๕๙ 16/16 12๐,๐๐๐ 12๐,๐๐๐.๐๐ 118,928.57 การทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย ผู้ทรงคณุ วุฒิ แตง่ ตัง้ ตามมติ 17. นางวารรี ตั น์ นติ ธิ าดากุล คณะรฐั มนตรี ผู้อำ�นวยการกองกลางและ เมือ่ วนั ท ่ี ๓ ก.พ. ๕๘ การประชมุ สำ�นกั ผวู้ ่าการ การทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย กรรมการและ 8 พ.ย. 54-7 พ.ย. ๕๘ 3/3 3๐,๐๐๐ 12,333.33 180,000.๐๐ เลขานุการ ลงนาม ในสญั ญาจ้างบรหิ าร เมื่อวนั ท่ี 8 พ.ย. 54 กรรมการและ 13 ม.ค. 59-30 ก.ย. ๕๙ 13/13 9๐,๐๐๐ 107,666.67 - เลขานุการ ลงนามในสญั ญาจ้าง บรหิ ารเมอ่ื วนั ที่ 13 ม.ค. 59 (รกั ษาการใน ต�ำ แหน่งผู้วา่ การ กทพ. ตงั้ แตว่ ันที่ 8 พ.ย. 58- 12 ม.ค. 59) ผู้ช่วยเลขานุการ 13 พ.ย. 55-30 ก.ย. 59 15/16 -- - แตง่ ต้ังตามมติ คณะกรรมการ กทพ. ครงั้ ที่ 12/๒๕55 เมอ่ื วนั ที่ 13 พ.ย. 55 ผู้ช่วยเลขานกุ าร 13 พ.ย. 55-30 ก.ย. ๕๙ 15/16 -- - แตง่ ตัง้ ตามมติ คณะกรรมการ กทพ. คร้ังท่ี 12/๒๕55 เมือ่ วนั ท่ี 13 พ.ย. 55 ทม่ี า : กองกลางและการประชมุ สำ�นักผู้ว่าการ ขอ้ มลู ณ วันที่ 30 กันยายน 255๙ หมายเหต ุ 1. กรรมการ กทพ. ที่พน้ จากตำ�แหน่งแลว้ และไดร้ ับโบนสั ประจำ�ปงี บประมาณ 2558 มดี งั น้ี - นายนรนิ ทร์ กัลยาณมิตร = 180,000.00 บาท - พลตำ�รวจเอก เรืองศกั ด ์ิ จริตเอก = 82,850.80 บาท - พลต�ำ รวจโท ประวุฒิ ถาวรศริ ิ = 55,500.00 บาท - นายอยั ยณัฐ ถนิ อภยั = 180,000.00 บาท 2. ปีงบประมาณ ๒๕๕9 เร่ิมมีการประชุมคณะกรรมการ กทพ. เม่ือวันท่ี 22 ตุลาคม ๒๕๕8 (ครงั้ ท่ี 9/๒๕๕8) 3. อตั ราเบ้ียประชุมเปน็ ไปตามมตคิ ณะรฐั มนตรีเม่ือวันที่ 2 กรกฎาคม 2556 ดังนี้ - กรรมการ ได้รับเบ้ียประชุมคนละ 10,000 บาทต่อเดือน สำ�หรับประธานกรรมการ ได้รับสูงกว่า กรรมการรอ้ ยละ 25 และให้กรรมการเสียภาษีเงินไดเ้ อง 36 รายงานประจำ�ปี 255๙

- กรณีคณะกรรมการชดุ ย่อย คณะอนุกรรมการ คณะท�ำ งานอน่ื ที่แตง่ ตงั้ โดยบทบัญญตั แิ หง่ กฎหมาย มติคณะรัฐมนตรีหรือคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ ให้ได้รับค่าตอบแทน ดังนี้ กรณีเป็นกรรมการรัฐวิสาหกิจให้ได้รับ เบี้ยประชุมเป็นรายคร้ังในอัตราเท่ากับเบ้ียประชุมกรรมการรัฐวิสาหกิจ เฉพาะกรรมการท่ีมาประชุม ทั้งนี้ ให้ กรรมการรฐั วิสาหกจิ ได้รบั เบ้ยี ประชมุ คณะกรรมการชุดย่อย คณะอนกุ รรมการ คณะท�ำ งานอนื่ รวมแล้วไม่เกนิ 2 คณะ คณะละไม่เกิน 1 ครั้งต่อเดือน โดยประธานกรรมการได้รับเบี้ยประชุมสูงกว่ากรรมการร้อยละ 25 และให้กรรมการ เสียภาษีเงนิ ไดเ้ อง 4. อตั ราคา่ ตอบแทนรายเดือน เปน็ ไปตามมตคิ ณะรฐั มนตรเี ม่ือวนั ท่ี 2 กรกฎาคม 2556 โดยกรรมการ ได้รบั คนละ 10,000 บาทตอ่ เดือน ส�ำ หรับประธานกรรมการได้รับเปน็ 2 เท่าของกรรมการ ทัง้ น้ี ในกรณีที่กรรมการ รัฐวิสาหกิจดำ�รงตำ�แหน่งไม่เต็มเดือน ให้จ่ายค่าตอบแทนรายเดือนตามสัดส่วนระยะเวลาการดำ�รงตำ�แหน่ง และให้ กรรมการเสยี ภาษีเงนิ ได้เอง 5. การจา่ ยโบนสั ใหค้ ณะกรรมการ กทพ. เปน็ ไปตามหลกั เกณฑท์ ค่ี ณะรฐั มนตรไี ดม้ มี ตเิ มอ่ื วนั ที่ 31 มกราคม 2521 วนั ท่ี 13 พฤษภาคม 2523 และวันที่ 5 กมุ ภาพนั ธ์ 2534 รวมทงั้ หลักเกณฑ์ทก่ี ำ�หนดไว้ในระบบแรงจูงใจตาม คมู่ อื ระบบประเมินผลการด�ำ เนินงานรัฐวสิ าหกิจ และให้กรรมการเสียภาษเี งนิ ได้เอง อำ�นาจหนา้ ที่คณะกรรมการการทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย นอกจากอำ�นาจหน้าที่วางนโยบายควบคุมดูแลโดยท่ัวไปซึ่งกิจกรรมของ กทพ. ตามพระราชบัญญัติ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2550 แล้ว คณะกรรมการ กทพ. ยังมีหน้าท่ีท่ีต้องปฏิบัติให้สอดคล้องกับมติ คณะรฐั มนตรีและแนวทางการก�ำ กับดูแลทีด่ ใี นรัฐวิสาหกิจ ดงั นี้ 1. กำ�กับดแู ลให้ฝา่ ยบรหิ ารของ กทพ. จดั ทำ�แผนวสิ าหกิจใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาวการณ์ปจั จบุ นั และรองรับ แผนยทุ ธศาสตรช์ าติ และยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงคมนาคม รวมทง้ั นโยบายรฐั บาล และจดั ท�ำ แผนปฏบิ ตั งิ านประจ�ำ ปสี �ำ หรบั ใชใ้ นการบริหารงาน 2. ควบคมุ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านของ กทพ. ใหเ้ ปน็ ไปตามแผนวสิ าหกจิ และแผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำ�ปี 3. ก�ำ กบั ดแู ลใหม้ รี ะบบการบญั ชี การรายงานทางการเงนิ การสอบบญั ชที ถ่ี กู ตอ้ งครบถว้ นและนา่ เชอื่ ถอื และ จดั ใหม้ รี ะบบการควบคมุ ภายใน และระบบตรวจสอบภายใน รวมทงั้ ระบบการบรหิ ารความเสยี่ งทเ่ี พยี งพอและเหมาะสม โดยใหม้ กี ารรายงานผลการด�ำ เนินงานปญั หาอุปสรรค 4. ศึกษากฎหมาย มติคณะรัฐมนตรี และระเบยี บขอ้ บังคับตา่ ง ๆ ทีใ่ ชบ้ ังคบั กับ กทพ. ให้ครบถ้วน รวมทงั้ ติดตามข้อมลู การปรบั ปรุงแกไ้ ขกฎหมายและระเบยี บข้อบังคับให้ทันสมยั 5. สอดสอ่ งดแู ลและจัดการแกไ้ ขปญั หาความขัดแยง้ ทางผลประโยชน์ท่อี าจจะเกิดขึน้ ใน กทพ. 6. ด�ำ เนินการสรรหาผวู้ า่ การ ประเมนิ ผลการดำ�เนินงาน และก�ำ หนดค่าตอบแทนผวู้ า่ การ 7. จัดตัง้ คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการชุดตา่ ง ๆ เพอื่ ชว่ ยในการกำ�กับดูแลกจิ การของ กทพ. และ ปฏิบตั หิ น้าทีท่ ี่ได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการ กทพ. 37รายงานประจำ�ปี 255๙

คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการชุดตา่ งๆ คณะกรรมการทีเ่ ป็นไปตามขอ้ กฎหมายทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง คณะกรรมการตรวจสอบ ต�ำ แหนง่ ช่วงเวลาที่ด�ำ รงตำ�แหน่ง การเขา้ รว่ ม เบ้ยี ประชุม ประชมุ (ครัง้ ) (บาท) รายช่อื /หนว่ ยงาน ประธานกรรมการ 1-11 ต.ค. 58 1. นายนรินทร์ กลั ยาณมิตร ประธานกรรมการ (ตามค�ำ สัง่ คณะกรรมการ - 4,435.48 11/11 141,532.26 ผ้ตู รวจราชการกระทรวงการคลงั กทพ. ท่ี 5/2558 75,806.45 สำ�นกั งานปลดั กระทรวงการคลงั ลงวนั ที่ 2 มี.ค. 58) - 2. นายชาญวทิ ย์ อมตะมาทุชาติ 22 ต.ค. 58-30 ก.ย. 59 4/7 40,000.00 รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนา (ตามค�ำ สง่ั คณะกรรมการ 3/4 120,000.00 การเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ กทพ. ที่ 28/2558 - ส�ำ นักงานคณะกรรมการพฒั นา ลงวันท่ี 3 พ.ย. 58) 10/11 17,096.77 การเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ - 3. นายวฒุ ิพงศ์ วิบูลยว์ งศ์ กรรมการ 1-21 ต.ค. 58 2/2 อัยการอาวโุ ส (ตามค�ำ สั่งคณะกรรมการ สำ�นักงานนโยบายยทุ ธศาสตร์ กรรมการ และงบประมาณ กรรมการ กทพ. ท่ี 5/2558 ลงวันท่ี 2 ม.ี ค. 58) 4. นางบณั ฑรโฉม แกว้ สอาด เลขานกุ าร 22 ต.ค. 58-18 พ.ค. 59 ท่ปี รึกษาดา้ นเศรษฐกจิ การคลงั (ตามค�ำ ส่งั คณะกรรมการ ส�ำ นกั งานเศรษฐกิจการคลัง กทพ. ที่ 28/2558 กระทรวงการคลัง ลงวันท่ี 3 พ.ย. 58) 11 พ.ค.-30 ก.ย. 59 5. นายพลากร หว่ังหลี (ตามคำ�ส่งั คณะกรรมการ กรรมการผจู้ ัดการใหญแ่ ละ กทพ. ที่ 6/2559 ลงวันท่ี 3 ม.ิ ย. 59) ประธานเจ้าหนา้ ทบ่ี รหิ าร ประจำ�ประเทศไทย และสำ�นกั งาน 1-21 ต.ค. 58 ตัวแทนและหัวหน้าสายงานลูกคา้ (ตามค�ำ สง่ั คณะกรรมการ องค์กรระหวา่ งประเทศ ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย) กทพ. ที่ 5/2558 จำ�กัด (มหาชน) ลงวนั ท่ี 2 มี.ค. 58) 6. นางอุรวดี ชศู รี 22 ต.ค. 58-30 ก.ย. 59 ผอู้ ำ�นวยการสำ�นกั ตรวจสอบภายใน (ตามคำ�ส่งั คณะกรรมการ กทพ. ที่ 28/2558 ลงวันท่ี 3 พ.ย. 58) 1-21 ต.ค. 58 (ตามค�ำ สั่งคณะกรรมการ กทพ. ท่ี 5/2558 ลงวันที่ 2 ม.ี ค. 58) 22 ต.ค. 58-13 ม.ค. 59 (ตามคำ�ส่ังคณะกรรมการ กทพ. ที่ 28/2558 ลงวนั ท่ี 3 พ.ย. 58) 38 รายงานประจำ�ปี 255๙

คณะกรรมการตรวจสอบ (ตอ่ ) รายช่อื /หน่วยงาน ต�ำ แหน่ง ชว่ งเวลาท่ีด�ำ รงต�ำ แหนง่ การเขา้ ร่วม เบยี้ ประชุม ประชมุ (คร้ัง) (บาท) 7. นางสาวสวุ รรณ ลอลือเลิศ เลขานกุ าร 10 ม.ี ค.-30 ก.ย. 59 9/9 33,548.39 ผู้อำ�นวยการส�ำ นักตรวจสอบภายใน (ตามคำ�ส่ังคณะกรรมการ กทพ. ที่ 5/2558 ลงวนั ท่ี 2 ม.ี ค. 58) ทีม่ า : ส�ำ นักตรวจสอบภายใน ข้อมลู ณ วันท่ี 30 กนั ยายาน 2559 หมายเหตุ 1. การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ เป็นไปตามที่กำ�หนดไว้ในคู่มือการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ ตรวจสอบในรัฐวิสาหกิจ ฉบับปรับปรุง ปี 2555 สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง ในหวั ขอ้ กรอบการปฏบิ ตั งิ านส�ำ หรบั คณะกรรมการตรวจสอบ ขอ้ 1.11 ก�ำ หนดวา่ “คณะกรรมการตรวจสอบตอ้ งประชมุ ร่วมกันอย่างน้อยไตรมาสละ 1 คร้ัง ท้ังนี้ ในปีบัญชีการเงินแต่ละปีคณะกรรมการตรวจสอบต้องมีการประชุมร่วมกัน กบั ผูส้ อบบัญชี โดยไม่มีผู้บรหิ ารสูงสดุ ผูบ้ รหิ ารหรอื บคุ คลอ่ืนเข้าร่วมด้วยอยา่ งน้อย 1 คร้ัง” 2. คณะกรรมการตรวจสอบได้รับค่าตอบแทนเหมาจ่ายรายเดือน ประธานกรรมการได้รับเบ้ียประชุม 12,500 บาท กรรมการ 10,000 บาท และเลขานกุ าร 5,000 บาท (ตอ่ เดอื น) โดยคณะกรรมการเปน็ ผู้เสียภาษเี งนิ ได้ 3. เดือนตุลาคม 2558 ไม่มีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ เน่ืองจากกระทรวงการคลังได้แต่งต้ัง นางสาวบัณฑรโฉม แก้วสอาด ผแู้ ทนกระทรวงการคลงั เป็นกรรมการในคณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย แทน นายนรินทร์ กลั ยาณมิตร ต้ังแต่วันที่ 12 ตุลาคม 2558 เป็นต้นไป มผี ลทำ�ให้นายนรนิ ทร ์ กลั ยาณมติ ร พ้น จากการเปน็ คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการ กทพ. ไดม้ ีค�ำ ส่ังคณะกรรมการ กทพ. ท่ี 28/2558 ลงวันที่ 3 พฤศจกิ ายน 2558 แต่งต้ังคณะกรรมการตรวจสอบ มีผลต้ังแต่วันท่ี 22 ตุลาคม 2558 เปน็ ต้นไป 4. เดือนมกราคม 2559 นางอุรวดี ชูศรี ผู้อำ�นวยการสำ�นักตรวจสอบภายในในฐานะเลขานุการ ไดร้ ับแต่งตง้ั ใหเ้ ปน็ รองผู้ว่าการฝ่ายบริหาร เมือ่ วนั ที่ 14 มกราคม 2559 และ กทพ. มีค�ำ สง่ั กทพ. ที่ 75/2559 ลงวันท่ี 10 มีนาคม 2559 แต่งต้ัง นางสาวสุวรรณ ลอลือเลศิ ดำ�รงตำ�แหนง่ ผูอ้ ำ�นวยการตรวจสอบภายใน 5. เดือนพฤษภาคม 2559 นายวุฒิพงศ์ วิบูลย์วงศ์ กรรมการตรวจสอบ พ้นจากการเป็นกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการ กทพ. เนื่องจากอายุครบ 65 ปีบริบูรณ์ ในวันท่ี 19 พฤษภาคม 2559 และ คณะกรรมการ กทพ. ได้มีคำ�สั่งคณะกรรมการ กทพ. ที่ 6/2559 ลงวันที่ 3 มิถุนายน 2559 แต่งตั้ง นางสาวบณั ฑรโฉม แกว้ สอาด เป็นกรรมการในคณะกรรมการตรวจสอบแทนนายวุฒพิ งศ ์ วิบลู ย์วงศ์ 6. ในปงี บประมาณ 2559 ได้มกี ารประชมุ คณะกรรมการตรวจสอบ รวมจ�ำ นวน 11 คร้ัง อ�ำ นาจหนา้ ท่ีคณะกรรมการตรวจสอบ 1. จัดทำ�กฎบัตรว่าด้วยการตรวจสอบภายในของคณะกรรมการตรวจสอบให้สอดคล้องกับขอบเขต ความรบั ผิดชอบในการดำ�เนินงานของ กทพ. โดยต้องไดร้ ับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการ กทพ. และมกี ารสอบทาน ความเหมาะสมของกฎบตั รดังกลา่ วอย่างนอ้ ยปีละหนงึ่ ครง้ั 2. สอบทานประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลของกระบวนการควบคมุ ภายใน กระบวนการก�ำ กบั ดแู ลกจิ การทด่ี ี และกระบวนการบรหิ ารความเส่ียง 3. สอบทานให้ กทพ. มกี ารรายงานทางการเงนิ อย่างถูกตอ้ งและน่าเช่ือถือ 4. สอบทานการดำ�เนินงานของ กทพ. ให้ถูกต้องตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ วิธีปฏิบัติงาน มติคณะรฐั มนตรี ประกาศ หรอื คำ�สัง่ ทีเ่ กี่ยวกบั การด�ำ เนนิ งานของ กทพ. 39รายงานประจำ�ปี 255๙

5. สอบทานให้ กทพ. มีระบบการตรวจสอบภายในท่ีดี และพิจารณาความเป็นอิสระของ สำ�นกั ตรวจสอบภายใน 6. พิจารณารายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือมีโอกาสเกิดการทุจริต หรือรายการ ทเี่ กี่ยวโยงกนั ทอ่ี าจมีผลกระทบต่อการปฏบิ ัตงิ านของ กทพ. 7. เสนอข้อแนะนำ�ต่อคณะกรรมการ กทพ. ในการพิจารณาแต่งต้ัง โยกย้าย เล่ือนข้ัน เลื่อนตำ�แหน่ง และประเมินผลงานของผู้อ�ำ นวยการส�ำ นกั ตรวจสอบภายใน 8. ประสานงานเก่ียวกับผลการตรวจสอบกับผู้สอบบัญชี และอาจเสนอแนะให้สอบทานหรือตรวจสอบ รายการใดที่เห็นวา่ จ�ำ เปน็ รวมถงึ เสนอคา่ ตอบแทนของผู้สอบบัญชตี อ่ คณะกรรมการ กทพ. 9. รายงานผลการดำ�เนินงานเกี่ยวกับการตรวจสอบภายในของคณะกรรมการตรวจสอบต่อ คณะกรรมการ กทพ. อย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง ภายใน 60 วัน นับแต่วันสิ้นสุดในแต่ละไตรมาส ยกเว้นรายงาน ผลการดำ�เนินงานในไตรมาสท่ี 4 ให้จัดทำ�เป็นรายงานผลการดำ�เนินงานประจำ�ปี พร้อมทั้งส่งรายงานดังกล่าวให้ กระทรวงคมนาคม และกระทรวงการคลัง เพื่อทราบภายใน 90 วัน นับแตว่ นั สนิ้ ปบี ญั ชกี ารเงินของ กทพ. 10. ประเมินผลการดำ�เนินงานเก่ียวกับการตรวจสอบภายในของคณะกรรมการตรวจสอบอย่างน้อย ปบี ญั ชีการเงินละ 1 ครั้ง รวมท้ังรายงานผลการประเมิน ปัญหาและอุปสรรค ตลอดจนแผนการปรับปรงุ การด�ำ เนนิ งาน ให้คณะกรรมการ กทพ. ทราบ 11. เปิดเผยรายงานผลการดำ�เนินงานประจำ�ปีของคณะกรรมการตรวจสอบ และค่าตอบแทนของ ผูส้ อบบญั ชใี นรายงานประจ�ำ ปขี อง กทพ. 12. ปฏิบตั ิงานอืน่ ใดตามท่ีกฎหมายก�ำ หนด หรอื คณะกรรมการ กทพ. มอบหมาย ในการปฏิบัติหน้าท่ีดังกล่าวข้างต้น คณะกรรมการตรวจสอบมีความรับผิดชอบต่อคณะกรรมการ กทพ. โดยตรง คณะกรรมการกิจการสมั พนั ธ์ รายชอ่ื /หน่วยงาน ตำ�แหนง่ ช่วงเวลา การเขา้ รว่ ม เบยี้ ประชมุ ประธานกรรมการ ทดี่ ำ�รงตำ�แหนง่ ประชุม (ครงั้ ) (บาท) 1. พลอากาศเอก ยทุ ธนา สกุ มุ ลจนั ทร์ 25 ก.พ. 58- 56,250 ก รรมการการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย กรรมการ 25 ก.พ. 60 11/11 6,750 2. นายด�ำ เกิง ปานขำ� กรรมการ 25 ก.พ. 58- 5/11 8,100 รองผวู้ า่ การฝา่ ยปฏิบัตกิ าร 25 ก.พ. 60 6/6 3. นางอรุ วดี ชูศรี กรรมการ 11 เม.ย. 59- 13,500 รองผูว้ า่ การฝา่ ยบริหาร กรรมการ 30 ก.ย. 59 10/11 8,100 กรรมการ (เกษยี ณอายุการทำ�งาน) 6/6 6,750 4. นายปญั ญา ไชยานนท์ กรรมการ 25 ก.พ. 58- 5/6 8,100 ผู้อ�ำ นวยการฝา่ ยการเงินและบัญชี 25 ก.พ. 60 6/6 5. นายสมบตั ิ สรุ ะประสทิ ธิ์ 11 เม.ย. 59- ผูอ้ ำ�นวยการฝา่ ยบำ�รงุ รกั ษา 25 ก.พ. 60 6. นายประสทิ ธิ์ เดชศิริ 11 เม.ย. 59- ผ้อู �ำ นวยการฝ่ายกรรมสิทธิ์ทีด่ นิ 25 ก.พ. 60 7. นายพงศ์โสภณ ครุ ุรตั น์ชยั กุล 11 เม.ย. 59- ผ้อู ำ�นวยการฝ่ายกฎหมาย 25 ก.พ. 60 40 รายงานประจำ�ปี 255๙

คณะกรรมการกจิ การสัมพนั ธ์ (ตอ่ ) ต�ำ แหน่ง ชว่ งเวลา การเข้ารว่ ม เบ้ียประชุม กรรมการ ท่ีดำ�รงต�ำ แหน่ง ประชมุ (คร้งั ) (บาท) รายชื่อ/หน่วยงาน กรรมการ 11 เม.ย. 59- 6,750 30 ก.ย. 59 5/6 8. นายสุรศกั ดิ์ กาญจนไวกูณฐ์ กรรมการ (เกษียณอายุการท�ำ งาน) 14,850 ผ้อู �ำ นวยการฝา่ ยควบคุมการจราจร กรรมการ 25 ก.พ. 58- 11/11 กรรมการ 25 ก.พ. 60 9. นายลาภดี กลยนยี ์ กรรมการ (ประธานสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ กรรมการ 25 ก.พ. 58- 8/11 10,800 กรรมการ 25 ก.พ. 60 11/11 14,850 กทพ.) ชา่ ง 6 กองบ�ำ รงุ รกั ษาอาคาร และ 9/11 12,150 ความสะอาด ฝ่ายบ�ำ รงุ รักษา เลขานุการ 25 ก.พ. 58- 8/11 10,800 10. นายรังสรรค์ สงั ขจันทร์ 25 ก.พ. 60 5/6 6,750 นิตกิ ร 6 กองจดั กรรมสทิ ธ์ิที่ดิน 25 ก.พ. 58- 6/6 8,100 ฝ่ายกรรมสทิ ธิท์ ดี่ นิ 25 ก.พ. 60 11. นายปรชี า ออู่ รณุ นิติกร 6 กองนิติการ ฝ่ายกฎหมาย 25 ก.พ. 58- 12. นายภาณทุ ัต สุวรรณภารต 25 ก.พ. 60 พ นักงานทั่วไป 6 กองกู้ภัยและสื่อสาร ฝา่ ยควบคุมการจราจร 11 เม.ย. 59- 13. นายศภุ ชัย เศาวภายน 25 ก.พ. 60 พนักงานทัว่ ไป 6 กองบำ�รุงรกั ษาอาคาร และความสะอาด ฝ่ายบำ�รงุ รักษา 11 เม.ย. 59- 14. นายยทุ ธนา รักษาวงศ์ 25 ก.พ. 60 ช ่าง 5 กองกอ่ สร้างทวั่ ไป ฝา่ ยก่อสร้างทางพเิ ศษ 11 เม.ย. 59- 6/6 - 15. นายชาญชัย โพธ์ทิ องค�ำ 25 ก.พ. 60 ท่มี า : กองการเจา้ หน้าท่ี ฝา่ ยบรหิ ารทว่ั ไป พนกั งานควบคมุ เกบ็ คา่ ผา่ นทางพเิ ศษ 3 ขอ้ มลู ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 255๙ กองจัดเก็บค่าผ่านทาง 1 ฝา่ ยจดั เก็บค่าผ่านทาง 16. นางสาวภาวนิ ี ศิระยทุ ธโยธนิ ผ้อู �ำ นวยการฝา่ ยบรหิ ารท่วั ไป อำ�นาจหนา้ ทีค่ ณะกรรมการกิจการสัมพนั ธ์ 1. พิจารณาให้ความเห็นเกี่ยวกับการปรับปรุงประสิทธิภาพในการดำ�เนินงานของการทางพิเศษ แหง่ ประเทศไทย ตลอดจนส่งเสริมและพฒั นาการแรงงานสัมพนั ธ์ 2. หาทางปรองดองและระงับข้อขดั แย้งในการทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย 3. พจิ ารณาปรบั ปรงุ ระเบยี บขอ้ บงั คบั ในการท�ำ งานอนั จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ นายจา้ งลกู จา้ งและการทางพเิ ศษ แหง่ ประเทศไทย 4. ปรกึ ษาหารอื เพอ่ื แกป้ ญั หาตามค�ำ รอ้ งทกุ ขข์ องลกู จา้ งหรอื สหภาพแรงงานการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย รวมถึงการร้องทุกขท์ เ่ี กยี่ วกับการลงโทษทางวินัย 5. ปรึกษาหารอื เพือ่ พิจารณาปรบั ปรงุ สภาพการจา้ ง 41รายงานประจำ�ปี 255๙

คณะกรรมการก�ำ กับดูแลโครงการระบบทางด่วนขนั้ ท่ี 2 รายช่ือ /หน่วยงาน ต�ำ แหนง่ ชว่ งเวลา การเข้ารว่ ม เบีย้ ประชุม ทีด่ ำ�รงตำ�แหน่ง ประชมุ (ครง้ั ) (บาท) 1. นายพงษศ์ กั ดิ์ สมใจ ประธาน 20,000 รองปลัดกระทรวงคมนาคม คณะกรรมการ 1 ต.ค. 58- 2/2 กระทรวงคมนาคม 30 ก.ย. 59 2. นายภมู ศิ กั ด์ิ อรญั ญาเกษมสขุ กรรมการ 17 ก.พ. 58- 2/2 16,000 ผู้อำ�นวยการสำ�นักพัฒนารัฐวิสาหกิจ 1 30 ก.ย. 59 ผ้แู ทนส�ำ รอง 17 ก.พ. 58- 1/2 - ส�ำ นกั งานคณะกรรมการนโยบายรฐั วสิ าหกจิ 30 ก.ย. 59 3. นายพทิ ย อทุ ัยสาง ผู้แทนสำ�รอง 17 ก.พ. 58- 2/2 - น ักวิเคราะห์รัฐวิสาหกิจชำ�นาญการพิเศษ 30 ก.ย. 59 กรรมการ 17 ก.พ. 58- 2/2 16,000 ส�ำ นกั งานคณะกรรมการนโยบายรฐั วสิ าหกจิ 30 ก.ย. 59 4. นางสาวสกุลเพชร เพชรดี กรรมการ 17 ก.พ. 58- 2/2 16,000 นกั วิเคราะหร์ ัฐวสิ าหกิจชำ�นาญการ ผทู้ รงคณุ วุฒิ 30 ก.ย. 59 1/2 8,000 ส�ำ นกั งานคณะกรรมการนโยบายรฐั วสิ าหกจิ กรรมการ 17 ก.พ. 58- 2/2 16,000 5. นายพิษณุ วิเชียรสรรค์ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ 30 ก.ย. 59 อัยการพเิ ศษฝา่ ยสัญญาและหารอื 4 17 ก.พ. 58- 2/2 16,000 กรรมการ 30 ก.ย. 59 สำ�นักงานอัยการสงู สดุ ผู้ทรงคุณวฒุ ิ 17 ก.พ. 58- 2/2 16,000 6. นาวาอากาศเอก จริ พล เกอ้ื ด้วง 30 ก.ย. 59 2/2 - ผ ู้วา่ การสถาบนั การบินพลเรือน กรรมการ 2/2 - 7. นายสมศักดิ์ หม่ มว่ ง ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ 1 พ.ย. 58- ทีม่ า : กองวางแผนปฏิบตั กิ าร ผูต้ รวจราชการ กระทรวงคมนาคม 30 ก.ย. 59 ขอ้ มลู ณ วนั ท ่ี ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕9 8. นายชาญ ธาระวาส กรรมการและ 12 ธ.ค. 58- ประธานกรรมการ/ประธานเจา้ หนา้ ทบ่ี รหิ าร เลขานกุ าร 30 ก.ย. 59 ผู้ช่วยเลขานกุ าร 17 ก.พ. 58- บรษิ ัท ซี แอม ครีเอช่นั จำ�กดั 30 ก.ย. 59 9. รองศาสตราจารยน์ พดล เพียรเวช ผชู้ ว่ ยเลขานุการ รองศาสตราจารย์ ภาควิชาวศิ วกรรม ธรณเี ทคนิคและทรัพยากรปฐพี สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย 10. นายณรงค์ เขียดเดช ผู้ว่าการการทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย การทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย 11. นายพงศ์โสภณ คุรรุ ัตน์ชัยกุล ผ อู้ �ำ นวยการฝา่ ยกฎหมาย การทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย 12. นายนนทจติ ต์ บา่ งสมบูรณ์ ผอู้ �ำ นวยการกองวางแผนปฏิบัตกิ าร การทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย อ�ำ นาจหนา้ ท่คี ณะกรรมการก�ำ กบั ดแู ลโครงการระบบทางด่วนข้นั ที่ 2 1. ติดตามกำ�กับดูแลโครงการให้มีการดำ�เนินงานตามที่กำ�หนดในสัญญาร่วมลงทุนแผนการปฏิบัติตาม สญั ญาร่วมลงทุน และแผนการจดั การแก้ไขปัญหาทีอ่ าจเกดิ ขึ้นจากการด�ำ เนินโครงการ 42 รายงานประจ�ำ ปี 255๙

2. พิจารณาเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากการดำ�เนินโครงการต่อหน่วยงานเจ้าของ โครงการ โดยอาจกำ�หนดให้หน่วยงานเจ้าของโครงการว่าจ้างที่ปรึกษาเพ่ือวิเคราะห์แนวทางการแก้ไขปัญหาในการ ดำ�เนินโครงการและจดั ท�ำ แผนการจัดการแกไ้ ขปัญหาทอี่ าจเกดิ ขน้ึ จากการด�ำ เนนิ โครงการได้ 3. เรียกหน่วยงานเจ้าของโครงการหรอื เอกชนคสู่ ญั ญาเขา้ ช้แี จงหรอื จดั สง่ ข้อมลู หรอื เอกสารทีเ่ กี่ยวขอ้ ง 4. รายงานผลการดำ�เนินงาน ความคืบหน้า ปัญหา และแนวทางการแก้ไขต่อรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงคมนาคมเพื่อทราบอย่างน้อยหกเดือนต่อหน่ึงครั้ง และให้ส่งสำ�เนารายงานและเอกสารท่ีเกี่ยวข้องไปยัง สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกจิ คณะกรรมการก�ำ กับดูแลโครงการทางดว่ นสายบางปะอนิ –ปากเกร็ด รายช่ือ/หน่วยงาน ต�ำ แหน่ง ชว่ งเวลา การเขา้ รว่ ม เบย้ี ประชมุ ท่ีดำ�รงต�ำ แหน่ง ประชุม (ครั้ง) (บาท) 1. นายดรุณ แสงฉาย ประธาน 20,000 รองปลดั กระทรวงคมนาคม คณะกรรมการ 1 ต.ค. 58- 2/2 16,000 กระทรวงคมนาคม ๓๐ ก.ย. ๕๙ 2/2 - กรรมการ 17 ก.พ. 58- 1/2 - 2. นายภมู ิศักดิ์ อรัญญาเกษมสขุ ๓๐ ก.ย. ๕๙ 2/2 16,000 ผู้อ�ำ นวยการสำ�นักพฒั นารัฐวสิ าหกจิ 1 ผู้แทนสำ�รอง 17 ก.พ. 58- 2/2 16,000 กระทรวงการคลัง ๓๐ ก.ย. ๕๙ 2/2 16,000 ผู้แทนส�ำ รอง 17 ก.พ. 58- 2/2 16,000 3. นายพทิ ย อทุ ัยสาง ๓๐ ก.ย. ๕๙ 2/2 16,000 นักวิเคราะห์รัฐวิสาหกิจชำ�นาญการพิเศษ กรรมการ 17 ก.พ. 58- 2/2 กระทรวงการคลัง ๓๐ ก.ย. ๕๙ 16,000 กรรมการ 17 ก.พ. 58- 2/2 - 4. นางสาวสกุลเพชร เพชรดี ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ ๓๐ ก.ย. ๕๙ 2/2 นกั วเิ คราะหร์ ฐั วสิ าหกจิ ชำ�นาญการ กรรมการ 17 ก.พ. 58- กระทรวงการคลงั ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ๓๐ ก.ย. ๕๙ กรรมการ 17 ก.พ. 58- 5. นายพษิ ณุ วิเชียรสรรค์ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ ๓๐ ก.ย. ๕๙ อัยการพิเศษฝ่ายสัญญาและหารอื 4 กรรมการ 17 ก.พ. 58- สำ�นกั งานอยั การสงู สุด ผู้ทรงคณุ วุฒิ ๓๐ ก.ย. ๕๙ 6. นาวาอากาศเอกจิรพล เกอ้ื ดว้ ง กรรมการและ 1 พ.ย. 58- ผู้ว่าการสถาบนั การบินพลเรอื น เลขานุการ ๓๐ ก.ย. ๕๙ ผ้ชู ่วยเลขานกุ าร 12 ธ.ค. 58- 7. นายสมศกั ด์ิ ห่มม่วง ๓๐ ก.ย. ๕๙ ผู้ตรวจราชการ กระทรวงคมนาคม 8. นายชาญ ธาระวาส ประธานกรรมการ บริษทั ซี แอม ครเี อช่ัน จำ�กัด 9. รองศาสตราจารย์นพดล เพยี รเวช รองศาสตราจารย์ ภาควิชาวิศวกรรม ธรณเี ทคนิคและทรพั ยากรปฐพี สถาบนั เทคโนโลยีแหง่ เอเชยี 10. นายณรงค์ เขียดเดช ผูว้ า่ การการทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย การทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย 1 1. นายพงศโ์ สภณ คุรรุ ัตน์ชัยกุล ผู้อำ�นวยการฝ่ายกฎหมาย การทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย 43รายงานประจ�ำ ปี 255๙

คณะกรรมการก�ำ กับดูแลโครงการทางดว่ นสายบางปะอนิ -ปากเกร็ด (ต่อ) รายชือ่ /หนว่ ยงาน ตำ�แหนง่ ชว่ งเวลา การเข้าร่วม เบ้ยี ประชุม ผูช้ ว่ ยเลขานกุ าร ที่ด�ำ รงตำ�แหน่ง ประชุม (คร้ัง) (บาท) 12. น ายนนทจติ ต์ บา่ งสมบรู ณ์ 17 ก.พ. 58- - ผอู้ �ำ นวยการกองวางแผนปฏิบตั กิ าร ๓๐ ก.ย. ๕๙ 2/2 การทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย ทีม่ า : กองวางแผนปฏบิ ัตกิ าร ข้อมลู ณ วันท ี่ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕9 อำ�นาจหนา้ ทีค่ ณะกรรมการก�ำ กบั ดูแลโครงการทางด่วนสายบางปะอนิ -ปากเกร็ด 1. ติดตามกำ�กับดูแลโครงการให้มีการดำ�เนินงานตามที่กำ�หนดในสัญญาร่วมลงทุนแผนการปฏิบัติตาม สญั ญาร่วมลงทุน และแผนการจดั การแก้ไขปญั หาทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ จากการดำ�เนนิ โครงการ 2. พิจารณาเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึนจากการดำ�เนินโครงการต่อหน่วยงานเจ้าของ โครงการ โดยอาจก�ำ หนดใหห้ นว่ ยงานเจา้ ของโครงการวา่ จา้ งทป่ี รกึ ษาเพอื่ วเิ คราะหแ์ นวทางการแกไ้ ขปญั หาในการด�ำ เนนิ โครงการและจดั ทำ�แผนการจัดการแก้ไขปญั หาท่ีอาจเกดิ ขนึ้ จากการด�ำ เนินโครงการได้ 3. เรียกหนว่ ยงานเจ้าของโครงการหรอื เอกชนคูส่ ญั ญาเขา้ ชแ้ี จงหรอื จดั สง่ ขอ้ มูลหรอื เอกสารท่เี กยี่ วข้อง 4. รายงานผลการดำ�เนินงาน ความคืบหน้า ปัญหา และแนวทางการแก้ไขต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวง คมนาคมเพื่อทราบอย่างน้อยหกเดือนต่อหนึ่งครั้ง และให้ส่งสำ�เนารายงานและเอกสารที่เก่ียวข้องไปยังสำ�นักงาน คณะกรรมการนโยบายรัฐวสิ าหกิจ คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการเพื่อปฏบิ ัติหนา้ ทต่ี ามท่ีไดร้ บั มอบหมาย คณะกรรมการบรหิ ารของการทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย ปงี บประมาณ ๒๕59 คณะกรรมการบริหารของ กทพ. ได้มีการประชมุ รวมทง้ั ส้นิ 8 ครั้ง โดยมรี ายช่ือ คณะกรรมการบรหิ ารของ กทพ. จำ�นวนครงั้ ท่ีเข้ารว่ มประชุม และคา่ ตอบแทน (เบีย้ ประชุม) ดงั น้ี รายชอ่ื /หน่วยงาน ต�ำ แหน่ง ชว่ งเวลาท่ดี �ำ รงตำ�แหน่ง การเข้าร่วม เบี้ยประชุม 1. นายสมศกั ด์ิ โชติรัตนะศริ ิ ประธานกรรมการ ประชมุ (ครงั้ ) (บาท) ก รรมการผู้แทนส�ำ นกั งบประมาณ 30 พ.ย. 54-30 ก.ย. 59 กรรมการ (ตามคำ�สงั่ คณะกรรมการ กทพ. 8/8 100,000 ผอู้ ำ�นวยการส�ำ นักงบประมาณ กรรมการ ที่ 8/๒๕54 ลงวันที่ 7 ธ.ค. 54 กรรมการ ค�ำ สง่ั ท่ี 2/๒๕56 ลงวนั ท่ี 4 ก.พ. 56 7/8 70,000 2. นายชูศกั ด์ิ เกวี ค�ำ สง่ั ท่ี 4/๒๕57 ลงวนั ท่ี 8 ก.ย. 57 8/8 70,000 กรรมการผแู้ ทนกระทรวงคมนาคม 8/8 60,000 และค�ำ สั่งท่ี 1/๒๕58 ผูต้ รวจราชการกระทรวงคมนาคม ลงวนั ที่ 2 มี.ค. 58) 3. พ ลอากาศเอก ยทุ ธนา สกุ มุ ลจนั ทร์ 25 ก.พ. 58-30 ก.ย. 59 ก รรมการผู้ทรงคุณวุฒิ (ตามคำ�ส่ังคณะกรรมการ กทพ. ขา้ ราชการบำ�นาญ ท่ี 1/๒๕58 ลงวนั ท่ี 2 มี.ค. 58 4. นายณรงค์ เขียดเดช 25 ก.พ. 58-30 ก.ย. 59 ผู้ว่าการการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย (ตามค�ำ สง่ั คณะกรรมการ กทพ. ท่ี 1/๒๕58 ลงวันที่ 2 มี.ค. 58) 13 ม.ค. 59-30 ก.ย. 5๙ (ลงนามในสัญญาจ้างบรหิ าร เมอื่ วนั ท่ี 13 ม.ค. 59) 44 รายงานประจ�ำ ปี 255๙

คณะกรรมการบรหิ ารของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย (ตอ่ ) รายชื่อ/หน่วยงาน ต�ำ แหน่ง ช่วงเวลาทด่ี ำ�รงต�ำ แหน่ง การเขา้ ร่วม เบีย้ ประชุม 5. นางเบญจมาส ปยิ โชติสกุ ิจ เลขานุการ ประชุม (คร้งั ) (บาท) ผ อู้ �ำ นวยการสำ�นักผวู้ า่ การ การทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย ผูช้ ่วยเลขานกุ าร 13 พ.ย. 55-30 ก.ย. 59 7/8 - (ตามค�ำ สัง่ คณะกรรมการ กทพ. 6. นางวารรี ัตน์ นิตธิ าดากุล ที่ 19/๒๕55 ลงวันที่ 13 ธ.ค. 55 ผ ู้อำ�นวยการกองกลาง ค�ำ สง่ั ท่ี 2/๒๕56 ลงวนั ท่ี 4 ก.พ. 56 ค�ำ สง่ั ท่ี 4/๒๕57 ลงวนั ท่ี 8 ก.ย. 57 และการประชุม ส�ำ นักผู้วา่ การ และคำ�ส่ังที่ 1/๒๕58 การทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย ลงวันที่ 2 มี.ค. 58) 30 พ.ย. 54-30 ก.ย. 59 7/8 - (ตามคำ�ส่ังคณะกรรมการ กทพ. ที่ 8/๒๕54 ลงวันท่ี 7 ธ.ค. 54 ค�ำ สง่ั ท่ี 2/๒๕56 ลงวนั ท่ี 4 ก.พ. 56 ค�ำ สง่ั ท่ี 4/๒๕57 ลงวนั ท่ี 8 ก.ย. 57 และค�ำ สงั่ ท่ี 1/๒๕58 ลงวันท่ี 2 มี.ค. 58) ทม่ี า : กองกลางและการประชมุ ส�ำ นกั ผวู้ า่ การ ขอ้ มูล ณ วันที่ 30 กนั ยายน 255๙ หมายเหต ุ อตั ราเบ้ียประชมุ เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวนั ท่ี 2 กรกฎาคม ๒๕56 ดงั นี้ - กรรมการ ไดร้ บั เบยี้ ประชมุ คนละ 10,000 บาทตอ่ เดอื น ส�ำ หรบั ประธานกรรมการ ไดร้ บั สงู กวา่ กรรมการ รอ้ ยละ 25 และให้กรรมการเสียภาษีเงินได้เอง - กรณีคณะกรรมการชุดย่อย คณะอนุกรรมการ คณะทำ�งานอื่น ที่แต่งต้ังโดยบทบัญญัติแห่งกฎหมาย มติคณะรัฐมนตรีหรือคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจให้ได้รับค่าตอบแทน ดังน้ี กรณีเป็นกรรมการรัฐวิสาหกิจให้ได้รับ เบ้ียประชุมเป็นรายคร้ังในอัตราเท่ากับเบ้ียประชุมกรรมการรัฐวิสาหกิจ เฉพาะกรรมการที่มาประชุม ทั้งน้ี ใหก้ รรมการรฐั วสิ าหกจิ ไดร้ บั เบยี้ ประชมุ คณะกรรมการชดุ ยอ่ ย คณะอนกุ รรมการ คณะท�ำ งานอนื่ รวมแลว้ ไมเ่ กนิ 2 คณะ คณะละไม่เกิน 1 ครั้งต่อเดือน โดยประธานกรรมการได้รับเบ้ียประชุมสูงกว่ากรรมการร้อยละ 25 และให้กรรมการ เสยี ภาษเี งนิ ได้เอง อ�ำ นาจหนา้ ท่คี ณะกรรมการบรหิ ารของการทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย 1. พิจารณานโยบายการเงินและการลงทุนของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย วางแนวทางในการจัดการ ปัญหาที่จะกระทบตอ่ สถานะทางการเงนิ ของการทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย ทั้งในระยะส้ันและระยะยาว และหนา้ ทีอ่ ื่น ที่เก่ยี วเนอื่ ง 2. พิจารณากลั่นกรองงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปีของการทางพิเศษแห่งประเทศไทยเพ่ือนำ�เสนอ คณะกรรมการการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทยอนุมัติ 3. พจิ ารณากลน่ั กรองการจดั ซอื้ จดั จา้ ง และจา้ งทปี่ รกึ ษา ซงึ่ อยใู่ นอ�ำ นาจของคณะกรรมการการทางพเิ ศษ แหง่ ประเทศไทยตามขอ้ บงั คบั การทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย วา่ ดว้ ย การพสั ดุ เพอ่ื น�ำ เสนอคณะกรรมการการทางพเิ ศษ แหง่ ประเทศไทยอนมุ ัติ 4. พจิ ารณากลน่ั กรองเงนิ ส�ำ รองในกรณจี �ำ เปน็ เรง่ ดว่ นตามระเบยี บวา่ ดว้ ยงบลงทนุ ของรฐั วสิ าหกจิ 2550 ครั้งละเกินกว่าแปดล้านบาท และพิจารณากลั่นกรองเงินสำ�รองกรณีราคาเปลี่ยนแปลงเกินร้อยละสิบของวงเงินที่ได้รับ อนมุ ัตไิ วเ้ ดมิ เพ่อื น�ำ เสนอคณะกรรมการการทางพิเศษแหง่ ประเทศไทยอนมุ ัติ 45รายงานประจำ�ปี 255๙

5. พิจารณากล่ันกรองเกี่ยวกับเงินค่าทดแทนตามกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ที่คณะกรรมการเพ่อื ทำ�หน้าท่กี ำ�หนดราคาเบื้องตน้ และจำ�นวนเงินค่าทดแทนอสังหารมิ ทรพั ย์ทจี่ ะต้องเวนคนื กำ�หนดให้ แก่เจา้ ของทรัพยสนิ ในกรณวี งเงินค่าทดแทนตอ่ รายเกนิ กว่าหนึง่ ร้อยลา้ นบาท เพ่ือนำ�เสนอคณะกรรมการการทางพิเศษ แห่งประเทศไทยอนุมัติ 6. พิจารณากล่ันกรองข้อบังคับของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย เพ่ือนำ�เสนอคณะกรรมการ การทางพเิ ศษแห่งประเทศไทยอนุมตั ิ 7. พจิ ารณาเร่อื งอ่ืน ๆ ตามท่คี ณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยมอบหมาย คณะอนกุ รรมการพฒั นาและบรหิ ารจัดการพ้นื ทใ่ี นเขตทางพิเศษ รายชื่อ/หนว่ ยงาน ต�ำ แหนง่ ชว่ งเวลา การเข้าร่วม เบ้ียประชุม ที่ดำ�รงต�ำ แหนง่ ประชุม (คร้ัง) (บาท) 1. พลตำ�รวจโท ประวฒุ ิ ถาวรศริ ิ ประธาน 23 มิ.ย. 58- 12,500 นายวุฒพิ งศ์ วิบลู ย์วงศ์ อนุกรรมการ 1 50,000 นายชาญวทิ ย์ อมตะมาทชุ าติ 7 พ.ค. 58 3 37,500 2. นายพลากร หวั่งหลี ประธาน 22 ต.ค. 58- 3 50,000 อนกุ รรมการ 19 พ.ค. 59 5 27,000 8 ม.ิ ย. 59- 9 30,000 ประธาน 30 ก.ย. 59 10 27,000 อนุกรรมการ 25 ก.พ. 58- 9 21,000 อนุกรรมการ 19 พ.ค. 59 7 27,000 25 ก.พ. 58- 9 9,000 3. พลเอก ภาณุวัฒน์ ศาตะมาน อนกุ รรมการ ๓๐ ก.ย. ๕๙ 3 - 8 เม.ย. 58- 7 4. พลโท ไชยพร รัตแพทย์ อนุกรรมการ ๓๐ ก.ย. ๕๙ - 13 ส.ค. 58- 1 5. นายพงศกร จลุ ละโพธิ อนุกรรมการ ๓๐ ก.ย. ๕๙ - 25 ก.พ. 58- 10 6. พนั โท สิรพงษ์ วลิ าลัย อนุกรรมการ ๓๐ ก.ย. ๕๙ 25 ก.พ. 58- 7. พนั เอก สุรนาท สบายธปู อนกุ รรมการ ๓๐ ก.ย. ๕๙ 8 มิ.ย. 59- 8. พนั เอก จรัญ สงิ ขศ์ ิริ อนุกรรมการ ๓๐ ก.ย. ๕๙ 25 ก.พ. 58- 9. นายสุทธิศกั ดิ์ วรรธนวนิ ิจ อนกุ รรมการ ๓๐ ก.ย. ๕๙ รองผู้วา่ การฝา่ ยกฎหมายและกรรมสทิ ธิท์ ด่ี ิน อนกุ รรมการ อนกุ รรมการ 25 ก.พ. 58- การทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย 7 ต.ค. 58 10. นายปญั ญา ไชยานนท์ ผอู้ �ำ นวยการฝ่ายการเงินและบัญชี 25 ก.พ. 58- 30 ก.ย. 59 การทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย 11. นายประสทิ ธิ์ เดชศริ ิ ผ ้อู �ำ นวยการฝา่ ยกรรมสิทธ์ทิ ด่ี ิน การทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย 46 รายงานประจำ�ปี 255๙

คณะอนุกรรมการพัฒนาและบริหารจัดการพืน้ ที่ในเขตทางพเิ ศษ (ต่อ) รายชื่อ/หนว่ ยงาน ต�ำ แหน่ง ช่วงเวลา การเขา้ รว่ ม เบ้ยี ประชมุ ทด่ี �ำ รงต�ำ แหนง่ ประชมุ (ครง้ั ) (บาท) 12. นายอดิศกั ดิ์ คงเจรญิ เลขานกุ าร 25 ก.พ. 58- - หวั หน้าแผนกวางแผนการใชพ้ นื้ ที่ 1 ผู้ช่วยเลขานุการ 30 ก.ย. 59 10 ผชู้ ่วยเลขานุการ รกั ษาการในต�ำ แหน่งผอู้ �ำ นวยการ 25 ก.พ. 58- 5 - กองพฒั นาและรกั ษาเขตทาง 1 18 ก.พ. 59 การทางพิเศษแห่งประเทศไทย 13. นายพิศาล ไทยสม 18 ก.ย. 59- 5 - หวั หนา้ แผนกจดั การการใชพ้ ืน้ ที่ 2 30 ก.ย. 59 รกั ษาการในตำ�แหน่งผูอ้ �ำ นวยการ กองพัฒนาและรักษาเขตทาง 2 ท่มี า : กองพัฒนาและรกั ษาเขตทาง 1 ฝ่ายกรรมสิทธ์ทิ ่ดี ิน การทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2559 14. นายวเิ ชยี ร อนุกูล ผ้อู �ำ นวยการกองพัฒนาและรักษาเขตทาง 2 การทางพิเศษแห่งประเทศไทย อำ�นาจหนา้ ทีค่ ณะอนุกรรมการพฒั นาและบริหารจัดการพนื้ ทใ่ี นเขตทางพเิ ศษ 1. ให้ข้อเสนอแนะและพิจารณาเกี่ยวกับการพัฒนาและบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย์ของการทางพิเศษ แห่งประเทศไทยในเขตทางพิเศษ 2. พิจารณาเก่ียวกับการให้เช่าหรือให้สิทธิใด ๆ ในอสังหาริมทรัพย์ของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ท่ีมีมูลค่าเกินหน่ึงร้อยล้านบาทหรือที่มีกำ�หนดระยะเวลาการให้เช่าหรือให้สิทธิใด ๆ เกินห้าปี เว้นแต่การให้เช่าหรือ ให้สทิ ธิเป็นการให้แกห่ น่วยงานของรัฐก่อนนำ�เสนอคณะกรรมการการทางพเิ ศษแห่งประเทศไทยพจิ ารณา 3. พจิ ารณาเรื่องอ่นื ๆ ที่คณะกรรมการการทางพิเศษแหง่ ประเทศไทยมอบหมาย คณะอนกุ รรมการด้านกฎหมาย ตำ�แหน่ง ชว่ งเวลา การเขา้ รว่ ม เบยี้ ประชมุ ประธานกรรมการ ที่ดำ�รงต�ำ แหนง่ ประชุม (ครงั้ ) (บาท) รายชื่อ/หน่วยงาน 25 ก.พ. 58 6/6 12,500 1. นายวฒุ พิ งศ์ วิบูลย์วงศ์ รองอยั การสูงสดุ ประธานกรรมการ 8 มิ.ย. 59- 1/1 12,500 พลตำ�รวจตรี สรุ เชษฐ์ หักพาล อนกุ รรมการ 30 ก.ย. 59 0/1 23 มิ.ย. 58 10,000 ผู้บังคับการต�ำ รวจทอ่ งเท่ียว 2. พลต�ำ รวจโท ประวุฒิ ถาวรศริ ิ อนุกรรมการ 22 ต.ค. 58- 2/5 10,000 30 ก.ย. 59 ผชู้ ว่ ยผบู้ ญั ชาการตำ�รวจแห่งชาติ พลตำ�รวจตรี สุรเชษฐ์ หกั พาล ผูบ้ งั คบั การตำ�รวจทอ่ งเที่ยว 47รายงานประจ�ำ ปี 255๙

คณะอนุกรรมการดา้ นกฎหมาย (ตอ่ ) ต�ำ แหน่ง ช่วงเวลา การเข้าร่วม เบยี้ ประชมุ รายชอ่ื /หนว่ ยงาน ทด่ี �ำ รงตำ�แหนง่ ประชุม (ครง้ั ) (บาท) 25 ก.พ. 58- 3,000 3. พลต�ำ รวจตรี สันติ วิจักขณา อนุกรรมการ 30 ก.ย. 59 5/7 ประธานกรรมการ บรษิ ัท ซันไทย 3,000 อุตสาหกรรมถุงมอื ยาง จำ�กัด (มหาชน) อนุกรรมการ 8 มิ.ย. 59- 1/1 3,000 ประธานกรรมการบริหาร อนุกรรมการ 30 ก.ย. 59 3,000 บรษิ ทั ทที ี แอนด์ ที ซบั สไครเบอร์ อนุกรรมการ 6/7 3,000 เซอรว์ สิ เซส จำ�กดั อนกุ รรมการ 25 ก.พ. 58- 3,000 ประธานกรรมการบริหาร อนกุ รรมการ 30 ก.ย. 59 7/7 บริษัท ทรปิ เปิลที โกลบอลเนท็ จำ�กัด 3/7 3,000 อนกุ รรมการ 25 ก.พ. 58- 7/7 3,000 4. พนั เอก จรัญ สงั ข์ศริ ิ อนกุ รรมการ 30 ก.ย. 59 นายทหารคนสนทิ อนกุ รรมการ 25 ก.พ. 58- - รองปลัดกระทรวงกลาโหม (4) อนุกรรมการ 30 ก.ย. 59 - อนุกรรมการ 25 ก.พ. 58- - 5. นายชนสิ ร์ คล้ายสงั ข์ อนกุ รรมการ 30 ก.ย. 59 - ผูอ้ �ำ นวยการกองกฎหมายเทคโนโลยี อนุกรรมการ - และการคมนาคม 25 ก.พ. 58- 7/7 30 ก.ย. 59 7/7 6. นายเสนห่ ์ ตง้ั สถิตย์ 25 ก.พ. 58- 4/7 ผ้อู ำ�นวยการสำ�นกั กฎหมาย 30 ก.ย. 59 4/5 25 ก.พ. 58- 7. นายวชิ าญ ธรรมสุจรติ 30 ก.ย. 59 1/2 รองอธบิ ดีอัยการ สำ�นักงานคดปี กครอง 11 ม.ี ค. 58 4/5 2/2 8. รอ้ ยต�ำ รวจเอก โชคชยั สิทธิผลกลุ 10 ม.ี ค. 59- อยั การผู้เช่ยี วชาญพเิ ศษ 30 ก.ย. 59 ส�ำ นกั งานท่ีปรึกษากฎหมาย 30 เม.ย. 58 ช่วยราชการในต�ำ แหน่งเลขานุการ ผ้ตู รวจการอัยการ 30 มี.ค. 59- 30 ก.ย. 59 9. หมอ่ มหลวงศภุ กิตต์ จรญู โรจน์ อยั การผู้เชยี่ วชาญพิเศษ 10. นายจรญู พงศ์ อินทจาร อยั การจังหวัดประจ�ำ สำ�นกั งานอัยการสูงสดุ 11. นายสุทธิศักด์ิ วรรธนวินจิ รองผวู้ า่ การฝา่ ยกฎหมายและกรรมสทิ ธท์ิ ด่ี นิ 1 2. นายวรปรัชญ์ พอ้ งพงษ์ศรี ผอู้ ำ�นวยการกองคดี รกั ษาการในต�ำ แหน่ง ผู้อ�ำ นวยการฝ่ายกฎหมาย นายพงศโ์ สภณ ครุ รุ ัตนช์ ัยกุล ผ้อู �ำ นวยการฝา่ ยกฎหมาย 13. นายวรปรัชญ์ พ้องพงษ์ศรี ผอู้ ำ�นวยการกองคดี นายสุวฒั น์ ดา่ นศรชี าญชัย ผูอ้ ำ�นวยการกองคดี 48 รายงานประจำ�ปี 255๙