Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือที่ระลึกในงานกฐินมหาวิทยาลัยขอนแก่น 2564

หนังสือที่ระลึกในงานกฐินมหาวิทยาลัยขอนแก่น 2564

Published by kanikl, 2021-11-08 02:52:44

Description: หนังสือที่ระลึกในงานกฐินมหาวิทยาลัยขอนแก่น 2564

Keywords: พระวินัย,กฐิน

Search

Read the Text Version

พระวิินััยภาคปฏิบิ ัตั ิิ (สำหรับั ผู้บ้� วชใหม่)่ หนัังสือื ที่่ร� ะลึกึ ในงานกฐิินมหาวิทิ ยาลััยขอนแก่่น ประจำปีี ๒๕๖๔ วันั ที่�่ ๖-๗ พฤศจิกิ ายน พุุทธศัักราช ๒๕๖๔ ทอดถวาย ณ วัดั ป่า่ ภูตู ะคาม ตำบลท่า่ ศิลิ า อำเภอส่อ่ งดาว จังั หวัดั สกลนคร



พระวิินัยั ภาคปฏิิบัตั ิิ (สำหรัับผู้�้บวชใหม่)่ ข คำปรารภเจ้้าอาวาสวัดั ป่่าภูตู ะคาม การทอดกฐิินถืือว่่าเป็็นการทำบุุญที่�่พิิเศษ เพราะว่่าในปีีหนึ่่�งในวััดหนึ่�่ง จะทอดกฐิินได้้เพีียงครั้ �งเดีียวและมีีเวลาเพีียงหนึ่่�งเดืือนหลัังจากออกพรรษา เท่่านั้้�น ต้้องมีีพระภิิกษุุจำพรรษาอย่่างน้้อย ๕ รููปขึ้�้นไป ดัังนั้้�นการทอดกฐิิน จึึงถืือว่่าเป็็นบุุญที่่�พิิเศษเป็็นมหาทาน มหาบุุญ บุุคคลที่�่ได้้ทำบุุญกฐิินหรืือ มีีส่่วนร่ว่ มจึึงถือื ได้ว้ ่่าไม่่เสีียทีีที่่�ได้้เกิดิ เป็็นมนุษุ ย์์ อานิิสงส์์ของการทอดกฐิินถืือว่่าเป็็นบุุญที่่�พิิเศษ และเป็็นบุุญที่่�ยิ่�งใหญ่่ เราจะปรารถนาฐานะพิิเศษหรืือฐานะที่�่ยิ่�งใหญ่่ เช่่น พุุทธภููมิิ ปััจเจกภููมิิ สาวกภููมิ ิ สาวิิกาภูมู ิ ิ พระเจ้้าจักั รพรรดิิ พระราชา มหาเศรษฐีี เศรษฐีี ก็จ็ ะเป็น็ ผลสำเร็็จได้้ในกาลข้้างหน้้า นอกจากนี้้�ยัังเป็็นผู้�มีีความมั่่�งคั่�งในทรััพย์์ ยศศัักดิ์� สมบััติิ และบริิวาร ขึ้้�นชื่�อว่่าความยากจนจะไม่่มีีในภพชาติิที่�่เราเกิิด จิิตใจ จะสว่่างผ่อ่ งใส มีีปััญญา รู้�ธรรมได้ง้ ่่าย ทำให้้เป็น็ ผู้�มีีอุปุ นิสิ ัยั สืืบต่อ่ ไป ผลกรรม ชั่�วตามไม่่ทััน แม้้ตามทัันก็็จะเบาบางลง และยัังเป็็นที่่�รัักของเทวดา มนุุษย์์ ตลอดถึึงอมนุษุ ย์ท์ ั้้�งหลาย ขอให้้เราภูมู ิใิ จเถิิด สำหรัับปีพี ุทุ ธศัักราช ๒๕๖๔ เป็็นปีีที่�โ่ ลกได้้รัับความลำบากเป็น็ อย่่างยิ่ง� เนื่่�องจากเกิิดโรคภัยั ภัยั พิบิ ัตั ิิเบีียดเบีียนชีีวิติ ทรััพย์ส์ ิินและความเป็็นอยู่่� ดัังนั้้น� อาตมภาพขออนุุโมทนา ขอชื่ �นชมเป็็นอย่่างยิ่ �งสำหรัับผู้้�เป็็นเจ้้าภาพและผู้ �มีี ส่ว่ นร่ว่ มทุกุ ท่า่ น ถือื ว่า่ เป็น็ กฐินิ แห่ง่ ประวัตั ิศิ าสตร์์ เป็น็ ยอดแห่ง่ มนุษุ ย์์ ยอดแห่ง่ ศรััทธา ยอดแห่ง่ บุญุ

ค งานกฐิิน มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำปีี ๒๕๖๔ ท่่านอธิิการบดีีมหาวิทิ ยาลััยขอนแก่่น ชาวมหาวิิทยาลััยขอนแก่น่ คณะ ศิิษย์์ทุุกสายทุุกท่่าน และผู้�มีีจิิตศรััทธาทั้้�งหลาย อาตมภาพพระทองปาน จารุุวััณโณ เจ้้าอาวาสวััดป่่าภููตะคามแห่่งนี้้� ขอขอบคุุณและอนุุโมทนาอีีกครั้�ง ขอให้ท้ ุุกท่่านโชคดีี มีีความสุุข สมปรารถนาทุุกสิ่�งทุกุ ประการ มีีสุขุ ภาพกายใจ ที่�่แข็ง็ แรง ปลอดภัยั จากภััยอัันตรายทั้้�งหลายทั้้ง� ปวง รู้�แจ้ง้ ในธรรมสัมั มาปฏิิบััติิ ตลอดทั่่ว� ถึึงทุุกประการเทอญ พระทองปาน จารุุวััณโณ เจ้า้ อาวาสวััดป่า่ ภููตะคาม

พระวิินัยั ภาคปฏิิบััติิ (สำหรัับผู้บ้� วชใหม่่) ง คำปรารภนายกสภามหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่น่ มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น เป็็นสถานศึึกษาชั้�นสููง ที่่�มีีวััตถุุประสงค์์ให้้ การศึึกษา ส่่งเสริมิ ประยุุกต์์และพััฒนาวิชิ าชีีพชั้้�นสูงู ทำการสอน วิจิ ัยั พััฒนา และถ่่ายทอดเทคโนโลยีี ให้้บริิการวิิชาการและวิชิ าชีีพแก่ส่ ังั คม และทำนุุบำรุงุ ศิิลปะและวััฒนธรรมเพื่่�อเป็็นกรอบแนวทางที่�่สำคััญ นอกจากภารกิิจหลััก ดัังกล่่าวแล้้ว มหาวิิทยาลััยขอนแก่่นยัังตระหนัักถึึงภารกิิจและการมีีส่่วนร่่วม ในกิิจกรรมทางสัังคม คืือการนำผ้้ากฐิินไปทอดถวายยัังวััดและอารามต่่าง ๆ ปีพี ุทุ ธศักั ราช ๒๕๖๔ นี้้ � มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่น่ จะได้ร้ ่ว่ มกันั นำกฐินิ มาทอดถวาย ที่่� วัดั ป่า่ ภููตะคาม ตำบลท่า่ ศิิลา อำเภอส่่องดาว จังั หวััดสกลนคร ในวัันที่่� ๖-๗ พฤศจิิกายน พุุทธศัักราช ๒๕๖๔ พร้้อมทั้้�งได้้เชิิญชวนพุุทธศาสนิิกชนและผู้�มีี จิติ ศรัทั ธาร่ว่ มบริิจาคปััจจัยั เพื่่�อร่่วมอนุุโมทนาในครั้�งนี้้�ด้ว้ ย การถวายผ้า้ กฐินิ ในครั้ง� นี้้ � มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่น่ ได้จ้ ัดั ทําํ หนังั สือื ที่ร่� ะลึึก ขึ้น้� โดยได้ร้ วบรวมความรู้้�เกี่ย�่ วกับั ประวัตั ิคิ วามเป็น็ มาของวัดั ประวัตั ิพิ ระอาจารย์์ ทองปาน จารุวุ ัณั โณ เจ้า้ อาวาสวัดั ป่า่ ภูตู ะคาม และพระวินิ ัยั ภาคปฏิบิ ัตั ิิ (สำหรับั ผู้้�บวชใหม่่) อัันเป็น็ ข้อ้ วัตั รปฏิิบััติิของ สงฆ์์ สามเณร และอุบุ าสกอุบุ าสิกิ าทั่่ว� ไป รวมไว้้ภายในเล่่ม เพื่่�อมอบเป็็นที่่�ระลึึกแด่่ผู้�มีีเกีียรติิที่่�เข้้าร่่วมงานในครั้�งนี้้� ในโอกาสนี้้� มหาวิิทยาลััยขอนแก่่นขอขอบคุุณทุุกท่่านที่�่ได้้ร่่วมบริิจาคปััจจััย ในการถวายผ้้ากฐิิน ประจํําปีีพุุทธศัักราช ๒๕๖๔ จนสํําเร็็จลุุล่่วงไปด้้วยดีี ขอให้ผ้ ลานิสิ งส์แ์ ห่ง่ ผลบุญุ ในการบําํ เพ็ญ็ กุศุ ลในครั้ง� นี้้� จงดลบันั ดาลให้ท้ ่า่ นและ ครอบครัวั ประสบแต่ค่ วามสุขุ ความเจริญิ และสําํ เร็จ็ ในสิ่ง� ที่ป่� รารถนาทุกุ ประการ ดร.ณรงค์ช์ ัยั อัคั รเศรณีี นายกสภามหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่น่

จ งานกฐินิ มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่่น ประจำปีี ๒๕๖๔ คำปรารภอธิกิ ารบดีีมหาวิทิ ยาลััยขอนแก่่น ด้้วยวััดป่่าภูตู ะคาม บ้้านภููตะคาม ตำบลท่า่ ศิลิ า อำเภอส่่องดาว จังั หวัดั สกลนคร ซึ่่�งมีีพระอาจารย์์ทองปาน จารุุวััณโณ เป็็นเจ้้าอาวาส วััดแห่่งนี้้�เป็น็ วัดั ป่า่ สายพระอาจารย์ม์ั่น� ภูรู ิทิ ัตั โต มีกี ารสอนฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิธิ รรมตามวาระต่า่ ง ๆ และ ยัังเป็็นวััดที่�่มีีความโดดเด่่นในด้้านสาธารณสงเคราะห์์ เช่่น การสนัับสนุุนการ สร้า้ งโรงพยาบาลต่า่ ง ๆ และสงเคราะห์พ์ ุทุ ธศาสนิกิ ชนในด้า้ นอื่น� ๆ ในโอกาสอันั เป็็นมงคลนี้้� จึึงขอเชิิญชวนคณาจารย์์ เจ้้าหน้้าที่�่ พนัักงาน นัักศึึกษาและ พุทุ ธศาสนิกิ ชนทั่่ว� ไป ร่่วมทำบุญุ ร่่วมอนุโุ มทนากฐินิ โดยพร้อ้ มเพรีียงกััน ข้้าพระพุุทธเจ้้าในนามของมหาวิิทยาลััยขอนแก่่นและผู้�มีีจิิตศรััทธา ทุุกภาคส่่วนที่�่ได้้ร่่วมกัันอััญเชิิญผ้้ากฐิินในครั้�งนี้้� เพื่่�อจัักได้้ทอดถวายแด่่ พระภิกิ ษุสุ งฆ์อ์ ยู่�จำพรรษาสามเดือื นถ้ว้ นครบไตรมาส ณ อารามวัดั ป่า่ ภูตู ะคาม บ้า้ นภูตู ะคาม ด้ว้ ยเจตนาอันั บริสิ ุทุ ธิ์น�ี้้ � ฝูงู ข้า้ ทั้้ง� หลายจึึงขอกราบอาราธนานิมิ นต์์ พระภิิกษุุสงฆ์์ทุกุ รููปในอารามแห่ง่ นี้้� ได้้อยู่�ร่วมอนุโุ มทนาซึ่�่งผ้้ากฐิินทาน ของฝูงู ผู้้�ข้้าทั้้ง� หลายด้ว้ ยเทอญ รองศาสตราจารย์์ นพ.ชาญชัยั พานทองวิริ ิยิ ะกุุล อธิิการบดีีมหาวิิทยาลััยขอนแก่่น

พระวิินััยภาคปฏิิบััติิ (สำหรัับผู้�บ้ วชใหม่)่ ฉ คำปรารภประธานคณะกรรมการดำเนินิ งาน ประเพณีีทอดกฐิินเป็็นประเพณีีสำคััญที่�่พุุทธศาสนิิกชนชาวไทย ยึึดถืือ ปฏิบิ ัตั ิสิ ืบื ทอดมาอย่า่ งยาวนาน เพื่่อ� ทำนุบุ ำรุงุ ส่ง่ เสริมิ พระพุทุ ธศาสนาให้เ้ จริญิ รุ่�งเรือื งตามขนบธรรมเนีียมประเพณีี โดยจัดั ทำขึ้น�้ ตั้ง� แต่ว่ ันั แรม ๑ ค่่ำ เดือื น ๑๑ ไปจนถึึงวันั ขึ้น้� ๑๕ ค่่ำ เดือื น ๑๒ จะทำก่่อนหรือื หลังั จากนี้้ไ� ม่่ได้้ และวััดหนึ่่ง� ๆ จะรัับกฐิินเพีียง ๑ ครั้�ง ในรอบปีี การถวายกฐิินจััดเป็็นสัังฆทาน ถวายแด่่ พระสงฆ์์ ไม่่เฉพาะเจาะจงพระภิิกษุุรููปใดรููปหนึ่่�ง และพิิธีีกรรมการทอดกฐิิน เป็น็ มหากุศุ ลสำหรับั ร่ว่ มบุญุ มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่น่ ได้ส้ ืบื สานประเพณีีทอดกฐินิ ต่อ่ เนื่่�องมาตลอดทุกุ ปีี ในนามของประธานดำเนิินงานพิิธีีถวายผ้้ากฐิิน มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น ขอกราบนมััสการพระอาจารย์์ ทองปาน จารุุวััณโณ เป็็นเจ้้าอาวาส ที่่�ให้้ การสนับั สนุนุ ในการดำเนินิ งาน ทำให้ก้ ารเตรีียมงานเป็น็ ไปด้ว้ ยความเรีียบร้อ้ ย และขอขอบคุุณผู้�ว่่าราชการจัังหวััดสกลนคร แขกผู้�มีีเกีียรติิ และประชาชน ชาวจัังหวััดสกลนคร พร้้อมทั้้�งคณะผู้้�บริิหาร คณาจารย์์ บุุคลากร ผู้้�ปกครอง นัักศึึกษา นัักเรีียน ของมหาวิิทยาลััยขอนแก่่น รวมทั้้�งศิิษย์์เก่่า และบริิษััท ห้้างร้า้ น ที่�่มีีส่ว่ นร่่วมทำให้ง้ านพิธิ ีีถวายกฐิิน สำเร็็จลุุล่่วงไปด้ว้ ยดีี ขออำนาจคุุณพระศรีีรััตนตรััย และสิ่�งศัักดิ์�สิิทธิ์�ทั้้�งหลายในสากลโลก จงดลบัันดาลให้้ท่่านและครอบครััวประสบแต่่ความสุุขความเจริิญ ด้้วยอายุุ วรรณะ สุุขะ พละ ปฏิิภาณ และประสบสิ่่ง� อันั พึึงปรารถนาทุกุ กาลเทอญ รองศาสตราจารย์์ ดร.นิิยม วงศ์์พงษ์ค์ ำ รองอธิกิ ารบดีีฝ่า่ ยศิิลปวัฒั นธรรมและเศรษฐกิจิ สร้า้ งสรรค์์ ประธานคณะกรรมการดำเนินิ งาน

ช งานกฐินิ มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น ประจำปีี ๒๕๖๔ คำปรารภรัักษาการแทนผู้้อ� ำนวยการศูนู ย์ศ์ ิิลปวััฒนธรรม ตามที่่�มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น ได้้มอบหมายให้้ฝ่่ายศิิลปวััฒนธรรมและ เศรษฐกิิจสร้้างสรรค์์ และศููนย์์วััฒนธรรม ได้้ประสานงานการทอดกฐิิน ณ วััดป่่าภููตะคาม บ้้านภููตะคาม ตำบลท่่าศิิลา อำเภอส่่องดาว จัังหวััดสกลนคร ในวัันเสาร์ท์ ี่�่ ๖ และอาทิติ ย์ท์ ี่่� ๗ พฤศจิิกายน พุุทธศัักราช ๒๕๖๔ นั้้�น ทางคณะ ผู้้�ดำเนิินงานได้้ประสานงานกัับฝ่่ายต่่าง ๆ ที่่�เกี่่�ยวข้้องอย่่างต่่อเนื่่�อง นอกจาก จะมีีการถวายผ้้ากฐิินซึ่�่งเป็็นภารกิิจหลัักแล้้ว ศููนย์์ศิิลปวััฒนธรรมยัังได้้จััดทำ หนัังสืือที่่�ระลึึกเนื่่�องในงานกฐิินมหาวิิทยาลััยขอนแก่่น เนื้้�อหาประกอบด้้วย ประวัตั ิพิ ระอาจารย์ท์ องปาน จารุวุ ัณั โณ และพระวินิ ัยั ภาคปฏิบิ ัตั ิิ (สำหรับั ผู้บ้� วช ใหม่)่ ซึ่ง่� เป็น็ องค์ค์ วามรู้�ที่เ่� ป็น็ ข้อ้ วัตั รปฏิบิ ัตั ิสิ ำหรับั ผู้บ�้ วชใหม่่ พระภิกิ ษุุ สามเณร และอุุบาสกอุบุ าสิิกาทั่่�วไป เพื่�่อถวายเป็น็ พุุทธบููชาและเป็็นวิทิ ยาทานแก่บ่ ุุคคล ทั่่�วไป รวมทั้้�งเป็น็ ประโยชน์์ต่อ่ ทางคณะสงฆ์ท์ ี่่�จำพรรษาและพุทุ ธศาสนิกิ ชนใน การเป็น็ คู่�มือปฏิบิ ััติิ ขอกราบนมััสการ พระอาจารย์์ทองปาน จารุุวััณโณ เจ้้าอาวาสวััดป่่า ภูตู ะคาม ที่่เ� มตตาสนับั สนุนุ ทุุกเรื่อ่� ง ขอขอบพระคุณุ ชาวบ้า้ นภูตู ะคาม ตำบล ท่่าศิิลา ชาวอำเภอส่่องดาว และชาวจัังหวััดสกลนคร ขอขอบพระคุุณท่่าน นายกสภามหาวิทิ ยาลัยั ท่า่ นอธิกิ ารบดีี และท่า่ นรองอธิกิ ารบดีีฝ่า่ ยศิลิ ปวัฒั นธรรม และเศรษฐกิิจสร้้างสรรค์์ มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น ที่ส�่ นัับสนุนุ โครงการ รวมทั้้ง� การจััดทำหนัังสืือที่�่ระลึึกฉบัับนี้้� ขอบคุุณคณาจารย์์ บุุคลากร นัักศึึกษา ศิิษย์์ ปััจจุุบััน ศิิษย์์เก่่า และศาสนิิกชนทุุกท่่านที่่�เกี่่�ยวข้้องในการทำบุุญกฐิินอัันเป็็น มหากุุศลในครั้้ง� นี้้� ได้ส้ ำเร็จ็ ลุุล่ว่ งได้ด้ ้้วยดีีตามเจตนารมณ์์ ดร.ลัดั ดาวััลย์์ สีีพาชััย รัักษาการแทนผู้อ�้ ำนวยการศููนย์ศ์ ิลิ ปวััฒนธรรม

สารบัญั หน้า้ ข คำปรารภเจ้้าอาวาสวััดป่า่ ภูตู ะคาม ง คำปรารภนายกสภามหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่่น จ คำปรารภอธิกิ ารบดีีมหาวิิทยาลััยขอนแก่่น ฉ คำปรารภประธานคณะกรรมการดำเนินิ งาน ช คำปรารภรักั ษาการแทนผู้อ้� ำนวยการศููนย์ศ์ ิลิ ปวัฒั นธรรม ๑ ประวัตั ิพิ ระอาจารย์ท์ องปาน จารุวุ ัณั โณ เจ้า้ อาวาสวัดั ป่า่ ภูตู ะคาม ๔๗ หออภิบิ าลสงฆ์ห์ ลวงปู่�มั่น� ภูรู ิทิ ัตั โต และกองทุนุ พระราชนิโิ รธรังั สีี คัมั ภีีรปัญั ญาวิศิ ิษิ ฏ์์ (หลวงปู่�เทสก์์ เทสรังั สีี) ๖๑ พระวินิ ัยั ภาคปฏิิบัตั ิิ (สำหรัับผู้�้บวชใหม่่) ๖๒ คำขานนาค คำขอบรรพชา คำขออุปุ สมบท ๗๗ คำขอบวชชีี ๘๒ คำแสดงอาบััติิ ๘๖ คำพินิ ทุุจีีวร ๘๖ คำอธิษิ ฐานไตรจีีวร ๘๗ คำสละไตรจีีวรเป็็นนิสิ สัคั คีีย์ ์ ๙๐ คำอธิิษฐานบาตร ๙๐ คำวิิกััปป์อ์ ติิเรกบาตร ๙๑ วิธิ ีีจำพรรษา ๙๑ วิิธีีทำอุุโบสถ ๙๒ มีีพระภิกิ ษุุ ๓ รููปให้้ตั้�งญัตั ติิ ๙๒ บอกความบริสิ ุุทธิ์�

วิิธีีปวารณา ๙๓ ตั้�งญัตั ติปิ วารณา ๙๕ ตั้�งญััตติิครอบทั่่�วไป ๙๕ คำปวารณาออกพรรษา ๙๖ คณะปวารณา ๙๗ คำปวารณาของภิกิ ษุุ ๔ รูปู ๓ รููป ๙๘ คำปวารณาของภิกิ ษุุ ๒ รูปู ๙๙ คำปวารณาของภิกิ ษุุ ๑ รููป ๑๐๐ คำถวายกฐินิ ๑๐๐ คำกรานกฐินิ ๑๐๒ คำอนุโุ มทนากฐิิน ๑๐๒ กฐิินัตั ถารวิธิ ีีอย่า่ งพระสงฆ์ค์ ณะธรรมยุตุ ิกิ นิกิ าย ๑๐๔ คำถวายกฐิินทาน ๑๐๔ พิิธีีกรรมและคำขอลาสิกิ ขาบท ๑๐๗ คำแสดงตนเป็น็ พุทุ ธมามกะ ๑๐๙ คำกล่า่ วถวายทาน ๑๑๓ คำกล่่าวกััปปิิยะ (ถวายอาหารที่�ม่ ีีเมล็ด็ ) ๑๒๑ ภาคผนวก ๑๒๓ รายนามผู้้�บริหิ าร บุคุ ลากร และผู้�มีีจิติ ศรัทั ธา เจ้า้ ภาพบริวิ ารกฐินิ ๑๒๗ มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่น่ ประจำปีี ๒๕๖๔ คำสั่�งมหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่น่ เรื่�อง แต่ง่ ตั้ง� คณะกรรมการ ๑๔๗ จััดกฐินิ มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่่น ประจำปีี ๒๕๖๔ งานกฐินิ มหาวิิทยาลััยขอนแก่น่ ประจำปีี ๒๕๑๕-๒๕๖๓ ๑๖๖ คณะผู้้�จัดั ทำหนังั สืือ ๑๗๔

ประวัตั ิิ พระอาจารย์์ทองปาน จารุุวัณั โณ



วดั ปาภตู ะคาม ต.ทา ศิลา อ.สองดาว จ.สกลนคร

4 งานกฐิิน มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำปีี ๒๕๖๔ ประวััติิพระอาจารย์์ทองปาน จารุุวณฺโฺ ณ เจ้า้ อาวาสวัดั ป่า่ ภูตู ะคาม ตำบลท่่าศิลิ า อำเภอส่่องดาว จัังหวัดั สกลนคร เพชรน้้ำเอกในวงการพระกรรมฐานสายหลวงปู่�มั่น� ภูรู ิทิ ตฺโฺ ต ที่น่� ่า่ เคารพ เลื่�อมใส และกราบไหว้้ได้้สนิิทใจ ท่่านเป็็นตััวอย่่างของพระสงฆ์์ผู้้�ประพฤติิดีี ปฏิิบััติิชอบ ซึ่่�งไม่่เพีียงแต่่เป็็นตััวอย่่างในด้้านการภาวนาและอบรมธรรมะ ได้อ้ ย่า่ งลึึกซึ้ง� แล้ว้ ท่า่ นยังั ทำประโยชน์ใ์ ห้แ้ ก่ม่ วลมนุษุ ย์ร์ อบด้า้ น ท่า่ นเป็น็ ผู้�หนึ่ง่� ที่�่เป็็นกำลัังสำคััญที่�่อยู่ �เบื้้�องหลัังในการจััดการผ้้าป่่าช่่วยชาติิในโครงการของ หลวงตามหาบััว ญาณสมฺฺปนฺฺโน ทั้้�งนี้้�เพื่่�อเปิิดโอกาสให้้ทุุกคนได้้สร้้างบารมีี ให้้เต็็มอิ่่�มในชาติินี้้� ไม่่เสีียดายที่่�ได้้เกิิดมาชาติิหนึ่่�ง ท่่านจึึงเป็็นต้้นแบบ ให้้พุุทธศาสนิิกชนได้้ศึึกษาและปฏิิบััติิตามได้้อย่่างไม่่มีีที่่�ติิ ผู้้�เขีียนได้้ขอรููป ท่า่ นมาบูชู าที่โ�่ ต๊ะ๊ หมู่่�บูชู าหน้า้ พระพุทุ ธรูปู ได้เ้ กิดิ อัศั จรรย์ม์ ีีพระธาตุเุ สด็จ็ มาอยู่� บนรููปท่า่ น ๒ องค์์ ส่ว่ นเกศาของท่่านรวมตััวเป็น็ ก้อ้ นกลม สิ่่ง� นี้้ค� งเป็็นหลักั ฐาน ยืืนยัันสำหรัับผู้้�รู้้�ว่่าท่่านเป็็นพระสุุปฏิิปัันโนที่่�น่่าเคารพ ท่่านนั้้�นคืือท่่าน พระอาจารย์์ทองปาน จารุุวณฺฺโณ ปััจจุุบัันท่่านเป็็นเจ้้าอาวาสวััดป่่าสัันติินิิมิิต ต.เป๊๊าะ อ.บึึงบููรพ์์ จ.ศรีีสะเกษ ท่่านเป็็นบุุตรของนายสุุบรรณ สุุริิยะ และ นางทองจัันทร์์ สุรุ ิิยะ เกิดิ เมื่�อวันั ที่่� ๒ กุุมภาพัันธ์์ พ.ศ. ๒๕๐๐ ที่�่บ้า้ นหนองกุุง ต.บงเหนืือ อ.สว่่างแดนดิิน จ.สกลนคร มีีพี่่�น้้อง ๓ คน เป็็นผู้้�ชายทั้้�งหมด จบการศึึกษาชั้�นประถมศึึกษาปีีที่่� ๖ ที่�่โรงเรีียนบ้้านหนองกุุง ต.บงเหนืือ อ.สว่่างแดนดิิน จ.สกลนคร ผลการศึึกษาเท่่าที่่จ� ำความได้้คือื สอบได้ท้ ี่�่ ๑ ทุกุ ปีี ตั้ง� แต่ช่ั้น� ประถมศึึกษาปีที ี่�่ ๓-๖ ครูสู นับั สนุนุ ให้เ้ รีียนต่อ่ แต่เ่ นื่่อ� งจากไม่ม่ ีีทุนุ เรีียน ครอบครัวั ยากจนมากจึึงไม่ไ่ ด้้เรีียนต่อ่

พระวินิ ัยั ภาคปฏิิบััติิ (สำหรัับผู้้บ� วชใหม่)่ 5 ปฐมเหตุุของการมาตั้�งบ้้านเรืือนที่�่บ้้านหนองกุุง โดยนายเคน และ นางใบ แก้ว้ อาจ ผู้�เป็็นตายายของท่่านพระอาจารย์์ทองปาน จารุวุ ณฺฺโณ พากััน อพยพมาจากบ้า้ นนายม จ.อุดุ รธานีี หนีีความแห้ง้ แล้ง้ จากที่น�่ั้้น� มาตั้ง� ถิ่น� ฐานใหม่่ ที่่�บ้้านหนองกุุง สภาพโดยทั่่�วไปที่่�บ้้านหนองกุุงเป็็นป่่าโปร่่ง มีีแหล่่งน้้ำอยู่�ไกล จากบ้้านเป็็นกิิโลเมตรซึ่�่งเป็็นคลองเล็็ก ๆ พอถึึงหน้้าแล้้งน้้ำในคลองจะแห้้ง ชาวบ้า้ นจึึงช่่วยกัันขุุดบ่อ่ ใกล้้ ๆ คลองนั้้�น แต่่ก็ไ็ ม่่ค่อ่ ยมีีน้้ำขัังสักั เท่่าใด น้้ำดื่ม� อาศััยน้้ำฝน หน้้าแล้้งฝนไม่่ตกต้้องเดิินไปหาน้้ำซึ่�่งอยู่�ไกลจากหมู่่�บ้้านมาก ชาวบ้้านพากัันไปเข้้าคิิวรอน้้ำ บางครั้ �งต้้องเฝ้้ารอจนสว่่างกว่่าน้้ำจะเต็็มถััง เนื่่�องจากความยากจนไม่่มีีทุุนที่่�จะซื้ �อภาชนะสำหรัับเก็็บน้้ำฝนไว้้ใช้้ได้้ตลอดปีี สภาพที่ด�่ ินิ โดยทั่่�วไปลุ่่�ม ๆ ดอน ๆ ดัังนั้้น� อาชีีพหลัักคืือ ทำนา ทำไร่่ โดยอาศัยั น้้ำจากน้้ำฝนเป็็นหลััก ข้้าวที่่�ปลููกไว้้ได้้ผลไม่่ดีีนััก ผลผลิิตจึึงได้้แค่่พอไว้้ รัับประทานเท่่านั้้�น สำหรัับการทำไร่่นั้้�น เป็็นไร่่ปอ จากสภาพภููมิิอากาศที่่� แห้้งแล้้งผลผลิิตที่�่ได้้จึึงไม่่เพีียงพอ ประกอบกัับเมื่ �อตอนที่่�ท่่านพระอาจารย์์ ทองปานมีีอายุุประมาณ ๕-๖ ขวบ พ่่อสุุบรรณได้้หายไปจากบ้้านด้้วยอาการ ทางจิิต มาทราบภายหลัังว่่าได้้เสีียชีีวิิตไปแล้้ว จึึงเป็็นภาระอัันหนัักหน่่วงที่่� แม่ท่ องจัันทร์์ต้อ้ งหาเลี้ย� งครอบครััวตามลำพังั ซึ่�ง่ ลููกทั้้ง� ๓ คนยังั เล็ก็ จึึงจำเป็็น ต้อ้ งออกไปรับั จ้า้ งทำงานทุกุ อย่า่ งที่ห่� มู่่�บ้า้ นอื่น� เพื่่อ� ความอยู่�รอดของครอบครัวั ซึ่่ง� ได้ร้ ัับค่า่ จ้้างวันั ละ ๑๒ บาท แม้้แต่ล่ ูกู ๆ ทุกุ คนก็็เช่น่ เดีียวกััน เมื่่อ� ออกจาก โรงเรีียนแล้้ว จะไปหารับั จ้า้ งทำนาที่�่หมู่่�บ้้านอื่�น ไปครั้�งหนึ่�่งประมาณ ๖ เดืือน ทำตั้ง� แต่เ่ ริ่ม� ปลูกู ข้า้ วจนกระทั่่ง� เกี่ย�่ วข้า้ วเสร็จ็ เพื่่อ� แลกกับั ข้า้ วเปลือื กที่น่� ายจ้า้ ง ให้้มา ๓๐-๕๐ กระบุงุ เอามาเก็็บไว้ร้ ัับประทานทั้้ง� ปีี

6 งานกฐินิ มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น ประจำปีี ๒๕๖๔ สภาพที่อ่� ยู่�อาศัยั เมื่่�อตอนท่่านยัังเด็็ก ปลููกบ้้านอยู่่�บนที่่�นา บ้้านกว้้าง ๓ เมตร ยาว ๕ เมตร พื้้�นบ้า้ นปููด้ว้ ยปีกี ไม้้ สภาพจึึงไม่่เรีียบ ฝาบ้า้ นบุุด้ว้ ยใบไม้้แห้้ง หลัังคา มุุงด้ว้ ยหญ้้าคา เนื่่�องจากพระอาจารย์์เป็็นลููกคนกลาง พี่น�่ ้้องเป็น็ ผู้้�ชายทั้้�งหมด แม่่และพี่่�ชายออกไปทำงานนอกบ้้าน พระอาจารย์์จึึงต้้องทำงานบ้้านทุุกอย่่าง หุงุ ข้า้ ว ทำกับั ข้า้ ว หาบน้้ำ ซึ่ง�่ อยู่�ไกลมากมาใส่ต่ ุ่่�มให้เ้ ต็ม็ ทุกุ วันั กับั ข้า้ วส่ว่ นใหญ่่ คืือ ปลาร้้า พริิกเกลืือ ผัักต้้ม หน้้าฝนพี่�่ชายไปหาปลา ทำเป็็นปลาร้้าเก็็บไว้้ รับั ประทานทั้้ง� ปีี หน้า้ แล้ง้ ขุดุ หาปูมู าต้ม้ ป่น่ กับั เกลือื และพริกิ รับั ประทานกับั ผักั ซึ่่�งปลููกไว้้เอง เมื่ �อออกจากโรงเรีียนอายุุในราว ๑๒-๑๓ ปีี พระอาจารย์์กัับ พี่ช�่ ายพยายามออกหาไม้ม้ าเลื่อ� ยเก็บ็ ไว้เ้ พื่่อ� สร้า้ งบ้า้ นใหม่่ จนอายุไุ ด้้ ๑๖-๑๗ ปีี ทั้้ง� สองจึึงได้เ้ ริ่ม� ลงมือื สร้า้ งบ้า้ นกันั ตามลำพังั เหตุทุ ี่ท่� ่า่ นทำได้้ เพราะท่า่ นได้เ้ คย รัับจ้้างเลื่�อยไม้้ เป็็นลููกจ้้างสร้้างบ้้าน และรัับจ้้างทำงานทุุกอย่่างดัังที่�่กล่่าว แล้้ว ไปทำงานที่ใ�่ ดจะพยายามจดจำเป็น็ ประสบการณ์ไ์ ว้้ ซึ่�่งเป็น็ เรื่�องเหลืือเชื่�อ เด็็กวััยรุ่�นอายุุเพีียงเท่่านี้้�สามารถสร้้างบ้้านได้้ ถ้้าเทีียบกัับวััยรุ่�นปััจจุุบััน เป็น็ เรื่อ� งห่า่ งไกลกัันมาก ชีีวิิตครอบครัวั เมื่�ออายุุประมาณ ๑๘-๑๙ ปีี ผู้้�ใหญ่่พยายามจััดหาผู้�หญิิงที่�่คิิดว่่า เหมาะสมให้้เพื่่�อเป็็นคู่่�ชีีวิิต เนื่่�องจากพระอาจารย์์เป็็นคนสุุภาพเรีียบร้้อย ขยันั ทำงาน ท่่านจึึงเป็็นที่�่ถููกใจของคนโดยทั่่ว� ไป ยัังเหลือื เวลาอีีก ๔ วััน ที่่ต� ้้อง เข้้าพิิธีีสมรส ได้้เดิินทางไปเยี่่�ยมเยีียนที่�่บ้้านฝ่่ายหญิิงตามปกติิ บัังเอิิญได้้ยิิน เสีียงฝ่่ายหญิิงกำลัังด่่าทอน้้องสาวด้้วยถ้้อยคำที่่�ไม่่สุุภาพ ขณะนั้้�นเองจึึงเกิิด ความคิิดขึ้้�นมาทัันทีีว่่าคงอยู่่�ด้้วยกัันไม่่ได้้ เพราะท่่านไม่่ชอบคนที่�่ทำเสีียงดััง

พระวินิ ััยภาคปฏิบิ ััติิ (สำหรัับผู้บ้� วชใหม่่) 7 ถ้้าแต่่งงานไปคงไม่่มีีความสุุข จึึงขอร้้องพ่่อบุุญธรรมให้้ช่่วยไปบอกยกเลิิก การแต่ง่ งาน ของหมั้น� ก็ไ็ ม่่ขอรับั คืืน แรก ๆ ฝ่า่ ยหญิงิ ไม่่ยอม แต่พ่ ระอาจารย์์ ก็็ยัังคงยึึดมั่ �นในการตััดสิินใจของตนเอง อัันที่�่จริิงท่่านไม่่อยากแต่่งงานตั้ �งแต่่ แรกแล้้ว แต่่ไม่่อยากขััดใจผู้�ใหญ่่ เพราะพิิจารณาแล้้วว่่า การมีีชีีวิิตครอบครััว ไม่่ใช่่เรื่�องง่่าย พบเห็น็ มามากสำหรับั ปัญั หาชีีวิติ ครอบครัวั ซึ่ง่� ในจิติ ใจของท่า่ น คิดิ มีคี วามปรารถนาที่จ่� ะออกบวชมากกว่่า ความศรััทธาในการออกบวช ท่่านพระอาจารย์์ทองปานท่่านมีีความเลื่�อมใสในพระพุุทธศาสนา ท่่านมีคี วามตั้้ง� ใจที่่�จะออกบวชตั้้�งแต่่อายุุน้้อย ๆ ทุกุ วัันจะเห็น็ พระสงฆ์์เดินิ ผ่า่ น มาบิิณฑบาตที่่ห� น้า้ บ้า้ นเป็น็ ประจำ เช่่น หลวงปู่่�สิงิ ห์์ทอง ธมฺมฺ วโร วัดั ป่า่ แก้ว้ ชุมุ พล จ.สกลนคร เห็น็ จริยิ วัตั รของท่า่ นแล้ว้ ประทับั ใจวัตั รปฏิบิ ัตั ิเิ ป็น็ อย่า่ งมาก เกิดิ ศรัทั ธาอยากออกบวชแบบท่า่ นบ้า้ ง เพราะนั่่น� คือื ความสุขุ ที่แ่� ท้จ้ ริงิ ของชีีวิติ อายุุ ๑๕ ปีี เพื่่อ� นชวนไปบวชแต่ไ่ ม่รู่้�จะไปบวชที่ไ่� หน เพราะไม่ม่ ีเี งินิ จึึงได้บ้ รรพชา เป็็นสามเณร ณ วัดั แก้ว้ วิสิ ุทุ ธาราม จ.สกลนคร ขณะบวชได้ป้ ฏิิบััติิธรรม จิติ ใจ มีีความสงบร่่มเย็็น บวชได้้ ๑ ปีี ต้้องลาสิิกขาออกมา เนื่่�องจากครอบครััว ลำบากมาก จึึงต้้องออกมาช่่วยทำงานหาเลี้�ยงครอบครััว และเมื่่�อครบอายุุ การเข้า้ รับั การเกณฑ์ท์ หาร ปรากฏว่า่ การตรวจโรคไม่ผ่ ่า่ น เนื่่อ� งจากท่า่ นเป็น็ โรค กระดููกสัันหลัังคด จึึงไม่่ต้้องเข้้ารัับการตรวจเลืือกทหาร บััดนั้้�นเองท่่านได้้ ตััดสิินใจแน่่วแน่่ว่่าจะออกบวช เพราะพิิจารณาถึึงความไม่่เที่�่ยงแท้้แน่่นอน ของชีีวิิต ความวุ่่�นวายของโลก ปััญหาชีีวิิตครอบครััว ความจำเจของชีีวิิต ความลำบากของครอบครััว ปััญหาสุุขภาพ ซึ่่�งพระอาจารย์์สุุขภาพไม่่ค่่อย แข็ง็ แรง ถ้า้ มองจากภายนอกจะมองไม่อ่ อก ท่า่ นเป็น็ โรคลำไส้แ้ ปรปรวนตั้ง� แต่เ่ ด็ก็

8 งานกฐินิ มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่น่ ประจำปีี ๒๕๖๔ ถ่่ายอุุจจาระวัันละหลายครั้�ง อายุุ ๘-๙ ปีี มีีอาการตััวเหลืือง ซีีด ช็็อกไป เกือื บเอาชีีวิติ ไม่ร่ อด อายุุ ๑๘-๑๙ ปีี มีอี าการเจ็บ็ หน้า้ อก ไปตรวจที่โ่� รงพยาบาล สว่่างแดนดินิ แพทย์์วิินิจิ ฉััยว่่าเป็็นโรคลิ้�นหัวั ใจรั่ว� รัักษาโดยแพทย์์ผู้�เชี่�่ยวชาญ และยาสมุนุ ไพร อาการทุเุ ลาลง บางครั้�งมีีอาการเหนื่่อ� ย หายใจไม่ค่ ่อ่ ยสะดวก บางครั้�งมืือเขีียว ปากเขีียว จนปััจจุุบัันท่่านก็็ยัังมีีอาการเจ็็บหน้้าอกบางครั้�ง เมื่ �อแพทย์์แผนปััจจุุบัันตรวจอาการก็็ไม่่พบความผิิดปกติิของหััวใจแต่่อย่่างใด ซึ่ง�่ ก็็เป็็นเรื่�องแปลก ที่่�จริิงท่่านพระอาจารย์เ์ ป็็นผู้�มีีสติปิ ัญั ญายอดเยี่ย่� ม ถ้้ามีีทุุน เรีียนหนังั สือื คงก้า้ วหน้า้ เป็น็ อย่า่ งมาก ท่า่ นเล่า่ ว่า่ เสื้อ� ผ้า้ ที่ใ�่ ส่ไ่ ปโรงเรีียนมีเี พีียง ๒ ชุุด แม่่เป็็นผู้�ทอผ้้าและตััดเย็็บเอง ใส่่จนเก่่ามีีรอยปะแล้้วปะอีีก ดัังนั้้�น พระอาจารย์จ์ ึึงให้ค้ วามสำคัญั กับั การศึึกษา และช่ว่ ยสร้า้ งโรงเรีียนบ้า้ นหนองกุงุ จ.สกลนคร ซึ่�่งมีีอายุมุ ากกว่า่ ๔๘ ปีี เก่่าแก่่ผุุพัังจนเกิดิ อันั ตรายแก่่เด็็กนักั เรีียน โดยสร้้างเสร็็จเมื่�อเดืือนกัันยายน ปีี พ.ศ. ๒๕๔๘ ราคา ๒,๕๐๐,๐๐๐ บาท ใช้้เวลาสร้้างประมาณ ๘ เดืือน และยัังหาเสื้�อผ้้า รองเท้้า อุุปกรณ์์การเรีียน ไปแจกเด็็กอยู่�เสมอ ทางด้้านการแพทย์์ ท่่านได้้ช่่วยจััดหาอุุปกรณ์์การแพทย์์ เพื่่�อสนัับสนุุนโรงพยาบาลต่่าง ๆ มากมาย เช่่น เตีียงผู้้�ป่่วย เปลเคลื่�อนย้้าย ผู้้�ป่่วย รถเข็็นผู้้�ป่่วย เตีียงผู้้�ป่่วยกระดููกหััก เตีียงผู้้�ป่่วยสำหรัับใช้้ในห้้องไอซีียูู เครื่อ� งดูดู เสมหะ เครื่อ� งตรวจคลื่น� หัวั ใจ เครื่อ� งปั๊๊ม� หัวั ใจ เครื่อ� งคอมพิวิ เตอร์์ และ เครื่อ� งพิมิ พ์์ เพื่่�อไปมอบให้แ้ ก่โ่ รงเรีียนต่่าง ๆ อีีกทั้้ง� ได้เ้ ชิิญชวนพุทุ ธศาสนิิกชน ร่่วมบริิจาคโลหิิตถวายเป็็นพระราชกุุศล และได้้รัับบริิจาคข้้าวสารอาหารแห้้ง แก่่ตำรวจตระเวนชายแดน (ตชด.) เป็น็ ต้น้ ด้้วยความทุุกข์์ยากในหลาย ๆ เรื่�อง ทำให้้พระอาจารย์์ตััดสิินใจ แน่ว่ แน่ว่ ่า่ จะออกบวช จึึงขออนุญุ าตแม่่ ครั้ง� แรกท่า่ นไม่อ่ นุญุ าต เนื่่อ� งจากพี่ช�่ าย แต่ง่ งานออกเรือื นไปแล้ว้ เหลือื แต่พ่ ระอาจารย์เ์ ป็็นพี่่ใ� หญ่่ และยังั มีีน้อ้ งเล็็ก ๆ

พระวินิ ััยภาคปฏิิบัตั ิิ (สำหรับั ผู้�้บวชใหม่)่ 9 เกรงว่า่ จะไม่่มีีคนดููแลบ้า้ น แต่่พระอาจารย์์ก็็ยังั ไม่่ละความพยายาม ในที่่�สุุดแม่่ ก็็อนุุญาต จึึงได้้ปรึึกษาผู้�ใหญ่่เพื่่�อหาวััดที่�่จะบวช อยู่�แถวอำเภอคำตากล้้า ไปลองอยู่� ๑ วันั พิจิ ารณาแล้ว้ ว่า่ ไม่ใ่ ช่แ่ นวทางอย่า่ งที่ท�่ ่า่ นตั้ง� ใจ เพราะไม่ถ่ ูกู ต้อ้ ง ตามหลัักธรรม เนื่่�องจากตั้�งใจแล้้วว่่าการบวชครั้�งนี้้�จะอยู่�ไปตลอดชีีวิิตจึึงกลัับ บ้้าน ต่่อมาอีีก ๒ วััน หลวงปู่�บุุญจัันทร์์ กมโล วััดป่่าสัันติิกาวาส จ.อุุดรธานีี ท่า่ นมางานทำบุญุ ครบรอบวันั มรณภาพของหลวงปู่่�สิงิ ห์ท์ อง ธมฺมฺ วโร วัดั ป่า่ แก้ว้ ชุมุ พล จ.สกลนคร ก่อ่ นกลับั ท่า่ นพูดู กับั โยมที่ว�่ ัดั ป่า่ แก้ว้ ว่า่ “เราจะมาเอาคนบ้า้ น หนองกุุงไปบวช ใครอยากจะบวชให้้เอาไปฝากท่่าน โยมคนนั้�้นได้้บอกกัับ น้อ้ งชายท่า่ นพระอาจารย์์ แล้ว้ น้อ้ งชายจึงึ มาถามพระอาจารย์ว์ ่า่ อยากจะไปบวช กัับหลวงปู่่�บุุญจัันทร์์ไหม” เป็็นเรื่�องน่่าอััศจรรย์์ที่่�หลวงปู่�ทราบได้้อย่่างไรว่่า ท่า่ นพระอาจารย์อ์ ยากบวชและท่า่ นก็ไ็ ม่เ่ คยเห็น็ หน้า้ หลวงปู่่�มาก่อ่ น แต่ค่ วามรู้้�สึึก ตอนนั้้�นท่่านคิิดว่่าใช่่แล้้ว นั่่�นคืือสถานที่�่ที่่�ท่่านต้้องการไปบวช ไม่่มีีความลัังเล เลย (ภายหลัังมีีแม่่ชีีที่่�วััดป่่าสัันติิกาวาสเล่่าให้้พระอาจารย์์ทองปานฟัังว่่า ก่่อนที่�่หลวงปู่ �บุุญจัันทร์์จะไปงานทำบุุญครบรอบวัันมรณภาพของหลวงปู่ � สิงิ ห์ท์ อง หลวงปู่�บุุญจัันทร์บ์ อกว่า่ วันั นี้้เ� ราจะไปวัดั ป่่าแก้้วชุมุ พล เราจะไปเอา คนบ้้านหนองกุุงมาบวช) รุ่่�งเช้้าจึึงเดิินทางไปวััดป่่าสัันติิกาวาส จ.อุุดรธานีี ด้ว้ ยรถสามล้้อเครื่�อง พร้้อมโยมและเพื่่อ� นที่�่บวชด้ว้ ยอีีก ๑ คน ระยะทางจาก บ้้านหนองกุุง ถึึงวััดป่่าสัันติกิ าวาส ห่า่ งประมาณ ๓๐ กิิโลเมตร เมื่่�อโยมพาไป ถึึงวััดท่่านฉัันภััตตาหารเสร็็จพอดีี เข้้าไปกราบท่่าน แล้้วพููดว่่า “โยมขอฝาก นาคกัับหลวงปู่่�ด้้วยครัับ หลวงปู่�่บอกว่่า เราไม่่รัับรอง ท่่านพระอาจารย์์จึึงคิิด ในใจว่า่ แปลว่า่ อะไร หลวงปู่่จ� ะไม่่รัับเราบวชใช่ห่ รืือไม่่ จากนั้น้� หลวงปู่่พ� ููดต่่อไป อีีกว่่า ตััวเองต้้องรัับรองตััวเอง ว่่าจะฝึึกหััดปฏิิบััติิตามหลัักธรรมคำสอนของ พระพุุทธเจ้้าได้้หรืือไม่่ ถ้้าได้้พระพุุทธศาสนาเปิิดโล่่งสำหรัับทุุก ๆ คนอยู่่�แล้้ว

10 งานกฐินิ มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำปีี ๒๕๖๔ ขึ้�นอยู่�่ กัับตััวเองต้้องรัับรองตััวเอง” จากนั้้�นท่่านจึึงให้้พระจััดที่�่พัักให้้ ต่่อมา ตอนบ่า่ ยรู้�สึกหิวิ มากเพราะตอนเช้า้ รับั ประทานอาหารมานิดิ เดีียว คิดิ ว่า่ มาถึึงวัดั คงจะทัันพระฉันั แต่่การหาเป็น็ เช่น่ นั้้�นไม่่ อาหารไม่เ่ หลือื อยู่�เลย โยมที่�ว่ ััดเก็บ็ หมดแล้ว้ แต่่อย่า่ งไรก็็ตามวันั นี้้ต�ั้�งใจถือื ศีีล ๘ ให้ไ้ ด้ ้ หิิวก็ต็ ้อ้ งทน แต่เ่ พื่่�อนที่่ม� า ด้้วยเห็็นมะม่่วงสุุกบนต้้น จึึงเก็็บมารัับประทาน ในที่�่สุุดเพื่่�อนไม่่ได้้บวช ส่่วน พระอาจารย์์ ได้บ้ วชเป็น็ ผ้า้ ขาว ๒ เดือื น กิจิ วัตั รตอนเป็น็ ผ้า้ ขาวคือื ตื่่น� นอนเวลา ๐๓.๐๐ น. ทำความสะอาดศาลาเตรีียมทำวััตรเช้า้ เสร็็จแล้้วนั่่ง� ภาวนาจนสว่า่ ง หลวงปู่่�สอนให้้ภาวนาพุุทโธ เพื่่�อให้้จิิตสงบและมีีสติิตลอดเวลาแล้้วจะเกิิด ความสุขุ ความสุขุ อื่่น� ใดจะเสมอเหมือื นความสุขุ ที่ไ่� ด้จ้ ากความสงบไม่ม่ ีี ท่า่ นสอน ให้้เดินิ จงกรม เริ่ม� รู้้�สึึกเบากาย สงบในใจเป็็นบางครั้�ง ในระหว่า่ งเป็น็ นาคท่า่ น ท่่องบทสวดมนต์์ได้้หมด เมื่ �อพระอาจารย์์ท่่องขานนาคได้้หมดแล้้ว หลวงปู่�จึ ง พิิจารณาให้้บวชเป็็นพระ ในวัันที่่� ๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๑ โดยมีีพระครูู วีีระธรรมานุุยุุต (หลวงปู่่�พวง สุุวีีโร) เป็็นพระอุุปััชฌาย์์ พระอธิิการคำเตีียง สุุมงฺฺคโล เป็็นพระกรรมวาจาจารย์์ พระอธิิการสำเร็็จ ธมฺฺมกาโม เป็็น พระอนุุสาวนาจารย์์ ณ วัดั ป่า่ สัันติกิ าวาส โดยมีหี ลวงปู่�บุญุ จันั ทร์์ กมโล เป็น็ ประธาน พรรษาแรก ก่่อนเข้า้ พรรษา พระอาจารย์์คำเตีียง สุมุ งฺฺคโล กราบขอ อนุญุ าตหลวงปู่�บุญุ จันั ทร์ใ์ ห้ท้ ่า่ นพระอาจารย์ท์ องปานไปจำพรรษากับั ท่า่ นที่ว่� ัดั ป่่าหนองผือื อ.หนองหาน จ.อุุดรธานีี กิิจวััตรที่�ป่ ฏิบิ ัตั ิปิ ระจำคือื ฉัันภััตตาหาร เสร็็จออกไปเดินิ จงกรมจนถึึงเวลา ๑๓.๐๐ น. หรือื ๑๔.๐๐ น. เวลา ๑๕.๐๐ น. ทำความสะอาดวัดั เวลาที่�่เหลือื ท่อ่ งหนัังสือื เมื่่อ� สรงน้้ำเสร็็จเตรีียมทำวััตรเย็น็ จากนั้้�นเดินิ จงกรมจนถึึง ๒๔.๐๐ น. ต่อ่ ด้ว้ ยการภาวนา และเวลา ๐๓.๐๐ น. ตื่�นนอน เตรีียมทำวััตรเช้้า เตรีียมจััดสถานที่่�ฉััน ทำอย่่างนี้้�เป็็นประจำใน

พระวิินััยภาคปฏิบิ ััติิ (สำหรับั ผู้�บ้ วชใหม่่) 11 พรรษานี้้�พระอาจารย์์เริ่�มท่่องปาฏิิโมกข์์ และสามารถท่่องได้้ภายใน ๒ เดืือน ท่่านพระอาจารย์์คำเตีียงจึึงกราบเรีียนหลวงปู่�บุุญจัันทร์์ให้้ทราบ หลวงปู่�จึงให้้ ท่่านพระอาจารย์์สวดปาฏิิโมกข์์ตั้�งแต่่กลางพรรษาแรก เพราะปกติิวััดสาขาที่่� อยู่�ใกล้้ ๆ วัดั ป่า่ สันั ติกิ าวาส จะมาลงอุโุ บสถรวมกันั ที่ว่� ัดั ป่า่ สันั ติกิ าวาสทุกุ วันั พระ ๑๕ ค่่ำ การเดิินจงกรมตอนกลางคืืน เนื่่�องจากบวชใหม่ก่ ลัวั ผีีมาก แต่่ก็ต็ ้อ้ ง ออกไปเดินิ เดิินได้้สัักพัักอาการจะดีีขึ้้�น ความกลัวั ลดลง สำหรับั การภาวนาจิติ เริ่ �มสงบเย็็นตั้ �งแต่่ตอนเป็็นนาค พอถึึงกลางพรรษามีีศพมาตั้ �งสวดอภิิธรรมที่�่ วััดป่่าสัันติิกาวาส พระอาจารย์์ได้้รัับนิิมนต์์ให้้มาสวดพระอภิิธรรมด้้วย รู้้�สึึก ร่่างกายไม่่ค่่อยสบายเลย หลวงพ่่อสมหมาย อตฺฺตมโน จึึงบอกว่่าให้้พิิจารณา ความตาย ภาวนาจนรู้�สึกเหมืือนตัวั เองกำลัังจะตาย เกิิดทุุกขเวทนาอย่่างหนััก ก่อ่ นตาย เหมือื นภูเู ขามาทัับจนร่่างแหลกละเอีียด ใจจึึงดิ้น� รนหาทางออกจะไป เกิดิ ใหม่ ่ ปรากฏเห็น็ กรรมที่ต�่ นเองทำ เห็น็ สถานที่ท�่ ี่ต่� นเองจะไปเกิดิ ด้ว้ ย ซึ่ง�่ เป็น็ สถานที่�่ที่่�ดีี แต่่คนที่�่ไม่่เคยปฏิิบััติิภาวนาจะปรากฏกรรมไม่่ดีีมาให้้เห็็นก่่อน เหมืือนเป็็นนิิมิิตมาให้้เห็็น ถ้้าวางเฉยภาพนิิมิิตอัันใหม่่จะมาปรากฏให้้เห็็นอีีก จึึงเกิดิ ความรู้้�ในจิติ ว่า่ กรรมจะแสดงผลตลอดเวลา เกิดิ ความรู้้�ว่า่ อาการของคน ที่่�จะตายเป็น็ อย่า่ งไร ก่่อนตายลมหายใจใกล้้จะหมด ร่่างกายจะแตก ทุกุ ข์์มาก หััวใจเต้น้ ดัังตุ้้�บ ๆ ดังั มาก ครั้�งสุุดท้า้ ยแล้้วขาดไป เหมืือนเราตกลงมาจากที่ส�่ ูงู ความรู้้�สึึกในร่่างกายไม่่มีีแล้้ว ใจหวิิวดิ่่�งลงไปเรื่�อย ๆ เกิิดวิิตกขึ้้�นมาว่่าตััวเอง จะตายจริงิ ๆ หรืือนี่่� จากนั้้น� ก็็ถอนจิติ ออกมาสู่่�ภาวะปกติิ จึึงออกมาเรีียนถาม พระอาจารย์ค์ ำเตีียง พระอาจารย์ค์ ำเตีียงบอกว่า่ นั่่น� แหละเป็น็ อาการรวมของจิติ

12 งานกฐิิน มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำปีี ๒๕๖๔ หลัังออกพรรษาแรก พระอาจารย์ค์ ำเตีียง สุมุ งฺฺคโล ได้ช้ วนท่า่ นออก วิเิ วกไปจังั หวัดั อุบุ ลราชธานีี ไปกันั ทั้้ง� หมด ๔ รูปู เพื่่อ� นำสามเณรไปเกณฑ์ท์ หาร เดินิ ไปด้ว้ ยเท้า้ เปล่า่ ออกบำเพ็ญ็ ได้ป้ ระมาณ ๓-๔ เดือื น จึึงกลับั วัดั ป่า่ สันั ติกิ าวาส อยู่่�กับั หลวงปู่�บุญุ จันั ทร์์ ได้อ้ ยู่่�อุปุ ัฏั ฐากหลวงปู่�บุญุ จันั ทร์ค์ ู่่�กับั พระอาจารย์ส์ ำเร็จ็ การภาวนาในช่ว่ งนั้้น� ลุ่่�ม ๆ ดอน ๆ เพราะพระเณรอยู่่�กันั มาก มีงี านต้อ้ งรับั ภาระ มาก เนื่่อ� งจากเป็็นพระผู้้�น้้อย ในพรรษานี้้เ� อง วัันหนึ่ง่� ขณะนั่่ง� สมาธิไิ ด้น้ ิิมิติ เห็็น หลวงปู่่�สิงิ ห์ท์ อง วัดั ป่่าแก้ว้ ชุมุ พล จ.สกลนคร หลวงปู่่�ท่า่ นชวนให้้เดิินข้า้ มห้ว้ ย จากนั้้�นหลวงปู่่�ท่่านทำท่่ายกผ้้าสบงจีีวรให้้พ้้นน้้ำ ท่่านพระอาจารย์์เดิินตามไป จนถึึงอีีกฝั่ง� เมื่อ� ถึึงฝั่ง� แล้ว้ หลวงปู่่�สิงิ ห์ท์ องหายไป ท่า่ นพระอาจารย์จ์ ึึงเดินิ ต่อ่ ไป พบทางสามแพร่ง่ ในใจคิดิ ว่า่ จะเดินิ ไปทางซ้า้ ยหรือื จะเดินิ ไปทางขวาดีี ทันั ใดนั้้น� ก็็เห็็นหลวงปู่�มั่�นท่่านยืืนอยู่่�ตรงทางสามแพร่่งพอดีี หลวงปู่�มั่�นท่่านบอกให้้เดิิน ไปทางขวาสิ ิ ท่า่ นพระอาจารย์ก์ ็ท็ ำตามที่ห่� ลวงปู่่�ท่า่ นแนะนำ ท่า่ นเดินิ ต่อ่ ไปจนถึึง พระธาตุพุ นม พรรษาที่่� ๒-๔ ท่่านกลัับมาอยู่่�ภาวนาที่�่วััดป่่าสัันติิกาวาส วัันหนึ่�่ง หลวงปู่�บุุญจัันทร์์บอกให้้พากัันไปหาไม้้เพื่่�อมาสร้้างศาลากลางน้้ำ เพราะศาลา เก่า่ ผุพุ ังั แล้ว้ ท่า่ นพระอาจารย์จ์ ึึงพากันั ไปแถวอำเภอวังั สามหมอ เลื่อ� ยไม้ก้ ันั ทั้้ง� วันั ทั้้ง� คืนื ท่่านบอกว่า่ ทำด้ว้ ยสมาธิิไม่รู่้�สึกเหนื่่�อย จนวันั ที่�่ ๖ ก้ม้ หลังั ไม่ไ่ ด้เ้ มื่่�อเสร็จ็ ภารกิิจงานชิ้น� นี้้�แล้้ว พรรษาที่่� ๕ เมื่ �อเสร็็จภารกิิจงานหาไม้้เพื่่�อไปสร้้างศาลากลางน้้ำ ของวััดป่่าสัันติิกาวาสแล้้ว ชาวบ้้านภููวัังทองได้้อาราธนาให้้ท่่านพระอาจารย์์ จำพรรษาที่่�นี่�่ อยู่�ได้้ ๑ พรรษา ก็็ออกเที่�่ยววิิเวกไปที่�่วััดดอยธรรมเจดีีย์์อยู่่�กัับ ท่่านพระอาจารย์์แบน ๗ วััน จึึงธุุดงค์์ไปที่�่วััดป่่าดอนกรรม จัังหวััดหนองคาย ท่่านขยัันหมั่่�นเพีียรภาวนามาก จนครููบาอาจารย์์ต้้องบอกให้้ท่่านหยุุดเอาไว้้

พระวินิ ัยั ภาคปฏิิบัตั ิิ (สำหรับั ผู้�บ้ วชใหม่)่ 13 เพราะทำมากไป เกรงว่า่ ร่่างกายจะทนไม่่ไหว เพราะใช้ม้ ากเกินิ ไป เดิินจงกรม ไม่น่ อน ๗ วันั พักั ไม่ไ่ ด้ ้ จิติ ไม่ย่ อมพักั ความรู้้�สึึกบอกว่า่ ใกล้ถ้ ึึงจุดุ หมายปลายทาง แล้ว้ ไม่ม่ ีคี วามทุกุ ข์อ์ ะไรเลย จิิตลอยไปลอยมา ร่่างกายหลัับ แต่จ่ ิิตรู้้�ตลอดและ ยัังมองเห็็นร่า่ งกายขณะหลัับด้ว้ ย ไม่่มีีมืดื ไม่ม่ ีีสว่่าง ไม่ม่ ีกี ลางวันั ไม่ม่ ีกี ลางคืืน มีีแต่่เกิิด มีีแต่่ดัับ มีีแต่่ความสว่่างของใจ ขณะนั้้�นพิิจารณาผลของการภาวนา แล้ว้ พบว่า่ ได้ผ้ ลดังั ใจ ต้อ้ งการให้ส้ งบก็ไ็ ด้้ ผลของสมาธิมิั่่น� คงไม่ต่ กต่่ำ ไม่ต่ ้อ้ งรอ เข้า้ ที่ภ�่ าวนาจิติ ก็เ็ ป็น็ สมาธิไิ ด้ต้ ลอดเวลา รู้�ว่า่ ได้อ้ ะไรออกไปจากใจบ้า้ ง อยู่่�วัดั ป่า่ ดอนกรรม ๒ เดืือน ร่า่ งกายไม่่ค่่อยสบาย เพราะไม่ไ่ ด้้พักั ผ่อ่ น กลางวัันทำงาน สร้้างศาลา กลางคืืนภาวนา จึึงไปขออยู่�จำพรรษาที่่�วััดราษฎร์์บููรณะ บ้้าน สัันทรายงาม อ.ศรีีวิิไล จ.หนองคาย (ปััจจุุบัันคืือ อ.ศรีีวิิไล จ.บึึงกาฬ) กัับ หลวงพ่่อวิิจิิตร รกฺฺขิิตธมฺฺโม เมื่่�อปลายเดืือนมิิถุุนายน พ.ศ. ๒๕๓๖ โดยท่่าน พระอาจารย์์บุุดดาตามมาส่่งด้้วยถึึงวััดตอนเที่่�ยงวััน ครั้�งแรกท่่านตั้�งใจจะไป จำพรรษาที่ภ�่ ูวู ัวั เมื่่อ� ผ่า่ นมาถึึงบ้้านสัันทรายงาม ด้้วยความเป็น็ ห่่วงในหมู่�คณะ ที่ม�่ าอยู่�ลำพังั เพีียงองค์เ์ ดีียว ท่า่ นพระอาจารย์จ์ ึึงแวะมาพักั ด้ว้ ย แล้ว้ ท่า่ นพูดู ขึ้น้� ว่่าท่่านจะไปจำพรรษาที่่�ภููวััว ให้้เก็็บเครื่�องบริิขารแล้้วเดิินทางไปพร้้อมท่่าน หลวงพ่อ่ วิจิ ิติ รพยายามให้เ้ หตุผุ ลว่า่ ท่า่ นพระอาจารย์ไ์ ม่ค่ ่อ่ ยสบาย กราบขอร้อ้ ง ให้้ท่่านพระอาจารย์์จำพรรษาที่่�สัันทรายงามก่่อน ท่่านพระอาจารย์์จึึงยอม ด้้วยเหตุุผล แต่่มีีข้้อแม้้ว่่าจะต้้องเชื่�อฟัังท่่าน เพราะถ้้าไม่่เชื่�อฟัังครููบาอาจารย์์ ถึึงอยู่่�ด้้วยกัันก็็ไม่่เกิิดประโยชน์์อัันใด หากท่่านยอมเชื่�อฟัังผมก็็จะอยู่่�กัับท่่าน ที่น่� ี่ ่� ตกลงท่า่ นพระอาจารย์เ์ มตตาอยู่�จำพรรษาด้ว้ ย ในพรรษานี้้จ� ึึงมีีพระสองรูปู เนื่่�องจากท่่านพระอาจารย์์ไม่่ค่่อยสบาย ท่่านเล่่าให้้ฟัังว่่าท่่านแพ้้อากาศที่�่ ดอนกรรม เพราะเป็็นป่า่ ทึึบมาก เมื่่�อฝนตกหนักั เข้้าจะมีอี าการไม่ส่ บายทุุกวััน ท่า่ นว่า่ ท่า่ นเสีียดายสถานที่แ่� ห่ง่ นั้้น� มาก ถ้า้ ไม่แ่ พ้อ้ ากาศท่า่ นคงจำพรรษาอยู่�ที่น�่ั้้น�

