Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SAR ปีการศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรียนบ้านนาดีสร้างบง

SAR ปีการศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรียนบ้านนาดีสร้างบง

Published by Nattinan Simpha, 2022-04-19 07:44:15

Description: SAR ปีการศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรียนบ้านนาดีสร้างบง

Search

Read the Text Version

1

รายงานการประเมินตนเอง (Self - Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรียนบ้านนาดีสร้างบง ตำบลผาสุก อำเภอกุมภวาปี จังหวดั อดุ รธานี สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๒ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

คำนำ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรียนบ้านนาดีสร้างบง ฉบับน้ี จัดทำข้ึนตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ข้อ ๓ ระบุให้สถานศึกษาจัดส่ง รายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษาเป็นประจำทุกปี เพื่อรายงานผลการดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาที่สะท้อนผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งเป็น ผลสำเร็จจากการบริหารจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาในระดับปฐมวัย ๓ มาตรฐาน ได้แก่ คุณภาพของเด็ก กระบวนการบริหารและการจัดการ การจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็นสำคัญ และระดับ การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ๓ มาตรฐานได้แกค่ ุณภาพของผ้เู รยี น กระบวนการบริหารและการจัดการ และการจัดการ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ น้นผู้เรียนเป็นสำคัญเพื่อนำเสนรายงานผลการจัดการศึกษาในรอบปที ่ีผา่ น มาต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ตลอดจนเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้รับทราบ และเตรียมความ พร้อมในการรับการประเมนิ ภายนอก โดยสำนักงานรบั รองมาตรฐานการศึกษาและประเมนิ คุณภาพการศึกษา (องคก์ ารมหาชน) ต่อไป ขอขอบคุณคณะครู ผู้ปกครอง นักเรยี น คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และผู้ที่มีส่วน เกี่ยวข้องทุกฝา่ ยที่มีส่วนร่วมในการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ จ.ส.อ. (สายัณห์ นามแสง) ผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านนาดีสรา้ งบง ๑๘ เมษายน ๒๕๖๕

สารบญั หน้า ๑ เรอื่ ง ๖ บทสรปุ สำหรับผบู้ ริหาร ๗ คำรับรองของคณะกรรมการสถานศึกษา ๗ ตอนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐาน ๘ ๙ ๑ ขอ้ มูลทวั่ ไป ๑๐ ๑๐ ๒ ขอ้ มูลผู้บริหาร ๑๐ ๑๑ ๓ ขอ้ มลู นักเรียน ๑๗ ๑๙ ๔ ขอ้ มูลครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๓๓ ๕ ขอ้ มลู อาคารสถานที่ ๓๘ ๖ ขอ้ มลู งบประมาณ ๓๘ ๓๙ ๗ ขอ้ มลู สภาพชมุ ชนโดยรวม ๓๙ ๓๙ ๘ โครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศกึ ษา ๓๙ ๙ แหล่งเรยี นรู้ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ ๔๐ ๔๐ ๑๐.ผลงานดีเด่นในรอบปีท่ีผ่านมา ๔๑ ๔๒ ๑๑.ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอก : ผลการประเมิน SAR ๘๐ ภายใต้สถานการณ์ COVID – 19 ๘๐ ๘๑ ตอนท่ี ๒ แนวทางการพฒั นาที่มงุ่ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ของสถานศกึ ษาและผลการพัฒนา แผนภูมิโครงสรา้ งการบริหารโรงเรียนบา้ นนาดีสร้างบง วสิ ัยทัศน์ พนั ธกิจ เอกลักษณข์ องโรงเรยี น อตั ลกั ษณ์ของเดก็ /ผ้เู รยี น ๑. มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาและค่าเป้าหมาย ๒. มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและค่าเปา้ หมาย ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ระดับปฐมวยั ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน แผนงานโครงการ/กจิ กรรม ตอนที่ ๓ สรุปผลการประเมนิ ตนเองในภาพรวมของสถานศึกษา ๑. ระดบั ปฐมวัย 1.1 จดุ เดน่ 1.2 จดุ ควรพัฒนา

สารบญั (ต่อ) หนา้ เรอื่ ง ๘๑ ๘๒ 1.๓ แนวทางการพฒั นาใหไ้ ด้ในระดับคุณภาพทส่ี งู ขน้ึ ๘๓ 1.๔ ความต้องการและความชว่ ยเหลอื ๘๓ 2. ระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ๘๔ 1.1 จดุ เด่น ๘๕ 1.2 จดุ ควรพฒั นา ๘๖ 1.๓ แนวทางการพฒั นาใหไ้ ด้ในระดับคณุ ภาพทสี่ งู ขึน้ 1.๔ ความต้องการและความช่วยเหลือ ๘๘ ภาคผนวก คำส่งั แต่งตัง้ คณะกรรมการจดั ทำระบบประกนั คุณภาพ ภายในสถานศึกษา

๑ บทสรปุ สำหรับผู้บรหิ าร โรงเรียนบ้านนาดีสร้างบง ตั้งอยู่ที่ บ้านสร้างบง หมู่ ๔ ตำบลผาสุก อำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒ เปิดสอนตั้งแต่ชั้น อนุบาล ๒ ถึง ช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ ๓ มีบุคลากรสายบริการ จำนวน ๑ คน ครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน ๑๗ คน ไดด้ ำเนินงานประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา ตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ.๒๕๖๑ และมีผลการดำเนนิ งานดงั น้ี ๑. ผลการประเมินคณุ ภาพภายในของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศกึ ษา ๑.๑ การศึกษาปฐมวยั ดา้ น ระดับคณุ ภาพ ๑. คุณภาพของเดก็ ดเี ลศิ ๒. กระบวนการบริหารและการจัดการ ดีเลศิ ๓. การจดั ประสบการณท์ เ่ี นน้ เดก็ เปน็ สำคญั ดีเลศิ ๑) ผลการดำเนนิ งาน โรงเรียนบ้านนาดีสร้างบง ได้ดำเนินการพัฒนาเพ่ือให้เด็กมีพัฒนาการ ด้านร่างกาย ด้าน อารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา ผ่านโครงการ/กิจกรรมของโรงเรียน (น.๔๒-๖๐) ซึ่งผล การประเมนิ คณุ ภาพภายใน อยใู่ นระดับ ดเี ลิศ ทุกมาตรฐาน ๒) จุดเด่น ด้านคุณภาพของเดก็ ๑.เด็กมพี ฒั นาการท้ัง ๔ ดา้ น ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ๑.มกี ารวางแผนจัดทำหลกั สตู รปฐมวัย ครอบคลมุ พฒั นาการทั้ง ๔ ดา้ น จดั สภาพแวดล้อมและสื่อเพ่ือการเรยี นรู้ที่ปลอดภัยเพยี งพอ ด้านการจดั ประสบการณท์ ่เี นน้ เดก็ เปน็ สำคัญ ๑.มคี รูครบชั้น และสามารถจดั ประสบการณ์ให้เด็กได้อย่างหลากหลาย ๓) จดุ ทค่ี วรพัฒนา ดา้ นคุณภาพของเดก็ ๑. ไมม่ ี ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ๑. ควรเชญิ ผู้ปกครองมาร่วมวพิ ากษ์หลักสตู ร/แผนจดั ประสบการณ์ ในแตล่ ะปี การศกึ ษา ดา้ นการจดั ประสบการณท์ ี่เนน้ เด็กเป็นสำคัญ ๑.ควรเพ่มิ กิจกรรมไฮสโคป เพอ่ื ให้เด็กกลา้ คิด และเรียนรกู้ ารทำงานอยา่ งมีข้ันตอน ๒.คณะครูควรมีการปรึกษา/PLC เพม่ิ ข้นึ ในการปรับปรุงการจดั ประสบการณ์

๒ ๔) ข้อเสนอแนะ ดา้ นคณุ ภาพของเดก็ - ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ๑.จัดกจิ กรรมตามจุดที่ควรพัฒนา ด้านการจัดประสบการณ์ที่เนน้ เดก็ เป็นสำคัญ ๑.จัดกิจกรรมตามจดุ ทค่ี วรพัฒนา ๕) หลกั ฐานสนบั สนนุ ผลการดำเนนิ งาน โรงเรยี นบ้านนาดีสรา้ งบง มีเอกสาร หลักฐาน สนบั สนนุ ผลการดำเนนิ งาน ระดบั การศกึ ษา ปฐมวยั เชน่ แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี ๒๕๖๔ รายงานประเมินพฒั นาการเด็กปีการศึกษา ๒๕๖๔ รายงาน การดำเนนิ งาน ๙ จุดเนน้ ก้าวสูค้ วามเป็นเลศิ จดุ เน้นท่ี ๒ การศกึ ษาปฐมวยั (QR code น.๕๗) ๖) แนวทางการพฒั นาใหไ้ ด้ระดับคุณภาพท่ีสูงขน้ึ โรงเรียนบ้านนาดีสรา้ งบง ได้มแี นวทางในการพฒั นาคุณภาพ ระดบั การศกึ ษาปฐมวยั ให้ได้ ระดบั คณุ ภาพโครงการ/กจิ กรรม ดังตอ่ ไปน้ี ๑) โครงการ/กจิ กรรม ผปู้ กครองร่วมวิพากษ์หลกั สูตร/แผนจัดประสบการณ์ ๒) โครงการ/กจิ กรรม ไฮสโคป ๑) โครงการ/กจิ กรรม PLC คณะครูปฐมวัย ๑.๒ ระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน ด้าน ระดับคุณภาพ ๑. คณุ ภาพของผู้เรยี น ดเี ลศิ ๒. กระบวนการบริหารและการจัดการ ดเี ลศิ ๓. กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ ดี ๑) ผลการดำเนินงาน โรงเรยี นบ้านนาดีสรา้ งบง ไดม้ กี ารพฒั นาผูเ้ รียนใหม้ ีความรู้ ความสามารถ มที กั ษะและ ประสบการณใ์ นการเรยี นและการทำงาน เพ่อื ใหน้ ักเรียนเป็นคนดี คนเกง่ และอยู่รว่ มกับผ้อู นื่ ได้อย่าง มคี วามสขุ สามารถนำความรทู้ ่ไี ดไ้ ปเรยี นต่อและประกอบอาชพี ทด่ี ีตอ่ ไป และผเู้ รยี นทีม่ ปี ัญหาต่าง ๆ ไดร้ บั การแก้ไขตามขนั้ ตอน และมีพฤตกิ รรมท่ีดีขน้ึ โดยมคี รเู ป็นผู้อบรมสง่ั สอนช้แี นะแนวทางในการ เรยี นการสอน การศกึ ษาทีม่ คี ณุ ภาพจะตอ้ งพฒั นาคนให้เปน็ มนุษย์ท่มี คี วามสมบรู ณ์ทัง้ ร่างกายและ จติ ใจ สติปญั ญา ความรแู้ ละคุณธรรม มีจรยิ ธรรม มวี ัฒนธรรมในการดำเนินชวี ิต สามารถอยรู่ ่วมกบั ผู้อนื่ ได้อย่างมีความสุขตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (น.๕๗-๖๑) ซึง่ ผลกการประเมนิ คุณภาพภายในภาพรวม อยูใ่ นระดบั ดเี ลิศ

๓ ๒) จดุ เดน่ ด้านคณุ ภาพของผเู้ รยี น ๑. ดา้ นผลสมั ฤทธ์ิทางวชิ าการของผู้เรยี น และผลการทดสอบทางการศกึ ษา ระดบั ชาติขนั้ พ้ืนฐาน (O-NET) ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6 และชนั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา ๒๕๖๔ กลุ่ม สาระวทิ ยาศาสตร์มคี ่าเฉลยี่ สูงกว่าระดับประเทศ ๒. ดา้ นคณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ของผเู้ รียน ผเู้ รียนมรี ะเบียบวนิ ยั จนเป็น เอกลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา ด้านกระบวนการบริหารและการจดั การ ๑. ผู้บรหิ ารมีความตัง้ ใจ มีความมุ่งม่ัน มีหลกั การบรหิ ารและการจดั การอย่างเปน็ ระบบ ด้านกระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญ ๑. ครูมกี ารจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนรปู แบบ Active Learning เปน็ กิจกรรม การเรียนรู้ส่งเสริมใหผ้ เู้ รยี นไดใ้ ช้กระบวนการคดิ สามารถเชื่อมโยงความรหู้ รือสร้างความรูใ้ ห้เกิดขึ้นในตนเอง ดว้ ยการลงมอื ปฏบิ ตั ิจริงผา่ นสื่อ และกิจกรรมการเรยี นรู้ ทำใหม้ ีปฏิสมั พนั ธ์ท่ีดตี ่อกันท้ังครูผู้สอนกบั ผูเ้ รยี น และผู้เรียนกับผเู้ รยี น ๓) จดุ ทีค่ วรพัฒนา ดา้ นคณุ ภาพของผูเ้ รียน ๑. สง่ เสริมผู้เรยี นให้ใชเ้ ทคโนโลยีให้เกดิ ประโยชน์ การสอ่ื สารภาษาอังกฤษ เทคนิค ดา้ นคณติ ศาสตร์คดิ เลขเร็ว และการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง เพมิ่ มากขนึ้ ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ๑. เพิ่มข้าราชการครแู ละบุคลากรใหค้ รบตามเกณฑ์ กคศ. ดา้ นกระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเปน็ สำคญั ๑.พัฒนาการวัดและประเมินผลให้สอดคล้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ของนักเรยี นในศตวรรษที่ ๒๑ ๔) ขอ้ เสนอแนะ ด้านคณุ ภาพของผเู้ รยี น ๑.จดั กิจกรรมตามจดุ ที่ควรพัฒนา ดา้ นกระบวนการบริหารและการจัดการ ๑.จัดกิจกรรมตามจดุ ท่คี วรพัฒนา ดา้ นกระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ ผ้เู รียนเป็นสำคญั ๑.จัดกจิ กรรมตามจุดทีค่ วรพัฒนา ๕) หลักฐานสนับสนนุ ผลการดำเนนิ งาน โรงเรยี นบา้ นนาดสี รา้ งบง มีเอกสาร หลักฐาน สนับสนุนผลการดำเนนิ งาน ระดบั การศึกษา ขนั้ พน้ื ฐาน เชน่ แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี ๒๕๖๔ รายงานการดำเนนิ งาน ๙ จดุ เน้นก้าวสคู้ วามเปน็ เลิศ จุดเน้นที่ ๗ ระบบประกนั คณุ ภาพการศึกษา (QR code น.๖๕ , น.๗๒)

๔ โรงเรียนบ้านนาดีสร้างบง ได้นำนวัตกรรมภาคีเครือข่ายการมีส่วนร่วม เพ่ือร่วมกันพัฒนา คณุ ภาพการศึกษา ดงั น้ี NPDCA : โมเดล ภาคีเครอื ขา่ ยการมีสว่ นรว่ ม วิธดี ำเนนิ การ ระยะที่ ๑ ศึกษาวิเคราะห์ และสังเคราะห์เอกสาร แนวคิด ทฤษฎี งานวิจัยที่เกยี่ วข้องกับรูปแบบ การบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษา แบบมสี ว่ นร่วม ดังตอ่ ไปนี้ ๑.๑ เอกสารรูปแบบการจดั การศกึ ษาแบบมีสว่ นรว่ มโดยใชต้ ำบลเปน็ ฐาน : เสอเพลอโมเดล ๑.๒ จดั ประชุมเพ่ือรับฟงั ขอ้ เสนอความต้องการในการพฒั นาบริหารจดั การโรงเรียน จากคณะ ครแู ละคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน ระยะท่ี ๒ การเสนอรูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนบ้านนาดีสร้างบง โดยใช้ “ภาคีเครือข่ายการ มีส่วนรว่ ม”ในตำบลผาสกุ ดำเนินการดงั น้ี ๒.๑ ดำเนินการสนทนากลุ่ม(Focus Group Discussion) เพื่อวิเคราะห์รูปแบบการบริหาร จัดการโรงเรียนบ้านนาดีสร้างบง โดยใช้ “ภาคีเครือข่ายการมีส่วนร่วม”จากผู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ ได้แก่ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน นายกองค์การบริหารส่วนตำบลผาสุก ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลผาสุก ผู้อำนวยการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา หัวหน้าฝ่ายวิชาการ ประธานนักเรียนและ ศกึ ษานิเทศก์ ๒.๒ จดั ทำรา่ งรปู แบบการบริหารจดั การโรงเรยี นบ้านนาดีสรา้ งบงโดยใช้ “ภาคเี ครอื ข่ายการมี ส่วนร่วม” ๒.๓ นำรูปแบบ ภาคีเครือข่ายการมีส่วนร่วม ท่ีได้ให้ผู้เชี่ยวชาญในการบริหารจัดการศึกษา ประเมนิ ความเปน็ ไปได้ในการนำมาพัฒนาโรงเรยี นบา้ นนาดีสรา้ งบง ๒.๔ นำเสนอรูปแบบ ภาคีเครือข่ายการมีส่วนร่วม ท่ีสมบูรณ์ในระดับสำนักงานเขตฯ ระดับ ภาค ระดับชาติ และได้รับรางชนะเลิศระดับเหรียญทอง รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ประจำปี การศึกษา ๒๕๖๐,๒๕๖๑,๒๕๖๒,๒๕๖๓ ๓. ได้รูปแบบ NPDCA:โมเดล ภาคีเครอื ข่ายการมสี ่วนรว่ ม การเผยแพร่ผลงาน ๑. นำเสนอแผนพัฒนาโรงเรยี น (CONNEXT ED) การบริหารจัดการโรงเรียนบ้านนาดีสรา้ งบง ตาม โครงการโรงเรียนประชารัฐ โดยใช้ NPDCA:โมเดล ภาคีเครือข่ายการมีส่วนร่วม (ธนาคาร กรุงเทพ จำกัดมหาชน)

๕ ๒. นำเสนอแลกเปล่ียนเรียนรู้ การจัดการศกึ ษาแบบมีสว่ นรว่ ม ในการประชมุ เชิงปฏิบัตกิ าร ต้นแบบ การจัดการศึกษาท้องถ่นิ พึง่ ตนเองโดยใช้ตำบลเปน็ ฐาน ศนู ย์ประสานงานและบริหารการศกึ ษา จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ ๓. นำเสนอผลงาน NPDCA:โมเดล ภาคีเครือข่ายการมีส่วนรว่ ม (ระดบั เขตฯ ที่ สพป.อดุ รธานี เขต ๒) ๔. นำเสนอผลงาน NPDCA:โมเดล ภาคีเครือขา่ ยการมีส่วนร่วม (ระดบั ชาติ จ.นครนายก) ๕. ไดร้ บั การประกันคุณภาพภานนอก (พ.ศ.๒๕๖๔-๒๕๖๘) ๖. แนวทางการพฒั นาให้ได้ระดบั คุณภาพทสี่ งู ขน้ึ โรงเรียนบา้ นนาดีสรา้ งบงได้มีแนวทางในการพฒั นาคุณภาพ ระดบั การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน ให้ ไดร้ ะดับคณุ ภาพท่ีสงู ข้ึนโดยกำหนดโครงการ/กจิ กรรม ดังตอ่ ไปนี้ ๑) โครงการส่งเสรมิ ผู้เรียนให้ใชเ้ ทคโนโลยีให้เกดิ ประโยชน์ การส่อื สารภาษาองั กฤษ เทคนคิ ด้านคณติ ศาสตรค์ ดิ เลขเรว็ และการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง ๒) โครงการพัฒนาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ๓) โครงการพัฒนาการวดั และประเมินผลให้สอดคลอ้ งกับการจัดกจิ กรรมการเรยี นการ สอนของนักเรยี นในศตวรรษที่ ๒๑

๖ คำรับรองของคณะกรรมการสถานศกึ ษา ดว้ ยโรงเรียนบ้านนาดสี ร้างบง ได้จดั ทำรายงานการประเมินตนเอง ฉบับนี้ เพ่ือเปน็ การรายงาน ผลการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน.บ้านนาดีสร้างบง ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ ท่ี สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการจำเป็นของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ โดยสะท้อนคุณภาพ ความสำเร็จอย่างชัดเจนตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มี คณุ ภาพ และเพอ่ื ใหก้ ารประกนั คุณภาพการศกึ ษาเปน็ ไปอย่างมีประสิทธภิ าพและพฒั นาอยา่ งต่อเนอื่ ง คณะกรรมการสถานศึกษามีความเห็นชอบในการจัดทำรายงานการประเมินตนเองฉบับนี้ของ โรงเรียนบ้านนาดีสร้างบง ท่ีสะท้อนคุณภาพผู้เรียน และผลสำเร็จของการบริหาร จัดการศึกษา เพ่ือเป็น ประโยชนต์ อ่ การนำไปใช้พัฒนาการศกึ ษาในปกี ารศึกษาต่อไป (นายคงฤทธ์ิ ยีเ่ กาะ) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พื้นฐาน โรงเรยี นบ้านนาดสี รา้ งบง

๗ ตอนท่ี ๑ ข้อมูลพ้ืนฐาน ๑. ข้อมูลทัว่ ไป โรงเรียนบ้านนาดีสร้างบง ตั้งอยู่เลขท่ี ๕ บ้านสร้างบง หมู่ที่ ๔ ตำบลผาสุก อำเภอกุมภวาปี จังหวัด อุดรธานี รหัสไปรษณีย์ ๔๑๓๗๐ สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒ โทรศัพท์: ๐๔๒ – ๑๔๔๑๕๑ , E-mail: [email protected] , website: - เปิดสอนระดับชั้นอนุบาลปที ่ี ๒ ถึงระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ , เน้ือที่: ๒๖ ไร่ – ตารางวา , เขตพ้ืนท่ี บริการท้ังหมด 4 หมู่บา้ น คือ บ้านสรา้ งบงหมู่ที่ 4 บ้านนาดีหมู่ที่ 1 บ้านหนองแวงหมู่ที่ 6 และหมู่ที่ 7 บ้าน ห้วยสามพาดหมูท่ ่ี 1 ประวตั ิโรงเรียนโดยย่อ โรงเรียนบ้านนาดีสร้างบง เดิมชื่อ \"โรงเรียนประชาบาลตำบลพันดอน\" , ก่อต้ังเม่ือวันท่ี: ๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๘๒ , สถานทต่ี ัง้ : วัดบ้านนาดี ตำบลพันดอน , ผู้จดั ตั้ง: นายเหรยี ญ ปราบศัตรู นายอำเภอ กมุ ภวาปี นายโสม พตรสันดอน ศึกษาธิการอำเภอ มนี ายสงิ ห์ ถาวร เป็นครูใหญ่ เปิดสอนชั้นประถมปีที่ ๑ - ๔ สังกัดกองประชาบาลกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ปี พ.ศ. ๒๕๘๔ ได้ย้ายสถานที่เรียนมาต้ังโรงเรียนในท่ีปัจจุบัน โดยการมอบท่ีดินของการรถไฟแห่งประเทศไทย จำนวน ๒๖ ไร่เศษ อาคารเรียนหลังแรกได้รับความร่วมมือจากราษฎรในเขตบริการรว่ มก่อสร้างไดแ้ กบ่ ้านนาดี บา้ นสร้างบง บ้านหนองแวง บ้านโนนข้เี หลก็ และบ้านหว้ ยสามพาด นายกาทอง ศรีเจรญิ เป็นครูใหญ่ แผนทโ่ี รงเรียน ๒. ข้อมูลผบู้ รหิ าร ผ้อู ำนวยการโรงเรยี น ชื่อ จา่ สิบเอกสายัณห์ นามแสง โทรศัพท:์ 089 - 6177469 E-mail: [email protected] วฒุ กิ ารศกึ ษาสงู สดุ : ปรญิ ญาโท สาขา: การบริหารการศึกษา ดำรงตำแหน่งทโ่ี รงเรียนนต้ี งั้ แต่ 25 พฤศจิกายน 2559 จนถึงปัจจุบนั เป็นเวลา 5 ปี 11 เดอื น

๘ ๓. ขอ้ มูลนกั เรียน ๑) จำนวนนกั เรยี นในเขตพ้ืนท่ีบรกิ ารท้ังสน้ิ ๑7๗ คน ๒) จำนวนนักเรียนในโรงเรียนทงั้ สนิ้ ๑๗๗ คน จำแนกตามระดบั ชั้นทเี่ ปดิ สอน ระดบั ชน้ั เพศ รวม ชาย หญงิ อนุบาล 2 76 13 อนบุ าล 3 10 7 17 17 13 30 รวม 86 14 ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 11 7 18 ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 2 74 11 ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 3 99 18 ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4 15 6 21 ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 76 13 ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 57 38 95 11 7 18 รวม 14 11 25 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 54 9 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 104 73 177 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 รวม ๓) จำนวนนักเรียนที่มีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ของกรมพลศึกษาหรือสำนักงานกองทุน สนบั สนนุ การสร้างเสริมสขุ ภาพ (สสส.) 177 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ๔) จำนวนนักเรยี นทีม่ นี ำ้ หนกั สว่ นสงู ตามเกณฑข์ องกรมอนามัย 177 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 ๕) จำนวนนกั เรียนท่มี คี วามบกพร่องเรยี นรว่ ม 16 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 9.04 ๖) จำนวนนกั เรียนมีภาวะทุพโภชนาการ 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0.56 ๗) จำนวนนักเรยี นปัญญาเลิศ 0 คน คดิ เป็นร้อยละ 0 ๘) จำนวนนกั เรียนต้องการความช่วยเหลือเปน็ พิเศษ…1…คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.56 ๙) จำนวนนักเรียนทีอ่ อกกลางคัน (ปัจจุบนั ) 0 คน คดิ เป็นร้อยละ 0 ๑๐) สถติ ิการขาดเรยี น 7 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 3.95 ๑๑) จำนวนนักเรียนทเ่ี รยี นซำ้ ช้นั ๐ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๐ ๑๒) จำนวนนกั เรียนท่จี บหลกั สูตร อ.3 จำนวน 18 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100 ป.๖ จำนวน 11 คน คดิ เป็นร้อยละ ๑๐๐ ม.๓ จำนวน 8 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100 ๑๓) อัตราสว่ นครู : นกั เรียน ๑๓.๑) ระดบั ปฐมวยั = 1 : 15 ๑๓.๒) ระดับการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน = 1 : 12

๙ ๑๔) จำนวนนักเรียนท่ีเข้าร่วมกิจกรรมศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ วรรณคดีและนันทนาการ 177 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100 ๑๕) จำนวนนักเรียนที่มคี ุณลักษณะเปน็ ลูกท่ีดีของพ่อ แม่ ผูป้ กครอง 177 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ๑๖) จำนวนนักเรียนทม่ี คี ณุ ลักษณะเป็นนกั เรยี นท่ดี ีของโรงเรยี น 177 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 ๑๗) จำนวนนักเรียนที่ทำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมทั้งในและนอกสถานศึกษา 177 คน คิด เป็นร้อยละ 100 ๑๘) จำนวนนักเรียนที่มีบันทึกการเรียนรู้จากการอ่านและการสืบค้นจากเทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง สม่ำเสมอ 177 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100 ๑๙) จำนวนนักเรียนที่ผา่ นการประเมินความสามารถด้านการคิดตามที่กำหนดในหลักสูตรสถานศึกษา 170 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 96.05 ๒๐) จำนวนนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินตามความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสังคมตามที่กำหนด ในหลักสตู รสถานศึกษา 177 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100 ๔. ขอ้ มลู ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ครปู ระจำการ จำนวน อายุ ตำแหนง่ /วิทย สอน ช่วั โมงท่รี บั ท่ี ชอ่ื – ช่อื สกลุ อายุ ราชการ ฐานะ วุฒิ วชิ าเอก ช้นั การ พฒั นา/ปี ๑ นางสุภาพร พูลทอง 59 37 ปี ชำนาญการพเิ ศษ ปริญญาตรี วทิ ยาศาสตร์ ม.3 66 ๒ นางฉววี รรณ เหมือนแท้ 60 60 ปี ชำนาญการพเิ ศษ ปรญิ ญาตรี ประถมศกึ ษา ป.5 96 ๓ นางสาวรงุ่ นภา ผลาพฤกษ์ 59 34 ปี ชำนาญการพิเศษ ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์ ป.4 46 4 นายกรุง อิทธพิ รม 44 16 ปี ชำนาญการพเิ ศษ ปริญญาตรี ภาษาองั กฤษ ม.2 49 5 นายประภาส จุ่นหัวโทน 48 23 ปี ชำนาญการพิเศษ ปรญิ ญาตรี คณิตศาสตร์ ม.2 18 6 นางสาวสฑุ ารัตน์ พรหมกุล 39 8 ปี ชำนาญการ ปริญญาตรี คอมพิวเตอร์ ป.3 21 7 นางสจุ ติ ราภรณ์ ลาดา 51 6 ปี ครู ปรญิ ญาตรี ภาษาไทย ป.1 52 8 นายตะวัน บตุ รอนิ ทร์ 45 7 ปี ครู ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์ ม.1 18 9 นางสาวณฐั ฐฺนันท์ สิมพา 26 2 ปี ครู ปรญิ ญาตรี ภาษาไทย ม.1 194 10 นางสาวเพลนิ จิตร พลตอื้ 31 2 ปี ครู ปรญิ ญาตรี คณติ ศาสตร์ ป.2 197 11 นางสาวศภุ สิ รา โรมเมือง 29 1 ปี ครผู ูช้ ่วย ปริญญาตรี ปฐมวัย อ.3 75 12 นายธนพัฒน์ พิมพรภิรมย์ 25 1 ปี ครูผูช้ ว่ ย ปรญิ ญาตรี ภาษาอังกฤษ ป.6 75 13 นางสุธาสินีย์ สายพรหม 36 3 เดอื น ครผู ู้ชว่ ย ปรญิ ญาโท การบรหิ าร ม.2 54 การศึกษา จำนวนครทู ี่สอนวชิ าตรงเอก 13 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 จำนวนครทู ่ีสอนตรงความถนัด 13 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100

๑๐ บคุ ลากร อายุ ตำแหน่ง วฒุ ิ วชิ า เอก 59 ชา่ งไฟฟา้ 4 ม.๖ ท่ี ชื่อ – ชื่อสกุล 42 ครูวิกฤต ปรญิ ญาตรี การศกึ ษาปฐมวัย ๑ นายคัมภีร์ แคนจนั ทร์ 38 ครธู ุรการ ปริญญาตรี การบริหารทรพั ยากรมนษุ ย์ ๒ นางอรวรรณ จนั ปา ๓ นางจริ วรรณ ทาชาติ ครอู ตั ราจ้าง ท่ี ชอ่ื – ชอ่ื สกลุ อายุ ประสบการณ์ วุฒิ วชิ า เอก สอนชน้ั จา้ งด้วยเงนิ การสอน (ป)ี ม.3 เงินอุดหนนุ ๑ นายมงคล พรหมโท 25 3 คบ. พลศกึ ษา ๕. ข้อมูลอาคารสถานท่ี อาคารเรียนจำนวน: 3 หลัง , อาคารประกอบจำนวน: 3 หลัง , ส้วม: 5 หลัง , สนามเด็กเล่น: 1 สนาม , สนามฟุตบอล: 1 สนาม , สนามวอลเล่ย์บอล: 1 สนาม , สนามตะกร้อ: 1 สนาม , สนามเปตอง: 1 สนาม ๖. ขอ้ มูลงบประมาณ งบประมาณ (รับ-จ่าย) รายรับ จำนวน/บาท รายจา่ ย จำนวน/บาท เงินงบประมาณ ๒,๒๙๙,๘๙๔.๑๕ งบดำเนินการ/เงินเดือน-คา่ จ้าง 743,459.80 งบพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา 1,556,434.35 เงินนอกงบประมาณ - - - เงนิ อนื่ ๆ (บริจาค) 81,247 งบอน่ื ๆ (บริจาค) 81,247 รวมรายรับ 2,816,324.8 รวมรายจา่ ย 2,381,141.15 งบดำเนนิ การ / เงินเดอื น เงนิ คา่ จา้ ง คดิ เป็นร้อยละ ๓๑.๒๒ ของรายรบั งบพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา คดิ เป็นร้อยละ ๖5.๓6 ของรายรบั งบอื่นๆ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๓.๔๒ ของรายรบั ๗. ข้อมลู สภาพชมุ ชนโดยรวม ๑) สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณเป็นชุมชนชนบท อยู่แบบเอ้ือเฟ้ือ พึ่งพาอาศัยกัน มี ประชากรประมาณ 1,000 คน บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ ศูนย์เศรษฐกิจพอเพียง วัดสามพาด พัฒนาราม กลุ่มแม่บ้าน อาชีพหลักของชุมชน คือ เกษตรกร ส่วนใหญ่นับถือศาสนา พุทธ ประเพณี/ ศิลปะวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นท่ีรู้จักโดยท่ัวไป คือ บุญผะเหวด บุญสู่ขวัญข้าว สงกรานต์ ลอยกระทง และวัน สำคัญทางศาสนา

๑๑ ๒) ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 3 อาชีพหลัก คือ รับจ้างทั่วไป เกษตรกร ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพทุ ธ ฐานะทางเศรษฐกจิ /รายไดโ้ ดยเฉล่ยี ต่อครอบครวั ต่อปี 14,400 บาท จำนวนคน เฉล่ยี ตอ่ ครอบครัว 4 คน ๓) โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรยี น โรงเรียนบ้านนาดีสร้างบงได้รับการสนับสนุน อุปกรณ์การเรียนจากมูลนิธิส่งเสริมธรรมแห่ง อดุ รธานี(มูลนิธิปอเต็กตึ้ง) ได้รบั การสนับสนุนชุดตรวจ ATK จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลผาสุกได้รับ การสนับสนนุ แปรงฟนั และยาสีฟนั จากมลู นธิ ริ ักษ์ไทย งบประมาณจากองคก์ ารบริหารส่วนตำบลผาสุก ๘. โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศกึ ษา ระดบั ปฐมวัย โครงสร้างหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ช่วงอายุ อายุ ๔ – ๖ ปี สาระการเรยี นรู้ ประสบการณส์ ำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ระยะเวลาเรยี น - ด้านรา่ งกาย - เรอ่ื งราวเกี่ยวกับตวั เดก็ - ด้านอารมณ์และจติ ใจ - เรอ่ื งราวเกี่ยวกบั บุคคลและสถานท่ี - ดา้ นสงั คม แวดล้อมเด็ก - ด้านสติปัญญา - ธรรมชาติรอบตวั - สง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตวั เดก็ อายุ ๔ – ๕ ปี ชั้นอนุบาล ๒ ๑๘๐ วนั / ปีการศึกษา/ ๒ ภาคเรียน อายุ ๕ – ๖ ปี ช้ันอนบุ าล ๓ ๑๘๐ วนั / ปกี ารศึกษา/ ๒ ภาคเรียน ในแต่ละวันใช้เวลาประมาณ ๖ ชวั่ โมงหรือ ๓๐ ชว่ั โมง/ สัปดาห์ (ยดึ ตาม หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พ.ศ. ๒๕๖๐) เพื่อให้การจัดการศึกษาเป็นไปตามหลักการ จุดหมาย ที่กำหนดไว้ในสถานศึกษา การจัดทำหลักสูตร สถานศึกษาปฐมวัยโรงเรยี นบ้านนาดสี ร้างบง จึงไดก้ ำหนดระยะเวลาเรยี นแตล่ ะวนั ไม่น้อยกวา่ ๕ ชั่วโมง ดงั น้ี อายุ ๔-๕ ปี ช้ันอนบุ าลปีท่ี ๒ เปิด ๒ ภาคเรียน ภาคเรยี นละ ๙๐ วัน ๑๘๐ วัน/ปีการศึกษา อายุ ๕-๖ ปี ชนั้ อนบุ าลปที ่ี ๓ เปิด ๒ ภาคเรยี น ภาคเรียนละ ๙๐ วนั ๑๘๐ วัน/ปกี ารศกึ ษา

๑๒ ระดบั ประถมศึกษา หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนบ้านนาดีสร้างบง พุทธศักราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ได้กำหนดโครงสร้างของ หลกั สูตรสถานศึกษา เพอื่ ให้ผสู้ อน และผทู้ ี่เก่ียวข้องในการจดั การเรยี นรตู้ ามหลกั สูตรของสถานศกึ ษา มแี นวปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี กล่มุ สาระการเรยี นรู้/กจิ กรรม เวลาเรยี น ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160 คณิตศาสตร์ 160 160 160 160 160 160 วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 80 80 80 120 120 120 ประวตั ศิ าสตร์ 40 40 40 40 40 40 สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 80 80 80 80 80 80 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 40 40 40 80 80 80 ศลิ ปะ 40 40 40 80 80 80 การงานอาชพี 40 40 40 40 40 40 ภาษาตา่ งประเทศ 160 160 160 80 80 80 840 840 840 840 840 840 รวมเวลาเรยี น(พืน้ ฐาน) 40 40 40 40 40 40 รายวชิ าเพม่ิ เติม กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น 30 30 30 30 30 30 กจิ กรรมแนะแนว กจิ กรรมนกั เรียน 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 - ลูกเสือ-เนตรนารี 10 10 10 10 10 10 - ชมุ นมุ 120 120 120 120 120 120 กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ 1,000 ชวั่ โมง/ปี รวมเวลากจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน รวมเวลา หมายเหตุ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ ่ี 1 - 6 จัดการเรียนรหู้ นา้ ทพี่ ลเมืองและบรู ณาการการปอ้ งกนั การทจุ รติ ในรายวชิ าสังคมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรม ชน้ั ประถมศึกษาป่ที ่ี 1 - 6 จดั การเรยี นรู้หนา้ ทีพ่ ลเมืองและบูรณาการการปอ้ งกนั การทจุ รติ ในรายวชิ าสังคมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรม

๑๓ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ หลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านนาดีสร้างบง พทุ ธศกั ราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ได้กำหนดโครงสร้างของ หลักสูตรสถานศึกษา เพ่ือให้ผูส้ อน และผทู้ ี่เกีย่ วขอ้ งในการจดั การเรยี นร้ตู ามหลักสูตรของสถานศึกษา มแี นวปฏิบตั ิ ดงั นี้ กลุม่ สาระการเรียนร/ู้ กจิ กรรม ม.1 เวลาเรยี น ม.3 ภาษาไทย 120 (3 นก.) 120 (3นก.) ม.2 120 (3นก.) คณิตศาสตร์ 120 (3นก.) 120 (3นก.) 120 (3นก.) วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 160 (4นก.) 160 (4นก.) 160 (4นก.) ประวตั ิศาสตร์ 40 (1นก.) 40 (1นก.) 40 (1นก.) สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 120 (3นก.) 120 (3นก.) 120 (3นก.) สุขศกึ ษาและพลศึกษา 80 (2นก.) 80 (2นก.) 80 (2นก.) ศลิ ปะ 80 (2นก.) 80 (2นก.) 80 (2นก.) การงานอาชพี 40 (1นก.) 40 (1นก.) 40 (1นก.) ภาษาต่างประเทศ 120 (3นก.) 120 (3นก.) 120 (3นก.) 880(22นก.) 880(22นก.) 880(22นก.) รวมเวลาเรยี น(พน้ื ฐาน) 200 (4นก.) 200 (4นก.) 200 (4นก.) รายวชิ าเพม่ิ เติม กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น 40 40 40 กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 กจิ กรรมนกั เรยี น 25 25 25 - ลกู เสอื -เนตรนารี 15 15 15 - ชุมนมุ 120 120 120 กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ 1,200 ชวั่ โมง/ปี รวมเวลากจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น รวมเวลา หมายเหตุ 1. ช้ัน ม.1-3 จดั การเรยี นรหู้ นา้ ทีพ่ ลเมืองเปน็ รายวิชาเพม่ิ เติม 2. ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ่ี 1-3 จดั การเรียนรู้หน้าที่พลเมืองและบูรณาการการป้องกนั การทจุ ริต ในรายวิชาสงั คมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม

๑๔ ผลการทดสอบของผูเ้ รยี น ๑) การประเมินคณุ ภาพผู้เรียน (NT) ปีการศึกษา ๒๕๖4 โรงเรียนบ้านนาดีสร้างบง ได้เปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ระดับช้ัน ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ จำแนกตามร้อยละของกลมุ่ ผลการประเมิน ต้งั แตป่ ีการศึกษา ๒๕๖2 - ๒๕๖4 ดงั นี้ ๑.๑) ดา้ นภาษา (Literacy) ดา้ นภาษาไทย ระดบั คุณภาพ ปีการศกึ ษา ปรบั ปรงุ (%) พอใช้(%) ดี(%) ดมี าก(%) ๒๕๖๒ 40.00 6.66 ๒๕๖๓ 20.00 33.33 31.81 9.09 2564 - 40.90 18.18 - -- ๑.๒) ด้านคำนวณ (Numeracy) ด้านคำนวณ ระดับคุณภาพ ปีการศึกษา ปรบั ปรุง(%) พอใช้(%) ดี(%) ดมี าก(%) ๒๕๖๒ 6.66 33.33 46.66 13.33 ๒๕๖๓ 40.90 45.45 4.54 9.09 2564 - - - - ๒) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้นั พนื้ ฐาน (O-NET) ระดับช้ันประถมศกึ ษา ปีท่ี ๖ และช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ปีการศกึ ษา ๒๕๖2 - ๒๕๖4 กลุม่ สาระวิชา ปี ๒๕๖๒ ปี ๒๕๖๓ ปี ๒๕๖4 ภาษาไทย ป.๖ ม.๓ ป.๖ ม.๓ ป.๖ ม.๓ วิทยาศาสตร์ ๕๑.๖๖ ๔๙.๔๐ 59.48 ๕๐.๔๔ 44.52 48.02 คณติ ศาสตร์ ๓๑.๓๐ ๒๙.๓๕ 40.95 ๓๓.๑๙ 35.23 34.53 ภาษาตา่ งประเทศ ๓๑.๔๓ ๑๘.๔๐ 27.00 ๒๔.๗๑ 32.53 20.19 ๒๕.๐๐ ๓๐.๖๐ 31.25 ๒๕.๘๘ 30.11 24.22

๑๕ ๓) ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรยี น (RT) ระดับช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖2 - ๒๕๖4 ความสามารถดา้ น ปี ๒๕๖๒ ปี ๒๕๖๓ ปี ๒๕๖4 การอ่าน อ่านออกเสยี ง ค่าเฉล่ยี ระดบั ค่าเฉลีย่ ระดบั คา่ เฉลีย่ ระดับ อา่ นรเู้ ร่ือง ค่าเฉล่ีย 2 สมรรถนะ ๗๒.๔๔ ดี 89.60 ดีมาก -- ๘๐.๖๖ ดีมาก 84.93 ดีมาก -- ๗๖.๕๕ ดีมาก 87.26 ดีมาก -- ปีการศึกษา 2564 เน่ืองจากมีนักเรียนติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 และอยู่ในช่วงกักตัว จึงไม่ สามารถดำเนินการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ ได้ ตามปกติ ๔) สรุปข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖4 ที่ได้ ระดับคณุ ภาพการศกึ ษาตัง้ แต่ระดบั ดี (3) ขนึ้ ไป สรปุ ข้อมูลผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนระดับสถานศึกษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖4 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ (คดิ เป็นรอ้ ยละ) ระดบั ช้นั ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ สงั คม สขุ ศิลปะ การงาน ภาษา ศกึ ษา ศึกษา อาชพี ตา่ ง ประเทศ ป.๑ 78.57 78.57 78.57 78.57 85.71 85.71 85.71 71.43 ป.๒ 66.67 72.22 88.89 61.11 100 61.11 94.44 77.78 ป.๓ 45.46 54.55 45.46 54.55 90.91 81.82 54.55 72.73 ป.๔ 83.33 77.78 72.22 66.67 100 94.44 77.78 72.22 ป.๕ 61.90 61.90 42.86 33.33 90.48 85.71 57.14 61.90 ป.๖ 53.85 69.23 69.23 76.92 92.31 76.92 76.92 84.62 ม.๑ 55.56 50.00 72.22 66.67 94.44 77.78 94.44 61.11 ม.๒ 60.00 48.00 84.00 68.00 84.00 92.00 96.00 76.00 ม.๓ 50.00 50.00 62.50 62.50 100 62.50 62.50 62.50

๑๖ ๕) ผลการประเมินคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรียน ชั้นป. ๑ - ๖ ม.๑ – ๓ ปี การศึกษา ๒๕๖4 ระดับประถมฯ (คน) ระดบั มัธยมฯ (คน) ผ่านเฉลย่ี ร้อยละ ประเดน็ การประเมนิ ท้ังหมด ผา่ นการ ทง้ั หมด ผา่ นการ ประเมิน ประเมนิ 94.52 รักชาติ ศาสน์กษตั รยิ ์ 94.52 ซ่อื สัตย์สจุ ริต ๙๕ 89 51 49 94.52 มวี ินยั 94.52 ใฝเ่ รยี นรู้ ๙๕ 89 51 49 94.52 อยู่อย่างพอเพียง 94.52 มุง่ มน่ั ในการทำงาน ๙๕ 89 51 49 94.52 รกั ความเป็นไทย 94.52 มจี ิตสาธารณะ ๙๕ 89 51 49 ๙๕ 89 51 49 ๙๕ 89 51 49 ๙๕ 89 51 49 ๙๕ 89 51 49 ๖) ผลการประเมนิ การอ่าน คิด วเิ คราะห์ของผู้เรยี น ม. ๑ – ๓ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4 ระดับประถมฯ (คน) ระดบั มธั ยมฯ (คน) ผา่ นเฉลี่ย ท้ังหมด ผ่านการประเมิน รอ้ ยละ ประเดน็ การประเมนิ ทง้ั หมด ผา่ นการ ประเมิน 51 49 94.52 รกั ชาติ ศาสนก์ ษตั รยิ ์ 51 49 94.52 ซ่อื สตั ย์สจุ ริต ๙๕ 89 51 49 94.52 มวี ินัย 51 49 94.52 ใฝเ่ รยี นรู้ ๙๕ 89 51 49 94.52 อยู่อย่างพอเพียง 51 49 94.52 มงุ่ มัน่ ในการทำงาน ๙๕ 89 51 49 94.52 รกั ความเป็นไทย 51 49 94.52 มจี ติ สาธารณะ ๙๕ 89 ๙๕ 89 ๙๕ 89 ๙๕ 89 ๙๕ 89

๑๗ ๗) ผลการประเมินสมรรถนะของผู้เรียน ป.๑ – ๖ และ ม.๑ – ๓ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4 ประเดน็ การประเมิน รอ้ ยละจำนวนนกั เรยี นทผี่ ่านการประเมนิ เฉลีย่ ความสามารถในการอ่าน ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ รอ้ ยละ ความสามารถในการส่ือสาร 85.71 ๑๐๐ 90.90 ๑๐๐ 90.47 92.30 94.4 96.0 ๑๐๐ 94.52 40 ความสามารถใน การคดิ คำนวณ 85.71 ๑๐๐ 90.90 ๑๐๐ 90.47 92.30 94.4 96.0 ๑๐๐ 94.52 ความสามารถใน 40 การคิดแกป้ ัญหา 85.71 ๑๐๐ 90.90 ๑๐๐ 90.47 92.30 94.4 96.0 ๑๐๐ 94.52 40 85.71 ๑๐๐ 90.90 ๑๐๐ 90.47 92.30 94.4 96.0 ๑๐๐ 94.52 4 0 ความสามารถในการใช้สื่อ 85.71 ๑๐๐ 90.90 ๑๐๐ 90.47 92.30 94.4 96.0 ๑๐๐ 94.52 เทคโนโลยี 4 0 ความสามารถดา้ นความรู้ 85.71 ๑๐๐ 90.90 ๑๐๐ 90.47 92.30 94.4 96.0 ๑๐๐ 94.52 ความเข้าใจ 40 ความสามารถด้านทักษะชวี ิต 85.71 ๑๐๐ 90.90 ๑๐๐ 90.47 92.30 94.4 96.0 ๑๐๐ 94.52 4 0 เฉลี่ยรอ้ ยละ 85.71 ๑๐๐ 90.90 ๑๐๐ 90.47 92.30 94.4 96.0 ๑๐๐ 94.52 4 0 ๙. แหล่งเรียนรู้ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ๑) ห้องสมุดมีขนาด 120 ตารางเมตร จำนวนหนังสือในห้องสมุด 2,000 เล่ม การสืบค้นหนังสือ และการยืม - คนื ใชร้ ะบบดิวอ้ี จำนวนนักเรยี นทใี่ ช้ห้องสมุดในปีการศึกษาทีร่ ายงาน เฉล่ยี 104 คน ต่อวนั คดิ เปน็ ร้อยละ 58.76 ของนักเรียนทง้ั หมด ๒) หอ้ งปฏบิ ัติการ หอ้ งปฏิบัติการวทิ ยาศาสตร์ จำนวน 1 หอ้ ง หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารคอมพิวเตอร์ จำนวน 1 หอ้ ง หอ้ งปฏบิ ตั ิการทางภาษา จำนวน 0 ห้อง ห้อง (ระบ)ุ - จำนวน - ห้อง ๓) คอมพวิ เตอร์ จำนวน ๒๘ เครื่อง ใช้เพ่ือการเรยี นการสอน 23 เครื่อง ใช้เพื่อสบื ค้นข้อมูลทางอนิ เทอร์เน็ต 23 เครอื่ ง จำนวนนักเรียนท่ีสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตในปีการศึกษาท่ีรายงาน เฉลี่ย 104 คน ต่อ วนั คิดเป็นรอ้ ยละ 58.76 ของนักเรียนท้งั หมด ใช้เพอ่ื การบริหารจัดการ 5 เคร่ือง

๑๘ ๔) แหลง่ เรยี นรภู้ ายในโรงเรยี น ชื่อแหล่งเรียนรู้ สถติ ิการใช้จำนวนครง้ั /ปี ๑. ห้องสมุด ๒๐๐ ๒. หอ้ งวทิ ยาศาสตร์ ๒๐๐ ๓. แปลงเกษตร ๑๐๐ ๔. ห้องสหกรณ์ ๒๐๐ ๕. หอ้ งคอมพวิ เตอร์ ๒๐๐ ๕) แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน ช่อื แหล่งเรียนรู้ สถติ ิการใช้จำนวน ครั้ง/ปี 1. ศูนยเ์ รียนร้เู ศรษฐกจิ พอเพียงบ้านสร้างบง 10 2. วดั สุวรรณประดิษฐ์(บา้ นนาดี)และวัดสามพาดพัฒนาราม (บา้ นสรา้ งบง) 3 3. ทะเลบวั แดง 1 4. ลำหว้ ยสามพาด 2 5. ศาลากลางบ้าน บา้ นนาดีและบา้ นสร้างบง 1 6. รา้ นคา้ ในหมู่บา้ น 6 ๖) ปราชญ์ชาวบ้าน/ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่สถานศึกษาเชิญมาให้ความรู้แก่ครู นักเรียน ในปีการศกึ ษาที่รายงาน ๖.๑ นางคำดวง ศรีเกียรติ ให้ความรู้เรื่อง หมอลำ,ขับร้องสรภัญญะ และการทำพานบายศรี สถติ กิ ารให้ความรใู้ นโรงเรยี นแหง่ นี้ จำนวน 1 คร้งั / ปี ๖.๒ นายเจริญ บุญทัน ให้ความรู้เร่ือง การเป่าแคนและงานจักสาน สถิติการให้ความรู้ใน โรงเรยี นแหง่ น้ี จำนวน 1 ครง้ั / ปี ๖.๓ นายคำ ยอดรัก ให้ความรู้เรื่อง ศาสนพิธี สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จำนวน 1 ครั้ง/ ปี 6.4 นายสายัณห์ ดวงพลจนั ทร์ ให้ความรู้เร่ือง การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 19 สถิติ การให้ความรใู้ นโรงเรยี นแห่งนี้ จำนวน 1 ครั้ง/ปี ๖.5 นางจิรัชยา เคหาไสย ให้ความรู้เรื่อง การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 19 สถิติการใหค้ วามรใู้ นโรงเรียนแห่งน้ี จำนวน 4 ครัง้ /ปี ๖.6 นายสรุ พล พลู ทอง ให้ความรู้เรื่อง เพศวธิ ี วิทยากรลกู เสือ และผนู้ ำทางด้านศิลปวัฒนธรรม สถิติการใหค้ วามรใู้ นโรงเรียนแหง่ นี้ จำนวน 3 คร้ัง/ปี ๖.7 นางมณีวรรณ มณีวรรณ์ ใหค้ วามรู้เรื่อง การแพร่ระบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา 19 สถิติการ ใหค้ วามรู้ในโรงเรยี นแห่งนี้ จำนวน 1 คร้งั /ปี

๑๙ ๑๐. ผลงานดเี ด่นในรอบปที ่ีผา่ นมา ๑๐.๑ ผลงานดีเดน่ ท่ี ชื่อรางวลั หนว่ ยงานที่มอบ ปีที่ไดร้ บั สพฐ. ๒๕๖๔ ๑ จ.ส.อ.สายณั ห์ นามแสง รางวลั เหรยี ญทอง ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา สพป.อด.๒ ๒๕๖๔ ยอดเยย่ี ม ด้านนวตั กรรมฯ สพป.อด.๒ ๒๕๖๔ ๒ นางสาวเพลินจติ ร พลตอื้ สพป.อด.๒ ๒๕๖๔ ไดร้ บั รางวัลเหรียญทองแดง สื่อการเรียนรู้ สพป.อด.๒ ๒๕๖๔ “คลปิ การสอนคิดเลขเรว็ ” ระดับชั้น ป.๑-ป.๓ นางสาวเพลินจติ ร พลตอ้ื ๓ ไดร้ บั รางวลั เหรียญทองแดง ส่ือการเรยี นรู้ “คลิปการสอนคดิ เลขเร็ว” ระดับช้นั ป.๔-ป.๖ นายประภาส จนุ่ หัวโทน ๔ ไดร้ ับรางวลั เหรียญทอง สอื่ การเรียนรู้ “คลิป การสอนคดิ เลขเรว็ ” ระดับชน้ั ป.๔-ป.๖ นายประภาส จุ่นหวั โทน ๕ ได้รับรางวัลเหรยี ญทอง สื่อการเรยี นรู้ “คลิป การสอนคดิ เลขเรว็ ” ระดบั ชัน้ ม.๑-ม.๓ ๑๐.๒ งาน/ โครงการ/ กิจกรรม ทป่ี ระสบผลสำเร็จ ตัวบง่ ช้ี ท่ี ช่อื วตั ถุประสงค์/ วธิ ดี ำเนินการ ความสำเร็จ งาน/ โครงการ/ กจิ กรรม เปา้ หมาย (ยอ่ ๆ) (จำนวน/ ร้อย ละ) 1. โครงการน้อมนำพระบรม ๑. เพอ่ื จดั กจิ กรรม ๑. ข้นั วางแผนดำเนนิ งาน ร้อยละ 100 ราโชบายและหลักปรชั ญา การเรียนรทู้ ี่บูรณาการ (PLAN) ของเศรษฐกจิ พอเพียง หลักปรชั ญาของ ๑.๑ ประชุมบุคลากรใน เศรษฐกิจพอเพยี ง โรงเรยี น ๒. เพ่อื ใหค้ รูและ ๑.๒ เสนอโครงการเพอื่ ขอ นกั เรียนสามารถถอด อนมุ ัติ บทเรยี นจากการเรยี นรู้ ๑.๓ แตง่ ตงั้ คณะกรรมการ ตามหลักปรชั ญาของ 2. ขน้ั ดำเนินการ (DO) เศรษฐกจิ พอเพยี ง ๒.๑ การดำเนินการตาม โครงการ ๓. ข้นั ตรวจสอบ ทบทวน และ

๒๐ ประเมนิ ผล (CHECK) ๓.๑ นเิ ทศ กำกับ ตดิ ตาม ๔. ขนั้ ปรบั ปรุงแกไ้ ข/พัฒนา (ACT) ๔.๑ นำผลการตรวจสอบ ทบทวนและนเิ ทศงานไปใช้ ปรับปรงุ แก้ไข พฒั นาการ ดำเนนิ งานในโอกาสตอ่ ไป ท่ี ชอ่ื วตั ถุประสงค์/ วธิ ดี ำเนินการ ตัวบง่ ชี้ งาน/ โครงการ/ กิจกรรม เป้าหมาย (ยอ่ ๆ) ความสำเรจ็ (จำนวน/ ร้อย 2. โครงการลูกเสอื จติ อาสา 1. เพ่อื สง่ เสรมิ ให้ 1. เปิดกอง ละ) ร้อยละ 100 เยาวชนมคี ุณธรรม 2. กิจกรรมเดนิ ทางไกล เขา้ จรยิ ธรรม ค่ายผจญภัยฐาน 2. เพื่อส่งเสรมิ ให้ 3. บำเพญ็ ประโยชน์ ลกู เสือมีระเบยี บ มี วินยั มีความรัก ความ สามัคคี มคี วาม เขม้ แข็ง อดทน อด กลนั้ รูจ้ กั ชว่ ยเหลอื ผูอ้ น่ื และรูจ้ ักการบา เพญ็ ประโยชน์ สร้าง เสรมิ ประสบการณช์ ีวติ ให้สามารถอยู่ในสงั คม ไดอ้ ย่างมีความสุข 3. เพอื่ ใหล้ กู เสือมี ความรกั ความสนใจ และเหน็ คณุ คา่ ใน กิจกรรมลกู เสอื มาก ย่งิ ขึ้น

๒๑ (ตอ่ ) ตัวบ่งช้ี ท่ี ช่ือ วตั ถุประสงค์/ วิธีดำเนินการ ความสำเร็จ งาน/ โครงการ/ กจิ กรรม เป้าหมาย (ยอ่ ๆ) (จำนวน/ รอ้ ย ละ) 3. โครงการบ้าน 1. เพอื่ ให้นกั เรยี นมี 1.1 ประชมุ แต่งต้ัง ร้อยละ 95.56 นักวทิ ยาศาสตรน์ ้อย ทักษะในการใช้ภาษาท่ี คณะกรรมการดำเนนิ งาน เหมาะสมกบั วัย โครงการบา้ นวทิ ยาศาสตรน์ ้อย 2. เพอื่ ใหน้ ักเรยี นได้มี 1.2 จดั ทำโครงการเพื่อขอ ทกั ษะในการต้ังคำถาม อนุมตั ิ ในเร่อื งทสี่ นใจได้อยา่ ง 1.3 ประชุมนกั เรียนท้ังหมด เหมาะสม เพือ่ ทราบโครงการซง่ึ มีกิจกรรม 3. เพือ่ ให้นกั เรียนใช้ ดังน้ี จนิ ตนาการและ - ประชมุ หารอื ผเู้ กี่ยวข้อง ความคดิ สรา้ งสรรค์ - ทำโครงการผลติ สอื่ การ ในทางทเ่ี หมาะสม เรยี นการสอน 4. เพ่อื ให้นักเรียนใช้ - เตรียมจัดหาวัสดุอปุ กรณ์ ทักษะกระบวนการ - ติดตามและประเมินผล ทางวิทยาศาสตรใ์ น - สรุปและประเมนิ ผล การแกป้ ญั หาและคดิ 1.4 สรปุ ผล/รายงานผล สร้างสรรค์องคค์ วามรู้ โครงการ 4. โครงการอา่ นออก เขียนได้ ๑. เพอื่ ใหน้ ักเรียน 1.1 เสนอโครงการ ร้อยละ ๘๐ ตระหนักถึงความสำคัญ 1.2 จดั ประชุมผู้มสี ว่ นเกย่ี วขอ้ ง ของการอา่ น นสิ ัยรกั เพือ่ ชี้แจงขอบข่ายการทำงานและ การอา่ นและการเขยี น จัดทำปฏทิ นิ การปฏบิ ัตงิ าน เพอ่ื พัฒนาตนเองให้ 1.3 มอบหมายผู้รับผิดชอบ สงู ขึ้น 1.4 ดำเนินงาน 2. เพ่อื สง่ เสริมให้ 1.4.1 คลนิ ิกรกั การอ่าน นักเรยี นไดพ้ ัฒนาทกั ษะ 1.4.2 กจิ กรรมวันภาษาไทย ภาษาไทยเตม็ ตาม 1.4.3 คลนิ ิกหมอภาษา ศักยภาพ สามารถเข้า 1.5 ประเมนิ ผล/รายงาน แข่งขันกิจกรรมตา่ ง ๆ

๒๒ (ตอ่ ) ตวั บ่งช้ี ท่ี ช่อื วัตถุประสงค์/ วิธีดำเนนิ การ ความสำเรจ็ งาน/ โครงการ/ กิจกรรม เปา้ หมาย (ยอ่ ๆ) (จำนวน/ ร้อย ละ) 5. โครงการพฒั นาผู้เรียนเพอ่ื 1. เพ่อื ยกระดบั ๑. วิเคราะห์ผลการทดสอบ O- ร้อยละ 100 เพิ่มผลสมั ฤทธิ์ ผลสมั ฤทธทิ์ างการ NET NT และ RT ๒. กำหนดจุดพฒั นาในตวั ช้ีวดั ท่ี เรยี นของนกั เรียน ตอ้ งปรบั ปรุงเร่งด่วน โรงเรียนบา้ นนาดสี รา้ ง ๓. นำตวั ชี้วัดที่ต้องปรบั ปรงุ บงในปกี ารศึกษา เรง่ ดว่ น วิเคราะห์ เพอ่ื ปรับวธิ ี 2564 สงู ข้นึ เรยี นของนักเรียน เปลยี่ นวิธสี อน 2. เพอื่ พัฒนาการของ ของครูให้สอดคลอ้ งกบั การวัด เด็กปฐมวยั ทั้ง 4 ดา้ น ประเมินผลตามหลักสูตร ไดแ้ กพ่ ัฒนาการดา้ น แกนกลาง และแนวทางการ อารมณ์ สงั คม จติ ใจ ประเมินของสถาบันทดสอบทาง และสติปัญญามี การศกึ ษาแหง่ ชาติ พฒั นาการสงู ข้ึน ๔. จัดครูท่ีมคี วามรู้ ความสามารถ ในแตล่ ะกลุ่มสาระการเรียนรู้ รบั ผดิ ชอบสอนซอ่ มเสรมิ ตาม ตารางหรอื ตามความเหมาะสม ของโรงเรยี นโดยครูนำตวั อยา่ ง ข้อสอบในปที ่ีผา่ นมา และดาวน์ โหลดข้อสอบจากเว็บไซต์ สำนักงานทดสอบแห่งชาติมาให้ นกั เรียนฝกึ คดิ วเิ คราะห์ขอ้ สอบ ๕. นักเรียนช้นั ป.๖ และช้ัน ม.๓ สมัครสอบ O-net ทกุ คน ป.๖ เขา้ สอบ ๑๓ คน ม.๓ เขา้ สอบ ๘ คน ขาดสอบ – คน ป.๓ สมัคร สอบ NT 11 คน 6. นำนักเรยี นเข้าสอบ O-NET และ NT ตามตาราง และ กำหนดการสอบ

๒๓ (ต่อ) ตวั บง่ ช้ี ท่ี ชือ่ วัตถุประสงค์/ วธิ ีดำเนินการ ความสำเร็จ งาน/ โครงการ/ กจิ กรรม เป้าหมาย (ยอ่ ๆ) (จำนวน/ รอ้ ย ละ) 7. เน่ืองจากปีน้ีมสี ถานการณ์โค วิด - 19 โรงเรียนจงึ จัด กิจกรรมการเรียนการสอนแบบ เข้มข้นเพอื่ พฒั นาผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นรูท้ กุ กล่มุ สาระ ตามตารางเรยี นและปฏิทินทาง วชิ าการของแตล่ ะภาคเรยี นท่ี เปล่ียนแปลงตามสถานการณ์ที่ เกิดขน้ึ ใช้การจดั การเรียนการ สอนในรูปแบบที่หลากหลาย อาทิเช่น On Site, On Line, On Hand, On School Line และ On-demand โดยใช้ แอพพลิเคชน่ั (Application) ตา่ ง ๆ ช่วยในการจดั การเรยี น การสอน

๒๔ (ตอ่ ) ตวั บง่ ช้ี ท่ี ชอ่ื วัตถปุ ระสงค์/ วิธดี ำเนนิ การ ความสำเรจ็ งาน/ โครงการ/ กจิ กรรม เปา้ หมาย (ย่อ ๆ) (จำนวน/ ร้อย ละ) 6. โครงการพัฒนาหลกั สตู ร 1. โรงเรียนมหี ลักสูตร ๑. วเิ คราะหห์ ลกั สตู ร ร้อยละ 100 สถานศึกษา สถานศกึ ษาฉบบั สถานศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นนาดี ปรบั ปรงุ ทถ่ี ูกต้องและ สร้างบง พทุ ธศกั ราช 2563 เปน็ ปัจจุบนั ตาม ตามหลกั สูตร บริบท จดุ เนน้ แกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ของโรงเรียน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั 2. โรงเรียนมีระเบียบ ปรับปรุง พ.ศ. 2560) วา่ ดว้ ยการวดั และ ๒. กำหนดสว่ นที่ตอ้ งปรบั ปรุง ประเมินผล ฉบับ 3. ปรบั ปรุงหลักสตู ร ปรบั ปรุงที่ถกู ต้องและ สถานศึกษา โรงเรียนบ้านนาดี เป็นปจั จบุ นั สร้างบง พุทธศกั ราช 2564 3. โรงเรียนมีเอกสาร ตามหลักสูตร ประกอบหลกั สูตรครบ แกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน ทกุ กลมุ่ สาระการ พุทธศักราช 2551 (ฉบบั เรยี นรู้ คู่มอื การจดั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) กิจกรรมพฒั นา ๔. ปรบั ปรุงหลักสตู รสาระการ ผู้เรียน เรยี นรู้ใหส้ อดคลอ้ งกับหลักสูตร สถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านนาดี สร้างบง พทุ ธศกั ราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560)

๒๕ (ต่อ) ตวั บง่ ช้ี ท่ี ชอื่ วตั ถปุ ระสงค์/ วธิ ีดำเนนิ การ ความสำเรจ็ งาน/ โครงการ/ กิจกรรม เป้าหมาย (ยอ่ ๆ) (จำนวน/ ร้อย ละ) 7. โครงการจดั ทำแผนการ 1. เพ่ือสง่ เสริมให้ครู 1. ประชมุ คณะครเู พอื่ จดั ทำ ร้อยละ 95.83 จัดการเรยี นรู้/แผนการจดั ทุกคนจดั ทำแผนการ แผนการจัดการเรยี นรู้/แผนการ ประสบการณ์และ จดั การเรียนรู้/แผนการ จดั ประสบการณ์ (PLC) กำหนดการเรยี นร/ู้ จดั จดั ประสบการณ์ 2. คณะครจู ดั ทำกำหนดการ ประสบการณ์ 2. เพ่ือสง่ เสริมใหค้ รู เรยี นร/ู้ กำหนดจดั ประสบการณ์ ทกุ คนจดั ทำ ทุกรายวิชาทีต่ นเองสอน กำหนดการเรยี นรู/้ จดั 3. คณะครจู ดั ทำแผนการ ประสบการณ์ จัดการเรยี นรู/้ แผนการจดั ประสบการณ์ คนละ 1 รายวชิ าทต่ี นเองสอน 4. คณะครสู ่งแผนการจดั การ เรยี นร/ู้ แผนการจดั ประสบการณ์ ตอ่ ผู้บริหาร สถานศึกษากอ่ นทำการสอน เทอมละ 1 ครัง้ 5.นำเสนอแผนการจัดการ เรยี นร/ู้ แผนการจดั ประสบการณ์ ท่เี ปน็ แผน Active Learning และสาธติ การสอนตอ่ คณะกรรมการ นเิ ทศภายในสถานศึกษา เทอม ละ 1 คร้ัง 6.ประเมนิ ผลและสรปุ ผลการ ดำเนินงาน 7.จัดทำรายงานผลการ ดำเนนิ งานตามโครงการ ประจำปี 2564

๒๖ (ต่อ) ตวั บ่งชี้ ท่ี ชอ่ื วัตถุประสงค์/ วธิ ีดำเนินการ ความสำเรจ็ งาน/ โครงการ/ กจิ กรรม เปา้ หมาย (ยอ่ ๆ) (จำนวน/ ร้อย ละ) 8. โครงการส่งเสรมิ การใช้/ เพ่ือสง่ เสริมการใช/้ 1. การประชมุ ครูเพอื่ ส่งเสริม ร้อยละ 90 พฒั นาส่ือ เทคโนโลยี และ พฒั นาสือ่ เทคโนโลยี การใช/้ พัฒนาสื่อเทคโนโลยี แหลง่ เรยี นรู้ และแหล่งเรียนรู้ ของ และแหลง่ เรยี นรแู้ ละปรบั ปรุง ครใู นสถานศกึ ษาให้ (PLC) เหมาะสมตอ่ การเรียน 2. การผลิตสอื่ ต่าง ๆ การสอนและมี 3. การนำสอ่ื ไปใชก้ ับการเรียน ประสทิ ธิภาพ การสอน 9. โครงการนเิ ทศภาย 1. เพื่อส่งเสรมิ ให้ครมู ี 1. กำหนดตารางการนิเทศ รอ้ ยละ 100 ความรคู้ วามเข้าใจ เยย่ี มชั้นเรยี น และทำแบบ เกย่ี วกับวธิ ีการจดั การ ประเมินการนิเทศการจดั การ เรียนการสอน และ เรียนการสอน สามารถนำไปปรับปรงุ 2. การเยีย่ มนเิ ทศชัน้ เรยี น กิจกรรมการเรยี นการ 3. สงั เกตการสอน สอนให้มีประสทิ ธภิ าพ 4. การจดั สอนแทน 2. เพอ่ื สง่ เสริมใหค้ รู 5. รายงานผลการเยี่ยมนิเทศ ไดร้ บั การพฒั นาอยา่ ง ตอ่ เน่ือง และนำมา พฒั นางานการจดั กระบวนการเรยี นการ สอนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 3. นักเรียนมีความรู้ เต็มศกั ยภาพตาม มาตรฐาน

๒๗ (ตอ่ ) ตัวบง่ ช้ี ท่ี ชอ่ื วตั ถปุ ระสงค/์ วิธดี ำเนินการ ความสำเรจ็ งาน/ โครงการ/ กิจกรรม เปา้ หมาย (ย่อ ๆ) (จำนวน/ ร้อย ละ) 10. โครงการส่งเสรมิ กิจกรรม 1. เพื่อพฒั นาผเู้ รยี น 1. ข้นั วางแผน (PLAN) รอ้ ยละ ๑๐๐ นกั เรยี น ดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ วางแผนจดั กจิ กรรมเลือกตง้ั สงั คม และสตปิ ัญญา ประธานนักเรยี น 2. เพ่ือฝึกทักษะภาวะ กิจกรรมมอบประกาศนยี บตั ร ผู้นำผู้ตามใหแ้ ก่ และปจั ฉิมนิเทศมธั ยมศกึ ษาปที ี่ นกั เรียน กลา้ คิด กลา้ ๓ กจิ กรรรมไหว้ครกู ำหนดจดั ทำ และกล้าแสดงออก กจิ กรรมสง่ ท้ายปีเก่าตอนรบั ปี ในสิง่ ท่ีถูกต้อง ใหม่ เตรียมงบประมาณ 3. เพื่อใหน้ ักเรยี นรู้จกั 2.ขั้นดำเนนิ การ (DO) บำเพญ็ ตนให้เป็น ดำเนนิ การตามแผนท่วี างไว้ ประโยชนแ์ ก่สงั คม เลือกตั้งประธานนกั เรียน สว่ นรวมและเห็น คำส่ังแตง่ ตง้ั สภานักเรียน ออก คุณค่าของการอนรุ กั ษ์ คำสง่ั มอบประกาศนยี บตั รและ สิ่งแวดล้อม ปัจฉมิ นเิ ทศมธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ 4. เพื่อใหน้ กั เรียนมี และดำเนนิ การ จดั กจิ กรรมไหว้ ทกั ษะในการปฏบิ ัติ ครูกจิ กรรมสง่ ทา้ ยปีเก่าตอนรับ กิจกรรมและอยู่รว่ มกับ ปีใหม่ คนอื่นไดอ้ ยา่ งมี 3. ขนั้ ตรวจสอบ (CHECK) ความสุข ตรวจสอบ แกไ้ ข เพื่อนำมา ปรบั ปรงุ ในปตี อ่ ๆ ไป 4. ขั้นรายงาน (ACTION) รายงานผลการดำเนินงานตาม โครงการ

๒๘ (ต่อ) ตัวบ่งชี้ ท่ี ชอ่ื วตั ถปุ ระสงค์/ วิธดี ำเนนิ การ ความสำเรจ็ งาน/ โครงการ/ กิจกรรม เป้าหมาย (ยอ่ ๆ) (จำนวน/ ร้อยละ) 11. โครงการระบบการดูแล 1. เพ่อื ให้โรงเรยี นมี ๑. จดั ประชุมครปู ระจำชน้ั เพอื่ วาง ร้อยละ 100 ช่วยเหลอื นกั เรียน ระบบดแู ลช่วยเหลอื แผนการดำเนนิ งาน จัดระบบ การ ดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น ตลอดปี นักเรยี นโดยมี กระบวนการวิธกี าร การศึกษา 2. เก็บผลการคัดกรองนักเรียน โดย และเครือ่ งมือทมี่ ี จดั กลุ่มนกั เรียนเปน็ ๓ กลุ่ม ได้แก่ คุณภาพไดม้ าตรฐาน กลุม่ ปกติ กลุม่ เส่ยี ง กลมุ่ มีปัญหา สามารถตรวจสอบได้ 3. ส่งเสรมิ พัฒนาการนกั เรยี นท่อี ยู่ 2. เพ่ือส่งเสรมิ ให้ ในความดแู ลของครูประจำช้ัน ทัง้ นักเรียนเปน็ คนดมี ี กลุ่มปกติ กลมุ่ เสีย่ ง กลมุ่ มีปญั หา ความสขุ มี 4. สร้างเคร่อื งมือเพือ่ สง่ เสรมิ ความสามารถทาง นกั เรียน คือ จดั ประชุมผ้ปู กครอง สตปิ ญั ญาเพียบพร้อม นกั เรียน จดั ประชุมคณะกรรมการ ด้วยคุณธรรมจรยิ ธรรม สถานศึกษาเพ่ือพิจารณาทุน และดำรงตนอยใู่ น 5. จดั กิจกรรมเย่ียมบ้านนักเรียน สังคมอย่างมีความสุข 6. จดั กจิ กรรมโฮมรูม 3. เพื่อส่งเสริมครู 7. จดั กจิ กรรมส่งเสริมความถนดั ผปู้ กครอง ใหม้ ี และความสนใจ ศักยภาพในการรว่ มกนั ๘. จดั กจิ กรรมเพอื่ นช่วยเพอ่ื น พ่ี ดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น สอนนอ้ งอา่ น 9. จดั กิจกรรมสอนซ่อมเสริม อยา่ งเป็นระบบ 10. จัดกจิ กรรมอบรมประจำ สปั ดาห์ ๑๑. การป้องกันและการช่วยเหลือ ๑๒. จัดทำบนั ทึกการใหค้ ำปรึกษา นักเรียน

๒๙ (ตอ่ ) ท่ี ชือ่ วัตถปุ ระสงค์/ วธิ ดี ำเนินการ ตวั บง่ ช้ี งาน/ โครงการ/ กิจกรรม เป้าหมาย (ยอ่ ๆ) ความสำเรจ็ (จำนวน/ 12. โครงการโรงเรียนสง่ เสรมิ 1. ใหน้ กั เรียนมี ๑๓. จดั ทำบนั ทึกการศึกษารายกรณี สุขภาพ สุขภาพกายและจติ ที่ดี ๑๔. จดั หาทุนการศกึ ษา รอ้ ยละ) ตามเกณฑ์มาตรฐาน ๑๕. จดั ทำบันทึกการดูแลช่วยเหลือ 2. ส่งเสริมความ ต้านสขุ ภาพและอนามัยนักเรียน ร้อยละ 90 รว่ มมือระหวา่ ง ๑๖. จัดมอบทนุ การศึกษา โรงเรยี น ผ้ปู กครอง 1. ประชมุ แตง่ ตงั้ คณะกรรมการ และชมุ ชนใหม้ บี ทบาท ดำเนนิ งานโรงเรยี นส่งเสริมสุขภาพ รว่ มกัน 2. จดั ทำโครงการเพอ่ื ขออนมุ ตั ิ 3. เพิม่ ผลสมั ฤทธิ์ 3. ประชมุ นกั เรยี นทั้งหมดเพ่ือทราบ ทางการเรียนของ โครงการซ่งึ มกี ิจกรรมดงั นี้ นักเรียน 4. นักเรียนท่เี จ็บป่วย - ชง่ั นำ้ หนัก/วัดสว่ นสงู ในโรงเรยี นได้รบั การ - แปรงฟันหลงั รบั ประทานอาหาร ดูแลและปฐมพยาบาล กลางวันทกุ วนั ตามควรแก่กรณี - ตรวจสุขภาพปากและฟนั 5. นกั เรยี นไดร้ ับการ นักเรียน ดแู ลทุกขั้นตอนตาม - คดั กรองนักเรยี นทมี่ ภี าวะโลหติ ระบบดแู ลชว่ ยเหลือ จาง นักเรยี น - กิจกรรมกายบริหารทุกเช้า - ระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น - ตรวจสุขภาพนกั เรยี นประจำ สัปดาห์ - แจ้งข่าวสารสขุ ภาพสัปดาหล์ ะ ครง้ั - กิจกรรมควบคุมและปอ้ งกนั โรค ไข้เลอื ดออก - กจิ กรรมคุ้มครองผู้บริโภค - ดูแลนักเรยี นทเ่ี จบ็ ปว่ ยใน โรงเรียนและนำสง่ สถานบริการ สุขภาพ 4. สรุปผล/รายงานโครงการ

๓๐ (ต่อ) ชือ่ วธิ ดี ำเนินการ ตวั บ่งชี้ ท่ี งาน/ โครงการ/ วัตถปุ ระสงค์/ เป้าหมาย (ย่อ ๆ) ความสำเรจ็ (จำนวน/ กิจกรรม ร้อยละ) 13. โครงการส่งเสรมิ กีฬา 1. เพอ่ื ให้นกั เรยี นกลา้ 1. เสนอโครงการ รอ้ ยละ 100 นักเรยี น แสดงออกและแสดง 2. จดั ประชมุ ผู้มสี ว่ นเก่ยี วขอ้ งเพอ่ื ความสามารถเฉพาะตวั ชีแ้ จงขอบขา่ ยการทำงานและจดั ทำ 2. เพอ่ื ใหน้ ักเรียนมีความร้ใู น ปฏทิ ินการปฏิบัตงิ าน เร่ืองกตกิ าของกฬี าประเภท 3. มอบหมายผูร้ ับผิดชอบ ต่าง ๆ 4. ดำเนินงาน 3. เพอ่ื พฒั นาสุขภาพทัง้ ทาง 4.1 ฝกึ ซอ้ มกีฬาหลงั เลกิ เรยี น รา่ งกายและจิตใจ 4.2 ชมุ นุมกฬี า 4. เพ่อื สง่ เสริมความสามคั คี 4.3 เข้ารว่ มการแขง่ ขันกลุ่ม ในกลมุ่ สี เครือข่าย 5. ให้ผู้เรียนไดร้ บั 5. ประเมนิ ผล/รายงาน ประสบการณ์จากการเข้าร่วม กจิ กรรม 14. โครงการพฒั นา ๑. เพือ่ ใหโ้ รงเรยี นมี ๑. ขน้ั วางแผนดำเนินงาน (PLAN) ร้อยละ 100 ปรบั ปรุงอาคาร สภาพแวดล้อมทดี่ ี มี ๑.๑ ประชมุ บคุ ลากรใน สถานที่ และ บรรยากาศทีเ่ อื้อต่อการจัด โรงเรียน สภาพแวดลอ้ มที่ กิจกรรมการเรยี นรู้ ๑.๒ เสนอโครงการเพื่อขอ สง่ เสริมการเรยี นรู้ ๒. เพ่อื ใหค้ ณะครู นกั เรยี น และชุมชน มสี ถานท่ีเพยี งพอ อนุมตั ิ ๑.๓ แตง่ ตัง้ คณะกรรมการ ในการจดั กจิ กรรมตา่ ง ๆ 2. ขั้นดำเนนิ การ (DO) พร้อมทงั้ ใช้จัดกิจกรรมการ ๒.๑ การดำเนนิ การตาม เรยี นรทู้ กุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ โครงการ ในห้องเรยี น และนอก ๓. ข้นั ตรวจสอบ ทบทวน และ หอ้ งเรยี น เรียนอย่างมี ประเมนิ ผล (CHECK) ความสขุ ๓.๑ นิเทศ กำกบั ตดิ ตาม ๓. เพื่อพฒั นาปรับปรงุ ระบบ ๔. ขั้นปรับปรงุ แก้ไข/พัฒนา สาธารณปู โภค ทช่ี ำรดุ ทรุด (ACT) โทรมหรืออย่ใู นภาวะเสยี่ งให้มี ๔.๑ นำผลการตรวจสอบ ความปลอดภัยสงู สดุ และ ทบทวนและนิเทศงานไปใช้ปรบั ปรงุ พรอ้ มใช้งานอยู่เสมอ แก้ไข พัฒนาการดำเนินงานใน โอกาสต่อไป

๓๑ (ตอ่ ) ชอ่ื วัตถุประสงค์/ วธิ ดี ำเนินการ ตวั บง่ ช้ี ท่ี งาน/ โครงการ/ เปา้ หมาย (ย่อ ๆ) ความสำเรจ็ (จำนวน/ รอ้ ย กิจกรรม 1. เพื่อเสริมสรา้ ง 1. การประชุมกรรมการสถานศกึ ษา 15. โครงการสง่ เสริม ละ) ความสมั พันธอ์ นั ดี 2. กิจกรรมวนั มาฆบูชา ร้อยละ 100 ความสมั พันธ์บ้าน วัด ระหว่างบา้ น วดั 3. กจิ กรรมบุญมหาชาติ ร้อยละ 95.83 โรงเรยี น (บวร) โรงเรยี น 16. โครงการงานประกัน คุณภาพการศกึ ษา 2. เพื่อสง่ เสริม คุณธรรมจริยธรรมแก่ ผูบ้ รหิ าร คณะครู บุคลากร และคนชมุ ชน 3. เพอ่ื สรา้ งเครอื ขา่ ย ชมุ ชนร่วมวา่ ง แผนพฒั นาโรงเรยี น 1. เพอื่ ดำเนนิ การ ๑. ประชมุ คณะกรรมการดำเนนิ การ ระบบการประกัน จดั ทำแผนพฒั นาการศึกษาฯ คณุ ภาพภายใน ๒. จัดทำแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี สถานศกึ ษาอยา่ ง 2564 ตอ่ เนอ่ื ง ๓. เสนอแผนพฒั นาการศึกษาฯและ 2. เพ่อื รองรบั การ แผนปฏบิ ัติการฯ ตอ่ คณะกรรมการ ประเมินภายในและ สถานศกึ ษา ภายนอก ๔. ดำเนนิ การตามแผนปฏิบัติการ 3. เพอ่ื รายงานและ ประจำปี 2564 เผยแพร่ผลการ ๕. ตดิ ตามการปฏิบัติงานตาม ดำเนนิ งานตอ่ ผทู้ ่ี แผนปฏบิ ัติการประจำปี 2564 เกี่ยวขอ้ ง ๖. ประเมินผลและสรุปผลการ 4. เพื่อนำผลการ ดำเนนิ งาน ประเมินท้ังภายในและ ๗. จัดทำรายงานผลการพัฒนา ภานอกไปปรบั ปรุง คณุ ภาพการจัดการศกึ ษา ประจำปี พัฒนาอย่างตอ่ เน่อื ง 2564 ๘. จดั ทำเอกสารเผยแพรผ่ ลการ พฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษา ประจำปี2564

๓๒ (ตอ่ ) ท่ี ชอื่ วัตถุประสงค/์ วธิ ีดำเนินการ ตวั บ่งช้ี งาน/ โครงการ/ กิจกรรม เปา้ หมาย (ย่อ ๆ) ความสำเรจ็ (จำนวน/ ร้อย 17. โครงการการพัฒนาครู 1. เพ่ือพัฒนาครใู หม้ ี ๑. สง่ เสริมคณะครเู ขา้ รว่ ม และบุคลากรฯ ละ) ร้อยละ 100 ความรคู้ วามเขา้ ใจใน กจิ กรรมชุมชนการเรยี นรู้ทาง การจดั กิจกรรมการ วิชาชพี (Professional เรียนการสอนที่ Learning Community : หลากหลาย PLC) และเนน้ ผู้เรยี นเป็น ๒. ส่งเสริมคณะครูเขา้ รว่ ม สำคัญ อบรมหลกั สตู ร Online ตา่ ง ๆ 2. เพือ่ พฒั นาศกั ยภาพ ทจ่ี ดั ขึ้น ของครูและบุคลากร ๓. เสรมิ สรา้ งความรคู้ วาม ทางการศึกษาให้มี เขา้ ใจตามหลกั เกณฑ์และ ความรู้ ทักษะในการ วิธกี ารประเมินตำแหน่งและ ปฏิบัตงิ านสามารถ วิทยฐานะ ข้าราชการครแู ละ ปรบั เปล่ยี นได้ตาม บุคลากรทางการศึกษาตาม สภาวะการ ข้อตกลงในการพฒั นางาน เปลยี่ นแปลง ๔. ประชุมแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ ๙ 3. เพ่อื ใหค้ รูสามารถ จดุ เนน้ กา้ วสคู่ วามเปน็ เลศิ นำเทคโนโลยีมาใช้ใน Best Practice กลุม่ เครอื ขา่ ย การพฒั นาตนเองและ โรงเรียนเสอเพลอผาสุก ผ้เู รยี น 4. เพอื่ ให้ครูและ บคุ ลากรทางการศกึ ษา ให้มีคณุ ธรรม จริยธรรม และปฏิบัติ ตนเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ี เปน็ ผู้มจี ติ สานกึ ในการ เสียสละเพอื่ การทางาน ยึดม่นั ในระเบยี บวินยั รับผิดชอบต่อหนา้ ที

๓๓ ๑๑. ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอก : ผลการประเมิน SAR ภายใตส้ ถานการณ์ COVID – 19 การศกึ ษาปฐมวยั มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเด็ก จุดเน้น เด็กมีการพัฒนาการในด้านตา่ ง ๆ อยา่ งสมวัย ผลการพิจารณา ตวั ช้ีวดั สรปุ ผลประเมิน  ๑. มีการระบุเปา้ หมายคณุ ภาพของเด็กปฐมวยั  ปรบั ปรงุ (๐-๓ ขอ้ )  ๒. มีการระบวุ ธิ พี ัฒนาคณุ ภาพของเด็กปฐมวยั อยา่ ง  พอใช้ (๔ ขอ้ ) เป็นระบบตามเป้าหมายการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั  ดี (๕ ข้อ)  ๓. มพี ัฒนาการสมวัยตามเป้าหมายการพัฒนาเดก็ ปฐมวัย  ๔. มีการนำผลประเมนิ คณุ ภาพของเด็กปฐมวยั มา  พฒั นาเด็กปฐมวัยให้มีพฒั นาการสมวยั ๕. มกี ารนำเสนอผลการประเมินคณุ ภาพของเดก็ ปฐมวัยตอ่ ผ้ทู ่ีเกย่ี วขอ้ ง ขอ้ เสนอแนะในการเขยี น SAR ให้ไดผ้ ลประเมินระดับสงู ขึน้ สถานศึกษาควรระบุเป้าหมายคุณภาพของเด็กปฐมวัย ลงใน SAR ให้ชัดเจน สอดคล้องกับจุดเน้นท่ี กำหนดหรือจุดเน้นอน่ื ของสถานศึกษา เช่น สถานศกึ ษากำหนดจุดเน้นไวว้ ่า เด็กมีการพัฒนาการในด้านต่าง ๆ ทั้ง ๔ ด้านคือด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา สถานศึกษาอาจกำหนดเป้าหมายไว้ว่า เด็ก ปฐมวัยมีพัฒนาการในด้านต่าง ๆ สูงขึ้นเหมาะสมตามวัยครบร้อยละ ๑๐๐ เป็นต้นสถานศึกษาควรกำหนด โครงการพัฒนาระดับปฐมวัยให้เป็นรูปธรรม บรรจุในแผนปฏิบัติการ กำหนดเป้าหมายของโครงการ ตัวชี้วัด ความสำเร็จของโครงการ และการประเมินผล เพื่อให้การพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัยมีความเป็นระบบอย่าง สมบูรณ์ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ จุดเน้น การบริหารแบบมีสว่ นรว่ ม ผลการพิจารณา ตวั ชวี้ ัด สรุปผลประเมนิ  ๑. มีการวางแผนการดำเนินการในแต่ละปกี ารศกึ ษา  ปรับปรุง (๐-๓ ขอ้ )  ๒. มกี ารนำแผนการดำเนนิ การไปใช้ดำเนนิ การ พอใช้ (๔ ข้อ)  ๓. มีการประเมินผลสมั ฤทธข์ิ องการดำเนนิ การตามแผน  ดี (๕ ข้อ) ๔. มกี ารนำผลการประเมินไปใช้ในการปรบั ปรุงแกไ้ ขใน  ปกี ารศกึ ษาต่อไป ๕. มีการนำเสนอผลการบริหารจดั การของสถานศกึ ษา  ให้ผมู้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสียไดร้ บั ทราบ

๓๔ ข้อเสนอแนะในการเขียน SAR ให้ได้ผลประเมินระดับสูงขน้ึ สถานศึกษาควรระบุข้อมูลใน SAR เพิ่มเติมในของวิสัยทัศน์ควรระบุให้ชัดเจนว่า สถานศึกษากำหนด วสิ ยั ทัศน์ไว้อยา่ งไร รวมทั้งระบพุ ันธกจิ และเปา้ หมายในการบรหิ ารและการจดั การให้ชัดเจน เชน่ สถานศกึ ษามี เป้าหมายในด้านการบริหารและการจัดการในการจัดให้บริการข้อมูลสาร สนเทศเพ่ือการศึกษาให้เป็นระบบ ครบทั้ง ๔ งานตามขอบข่ายของงานบริหารสถานศึกษาภายในปีการศึกษา ๒๕๖๔ เป็นต้น หรืออาจมีการ กำหนดเป้าหมายการบริหารงานด้านบุคลากร เช่น ครูและบุคลากรทุกคนได้รับการอบรมเพ่ือพัฒนาตนเอง จากหนว่ ยงานที่เกี่ยวข้องจัดขึ้น อย่างน้อยคนละ ๒๐ ชั่วโมงภายในปีการศึกษา๒๕๖๓สถานศึกษาควรระบุผล การดำเนนิ งานและเปรียบเทียบกับเปา้ หมาย ว่าเป็นไปตามแผน สูงหรอื ต่ำกว่าแผนท่ีกำหนด และนำเสนอการ ใช้ผลการประเมินไปปรับปรุงหรือพัฒนาอย่างไรให้ชัดเจนสถานศึกษาควรระบุข้อมูลใน SAR เพิ่มเติม ใน ประเด็นของใช้ผลการประเมินและหรือขอ้ เสนอแนะจากการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบท่ีสาม มาใช้พัฒนา หรอื ปรบั ปรุงอยา่ งไร เพ่อื พฒั นาคณุ ภาพผลสมั ฤทธิ์ในดา้ นตา่ ง ๆ ใหส้ ูงขน้ึ มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณ์ท่เี นน้ เด็กเปน็ สำคญั จุดเนน้ จดั ประสบการณ์ที่ส่งเสรมิ ใหเ้ ดก็ มพี ัฒนาการทกุ ด้านอย่างสมดลุ เตม็ ศักยภาพ ผลการพจิ ารณา ตัวชว้ี ัด สรุปผลประเมนิ ๑. ครมู กี ารวางแผนการจัดประสบการณก์ าร  ปรบั ปรงุ (๐-๓ ข้อ)  เรยี นรู้รายปีครบทกุ หน่วยการเรยี นรู้ ทกุ ชนั้ ปี  พอใช้ (๔ ขอ้ ) ๒. ครูทกุ คนมีการนำแผนการจดั ประสบการณ์  ดี (๕ ขอ้ )  การเรยี นรู้ไปใชใ้ นการจดั ประสบการณ์โดยใช้สอ่ ื เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง่เรียนรูท้ เ่ี อ้อื ต่อ  การเรยี นรู้  ๓. มกี ารตรวจสอบและประเมินผลการจัด  ประสบการณอ์ ยา่ งเป็นระบบ ๔. มกี ารนำผลการประเมินมาพฒั นาการจดั ประสบการณ์ของครอู ย่างเปน็ ระบบ ๕. มีการแลกเปลยี่ นเรยี นร้แู ละให้ข้อมูล ปอ้ นกลับเพอ่ื พัฒนาปรับปรุงการจดั ประสบการณ์ ขอ้ เสนอแนะในการเขียน SAR ให้ได้ผลประเมินระดับสงู ขน้ึ สถานศึกษาควรระบุข้อมูลลงใน SAR ให้ชัดเจน ในประเด็นของการกำหนดจดุ เนน้ ของการจัดการการ สอนท่ีเนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ ควรระบุโครงการ/ กิจกรรมท่ีใช้ในการดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายตามจดุ เน้นท่ี กำหนดหรือจุดเน้นอ่ืนของสถานศึกษาสถานศึกษาควรเพ่ิมเติมข้อมูลลงใน SAR เพ่ิมเติม คือเครื่องมือที่ใช้ใน การวัดและประเมินผลการดำเนินงานมีผลการประเมินการดำเนินงานและเปรียบเทียบกับเป้าหมาย ว่ามี สัดส่วนท่ีเพิ่มข้ึนอย่างไร อาจยกตัวอย่างเครื่องมือท่ีใช้ในการประเมินที่สอดคล้องกับจุดเน้นที่กำหนด ให้เห็น อย่างชัดเจนสถานศึกษาควรระบขุ ้อมลู ใน SAR เพ่ิมเติม ถึงการนำข้อมลู จากการประเมินผลไปใช้ในการพัฒนา หรอื ปรบั ปรงุ เชน่ มเี ป้าหมายใหค้ รจู ดั ทำส่อื การเรียนการสอนอยา่ งน้อยคนละ ๒๐ ชิ้น/ ภาคเรียน แตจ่ ากการ

๓๕ ประเมินผลพบว่าครูบางส่วนไม่สามารถผลิตได้ตามกำหนด จึงได้กำหนดกิจกรรมร่วมด้วยช่วยกัน เพื่อแก้ไข ปัญหาดังกล่าว โดยให้ครูรวมกลุ่มกัน แสดงความคิดเห็นร่วมกันเพ่ือหาข้อสรุปว่าควรผลิตสื่ออะไรท่ีเหมาะสม สอดคลอ้ งกับบทเรยี น และลงมือผลิตสื่อ มกี ารรายงานผลการดำเนินงานตอ่ ผูบ้ ริหารศกึ ษา เป็นต้น ระดบั การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรยี น จุดเนน้ ผู้เรยี นมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นสงู ขึ้นทกุ กลุ่มสาระ ผลการพจิ ารณา ตวั ชีว้ ดั สรุปผลประเมนิ  ๑. มกี ารระบุเปา้ หมายคณุ ภาพของผู้เรยี น  ปรบั ปรงุ (๐-๓ ข้อ)  ๒. มีการระบวุ ธิ พี ฒั นาคณุ ภาพของผเู้ รียนอย่าง พอใช้ (๔ ขอ้ ) เป็นระบบตามเปา้ หมายการพัฒนาผเู้ รยี น  ดี (๕ ขอ้ )  ๓. มผี ลสัมฤทธ์ิของผู้เรยี นตามเป้าหมายการ พฒั นาผเู้ รยี น  ๔. มีการนำผลประเมนิ คณุ ภาพของผู้เรียนมา พฒั นาผู้เรียนด้านผลสัมฤทธิใ์ ห้สูงขน้ึ  ๕. มกี ารนำเสนอผลการประเมนิ คณุ ภาพของ ผเู้ รียนตอ่ ผ้ทู เ่ี ก่ยี วข้อง ข้อเสนอแนะในการเขียน SAR ให้ได้ผลประเมินระดบั สูงขนึ้ สถานศึกษาควรระบุข้อมูลลงใน SAR เพ่ิมเติม ในประเด็นของเป้าหมายด้านคุณภาพของผู้เรียน ซึ่ง ควรระบุให้ชัดเจนว่ามีการกำหนดเป้าหมายไว้อย่างไร ซึ่งอาจเป็นเป้าหมายเชิงคุณภาพหรือเชิงปริมาณ เช่น เป้าหมายด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงขึ้นทุกกลุ่มประสบการณ์ ทุก ระดับช้ัน เฉลี่ยทั้งสถานศึกษาอย่างน้อย ร้อยละ ๕ เม่ือเปรียบเทียบกับผลการประเมินในปีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นสถานศึกษาควรระบุผลการประเมินจากการดำเนินงานเปรียบเทียบกับเป้าหมายท่ีกำหนดทั้ งด้าน ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการและผลสัมฤทธ์ิด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เพ่ือให้ทราบว่าการดำเนินงานตาม แผนงานเป็นไปตามแผน สงู หรือต่ำกว่า และระบุจำนวนผเู้ รียนที่สำเร็จการศกึ ษาทั้งในระดบั ประถมศึกษาและ มัธยมศึกษาสถานศึกษาควรระบุข้อมูลเพ่ิมเติมใน SAR คือการนำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาปรับปรุง เช่น จากผลการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของผู้เรียนทุกช้ัน มีค่าเฉลี่ยต่ำกว่าค่าเฉล่ียของของ สพป.อด.๒ จึงได้มี การดำเนินงานตามโครงการคลินิกคณิตศาสตร์ เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยมอบหมายให้ฝ่ายวิชาการ รบั ผิดชอบในการดำเนินงานและรายงานผลต่อผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาภาคเรยี นละ ๒ คร้งั เป็นตน้

๓๖ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ จุดเน้น การบริหารแบบมีส่วนรว่ ม ผลการพิจารณา ตัวชว้ี ัด สรุปผลประเมิน  ๑. มกี ารวางแผนการดำเนินการในแตล่ ะปีการศกึ ษา  ปรบั ปรุง (๐-๓ ข้อ)  ๒. มีการนำแผนการดำเนินการไปใช้ดำเนินการ  พอใช้ (๔ ข้อ)  ๓. มกี ารประเมินผลสมั ฤทธข์ิ องการดำเนินการตามแผน  ดี (๕ ข้อ) ๔. มกี ารนำผลการประเมินไปใชใ้ นการปรับปรงุ แกไ้ ขในปี  การศึกษาต่อไป ๕. มกี ารนำเสนอผลการบรหิ ารจัดการของสถานศกึ ษาใหผ้ ู้มี  ส่วนไดส้ ่วนเสียไดร้ ับทราบ ข้อเสนอแนะในการเขยี น SAR ให้ได้ผลประเมินระดบั สูงข้ึน สถานศึกษาควรระบุข้อมูลใน SAR เพ่ิมเติม ในประเด็นของวิสัยทัศน์ต้องระบุว่ากำหนดไว้อย่างไร ระบุเปา้ หมายของการบริหารงานและการจัดการให้ชดั เจน ซ่งึ อาจเปน็ เป้าหมายในเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพ สถานศึกษาควรเพ่ิมเติมข้อมูลลงใน SAR ในประเด็นของผลการดำเนินงาน ควรเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิที่ได้ จากประเมินผลกับเป้าหมายว่า เปน็ ไปตามแผน สูงกวา่ หรือต่ำกว่าแผนอยา่ งไรสถานศึกษาควรระบุข้อมูลลงใน SAR ในประเด็นของการนำผลการประเมินด้านการบริหารและการจัดการไปใช้ในการพัฒนาปรับปรุงอย่างไร เช่น จากการประเมินผลการดำเนินงานตามโครงการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาและผู้ปกครองผู้เรียน พบวา่ มผี มู้ าเขา้ ร่วมประชุมประมาณร้อยละ ๖๐ ซ่ึงส่งผลให้ผู้ท่ไี ม่ได้เข้ารว่ มประชุมไมท่ ราบถึงเปา้ หมาย จึงได้ กำหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหา โดยใช้แผ่นพับประชาสัมพันธ์การดำเนินงาน เป้าหมาย และผลการ ดำเนนิ งาน และใช้แบบสอบถาม เพื่อใหไ้ ด้ขอ้ มลู ต่าง ๆ ตามทีส่ ถานศกึ ษาตอ้ งการ เป็นต้น มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จดุ เนน้ จัดกระบวนการเรยี นรูด้ ว้ ยกระบวนการ Active Learning ผลการ ตัวช้ีวดั สรุปผลประเมนิ พิจารณา  ๑. ครูมกี ารวางแผนการจัดการเรียนรคู้ รบทุกรายวิชา ทุกชนั้ ปี  ปรับปรุง  ๒. ครูทุกคนมีการนำแผนการจดั การเรยี นรูไ้ ปใช้ในการจัดการเรยี นการสอนโดยใช้ (๐-๓ ข้อ) ส่ือเทคโนโลยสี ารสนเทศและแหล่งเรียนรทู้ เ่ี อ้อื ต่อการเรียนรู้  พอใช้ (๔ ขอ้ )  ๓. มีการตรวจสอบและประเมนิ ผลการจดั การเรยี นการสอนอย่างเป็นระบบ  ดี (๕ ข้อ)  ๔. มกี ารนำผลการประเมินมาพฒั นาการจัดการเรียนการสอนของครูอย่างเป็นระบบ  ๕. มีการแลกเปลย่ี นเรียนรู้และให้ขอ้ มลู ปอ้ นกลบั เพื่อพัฒนาปรบั ปรุงการจัดการ เรียนการสอน

๓๗ ข้อเสนอแนะในการเขียน SAR ให้ได้ผลประเมินระดบั สงู ข้ึน สถานศึกษาควรระบุข้อมูลเพ่ิมเติมใน SAR เพ่ิมเติม ถึงการนำเสนอตัวอย่างบันทึกผลหลังการสอน ตัวอย่างวิธีใช้และเคร่ืองมือในการวัดและประเมินผลหลังสอน และนำเสนอวิธีการนำเทคโนโลยีมาใช้การ จัดการเรียนการสอน ว่ามีการดำเนินการอย่างไรสถานศึกษาควรระบุข้อมูลเพ่ิมเติม ในการนำผลการประเมิน ไปใชใ้ นการพฒั นาปรบั ปรงุ วา่ มกี ารดำเนนิ งานอย่างไร เชน่ การแกป้ ัญหาผ้เู รียนอ่านเขยี นไม่คลอ่ ง สถานศกึ ษา ไดจ้ ดั กิจกรรมเพอ่ื นช่วยเพื่อน โดยให้นกั เรียนทอ่ี ่านเขยี นไดค้ ล่องช่วยสอนผเู้ รยี นทยี่ งั อา่ นเขียนไม่คล่อง พรอ้ ม ทง้ั แนะนำใหผ้ ู้ปกครองควบคุมดแู ลใหผ้ ู้เรยี นฝกึ อ่านหรอื เขียนเมอ่ื อย่ทู ่บี า้ น เปน็ ต้น ข้อเสนอแนะเพ่มิ เติม สถานศกึ ษาควรเขียน SAR ในครั้งต่อไปให้มีความสมบูรณ์ย่ิงขึ้น โดยระบุวิสัยทัศน์ พันธกิจ เปา้ หมาย และจุดเน้นในแต่ละมาตรฐานให้ชัดเจน ควรระบุผลการประเมินในแต่ละมาตรฐาน ซ่ึงอาจแยกประเมินเป็น ระดบั ช่วงชั้นมกี ารสรปุ ผลการดำเนินงานเปรียบเทียบกับผลการดำเนนิ งานของปีการศึกษาท่ีผ่านมาอย่างน้อย สามปีย้อนหลังและควรระบุถึงการนำผลการดำเนินงานไปใช้ในการพัฒนา ระบุโครงการหรือกิจกรรม วิธี ดำเนินงาน เคร่ืองมือท่ีใช้วัดและประเมินผล การรายงานผลการดำเนิน ให้ชัดเจน ซึ่งการดำเนินงานในแต่ละ มาตรฐานสถานศึกษาอาจใช้ระบบวงจรคุณภาพ ( PDCA )มาใช้ในการดำเนินงาน กล่าวคือ มีการกำหนด เป้าหมาย จุดเน้นที่ชัดเจน มีแผนการดำเนินงาน (P) มีการดำเนินงานตามแผน (D) มีการติดตามกำกับและ ประเมินผล มีเคร่อื งมือที่ใชใ้ นการประเมินผล (C) และมกี ารนำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาปรับปรุง (A) และควรระบุข้อมูลจำนวนเด็กหรือผู้เรียนที่จบการศึกษาในแต่ละปีการศึกษาให้ครบถ้วน ระบุการเผยแพร่ผล การดำเนินงานตามโครงการหรือกิจกรรมต่าง ๆ รวมถึงการรายงานผลการประเมินตนเองเม่ือส้ินสุดปี การศึกษาว่ามีการดำเนินการอย่างไร ซึ่งสถานศึกษาสามารถทำได้ในหลายรูปแบบ เช่นการประชุมชี้แจง การ ประชาสัมพันธ์ทางเสียงตามสายของสถานศึกษา แผ่นพับ หรือการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการเผยแพร่ เช่น เว็บไซต์ ของสถานศึกษา เฟสบุค หรือไลน์กลุม่ ของสถานศึกษา เป็นตน้ คำรับรอง คณะผปู้ ระเมนิ ขอรับรองวา่ ได้ทำการประเมนิ SAR ตามเกณฑ์การประเมนิ คณุ ภาพภายนอกของ สำนักงานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศึกษา (องคก์ ารมหาชน) ซ่ึงตดั สินผลการประเมนิ คณุ ภาพ ภายนอกบนฐานความโปรง่ ใส และยุตธิ รรมทุกประการ ลงนามโดยคณะผปู้ ระเมินดงั น้ี ตำแหนง่ ชื่อ - นามสกลุ ลายมอื ชื่อ ประธาน นางจำเนียร ฉิรินงั กรรมการ นายอมร ดอนตระกลู นายสามารถ พิมพพ์ า กรรมการและ เลขานกุ าร วันท่ี ๕ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๔

๓๘ ตอนท่ี ๒ แนวทางการพัฒนาท่ีมงุ่ คุณภาพ ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาและผลการพฒั นา โรงเรยี นบา้ นนาดีสรา้ งบงไดก้ ำหนดนโยบายและทศิ ทางในการพฒั นาการจัดการศกึ ษา โดยการ จดั ทำวสิ ยั ทัศน์ พนั ธกจิ เป้าหมายการจดั การศึกษา มาตรฐานการศกึ ษาตามแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี ทม่ี งุ่ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ซ่งึ สอดคล้องกับนโยบาย หน่วยงานต้นสังกดั กระทรวงศึกษาธิการ รวมท้งั สนองตอบต่อนโยบายการพัฒนาประเทศ ผ้บู รหิ ารยดึ หลักการ ในการบริหารเพอื่ พัฒนาสถานศึกษาโดยใชร้ ูปแบบ NPDCA:โมเดล “ภาคเี ครือข่ายการมีส่วนร่วม” แผนภูมโิ ครงสรา้ งการบริหาร โรงเรียนบา้ นนาดสี รา้ งบง เครอื ขา่ ยโรงเรยี น โรงเรยี นบา้ นนาดสี รา้ งบง คณะกรรมการสถานศกึ ษา เสอเพลอผาสุก งานวิชาการ งานงบประมาณ งานบุคคล งานบรหิ ารท่วั ไป นกั เรียน โรงเรยี นบา้ นนาดสี รา้ งบง กำหนดโครงสรา้ งการบรหิ ารมี 4 งาน คอื 1. งานวิชาการ แบ่งเป็น 3 ระดับ คืองานวิชาการก่อนประถมศึกษา งานวิชาการ ประถมศกึ ษา และงานวิชาการมธั ยมศึกษาตอนต้น 2. งานงบประมาณ 3. งานบคุ คล 4. งานบรหิ ารทั่วไป วิสัยทศั น์ (Vision) ภายในปี ๒๕๖๖ โรงเรียนบ้านนาดีสร้างบง เป็นองค์กรที่ทันสมัย มีคุณภาพมาตรฐาน เด็ก ปฐมวัยพัฒนาการสมวัยอย่างรอบด้านและเต็มศักยภาพ นักเรียนที่มีทักษะสู่ศตวรรษที่ ๒๑ มี คณุ ธรรม มีจิตสาธารณะดำรงชวี ิตอย่างมคี วามสขุ ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง

๓๙ พนั ธกจิ (Mission) ๑. พัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาให้มีคุณภาพพร้อมก้าวทันความเปล่ียนแปลง ได้แก่ โครงสร้างพ้ืนฐานด้านเทคโนโลยีและอินเทอร์เน็ต การจัดการเรียนการสอน (Active Learning) พัฒนาระบบ ข้อมูลสารสนเทศ (information) ๒. พัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นคนดี มีคุณธรรมนำความรู้ รักษาส่ิงแวดล้อม มีทัศนคติท่ีดีต่อ บา้ นเมือง มวี ถิ ีชีวติ อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง มอี าชพี ๓. ส่งเสริมพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณธรรมจริยธรรมเป็นแบบอย่างที่ดีต่อ ผเู้ รยี นมคี วามรู้ กา้ วทนั ความเปลยี่ นแปลงและให้มกี ารพฒั นาอย่างตอ่ เนือ่ ง เอกลักษณข์ องโรงเรยี น สายใยครูและศษิ ย์ อตั ลกั ษณ์ของเด็ก/ผู้เรยี น ยมิ้ ไหว้ ทักทายสวสั ดี ๑. มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาและค่าเปา้ หมาย ๑.๑ เปา้ ประสงค์ (Super ordinate Goals) ๑) ดา้ นผ้เู รียน ๑.๑) นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัย และปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง ๑.๒) ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา คิดริเริ่มและ สรา้ งสรรคน์ วัตกรรม มีความรู้ มที ักษะและคุณลกั ษณะของผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21 ๑.๓) ผู้เรียนมีสขุ ภาวะที่เหมาะสมตามวัย มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี และรักการออกกำลัง กาย ๑.๔) ผู้เรียนมีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถีชีวิต และการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข ๑.๕) ผู้เรยี นมีจิตสำนึกในการอนุรกั ษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรกั ษ์ส่ิงแวดล้อมมี จิตสาธารณะทีม่ ุง่ ทำประโยชน์และสร้างสิง่ ทีด่ ีงามในสงั คม และอย่รู ่วมกันในสังคมอยา่ งมคี วามสุข ๒) ดา้ นครู ๒.๑) ครูมีจิตวิญญาณความเป็นครู ใฝ่เรียนใฝ่รู้ พัฒนาตนเองไปสู่ความเป็นครูมืออาชีพ มี ทกั ษะการจัดการเรียนรู้ทหี่ ลากหลายตอบสนองผเู้ รยี นเป็นรายบุคคล ใชแ้ หล่งเรียนรู้ในโรงเรยี น มีการทบทวน ประเมนิ ตนเอง และเป็นผสู้ รา้ งสรรคส์ อ่ื นวตั กรรมและทักษะในการใช้เทคโนโลยี ๓) ดา้ นการบรหิ ารจัดการ ๓.๑) ผู้บริหารโรงเรียนมีความคิดเชิงกลยุทธ์และนวัตกรรม มีภาวะผู้นำทางวิชาการ มีความ สำนึกรับผดิ ชอบ (Accountability) และการบรหิ ารแบบมีส่วนร่วม

๔๐ ๓.๒) ส่งเสริมสนับสนุนให้ชุมชนและทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพทาง การศึกษา และจัดสภาพแวดลอ้ มในโรงเรียนเพ่อื การเรยี นรู้ ๒. มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาและคา่ เป้าหมาย ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ๒.๑ มาตรฐานการศกึ ษาระดบั ปฐมวยั และคา่ เปา้ หมาย จำนวน ๓ มาตรฐาน ดังนี้ มาตรฐาน / ประเด็นการพจิ ารณา คา่ เป้าหมายมาตรฐาน/ ประเดน็ การพจิ ารณา มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผเู้ รยี น ๑.๑ มกี ารพฒั นาดา้ นรา่ งกาย แข็งแรง มสี ุขนสิ ยั ทีด่ ี และดูแลความปลอดภยั ของตนเอง ดีเลิศ ได้ ๑.๒ มกี ารพฒั นาดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ ดีเลิศ ๑.๓ มกี ารพัฒนาการด้านสังคม ชว่ ยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกท่ีดีของสงั คม ๑.๔ มพี ฒั นาการดา้ นสตปิ ัญญา สือ่ สารได้ มที กั ษะการคดิ พนื้ ฐานและแสวงหาความรู้ได้ ดีเลศิ ดีเลศิ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและจดั การ ดี ๒.๑ มีหลกั สตู รครอบคลุมพัฒนาการทัง้ ๔ ดา้ น สอดคล้องกบั บรบิ ทของท้องถ่นิ ดีเลิศ ๒.๒ จัดครูใหเ้ พยี งพอตอ่ ชนั้ เรียน ดี ๒.๓ ส่งเสรมิ ให้ครมู ีความเชี่ยวชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์ ดเี ลิศ ๒.๔ จดั สภาพแวดล้อมและส่อื เพ่ือการเรยี นรู้ อย่างปลอดภัย และเพยี งพอ ดีเลศิ ๒.๕ ให้บรกิ ารสอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและสอ่ื การเรยี นรเู้ พ่ือสนบั สนนุ การจดั ดเี ลิศ ประสบการณ์ ๒.๖ มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพทเี่ ปิดโอกาสให้ผเู้ กย่ี วขอ้ งทกุ ฝา่ ยมีสว่ นรว่ ม ดี มาตรฐานที่ ๓ การจดั ประสบการณ์ทีเ่ น้นเด็กเปน็ สำคญั ดเี ลิศ ๓.๑ จดั ประสบการท่สี ง่ เสริมใหเ้ ดก็ มีพัฒนาการทุกด้านอยา่ งสมดลุ เต็มศกั ยภาพ ดเี ลิศ ๓.๒ สร้างโอกาสใหเ้ ดก็ ไดร้ บั ประสบการณต์ รง เล่นและปฏิบตั ิอยา่ งมคี วามสุข ดี ๓.๓ จัดบรรยากาศท่ีเออ้ื ต่อการเรยี นรู้ใชส้ อ่ื เทคโนโลยีท่เี หมาะสมกับวยั ดเี ลิศ ๔.๔ ประเมิณพัฒนาการเดก็ ตามสภาพจริงและนำผลประเมนิ พัฒนาการเด็กไปปรับปรุง ดี การจดั ประสบการณแ์ ละพัฒนาเด็ก ดเี ลิศ สรุปผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศึกษา ดีเลิศ

๔๑ ๒.๒ มาตรฐานการศกึ ษาระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน และคา่ เป้าหมาย จำนวน ๓ มาตรฐาน ดงั น้ี คา่ เป้าหมาย มาตรฐาน / ประเดน็ การพจิ ารณา มาตรฐาน/ ประเดน็ การพิจารณา มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผู้เรยี น ดเี ลศิ ๑.๑ ผลสมั ฤทธิ์ทางวชิ าการของผู้เรียน ๑) มคี วามสามารถในการอ่าน การเขยี น การสือ่ สารและการคิดคำนวณ ดี ๒) มคี วามสามารถในการวเิ คราะหแ์ ละคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ อภิปราย แลกเปลยี่ น ดี ความคดิ เห็น และแก้ปัญหา ๓) มีความสามารในการสร้างนวตั กรรม ดี ๔) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือ่ สาร ดเี ลศิ ๕) มผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ดเี ลศิ ๖) มีความรู้ ทกั ษะพื้นฐานและเจตคติทดี่ ีตอ่ งานอาชีพ ดเี ลิศ ๑.๒ คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงคข์ องผเู้ รียน ๑) การมีคุณลกั ษณะและคา่ นิยมทด่ี ีตามทส่ี ถานศึกษากำหนด ดีเลศิ ๒) ความภมู ิใจในทอ้ งถ่ินและความเป็นไทย ดีเลศิ ๓) การยอมรบั ทจ่ี ะอย่รู ่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย ดเี ลศิ ๔) สขุ ภาวะทางรา่ งกายและลกั ษณะจิตสงั คม ดีเลิศ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและจัดการ ดเี ลิศ ๒.๑ การมเี ป้าหมาย วสิ ัยทัศน์ และพนั ธกจิ ท่ีสถานศกึ ษากำหนดชดั เจน ดีเลิศ ๒.๒ มรี ะบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษา ดีเลิศ ๒.๓ ดำเนนิ งานพัฒนาวชิ าการที่เน้นคณุ ภาพผ้เู รยี นรอบด้านตามหลักสตุ รสถานศกึ ษาและ ดี ทกุ กลุม่ เป้าหมาย ๒.๔ พัฒนาครูและบุคลกรใหม้ ีความเชีย่ วชาญทางวิชาชพี ดีเลศิ ๒.๕ จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทเ่ี อ้อื ตอ่ การจดั การเรยี นรอู้ ย่างมีคูณภาพ ดีเลศิ ๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการและการจดั การเรยี นรู้ ดเี ลศิ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ น้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ดี ๓.๑ จดั การเรียนรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิจรงิ และสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ใน ดี ชวี ติ ได้ ๓.๒ ใชส้ อ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นร้ทู เี่ ออื้ ต่อการเรยี นรู้ ดีเลิศ ๓.๓ มกี ารบริหารจดั การชน้ั เรยี นเชิงบวก ดเี ลิศ ๔.๔ ตรวจสอบและประเมินผ้เู รยี นอยา่ งเป็นระบบ และนำผลมาพฒั นาผเู้ รียน ดี ๓.๕ มกี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรู้และใหข้ อ้ มลู สะทอ้ นกลบั เพอื่ พฒั นาและปรบั ปรุงการจัดการ ดี เรียนรู้ สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศกึ ษา ดเี ลิศ

๔๒ หมายเหตุ การกำหนดค่าเปา้ หมาย ๑. ศึกษาข้อมลู เดิม ผลการประเมินตา่ ง ๆ ทผ่ี า่ นมา เพอ่ื เปน็ ขอ้ มูลฐานในการกำหนดค่าเป้าหมาย ๒. การกำหนดค่าเป้าหมาย แต่ละมาตรฐาน ควรกำหนดเป็น ระดับคุณภาพ ๕ ระดับ เพ่ือให้ สอดคล้องกบั การประเมิน ดังนี้ ระดับ ยอดเย่ยี ม ระดับ ดเี ลศิ ระดบั ดี ระดับ ปานกลาง ระดับ กำลงั พฒั นา แผนงาน โครงการ/กิจกรรม แผนงาน โครงการ/กิจกรรมท่ีโรงเรียนบ้านนาดีสร้างบงได้วางแผนดำเนินการ และดำเนินการเพ่ือให้ บรรลุเป้าหมายการจัดการศกึ ษาในระดบั การศึกษาปฐมวัยและระดับการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน ดังนี้ ระดบั ปฐมวัย มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเด็ก 1. ผลการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ ดเี ลศิ ประกอบด้วยผลการประเมิน 4 ดา้ น ดังนี้ ๑.๑ ด้านมีพฒั นาการดา้ นรา่ งกาย แขง็ แรง มสี ขุ นสิ ยั ทีด่ ี และดแู ลความปลอดภยั ของตนเอง ได้ กระบวนการพฒั นา กระบ วน ก ารพั ฒ น าใน แต่ ละ ป ระเด็ น ใน ทุ ก มาต รฐาน อ ธิบ าย ให้ เห็ น เป็ น กระบวนการพัฒนาแบบ NPDCA ผลการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ ดเี ลิศ ประกอบด้วยผลการประเมิน 4 ดา้ น ดังนี้ ๑.๑) ด้านมีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัย ของตนเองได้ โรงเรียนบ้านนาดีสร้างบง ได้ดำเนินการพัฒนาเพื่อให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย แขง็ แรง มีสุขนิสัยท่ดี ี และดแู ลความปลอดภยั ของตนเองได้ โดยไดจ้ ดั ทำโครงการ และกจิ กรรม ดังต่อไปน้ี (1) โครงการพัฒนาคณุ ภาพของเด็กระดับปฐมวัยประกอบดว้ ย กิจกรรมท่ี 1 จัดประสบการณ์ตามหลักสูตรสถานศึกษา ระดับปฐมวัย วิธีดำเนินการ มดี ังนี้ (๑.๑) กิจกรรมกลางแจง้ ได้แก่ เล่นกลางแจ้งอยา่ งอสิ ระทุกวนั การเล่น เครื่องเล่นสนาม การแขง่ ขันกีฬาสีประจำปี (๑.๒) กิจกรรมเคลื่อนไหวและจงั หวะ ไดแ้ ก่ รอ้ งเพลง ท่องคำกลอน คำ คล้องจองและเคล่ือนไหวตามบทเพลง คำกลอน คำคล้องจอง เคลื่อนไหวพ้ืนฐานโดยแบ่ง ๒ ประเภท คือ เคล่ือนไหวอยู่กับท่ี และเคล่ือนไหว เล่นเคร่ืองเล่นดนตรีง่าย ๆ ประเภทเคาะ เช่น กรับ กลอง ฯลฯ และ เคลื่อนไหว การฝึกจังหวะ โดยการใช้ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย การทำจังหวะด้วยการเปล่งเสียง ให้เด็ก เคลอื่ นไหวตามความคิดสร้างสรรค์ โดยใช้อปุ กรณ์ประกอบในการเคล่อื นไหวเช่นหว่ ง แถบผ้า ฯลฯ

๔๓ (๑.๓) กิจกรรมเสรี/ตามมุมต่าง ๆ ได้แก่ มุมบล็อก มุมหนังสือ มุม ร้านค้า มุมบ้าน มุมแต่งตัว เป็นต้น มุมต่าง ๆ เหล่าน้ีเด็กมีโอกาสเลือกเล่นได้อย่างเสรี ส่งเสริมพัฒนาการ กล้ามเนื้อใหญ่กล้ามเนื้อเล็กและประสานสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา ส่งเสริมให้เด็กพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ และจินตนาการ (๑.๔) กิจกรรมก่อนรบั ประทานอาหารกลางวัน เด็ก ๆ ต้องล้างมือตาม หลกั ปฏบิ ตั ิ ๗ ขนั้ ตอนและเข้าแถวรบั อาหารอย่างเป็นระเบียบและกล่าวคำขอบคุณแมค่ รวั พรอ้ มกนั ทกุ คน (๑.๕) กิจกรรมช่ังน้ำหนักและวัดส่วนสูง ภาคเรียนละ ๑ ครั้ง หลังจาก เด็กไดร้ ับอาหารเสรมิ นมและอาหารกลางวนั ครบ ๕ หมู่ สะอาดและปลอดภยั ทุกคนทกุ วัน กิจกรรมที่ ๒ การทดลองวิทยาศาสตร์และบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย วธิ ดี ำเนินการ โดยจัดกจิ กรรมการทดลองทง้ั หมด 20 กิจกรรม โดยแบ่งการทดลองออกเปน็ ภาคเรียนละ ๑๐ กจิ กรรม มขี ้ันตอนดังน้ี (๑.๑) เด็กและครูช่วยกันเลือกกิจกรรมการทดลองจากใบกิจกรรมใน กลอ่ งโครงการบ้านวทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย (๑.๒) เด็กและครู ช่วยกันเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการทดลองแต่ละ กิจกรรมน้ัน (๑.๓) เด็กและครู ร่วมกันทำการทดลองตามใบกิจกรรม โดยครูเป็น ผ้ชู ว่ ย และใช้คำถามกระตุ้นใหเ้ ดก็ คิดและสงั เกต (๑.๔) เด็กและครูร่วมกนั สรุปกิจกรรมการทดลอง (๑.๕) กิจกรรมบ้านวิทยาศาสตร์น้อย โดยครูและเด็กร่วมกันตั้งปัญหา และหาวธิ แี กป้ ัญหาจนไดข้ ้อสรปุ หรือองคค์ วามรูใ้ หม่ข้นึ ผลการพัฒนา จากกระบวนการพัฒนาของโรงเรียนเพื่อให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุข นิสยั ที่ดี และดแู ลความปลอดภยั ของตนเองได้ ผลจากการดำเนินงานพฒั นา มีดังตอ่ ไปนี้ เด็กมีร่างการเจรญิ เติบโตตามวัย มีความสามารถในการใชก้ ลา้ มเน้ือเล็ก และกล้ามเน้อื ใหญ่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเด็กมีพัฒนาการท้ังด้านร่างกายและจิตใจสมบูรณ์แข็งแรงเหมาะสมตามวัยเด็กมี น้ำหนกั ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน เคลื่อนไหวร่างกายคล่องแคล่ว ทรงตวั ได้ดี ใช้มือและตาประสานสัมพันธ์ ได้ดี ดูแลรักษาสุขภาพอนามัยส่วนตนและปฏิบัติจนเป็นนิสัย ปฏิบัติตนตามข้อตกลงเกี่ยวกับความปลอดภัย หลีกเลีย่ งสภาวะทเี่ ส่ยี งตอ่ โรค สงิ่ เสพตดิ ๑.๒ ด้านมพี ัฒนาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ โรงเรียนได้ดำเนินการพัฒนาเพื่อให้เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และ แสดงออกทางอารมณ์ได้ โดยไดจ้ ัดทำโครงการ กจิ กรรม ดังต่อไปน้ี (๑) กิจกรรมสง่ เสริมพฒั นาการเดก็ ปฐมวัย (๑.๑) กจิ กรรมเสรี/ตามมุมต่าง ๆ ไดแ้ ก่ มุมบล็อก มุมหนงั สอื มมุ รา้ นค้า มุมบ้าน มุมแต่งตัว เป็นตน้ มุมต่าง ๆ เหล่าน้ีเด็กมีโอกาสเลอื กเลน่ ได้อย่างเสรีอย่างน้อยคนละ ๒ มมุ ต่อวัน ส่งเสริมให้ เดก็ รูจ้ ักปรบั ตวั อย่รู ว่ มกับผ้อู น่ื รจู้ ักรอคอยเอื้อเฟอื้ เผอื่ แผ่ข้ันตอนการดำเนนิ งาน มดี ังนี้ (๑.๑.๑) แนะนำศูนย์เรียนใหม่ให้เด็กรู้จักและเสนอแนะวิธีใช้เล่นเครื่องเล่น บางชนดิ เช่นแวน่ ขยายเคร่ืองชงั่ ฯลฯ

๔๔ (๑.๑.๒) สรา้ งขอ้ ตงลกในการเลน่ รว่ มกัน (๑.๑.๓) เปิดโอกาสให้เด็กคิดวางแผนตัดสินใจเลือกเล่นอย่างอิสระโดยมีครู คอยสงั เกตพฤติกรรมการเลน่ พร้อมท้ังใหค้ ำชแ้ี นะและช่วยเหลือเด็กในการเล่น (๑.๒) กิจกรรมสรา้ งสรรค์ ได้แก่ โดยใช้ศลิ ปะ เชน่ การวาดภาพระบายสี การปั้น การแกะ ตัด ปะ การพิมพ์ภาพ หรืออ่ืน ๆ ท่ีเด็กได้คิดสร้างสรรค์และเหมาะสมกับพัฒนาการ เช่น การเล่น พลาสตกิ สรา้ งสรรค์ ข้ันตอนการดำเนนิ งานมีดังนี้ (๑.๒.๑) จัดโต๊ะและวัสดุอุปกรณ์ให้พร้อมโดยให้เด็กรับผิดชอบช่วยจัด อุปกรณ์ (๑.๒.๒) สรา้ งบรรยากาศในการทำกจิ กรรมให้มีความสดชืน่ แจม่ ใส (๑.๒.๓) ใหเ้ ด็กเสอื กทำกจิ กรรมอย่างอสิ ระตามความสนใจของตน (๑.๒.๔) สรา้ งข้อตกลงในการเปล่ยี นหมนุ เวียนทำกจิ กรรม (๑.๒.๕) แนะนำอุปกรณ์วิธีใชแ้ ละคอยดูแลให้คำปรกึ ษาในการทำกจิ กรรม (๑.๒.๖) เมื่อทำงานเสร็จต้องให้เด็กเก็บวัสดุ เคร่ืองมือ เครื่องใช้ และ นำเสนอผลงานของตน (๑.๓) กิจกรรมเกมการศึกษา ได้แก่ เกมจับคู่ เช่น จับคู่รูปร่างท่ีเหมือนกัน จับคู่ ภาพเงา จบั คู่ภาพสมั พันธ์ จับคู่ภาพช้นิ ส่วนที่หายไป จับคู่ภาพกับโครงรา่ ง ฯลฯ เกมภาพตัดต่อ (ท่ีสมั พันธ์กับ หน่วยการเรียน) เกมจัดหมวดหมู่ เกมโดมิโน เกมเรียงลำดับ เป็นต้น ช่วยปลูกฝังให้เด็กมคี ุณธรรมตา่ ง ๆ เช่น ความรับผิดชอบ การแข่งขันตามกติกาหรือข้อตดลง ส่งเสริมการคิดหาเหตุผลและตัดสินใจแก้ปัญหา ข้ันตอน การดำเนนิ งาน มีดังน้ี (๑.๓.๑) ในกรณีท่ีเป็นเกมใหม่ครูควรแนะนำหรือสาธิตอธิบายวิธีการเล่น เกมให้เด็กทราบ (๑.๓.๒) ให้เด็กหมุนเวียนเข้ามาเล่นเป็นกลุ่มหรือรายบุคคลตามความ เหมาะสม (๑.๓.๓) ขณะเด็กเล่นครมู ีหน้าที่เพยี งแนะนำ (๑.๓.๔) เมือ่ เล่นเกมแตล่ ะชุดเสร็จแลว้ ใหเ้ ด็กเกบ็ อุปกรณ์ใหเ้ รยี บร้อย ผลการพัฒนา จากกระบวนการพัฒนาของโรงเรียนเพ่ือให้เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ ผลจากการดำเนนิ งานพฒั นา มีดังต่อไปน้ี เด็กร่าเริงแจ่มใส แสดงอารมณ์ความรู้สึกได้เหมาะสมรู้จักยับย้ังชั่งใจ อดทนในการรอ คอย ยอมรับและพอใจในความสามารถและผลงานของตนเองและผู้อ่ืน มีจิตสำนึกและค่านิยมท่ีดี มีความ ม่ันใจกล้าพูด กล้าแสดงออก ช่วยเหลือแบ่งปัน เคารพสิทธิ รู้หน้าที่รบั ผิดชอบ เด็กรู้จกั ปรับตัวอยู่ร่วมกับผู้อื่น รู้จักรอคอยเอ้ือเฟื้อเผ่ือแผ่ มีความรับผิดชอบ เด็กได้คิดสร้างสรรค์และเหมาะสมกับพัฒนาการ เด็กมี พฒั นาการดา้ น อารมณจ์ ิตใจ บรรลุตามเป้าหมายทสี่ ถานศกึ ษากำหนด ๑.๓ ดา้ นมีพฒั นาการดา้ นสังคม ชว่ ยเหลือตนเอง และเปน็ สมาชิกทด่ี ีของสังคม (๑) กจิ กรรมสง่ เสริมพัฒนาการเดก็ ปฐมวยั (๑.๑) กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ ขั้นตอนการดำเนินงาน มดี ังนี้

๔๕ (๑.๑.๑) การสนทนา อภิปราย เป็นกานส่งเสริมพัฒนาการทางภาษาในการ พูด การฟัง รจู้ กั แสดงความคดิ เป็นและยอมรบั ฟงั ความคิดเห็นผอู้ ่นื (๑.๑.๒) การเล่านิทาน เป็นการเล่าเร่ืองต่าง ๆ ส่วนมากจะเป็นเร่ืองท่ีเน้น การปลูกฝงั ใหเ้ กิดคณุ ธรรม จริยธรรม (๑.๑.๓) การสาธติ เป็นการจัดกิจกรรมทีต่ ้องการใหเ้ ด็กได้สังเกตและเรยี นรู้ ตามขนั้ ตอน (๑.๑.๔) การทดลอง/ปฏิบัติ จากกิจกรรมบ้านวทิ ยาศาสตร์น้อยท่ีจัดให้เด็ก ได้รับประสบการณ์ตรงเพราะได้ทดลองปฏิบัติด้วยตนเอง ได้สังเกตการเปล่ียนแปลง ฝึกการสังเกต การคิด แก้ปัญหา (๑.๑.๕) การศึกษานอกสถานท่ี เป็นการจัดกิจกรรมที่ทำให้เด็กได้รับ ประสบการณ์ตรงด้วยการพาเดก็ ไปทัศนศึกษาสิ่งต่าง ๆ รอบตวั (๑.๑.๖) การเล่นบทบาทสมมุติ เปน็ การใหเ้ ดก็ เล่นสมมุติตนเองเปน็ ตวั ละคร ตา่ ง ๆ ตามเนือ้ เรอ่ื ง (๑.๑.๗) การร้องเพลง เล่นเกม ท่องคำคล้องจอง เป็นการจัดให้เด็กได้ แสดงออกเพอ่ื ความสนกุ สนาน เพลดิ เพลนิ และเรียนรู้เกย่ี วกบั ภาษาและจังหวะ ผลการพัฒนา เด็กช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันมีวินัยในตนเอง ประหยัดและ พอเพียง มีส่วนร่วมดูแลรักษาส่ิงแวดล้อมในและนอกห้องเรียน มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย เช่น การไหว้ การย้ิมทักทาย และมีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ เป็นต้น ยอมรับหรือเคารพความแตกต่างระหว่างบุคคล เช่น ความคิด พฤติกรรม พื้นฐานครอบครัว จากกระบวนการพัฒนาของโรงเรียนเพ่ือให้เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเองและเป็นสมาขิกทด่ี ขี องสังคม ผลจากการดำเนินงานพัฒนามีดงั นี้ เด็กมีพัฒนาการด้าน อารมณ์จิตใจ สังคมบรรลุตามเป้าหมายท่ีสถานศึกษา กำหนด เดก็ ความมรี ะเบียบวนิ ยั มารยาทในการฟัง พดู และลักษณะนิสัยทด่ี ี กลา้ แสดงความคดิ เห็นและรับฟัง ความคดิ เห็นของผูอ้ ืน่ ๑.๔ ดา้ นมพี ัฒนาการดา้ นสติปญั ญา ส่อื สารได้ มีทักษะการคดิ พ้นื ฐาน และแสวงหาความรู้ ได้ โรงเรยี นไดด้ ำเนินการพฒั นาโดยมี โครงการและกิจกรรม ดังต่อไปนี้ กิจกรรม/ขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน (๑) กจิ กรรมสง่ เสริมพัฒนาการเดก็ ปฐมวัย (๑.๑) กิจกรรมเกมการศึกษา ได้แก่ เกมจับคู่ เช่น จับคู่รูปร่างท่ีเหมือนกันจับคู่ ภาพเงา จบั คู่ภาพสัมพนั ธ์ จับคู่ภาพช้ินสว่ นที่หายไป จับคู่ภาพกับโครงร่าง ฯลฯ เกมภาพตัดต่อ (ที่สัมพันธ์กับ หน่วยการเรียน) เกมจัดหมวดหมู่ เกมโดมิโน เกมเรียงลำดับ เป็นต้น ช่วยปลูกฝังให้เด็กมีคุณธรรมต่าง ๆ เช่น ความรับผิดชอบ การแข่งขันตามกติกาหรือข้อตดลง ส่งเสริมการคิดหาเหตุผลและตัดสินใจแก้ปัญหา ข้ันตอน การดำเนนิ งานมดี งั น้ี (๑.๑.๑) ในกรณีท่ีเป็นเกมใหม่ครูควรแนะนำหรือสาธิตอธิบายวิธีการเล่น เกมให้เด็กทราบ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook