Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สค 33150 วัดคู่บ้านย่านราษฎร์บูรณะ

สค 33150 วัดคู่บ้านย่านราษฎร์บูรณะ

Description: สค 33150 วัดคู่บ้านย่านราษฎร์บูรณะ
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตราษฎร์บูรณะ
สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร
สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

Keywords: สค 33150 วัดคู่บ้านย่านราษฎร์บูรณะ,สค 33150

Search

Read the Text Version

101 การบูรณะในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 3 เม่ือปีพ.ศ. 2381 ท้าการบูรณะ คร้ังท่ี 2 ปี 2546-2550 ตรงกับสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลท่ี 9 หนา้ บนั วหิ ารวดั ประเสรฐิ สุทธาวาส ก่ออิฐถอื ปนู ตกแต่งด้วยลายพันธ์ุพฤกษา ตรงกลางท้าเป็นพู่ห้อย คล้ายกับหน้าบันของอุโบสถ แต่ต่างกันตรงที่ในกรอบวงกลมเป็นรูปคนสวมหมวกคล้ายชาวตะวันตก ด้านหนา้ จั่นหับเชงิ ชาย ตามรปู แบบทนี่ ยิ มในสมัยอยธุ ยาตอนปลาย ดังนั้นจึงมีการสันนิษฐานว่าวิหาร แห่งน้ีน่าจะสร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอนปลาย และต่อมาอาจได้รับการบูรณะในสมัยพระบาทสมเด็จ พระนั่งเกล้าเจ้าอยหู่ วั รชั กาลท่ี 3 ภายในวิหารประดิษฐานพระประธานคือ หลวงพ่อท้าวสุวรรณ เป็น พระพุทธรูปสมยั อู่ทองท้าจากศิลาทรายสีแดง มีพระพักตร์สี่เหลี่ยม พระหนุเป็นลอน เส้นพระศกเป็น เม็ดเปลวรศั มีเปน็ แบบสุโขทัย และประดิษฐานพระพุทธรูปประธานปางสมาธิ สมัยอยุธยาตอนต้น ซ่ึง อาจอญั เชิญมาจากวดั อืน่ ไดป้ ระกาศขึ้นทะเบยี นโบราณสถาน ประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่มท่ี 112 ตอนที่ 59 วนั ที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 กล่าวโดยสรุปอุโบสถวัดประเสริฐสุทธาวาสสร้างด้วยสถาปัตยกรรมแบบจีนที่ สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 ท้าการบูรณะครั้งแรก เม่ือปี พ.ศ. 2381 และได้ท้าการบูรณะครั้งที่ 2 เมื่อปีพ.ศ. 2542-2546 ตรงกับสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลท่ี 9 ทางกรมศิลปกรได้ประกาศขึ้นทะเบียน ให้เป็นโบราณสถานตั้งแต่ ปีพ.ศ. 2537 อุโบสถเป็นอาคารเครื่องก่อหน้าบันปูนป้ัน มีหลังคายื่นออกมาส้ัน ๆ รูปแบบโดยรวม คล้ายกบั ศาลเจา้ จีน ส่วนแถบใตห้ น้าบนั ประดบั ลายพนั ธพ์ุ ฤกษาและรูปนก พระวหิ าร สรา้ งในสมยั อยุธยาตอนปลาย แต่ไดร้ บั การบูรณะในสมยั พระบาท สมเดจ็ พระน่ังเกลา้ เจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 3 ภายในประดษิ ฐาน พระประธานคอื หลวงพ่อสร้อยสวุ รรณ รตั น์และพระพุทธรปู ประธานปางสมาธิ สมัยอยธุ ยาตอนตน้ 4.2 ความสา้ คญั อุโบสถวดั ประเสรฐิ สทุ ธาวาส เป็นสถานทท่ี ีใ่ ช้ประชมุ สงฆ์ทา้ สงั ฆกรรม หรือประกอบพิธีของพระภิกษภุ ายในอุโบสถประดิษฐานพระพุทธรูปประธานขนาดใหญ่ ท่ีมีพุทธศิลป์ ตามแบบพระราชนิยมในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 3 ร่วมกับพระสาวก 2 องค์และพระพุทธรูปยืน และพระวิหาร ประดิษฐานพระประธานคือ หลวงพ่อสร้อยสุวรรณรัตน์ เป็น พระพทุ ธรูปสมยั อู่ทองท้าจากศิลาทรายสีแดง มีพระพักตร์สี่เหลี่ยม พระหนุเป็นลอน เส้นพระศกเป็น เมด็ เปลวรศั มีเป็นแบบสโุ ขทยั และประดิษฐานพระพุทธรูปประธานปางสมาธิ สมัยอยุธยาตอนต้น ซ่ึง อาจอัญเชญิ มาจากวัดอนื่ กล่าวโดยสรปุ อโุ บสถวัดประเสรฐิ สทุ ธาวาส เปน็ สถานที่ที่ใชป้ ระชมุ สงฆท์ ้า

102 สังฆกรรมหรือประกอบพธิ ีของพระภกิ ษุ ภายในอโุ บสถประดษิ ฐานพระพุทธรปู และพระวหิ ารภายใน ประดษิ ฐานพระประธานคือ หลวงพอ่ สรอ้ ยสุวรรณรตั น์ ที่ชาวบา้ นเคารพนบั ถือ เป็นส่ิงศกั ดสิ์ ทิ ธ์ิควู่ ดั 4.3 ลกั ษณะส้าคัญของโบราณสถาน อุโบสถวัดประเสริฐสทุ ธาวาสมหี ลงั คายืน่ ออกมา สั้นๆรปู แบบโดยรวมคลา้ ยกับศาลเจา้ จีนอยา่ งมาก หนา้ บันอุโบสถประดับกระเบื้องท้าเป็นลายดอกไม้ เตม็ พืน้ ที่ เวน้ เฉพาะตรงกลางท้าเป็นพหู่ อ้ ย มรี ปู บรุ ุษศีรษะโล้นน่ังชันเข่าอยู่ในกรอบวงกลม ส่วนแถบ ใต้หน้าบันประดับลายพันธ์ุพฤกษาและรูปนก ภาพในอุโบสถเล่าเรื่องสามก๊ก ท่ีเขียนด้วยหมึกด้าบน พนื้ ขาวในกรอบส่ีเหลี่ยม ช่องละ 1 ตอน รวมทั้งสิ้น 364 ช่อง ถือเป็นภาพเล่าเรื่องสามก๊กที่มากท่ีสุด ในประเทศไทย ภายในอุโบสถประดิษฐานพระพุทธรูปประธานขนาดใหญ่ ที่มีพุทธศิลป์ตามแบบพระ ราชนิยมในรัชกาลที่ 3 รว่ มกับพระสาวก 2 องค์และพระพทุ ธรปู ยนื ลักษณะส้าคัญของพระวหิ ารมรี ปู แบบคลา้ ยอาคารอย่างทีส่ รา้ งในสมัยอยธุ ยาตอน ปลายหน้าบันวหิ ารวัดประเสริฐสุทธาวาส กอ่ อฐิ ถือปนู ตกแตง่ ดว้ ยลายพนั ธพุ์ ฤกษา ตรงกลางท้าเป็น พูห่ ้อยคล้ายกับหน้าบนั ของอุโบสถ แตต่ ่างกนั ตรงท่ีในกรอบวงกลมเปน็ รปู คนสวมหมวกคล้าย ชาวตะวนั ตก ด้านหน้ามจี ั่นหับหรอื เชงิ ชาย ตามรูปแบบท่นี ิยมในสมัยอยธุ ยาตอนปลาย ภายในวหิ าร ประดษิ ฐานพระประธานคือ หลวงพอ่ สร้อยสวุ รรณรัตน์ อโุ บสถวดั ประเสริฐสทุ ธาวาส กลา่ วโดยสรุป อโุ บสถวัดประเสรฐิ สุทธาวาส ภาพในอโุ บสถเลา่ ภาพวาดเล่าเรือ่ ง สามก๊ก ที่เขียนด้วยหมึกด้าบนพ้ืนขาวในกรอบส่ีเหล่ียม ช่องละ 1 ตอน รวมทั้งสิ้น 364 ช่อง ถือเป็น ภาพเล่าเร่ืองสามก๊กที่มากที่สุดในประเทศไทย ภายในอุโบสถประดิษฐานพระพุทธรูปประธานขนาด ใหญ่ ท่ีมีพุทธศิลป์ตามแบบพระราชนิยมในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 3 ร่วมกับพระสาวก 2 องค์และพระพุทธรูปยืน ส่วนพระวิหาร หน้าบันวิหาร ก่ออิฐถือปูน ตกแต่งด้วย

103 ลายพันธุ์พฤกษา ตรงกลางท้าเป็นพู่ห้อยคล้ายกับหน้าบันของอุโบสถ ภายในวิหารประดิษฐานพระ ประธานคอื หลวงพ่อสรอ้ ยสวุ รรณรตั น์ซึง่ เป็นลักษณะเดน่ ของวดั ประเสรฐิ สทุ ธาวาส กกกกกกก5. โบราณสถานวดั สน 5.1 ประวัตคิ วามเป็นมาอโุ บสถวดั สนหลังปัจจุบนั สรา้ งขน้ึ ในสมัยพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยหู่ ัว รัชกาลท่ี 6 เมอ่ื ปี พ.ศ. 2460 แทนอโุ บสถหลังเก่าที่คาดวา่ สรา้ งขึน้ ในสมยั พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว รชั กาลที่ 4 และได้รับการบูรณะเม่ือปี พ.ศ. 2500 ภายใน อุโบสถประดิษฐานพระพุทธรูป 3 องค์ โดยพระพุทธรูปประธานสรา้ งขนึ้ ในสมยั พระบาทสมเด็จ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยหู่ ัว รัชกาลท่ี 6 สว่ นอีก 2 องค์ อาจเป็นพระพุทธรูปเก่าแก่ทเี่ คยประดิษฐานใน อุโบสถหลงั เดิมมาก่อน ซ่ึงน่าจะสร้างขึน้ ในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั ตน้ รชั กาลท่ี 4 ด้านผนงั อุโบสถตกแตง่ ดว้ ยจิตรกรรมฝาผนังใหม่ เล่าเร่ืองพทุ ธประวตั ิพระพุทธเจ้าเสดจ็ ไปโปรดพทุ ธ มารดาบนสวรรค์ชั้นดาวดงึ ส์ และทศชาติชาดก บริเวณดา้ นข้างอุโบสถมีศาลาการเปรียญทีเ่ ป็นเรอื น ไม้ฝาปะกบขนาดใหญ่ อโุ บสถหลงั ปจั จุบนั เป็นสถาปตั ยกรรมของไทยแท้ ท้ัง 4 ดา้ น เป็นภาพเขียน ลายไทยท่งี ดงาม จากฝีมือในสมัยโบราณ และทแี่ ปลกไปกว่าวดั อนื่ คอื หนา้ บนั ประดบั ดว้ ยรปู เทวดาถอื พระขรรค์ ส่วนผนังดา้ นหน้า และหลงั ตกแต่งด้วยชามกระเบ้อื ง มีใบเสนาเป็นแบบเสมาไหล ท่นี ยิ ม สร้างในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 4 ถึง สมยั พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั 5 วัดแห่งนี้มีศาลาการเปรียญ 2 หลัง หลังแรกสร้างด้วยไม้สักล้วน ๆ มีอายุเก่าแก่ กว่า 100 ปี เป็นศาลาการเปรียญท่ียกพ้ืนสูง ซึ่งปัจจุบันศาลาการเปรียญหลังนี้ไม่ได้ใช้ประกอบ พิธีกรรมทางศาสนา ส่วนศาลาการเปรียญหลังใหม่จะมีความวิจิตรสวยงาม โดยมีบันไดพระยานาค ทอดยาวขึ้นไปสูง สามารถมองเห็นทิวทัศน์ท่ีสวยงามของกรุงเทพมหานคร ได้โดยรอบ ใช้เป็นท่ี ประกอบพิธีกรรมต่างๆทางพุทธศาสนา เป็นศาลาการเปรียญส้าหรับเป็นที่พักฉันภัตตาหารของ พระภกิ ษุสามเณร ภายในวัด กลา่ วโดยสรุปอโุ บสถวัดสนหลังปัจจุบันสร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎ เกลา้ เจ้าอยู่หวั รชั กาลท่ี 6 เมื่อปี พ.ศ.2460 แทนอโุ บสถหลังเก่าทคี่ าดว่าสร้างขนึ้ ในสมยั พระบาท สมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ วั รชั กาลที่ 4 และไดร้ ับการบรู ณะเม่อื ปี พ.ศ. 2500 วดั แหง่ น้มี ีศาลา การเปรยี ญ 2 หลัง หลังแรกสรา้ งด้วยไม้สกั ล้วน ๆ มอี ายุเก่าแก่กว่า 100 ปีและศาลาการเปรียญหลัง ใหม่ มีบันไดพระยานาค ทอดยาวขึ้นไปสูง 5.2 ความสา้ คัญภายในอุโบสถวดั สน ภายในประดิษฐานพระพทุ ธรูป 3 องค์ โดย พระพุทธรูปประธานสร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ส่วนอีก 2 องค์ อาจเป็นพระพุทธรปู เก่าแก่ท่ีเคยประดิษฐานในอุโบสถหลังเดิมมาก่อน ซึ่งน่าจะสร้างขึ้นในสมัย

104 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ต้นรัชกาลที่ 4 ที่ชาวบ้านเคารพนับถือ เป็นศูนย์รวมจิตใจ และใชเ้ ป็นที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา สถานทปี่ ระชุมสงฆท์ า้ สังฆกรรม ศาลาการเปรยี ญไม้สกั อายเุ ก่าแกก่ ว่า 100 ปี ปจั จบุ ันเกบ็ รกั ษาพระไตรปฎิ กและ ถือเป็นสิ่งศกั ดิ์สทิ ธป์ิ ระจา้ วัด เป็นที่เคารพสักการะของชาวราษฎร์บูรณะ ศาลาการเปรยี ญหลังใหม่จะมีความวิจิตรสวยงาม ใช้เป็นทีป่ ระกอบพธิ ีกรรม ตา่ ง ๆ ทางพุทธศาสนา เปน็ ศาลาการเปรียญสา้ หรับเปน็ ที่พกั ฉันภตั ตาหารของพระภกิ ษุสามเณร ภายในวดั และเปน็ สถานท่ีท่ีพุทธศาสนิกชนเขา้ มาประกอบพธิ กี รรม ประเพณี วฒั นธรรม ในวนั สา้ คญั ตา่ ง ๆ กลา่ วโดยสรุป อุโบสถวดั สนภายในประดิษฐานพระพุทธรูป 3 องค์ อโุ บสถใช้เป็น ทป่ี ระกอบพิธีกรรมทางศาสนา สถานทปี่ ระชุมสงฆท์ ้าสงั ฆกรรม ศาลาการเปรยี ญไม้สกั อายุเก่าแก่ กว่า 100 ปี ปจั จุบนั เกบ็ รักษาพระไตรปิฎก และถือเป็นสิง่ ศักดิส์ ทิ ธปิ์ ระจ้าวัด เปน็ ทเี่ คารพสกั การะ ของชาวราษฎร์บูรณะ และศาลาการเปรยี ญหลังใหม่ใช้เป็นทีป่ ระกอบพธิ กี รรมต่างๆทางพทุ ธศาสนา เปน็ สถานทีท่ ี่พุทธศาสนิกชนเข้ามาประกอบพธิ ีกรรม ประเพณี วัฒนธรรม ในวันส้าคญั ต่าง ๆ 5.3 ลักษณะส้าคญั ของโบราณสถาน ของอุโบสถวัดสนด้านผนังอโุ บสถตกแต่งดว้ ย จิตรกรรมฝาผนังใหม่ เลา่ เรื่องพุทธประวตั ิพระพทุ ธเจ้าเสด็จไปโปรดพุทธมารดาบนสวรรคช์ นั้ ดาวดงึ ส์ และทศชาตชิ าดก บรเิ วณดา้ นขา้ งอุโบสถมศี าลาการเปรียญทีเ่ ป็นเรือนไมฝ้ าปะกบขนาดใหญ่ อโุ บสถ หลังปจั จบุ ัน เป็นสถาปัตยกรรมของไทยแท้ ทง้ั 4 ดา้ น เป็นภาพเขยี นลายไทยทงี่ ดงาม จากฝีมือใน สมยั โบราณ และทีแ่ ปลกไปกวา่ วัดอ่นื คอื หน้าบันประดับด้วยรูปเทวดาถือพระขรรค์ สว่ นผนงั ด้านหนา้ และหลงั ตกแต่งด้วยชามกระเบอ้ื ง มีใบเสนาเปน็ แบบเสมาใหล ศาลาการเปรยี ญไม้สัก อายุเก่าแก่กวา่ 100 ปี ทา้ ด้วยไม้สกั ที่มอี ายุมากกว่า 100 ปีทัง้ หมด เปน็ อาคารยกพื้นสงู ส้าหรบั เก็บรกั ษาพระไตรปิฎก ศาลาการเปรียญบันไดพระยานาค ทอดยาวขน้ึ ไปสูง ใชเ้ ป็นท่ีประกอบพิธีกรรม ต่างๆทางพทุ ธศาสนา เปน็ ศาลาการเปรียญส้าหรบั เปน็ ท่ีพักฉนั ภัตตาหารของพระภกิ ษุสามเณร ภายในวัด และสามารถมองเห็นทิวทัศนท์ ่ีสวยงามของกรุงเทพมหานคร ไดโ้ ดยรอบ กล่าวโดยสรปุ ลกั ษณะสา้ คัญของโบราณสถาน ของอุโบสถวดั สนดา้ นผนงั อุโบสถ ตกแต่งด้วยจติ รกรรมฝาผนงั ใหม่ เล่าเรอื่ งพุทธประวตั ิพระพทุ ธเจ้าเสด็จไปโปรดพทุ ธมารดาบนสวรรค์ ชั้นดาวดงึ ส์ และทศชาติชาดก เป็นสถาปัตยกรรมของไทยแท้ ท้งั 4 ด้าน หน้าบนั ประดบั ด้วยรปู เทวดาถือพระขรรค์ ส่วนผนงั ดา้ นหน้า และหลงั ตกแตง่ ด้วยชามกระเบ้ือง ศาลาการเปรยี ญไมส้ ัก ท้า ดว้ ยไมส้ กั ที่มอี ายุมากกวา่ 100 ปี สา้ หรับเก็บรักษาพระไตรปิฎก ศาลาการเปรียญบันไดพระยานาค ทอดยาวข้ึนไปสงู เป็นศาลาท่ีสามารถมองเหน็ ทิวทัศน์ที่สวยงามของกรุงเทพมหานคร ได้โดยรอบซง่ึ เป็นลักษณะเด่นของวดั สน

105 กกกกกกก6. โบราณสถานวดั สารอด 6.1 ประวัติความเป็นมา อุโบสถวัดสารอดสร้างข้ึนเมื่อปีพ.ศ. 2461 ต่อมาได้มีการ ช้ารุดทรุดโทรม จึงสร้างขึ้นใหม่ เมื่อปีพ.ศ. 2527 โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี เสด็จเป็นองค์ประธาน ในการตัดหวายลูกนิมิตของพระอุโบสถ ด้านตัวพระอุโบสถก่อผนัง ล้อมรอบท้ังส่ีด้านบริเวณด้านหน้าและด้านหลังท้าเป็นประตูทางเข้า 2 ประตู ด้านซ้ายและขวา ผนัง ด้านข้างท้าช่องหน้าต่าง บานประตูตกแต่งด้วยการลงรักปิดทองเป็นรูปช่อกระหนก บานหน้าต่าง ตกแต่งด้วยการลงรักปดิ ทองลายกระหนก ลักษณะของประตูทางเข้า ประกอบด้วยฐานบัวเพ่ือรองรับ กรอบประตูและหน้าต่าง เสาย่อมุม ซุ้มท้าเป็นหน้าบันจ้าลอง ภายในตกแต่งด้วยลายเทพพนม มีหลังคาหน้าจ่ัว ป้านลมเป็นนาคล้ายอง ประดับด้วย ใบระกา หางหงส์ ภายในอุโบสถประดิษฐาน พระพุทธชินราช (จ้าลอง) ท่ีเป็นท่ีสักการะนับถือของชาวราษฎร์บูรณะ ท่ีผนังโดยรอบรวมท้ังบาน ประตูด้านในตกแต่งด้วยภาพจิตรกรรม โดยบานประตเู ขยี นลายรดน้า เป็นรูปทวารบาล ผนังด้านหลัง พระประธานเขียนภาพป่าและสัตว์ต่าง ๆ ส่วยผนังโดยรอบแสดงภาพพุทธประวัติและทศชาติชาดก ภาพต้นพระศรีมหาโพธิ์ หน้าบันประดับด้วยปูนปั้นรูปกงล้อธรรมจักร และเทพพนมประดับกระจกสี ซ้มุ ประตูหนา้ ต่างเป็นปูนป้ันปิดทองประดับกระจก บานประตูเป็นไม้แกะสลักประดับกระจกรูปทวาร บาล ส่วนบานหน้าต่างเป็นไม้แกะสลักรูปเทพพนม ใช้เป็นท่ีประกอบพิธีกรรมทางศาสนาระหว่าง พระภกิ ษสุ งฆ์ วิหารหลวงพอ่ รอด เป็นอาคาร 2 ชั้น ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปสา้ คญั ของ วดั 3 องค์ โดยมหี ลวงพ่อรอด เป็นพระประธานในวหิ ารหลังน้ี และอีก 2 องค์ คือ หลวงพ่อเพชร หลวงพอ่ พลอย ที่เป็นท่ีเคารพสกั การะ เป็นเคร่อื งยึดเหนย่ี วจิตใจของประชาชนชาวราษฎร์บูรณะ มกั จะมปี ระชาชนทั้งในพ้ืนท่ีและนอกพนื้ ท่ีเดนิ ทางมากราบไหว้ ภายในวิหารหลวงพ่อรอดตบแตง่ ดว้ ย จิตรกรรมทง่ี ดงาม ทผี่ นังเขยี นจติ รกรรมเล่าเร่อื งพระสธุ น– มโนห์รา วาดอยู่ในช่องสเ่ี หล่ียม ช่องละ 1 ตอน รวมทงั้ หมด 12 ตอน ซึ่งเปน็ ส้านวนท้องถนิ่ ที่มีเนื้อหาบางตอนแตกตา่ งจากทเ่ี ผยแพรก่ ันทั่วไป ภาพซ้ายเปน็ ตอนพระสุธนมอบบ่วงนาคบาศให้พรานบญุ ส่วนภาพขวาเปน็ ตอนพรานบญุ จบั นางมโนราห์ดว้ ยบ่วงนาคบาศ วิหารหลวงพ่อรอดนม้ี ีความงดงามย่งิ เพราะเปน็ การตกแต่งด้วย ทองค้าเปลวและกระจกสีหน้าบันเป็นรูปป้นั ลายกนก ประกอบเป็นรปู เทวดา ซุ้มประตู หน้าตา่ งเป็น ปูนปั้นปิดทองประดับกระจก บานประตูไม้แกะสลักเปน็ รูปกินรี ส่วนบานหน้าต่างเป็นรปู เทพพนม จงึ มักมนี ักท่องเท่ียวเดินทางมาเยี่ยมชมความงดงามของจติ รกรรมฝาผนังของพระวิหารหลวงพอ่ รอด และมเี คารพสกั การะอย่างตอ่ เน่อื ง

106 อโุ บสถวัดสารอด ศาลาการเปรยี ญวดั สารอด เปน็ ศาลาอเนกประสงค์ ใช้เปน็ ท่สี ้าหรับพระภิกษุ สามเณรได้ศกึ ษาพระปริยตั ธิ รรม และเรียนวิชาพุทธศาสนาวันอาทิตย์ รวมถงึ ใช้ประกอบพธิ กี รรมทาง พระพทุ ธศาสนาภายในวดั เป็นทีฉ่ นั ภตั ตาหารของพระภิกษสุ ามเณร ภายในวดั กลา่ วโดยสรปุ ประวัตคิ วามเป็นมา อุโบสถวดั สารอด สร้างข้นึ เม่ือปีพ.ศ. 2561 ตอ่ มาไดม้ ีการชา้ รุดทรดุ โทรมจงึ สร้างขนึ้ ใหม่ เมื่อปีพ.ศ. 2527 โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสดจ็ เป็นองคป์ ระธาน ในการตัดหวายลกู นิมิตของพระอโุ บสถ ส่วนวหิ ารหลวง พ่อรอด เป็นอาคาร 2 ช้นั เปน็ ที่ประดิษฐานพระพุทธรูปสา้ คญั ของวัด 3 องค์ 6.2 ความสา้ คญั อโุ บสถวัดสารอด เป็นสถานทท่ี ี่ใช้ประชุมสงฆ์ท้าสังฆกรรม หรอื ประกอบพิธีของพระภิกษุภายในวดั ภายในประดิษฐานพระพทุ ธชินราชจา้ ลอง ทีเ่ ป็นท่ีสักการะของ ชาวราษฎรบ์ ูรณะ วิหารหลวงพ่อรอด ภายในประดิษฐานพระพทุ ธรูปสา้ คัญของวัด 3 องค์ คอื โดยมี หลวงพอ่ รอด เป็นพระประธานในวหิ ารหลังนี้ และอีก 2 องค์ คอื หลวงพ่อเพชร หลวงพ่อพลอย ทเ่ี ป็นทเ่ี คารพสักการะ เป็นเครอื่ งยึดเหนยี่ วจติ ใจ และศาลาการเปรียญวัดสารอด เป็นศาลาท่ีใช้เป็นท่ี ส้าหรับพระภิกษุสามเณรได้ศึกษาพระปริยัติธรรม และเรียนวิชาพุทธศาสนาวันอาทิตย์ รวมถึงใช้ ประกอบพธิ ีกรรมทางพระพทุ ธศาสนาภายในวดั เป็นทีฉ่ นั ภัตตาหารของพระภิกษสุ ามเณร ภายในวดั กล่าวโดยสรปุ อโุ บสถวดั สารอด เปน็ สถานทท่ี ่ีใชป้ ระชมุ สงฆ์ท้าสงั ฆกรรม หรอื ประกอบพิธขี องพระภิกษุ ภายในประดิษฐานพระพทุ ธชินราช (จ้าลอง) วหิ ารหลวงพอ่ รอดภายใน ประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู สา้ คัญของวดั 3 องค์ คือ หลวงพ่อรอด หลวงพอ่ เพชร หลวงพ่อพลอย และ ศาลาการเปรียญวดั สารอด เป็นศาลาทีใ่ ช้เป็นท่สี า้ หรบั พระภกิ ษสุ ามเณรไดศ้ ึกษาพระปริยัตธิ รรม และ

107 เรยี นวชิ าพุทธศาสนาวันอาทิตย์ รวมถึงใช้ประกอบพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนาภายในวัด เปน็ ท่ีฉนั ภตั ตาหารของพระภิกษุสามเณร 6.3 ลกั ษณะส้าคัญของโบราณสถานอุโบสถวดั สารอด ทผ่ี นังโดยรอบรวมทงั้ บานประตู ดา้ นในตกแต่งด้วยภาพจิตรกรรม โดยบานประตูเขยี นลายรดนา้ เปน็ รูปทวารบาล ผนงั ด้านหลังพระ ประธานเขียนภาพป่าและสัตวต์ ่าง ๆ ส่วยผนงั โดยรอบแสดงภาพพุทธประวัตแิ ละทศชาติชาดก ภาพ ต้นพระศรมี หาโพธิ์ หน้าบันประดบั ดว้ ยปูนปั้นรูปกงล้อธรรมจกั ร และเทพพนมประดบั กระจกสี ซมุ้ ประตูหนา้ ต่างเป็นปนู ปน้ั ปิดทองประดบั กระจก บานประตูเปน็ ไม้แกะสลกั ประดบั กระจกรูปทวารบาล สว่ นบานหนา้ ต่างเปน็ ไม้แกะสลักรูปเทพพนม ส่วนพระวิหารหลวงพ่อรอด เปน็ อาคาร 2 ช้ัน ท่ผี นงั ของพระวหิ ารหลวงพ่อรอด เขยี นจิตรกรรมเล่าเรื่องพระสุธน–มโนห์รา วาดอยใู่ นช่องสเ่ี หลี่ยม ชอ่ งละ 1 ตอน รวมทั้งหมด 12 ตอน ซึง่ เปน็ สา้ นวนท้องถิ่นที่มเี น้อื หาบางตอนแตกตา่ งจากที่เผยแพรก่ นั ทว่ั ไป ภาพซ้ายเป็นตอนพระ สธุ นมอบบว่ งนาคบาศใหพ้ รานบญุ สว่ นภาพขวาเปน็ ตอนพรานบญุ จับนางมโนราหด์ ว้ ยบ่วงนาคบาศ ศาลาการเปรียญ เป็นอาคารอเนกประสงคเ์ ปน็ ศาลาทีใ่ ชเ้ ป็นที่สา้ หรบั พระภิกษุ สามเณรได้ศกึ ษาพระปริยตั ิธรรม และเรยี นวิชาพุทธศาสนาวันอาทติ ย์ รวมถงึ ใชป้ ระกอบพิธีกรรมทาง พระพุทธศาสนาภายในวัด เป็นทฉ่ี นั ภัตตาหารของพระภิกษุสามเณร กล่าวโดยสรปุ ลกั ษณะส้าคัญอโุ บสถวดั สารอด ผนังโดยรอบรวมทง้ั บานประตดู ้าน ในตกแต่งดว้ ยภาพจิตรกรรม โดยบานประตเู ขยี นลายรดนา้ เปน็ รูปทวารบาล ผนังดา้ นหลงั พระ ประธานเขียนภาพป่าและสตั ว์ตา่ ง ๆ สว่ นผนังโดยรอบแสดงภาพพุทธประวตั แิ ละทศชาตชิ าดก ภาพ ตน้ พระศรมี หาโพธ์ิ หน้าบันประดบั ด้วยปนู ปัน้ รูปกงล้อธรรมจกั ร และเทพพนมประดับกระจกสี สว่ นพระวิหารหลวงพอ่ รอด ผนังเขยี นจิตรกรรมเลา่ เรอ่ื งพระสุธน–มโนหร์ า วาด อยใู่ นช่องสเ่ี หลี่ยม ช่องละ 1 ตอน รวมทงั้ หมด 12 ตอน ภาพซ้ายเป็นตอนพระสธุ นมอบบว่ งนาคบาศ ใหพ้ รานบุญ สว่ นภาพขวาเป็นตอนพรานบุญจับนางมโนราหด์ ้วยบว่ งนาคบาศ ซึง่ เปน็ ลกั ษณะเดน่ ของ วัดสารอด การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ กกกกกกก1. ศกึ ษาคน้ ควา้ ด้วยตนเองในประเดน็ ท่ีกา้ หนด กกกกกกก2. บนั ทึกผลการศึกษาค้นคว้าลงในเอกสารการเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง (กรต.) กกกกกกก3. นา้ ผลการศึกษาค้นคว้ามาพบกลุ่ม กกกกกกก4. อภิปราย คดิ วิเคราะหข์ ้อมลู แลกเปล่ียนข้อมลู กกกกกกก5. สรปุ ผลการเรยี นรูท้ ี่ได้รว่ มกนั และบันทึกลงในเอกสารการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง (กรต.)

108 กกกกกกก6. น้าสรปุ ผลการเรยี นรูท้ ีไ่ ด้ไปปฏิบตั ิทา้ ใบงานและศกึ ษาวดั ค่บู ้านย่านราษฎรบ์ ูรณะ หวั เรื่อง โบราณสถานท่สี ้าคัญของวัดคูบ่ ้านย่านราษฎรบ์ รู ณะ กกกกกกกึ7. เขยี นเอกสารรายงานการศึกษาโบราณสถานทสี่ า้ คญั ของวดั คบู่ ้านยา่ นราษฎร์บูรณะ หวั เรอ่ื ง โบราณสถานทส่ี า้ คัญของวดั คู่บ้านยา่ นราษฎร์บูรณะ พร้อมน้าส่งครูผู้สอน สื่อและแหล่งเรียนรู้ กกกกกกก1. สอ่ื เอกสาร ไดแ้ ก่ 1.1 ใบความรู้ที่ 4 1.2 ใบงานที่ 4 1.3 หนงั สอื ทเี่ ก่ียวขอ้ ง 1.3.1 ช่ือหนังสือประวัติวัดท่ัวราชอาณาจักร เล่ม 2 รวบรวมและเรียบเรียงโดย นายสมคิด ทองสิมา นายบุญมา ศรีสุรเมธี นางสาวอรรจนีลดา วุฒิจันทร์ ปีที่พิมพ์ พ.ศ. 2526 โรงพิมพ์กรมการศาสนา 1.3.2 ช่อื หนงั สอื รายงานการศกึ ษาโบราณสถานที่ขึ้นทะเบียนในกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2554 กองนโยบายและแผนงาน ส้านกั ผงั เมือง กรงุ เทพมหานคร ปที ี่พมิ พ์ พ.ศ. 2555 1.3.3 ชอ่ื หนงั สือข้อมลู ประกอบการพิจารณา ความเหมาะสมในการก้าหนด กจิ กรรม เพือ่ พัฒนาพน้ื ท่เี ขตราษฎร์บรู ณะของสา้ นักงานเขตราษฎร์บรู ณะ 1.3.4 ช่ือหนังสอื ศิลปกรรมวดั ราษฎร์ ในยา่ นเกา่ กรงุ เทพฯ ผูเ้ ขยี น ธนภทั ร์ ลม้ิ หสั นัยกลุ ปที พ่ี ิมพ์ 2561 โรงพมิ พ์ อมรนิ ทร์พร้นิ ต้ิงแอนด์พบั ลชิ ชิง่ 1.3.5 ชอ่ื หนงั สอื สวดมนต์ ท้าวัตรเชา้ –เยน็ ฉบับวัดราษฎรบ์ ูรณะ ผเู้ ขยี น พระมหาสมศักดิ์ ทนตฺ จิตโฺ ต (ป.ธ.8) ปีพ.ศ.2561 โรงพิมพ์ บรษิ ทั สหธรรมิก จ้ากดั 1.3.6 ชือ่ หนังสือคู่มือสวดมนต์ วดั แจงร้อน แขวงราษฎรบ์ รู ณะ เขตราษฎรบ์ ูรณะ กทม. โรงพิมพ์ เลี่ยงเชยี ง 1.3.7 ชอื่ หนงั สอื ประวตั ิการบรู ณะพระอโุ บสถ-วหิ าร ผ้เู ขยี น วรรณา วัชรพมิ ลพรรณ 9 มถิ นุ ายน 2549 ไม่ระบุโรงพิมพ์ กกกกกกก2. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไดแ้ ก่ 2.1 เว็บไซต์ ได้แก่ 2.1.1 ประวตั ิวัดสารอด ผเู้ ขยี น กรมการศาสนา สืบค้นจาก http://www.facebook.com/wadsarod.suk

109 2.2.2 ประวตั วิ ดั แจงร้อน ผู้เขยี น วดั แจงรอ้ น สบื คน้ จาก http://watjangron.blogspot.com กกกกกกก3. สื่อบุคคลหรอื ภูมิปญั ญา ได้แก่ 3.1 พระมหาสมศักดิ์ ทนฺตจติ ฺโต เจ้าอาวาสวดั ราษฎร์บูรณะ ตง้ั อยเู่ ลขท่ี 14 ถนน ราษฎร์บูรณะ หมู่ที่ 10 แขวงบางปะกอก เขตราษฎร์บูรณะ กรงุ เทพมหานคร หมายเลขโทรศพั ท์ 087-7194531 3.2 พระครูปลัดวัชระ กนฺตสโี ล ผชู้ ว่ ยเจ้าอาวาสวัดแจงร้อน ตัง้ อย่เู ลขที่ 2 ถนนราษฎร์ บรู ณะ แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎรบ์ รู ณะ กรุงเทพมหานคร หมายเลขโทรศัพท์ 02-8166923 การวดั และประเมินผล กกกกกกก1. ประเมนิ ความก้าวหน้า ดว้ ยวิธกี ารตอ่ ไปน้ี 1.1 การสังเกต 1.2 การซักถาม ตอบค้าถาม 1.3 ตรวจเอกสารการเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง (กรต.) 1.4 ตรวจเอกสารรายงานการศึกษาวดั คูบ่ ้านย่านราษฎรบ์ รู ณะ หวั เรือ่ งโบราณ สถานทสี่ ้าคัญของวดั คบู่ ้านยา่ นราษฎรบ์ รู ณะ กกกกกกก2. ประเมินผลรวม ดว้ ยวธิ ีการตอ่ ไปน้ี 2.1 ใหต้ อบแบบทดสอบวดั ความรู้ หัวเรื่องโบราณสถานทส่ี ้าคัญของวดั ค่บู ้านยา่ น ราษฎรบ์ ูรณะ จ้านวน 7 ข้อ 2.2 ใหต้ อบแบบสอบถามวดั เจตคติ

110 หวั เรื่องท่ี 5 วธิ ีการศกึ ษาทางประวัติศาสตร์ และภูมศิ าสตร์ในการศึกษา ของวดั คบู่ ้านยา่ นราษฎรบ์ รู ณะ สาระสาคญั กกกกกกก1. วธิ กี ารศึกษาทางประวัตศิ าสตร์ วิธกี ารศกึ ษาทางประวตั ิศาสตร์ มี 5 ขั้นตอน คอื (1) ก้าหนดประเดน็ ในการศึกษา (2) สืบคน้ และรวบรวมข้อมูล (3) การวิเคราะหแ์ ละตคี วามข้อมลู (4) การคัดเลือกและประเมินข้อมูล และ (5) การเรียบเรยี งรายงานขอ้ เท็จจรงิ ทางประวตั ศิ าสตร์ สา้ หรับการประยุกต์ใช้ขน้ั ตอนวิธีการศึกษาทางประวัตศิ าสตรใ์ นการศกึ ษาของ วดั คู่บ้านย่านราษฎร์บูรณะ ให้ครผู ูส้ อนแนะน้าผเู้ รียนในขั้นตอนการกา้ หนดประเดน็ ศึกษา แลว้ ให้ไป ศกึ ษาคน้ คว้าหาข้อมูล โดยผูเ้ รียนตอ้ งประยุกตใ์ ช้การวเิ คราะห์ และตีความข้อมูลทางประวตั ิศาสตร์ กับข้อมลู ทีค่ น้ ควา้ ได้ ต่อจากน้ันให้ผู้เรียนคดั เลอื ก และประเมนิ ข้อมลู น้ามาเปรยี บเทียบ สรุปผล การศึกษาคน้ คว้า และบนั ทึกลงในเอกสารการเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง (กรต.) เพ่ือน้าไปพบกลุ่มตามท่ี นัดหมายไว้กบั ครูผสู้ อน 2. วธิ ีการศกึ ษาทางภูมิศาสตร์ วธิ กี ารศึกษาทางภูมิศาสตร์ มี 4 ขั้นตอน คือ (1) ก้าหนดวัตถุประสงคใ์ นการศึกษา (2) การเก็บรวบรวมข้อมลู ออกปฏบิ ัติภาคสนาม และสัมภาษณ์ (3) น้าขอ้ มูลมาวิเคราะห์และ จดั หมวดหมู่ (4) สรุปนา้ เสนอข้อมลู ส้าหรับการประยุกต์ใช้ข้ันตอนวิธีการศึกษาทางภูมิศาสตร์ในการศึกษาของวัดคู่บ้าน ย่านราษฎร์บูรณะ ให้ครูผู้สอนแนะน้าผู้เรียนในข้ันตอนการก้าหนดประเด็นศึกษา แล้วให้ไปศึกษา ค้นควา้ หาข้อมูล โดยผเู้ รียนต้องประยกุ ต์ใช้ ดว้ ยการกา้ หนดวัตถปุ ระสงคใ์ นการศึกษาประเด็นศึกษาที่ ก้าหนด ต่อจากน้ันให้ไป ณ แหล่งเรียนรู้ในชุมชน หรือแหล่งเรียนรู้ท่ีต้องศึกษา สัมภาษณ์ เก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้รู้ ภูมิปัญญาหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์และ จัดหมวดหมู่ สรุปผลการศึกษาค้นคว้า และบันทึกลงในเอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.) เพือ่ น้าไปพบกลุ่มตามทนี่ ดั หมายไวก้ ับครูผสู้ อน

111 ตวั ชวี้ ัด กกกกกกก1. สามารถใช้วิธีการศึกษาทางประวตั ิศาสตร์ และภมู ศิ าสตร์ในการศึกษาของวัดค่บู า้ นย่าน ราษฎรบ์ ูรณะได้ กกกกกกก2. เหน็ ประโยชนข์ องการใชว้ ธิ กี ารศึกษาทางประวตั ศิ าสตร์ และภมู ิศาสตร์ในการศึกษา ของวดั คู่บ้านยา่ นราษฎรบ์ ูรณะ ขอบขา่ ยเน้อื หา กกกกกกกหวั เรื่องที่ 5 วิธีการศึกษาทางประวัตศิ าสตร์และภูมิศาสตร์ในการศึกษาของวัดคบู่ า้ นยา่ น ราษฎรบ์ รู ณะ กกกกกกก1. วิธีการศึกษาทางประวตั ิศาสตร์ 1.1 ก้าหนดประเด็นในการศกึ ษา 1.2 สืบคน้ และรวบรวมข้อมลู 1.3 การวเิ คราะหแ์ ละตีความข้อมูล 1.4 การคัดเลือกและประเมินขอ้ มลู 1.5 การเรยี บเรียงรายงานข้อเท็จจรงิ ทางประวัติศาสตร์ กกกกกกก2. วธิ กี ารศกึ ษาทางภูมศิ าสตร์ 2.1 ก้าหนดวัตถปุ ระสงคใ์ นการศกึ ษา 2.2 การเกบ็ รวบรวมข้อมูลออกปฏบิ ัตภิ าคสนาม และสัมภาษณ์ 2.3 นา้ ข้อมลู มาวิเคราะห์ และจดั หมวดหมู่ 2.4 สรุปนา้ เสนอข้อมูล เนือ้ หา กกกกกกก1. วธิ ีการศึกษาทางประวตั ิศาสตร์ 1.1 ก้าหนดประเด็นในการศึกษา เป็นการศึกษาเรื่องราวในประวัติศาสตร์เริ่มจาก ความสงสัย อยากรู้ ไม่พอใจกับค้าอธิบายเร่ืองราวที่มีมาแต่เดิม ดังนั้น ผู้ศึกษาจึงเริ่มจากการก้าหนด เร่ืองหรือประเด็นท่ีต้องการศึกษาซึ่งในตอนแรก อาจก้าหนดประเด็นท่ีต้องการศึกษาไว้กว้าง ๆ ก่อน แล้วจึงค่อยจ้ากัดประเด็นลงให้แคบ เพ่ือให้เกิดความชัดเจนในภายหลัง เพราะบางเรื่องขอบเขตของ การศึกษาอาจกว้างมากทั้งเหตุการณ์ บุคคล และเวลาการก้าหนดหัวเรื่องอาจเก่ียวกับเหตุการณ์ ความเจริญ ความเส่ือมของอาณาจักร ตัวบุคคลในช่วงเวลาใดเวลาหน่ึง อาจยาวหรือส้ันตามความ

112 เหมาะสม ซ่ึงผู้ศึกษาเห็นว่าเป็นช่วงเวลาท่ีส้าคัญ และยังมีหลักฐานข้อมูลที่ผู้ต้องการศึกษาหลงเหลือ อยู่ หัวข้อเร่ืองอาจปรับให้มีความเหมาะสมหรือเปล่ียนแปลงได้ ถ้าหากหลักฐานท่ีใช้ในการศึกษา มนี อ้ ยหรือไมน่ า่ เชอ่ื ถอื 1.2 สบื ค้นและรวบรวมขอ้ มูล คือ การรวบรวมหลกั ฐานที่เก่ยี วข้องกบั หวั ข้อทจี่ ะศึกษา ซึง่ มีทง้ั หลกั ฐานท่เี ปน็ ลายลักษณอ์ ักษร และหลกั ฐานท่ีไม่เปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษร หลักฐานทาง ประวตั ิศาสตรแ์ บ่งออกเป็น หลกั ฐานชั้นต้นหรอื หลกั ฐานปฐมภมู ิ กับหลักฐานช้ันรอง หรอื หลกั ฐานทตุ ยิ ภมู ิ 1.2.1 หลักฐานชัน้ ต้น (Primary Sources) เป็นหลกั ฐานร่วมสมัยของผู้ที่เกี่ยวข้องกับ เหตุการณ์โดยตรง ประกอบด้วยหลักฐานทางราชการทั้งที่เป็นเอกสารลับ เอกสารที่เปิดเผยกฎหมาย ประกาศ สุนทรพจน์ บันทึกความทรงจ้าของผู้ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ หรืออัตชีวประวัติผู้ที่ได้รับ ผลกระทบกับเหตุการณ์ การรายงานข่าวของผู้รู้ ผู้เห็นเหตุการณ์ วีดีทัศน์ ภาพยนตร์ ภาพถ่าย เหตุการณท์ ่ีเกิดขึน้ เป็นตน้ 1.2.2 หลักฐานช้ันรอง (Secondary Sources) เป็นหลักฐานท่ีจัดท้าข้ึนโดยอาศัย หลักฐานชั้นต้น หรือโดยบุคคลที่ไม่ได้เก่ียวข้อง ไม่ได้รู้เห็นเหตุการณ์ด้วยตนเอง แต่ได้รับรู้โดยผ่าน บุคคลอื่น ประกอบด้วยผลงานของนักประวัติศาสตร์หรือหนังสือประวัติศาสตร์ รายงานของ สื่อมวลชนทไ่ี ม่ไดร้ เู้ หน็ เหตุการณด์ ว้ ยตนเอง ทั้งหลักฐานชั้นต้นและหลักฐานช้ันรองจัดว่ามีคุณค่าแตกต่างกัน คือ หลักฐาน ช้ันต้นมีความส้าคัญมาก เพราะเป็นหลักฐานร่วมสมัยที่บันทึกโดยผู้รู้เห็น หรือผู้ท่ีเก่ียวข้องกับ เหตกุ ารณโ์ ดยตรง สว่ นหลักฐานชั้นรองเป็นหลักฐานที่ท้าข้ึนภายหลังโดยใช้ข้อมูลจากหลักฐานช้ันต้น แต่หลักฐานชั้นรองจะช่วยอธิบายเรื่องราวให้เข้าใจหลักฐานชั้นต้นได้ง่ายข้ึน ละเอียดขึ้นอันเป็น แนวทางไปสู่หลักฐานข้อมูลอื่นๆ ซึ่งปรากฏในบรรณานุกรมของหลักฐานชั้นรองทั้งหลักฐานช้ันต้น และช้ันรองสามารถ ค้นคว้าได้จากห้องสมุด ท้ังของทางราชการ และของเอกชน ตลอดจนฐานข้อมูล ในเครือข่ายอินเทอรเ์ น็ต (website) การคน้ คว้าเร่ืองราวในประวัติศาสตร์ที่ดีควรใช้หลักฐานรอบด้าน โดยเฉพาะหลักฐานท่ีเกี่ยวข้องกับเรื่องท่ีจะศึกษา อย่างไรก็ดีไม่ว่าจะใช้หลักฐานประเภทใดควรใช้ ดว้ ยความระมัดระวงั เพราะหลักฐานทกุ ประเภทมีจดุ เด่นจดุ ด้อยแตกต่างกัน 1.3 การวิเคราะห์และตีความข้อมูล เป็นการประเมินคุณค่าของหลักฐานจากข้อมูล ภายในหลักฐานนั้น การวิเคราะห์และตีความข้อมูล จึงเป็นการประเมินความถูกต้องและความส้าคัญ ของหลักฐาน เพราะหลักฐานบางอย่างอาจเป็นของปลอมหรือเลียนแบบของเก่าหรือเขียนโดยบุคคล ท่ีไม่ได้รู้เห็นเหตุการณ์โดยตรง แล้วมาบันทึกไว้เสมือนได้รู้เห็นเอง หรือแม้จะรู้เห็นเหตุการณ์โดยตรง แต่อาจมคี วามล้าเอยี งเขา้ ขา้ งฝา่ ยใดฝ่ายหนึ่งไม่วางตัวเป็นกลาง อีกท้ังจะท้าให้เกิดความรู้ที่ไม่ถูกด้วย ดงั นัน้ การวิเคราะหแ์ ละตีความข้อมูลจึงมีความส้าคัญและจ้าเป็นมาก

113 1.4 การคัดเลือกและประเมนิ ข้อมลู เมอื่ ทราบว่าหลกั ฐานนั้นเป็นของแท้ใหข้ ้อมูลที่เปน็ ข้อเท็จจริงหรือความจริงในประวัติศาสตร์ ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์ก็จะต้องศึกษาข้อมูลหรือข้อสนเทศ ในหลกั ฐานนนั้ วา่ ให้ข้อมลู ทางประวตั ิศาสตรอ์ ะไรบา้ ง ข้อมลู น้นั มีความสมบูรณ์เพียงใด หรือข้อมูลน้ัน มีจุดมุ่งหมายเบ้ืองต้นอย่างไร มีจุดมุ่งหมายแอบแฝงหรือไม่ ข้อมูลมีความยุติธรรมหรือไม่ จากน้ันจึง น้าข้อมูลท้ังหลายมาจัดหมวดหมู่ เช่น ความเป็นมาของเหตุการณ์ สาเหตุท่ีท้าให้เกิดเหตุการณ์ความ เป็นไปของเหตุการณ์ ผลของเหตุการณ์ เป็นต้น เม่ือได้ข้อมูลเป็นเรื่อง เป็นประเด็นแล้ว ผู้ศึกษา ประวัติศาสตร์เรื่องนั้นก็จะต้องหาความสัมพันธ์ของประเด็นต่าง ๆ และตีความข้อมูลว่ามีข้อเท็จจริง ใดที่ซอ่ นเรน้ อ้าพราง ไมก่ ลา่ วถงึ หรือในทางตรงกันข้ามอาจมีข้อมูลกล่าวเกินความเป็นจริงไปมาก ใน การวิเคราะห์ สงั เคราะห์ข้อมลู ผู้ศกึ ษาประวัตศิ าสตร์ควรมีความละเอยี ดรอบคอบ วางตัวเป็นกลาง มี จินตนาการ มีความรอบรู้ โดยศึกษาข้อมูลท้ังหลายอย่างกว้างขวาง และน้าผลการศึกษาเรื่องนั้นที่มี แตเ่ ดมิ มาวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บรวมท้งั จัดหมวดหมขู่ ้อมูลให้เปน็ ระบบ 1.5 การเรยี บเรยี งรายงานขอ้ เท็จจริงทางประวตั ศิ าสตร์ การเรียบเรียงหรอื การนา้ เสนอจัดเป็นขัน้ ตอนสดุ ท้ายของวธิ ีการทางประวัติศาสตร์ ซ่งึ มคี วามสา้ คัญมาก โดยผูศ้ ึกษา ประวตั ิศาสตร์จะตอ้ งน้าข้อมูลทงั้ หมดมารวบรวมและเรียบเรียงหรอื น้า เสนอใหต้ รงกับประเดน็ หรือ หวั เรื่องทีต่ นเองสงสยั ตอ้ งการอยากรเู้ พม่ิ เติม ทงั้ จากความรเู้ ดิมและความรู้ใหม่ รวมไปถึงความคิด ใหมท่ ีไ่ ด้จากการศึกษาคร้ังนี้ ซง่ึ เทา่ กบั เป็นการรื้อฟ้ืนหรือจ้าลองเหตุการณ์ทางประวตั ิศาสตร์ข้ึนมา ใหม่ อย่างถกู ต้องและเปน็ กลาง ในขัน้ ตอนการน้าเสนอ ผูศ้ กึ ษาควรอธบิ ายเหตุการณ์อยา่ งมีระบบ และมคี วามสอดคลอ้ งต่อเน่ือง เป็นเหตเุ ปน็ ผล มกี ารโต้แยง้ หรือสนับสนนุ ผลการศกึ ษาวิเคราะห์แต่ เดมิ โดยมขี ้อมูลสนับสนุนอย่างมนี า้ หนัก เปน็ กลาง และสรุปการศกึ ษาวา่ สามารถใหค้ า้ ตอบท่ีผู้ศึกษา มีความสงสยั อยากรไู้ ดเ้ พยี งใด หรอื มีข้อเสนอแนะให้สา้ หรับผ้ทู ่ีต้องการศึกษาต่อไปอยา่ งไรบ้าง จะเห็นได้ว่าวิธีการทางประวัติศาสตร์เป็นวิธีการศึกษาประวัติศาสตร์อย่างมีระบบ มีความระมัดระวัง รอบคอบ มีเหตุผลและเป็นกลาง ซื่อสัตย์ต่อข้อมูลตามหลักฐานที่ค้นคว้ามา อาจ กล่าวได้ว่า วิธีการทางประวัติศาสตร์เหมือนกับวิธีการทางวิทยาศาสตร์ จะแตกต่างกันก็เพียงวิธีการ ทางวิทยาศาสตร์สามารถทดลองได้หลายครั้ง จนเกิดความแน่ใจในผลการทดลอง แต่เหตุการณ์ทาง ประวัติศาสตรไ์ มส่ ามารถทา้ ให้เกิดข้ึนใหม่ได้อีก ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์ที่ดีจึงเป็นผู้ฟ้ืนอดีตหรือจ้าลอง อดีตให้มีความถูกต้องและสมบูรณ์ที่สุด โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์เพ่ือที่จะได้เกิดความเข้าใจ อดีตอนั จะน้ามาสู่ความเขา้ ใจในปัจจุบนั กล่าวโดยสรปุ วิธีการศึกษาทางประวตั ิศาสตร์ มี 5 ข้นั ตอน คือ (1) กา้ หนด ประเด็นในการศึกษา (2) สบื ค้นและรวบรวมข้อมลู (3) การวิเคราะหแ์ ละตีความข้อมลู (4) การคดั เลือกและประเมนิ ข้อมูล และ (5) การเรียบเรยี งรายงานขอ้ เทจ็ จริงทางประวตั ิศาสตร์

114 ส้าหรับการประยกุ ต์ใชข้ ้ันตอนวธิ ีการศกึ ษาทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาของวัดคู่ บ้านย่านราษฎร์บูรณะ ให้ครูผู้สอนแนะน้าผู้เรียนในขั้นตอนการก้าหนดประเด็นศึกษา แล้วให้ไป ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล โดยผู้เรียนต้องประยุกต์ใช้การวิเคราะห์ และตีความข้อมูลทางประวัติศาสตร์ กับข้อมูลที่ค้นคว้าได้ ต่อจากนั้นให้ผู้เรียนคัดเลือก และประเมินข้อมูล น้ามาเปรียบเทียบ สรุปผล การศึกษาค้นคว้า และบันทึกลงในเอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.) เพ่ือน้าไปพบกลุ่มตาม ทนี่ ดั หมายไวก้ บั ครูผู้สอน กกกกกกก2. วธิ ีการศึกษาทางภูมิศาสตร์ 2.1 ก้าหนดวตั ถปุ ระสงค์ในการศึกษาทางภูมิศาสตร์ มีความเก่ียวข้องสมั พันธก์ ับ หลกั ฐานทางภมู ศิ าสตร์ เชน่ แผนทีแ่ สดงลักษณะภูมิประเทศของโลก แผนที่ทางธรณีวทิ ยา ภาพถ่าย ทางดาวเทยี ม แผนภมู ิพยากรณ์สภาพลมฟ้าอากาศของกรมอตุ นุ ิยมวิทยา แผนภูมิแสดงสถิตปิ ริมาณ ฝน ฯลฯ โดยท้าการศกึ ษา ค้นคว้า หาขอ้ มูลเพื่อนา้ มาวิเคราะหห์ าเหตุผลและขอ้ สรปุ โดยวธิ กี ารศกึ ษา ทางภมู ิศาสตร์ 2.2 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ออกปฏบิ ตั ภิ าคสนาม และสมั ภาษณ์ การออกภาคสนาม คอื การส้ารวจพ้นื ทีจ่ รงิ เพื่อศึกษาหรือเกบ็ ข้อมูลต่างๆ ตามวัตถุประสงค์และประโยชน์ของการออก ภาคสนาม มดี งั นี้ 2.2.1 ผู้ศกึ ษาได้เห็นสภาพจรงิ ของพน้ื ท่ีและได้ศึกษาสภาพปรากฏการณต์ า่ งๆ ท่ี เกดิ ข้นึ จรงิ เช่น การจดั เซาะตลงิ่ ของคลืน่ บรเิ วณชายคลอง ลกั ษณะของดนิ หิน และสภาพแวดล้อม ของป่าชายเลย เป็นตน้ ชว่ ยให้เข้าใจทฤษฎจี ากตา้ ราเรียนชัดเจนยงิ่ ข้ึน 2.2.2 ผ้ศู ึกษาได้ศกึ ษา “เชงิ เปรียบเทยี บ” เพื่อผลสมั ฤทธใิ์ นการเรียนรู้ เชน่ ศึกษาในปรากฏการณ์ทางภมู ิศาสตรเ์ ร่อื งเดยี วกนั แต่ในพ้ืนทแ่ี ละเวลาต่างกัน หรอื ในพืน้ ที่เดยี วกัน แต่ต่างเวลากนั เปน็ ต้น เพือ่ น้ามาวเิ คราะห์เปรียบเทียบใหเ้ ห็นความเปลย่ี นแปลงทีเ่ กิดข้ึนอยา่ งชัดเจน 2.2.3 การสัมภาษณ์ เป็นการเกบ็ ข้อมูลภาคสนามอกี วธิ หี นง่ึ ท่ีเรยี กว่า “งานสนาม” ชว่ ยให้การศึกษาวชิ าภมู ิศาสตร์ครบสมบรู ณ์ย่ิงขนึ้ มีหลักเกณฑ์ ดังน้ี 1) ผสู้ ัมภาษณ์ ต้องมีความรับผิดชอบต่อหน้าท่ี เช่น บันทึกข้อมลู ตาม ความจรงิ ไมต่ ่อเติมหรือบิดเบือน ตอ้ งให้เกียรตแิ ก่ผู้ใหส้ มั ภาษณ์ เพ่ือให้ได้รบั ความรว่ มมืออย่างมาก ทส่ี ดุ 2) ผูใ้ หส้ ัมภาษณ์ ต้องเปน็ บุคคลในท้องถนิ่ ทม่ี ีความรูต้ ามหวั เรอ่ื ง และ ใหค้ วามรว่ มมือในการสมั ภาษณอ์ ยา่ งแท้จริง เพ่ือให้ไดร้ บั ประโยชน์จากการสัมภาษณ์ตาม วัตถปุ ระสงค์ ดงั นัน้ จงึ ต้องก้าหนดวนั เวลา และสถานที่ใหเ้ หมาะสมด้วย

115 3) เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการสมั ภาษณ์ มี 2 ลักษณะ คอื (1) แบบสัมภาษณ์ เป็นชุดค้าถามท่ีผสู้ ัมภาษณ์เตรียมจะใชถ้ าม โดย ใช้ส้านวนภาษาทเ่ี ขา้ ใจงา่ ยไม่ล่วงละเมิดสทิ ธขิ องผตู้ อบ และเกบ็ ขอ้ มลู คา้ ตอบไวเ้ ปน็ ความลบั (2) แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือทเ่ี กบ็ ข้อมูลทใี่ หผ้ ูต้ อบแสดงความ คิดเห็นโดยการเขียน ดังน้ันจึงต้องพิมพ์ให้ชัดเจน ใช้ภาษาท่ีเข้าใจง่าย โดยทั่วไปจะต้องเลือกผู้ตอบ จากบุคคลที่อยู่ในพื้นท่ีตามเป้าหมายและมีจ้านวนผู้ตอบมากพอสมควร เพื่อให้ได้ข้อมูลท่ีน่าเช่ือถือ และไม่คลาดเคลอ่ื นจากขอ้ เท็จจรงิ 2.3 น้าข้อมูลมาวิเคราะห์ และจัดหมวดหมู่ เป็นขนั้ ตอนต่อจากทีไ่ ด้รวบรวมหลักฐาน และวิเคราะห์ความนา่ เชือ่ ถือนน้ั ๆแลว้ ขอ้ มูล คือเรื่องราวตา่ งๆ ทางประวัตศิ าสตร์ทีป่ รากฏใน หลกั ฐานทีร่ วบรวมและวิเคราะหแ์ ล้วจากหลักฐานท่เี ชื่อถือได้ จากน้นั จึงน้าข้อมลู มาวิเคราะห์ คอื แยกประเภท โดยเรยี งเหตุการณ์ ตามลา้ ดบั เวลาก่อนหลัง เพราะความสา้ คญั ของข้อมลู แลว้ ท้าการ สังเคราะห์ คือจดั เหตุการณ์ เร่ืองเดยี วกนั และเกี่ยวข้องสัมพนั ธก์ นั ไว้ด้วยกนั และศึกษาความ ตอ่ เนื่อง การเปลย่ี นแปลงของเหตกุ ารณ์ ตลอดจนปจั จยั ตา่ งๆ ท่ีมคี วามส้าคัญต่อเหตกุ ารณ์ 2.4 สรุปน้าเสนอข้อมูล เปน็ การเรยี บเรยี งข้อมูลที่ไดค้ น้ คว้า วเิ คราะห์ และสังเคราะห์ มาแลว้ เพอ่ื น้าเสนอข้อมูลในลกั ษณะทเี่ ป็นการตอบหรืออธบิ ายความอยากรู้ ข้อสงสยั ตลอดจน ความรใู้ หม่ ความคิดใหม่ทไ่ี ด้จากการศึกษาคน้ ควา้ นั้น ในรูปแบบการเขียนรายงานอยา่ งมเี หตุผล กล่าวโดยสรุป วิธกี ารศกึ ษาทางภมู ศิ าสตร์ มี 4 ขัน้ ตอน คือ (1) ก้าหนด วัตถปุ ระสงค์ในการศึกษา (2) การเกบ็ รวบรวมข้อมูลออกปฏิบตั ภิ าคสนาม และสมั ภาษณ์ (3) นา้ ขอ้ มาวิเคราะห์ และจดั หมวดหมู่ และ (4) สรุปนา้ เสนอขอ้ มลู ส้าหรับการประยุกต์ใช้ข้ันตอนวิธีการศึกษาทางภูมิศาสตร์ในการศึกษา ของวัด คู่บ้านย่านราษฎร์บูรณะ ให้ครูผู้สอนแนะน้าผู้เรียนในขั้นตอนการก้าหนดประเด็นศึกษา แล้วให้ไป ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล โดยผู้เรียนต้องประยุกต์ใช้ ด้วยการก้าหนดวัตถุประสงค์ในการศึกษาประเด็น ศึกษาท่ีก้าหนด ต่อจากน้ันให้ไป ณ แหล่งเรียนรู้ในชุมชน หรือแหล่งเรียนรู้ที่ต้องศึกษา สัมภาษณ์ เก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้รู้ ภูมิปัญญาหรือบุคคลท่ีเก่ียวข้อง รวบรวมข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์และ จัดหมวดหมู่ สรุปผลการศึกษาค้นคว้า และบันทึกลงในเอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.) เพ่ือน้าไปพบกล่มุ ตามทนี่ ดั หมายไว้กับครูผู้สอน การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ กกกกกกก1. บรรยายสรปุ กกกกกกก2. ศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเองในประเดน็ ท่ีก้าหนด

116 กกกกกกก3. บนั ทกึ ผลการศกึ ษาคน้ คว้าลงในเอกสารการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (กรต.) กกกกกกก4. น้าผลการศึกษาคน้ ควา้ มาพบกลุ่ม กกกกกกก5. อภิปราย คดิ วิเคราะห์ข้อมูล แลกเปล่ยี นข้อมูล กกกกกกก6. สรุปผลการเรยี นรู้ท่ไี ด้ร่วมกัน และบนั ทึกลงในเอกสารการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง (กรต.) กกกกกกก7. นา้ สรปุ ผลการเรยี นรู้ท่ีไดไ้ ปปฏิบัติท้าใบงานและศึกษาของวัดค่บู า้ นย่านราษฎร์บรู ณะ ด้วยวธิ กี ารศึกษาทางประวัติศาสตรแ์ ละภมู ศิ าสตร์ สื่อและแหล่งเรียนรู้ 1. สอ่ื เอกสาร 1.1 ใบความรทู้ ี่ 5 1.2 ใบงานท่ี 5 1.3 หนังสือเรยี น สาระการพัฒนาสงั คม รายวชิ าของวดั คบู่ ้านย่านราษฎร์บูรณะ สค33150 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั เขตราษฎร์บูรณะ 1.4 หนงั สอื ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง หนังสือเรยี น รายวิชาสงั คมศึกษา สค 31001 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย กกกกกกก2. สอื่ อิเลก็ ทรอนิกส์ 2.1 ความหมายของประวัตศิ าสตร์ ผู้เขียน ดร.ปารติ า เสือพนั ธ์ ธนากิจ เพ็ชรประสาน สืบค้นจาก http://www.bootcampdemy.com 2.2 วธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์ ผเู้ ขยี น สุนศิ า หึกขนุ ทด สบื คน้ จาก http://www.mobile.sites.google.com 2.3 หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรท์ แี่ บ่งตามลา้ ดบั ความสา้ คัญ ผู้เขยี น ดร.ปาริตา เสอื พันธ์ ธนากจิ เพช็ รประสาน สืบค้นจาก http://www.bootcampdemy.com 2.4 การกา้ หนดวัตถปุ ระสงค์ในการศกึ ษาภมู ศิ าสตร์ ผเู้ ขียน สกุ ญั ญา จะชาลี สบื คน้ จาก http://sites.google.com/sites/yingd558. 2.5 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ดว้ ยการออกปฏิบตั ิภาคสนามและสัมภาษณ์ สบื ค้นจาก บา้ นจอมยุทธ http://www.baanjomyut.com 2.6 บทความเร่ืองขน้ั ตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ผเู้ ขียน หัสยา รอดยิม้ . สืบคน้ จาก https://mobile.sites.google.com/site/hassaya32/

117 กกกกกกก3. สือ่ แหล่งเรียนร้ใู นชมุ ชน ได้แก่ 3.1 พพิ ธิ ภณั ฑ์ทอ้ งถิ่นกรุงเทพมหานครเขตราษฎรบ์ รู ณะ กรุงเทพมหานคร การวดั และประเมนิ ผล กกกกกกก1. ประเมนิ ความก้าวหนา้ ด้วยวิธกี ารต่อไปนี้ 1.1 การสงั เกต 1.2 การซักถาม ตอบค้าถาม 1.3 ตรวจเอกสารการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (กรต.) กกก 2. ประเมนิ ผลรวม ด้วยวธิ ีการตอ่ ไปน้ี 2.1 ใหต้ อบแบบทดสอบวดั ความรู้ หวั เร่ือง วิธกี ารศึกษาทางประวัติศาสตร์และ ภมู ิศาสตร์ของวัดคูบ่ ้านย่านราษฎร์บรู ณะ จ้านวน 10 ข้อ 2.2 ใหต้ อบแบบสอบถามวดั ทกั ษะ 2.3 ให้ตอบแบบสอบถามวัดเจตคติ

118 หัวเรอื่ งที่ 6 การสืบสานและอนรุ กั ษ์โบราณสถานทส่ี าคัญของวัดคบู่ า้ นยา่ นราษฎร์บรู ณะ สาระสาคญั กกกกกกก1. ความส้าคญั ของโบราณสถาน โบราณสถาน ไม่ใช่ทรัพยากรธรรมชาติซ่ึงเกิดข้ึนได้เอง แต่เป็นทรัพยากรวัฒนธรรม ประเภทหน่ึงที่มนุษย์ใช้สติปัญญา และความรู้ความสามารถสร้างข้ึนใหม่ท้ังหมดหรือดัดแปลงจาก ทรัพยากรธรรมชาติให้เป็นประโยชน์ต่อตน และสังคมในสมัยนั้น ๆ ฉะนั้นโบราณสถานจึงเป็น หลักฐานประวัตศิ าสตรป์ ระเภทหนง่ึ ท่ีบอกความเปน็ มาของบรรพบรุ ุษท่ีอยใู่ นสังคมระดับต่าง ๆ ตั้งแต่ กลมุ่ ชนขนาดเล็กจนถึงหมู่บา้ น เมือง และประเทศชาตติ อ่ เน่ืองมาจนถึงสมัยปัจจุบนั กกกกกกก2. วิธกี ารสืบสานโบราณสถาน โบราณสถานและโบราณวัตถุ เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ประเภทหน่ึ ง ท่ีบอกความเป็นมาของกลุ่มชน หมู่บ้าน เมืองและประเทศชาติ นับต้ังแต่อดีตกาลต่อเน่ืองมาจนถึง ปัจจุบนั การสืบสานโบราณสถานจึงเป็นหน้าท่ขี องชนรุ่นปจั จบุ นั ท่จี ะต้องอนรุ ักษ์ทรัพยากรวัฒนธรรม ประเภทนี้ไว้ และใช้ประโยชน์ให้คุ้มค่า ดังค้ากล่าวที่ว่า“โบราณสถานนั้นเป็นเกียรติของชาติ อิฐเก่าๆ แผ่นเดียวก็มีค่า ควรจะช่วยกันรักษาไว้ ถ้าเราขาดสุโขทัย อยุธยาและกรุงเทพฯแล้ว ประเทศไทย กไ็ มม่ ีความหมาย”ซง่ึ มีค้าศัพทท์ ี่เกยี่ วข้องกับการสืบสานโบราณสถานทป่ี ระกอบดว้ ย (1) การอนุรักษ์ (2) การสงวนรักษา (3) การปฏิสังขรณ์ และ (4) การบรู ณะ กกกกกกก3. วิธกี ารอนรุ กั ษโ์ บราณสถาน มขี น้ั ตอนกอ่ นการด้าเนินการอนุรกั ษ์ และมมี าตรการ อนุรักษโ์ บราณสถานท่ีต้องยดึ เปน็ แนวทางการปฏบิ ัติ จ้านวน 19 ข้อ ตวั ช้วี ดั กกกกกกก1. สามารถบอกวิธกี ารสบื สานโบราณสถานท่สี า้ คญั ของวัดค่บู ้านยา่ นราษฎร์บรู ณะได้ กกกกกกก2. ตระหนักถึงความส้าคัญและเห็นคุณค่าโบราณสถานท่ีส้าคัญของวัดคู่บ้านย่านราษฎร์ บรู ณะ และเกิดความภาคภมู ิใจในการเป็นคนที่อาศัยอยหู่ รือประกอบอาชีพในเขตราษฎรบ์ ูรณะ

119 ขอบข่ายเนือ้ หา กกกกกกกหัวเรื่องที่ 6 การสืบสานและอนุรักษ์โบราณสถานที่ส้าคัญของวัดคู่บ้านย่านราษฎร์บูรณะ มขี อบขา่ ยเน้ือหา ดงั นี้ กกกกกกก1. ความส้าคญั ของโบราณสถาน กกกกกกก2. วธิ ีการสืบสานโบราณสถาน กกกกกกก3. วธิ ีการอนุรักษโ์ บราณสถาน เนอ้ื หา กกกกกกก1. ความสา้ คญั ของโบราณสถาน โบราณสถานเป็นอสังหาริมทรัพย์ซ่ึงโดยอายุหรือโดยลักษณะแห่งการก่อสร้าง หรือ โดยหลักฐานเก่ียวกับประวัติของอสังหาริมทรัพย์นั้น เป็นประโยชน์ในทางศิลปะ ประวัติศาสตร์ หรือ โบราณคดี รวมถึงสถานที่ท่ีเป็นแหล่งโบราณคดีแหล่งประวัติศาสตร์ และอุทยานประวัติศาสตร์ด้วย โบราณสถานโดยท่ัวไป หมายถงึ อาคารหรอื ส่ิงก่อสร้างทม่ี นุษยส์ ร้างขึ้น มีความเก่าแก่ มีประวัติความ เป็นมาที่เป็นประโยชนทางด้านศิลปะ ประวัติศาสตร์ หรือ โบราณคดี และยังรวมถึงสถานท่ีหรือ เนนิ ดินทม่ี คี วามส้าคัญทางประวัติศาสตร์ หรอื มรี อ่ งรอยกิจกรรมของมนษุ ย์ทป่ี รากฏอยู่ โบราณสถานมคี วามสา้ คัญ ดงั น้ี ข้อ 1 เป็นเอกลกั ษณข์ องท้องถน่ิ ท่แี สดงให้เห็นถงึ ประวัตคิ วามเปน็ มา ความเชอ่ื ศาสนา ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ความเจรญิ ของชมุ ชนใดชมุ ชนหน่งึ รวมไปถงึ ของชาติ ข้อ 2 เป็นเกยี รติและความภาคภมู ิใจร่วมกนั ของคนในชาติ ขอ้ 3 เปน็ สิง่ ที่โยงเหตกุ ารณ์ในอดตี และปัจจบุ ันเขา้ ดว้ ยกัน ข้อ 4 เปน็ แหลง่ ใหค้ วามร้ทู างศลิ ปะ ประวตั ิศาสตร์ และโบราณคดี ขอ้ 5 เป็นสิง่ ท่แี สดงใหเ้ ห็นถึงความคิดสร้างสรรค์ของบรรพบรุ ษุ ขอ้ 6 เปน็ ส่ิงยดึ เหน่ยี วจิตใจท้าให้เกดิ ความรัก และความสามัคคกี ลมเกลียวในชาติ ขอ้ 7 เป็นทรัพยากรทางวฒั นธรรมท่ีสา้ คัญของชุมชนและของประเทศชาติ ทสี่ ามารถก่อให้เกดิ รายไดทัง้ ทางตรงและทางออม ข้อ 8 เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวติ กลา่ วโดยสรุป โบราณสถานมีความส้าคัญ คือ (1) เป็นเอกลักษณ์ของท้องถ่ินท่ี แสดงให้เห็นถึงประวัติความเป็นมา ความเชื่อ ศาสนา ขนบธรรมเนียม ประเพณี ความเจริญของ ชมุ ชนใดชุมชนหน่งึ รวมไปถงึ ของชาติ (2) เปน็ เกยี รติและความภาคภูมใิ จร่วมกันของคนในชาติ

120 (3) เป็นส่ิงท่ีโยงเหตุการณ์ในอดีต และปัจจุบันเข้าด้วยกัน (4) เป็นแหล่งให้ความรู้ทางศิลปะ ประวัติศาสตร์ และโบราณคดี (5) เปน็ ส่งิ ทีแ่ สดงใหเ้ ห็นถึงความคิดสร้างสรรคข์ องบรรพบรุ ุษ (6) เป็นส่ิงยึดเหนี่ยวจิตใจท้าให้เกิดความรัก และความสามัคคีกลมเกลียวในชาติ (7) เป็นทรัพยากร ทางวฒั นธรรมที่ส้าคัญของชุมชนและของประเทศชาติ ทส่ี ามารถกอ่ ใหเ้ กดิ รายไดทง้ั ทางตรงและทาง ออม (8) เปน็ แหล่งเรียนรตู้ ลอดชีวติ Ddddddd 2. วธิ ีการสืบสานโบราณสถาน โบราณสถานและโบราณวัตถุ เปน็ หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ประเภทหน่ึงท่ีอาจบอก ความเป็นมาของกลุม่ ชน หมู่บ้าน เมอื งและประเทศชาติ นับตงั้ แต่อดีตกาลต่อเนื่องมาจนถงึ ปจั จบุ นั เป็นหน้าที่ของชนรุ่นปจั จุบันทจี่ ะต้องอนรุ ักษ์ทรพั ยากรวัฒนธรรมประเภทนี้ไว้ และใช้ประโยชน์ให้ คมุ้ ค่า “โบราณสถานนน้ั เปน็ เกียรตขิ องชาติ อิฐเก่าๆแผน่ เดียวก็มคี ่า ควรจะช่วยกนั รักษาไว้ ถ้าเรา ขาดสุโขทัย อยุธยาและกรุงเทพฯแลว้ ประเทศไทยก็ไม่มีความหมาย” ซง่ึ มีคา้ ศพั ท์ท่เี ก่ียวขอ้ งกับ วธิ ีการสบื สานโบราณสถานที่สา้ คญั ของชาติ ประกอบดว้ ย 2.1 การอนุรักษ์ หมายถึง การดแู ล รักษา เพ่อื ใหค้ งคุณคา่ ไว้ และให้หมายรวมถงึ การปอ้ งกนั การรักษา การสงวน การปฏสิ งั ขรณ์ และการบูรณะด้วย 2.2 การสงวนรกั ษา หมายถงึ การดูแล รักษาไว้ตามสภาพของเดมิ เท่าที่เป็นอยู่ และ ปอ้ งกันมใิ ห้เสียหายต่อไป 2.3 การปฏสิ งั ขรณ์ หมายถงึ การทา้ ให้กลับคนื ส่สู ภาพเดิมอย่างทีเ่ คยเป็นมา 2.4 การบรู ณะ หมายถึง การซ่อมแซม และปรับปรงุ ให้มรี ปู ทรงลกั ษณะกลมกลืน เหมอื นของเดิมใหม้ ากที่สดุ เท่าท่จี ะมากได้ แตต่ ้องแสดงความแตกต่างของสงิ่ ที่มอี ยูเ่ ดิม และส่งิ ท่ีท้า ขึน้ ใหม่ กลา่ วโดยสรุป วิธกี ารสบื สานโบราณสถานของชาติ ประกอบด้วย(1) การอนุรักษ์ (2) การสงวนรกั ษา (3) การปฏสิ งั ขรณ์ และ (4) การบรู ณะ Ddddddd 3. วิธีการอนรุ ักษ์โบราณสถาน กรมศิลปากรเป็นหน่วยงานท่ีมีหน้าท่ีโดยตรงในการควบคุมดูแลรักษาโบราณสถาน และด้าเนินงานอนุรักษ์ภายใต้พระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑ์ พ.ศ.2504 แก้ไขเพิ่มเติมครั้งล่าสุด พ.ศ.2535 และออกระเบียบกรมศิลปากรฯ พ.ศ.2528 ซ่ึงมี ความหมายของค้าศพั ทท์ ่ีเกี่ยวข้องกบั วธิ ีการอนรุ ักษ์โบราณสถาน ดังน้ี 3.1 ความหมายของคา้ ศพั ท์ทเี่ ก่ียวข้องกบั วิธกี ารอนุรกั ษ์โบราณสถาน การอนุรักษ์ หมายถึง การดูแล รักษา เพ่ือให้คงคุณค่าไว้ และให้หมายรวมถึงการ ปอ้ งกนั การรักษา การสงวน การปฏสิ งั ขรณ์ และการบรู ณะดว้ ย

121 การสงวนรักษา หมายถึง การดูแล รักษาไว้ตามสภาพของเดิมเท่าท่ีเป็นอยู่ และ ป้องกันมใิ ห้เสียหายต่อไป การปฏสิ งั ขรณ์ หมายถงึ การทา้ ให้กลับคืนสู่สภาพเดมิ อยา่ งที่เคยเป็นมา การบูรณะ หมายถึง การซ่อมแซม และปรับปรุงให้มีรูปทรงลักษณะกลมกลืนเหมือน ของเดิมให้มากทสี่ ดุ เท่าทีจ่ ะมากได้ แตต่ ้องแสดงความแตกตา่ งของส่ิงทมี่ ีอยเู่ ดิม และสงิ่ ท่ที ้าข้นึ ใหม่ 3.2 ก้าหนดข้นั ตอนกอ่ นการด้าเนินการอนุรักษ์ 3.2.1 ทา้ การส้ารวจศกึ ษาสภาพเดมิ และสภาพปัจจุบนั ของโบราณสถาน ทัง้ ดา้ น ประวัตกิ ารก่อสรา้ ง การอนุรักษ์ ซึง่ รวมถึงรปู ทรงสถาปัตยกรรม การใช้วัสดุ และสภาพความเสียหาย ที่ปรากฏอยู่ โดยการทา้ เปน็ เอกสารบันทึกภาพ และทา้ แผนผงั เขียนรปู แบบไวโ้ ดยละเอียด เพ่อื ใช้เปน็ ข้อมูลสา้ หรับนา้ มาประกอบการพิจารณาทา้ โครงการอนรุ กั ษ์ และเป็นเอกสารสา้ คัญทาง ประวตั ศิ าสตรต์ ่อไป 3.2.2 ทา้ โครงการอนุรกั ษโ์ บราณสถาน โดยพจิ ารณาวา่ โบราณสถานนนั้ มี คณุ คา่ และลักษณะความเด่นในดา้ นใดบ้าง อาทเิ ชน่ ด้านประวัตศิ าสตร์ โบราณคดี จิตรกรรม ประตมิ ากรรม หรอื สถาปัตยกรรม ฯลฯ เป็นต้น และวางแผนรักษาคุณคา่ และความสา้ คัญที่เด่นท่สี ุด เป็นหลักไว้ แต่ทงั้ นต้ี ้องค้านึงถงึ คุณค่า และความส้าคัญในดา้ นท่รี องลงมาดว้ ย 3.2.3 พจิ ารณากอ่ นวา่ โบราณสถานนน้ั ๆ ไดม้ ีการแกไ้ ขเพิ่มเตมิ มาแล้วหรอื ไม่ เพียงใด หากได้ถูกแก้ไข และส่วนแก้ไขเพมิ่ เติมขึ้นใหมน่ ้นั ท้าใหค้ ณุ ค่าของเดิมเสียไป ควรพิจารณา ร้ือสิง่ ท่แี ก้ไขเพ่ิมเติมออก และบูรณะให้เหมือนเดมิ 3.3 มาตรการการอนรุ ักษโ์ บราณสถาน 3.3.1 การปกปอ้ ง (การระวงั รกั ษาไม่ใหถ้ ูกทา้ ลาย เช่น การขึ้นทะเบยี น การกัน เขต การผลกั ดันผบู้ ุกรกุ ฯลฯ) 3.3.2 การอนรุ ักษ์ (การสงวนรกั ษา การปฏิสังขรณ์ และการบูรณะ) 3.3.3 การคุ้มครอง (การป้องกันและรกั ษาภมู ทิ ัศน์, สภาพแวดลอ้ ม และ การบริหารจัดการ) 3.3.4 การอนรุ ักษโ์ บราณสถานใดๆ ก็ตามจะต้องคา้ นงึ ถงึ ภมู ิทศั น์ และ สง่ิ แวดล้อม โดยรอบโบราณสถานนัน้ ด้วย ส่ิงใดท่ีจะท้าลายคุณค่าของโบราณสถานน้ันๆ ให้ ด้าเนนิ การปรบั ปรุงให้เหมาะสมด้วย 3.3.5 โบราณสถานที่มีการอนรุ กั ษ์ โดยมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขมาก่อนแล้ว จะต้องพจิ ารณาศึกษาใหล้ ะเอียดวา่ ไดบ้ ูรณะแก้ไขมาแล้วก่ีครงั้ ผิดถกู อย่างไร ระยะเวลานานเท่าใด การอนรุ ักษใ์ หม่ท่จี ะท้านี้ ไม่จ้าเปน็ จะต้องใชแ้ บบใดแบบหนึง่ เสมอไป แต่ให้พจิ ารณาเลือกแบบที่ เหมาะสมท่สี ดุ ท่เี ป็นหลกั ในการอนุรักษ์ เพื่อให้โบราณสถานนน้ั มีคณุ ค่าและความส้าคัญมากทีส่ ุด

122 ทง้ั นจ้ี ะต้องทา้ เปน็ หลักฐานแสดงให้ปรากฏถึงการเปลีย่ นแปลงแกไ้ ข จะดว้ ยวิธกี ารบันทกึ เปน็ เอกสาร เขียนแบบไว้ ท้าหุ่นจ้าลอง หรือโดยวิธีการอนรุ กั ษ์แบบใดก็ได้ 3.3.6 ก้าหนดให้เลือกใช้ การสงวนรักษาส้าหรับโบราณสถานท่ีมีความส้าคัญ เยี่ยมยอด รวมท้ังช้ินส่วนทางจิตรกรรม ประติมากรรม และโบราณวัตถุที่มีคุณค่าเยี่ยมยอด รวมถึง ปูชนยี วตั ถทุ ม่ี ีการเคารพบูชามาโดยตลอด โดยคณะกรรมการเหน็ ชอบแลว้ 3.3.7 การน้าวิธีการ และเทคนิคฉบับใหม่มาใช้ในงานอนุรักษ์ เพื่อความมั่นคง แข็งแรง จะต้องมีการศึกษา และทดลอง จนได้ผลเป็นที่พอใจแล้วจึงจะน้ามาใช้ได้โดยไม่ท้าให้ โบราณสถานนัน้ เสื่อมคณุ ค่าไป 3.3.8 การต่อเติม เพ่ือความม่ันคงแข็งแรงของโบราณสถาน ท้าเท่าที่จ้าเป็น ให้ดเู รียบงา่ ย และมลี กั ษณะกลมกลนื กับของเดิม 3.3.9 ในกรณีจ้าเป็นต้องท้าชิ้นส่วนท่ีขาดหายไปขึ้นมาใหม่ ต้องท้าให้กลมกลืน กับของเดิมแตต่ ้องแสดงใหเ้ ห็นได้วา่ ท้าขึน้ มาใหม่ 3.3.10 ควรอนุรักษ์ซากโบราณสถานโดยการรวบรวมชิ้นส่วนมาประกอบขึ้น ใหเ้ หมอื นเดิม ท้ังหมดหรอื เพยี งบางสว่ น ส้าหรบั ช้ินสว่ นท่ขี าดหายไปแตจ่ ้าเปน็ สา้ หรับการสงวนรักษา อาจท้าเพิ่มข้นึ ใหมไ่ ด้ 3.3.11 การอนรุ กั ษซ์ ากโบราณสถานซึ่งมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี นั้น ให้ท้าได้โดยรักษาไว้ตามสภาพเดิมหลังการขุดแต่ง และป้องกันไม่ให้เสียหายต่อไปด้วยวิธีท่ีไม่ท้า ให้โบราณสถานเสยี คณุ ค่า 3.3.12 โบราณสถานท่ีเป็นปูชนียสถานอันเป็นที่เคารพบูชา ซึ่งเป็นที่รู้จักคุ้นเคย กันดขี องประชาชนโดยทั่วไป จะตอ้ งบรู ณะ โดยไม่มกี ารแกไ้ ข เปล่ียนแปลง ลกั ษณะ สี และทรวดทรง ซึง่ จะทา้ ใหโ้ บราณสถานน้นั หมดคุณค่า หรือเสอื่ มความศกั ดส์ิ ิทธไ์ิ ป 3.3.13 เพ่อื ป้องกนั มิให้ชิ้นส่วนของโบราณสถานท่ีมีคุณค่าทางศิลปะ ซ่ึงรวมถึง ประติมากรรม จิตรกรรม และศิลปกรรม เสียหาย จะต้องน้าช้ินส่วนนั้นมาเก็บรักษาไว้ในสถานท่ี อันปลอดภัย และถูกต้องตามกฎหมาย พร้อมท้ังท้าแบบจ้าลองให้เหมือนของเดิมไปประกอบไว้ในท่ี โบราณสถานนัน้ แทน ซึ่งวิธกี ารนจี้ ะปฏบิ ตั ไิ ดก้ ็ตอ่ เมื่อไม่สามารถรกั ษาไดโ้ ดยวธิ ีอ่นื แล้ว 3.3.14 โบราณสถานที่ยังมีประโยชน์ใช้สอยอยู่ จะกระท้าการอนุรักษ์โดยการ เสริมสร้างหรือตอ่ เตมิ ส่งิ ท่ีจ้าเป็นข้ึนใหม่ก็ได้ เพื่อความเหมาะสม ท้ังน้ีไม่จ้าเป็นท่ีจะต้องท้าให้เหมือน ของเดิมทีเดียว แต่ส่ิงท่ีเพิ่มเติมข้ึนใหม่นั้นจะต้องมีลักษณะกลมกลืน และไม่ท้าลายคุณค่าของ โบราณสถานนั้นๆ 3.3.15 โบราณสถานต่างๆ ทั้งที่ขึ้นทะเบียนแล้ว และยังไม่ขึ้นทะเบียน จะต้องมี มาตรการในการบ้ารงุ รักษาไว้ ให้อยู่ในสภาพท่มี ัน่ คงแขง็ แรง สวยงามอยเู่ สมอ

123 3.3.16 โบราณสถานใดทมี่ สี ภาพช้ารุดทรุดโทรม อาจจะเปน็ อันตราย ควรใชม้ าตรการเบื้องต้นในการเสริมความแขง็ แรงไว้ ก่อนที่จะดา้ เนนิ การอนรุ กั ษ์ 3.3.17 ในบางกรณีจะต้องดา้ เนนิ การติดต่อขอความร่วมมอื กบั หนว่ ยราชการ อ่ืนๆ หรอื สถาบันเอกชน ซ่งึ มีหน้าทร่ี ับผิดชอบหรือผู้เช่ยี วชาญในสาชาวิชาการต่างๆ ทเี่ ก่ียวขอ้ ง เพ่อื ประโยชนต์ ่อการอนุรักษ์สมบัติวฒั นธรรมของชาติไว้ 3.3.18 งานท้งั ปวงท่ีเก่ียวข้องกับการอนุรักษ์ หรือการขดุ ค้น จะตอ้ งท้ารายงาน ในรปู ของการวเิ คราะห์ และวิจยั โดยมภี าพประกอบ ซ่งึ เป็นภาพลายเส้น และภาพถา่ ย และจะต้อง รายงานสิ่งท่ไี ด้ปฏิบัติทุกขน้ั ตอนโดยละเอียด เช่น งานแผว้ ถาง การจัดบรเิ วณงาน เสริมความมน่ั คง ช้นิ ส่วนต่างๆ ฯลฯ เปน็ ต้น และการบนั ทึกรายงานนี้ จะตอ้ งเกบ็ รกั ษาไว้ ณ หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาติ กล่าวโดยสรุป มาตรการการอนรุ ักษ์โบราณสถาน มีจ้านวน 18 ข้อ คือ (1) การปกปอ้ ง (2) การอนุรักษ์ (3) การคุ้มครอง (4) การอนุรักษค์ วรค้านึงถงึ ภมู ิทัศน์ สภาพแวดล้อม สงิ่ ใดทจี่ ะท้าลายคุณคา่ ให้ดา้ เนนิ การปรับปรงุ ให้เหมาะสม (5) ควรพจิ ารณาเลือกแบบทเ่ี หมาะสม ทีส่ ดุ ท่ีเป็นหลกั ในการอนรุ ักษ์ โดยจัดทา้ เปน็ หลกั ฐานเกบ็ ไว้ เช่น การบนั ทึกเขียนแบบไว้ หรอื ทา้ ห่นุ จ้าลอง (6) กา้ หนดให้เลือกใชก้ ารสงวนรกั ษาส้าหรับโบราณสถานท่มี ีความสา้ คัญเย่ยี มยอดท่ี คณะกรรมการเห็นชอบแล้ว (7) การนา้ วธิ ีการ และเทคนิคใหม่ ๆมาใช้ในงานอนุรักษเ์ พ่ือเพิม่ ความ ม่ันคงแข็งแรง จะต้องมกี ารศึกษาทดลองจนมผี ลทน่ี ่าพอใจ เพอื่ ป้องกันไม่ใหโ้ บราณสถานเสยี หาย เสอื่ มสลายไป (8) การต่อเติม เพื่อเสรมิ ความมั่นคงแข็งแรงของโบราณสถาน ท้าเท่าทีจ่ า้ เป็น ใหด้ ู เรียบง่าย และมีลักษณะท่ีกลมกลืนกบั ของเดมิ (9) กรณีจา้ เปน็ ตอ้ งท้าชิน้ ส่วนท่ีขาดหายไปขึน้ มาใหม่ ต้องท้าใหก้ ลมกลนื กับของเดิมและต้องแสดงใหเ้ ห็นได้ว่าท้าขน้ึ มาใหม่ (10) การอนุรักษ์ซากโบราณ สถานใหร้ วมชนิ้ ส่วนมาประกอบขนึ้ ใหม่ใหเ้ หมือนเดิม สา้ หรับชิ้นส่วนท่ีขาดหายไป แต่จ้าเป็นส้าหรบั การสงวนรักษา อาจท้าเพิม่ ขึ้นใหม่ได้ (11) การอนุรักษ์ซากโบราณสถาน ซงึ่ มีคุณคา่ ทาง ประวัติศาสตรแ์ ละโบราณคดีนั้น ท้าไดโ้ ดยรกั ษาไวต้ ามสภาพเดิมหลงั การขุดแตง่ แลว้ เพื่อไม่ทา้ ให้ โบราณสถานนน้ั ๆ เสยี คณุ ค่า (12) โบราณสถานท่ีเป็นทเ่ี คารพบชู า จะต้องบรู ณะโดยไม่มีการแกไ้ ข เปลย่ี นแปลง ลักษณะ สี และทรวดทรง ซึ่งอาจท้าให้หมดคุณคา่ หรอื เส่ือมความศกั ดไ์ิ ป (13) การ อนรุ ักษช์ ้ินสว่ นโบราณสถานที่มีคุณคา่ ควรน้าเก็บรักษาไวใ้ นสถานทีอ่ นั ปลอดภัย และถูกต้องตาม กฎหมาย (14) โบราณสถานใดทมี่ สี ภาพชา้ รดุ ทรุดโทรม อาจจะเปน็ อนั ตราย ควรใชม้ าตรการเบ้ืองตน้ เสริมความแข็งแรงไวก้ ่อนที่จะด้าเนินการอนรุ ักษ์ (15) โบราณสถานต่างๆ ทง้ั ท่ีข้ึนทะเบียนแล้วและ ยงั ไมข่ ึน้ ทะเบียน จะต้องมีมาตรการในการบ้ารงุ รกั ษาไว้ ให้อยู่ในสภาพท่ีมั่นคงแขง็ แรง สวยงามอยู่ เสมอ (16) โบราณสถานใดที่มสี ภาพช้ารุดทรุดโทรม อาจจะเปน็ อันตราย ควรใชม้ าตรการเบอ้ื งตน้ ใน การเสรมิ ความแข็งแรงก่อนที่จะดา้ เนนิ การอนุรักษ์ (17) การอนุรักษ์ควรด้าเนินการตดิ ต่อขอความ รว่ มมือกับหนว่ ยราชการ หรือผเู้ ชย่ี วชาญในสขาตา่ ง ๆ เพ่อื ประโยชน์ตอ่ การอนุรกั ษส์ มบัติวฒั นธรรม

124 ของชาติ และ (18) งานทง้ั ปวงทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับการอนรุ กั ษห์ รือการขดุ คน้ จะตอ้ งท้ารายงานในรปู ของ การวเิ คราะห์ และวิจยั โดยมีภาพประกอบ ซงึ่ เป็นภาพลายเส้น และภาพถ่าย พรอ้ มจัดทา้ รายงานสงิ่ ท่ไี ดป้ ฏิบัตทิ กุ ขั้นตอนโดยละเอียด นา้ เก็บรกั ษาไว้ ณ หอจดหมายเหตุแห่งชาติ การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ 1. ศกึ ษาคน้ ควา้ ด้วยตนเองในประเดน็ ท่ีก้าหนด 2. บันทึกผลการศึกษาคน้ คว้าลงในเอกสารการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง (กรต.) 3. นา้ ผลการศึกษาคน้ คว้ามาพบกลุ่ม 4. อภิปราย คิดวเิ คราะห์ขอ้ มูล แลกเปล่ียนขอ้ มูล 5. น้าสรปุ ผลการเรียนรู้ทไี่ ด้ไปปฏิบัตทิ า้ ใบงานและศึกษาวัดคู่บ้านย่านราษฎร์บูรณะ หัวเรื่อง การสืบสานและอนุรักษโ์ บราณสถานทสี่ ้าคัญของวดั คู่บ้านย่านราษฎรบ์ ูรณะ 6. เขียนเอกสารรายงานการศกึ ษาวดั คูบ่ า้ นยา่ นราษฎรบ์ ูรณะ พร้อมน้าส่งครผู ู้สอน สื่อและแหล่งเรยี นรู้ กกกกกกก1. สือ่ เอกสาร 1.1 ใบความรู้ที่ 6 1.2 ใบงานท่ี 6 1.3 หนังสือเรียน หนงั สือเรียนสาระการพฒั นาสงั คม รายวชิ าวดั คู่บา้ น ยา่ นราษฎร์บูรณะ สค 33150 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั เขตราษฎร์บูรณะ 1.4 หนังสอื ที่เกย่ี วข้อง 1.4.1 ช่ือหนังสือ การอนุรักษ์โบราณสถานแบบสากลของไทย : แรกเร่ิมท่ีกรุงเก่า ผู้เขยี น พทั ร แตงพันธ์ กกกกกกก2. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ 2.1 เวบ็ ไซต์ ไดแ้ ก่ 2.2.1 บทความการอนุรักษ์โบราณสถาน พ.ศ. 2528 สืบคน้ จาก http://www.finearts.go.th /inburimuseum พิพธิ ภัณฑส์ ถานแหง่ ชาติ อินทรบ์ รุ ี สิงห์บรุ ี

125 การวัดและประเมินผล กกกกกกก1. ประเมนิ ความก้าวหน้า ด้วยวธิ ีการตอ่ ไปน้ี 1.1 การสงั เกต 1.2 การซักถาม ตอบคา้ ถาม 1.3 ตรวจเอกสารการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง (กรต.) 1.4 ตรวจเอกสารรายงานการศึกษาวัดคู่บ้านย่านราษฎร์บูรณะ หัวเรื่อง การสืบสาน และอนรุ ักษโ์ บราณสถานทีส่ ้าคัญของวัดค่บู ้านย่านราษฎร์บรู ณะ กกกกกกก2. ประเมนิ ผลรวม ดว้ ยวิธกี ารต่อไปนี้ 2.1 ให้ตอบแบบทดสอบวัดความรู้ หัวเรื่อง การสืบสานและอนุรักษ์โบราณสถานที่ สา้ คญั ของวัดค่บู า้ นย่านราษฎร์บูรณะ จา้ นวน 5 ข้อ 2.2 ใหต้ อบแบบสอบถามวดั เจตคติ

126