14 งานกฐิิน มหาวิิทยาลััยขอนแก่น่ ประจำปีี ๒๕๖๔ ท่า่ นเล่า่ ว่า่ ท่า่ นเร่ง่ ความเพีียรจนได้ห้ ลักั ใจ การทำความเพีียรต้อ้ งทำให้ส้ มบูรู ณ์์ ทั้้ง� ภายในภายนอก จิติ นั้้น� จึึงจะเป็น็ ไปและสงบในที่ส่� ุุด ส่ว่ นการทำความเพีียร นั้้�นท่่านว่่าเอาตายเข้้าว่่า ท่่านเดิินจงกรมตลอดสว่่าง ๓ วััน ติิดต่่อกััน ส่่วน ทุกุ ขเวทนานั้้น� เกิดิ ทุกุ ส่ว่ นในร่า่ งกาย เหมือื นนั่่ง� อยู่�ในกองเพลิงิ ท่า่ นคิดิ จะฝึกึ ตาย ก่่อนตายจริงิ จึึงจะเห็็นถึึงความอััศจรรย์ข์ องจิติ ดวงนี้้� บางครั้ง� ท่่านก็็พููดเปรย ๆ ว่า่ ผมไม่ส่ งสัยั นะในคติทิ ี่จ่� ะไป เมื่อ� กราบเรีียนถามท่า่ นว่า่ ท่า่ นอาจารย์จ์ ะไปไหน สวรรค์ห์ รือื สวรรค์ก์ ็ไ็ ม่ไ่ ป จะไปพรหมโลกหรือื พรหมโลกก็ไ็ ม่ไ่ ป เมื่่อ� กราบเรีียน ถามว่่าท่่านอาจารย์์จะไปนิิพพานใช่่ไหม ท่่านก็็นิ่่�งเสีียแล้้วยิ้้�ม ในพรรษานั้้�น ท่่านพระอาจารย์์ไม่่ค่่อยสบายมีีอาการของโรคหััวใจ ผอมเหลืือง มีีอาการ เหนื่่�อยหอบเป็็นประจำ ยารัักษาก็็อาศััยยาสมุุนไพร ท่่านบอกให้้ไปหาหััว หญ้า้ แห้ว้ หมูู ให้เ้ กินิ อายุุของท่่าน ๑ หัวั แล้้วบดให้ล้ ะเอีียดดองน้้ำผึ้�งไว้้ ๗ วันั สวดสัักกััตวา ๗ จบ เมื่่อ� ครบวัันแล้ว้ จึึงนำมาฉััน อาการทุเุ ลาลงบ้้าง บางครั้ง� อาการหนัักมากก็็ไปหาหมอที่่�คลิินิิกบ้้าง ถึึงแม้้ท่่านจะไม่่ค่่อยสบาย แต่่ท่่านก็็ เข้้มแข็็งเมตตาอบรมบรรดาญาติิโยมอยู่่�ตลอด สอนให้้รัักษาพระไตรสรณคมน์์ รักั ษาศีีล แนะวิธิ ีีทำสมาธิเิ บื้้อ� งต้น้ เพื่่อ� เป็น็ หลักั ในการปฏิบิ ัตั ิจิ นเป็น็ ที่เ่� ข้า้ ใจ ใน พรรษานั้้น� ท่า่ นเทศน์อ์ บรมญาติโิ ยมอย่า่ งหนักั เพราะชาวบ้า้ นไม่ค่ ่อ่ ยได้ฟ้ ังั เทศน์์ จากพระกรรมฐานกัันนักั พรรษาที่�่ ๖ หลังั ออกพรรษา ท่า่ นอาจารย์พ์ าญาติโิ ยมไปวิเิ วกที่ป่� ่า่ ช้า้ บ้้านสัันทรายงาม ญาติิโยมจึึงจััดทำเสนาสนะขึ้�้นจนเป็็นที่่�จำพรรษาในเวลา ต่่อมา จำได้ว้ ่า่ มาอยู่่�ป่่าช้า้ เมื่่อ� วัันที่่� ๖ พฤศจิิกายน พ.ศ. ๒๕๓๖ ในพรรษานี้้� มีีพระจำพรรษา ๕ รูปู สามเณร ๓ รูปู พอถึึงหน้า้ แล้ง้ ก่อ่ นเข้า้ พรรษา มีเี หตุกุ ารณ์์ เกิดิ ขึ้น้� คือื ชาวบ้า้ นฝ่า่ ยที่ม�่ ีีมิจิ ฉาทิฐิ ิไิ ม่ช่ อบพระกรรมฐาน เพราะปกติพิ ระที่น�่ ั่่น� มักั ทำตามที่�่ชาวบ้้านต้้องการ เช่น่ ประเพณีีต่า่ ง ๆ ที่่�เขาเคยปฏิบิ ัตั ิกิ ัันมา แต่่

พระวิินััยภาคปฏิบิ ััติิ (สำหรับั ผู้�้บวชใหม่่) 15 พระอาจารย์์สอนชาวบ้้านให้้เลิิกทำ จึึงเป็็นเหตุุให้้ชาวบ้้านเหล่่านั้้�นไม่่พอใจ ด่า่ ว่่าท่า่ นต่า่ ง ๆ นานา หาว่่าท่่านบุกุ รุกุ ป่่าสงวนบ้้าง เป็น็ พระปลอมบ้้าง เป็น็ พระนอกรีีตบ้้าง พากัันมาขับั ไล่่ท่า่ น แม้เ้ วลาเดินิ จงกรมทำความเพีียร ขว้า้ งปา ค้อ้ นใส่ท่ ่า่ น แต่ย่ ังั ดีีที่ไ่� ม่โ่ ดนท่า่ น แต่แ่ ทนที่ท�่ ่า่ นจะตอบโต้ ้ ท่า่ นกลับั นิ่่ง� เสีีย และ อบรมพระ เณร ญาติิโยมให้้อยู่�ในความสงบ ให้้เจริิญเมตตาแก่่เขาเหล่่านั้้�น เพราะการติชิ มมีอี ยู่�เต็ม็ โลก เต็ม็ สงสาร ท่า่ นให้เ้ ร่ง่ ภาวนา มีีสติริ ักั ษาใจ หมั่่น� คอย ดููใจ แก้้ที่่�ใจ อย่่าให้้เดืือดร้้อนวุ่�นวายเพราะเสีียงติิชมนั้้�น สำหรัับเรื่�องความรู้้� ภายในของท่่านนั้้�น มีีครั้�งหนึ่่�งโยมทะเลาะกัันในบ้้านเพราะมีีความคิิดเห็็น ไม่่ตรงกัันในการทำบุุญ พี่่�สาวมีีศรััทธาที่่�จะมาปฏิิบััติิภาวนาที่�่ป่่าช้้า ส่่วน น้้องสาวเห็็นว่่าพระที่�่พี่�่สาวไปปฏิิบััติิด้้วยเป็็นพระปลอม เกิิดทะเลาะกัันขึ้้�น เมื่่�อโยมคนพี่่�สาวมาวััดท่่านอาจารย์์ทัักว่่า เกิิดอะไรขึ้�้นหรืือ เรานั่่�งภาวนาทีีไร ปรากฏเห็น็ มา ๓ คืนื แล้ว้ นะ โยมผู้้�นั้้น� จึึงเล่า่ เรื่อ� งทั้้ง� หมดให้ท้ ่า่ นฟังั ท่า่ นอาจารย์์ ก็็เทศน์์อบรมจนเป็็นที่่�เข้้าใจเรื่�องก็็เลยสงบลงและยัังมีีตััวอย่่างอื่�น ๆ อีีก หลายเรื่�อง ขอเล่า่ ย่่อ ๆ ไว้้เพีียงเท่่านี้้� หลังั ออกพรรษาแล้้ว ท่า่ นจึึงวิเิ วกไปแถว เชีียงใหม่่ แม่่ฮ่อ่ งสอน แล้ว้ กลัับมาที่�ว่ ัังสามหมออยู่�ในป่า่ รููปเดีียว ซึ่ง�่ อยู่่�บริิเวณ เทืือกเขาภููพาน ตั้้�งแต่่เดืือนกุุมภาพัันธ์์ถึึงเดืือนกรกฎาคม ชาวบ้้านได้้สร้้าง กุุฏิิหลัังเล็็ก ๆ ทำด้้วยไม้้ทั้้�งหลััง หลัังคามุุงด้้วยไม้้ ให้้ท่่านภาวนาโดยไม่่ยุ่�ง เกี่่�ยวกัับผู้้�ใดและไม่่อนุุญาตให้้ผู้ �ใดขึ้้�นไปที่่�กุุฏิิ บางวัันท่่านไม่่ออกไปบิิณฑบาต งดฉัันภััตตาหาร ใกล้้ ๆ บริิเวณนั้้�น มีีลำน้้ำที่�่ไหลซึึมออกมาจากหลืืบเขา ชาวบ้า้ นเรีียกว่า่ คำน้้ำแซบ น้้ำนี้้ส� ามารถดื่่ม� ได้้ รสชาติดิ ีีมาก ที่่น� ี่่�ภาวนาดีีมาก สามารถแยกกาย แยกจิิตออกได้้ขณะหลัับ ความรู้้�ที่่�เกิิดขึ้�้นทำให้้หายสงสััย ในเรื่�องของพระพุุทธศาสนา ผลการภาวนาได้้ถึึงที่่�สุุดแห่่งการพ้้นทุุกข์์ใน พรรษานี้้� ใกล้้เข้้าพรรษาจึึงกลัับไปจำพรรษาที่่�วััดสัันทรายงาม จ.หนองคาย

16 งานกฐินิ มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่น่ ประจำปีี ๒๕๖๔ เหมืือนเดิิม กุุฏิิที่�่ท่่านภาวนาอยู่�นั้�น ท่่านตั้�งชื่�อว่่า วิิเวกอาศรม ซึ่่�งอาศรมนั้้�น ต่่อมาไม่่มีีพระรููปใดไปพัักอีีกเลย เมื่ �อถึึงหน้้าแล้้งไฟป่่ามา กุุฏิิหลัังนั้้�นจึึงถููก ไฟไหม้้ไปด้้วย วัันหนึ่่�งขณะที่�่หลวงพ่่อวิิจิิตรได้้นั่่�งสนทนากัับท่่านพระอาจารย์์ ทองปาน หลวงพ่่อวิิจิิตรได้้ปรารภว่่าปััจจุุบัันหลวงปู่�ครููบาอาจารย์์นัับวัันก็็จะ เหลือื น้อ้ ยลงไปทุกุ ทีี พระสงฆ์ท์ ี่เ�่ หลือื อยู่�ว่า่ จะสำเร็จ็ มรรคผลนิพิ พานอย่า่ งน้อ้ ย ก็ต็ ้อ้ ง ๓๐-๔๐ พรรษาขึ้น้� ไป ท่า่ นพระอาจารย์ท์ องปานตอบทันั ทีีว่า่ ไม่จ่ ริงิ หรอก เดี๋�ยวนี้้� ๖-๗ พรรษา ก็็สำเร็จ็ มรรคผลนิิพพานแล้ว้ ก็ม็ ีี พรรษาที่�่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๓๘) ในพรรษานี้้� ภาวนาได้้ดีีมากเช่่นกััน หลัังออกพรรษา เมื่ �อรัับกฐิินเสร็็จแล้้วไม่่นาน หลวงปู่�บุุญจัันทร์์ กมโล วััดป่่า สันั ติิกาวาส อ.ไชยวาน จ.อุดุ รธานีี บอกให้โ้ ยมมานิิมนต์์ท่่านพระอาจารย์ก์ ลัับ ไปจำพรรษาที่่�ไชยวานเพื่่�อมาดููแลพระเณรทำข้้อวััตรต่่าง ๆ เพราะไม่่มีี พระผู้�ใหญ่่อยู่�เลย เมื่่�อท่่านกลัับไปที่�่ไชยวาน เดืือนมิิถุุนายนหลวงปู่�บุุญจัันทร์์ เริ่�มอาพาธหนัักและได้้ละสัังขารไปเมื่�อวัันที่่� ๑๘ มิิถุุนายน พ.ศ. ๒๕๓๘ เมื่่�อถวายเพลิิงศพหลวงปู่�บุญุ จันั ทร์์เสร็็จแล้้ว ท่า่ นอาจารย์ไ์ ด้ก้ ลัับมาจำพรรษา ที่ป�่ ่่าช้า้ สันั ทรายงามอีีกครั้�ง ในพรรษานี้้ม� ีีพระจำพรรษาด้้วย ๖ รููป ท่า่ นให้้เร่ง่ ภาวนาให้้มากเพราะครููบาอาจารย์์นัับวัันจะหมดไป หลวงปู่่�พ่่อแม่่ครููอาจารย์์ ท่่านก็็จากเราไปแล้้ว ความเศร้้าสลดในการจากไปของหลวงปู่�บุุญจัันทร์์ บรรยากาศในพรรษานี้้ผ� ิดิ กับั พรรษาที่ผ่� ่า่ นมามาก ท่า่ นจะไม่ค่ ่อ่ ยพูดู ยกเว้น้ เวลา อบรมธรรมะ ท่า่ นจะเทศน์อ์ ย่า่ งหนักั ใช้เ้ วลาไม่น่ ้อ้ ยกว่า่ ๑-๒ ชั่่ว� โมง ทำอย่า่ งนี้้� จนตลอดพรรษา เมื่�อออกพรรษาแล้้ว ท่่านเห็็นว่่าป่่าช้้าแห่่งนี้้�คงไม่่เหมาะใน การสร้า้ งเป็น็ วัดั เพราะเป็น็ ป่า่ สงวน ท่า่ นจึึงบอกญาติโิ ยมให้ไ้ ปหาสถานที่ส�่ ร้า้ ง วััดใหม่่ อยู่�ไกลจากที่่�เดิิมประมาณ ๓ กิิโลเมตร ปััจจุุบัันจึึงกลายเป็็นวััดป่่า สัันทรายงาม ท่่านจึึงบอกลาชาวบ้้านญาติิโยม เที่่�ยวธุุดงค์์ไปทางภาคเหนืือ แล้ว้ ลงมาทางจันั ทบุรุ ีี จนมาถึึงศรีีสะเกษในปัจั จุบุ ันั

พระวินิ ัยั ภาคปฏิบิ ััติิ (สำหรับั ผู้้�บวชใหม่่) 17 พรรษาที่่� ๘ (พ.ศ. ๒๕๓๙) เมื่่อ� ออกพรรษาแล้้ว ท่า่ นได้อ้ อกเที่่ย� ว วิเิ วกไปทางจังั หวัดั อุทุ ัยั ธานีี เรื่อ� ยมาถึึงนครสวรรค์์ กำแพงเพชร เข้า้ ไป อ.อุ้้�มผาง จ.ตาก ออกจาก จ.ตากก็็ไป จ.แม่่ฮ่่องสอน จนถึึงชายแดนไทย-พม่่า อากาศ หนาวมาก ท่่านอยู่�ได้้ระยะหนึ่่�งแล้้วเดิินทางต่่อไปจัันทบุุรีี พัักอยู่่�ที่�่ อ.มะขาม รู้�สึกไม่ค่ ่อ่ ยสบายเนื่่อ� งจากแพ้ก้ ลิ่น� ยาฆ่า่ แมลง ยาฉีีดผลไม้ข้ องชาวสวน มีอี าการ ปวดศีีรษะ ตกตอนเย็็นจะมีีอาการหายใจไม่อ่ิ่�มท้อ้ ง จึึงเดินิ ทางมา จ.ศรีีสะเกษ เพื่่�อมารัักษาตััว ถ้้าอาการดีีขึ้้�นแล้้วก็็จะออกเที่่�ยววิิเวกต่่อไปอีีก ท่่านได้้มาพััก อยู่�อาศัยั ท่า่ นพระอาจารย์เ์ ตีียง สุมุ งฺคฺ โล วัดั ป่า่ หนองคูณู ต.หัวั ช้า้ ง อ.อุทุ ุมุ พรพิสิ ัยั จ.ศรีีสะเกษ ระหว่่างพัักอยู่่�ที่่�นั้้�นได้้ช่่วยท่่านพระอาจารย์์เย็็บผ้้าและงานอื่�น ๆ นานเข้้าท่่านก็็อยากเที่่�ยววิิเวกอีีก จึึงมากราบลาท่่านพระอาจารย์์เตีียง ท่่าน พระอาจารย์เ์ ตีียงได้แ้ นะนำให้ไ้ ปอยู่�ที่ป� ่า่ ช้า้ บ้า้ นหมากยาง อ.บึึงบูรู พ์์ จ.ศรีีสะเกษ ซึ่�่งอยู่่�ห่่างจากวััดป่่าหนองคููณประมาณ ๑๒ กิิโลเมตร สภาพเป็็นป่่า มีีเนื้้�อที่่� ประมาณ ๑๐ ไร่่ เหมาะแก่ก่ ารบำเพ็ญ็ ที่น�่ ี่เ�่ คยมีีพระมาพักั บำเพ็ญ็ อยู่�เหมือื นกันั แต่่อยู่�ไม่่ได้้เพราะผีีดุุมาก นอกจากนี้้�ก็็ยัังมีีท่่านพระอาจารย์์บุุญยััง กลฺฺยาโณ วััดป่่าบ้้านบาก ต.หนองอึ่�่ง อ.ราศีีไศล จ.ศรีีสะเกษ พระกรรมฐานศิิษย์์วััดป่่า บ้า้ นตาด เคยมาวิเิ วกและพักั ค้า้ งแถวนั้้น� ท่า่ นบอกว่า่ ภาวนาดีี แต่ท่ ่า่ นไม่ม่ ีโี อกาส มาสร้้างวััด ภายหลัังท่่านมรณภาพไปก่่อน ท่่านพระอาจารย์์เตีียงท่่านเมตตา มาส่่งถึึงที่่� ซึ่�่งตรงกัับวันั ที่่� ๑๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๙ วัันแรกชาวบ้้านได้จ้ ััดหา แคร่่ ให้ท้ ่า่ นพักั ท่า่ นพักั อยู่�ในกลด ต่อ่ มาชาวบ้า้ นได้ช้ ่ว่ ยกันั สร้า้ งกระต๊อ๊ บเล็ก็ ๆ มุุงด้้วยหญ้้าคา ฝากั้�นด้้วยหญ้้าคาเช่่นกััน เวลาฝนตกหนัักน้้ำฝนรั่�ว พรรษานี้้� มีีพระสงฆ์์สามเณรร่ว่ มจำพรรษาด้ว้ ย ๖ รููป ได้้แก่่ ท่า่ นพระอาจารย์ท์ องปาน จารุวุ ณฺโฺ ณ หลวงพ่อ่ พรหมา (มรณภาพ) พระอาจารย์์ไทร (ลาสิกิ ขา) ครูบู าปุ๊๊� ครููบามาจากเชีียงใหม่่ (จำชื่�อไม่่ได้้) สามเณรสำเนีียง (อึ่�่ง) หอมอ่่อน สำหรัับ สภาพความเป็็นอยู่�ในป่่าช้้านั้้�น ไม่่มีีไฟฟ้้าใช้้ น้้ำใช้้ได้้จากการขุุดบ่่อ เมื่่�อขุุด

18 งานกฐินิ มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำปีี ๒๕๖๔ ลงไปจะพบรากไม้้เน่่า สีีและกลิ่ �นไม่่ค่่อยดีีเท่่าไหร่่นััก ท่่านพระอาจารย์์จึึง พยายามหาที่�่ขุดุ บ่อ่ ใหม่ไ่ กลออกไปอีีก เป็็นบริิเวณใกล้จ้ อมปลวก น้้ำใสขึ้้น� แต่่ ยัังมีีกลิ่น� เช่่นเดิิม ท่่านจึึงให้้หาถ่่านมาเทใส่ล่ งก้น้ บ่่อ ปรากฏว่า่ กลิ่�นเหม็็นลดลง แต่่ใช้้ดื่�มไม่่ได้้ จะเห็็นว่่าท่่านพระอาจารย์์มีีความรู้้�และประสบการณ์์อยู่่�ป่่า สามารถแก้ป้ ััญหาเฉพาะหน้้าได้เ้ ป็็นอย่่างดีี สมกัับเป็น็ ผู้�นำหมู่�คณะ ถูกู พวกมิิจฉาทิฐิ ิขิ ับั ไล่่ คืืนวัันหนึ่่�งมีีวิิญญาณผีีตายทั้้�งกลมอยากลองดีี ท่่านนอนอยู่่�บนแคร่่ ไม้้ในมุ้�งกลด อยู่� ๆ ก็็มีีมืือโผล่่เข้้ามา ท่่านนึึกในใจว่่าอยากลองดีีกัับเราหรืือ เท่่านั้้�นแหละสัักครู่�วิญญาณนั้้�นถอยหลัังไปประมาณ ๑-๒ เมตร ยืืนตััวสั่่�น ยอมจำนนทุกุ อย่า่ ง ต่อ่ มาวิญิ ญาณทั้้ง� หลายในป่า่ ช้า้ นั้้น� ก็ไ็ ด้ท้ ยอยไปเกิดิ จนหมด ขณะอยู่�ที่ป�่ ่า่ ช้า้ บ้า้ นหมากยางมีีปัญั หาวุ่�นวายหลายครั้ง� เจ้า้ หน้า้ ที่บ่� ้า้ นเมือื งและ ชาวบ้้าน มาขับั ไล่่ท่่านไม่ใ่ ห้้ท่า่ นอยู่่�ตรงนี้้� โดยใช้้คำพููดที่�ไ่ ม่่สุุภาพ พากันั มาไล่่ อยู่�หลายครั้ง� บังั เอิญิ ช่ว่ งนั้้น� อยู่�ในพรรษาพอดีี จึึงมีีข้อ้ ต่อ่ รองว่า่ ขอให้อ้ อกพรรษา ก่่อน ปกติิใน จ.ศรีีสะเกษ ไม่่ค่่อยมีีพระกรรมฐานมาสร้้างวััด ชาวบ้้านจึึง ไม่่ค่่อยมีคี วามเข้า้ ใจเกี่ย่� วกัับพระกรรมฐานนักั เมื่่�อถูกู ยุุยงจึึงหลงเชื่�อ เริ่�มด้้วย ผู้�ใหญ่บ่ ้า้ นได้ท้ ำหนังั สืือร้้องเรีียนไปถึึง อ.บึึงบูรู พ์์ และส่่งต่่อถึึงป่า่ ไม้ว้ ่่ามีีคนมา บุุกรุกุ ป่า่ สาธารณะบ้า้ นหมากยาง อีีกฉบับั หนึ่่ง� ส่่งไปที่�่หน่่วยป้อ้ งกัันรักั ษาป่า่ ที่่� ศก.๙ อ.อุทุ ุมุ พรพิสิ ัยั จ.ศรีีสะเกษ ด้ว้ ยเหตุบุ ังั เอิญิ ที่ค�่ ุณุ เหมือื งเพชร ไชยปัญั ญา เจ้้าหน้้าที่่�ประจำหน่่วยนี้้�เป็็นผู้้�รัับหนัังสืือฉบัับนั้้�น ซึ่่�งปกติิคุุณเหมืืองเพชร มีี ความศรัทั ธาพระกรรมฐานในสายหลวงปู่�มั่น� ภูรู ิทิ ตฺโฺ ต เนื่่อ� งจากเคยอ่า่ นประวัตั ิิ หลวงปู่�มั่น� แล้ว้ เกิดิ ศรัทั ธา จึึงได้ต้ั้ง� จิติ อธิษิ ฐานว่า่ ชาตินิ ี้้ข� อให้ไ้ ด้พ้ บพระอรหันั ต์์ และได้ท้ ำบุญุ กับั ท่า่ น ด้ว้ ยเหตุนุ ี้้เ� องจึึงเป็น็ เหตุใุ ห้เ้ ทวดาดลใจให้ห้ นังั สือื ฉบับั นั้้น�

พระวินิ ััยภาคปฏิบิ ััติิ (สำหรับั ผู้�บ้ วชใหม่)่ 19 ถึึงมือื คุุณเหมือื งเพชร ซึ่ง่� ข้้อความในหนังั สือื ฉบับั นั้้น� ไม่ไ่ ด้ร้ ะบุุว่่าเป็น็ พระ บอก แต่่ว่่าเป็็นชาวบ้้านเข้้าไปบุุกรุุกที่่�ป่่าสาธารณะ เมื่่�อคุุณเหมืืองเพชรพบท่่าน พระอาจารย์์ทองปานครั้ �งแรก รู้้�สึึกได้้เลยว่่าท่่านเป็็นพระสงฆ์์ที่่�ประพฤติิดีี ปฏิิบััติิชอบ เพราะท่่านสงบนิ่่�งมาก เมื่�อสนทนาด้้วยแล้้วยิ่่�งเกิิดศรััทธา ดัังนั้้�น แทนที่�่จะจัับท่่านแล้้วตั้้�งข้้อหาบุุกรุุกป่่า กลัับกลายเป็็นความพยายามหาทาง ยัับยั้้ง� เรื่อ� งไว้้เพื่่อ� ช่่วยท่า่ น แต่เ่ นื่่อ� งจากสถานที่�แ่ ห่ง่ นี้้�เป็็นป่่าสาธารณะและเป็น็ พื้้�นที่่�ป่่าสงวนแห่่งชาติิด้้วย และปีี พ.ศ. ๒๕๓๘ จากมติิคณะรััฐมนตรีีออก กฎหมายห้า้ มพระบุกุ รุกุ ที่ป�่ ่า่ สงวนเพื่่อ� สร้า้ งวัดั ดังั นั้้น� ก่อ่ นออกพรรษาชาวบ้า้ น ที่เ่� คารพศรัทั ธาท่า่ นพระอาจารย์เ์ ห็น็ ว่า่ เรื่อ� งจะยุ่�งกันั ใหญ่ ่ จึึงได้ป้ รึึกษากันั จัดั หา สถานที่่�แห่่งใหม่่เพื่่�อสร้้างเป็็นวััด โดยตกลงว่่าเมื่ �อท่่านย้้ายไปแล้้วอย่่ามายุ่�ง กับั ท่่านอีีกนะ การทะเลาะวิวิ าทกัันจึึงได้ร้ ะงับั ไป มีีแต่่ความสงบ ท่่านจึึงตั้ง� ชื่�อ วััดนี้้�ว่่า วััดป่่าสัันติินิิมิิต กล่่าวคืือ สัันติิ แปลว่่า ความสงบ นิิมิิต แปลว่่า เครื่อ� งหมาย รวมความแล้ว้ แปลว่า่ วัดั ที่ม่� ีีเครื่อ� งหมายแห่ง่ ความสงบ ชาวบ้า้ น จึึงช่่วยกัันบริจิ าคที่่ใ� หม่่ถวายท่่านพระอาจารย์เ์ พื่่�อสร้า้ งวัดั ป่า่ สันั ตินิ ิิมิิต ญาติโิ ยมศรัทั ธาถวายที่่�สร้า้ งวัดั ป่่าสันั ตินิ ิมิ ิิตครั้�งแรก พื้้�นที่่�สร้้างวััดป่่าสัันติินิิมิิตอยู่่�ห่่างจากหมู่่�บ้้านหมากยางประมาณ ๘๐๐ เมตร ไปทางทิศิ ตะวัันตกเฉีียงใต้้ของหมู่่�บ้า้ น เดิิมทีีอยู่�ในบริเิ วณป่า่ สงวน แห่ง่ ชาติิ ป่า่ โนนลาน ชาวบ้า้ นเข้า้ จับั จองมีีสิทิ ธิ์�ถููกต้้องตามกฎหมาย ใช้ท้ ำไร่่ มัันสำปะหลััง ทำสวน ลัักษณะพื้้�นที่�่โล่่งเตีียน มีีต้้นมะม่่วงและต้้นไม้้อื่�น ๆ อยู่่�ประปราย และได้ร้ ่่วมกันั บริจิ าคเพื่่อ� สร้า้ งวััดประมาณ ๒๐ ไร่่ ดังั มีีรายนาม ผู้้�บริิจาคดังั นี้้�

20 งานกฐินิ มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำปีี ๒๕๖๔ ๑. นายพรหมา โพธิ์์ส� ว่า่ ง ถวายที่่จ� ำนวน ๕ ไร่่ ๔๐ ตารางวา ๒. นายประมููล วงศ์์จอม ถวายที่จ�่ ำนวน ๓ ไร่่ ๓. นายวาน เพีียโคตร ถวายที่จ่� ำนวน ๓ ไร่่ ๓ งาน ๘๐ ตารางวา ๔. นายสอน สอนไชยญาติิ ถวายที่�่จำนวน ๓ ไร่่ ๔๐ ตารางวา ๕. นางทองปาน พรหมทา ถวายที่จ่� ำนวน ๑ ไร่่ ๓ งาน ๒๐ ตารางวา ๖. นายสนอง ศรีีเกษ ถวายที่จ�่ ำนวน ๑ ไร่่ ๒ งาน ๗. นางอุบุ ล บุญุ เย็น็ ถวายที่จ�่ ำนวน ๑ ไร่่ ๘. นายสมจิติ ร พรหมทา ถวายที่จ�่ ำนวน ๑ ไร่่ ๙. นายฉวีี สาริิดดีี ถวายที่่จ� ำนวน ๑ งาน ๗๐ ตารางวา ๑๐. นางกงจีีน พรหมทา ถวายที่่�จำนวน ๒ งาน ปััจจุุบัันทางวััดได้้ซื้�อที่�่ขยายเพิ่่�มขึ้�้นอีีกรวมเป็็นเนื้้�อที่�่กว่่า ๓๐ ไร่่ และ ได้้ทำการปลููกป่่าเฉลิิมพระเกีียรติิตามโครงการที่�่คุุณเหมืืองเพชร ไชยปััญญา ได้้คิิดทำขึ้�้นเพื่่�อน้้อมเกล้้าน้้อมกระหม่่อมถวายเป็็นพระราชกุุศล โดยได้้เชิิญ ข้้าราชการฝ่่ายต่่าง ๆ เป็็นกรรมการ เช่่น นายอำเภอ ป่่าไม้้อำเภอ กำนััน ผู้�ใหญ่่บ้้าน พร้้อมชาวบ้้าน เป็็นต้้น จากที่�่โล่่งเตีียนจึึงกลายเป็็นป่่าไปภายใน ๒-๓ ปีี ปััจจุุบัันคุุณเหมืืองเพชร ไชยปััญญา ได้้เข้้าไปประจำอยู่่�ที่�่สำนัักงาน ป่า่ ไม้้ จ.ศรีีสะเกษ ยัังคงเดินิ หน้้าสร้้างป่า่ ให้้ทางวััดต่่อไป และเป็็นผู้�ดำเนินิ การ ประสานงานเรื่ �องขออนุุญาตใช้้ประโยชน์์พื้้�นที่�่ป่่าสงวนแห่่งชาติิ ป่่าโนนลาน เพื่่�อสร้้างวััด และเพื่่�อให้้ถููกต้้องตามระเบีียบกฎหมายของทางราชการ หลััง ออกพรรษาแล้้วไม่่นาน ท่่านจึึงได้้ย้้ายมาอยู่่�ที่ว่� ัดั ใหม่่

พระวินิ ััยภาคปฏิบิ ัตั ิิ (สำหรับั ผู้บ้� วชใหม่่) 21 ความยากลำบากกว่่าจะได้้ทางเข้า้ วััด เดิิมไม่่มีีทางเข้้าวััด จำเป็็นต้้องขอซื้�อจากชาวบ้้านที่่�ไม่่ชอบท่่าน พระอาจารย์์ กว่่าเขาจะยอมขายให้ต้ ้้องใช้้ความพยายามอย่่างมาก และขายให้้ ในราคาแพงมากตามความพอใจ ความกว้า้ งของถนนมีีเพีียง ๕ เมตร ส่่วนหนึ่่�ง ต้้องเสีียเป็็นไหล่่ทาง จึึงเหลืือเนื้้�อที่่�ถนนจริิงเพีียง ๔ เมตร รถวิ่่�งเข้้าออกจะ สวนกัันไม่่ได้้ หลัังทำถนนเสร็็จ คนที่่�ขายที่�่ดิินให้้ก็็มาร่่วมใช้้ถนนด้้วย ท่่าน พระอาจารย์์ท่่านเมตตาบอกว่่าไม่่ต้้องไปหวงเขา ปล่่อยให้้เขามาใช้้ไปเถอะ ได้้ใช้้ถนนดิินและลููกรัังตั้�งแต่่บััดนั้้�นเป็็นต้้นมา เวลาหน้้าฝนน้้ำเซาะผ่่านถนน บางครั้�งมีีน้้ำขััง รถใหญ่่เข้้าไม่่สะดวก เวลามีีงานรถบััสต้้องจอดรออยู่่�ที่่�ถนน ข้้างนอก และใช้้รถเล็็กขนถ่่ายคนและสิ่�งของเข้้ามาในวััดอีีกทีี จากความยาก ลำบากที่่�มีีมาตลอด (ปีี พ.ศ. ๒๕๕๓) จึึงได้้จััดงานบุญุ ทอดผ้้าป่่าสามััคคีีทำทาง เข้า้ วััด โดยขยายทางออกและเทคอนกรีีต เพื่่�อให้้รถใหญ่่วิ่�งเข้า้ วััดได้้ สภาพความเป็็นอยู่�เมื่่อ� สร้้างวััดครั้�งแรก เนื่่�องจากเป็็นที่่�โล่่งเตีียน ต้้นไม้้ใหญ่่มีีอยู่�เพีียงไม่่กี่�่ต้้น อากาศจึึง ร้อ้ นมาก ที่�ร่ ่่มบัังแดดมีีน้อ้ ย ชาวบ้า้ น พระสงฆ์์ และสามเณร ช่ว่ ยกันั สร้้างกุุฏิิ หลัังเล็็ก ๆ ๗-๘ หลังั หลังั คามุงุ ด้้วยหญ้้าคา ฝากุุฏิบิ ัังด้ว้ ยหญ้้าคาบ้้างผ้า้ บ้า้ ง เวลาฝนตกหนักั มาก ๆ บังั ฝนไม่ไ่ ด้เ้ ลยเปียี กน้้ำ ร่ม่ กลดก็ช็ ่ว่ ยได้ไ้ ม่ห่ มด ห้อ้ งสุขุ า สำหรับั พระสงฆ์ ์ สามเณร อยู่่�บริเิ วณทิศิ ตะวันั ตกของโรงน้้ำร้อ้ นเก่า่ มีจี ำนวน ๒ ห้อ้ ง น้้ำใช้แ้ ละน้้ำสรง ชาวบ้า้ นช่ว่ ยกันั ขุดุ บ่อ่ อยู่�ทางด้า้ นทิศิ ตะวันั ตกเฉีียงใต้ข้ อง โรงน้้ำร้อ้ นเก่า่ ลึึกประมาณ ๗-๘ เมตร หน้า้ แล้ง้ น้้ำไม่ค่ ่อ่ ยพอใช้้ กว่า่ จะได้น้ ้้ำใช้้ ต้้องรอนานจนน้้ำซึึมเข้้ามาใหม่่ เนื่่�องจากห้้องน้้ำมีีน้้อย เวลาสรงน้้ำก็็สรงกััน กลางแจ้้งนั่่�นเอง ส่ว่ นที่่�ฉันั ภัตั ตาหาร ได้้สร้า้ งศาลา ๑ หลังั อยู่่�บริิเวณเดีียวกัับ

22 งานกฐิิน มหาวิิทยาลััยขอนแก่น่ ประจำปีี ๒๕๖๔ ศาลาหลัังปััจจุุบััน กว้้างประมาณ ๘ เมตร ยาวประมาณ ๑๒ เมตร หลัังคา มุุงด้้วยกระเบื้้�อง พื้้�นเทด้้วยคอนกรีีต ต่่อมาปููทัับด้้วยกระเบื้้�อง เวลาแดดจััด อากาศร้้อนมากเหมืือนกััน โรงครััวเก่่าเสาสร้้างด้้วยไม้้ หลัังคามุุงหญ้้าคา พื้้�น เทคอนกรีีต นอกจากไว้้ใช้้ทำครััวแล้ว้ ยัังใช้้เป็็นที่่�พัักของผู้้�มาปฏิิบััติิธรรมฝ่่าย หญิิงด้้วย เนื่่�องจากที่�่พัักฝ่่ายหญิิงไม่่เพีียงพอ และไม่่ค่่อยปลอดภััยยามค่่ำคืืน ต่่อมาอีีก ๒ ปี ี ท่่านจึึงต้้องสร้้างโรงครััวใหม่่ขึ้น้� ดัังที่เ�่ ห็็นในปััจจุบุ ันั สำหรับั ท่า่ นพระอาจารย์ไ์ ม่ม่ ีอี ะไรที่ร่� าบรื่่น� ไร้ป้ ัญั หา ครั้ง� นี้้ก� ็ม็ ีีปัญั หา เรื่�องปััจจััยในการสร้้างโรงครััวเช่่นกััน เป็็นเหตุุให้้ท่่านเบื่่�อหน่่ายกัับปััญหาที่�่ ไม่่รู้�จบ ท่่านจึึงอยากไปวิิเวกเพื่่�อพัักผ่่อนสัักระยะหนึ่�่ง ประกอบกัับสุุขภาพ ไม่่ค่่อยแข็็งแรง มีีโรคประจำตััวหลายโรค โรคหััวใจรั่�วตั้้�งแต่่เด็็ก รัักษาด้้วยยา กระดููกสัันหลัังคด เพราะท่่านเคยตกจากที่�่สููงช่่วงเป็็นฆราวาส และท่่านเคย ตกเหวเมื่ �อตอนออกธุุดงค์์จนบาตรกระจายและยัังโดนไม้้เสีียบก้้น โรคลำไส้้ แปรปรวน มีอี าการท้อ้ งอืืดอาหาร ไม่ย่ ่อ่ ย ถ่่ายอุจุ จาระบ่อ่ ย ตัับอักั เสบ ขณะนี้้� ได้ร้ ับั การรักั ษากับั นายแพทย์ร์ าชินิ โรงพยาบาลศิริ ิริ าช อาการทางลำไส้แ้ ละตับั ดีีขึ้�้นมาก ท่่านพระอาจารย์์จะมีีอาการเหนื่่�อยง่่าย เจ็็บหน้้าอก ร้้อนเท้้าเป็็น บางครั้ �ง สำหรัับอาการภููมิิแพ้้เป็็นหวััดบ่่อย ขณะนี้้�ดีีขึ้�้นมาก ถ้้าท่่านอยู่ �ในที่�่ อากาศบริิสุุทธิ์� ระหว่่างทางที่�่โยมวััดขัับรถไปส่่งท่่าน ภายในรถได้้เปิิดเทป ฟัังเทศน์์ของครููบาอาจารย์์ไปด้้วย มีีตอนหนึ่�่งพููดถึึงว่่าสมััยครั้�งพุุทธกาล สมเด็จ็ พระผู้�มีีพระภาคเจ้า้ ทรงแสดงนิมิ ิติ หลายครั้ง� เพื่่อ� ให้พ้ ระอานนท์ท์ ราบว่า่ อีีกไม่่นานพระองค์์จะปริินิิพพาน แต่่พระอานนท์์ไม่่ทราบและไม่่ได้้กราบทููล ขออาราธนา จนกระทั่่�งพระองค์์ทรงรัับปากพญามารแล้้วว่่าอีีก ๓ เดืือน พระองค์์จะปริินิิพพาน พระอานนท์์จึึงกราบทููลขออาราธนา พระองค์์ตอบว่่า สายไปเสีียแล้้วอานนท์์ เราได้้รัับปากพญามารไปแล้้ว เมื่่�อฟัังถึึงตรงนี้้�ทำให้้ คิดิ ได้ว้ ่่า คณะศิิษย์จ์ ะต้อ้ งรีีบแต่่งขันั ธ์์ ๕ เพื่่�อกราบนิมิ นต์ท์ ่า่ นกลัับวัดั หลังั จาก

พระวิินััยภาคปฏิบิ ััติิ (สำหรัับผู้้บ� วชใหม่่) 23 ท่า่ นออกวิเิ วกพอสมควรแล้ว้ ขณะที่ญ่� าติโิ ยมถือื ขันั ธ์์ ๕ ก้ม้ กราบเพื่่อ� ถวายท่า่ น ท่่านพระอาจารย์์นิ่่�งอยู่ �นานไม่่ยอมรัับ จึึงได้้แต่่ตั้ �งจิิตอธิิษฐานขอให้้ท่่าน พระอาจารย์์โปรดเมตตารัับด้้วยเถิิด จนท่่านพระอาจารย์์สำเร็็จได้้พููดขึ้�้นว่่า จะรับั ก็ร็ ับั เขาเถิดิ ท่า่ นจึึงรับั ขันั ธ์์ ๕ ไป ทำให้ญ้ าติโิ ยมรู้้�สึึกทราบซึ้้ง� ในความเมตตา ของท่่านพระอาจารย์์ที่่�มีีต่่อลูกู ศิษิ ย์ท์ ุกุ คน ศาลาปฏิิบัตั ิธิ รรม วิิริยิ ะ จารุุวัณั ณะ สามััคคีีอุปุ ถัมั ภ์์ เมื่อ� สร้า้ งวัดั ป่า่ สันั ตินิ ิมิ ิติ ได้ไ้ ม่น่ าน ท่า่ นได้น้ ิมิ ิติ เห็น็ ศาลาปฏิบิ ัตั ิธิ รรม ทำด้้วยไม้้ทั้้�งหลััง กว้้าง ๑๒ เมตร ยาว ๒๑ เมตร หลัังจากมีีนิิมิิตเช่่นนั้้�น ท่่านจึึงดำเนิินการสร้้างศาลาขึ้�้นด้้วยไม้้ทั้้�งหลััง ซึ่่�งมีีลัักษณะเป็็นศาลาชั้�นเดีียว ยกพื้้น� สูงู ประมาณ ๒.๒๐ เมตร จากพื้้น� กระดานถึึงหลังั คา (ไม้เ้ ส) สูงู ๓.๓๐ เมตร และจากกระดานพื้้น� กลางศาลาถึึงส่่วนสูงู สุดุ ของหลังั คาชั้น� ที่่ส� อง สููง ๕ เมตร โดยเริ่ม� หาไม้ป้ ระเภทต่า่ ง ๆ ซึ่ง�่ ล้ว้ นแล้ว้ แต่เ่ ป็น็ ไม้ม้ ีีค่า่ เนื้้อ� แข็ง็ และเป็น็ ไม้ม้ งคล เช่น่ ไม้้พะยููง เป็น็ ไม้้ที่ค�่ งทน แข็็งแรง ทนแดด ทนฝน โบราณถือื เป็น็ พญาไม้้ สููงค่่า ไม่น่ ิยิ มนำมาสร้า้ งบ้า้ น เหมาะที่�่จะมาสร้้างวััด หรือื สถานที่ส�่ ูงู ค่า่ โบราณ จะนำมาใช้้ทำดุุมเกวีียน ล้อ้ เกวีียน ส่่วนไม้้กัันเกรา หรือื มันั ตรา เป็น็ ไม้เ้ นื้้�อแข็็ง เช่น่ กันั ทนแดด ทนฝน เหนีียว มีีน้้ำมันั อยู่�ในตัวั ไม้้ รสขม ปลวกไม่ก่ ินิ จึึงเหมาะไว้้ ทำหลัังคา เป็็นต้้น ต่่อไปภายหน้้าคงหาไม่่ได้้อีีกแล้้ว ไม่่มีีขายตามโรงเลื่�อย ทุุกส่่วนของศาลาหลัังนี้้�สร้้างขึ้�้นด้้วยความยากลำบาก เพราะการสร้้างด้้วยไม้้ จะทำลำบากกว่่าปููนมากจึึงต้้องใช้้ความเพีียรพยายามอย่่างมาก ขณะดำเนิิน การสร้า้ งต้อ้ งพิถิ ีีพิถิ ันั ละเอีียดอ่อ่ น เพื่่อ� ให้ศ้ าลาหลังั นี้้อ� อกมาดูดู ีี สง่า่ งาม คงทน ถาวร และมีีคุุณค่่า ทั้้�งนี้้�เพื่่�อน้้อมถวายเป็็นพุุทธบููชา ธรรมบููชา สัังฆบููชา คืือ การบูชู าพระคุณุ ขององค์์สมเด็็จพระสัมั มาสััมพุทุ ธเจ้้า พระธรรม และพระสงฆ์์

24 งานกฐินิ มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่่น ประจำปีี ๒๕๖๔ และเพื่่อ� เป็น็ การอนุรุ ักั ษ์ไ์ ม้ม้ ีีค่า่ เหล่า่ นี้้ไ� ว้เ้ ป็น็ สมบัตั ิขิ องประเทศชาติติ ่อ่ ไป เก็บ็ ไว้้ ให้อ้ นุุชนรุ่�นหลัังได้ช้ มและศึึกษาต่อ่ ไป ไม้้แต่ล่ ะต้น้ บางส่ว่ นซื้อ� มาจากชาวบ้้าน ที่ม่� ีไี ม้อ้ ยู่�พื้น� ที่ข�่ องเขา ซึ่ง่� ถูกู ต้อ้ งตามกฎหมาย บางส่ว่ นซื้อ� จากโรงเลื่อ� ย บางส่ว่ น ชาวบ้า้ นขอร่ว่ มทำบุญุ ถวายมา ในส่ว่ นที่ไ�่ ด้จ้ ากชาวบ้า้ น ท่า่ นพระอาจารย์จ์ ะนำ พระ เณร และญาติิโยมไปช่่วยกัันตััด แล้้วยกขึ้�้นรถสิิบล้้อขนกลัับวััด บางวััน ออกไปตั้้ง� แต่่เช้้ากว่า่ จะกลัับถึึงวัดั เกือื บสว่่าง เพราะไม้ต้ ้น้ ใหญ่่มาก ตััดลำบาก ขณะออกไปตััดไม้้อากาศร้้อนมาก ตอนกลางวัันที่่�ร่่มไม่่มีีต้้องหาผ้้าไปกั้้�นแดด บางวันั ฝนตก ถ้า้ เป็น็ หน้า้ ฝนจะตัดั ไม้ไ้ ม่ส่ ะดวกเพราะพื้้น� ดินิ แฉะมาก การเคลื่อ� น ย้้ายไม้้ลำบากมาก ก่่อนตััดต้้นไม้้ท่่านพระอาจารย์์จะพิิจารณาอธิิษฐานจิิตแผ่่เมตตาให้้ เทพเทวาที่ด่� ูแู ลรักั ษาไม้เ้ หล่า่ นี้้ � ขอให้อ้ นุโุ มทนา บางครั้ง� ก็ม็ ีเี หตุอุ ัศั จรรย์เ์ กิดิ ขึ้น้� ดูเู หมือื นเทวดาท่า่ นจะไม่เ่ ข้า้ ใจและมีีมิจิ ฉาทิฐิ ิ ิ ขณะก่อ่ สร้า้ งจะมีีอุบุ ัตั ิเิ หตุตุ กจาก ที่่�สููง เกิิดบาดแผลต้้องเย็็บกัันหลายเข็็ม บางครั้�งถููกตำรวจดัักกลางทาง แต่่ก็็ สามารถตกลงนำไม้ก้ ลับั วัดั ได้ ้ ไม้ท้ ี่ไ�่ ด้ม้ าส่ว่ นใหญ่อ่ ยู่�ในบริเิ วณ จ.ศรีีสะเกษและ จัังหวััดใกล้้เคีียง ส่่วนน้้อยได้้จากจัังหวััดไกล ๆ เมื่ �อได้้ไม้้มาถึึงวััดต้้องรีีบ ดำเนินิ การแปรรููปทันั ทีี เพราะถ้้าทิ้้ง� ไว้้จะเลื่�อยลำบาก ไม้้แต่ล่ ะประเภทแต่ล่ ะ ขนาดที่่�ได้้มาจะต้้องพิิจารณาว่่า จะไว้้ใช้้ทำส่่วนไหนของศาลา เลื่�อยเสร็็จแล้้ว ก็็ตกแต่่งไสและขััดจนเรีียบ บางส่่วนนำไปประกอบเสีียก่่อนแล้้วจึึงขััดก็็มีี อุุปกรณ์์ที่�่ต้้องใช้้ในการก่่อสร้้างท่่านพระอาจารย์์มีีครบทุุกอย่่าง เนื่่�องจาก ท่่านพระอาจารย์์เคยเป็็นช่่างไม้้มาก่่อน จึึงมีีความรู้้�และประสบการณ์์ใน การเลืือกไม้้ ไม้้บางประเภท เช่น่ ไม้้ทำพื้้น� ไม้้ทำอาสน์์สงฆ์์ ต้อ้ งใช้ไ้ ม้เ้ นื้้�อแข็็ง หน้้ากว้้าง และหนา เพื่่�อความคงทน สวยงาม จึึงใช้้เวลาจััดหานานเป็็นปีี ในประเทศไทยไม่่มีี ต้้องสั่�งซื้�อจากประเทศข้้างเคีียง แต่่เพื่่�อความรวดเร็็วและ แน่่นอนถ้้าหาซื้ �อได้้ในประเทศไทยคงจะดีีกว่่า ดัังนั้้�นจึึงใช้้เวลาในการติิดต่่อ

พระวินิ ััยภาคปฏิิบััติิ (สำหรับั ผู้บ้� วชใหม่่) 25 ประสานงานในเรื่อ� งนี้้น� านนับั ปี ี ประสานงานไปถึึงประเทศลาวทราบว่า่ มีแี หล่ง่ พอซื้�อได้้ แต่่ก็็ติิดขััดหลายประการ ความเสี่�่ยงในการซื้�อสููงมาก อาจต้้องจ่่าย เงินิ เปล่า่ โดยไม่ไ่ ด้ไ้ ม้ก้ ลับั มาก็เ็ ป็น็ ได้ ้ ท่า่ นพระอาจารย์น์ ั่่ง� รถออกไปสำรวจหาไม้้ ตามที่ต่� ่า่ ง ๆ เป็น็ ระยะเช่น่ กััน บางครั้ง� รู้�สึกท้้อแท้ใ้ จและเหนื่่อ� ยมาก ต้อ้ งจ่่าย ค่่าติิดต่่อประสานงานไปไม่่ใช่่น้้อยก็็ยัังหาไม้้ไม่่ได้้ สุุดท้้ายท่่านเห็็นว่่า ผู้้�เขีียน เหนื่่อ� ยอ่อ่ นมากแล้ว้ ท่า่ นจึึงบอกว่า่ ไม่เ่ ป็น็ ไรเดี๋ย� วท่า่ นจัดั การเอง ในที่ส่� ุดุ ก็ส็ ำเร็จ็ ได้ด้ ้ว้ ยบารมีีท่า่ นพระอาจารย์ ์ สามารถหาไม้ท้ ำพื้้น� ศาลา และอาสน์ส์ งฆ์ไ์ ด้ส้ ำเร็จ็ ประเภทและขนาดของไม้้ที่่�ใช้้สร้้างศาลาปฏิิบััติิธรรม วิิริิยะ จารุุวััณณะ สามััคคีีอุปุ ถััมภ์์ ต้น้ เสา ทำด้้วยไม้้พัันซาด ไม้้พะยููง ไม้้แดง ลัักษณะกลม เส้้นผ่่าศููนย์์กลาง ๓๐ เซนติิเมตร เท่่ากัันทุกุ ต้้น บริิเวณกลางศาลา สูงู ๗ เมตร และบริิเวณขอบ ศาลาสููง ๔ เมตร จำนวนทั้้ง� หมด ๓๐ ต้น้ กระดานพื้้�นและอาสน์ส์ งฆ์์ ทำด้้วยไม้้ประดู่่� ไม้้มะค่่า ไม้้แดง ขนาดหน้้ากว้้าง ๓๐ เซนติิเมตร ถึึง ๑ เมตร หนา ๑.๕ นิ้้ว� ตง (รองรับั กระดานพื้้�น) ทำด้ว้ ยไม้ย้ าง กว้า้ ง ๘ นิ้้ว� หนา ๓ นิ้้�ว เพื่่�อรองรัับน้้ำหนักั กระดาน ระยะห่า่ งของตงแต่ล่ ะแผ่่นห่่างกััน ๕๐ เซนติเิ มตร ผาง (รองรัับตง) ทำด้ว้ ยไม้พ้ ันั ซาด กว้า้ ง ๑๒ นิ้้ว� หนา ๓ นิ้้ว� ประกบคู่่�ต้น้ เสา แต่ล่ ะต้น้ ทั้้�งสองด้้าน เพื่่อ� ให้้สามารถรองรับั น้้ำหนักั ของกระดานพื้้�นศาลาทั้้�งหมด

26 งานกฐินิ มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่่น ประจำปีี ๒๕๖๔ ลูกู กรงรอบระเบีียง ทำด้้วยไม้แ้ ดง ขนาดกว้า้ ง ๕ นิ้้ว� หนา ๓ นิ้้�ว ราวลูกู กรงรอบระเบีียง ทำด้ว้ ยไม้ป้ ระดู่่� ขนาดกว้้าง ๕ นิ้้ว� หนา ๓ นิ้้ว� บัันได ทำด้้วยไม้ป้ ระดู่่� ขั้้น� บันั ได กว้า้ ง ๑๔ นิ้้ว� ยาว ๒ เมตร หนา ๓ นิ้้ว� แม่่บัันได กว้า้ ง ๑๒ นิ้้ว� หนา ๔ นิ้้�ว มีีทั้ง� ด้า้ นหน้า้ และด้า้ นหลัังของศาลา หน้า้ จั่ว� ทำด้้วยไม้้พะยูงู หนา ๒ เซนติิเมตร กว้้าง ๖ นิ้้ว� หลังั คามีีสองชั้�น ส่่วนบนสุุดของหน้า้ จั่ว� ใส่ก่ าแลซึ่ง�่ ทำด้ว้ ยไม้ส้ ักั (กาแลมีคี วามหมายว่่าชัยั ชนะ) กระเบื้�องมุงุ หลังั คา ทำด้ว้ ยไม้้กันั เกรา (มัันตรา) จำนวนประมาณ ๓๐,๐๐๐ แผ่น่ แต่ล่ ะ แผ่น่ มีีขนาดยาว ๕๐ เซนติเิ มตร กว้า้ ง ๕ นิ้้�ว หนา ๑.๕ เซนติเิ มตร ส่ว่ นปลาย ตััดมุุม ๔๕ องศาสองข้้างให้้เป็็นรููปสามเหลี่่�ยม นำไม้้กระเบื้้�องที่่�ตััดและขััด แล้้วมาเรีียงแถว วางบนไม้้คร่่าวตอกด้้วยตะปููลมเพื่่�อป้้องกัันไม้้แตก แถวบน จะซ้้อนแถวล่่างโดยให้้เลื่�อมกััน ๒๐ เซนติิเมตร ทุุก ๆ แถว เมื่่�อมุุงเสร็็จแล้้ว จะมองดูเู หมือื นกระเบื้้อ� งมุงุ หลัังคา ในการซ้อ้ นไม้้แต่ล่ ะแถวจะรองด้ว้ ยสัังกะสีี แผ่่นเรีียบทุุกชั้�นเพื่่อ� ป้้องกันั น้้ำรั่�ว ชายคา ทำด้้วยไม้้แดง กว้้าง ๙ นิ้้�ว หนา ๑.๕ นิ้้�ว แล้้วประกบด้้วยไม้้แดง หน้้ากว้้าง ๕ นิ้้�ว หนา ๑.๕ นิ้้�ว ทำให้้มองดููเหมืือนทำคิ้�วไม้้และประดัับด้้วย ไม้้หยดน้้ำ ซึ่�่งทำด้้วยไม้้สััก ฉลุุลายทั้้�งแผ่่น ระบายชายคาโดยรอบศาลาทั้้�ง ๒ ชั้้น� มองดููแล้้วอ่อ่ นช้้อยงดงามไปทั้้ง� หลัังคา

พระวิินัยั ภาคปฏิิบัตั ิิ (สำหรัับผู้้�บวชใหม่่) 27 ไม้ค้ ร่่าว (ไม้แ้ ปร) ทำด้้วยไม้้ยางที่�่แก่่แล้้ว ปลวกไม่่กิิน และตอกตะปููไม่่แตก กว้้าง ๑.๕ นิ้้�ว หนา ๑.๕ นิ้้�ว เพื่่�อรองรับั ไม้้กระเบื้้อ� งหลัังคา จันั ทันั บนหลัังคา (ไม้ส้ ะยัวั ) ทำด้้วยไม้้พัันซาด ไม้เ้ ค็ง็ กว้้าง ๑๒ นิ้้ว� หนา ๓ นิ้้�ว ประกบคู่่�หััวเสา ทุกุ ต้้น เพื่่�อรองรัับน้้ำหนัักหลังั คา พื้้�นชั้้�นล่่าง ปููด้้วยหิินขััดเต็็มศาลา พื้้�นรอบนอกศาลาถััดออกไปอยู่�ต่ำกว่่าพื้้�นใน ศาลารััศมีีกว้า้ งออกไป ๑ เมตร โดยรอบศาลา และถัดั จากพื้้�นหินิ ขััดออกไปอีีก ปูดู ้ว้ ยคอนกรีีตรัศั มีีกว้า้ ง ๕ เมตร ด้า้ นทิศิ ตะวันั ออก รายล้้อมด้้วยต้้นลีีลาวดีี บริิเวณพื้้น� ศาลาด้า้ นหน้า้ ประดับั ด้ว้ ยสวนหย่อ่ ม ต้น้ ลีีลาวดีี และต้น้ ประดู่� ห้้องพระ อยู่่�บนอาสน์ส์ งฆ์์ด้้านทิศิ ตะวันั ตกของศาลา ขนาด กว้้าง ๓.๕ เมตร ยาว ๕ เมตร สูงู ๓.๓๐ เมตร สร้า้ งด้ว้ ยไม้ม้ ีีค่า่ หลายชนิดิ เพดาน ทำด้ว้ ยไม้พ้ ะยูงู ฝาผนัังมีี ๒ ชั้้�นทั้้�ง ๔ ด้า้ น ชั้้�นในบุุด้้วยไม้้พะยูงู ชั้้น� นอกบุดุ ้ว้ ยไม้้แดง ด้า้ นหน้า้ มีีประตููทำด้้วยไม้้สััก ด้้านข้้างและด้้านหลัังมีีหน้้าต่่าง ทำด้้วยไม้้สััก ส่่วนบน เหนือื ประตูแู ละหน้า้ ต่า่ งประดับั ด้ว้ ยไม้ส้ ักั และไม้ป้ ระดู่�ทำเป็น็ ลายลูกู ฟูกู สวยงาม ภายในห้้องพระเป็็นที่่�ประดิษิ ฐานพระประธานหินิ หยกขาว ขนาดหน้้าตักั ๓๙ นิ้้�ว อยู่่�บนแท่่นไม้้สวยงาม หน้า้ พระประธานเป็น็ ที่ป่� ระดิิษฐานรูปู เหมือื นหลวง ปู่�เสาร์์ กนฺฺตสีีโร หลวงปู่�มั่น� ภูรู ิิทตฺโฺ ต และหลวงปู่�บุญุ จันั ทร์์ กมโล ขนาดเท่่า องค์์จริงิ ภายในห้้องพระสามารถเดิินได้้รอบองค์์พระ

28 งานกฐินิ มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่น่ ประจำปีี ๒๕๖๔ ปฐมฤกษ์์การสร้้างศาลาวััดป่า่ สันั ตินิ ิมิ ิติ ๙ เมษายน ๒๕๔๙ เริ่�มดำเนิินการนำเสาหลงหลุุมเป็็นปฐมฤกษ์์ เมื่่�อวัันที่�่ ๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๙ ทุุกส่่วนของศาลาทำด้้วยไม้้เนื้้�อแข็็ง ไม้้มีีค่่า ไม้้มงคล ได้้แก่่ ไม้้พัันซาด ไม้้พะยููง ไม้้แดง ไม้้สััก เป็็นต้้น การตบแต่่งต้้นเสาให้้กลมเกลี้�ยง ต้้องใช้้ความพยายามอย่่างยิ่�ง พระ เณรท่่านจะช่่วยกัันไสไม้้ทั้้�งวััน จนบางรููป มีอี าการไอเป็น็ โลหิติ เนื่่อ� งจากได้ร้ ับั ฝุ่่�นขี้เ� ลื่อ� ยจำนวนมากจากการไสไม้เ้ ป็น็ เวลา หลายเดืือน เสาไม้้นี้้�ซื้�อจากชาวบ้้านซึ่�่งมีีไม้้อยู่�ในความครอบครองถููกต้้อง ตามกฎหมาย บางส่ว่ นชาวบ้า้ นขอร่่วมบริิจาคด้ว้ ย การตกแต่ง่ ศาลา ทุุกส่่วนของศาลาทำด้้วยความประณีีตและละเอีียดอ่่อนอย่่างมาก ต้้องมีีความรู้้�และประสบการณ์์ นอกจากนี้้�ยัังต้้องทราบธรรมชาติิของไม้้แต่่ละ ชนิิด เพื่่�อการดูแู ลรักั ษา กระดานพื้้�น ถึึงแม้้ว่่าไม้้จะแห้้งแล้้ว ถ้้าอััดกระดานแน่่นจนเกิินไป หน้า้ ฝนอากาศชื้น� ไม้จ้ ะขยายออก ทำให้ก้ ระดานโก่ง่ ขึ้น้� เสีียรูปู ทรงแก้ไ้ ขลำบาก มาก กระดานพื้้น� จะให้้สวยงามต้้องขัดั ให้้ได้้ที่ ่� ดัังนั้้�นต้้องใช้้เวลาและอดทนมาก โบราณใช้ก้ ะลามะพร้า้ วขัดั พระ เณรช่ว่ ยกันั ขัดั ทุกุ วันั เท่า่ กับั ถือื โอกาสทำสมาธิิ ไปด้้วย แต่ป่ ัจั จุุบัันใช้้เครื่อ� งขัดั แทน ขััดเสร็จ็ แล้ว้ ทาด้้วยน้้ำมันั ไฮดรอลิิก น้้ำมันั จะซึึมลงเนื้้�อไม้้ ทำให้้ไม้้เป็็นมัันวาวสวยงามตามธรรมชาติิ ไม่่กรอบแข็็งและ ปลวกไม่ก่ ิิน หลัังคา ก่อ่ นทาสีีฟลินิ ท์์โค้้ท พ่่นด้ว้ ยน้้ำมัันไฮดรอลิิก เพื่่�อให้น้ ้้ำมันั ซึึมเข้า้ เนื้้อ� ไม้จ้ นได้ท้ ี่ ่� จึึงลงสีีเพื่่อ� เคลือื บเนื้้อ� ไม้อ้ ีีกครั้ง� ทุกุ อย่า่ งต้อ้ งใช้ค้ วามเพีียร พยายามอย่่างมากในการแสวงหาไม้ท้ ั้้�งหลังั ซึ่�่งใช้ไ้ ม้้จำนวนมาก

พระวิินัยั ภาคปฏิิบััติิ (สำหรัับผู้�้บวชใหม่)่ 29 ไม้ส้ ่่วนอื่่น� ๆ ขัดั แล้ว้ ลงแล็็กเกอร์์ ทำให้้มองดูแู ล้ว้ เป็็นธรรมชาติิ จะเห็น็ ได้ว้ ่า่ การสร้า้ งศาลาหลังั นี้้ต� ้อ้ งใช้ค้ วามเพีียรพยายามอย่า่ งมาก ตั้�งแต่่การหาไม้้ การแปรรููปไม้้ การตบแต่่งไม้้ นำมาประกอบเป็็นศาลา ทั้้�งนี้้� ด้ว้ ยเพราะบารมีีของท่า่ นพระอาจารย์์ทองปาน จารุุวณฺฺโณ พระสงฆ์ ์ สามเฌร ตลอดจนคณะศรััทธาญาติโิ ยมทุุกคน ที่�่เสีียสละแรงกาย สติิปััญญา ทุุนทรัพั ย์์ นัับแต่่วัันที่�่ ๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๙ จนถึึง ๒๘ มีีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ศาลาหลัังนี้้�จึึงสร้้างได้้สำเร็็จลงด้้วยความร่่วมมืือร่่วมใจ งดงามสมประโยชน์์ ดัังเจตนาที่่�ท่่านตั้�งใจไว้้ ดัังนั้้�น จึึงเป็็นที่่�มาของคำว่่า วิิริิยะ และในการสร้้าง ศาลานั้้น� เพราะท่่านพระอาจารย์เ์ ป็น็ คนที่�่ดำริสิ ร้้างจากนิมิ ิิตที่่�ท่่านเห็น็ จึึงเป็น็ ที่�่มาของคำว่่า จารุุวััณณะ การก่่อสร้้างอาศััยศรััทธาญาติิโยมและคณะ ศิิษยานุุศิิษย์์ร่่วมกัันเสีียสละบริิจาคปััจจััยและสิ่�งของมููลค่่ามากกว่่า ๗ ล้้านบาท จึึงเป็็นที่�่มาของคำว่่า สามััคคีีอุุปถััมภ์์ ท่่านพระอาจารย์์จึึงได้้ตั้�ง ศาลาหลัังนี้้ว� ่่า ศาลาวิิริยิ ะ จารุุวััณณะ สามัคั คีีอุปุ ถััมภ์์ งานบุญุ ใหญ่เ่ ข้า้ มาแทรกขณะดำเนิินการสร้้างศาลาวิริ ิยิ ะ จารุวุ ััณณะ สามััคคีีอุปุ ถัมั ภ์์ ต้อ้ งรัับงานสร้้างวััดป่่ากมโลสานิิตยานุุสรณ์์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ในระหว่่างที่�่ดำเนิินการสร้้างศาลาวิริ ิยิ ะ จารุุวััณณะ สามัคั คีีอุปุ ถัมั ภ์์ ผ่่านไปเพีียง ๓ เดืือน ก็็ได้้รัับการขอร้้องให้้ไปช่่วยสร้้างวััดใหม่่ที่�่บ้้านสุุมณฑา ต.ผาสุกุ อ.วังั สามหมอ จ.อุุดรธานีี ซึ่ง่� โยมได้ถ้ วายที่ต�่ั้�งแต่่ครั้�งหลวงปู่�บุุญจันั ทร์์ กมโล ยัังมีีชีีวิิตอยู่่� หลวงตาสมหมาย อตฺฺตมโน เจ้้าอาวาสวััดป่่าสัันติิกาวาส องค์์ปััจจุุบััน จึึงต้้องสืืบสานเจตนารมณ์์ต่่อ เพราะเจ้้าของที่�่มาทวงถามแล้้ว ถ้้ายัังไม่ส่ ร้้างวััดเขาอาจจะทำอย่่างอื่�นแทน หลวงตาสมหมายและคณะศรััทธา ได้ล้ งมติวิ ่่า เห็็นสมควรอาราธนาท่่านพระอาจารย์ท์ องปาน จารุุวณฺโฺ ณ เข้้าไป

30 งานกฐินิ มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำปีี ๒๕๖๔ ดูแู ลการสร้้างวัดั ใหม่่นี้้� ขณะนั้้�นเหลือื เวลาอีีกประมาณ ๔ วันั จะเข้้าพรรษาแล้ว้ ท่่านพระอาจารย์์ตััดสิินใจนำพระสงฆ์์ สามเณร ลุุยป่่า บ้้านสุุมณฑา ต.ผาสุุก อ.วัังสามหมอ จ.อุุดรธานีี โดยที่่�สภาพเป็็นป่่า ไม่่มีีไฟฟ้้า ต้้องใช้้ตะเกีียงแทน แหล่่งน้้ำมีีบ่่อเล็ก็ ๆ ๑ บ่่อ มีีธารน้้ำไหลแต่อ่ ยู่�ไกลพอสมควร จึึงไม่่ค่อ่ ยสะดวก นััก ในพรรษานั้้�นเอง ด้้วยความเหนื่่�อยล้้ามาตลอดหลายปีีต่่อ ๆ กััน นัับแต่่ งานผ้้าป่่าช่่วยชาติิ ซึ่่�งเริ่�มตั้้�งแต่่ปีี พ.ศ. ๒๕๔๑ ถึึง ปีี พ.ศ. ๒๕๔๗ ซึ่่�งท่่าน พระอาจารย์เ์ ป็น็ แม่ง่ านใหญ่ ่ผู้�ทำงานอยู่�เบื้้อ� งหลังั นำกำลังั พระสงฆ์ไ์ ม่น่ ้อ้ ยกว่า่ ๒๐-๓๐ รูปู พร้อ้ มคณะศรััทธาญาติโิ ยม อีีกไม่น่ ้้อยกว่่า ๒๐-๓๐ คน ช่่วยกันั ทำ ต้้นผ้้าป่่า ไม้้สำหรัับติิดธนบััตรและธงชาติิ นำขึ้้�นรถไม่่น้้อยกว่่า ๑๐ คััน ออกตระเวนแจกต้้นผ้้าทั่่�วประเทศ โดยใช้้ทุุนส่่วนตััวที่่�คณะศรััทธานำมาถวาย ท่า่ นพระอาจารย์์ เป็็นค่่าน้้ำมัันรถ อาหาร น้้ำปานะ ค่า่ ซ่อ่ มรถ ค่่าฟางข้า้ วและ ลวดสำหรัับทำต้น้ ผ้้าป่่า และอื่น� ๆ อีีก ซึ่่�งรวมเป็น็ ค่่าใช้้จ่่ายมิิใช่่น้อ้ ย ในเวลา ๕-๖ ปีี ในขณะดำเนิินการประสานงานกัับหน่่วยงานต่่าง ๆ เพื่่�อให้้เป็็น เจ้า้ ภาพจัดั งาน กว่า่ จะประสานให้เ้ จ้า้ ของสถานที่เ�่ กิดิ ศรัทั ธา ต้อ้ งใช้พ้ ลังั ใจทุ่่�มเท ลงไปมิใิ ช่น่ ้อ้ ย ทั้้ง� นี้้เ� พื่่อ� ให้ช้ าติไิ ทยอยู่�รอดปลอดภัยั ซึ่ง�่ ทุกุ อย่า่ งก็ส็ ำเร็จ็ ลงได้ด้ ้ว้ ย ความอััศจรรย์์ ประเทศไทยมีีเงิินและทองคำคงคลัังเพิ่่�มขึ้้�นเป็็นจำนวนมาก เสร็จ็ จากงานช่ว่ ยชาติแิ ล้ว้ มาช่ว่ ยสร้า้ งโรงเรีียน บ้า้ นหนองกุงุ อ.สว่า่ งแดนดินิ จ.สกลนคร ซึ่�ง่ เป็็นสถานที่�ใ่ ห้้ความรู้้�มาแต่เ่ ด็็ก โรงเรีียนแห่่งนี้้�สร้้างมาได้้ ๔๘ ปีี ได้ผ้ ุพุ ังั ทางโรงเรีียนได้้กราบอาราธนาให้ท้ ่า่ นเมตตาเป็น็ ผู้�นำศรัทั ธาประชาชน ช่ว่ ยกันั บริจิ าคทุนุ ทรัพั ย์ส์ ร้า้ งโรงเรีียน ใช้ง้ บประมาณ ๒,๕๐๐,๐๐๐ บาท จึึงได้้ ช่่วยกัันจัดั งานบุญุ ทอดผ้้าป่า่ สามัคั คีีถึึง ๕ ครั้�ง การสร้้างใช้เ้ วลาเพีียง ๘ เดือื น ด้้วยความร่่วมมืือของพระสงฆ์์และศรััทธาประชาชน และทำพิิธีีมอบให้้แก่่ ทางราชการเมื่�อวัันที่�่ ๑๘ กัันยายน พ.ศ. ๒๕๔๘ เสร็จ็ จากงานสร้า้ งโรงเรีียน

พระวิินัยั ภาคปฏิบิ ัตั ิิ (สำหรับั ผู้บ้� วชใหม่่) 31 ต่อ่ ด้ว้ ยงานสร้า้ งกุฏุ ิขิ องท่า่ นเอง ซึ่ง่� นับั แต่ส่ ร้า้ งวัดั มา ท่่านยัังไม่่มีีโอกาสพััฒนา วััดของท่่านเลย ท่่านอยู่่�กุุฏิิไม้้เล็็ก ๆ มุุงด้้วยหญ้้าคา ฝาผนัังบัังด้้วยผ้้าและ หญ้า้ คา และในช่ว่ งเวลาทำผ้า้ ป่า่ ช่ว่ ยชาติ ิ ท่า่ นไม่ค่ ่อ่ ยมีเี วลาอยู่่�วัดเลย เสร็จ็ จาก งานสร้า้ งกุุฏิ ิ วันั ที่�่ ๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๙ เริ่�มงานสร้า้ งศาลาวัดั ป่า่ สัันตินิ ิิมิิต ท่่านพระอาจารย์ย์ อมรับั ว่า่ ท่่านเหนื่่�อยมาก เดิมิ สุขุ ภาพท่่านก็ไ็ ม่่ค่่อยดีีอยู่�แล้ว้ ดัังนั้้�นในช่่วงกลางพรรษานั้้�นเอง ประมาณปลายเดืือนกัันยายน พ.ศ. ๒๕๔๙ ท่า่ นจึึงอาพาธหนักั เกือื บละสังั ขาร ด้ว้ ยอาการท้อ้ งเสีีย ถ่า่ ยอุจุ จาระเกือื บ ๑๐๐ ครั้�ง คณะศิิษย์์จึึงขอกราบอาราธนาท่่านไปรัักษาที่่�กรุุงเทพฯ ณ โรงพยาบาล ธนบุรุ ีี โดยทีีมแพทย์จ์ ากโรงพยาบาลศิริ ิริ าชคืือ ศาสตราจารย์์ นายแพทย์์อุุดม คชินิ ทร อดีีตอธิกิ ารบดีี มหาวิิทยาลัยั มหิดิ ล เป็น็ ผู้้�ถวายการรัักษา อาการท่า่ น ดีีขึ้น้� แต่อ่ ่อ่ นเพลีียมาก ต้อ้ งใช้เ้ วลาพักั ฟื้น้� หลายเดือื น กลับั จากการรักั ษาอาการ อาพาธแล้้ว ท่่านกลัับไปจำพรรษาที่่�วััดใหม่่ ซึ่�่งได้้รัับการตั้�งชื่�อว่่า วััดป่่า กมโลสานิติ ยานุุสรณ์์ อีีก ๑ พรรษา จึึงกลัับมาวัดั ป่า่ สัันติินิิมิิต เพื่่�อสร้า้ งศาลา ต่่อ แต่่ยัังไม่่ทัันเสร็จ็ ก็็มีีงานบุุญใหญ่เ่ ข้้ามาแทรก พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ท่่านพระอาจารย์์ทองปาน จารุุวณฺฺโณ ได้้รัับการปรารภเหตุุผลจาก ท่่านผู้�อำนวยการโรงพยาบาลสมเด็็จพระยุุพราชสว่่างแดนดิิน อ.สว่่างแดนดิิน จ.สกลนคร นายแพทย์์วิิโรจน์์ วิิโรจนวััธน์์ ขอให้้ท่่านเมตตาเป็็นผู้�นำศรััทธา ประชาชนร่่วมบริิจาคสร้้างตึึกอุุบััติิเหตุุ-ฉุุกเฉิินใหม่่ เนื่่�องจากปััจจุุบัันมีีผู้้�ป่่วย มารับั การรักั ษาที่ �่ ตึึกอุบุ ัตั ิเิ หตุแุ ละฉุกุ เฉินิ มากขึ้น�้ เฉลี่ย่� ไม่น่ ้อ้ ยกว่า่ วันั ละ ๘๐ คน เนื่่�องจากโรงพยาบาลอยู่�ในแหล่่งชุุมชนหนาแน่่น ส่่วนตึึกอุุบััติิเหตุุและฉุุกเฉิิน เก่่าอยู่่�ห่่างไกลจากตึึกผู้้�ป่่วยนอกใหม่่ถึึง ๓๕๐ เมตร ทำให้้ลำบากต่่อการส่่ง ผู้้�ป่่วยไปใช้้บริิการระหว่่างสองตึึกนี้้� และยามฉุุกเฉิินอาจจะช่่วยเหลืือผู้้�ป่่วย

32 งานกฐินิ มหาวิิทยาลััยขอนแก่น่ ประจำปีี ๒๕๖๔ ไม่ท่ ันั การ เพราะโดยทั่่ว� ไปโรงพยาบาลเกือื บทุกุ แห่ง่ ในประเทศไทย จะสร้า้ งตึึก ผู้้�ป่ว่ ยนอกและตึึกอุบุ ััติเิ หตุุและฉุุกเฉินิ ให้้อยู่�ใกล้ก้ ััน ท่่านผู้�อำนวยการจึึงคิิดจะ สร้า้ งตึึกอุุบััติเิ หตุุและฉุกุ เฉิินใหม่่ โดยสร้า้ งให้้อยู่�ใกล้้กับั ตึึกผู้้�ป่ว่ ยนอก ลักั ษณะ เป็น็ อาคาร ๑ ชั้้น� พื้้�นที่่�ใช้้สอยประมาณ ๑,๕๑๒ ตารางเมตร สำหรับั อาคาร อุุบััติิเหตุุและฉุุกเฉิินเก่่า จะปรัับปรุุงเป็็นตึึกไอซีียููต่่อไป การแบ่่งพื้้�นที่�่ใช้้สอย สำหรัับอาคารหลังั นี้้� ประกอบด้ว้ ยห้อ้ งต่า่ ง ๆ รวม ๑๘ ห้อ้ ง ได้แ้ ก่่ ห้อ้ งช่ว่ ยชีีวิติ ห้อ้ งรักั ษาพยาบาล ห้อ้ งตรวจโรค ห้้องฉีีดยา ห้้องทำแผล ห้อ้ งทำงานพยาบาล ห้้องผ่่าตััดเล็ก็ ห้อ้ งพักั รอดููอาการ ห้้องศูนู ย์์บริกิ ารฉุกุ เฉิิน (EMS) ห้อ้ งล้้างตััว ห้้องทำบััตร ห้้องจ่่ายยา ห้้องเก็็บเงิิน ห้้องแพทย์์เวร ห้้องพัักพยาบาล ห้อ้ งสุขุ าและห้อ้ งสุขุ าสำหรับั ผู้้�พิิการ เป็น็ ต้น้ งบประมาณที่่�ใช้้ในการก่่อสร้้างตามที่่�กระทรวงสาธารณสุุขสร้้าง แบบแปลนและตั้�งงบประมาณไว้้ประมาณ ๑๙,๙๗๓,๖๐๐ บาท (สิิบเก้้าล้้าน เก้้าแสนเจ็็ดหมื่�นสามพัันหกร้้อยบาทถ้้วน) เนื่่�องจากยัังของบประมาณจาก รัฐั บาลไม่ไ่ ด้ ้ จึึงขอรับั บริจิ าคจากท่า่ นผู้�มีีจิติ ศรัทั ธา ผ่า่ นท่า่ นพระอาจารย์ท์ องปาน จารุวุ ณฺโฺ ณ ซึ่ง่� เท่า่ กับั ว่า่ ทุกุ ท่า่ นได้ร้ ่ว่ มทำบุญุ สร้า้ งตึึกอุบุ ัตั ิเิ หตุถุ วายเป็น็ ของสงฆ์์ เมื่่�อสร้้างเสร็็จแล้้วพระสงฆ์์จึึงบริิจาคให้้แก่่โรงพยาบาลต่่อไป ทำให้้ได้้บุุญ หลายต่อ่ และโครงการนี้้ย� ังั ได้ร้ ับั เกีียรติจิ าก พระเดชพระคุณุ ท่า่ นเจ้า้ คณะจังั หวัดั สกลนคร (ธรรมยุตุ ) เป็น็ ประธานที่ป�่ รึึกษา และพระเดชพระคุณุ หลวงปู่�อุ่�นหล้า้ ฐิิตธมฺฺโม เจ้้าอาวาสวััดป่่าแก้้วชุุมพล อ.สว่่างแดนดิิน จ.สกลนคร ร่่วมกัับ พระเดชพระคุุณท่่านพระอาจารย์์ ทองปาน จารุุวณฺฺโณ นำพระภิิกษุุสงฆ์์ ข้า้ ราชการ พ่อ่ ค้า้ ประชาชน ร่ว่ มกันั บริจิ าคทรัพั ย์ก์ ่อ่ สร้า้ งโดยทำบุญุ ทอดผ้า้ ป่า่ สมทบทุุนสร้้างอาคารหลัังนี้้� พร้้อมทั้้�งวางศิิลาฤกษ์์อาคาร เมื่่�อวัันที่�่ ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ และได้้เริ่�มดำเนิินการก่่อสร้้างเมื่ �อวัันอาทิิตย์์ที่่� ๑

พระวิินััยภาคปฏิิบัตั ิิ (สำหรัับผู้บ�้ วชใหม่่) 33 กุุมภาพัันธ์์ พ.ศ. ๒๕๕๒ ประกอบพิิธีีฉลองและรัับมอบอาคารในวัันอาทิิตย์์ที่�่ ๗ มีนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๓ รวมเวลาในการสร้า้ งประมาณ ๑ ปีี ใช้้งบประมาณ ในการก่อ่ สร้า้ งอาคารหลังั นี้้�เป็น็ จำนวนเงินิ ๑๗,๔๗๖,๙๖๙ บาท (สิิบเจ็็ดล้้าน สี่่�แสนเจ็็ดหมื่ �นหกพัันเก้้าร้้อยหกสิิบเก้้าบาทถ้้วน) ทั้้�งนี้้�รวมถึึงงบที่�่ใช้้ต่่อเติิม อาคารผู้้�ป่ว่ ยใน ๔ ห้อ้ ง ซึ่ง่� สามารถรับั ผู้้�ป่ว่ ยได้ป้ ระมาณ ๓๐ เตีียง และทางเชื่อ� ม อาคารผู้้�ป่่วยนอกใหม่่กัับอาคารอุุบััติิเหตุุ-ฉุุกเฉิินใหม่่ รวมเป็็นเงิินทั้้�งสิ้�น ๙๕๐,๐๐๐ บาท (เก้้าแสนห้้าหมื่น� บาทถ้้วน) อาคารอุุบััติเิ หตุุ-ฉุุกเฉิินหลังั ใหม่่นี้้� พระเดชพระคุณุ หลวงปู่�อุ่�นหล้้า ฐิิตธมฺฺโม ได้้เมตตาตั้�งชื่อ� ว่า่ “ศรัทั ธาสามัคั คีี” ซึ่่�งเกิิดจากศรััทธาอัันแรงกล้้าของพระเถระ ข้้าราชการ พ่่อค้้า ประชาชน ผู้�มีีจิิตศรััทธา รวมทั้้�งเจ้้าหน้้าที่่�โรงพยาบาลสมเด็็จพระยุุพราชสว่่างแดนดิิน ทุุกคน ได้้ร่่วมบริิจาคทรััพย์์รวมทั้้�งทุ่่�มเทแรงกายแรงใจ จนประสบผลสำเร็็จ ได้ด้ ้ว้ ยดีี นอกจากนี้้� ยังั ได้้รัับความเมตตาจาก ศาสตราจารย์์ นายแพทย์ส์ ุุชาย สุุนทราภา อดีีตรองคณบดีีฝ่่ายคุุณธรรมจริิยธรรม ศาสตราจารย์์ แพทย์์หญิิง ธัญั ญรัตั น์ ์ ธีีรพรเลิศิ รัฐั อดีีตหัวั หน้า้ หน่ว่ ยไต คณะแพทยศาสตร์ศ์ ิริ ิริ าชพยาบาล และรองศาสตราจารย์์ยุวุ ดีี ชาติไิ ทย คณะพยาบาลศาสตร์์ศิริ ิิราช ได้้ให้้เกีียรติิ เป็น็ กรรมการจัดั หาทุนุ สร้า้ งอาคารหลังั นี้้ด� ้ว้ ย ซึ่ง�่ ได้ร้ ับั ความร่ว่ มมือื จากศรัทั ธา ประชาชนทั่่ว� ประเทศ จัดั งานบุญุ ทอดผ้า้ ป่า่ สามัคั คีีที่ก่� รุงุ เทพมหานคร ประมาณ ๘ ครั้�ง โดยได้้รัับการสนัับสนุุนการประชาสััมพัันธ์์จากสื่�อมวลชนต่่าง ๆ หนัังสืือพิิมพ์์ สถานีีวิิทยุุ สถานีีวิิทยุุโทรทััศน์์ นิิตยสารทางพระพุุทธศาสนา เว็็บไซต์์ต่่าง ๆ ตลอดจนการประชาสััมพัันธ์์โดยแผ่่นพัับ ป้้ายประชาสััมพัันธ์์ เป็็นต้้น ทำให้้ประชาชนทราบกัันอย่่างทั่่�วถึึงทั้้�งในประเทศและต่่างประเทศ สำหรับั การควบคุมุ และดำเนินิ การสร้า้ ง นำโดยพระเดชพระคุณุ ท่า่ นพระอาจารย์์

34 งานกฐิิน มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่่น ประจำปีี ๒๕๖๔ ทองปาน จารุุวััณโณและพระเดชพระคุุณหลวงปู่�บุุญหลาย อคฺฺคธมฺฺโม วััดป่่า ถ้้ำภููมิิดล อ.สว่่างแดนดิิน จ.สกลนคร โดยมีีวิิศวกรผู้�เชี่�่ยวชาญฝ่่ายต่่าง ๆ เป็น็ ผู้�ควบคุมุ การก่อ่ สร้า้ งอย่า่ งใกล้ช้ ิดิ ได้แ้ ก่่ นายวิชิ ัยั นำวงษ์ส์ ำราญ นายสว่า่ งศักั ดิ์� สีีมีีพัันธ์์ และนายพััฒนา วีีระพัันธ์์ ทั้้�งนี้้�วิิศวกรทุุกท่่านมาช่่วยงานโดยไม่่คิิด ค่า่ ตอบแทน ช่า่ งก่่อสร้า้ ง คืือ นายหนููเล็็ก พันั ธ์์ลือื นอกจากนี้้�ยัังมีีผู้�มีีจิิตศรัทั ธา ร่่วมบริิจาคเป็็นค่่าเหล็็กเส้้น ค่่าไม้้เสาเข็็ม ค่่าไม้้แบบ โคมไฟติิดอาคาร ทาสีี อาคารทั้้ง� หลังั เป็น็ ต้น้ จะเห็น็ ได้ว้ ่า่ การสร้า้ งอาคารหลังั นี้้พ� ยายามใช้ง้ บประมาณ อย่า่ งประหยัดั และใช้ข้ องมีีคุณุ ภาพและอย่า่ งดีีที่ส่� ุดุ สำหรับั อุปุ กรณ์ก์ ารแพทย์์ ต่่าง ๆ ที่�จ่ ะต้อ้ งจัดั หามาใช้ใ้ นอาคารหลังั นี้้�อีีกหลายสิิบล้้านบาท ไม่ร่ วมอยู่� ในงบประมาณที่ก่� ล่า่ วมาข้า้ งต้น้ ซึ่่ง� จะต้อ้ งทำบุญุ ทอดผ้า้ ป่า่ สามัคั คีีเพื่่อ� จัดั หา เครื่อ� งมืือแพทย์์ดังั กล่า่ วต่่อไปอีีก ทั้้ง� นี้้ง� บการก่อ่ สร้า้ งสถานที่ต�่ ่า่ ง ๆ ในโครงการสงเคราะห์โ์ ลกของท่า่ น พระอาจารย์ท์ องปาน ได้จ้ ากการจัดั งานบุญุ ที่ก�่ รุงุ เทพมหานคร จากการจัดั งาน บุุญใส่่บาตรพระกรรมฐาน ๑๕ รููป ทอดผ้้าป่่าซื้�อเครื่�องมืือแพทย์์ ณ ซอย จรััญสนิิทวงศ์์ ๕๗ บางพลััด กรุุงเทพมหานคร โดยจััดงานที่�่บ้้านของผู้�เขีียน รองศาสตราจารย์์ยุุวดีี ชาติิไทย ตั้้�งแต่่วัันที่�่ ๒๒ กุุมภาพัันธ์์ พ.ศ. ๒๕๔๗ เป็็นต้้นมา จััดงานปีีละ ๓ ครั้�ง ต่่อมามีีผู้้�สนใจมาร่่วมงานบุุญจำนวนมากขึ้�้น จึึงไปขออนุุญาตใช้้หอประชุุมโรงเรีียนวััดรวก ซึ่�่งอยู่�ในซอยเดีียวกััน บางครั้�ง มีีสาธุชุ นมาร่ว่ มงาน ถึึง ๕๐๐ คน ความสำเร็จ็ ครั้ง� นั้้น� ทุกุ ท่า่ นต้อ้ งภูมู ิใิ จและอิ่ม� ใจ ในบุญุ กุศุ ลอย่า่ งที่ส่� ุดุ เพราะผลงานจากความสามัคั คีีร่ว่ มแรงร่ว่ มใจของทุกุ ฝ่า่ ย และคงจะประทับั ใจต่อ่ ไปอย่า่ งไม่ม่ ีีวันั ลืมื เพราะทุกุ อย่า่ งที่ด่� ำเนินิ การมาตลอดนั้้น� ทำกัันมาอย่่างยากลำบากที่่�สุุด โดยเฉพาะพระเดชพระคุุณท่่านพระอาจารย์์ ทองปาน จารุุวณฺฺโณ ตั้้�งแต่่เริ่�มการสร้้างอาคารหลัังนี้้� ท่่านอาพาธเป็็นระยะ

พระวิินััยภาคปฏิิบัตั ิิ (สำหรับั ผู้�้บวชใหม่่) 35 เนื่่�องจากสุุขภาพไม่่ดีี มีีโรคประจำตััวหลายโรค แต่่ท่่านก็็อดทนมาตลอด ประกอบกับั โยมมารดา แม่ท่ องจันั ทร์ ์ สุรุ ิยิ ะ ได้ป้ ่ว่ ยเป็น็ มะเร็ง็ กระดูกู นอนรักั ษา อยู่่�ที่โ�่ รงพยาบาลสว่่างแดนดินิ ดัังนั้้น� ในพรรษานั้้�นท่่านพระอาจารย์์จึึงต้้องเดินิ ทางไปกลัับ ระหว่่างวััดป่่าสัันติินิิมิิต จ.ศรีีสะเกษ กัับโรงพยาบาลสมเด็็จ พระยุุพราชสว่่างแดนดิิน เพื่่�อเฝ้้าโยมมารดา จนวาระสุุดท้้ายถึึง ๖ เดืือน หลังั เสร็จ็ งานฌาปนกิจิ ศพไม่น่ านท่า่ นอาพาธหนักั เกือื บละสังั ขารไป นั่่น� จึึงเป็น็ เหตุุให้้บรรดาศิิษยานุุศิิษย์์ต้้องจััดงานบุุญใหญ่่ เพื่่�อขอต่่อบารมีีธรรมท่่านไว้้ เป็น็ ระยะ ๆ นอกจากการสร้า้ งอาคารอุบุ ัตั ิเิ หตุฉุ ุกุ เฉินิ นี้้แ� ล้ว้ ท่า่ นยังั เมตตาจัดั หา เครื่�องมืือแพทย์์ให้้โรงพยาบาลต่่าง ๆ หลายแห่่งที่�่ขอมา ซึ่�่งไม่่เพีียงแต่่ ในประเทศไทย ท่า่ นยังั เมตตาให้ไ้ ปถึึงประเทศลาวด้ว้ ย เช่น่ เตีียงผู้้�ป่ว่ ยแบบต่า่ ง ๆ เครื่�องกระตุ้�นหััวใจไฟฟ้้า เครื่�องมอนิิเตอร์์หััวใจ เครื่�องตรวจคลื่�นหััวใจไฟฟ้้า เครื่อ� งเอกซเรย์เ์ คลื่อ� นที่่� เครื่อ� งดูดู เสมหะ เครื่อ� งพ่น่ ยาขยายหลอดลม เครื่อ� งตรวจ หูู คอ จมููก เครื่�องมืือช่่วยใส่่ท่่อช่่วยหายใจผู้้�ป่่วยหนััก เครื่�องคอมพิิวเตอร์์ ให้้โรงเรีียนหลายแห่่ง จััดทำโครงการไถ่่ชีีวิิตโค-กระบืือ ถวายพระราชกุุศล เนื่่�องในโอกาสวัันแม่่แห่่งชาติิและวัันพ่่อแห่่งชาติิ เมื่่�อปีี พ.ศ. ๒๕๕๒ ได้ท้ ำการไถ่ช่ ีีวิติ โค-กระบืือ จำนวน ๓๖๔ ตััว และอื่น� ๆ อีีกมากมาย รวมมูลู ค่า่ ไม่น่ ้้อยกว่่าสิิบล้้านบาท เป็็นต้น้ เหตุุที่ท่� ่่านต้อ้ งทำเช่น่ นี้้� เพราะท่า่ นเมตตาต่่อมวลมนุษุ ย์ท์ ุกุ คน เปิิด โอกาสให้ไ้ ด้ส้ ร้า้ งบุญุ บารมีีกันั ลำพังั ท่า่ นคงเพีียงพอแล้ว้ ไม่ม่ ีคี รูบู าอาจารย์น์ ำทำ บรรดาศิิษย์์ทั้้�งหลายก็็คงลำบากและไม่่มีีโอกาสสร้้างบารมีี และในวัันนั้้�น พระเดชพระคุุณท่่านพระอาจารย์์ทองปาน จารุุวณฺฺโณ ท่่านได้้เมตตามอบ เครื่ �องมืือแพทย์์ให้้กัับโรงพยาบาลสมเด็็จพระยุุพราชสว่่างแดนดิิน อีีกหลาย รายการ เช่่น เครื่�องสลายต้้อกระจก ๑ เครื่�อง ราคา ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท

36 งานกฐิิน มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่่น ประจำปีี ๒๕๖๔ เตีียงเฟาว์เ์ ลอร์์ ๓ ไกร์์ จำนวน ๔ เตีียง ราคา ๘๐,๐๐๐ บาท ชุุดปรัับแรงดััน ของเครื่�องดููดเสมหะพร้้อมขวดรองรัับของเหลว ๕ ชุุด ราคา ๗๔,๙๐๐ บาท ชุุดปรับั การไหลของออกซิิเจน พร้้อมขวดให้้ความชื้้น� ๑๐ ชุดุ ราคา ๔๒,๘๐๐ บาท ชุุดตรวจหูู ตา คอ และจมููก ๒ ชุุด ราคา ๒๕,๙๐๐ บาท เครื่�องดูดู เสมหะ ชนิดิ เคลื่อ� นที่่� จำนวน ๖ เครื่อ� ง ราคา ๑๕๐,๐๐๐ บาท เครื่อ� งชั่ง� นำหนักั จำนวน ๑ เครื่�อง ราคา ๒๘,๐๐๐ บาท สำหรัับเครื่�องคอมพิิวเตอร์์ ยี่�่ห้้อ Acer พร้อ้ มจอ LCD จำนวน ๑ เครื่อ� ง และเครื่อ� งพิมิ พ์เ์ ลเซอร์ข์ าวดำ ยี่ห�่ ้อ้ Samsung จำนวน ๑ เครื่�อง สองชุุดหลังั นี้้�ได้ร้ ับั ความเมตตาจากพระเดชพระคุุณหลวงปู่� อุ่�นหล้้า ฐิิตธมฺโฺ ม ผลงานสงเคราะห์์โลก ผลงานสงเคราะห์์โลก ของท่่านพระอาจารย์์ทองปาน จารุุวณฺฺโณ มีีมากมายหลายด้้าน การศึึกษา เช่่น ให้้ทุุนการศึึกษา สร้้างโรงเรีียน อาคาร ฝึึกงาน ห้้องสมุุด โรงอาหาร ห้้องประชุุมครูู ด้้านสาธารณสุุข สร้้างอาคาร โรงพยาบาล ห้อ้ งไอซีียู ู ตึึกสงฆ์อ์ าพาธ ศูนู ย์ฟ์ อกไต เครื่อ� งมือื แพทย์์ จำนวนมาก หลายโรงพยาบาล การสร้า้ งป่า่ ไม้้ เป็น็ ต้น้ รวมมูลู ค่า่ ไม่น่ ้อ้ ยกว่า่ ๕๐๐ ล้า้ นบาท สร้้างวัดั ป่า่ ภููตะคาม พ.ศ. ๒๕๕๘ วัันที่่� ๕ ธัันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ หลัังจากการสร้้างวััดป่่ากมโล สานิติ ยานุสุ รณ์์ บ้้านสุมุ ณฑา ต.ผาสุุก อ.วัังสามหมอ จ.อุดุ รธานีี เรีียบร้อ้ ยแล้ว้ พร้้อมใช้้หนี้้�เสร็็จ ท่่านจึึงออกบำเพ็็ญมาที่�่บ้้านภููตะคาม ยัังป่่าสาธารณะ เป็็น สถานที่เ่� ลี้ย� งสัตั ว์เ์ ดิมิ โดยชาวบ้า้ นได้ก้ ราบนิมิ นต์ท์ ่า่ นมาโปรด เพื่่อ� เป็น็ การรักั ษา ป่่าไม้้ไว้้และยัังเป็็นสถานที่�่ที่�่เหมาะกัับการบำเพ็็ญ ท่่านจึึงได้้เริ่ �มสร้้างวััดตั้ �งแต่่

พระวินิ ััยภาคปฏิิบัตั ิิ (สำหรับั ผู้�บ้ วชใหม่่) 37 บััดนั้้�น ขณะนี้้�มีีอาคารเกิิดขึ้�้นหลายหลััง ศาลา กุุฏิิสงฆ์์ ที่่�พัักฝ่่ายอุุบาสิิกา โรงครััว พระประธานหน้้าตััก ๑๐ เมตร บนภููเขา ซึ่�่งอยู่่�ห่่างจากศาลา ๒.๕ กิิโลเมตร ทุกุ ที่ล�่ ้้วนเป็็นสถานที่น�่ ่า่ บำเพ็็ญ เนื่่�องจากวัดั แห่ง่ นี้้� ท่า่ นพระอาจารย์์ ปรารภ จะให้เ้ ป็็นสถานที่่�ปฏิบิ ัตั ิธิ รรม จึึงต้อ้ งเตรีียมที่่�พักั ฝ่า่ ยอุบุ าสก อุุบาสิกิ า ให้้เพีียงพอ ซึ่�่งที่�่พัักฝ่่ายอุุบาสิิกายัังไม่่เพีียงพอ ดัังนั้้�นปีีนี้้�วััตถุุประสงค์์ของ การงานทำบุญุ ทอดกฐินิ สามัคั คีี จึึงมุ่�งเน้น้ ไปในเรื่อ� งการสร้า้ งที่พ่� ักั คือื กุฏุ ิริ ับั รอง พระเถระ ๒ หลััง แต่ล่ ะหลังั พระสงฆ์ท์ ี่�ม่ าร่ว่ มงาน สามารถเข้า้ พักั ได้ถ้ ึึง ๒๐ รููป ที่่�สำคััญกุุฏิิ ๑ ในจำนวนนั้้�น จะเป็็นที่่�พัักจำพรรษาของท่่านพระอาจารย์์ด้้วย เพื่่�อเป็็นการแสดงออกถึึงความกตััญญูู จึึงไม่่ควรพลาดบุุญใหญ่่ บุุญสำคััญนี้้� นอกจากนี้้�ปััญหาน้้ำใช้้ก็็เป็็นปััญหาใหญ่่ ปััจจุุบัันใช้้น้้ำบาดาล ปััญหาใหญ่่คืือ น้้ำมีีสีีสนิิม ดังั นั้้�นจึึงต้อ้ งใช้้เครื่�องกรองน้้ำขนาดใหญ่่กรองน้้ำใช้ท้ ั้้ง� วััด ค่่าไฟฟ้้า จึึงสูงู มากในแต่ล่ ะเดือื น พอดีีมีีผู้�มีีจิติ ศรัทั ธา ถวายที่ด่� ินิ หน้า้ วัดั ๓ ไร่ ่ ท่า่ นจึึงจ้า้ ง รถมาขุดุ สระเต็็มเนื้้�อที่่� เพื่่�อรองรัับน้้ำฝน สำหรัับเรื่�องประตููและกำแพงรอบวััด สร้้างขึ้�้นเพื่่�อเป็็นอาณาเขต ของวัดั ที่่�ชัดั เจน แต่่ปัญั หาที่่�สำคัญั คืือ เนื่่�องจากเป็น็ พื้้น� ที่ป่� ่่า ถึึงฤดูกู ารเก็บ็ เห็็ด ชาวบ้้านจากแดนไกล จะเข้้ามาเก็็บเห็็ดทั้้�งวัันทั้้�งคืืน เสีียงรถดัังตลอดทั้้�งคืืน พร้้อมเสีียงสุุนััขเห่่า เพราะชาวบ้้านจะเข้้ามาเก็็บเห็็ดถึึงบริิเวณที่�่พัักสงฆ์์ พร้อ้ มทั้้�งเก็็บผักั หวาน มะนาวไปด้้วย พระสงฆ์ไ์ ม่ม่ ีีสมาธิใิ นการบำเพ็ญ็ ภาวนา ท่่านพระอาจารย์์จึึงพิิจารณาทำประตููและกำแพงรอบวััด แต่่ได้้ทำถนนข้้าง กำแพงไว้้ เพื่่�อให้้รถวิ่่ง� อ้อ้ มไปป่่าด้า้ นหลังั วัดั การต่่อไฟฟ้้าจากศาลาไปถึึงองค์์พระประธานหน้้าตััก ๑๐ เมตร บนภูเู ขา ระยะทาง ๒.๕ กิโิ ลเมตร เนื่่�องจากต้อ้ งเดิินทางผ่า่ นป่า่ ไม้้ จำเป็็นต้้อง มีีแสงสว่่างให้้เพีียงพอ เพื่่�อความปลอดภััย และบนภููเขานั้้�นอากาศดีีมาก

38 งานกฐิิน มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำปีี ๒๕๖๔ ลมแรง เหมาะแก่่การบำเพ็็ญภาวนามาก พระพุุทธรููปองค์์ใหญ่่เด่่นเป็็นสง่่า เห็็นแต่่ไกล พระพัักตร์์ยิ้ �มเห็็นแล้้วสบายใจ สงบ จึึงขอเชิิญชวนทุุกท่่านขึ้�้นไป กราบสักั การะบูชู า ธรรมะโดยย่่อของท่่านพระอาจารย์ท์ องปาน จารุุวััณโณ ท่า่ นกล่า่ วว่า่ การภาวนาให้ไ้ ด้ผ้ ลขึ้น้� อยู่่�กับั ความตั้้ง� ใจว่า่ จะต่อ่ สู่่�ฝ่า่ ฟันั ทุุกข์์ไปได้้หรืือไม่่ เหนื่่�อยก็็ต้้องอดทน ไม่่เช่่นนั้้�นก็็ไม่่ได้้ดีี ต้้องทรมานกิิเลส ที่�่หนาแน่่นอยู่�ในจิิตให้้หมดไป ไม่่มีีอะไรที่่�จะหนาแน่่นเท่่ากิิเลสอีีกแล้้ว ต้้องภาวนาให้้ถึึงที่�่สุุด กิเิ ลสจึึงจะขาดออกไปจากจิิตใจ ความสุขุ สงบ เบาสบาย จึึงจะเกิดิ ขึ้น�้ จึึงมีคี วามรู้้�เกิดิ ขึ้น้� มิเิ ช่น่ นั้้น� จะไม่รู่้�ไม่เ่ ห็น็ อะไรเลย การไม่เ่ ห็น็ ทุกุ ข์์ จะไม่่เห็น็ ธรรม ถ้า้ เราไม่่กล้้า กลััวความทุุกข์์ การปฏิบิ ััติภิ าวนาจะไม่่ก้า้ วหน้า้ ไม่เ่ ห็น็ ผลการปฏิบิ ัตั ิ ิ ทุกุ ข์เ์ กิดิ ที่ไ�่ หนต้อ้ งกำหนดรู้�ที่น� ั่่น� ทุกุ ข์ไ์ ม่ใ่ ช่ข่ องเรา เกิดิ ได้้ ก็ต็ ้อ้ งดับั ได้้ อย่า่ ไปสำคัญั มั่น� หมายว่า่ เป็น็ ของเราทำให้ไ้ ม่ก่ ล้า้ สู้้�ทุกุ ข์์ การทำอะไร ทุุกอย่่างต้้องมีีอุุปสรรค ต้้องมีีความเพีียรจดจ่่อเข้้าไป ดููให้้ชััด ต้้องทำจริิง จึึงจะรู้�จริงิ กิเิ ลสที่ห�่ นาแน่น่ มาก การชำระกิเิ ลสต้อ้ งใช้ก้ ำลังั สติปิ ัญั ญา ความเพีียร จึึงขจัดั กิเิ ลสออกไปได้ ้ กิิเลสเกิดิ ได้้ทุกุ ขณะจิิต สิ่่�งที่ม�่ ากระทบ ตา หูู จมูกู ลิ้้�น กาย ใจ ทำให้เ้ กิดิ ความยิินดีี ยินิ ร้้าย พอใจ ไม่พ่ อใจ ความหลง อยากได้้ ดิ้้�นรน เกิิดอาสวกิิเลสปกคลุุมจิิตใจ เป็็นเหตุุแห่่งการสร้้างบาปกรรม เกิิดภพชาติิ หมุนุ เวีียนอยู่�อย่า่ งนี้้ไ� ม่ม่ ีีที่ส�่ิ้น� สุดุ ถ้า้ ตราบใดที่ส�่ ติปิ ัญั ญาไม่ส่ มบูรู ณ์์ จะไม่ส่ ามารถ ตัดั กระแสกิิเลสได้้เลย จิิตของเราดวงหนึ่�่งจะไปเกิดิ ตามภพภููมิติ ่า่ ง ๆ ตายแล้ว้ เกิิด เกิดิ แล้้ว ตาย วนเวีียนนับั ชาติไิ ม่่ถ้ว้ น ถ้า้ นำกระดูกู มากองรวมไว้้ จะเต็็มแผ่น่ ดิินไปหมด แต่ม่ นุษุ ย์ก์ ็ย็ ังั ยินิ ดีีในการเกิดิ เพราะยังั พอใจในรูปู รส กลิ่น� เสีียง วนเวีียนอยู่�ใน

พระวินิ ัยั ภาคปฏิิบัตั ิิ (สำหรัับผู้บ้� วชใหม่่) 39 วัฏั สงสาร อัันที่จ่� ริิงการเกิดิ สบายไหม การแก่่สบายไหม การเกิดิ มีีหลายอย่่าง เช่่นเกิดิ ในไข่่ กว่า่ จะออกจากไข่่ได้เ้ ป็็นอย่า่ งไร การเกิดิ ในครรภ์์ อยู่�ในครรภ์์แม่่ ๙ เดืือน ช่่วยเหลืือตััวเองไม่่ได้้ ต้้องอาศััยอาหารที่�่มาตามกระแสเลืือดของแม่่ ความเป็น็ อยู่่�ของทารกในครรภ์เ์ มื่อ� กำหนดเข้า้ ไปดูู จะนั่่ง� เอาหัวั ชันั เข่า่ หันั หน้า้ ไปทางกระดููกสัันหลัังของแม่่ กว่่าจะโต ทุุกข์์ทั้้�งนั้้�น หิิวอาหารต้้องกำจััด ความหิิว กำจััดทุุกข์์ในอิิริิยาบถทั้้�ง ๔ จิิตมนุุษย์์จะเก็็บความทุุกข์์ไว้้ ทำให้้ เรายิินดีีพอใจการเกิิดอยู่�อย่่างนั้้�น เรีียกว่่าคนเขลาปััญญา เมื่่�อไปสู่่�ภพหน้้า ก็เ็ หมือื นกันั เวีียนว่า่ ยตายเกิดิ อยู่�อย่า่ งนี้้� เกิดิ เป็น็ คน เป็น็ สัตั ว์เ์ ดรัจั ฉาน อสุรุ กาย ด้ว้ ยจิติ ดวงนี้้� ถ้า้ ยิินดีีในการสร้า้ งความดีีก็็ไปเกิดิ ในสวรรค์ ์ ถ้้าบำเพ็ญ็ ภาวนาดีี ไม่ว่ ิติ กวิจิ ารณ์ ์ จิติ เป็น็ อุเุ บกขา นิ่่ง� เฉย ไม่ย่ ินิ ดีียินิ ร้า้ ย จิติ จะก้า้ วล่ว่ งจากกามภพ กามรููป ถ้้ายัังสงสััยลัังเลในโลกนี้้�โลกหน้้า ไม่่มีีความเป็็นตััวของตััวเอง อยู่�ใน อำนาจของความโลภ โกรธ หลง ก็ต็ ้อ้ งมาเวีียนเกิดิ เวีียนตายอยู่�อย่า่ งนี้้� ส่ว่ นมาก แล้ว้ กิิเลสต่า่ ง ๆ ไม่เ่ คยให้้โอกาสใคร มีแี ต่จ่ ะบีีบคั้้�นไม่ม่ ีีที่�ส่ิ้น� สุดุ ทุกุ ข์ท์ ี่ท่� ุกุ คน ผ่า่ นมาแล้ว้ ไม่ใ่ ช่น่ ้อ้ ย ตกนรกมาไม่ใ่ ช่น่ ้อ้ ย ยังั อยากจะไปพบสิ่่ง� นั้้น� อีีกหรือื นี่ค่� ือื การน้อ้ มนำธรรมเข้า้ มาพิจิ ารณา สิ่่ง� ที่เ่� ป็น็ อุปุ สรรคต่อ่ การบำเพ็ญ็ คือื อาการง่ว่ ง อยากนอน เมื่่�อย ทำให้้การบำเพ็ญ็ ล้้มเหลว เรีียบเรีียงโดย : รองศาสตราจารย์์ยุุวดีี ชาติิไทย มหาวิทิ ยาลัยั มหิิดล

40 งานกฐินิ มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำปีี ๒๕๖๔


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook