Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สค 33150 วัดคู่บ้านย่านราษฎร์บูรณะ

สค 33150 วัดคู่บ้านย่านราษฎร์บูรณะ

Description: สค 33150 วัดคู่บ้านย่านราษฎร์บูรณะ
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตราษฎร์บูรณะ
สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร
สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

Keywords: สค 33150 วัดคู่บ้านย่านราษฎร์บูรณะ,สค 33150

Search

Read the Text Version

1

2 หวั เร่ืองท่ี 1 ประวัตแิ ละความสาคญั ของวัดคบู่ ้านย่านราษฎร์บรู ณะ สาระสาคญั กกกกกกก1. วัดราษฎร์บูรณะ วัดราษฎรบ์ ูรณะต้งั อยู่รมิ แม่น้าเจ้าพระยา บริเวณปากคลองราษฎร์ บูรณะ เดิมจึงเรียกกันวา่ “วดั ปากคลอง” แต่บางทา่ นก็เรยี กว่า “วัดนอก” และมีข้อสนั นษิ ฐานว่า วดั แหง่ น้ีสรา้ งขนึ้ ในช่วงกรงุ ศรอี ยธุ ยาตอนปลาย–สมัยกรุงธนบุรี และอาจเป็นไปได้ว่าแต่เดิมวัดแห่งนี้ สร้างขนึ้ โดยกษัตรยิ ์หรอื พระบรมวงศานุวงศ์ ตามความหมายของช่ือ แต่ตอ่ มาไดเ้ ปล่ียนไปเปน็ วัดราษฎร์บูรณะในสมัยใดสมัยหน่ึง และมีความส้าคัญในการส่งเสริมด้านการศึกษา มีการเรียนการ สอนพระปริยัติธรรม ท้ังแผนกธรรมและแผนกบาลี ในนามส้านักเรียนคณะเขตราษฎร์บูรณะ และยัง ถือได้ว่าเป็นวัดท่ีมีความเก่าแก่สร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอนปลาย มีศิลปกรรมเจดีย์ย่อมุมไม้สิบสอง สามารถก้าหนดอายุได้ว่าสร้างข้ึนในช่วงรัชกาลที่ 3-4 และมีพระพุทธรูปศักดิ์สิทธ์ิที่ชาวชุมชนราษฎร์ บรู ณะให้ความศรัทธาเปน็ อยา่ งมาก คือ หลวงพ่อพระพุทธโสธร(จา้ ลอง) กกกกกกก2. วัดแจงร้อน วัดแจงรอ้ นเป็นวัดราษฎร์ และเป็นวัดโบราณจึงไมม่ เี รื่องราวหรอื หลกั ฐาน ใดพอที่จะมาค้นคว้าเพ่ือจะทราบได้ว่าสร้างข้ึนมาตั้งแต่คร้ังใด มีเพียงค้าบอกเล่าของผู้สูงอายุหลาย ทา่ นซ่ึงมีพื้นเพภูมลิ ้าเนาเดิมอยูใ่ นต้าบลราษฎร์บรู ณะกล่าวตรงกนั วา่ วดั แจงร้อนนัน้ เดมิ ชอื่ “วดั หงษ์ร่อน” แตม่ าเปลี่ยนช่อื เปน็ วัดแจงร้อน ต้ังแต่คร้ังใด และด้วยเหตุผลใดไม่ปรากฏ คงเรียกกัน ว่าวัดแจงร้อน สืบต่อกันมาจนกระทั่งปัจจุบันนี้ และมีความส้าคัญที่ถือได้ว่าเป็นวัดเก่าท่ีสร้างมานาน นับรอ้ ยกว่าปี จากหลักฐานที่ปรากฏให้เห็นคือ พระวิหารหลวงพ่อหินแดง ซ่ึงเป็นหลักฐานทางปูชนีย วตั ถทุ ส่ี ้าคญั คอื พระอุโบสถวดั แจงรอ้ น ที่ไดส้ ร้างข้นึ ใหมแ่ ทนหลังเดมิ ทีม่ ขี นาดเล็ก โดยใชแ้ นวคิด ภูมิปัญญาชาวบา้ นผสมผสานภูมปิ ญั ญาช่างฝีมือชัน้ ครอู ยา่ งเต็มความสามารถ ซงึ่ ถือวา่ เป็นของดีของมี คณุ ค่าของชาวแจงร้อนอย่างน่าภาคภูมใิ จ กกกกกกก3. วัดบางปะกอก วัดบางปะกอกหรือชอื่ เดิมวา่ “วัดบางค่ี” เปน็ วัดโบราณที่สรา้ งมานาน ในสมัยอยุธยา ต่อมาวัดได้ร้างไป กระท่ังต้นสมัยรัตนโกสินทร์จึงมีการบูรณปฏิสังขรณ์วัดขึ้นใหม่อีก คร้ัง และโดยที่วัดต้ังอยู่ริมคลองบางปะกอก จึงได้ขนานนามตามภูมิประเทศท่ีต้ังวัด และมีความ ส้าคัญท่ีมีศิลปกรรมเจดีย์ทรงระฆังซึ่งเป็นศิลปะมอญอยู่ด้วยองค์หนึ่ง มีพระเกจิรูปส้าคัญ และมี ชื่อเสียงมากจากพระเครื่องรางของขลังที่มีชื่อเสียงโด่งดัง ของ หลวงปู่พริ้ง คือ ลูกอมด้า ลูกอมสีเทา เหรยี ญ พระพมิ พ์ผงใบลาน และเกียรติคณุ ของทา่ นย่ิงได้รบั ความเชอ่ื ถือมากขึ้นอกี เม่ือพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั ไดม้ าเป็นศษิ ยข์ องท่าน

3 กกกกกกก4. วัดประเสริฐสุทธาวาส วัดประเสรฐิ สทุ ธาวาสถือเปน็ วัดเก่าแก่ คาดว่าวดั แห่งนีส้ รา้ ง ข้ึนมาต้ังแต่สมัยอยุธยาตอนปลาย จากน้ันได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ข้ึนใหม่ในสมัยพระบาทสมเด็จ พระนั่งเกลา้ เจา้ อย่หู ัว รัชกาลท่ี 3 ดังปรากฏหลักฐานเป็นจารกึ อยใู่ นอุโบสถ ซึง่ จารเป็นภาษาไทยและ จีน และมีความสา้ คัญโดยมอี ุโบสถและวหิ ารทีม่ ีคุณคา่ ทางศลิ ปวัฒนธรรม กรมศิลปากรได้ประกาศข้ึน ทะเบียนเป็นโบราณสถาน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 และมีนิสิต นักศึกษาจากประเทศต่าง ๆ นักท่องเที่ยว และสื่อโทรทัศน์มาขอเข้าชมและถ่ายท้ารายการ และมีงานจิตรกรรมฝาผนังท่ีส้าคัญในอุโบสถ คือ ภาพเล่าเร่ืองสามกก๊ บนผนงั ทีเ่ ขียนดว้ ยหมึกดา้ บนพื้นขาวในกรอบสี่เหลี่ยม กรอบละ 1 ตอน ถือเป็น ภาพเลา่ เรื่องสามก๊กท่มี มี ากทส่ี ุดในประเทศไทย มีจ้านวน 364 ภาพ 5. วัดสน วัดสนสันนษิ ฐานวา่ สร้างขึน้ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจา้ อยู่หัว รชั กาลท่ี 4 ส่วนทีม่ าของช่อื วัดนา่ จะมาจากพื้นท่บี ริเวณนี้มีตน้ สนขึน้ เป็นจา้ นวนมาก แตเ่ ดมิ จงึ เรียก ว่า “วดั ต้นสน” กอ่ นที่จะยอ่ ลงเหลือเพยี ง “วดั สน” และเรียกสืบมาจนถงึ ปจั จบุ นั และมีความสา้ คญั โดยมพี ระอุโบสถซง่ึ ถอื เป็นสถาปตั ยกรรมของไทยแท้ ๆ ส่วนผนงั อโุ บสถตกแต่งด้วยจติ รกรรมฝาผนัง สมัยใหม่ เลา่ เร่อื งพุทธประวัติและทศชาตชิ าดก รวมไปถงึ มีพระเกจริ ูปสา้ คญั ซ่งึ เปน็ อดีตเจ้าอาวาส วัดสน เจ้าคณะแขวงราษฎรบ์ ูรณะ คือ หลวงพอ่ พระครศู ีลนิวาส (อินทฺ สโร) หรือ หลวงปูโ่ ม้ ซง่ึ วตั ถุ มงคลของท่านหายากยง่ิ ในปัจจุบนั 6. วัดสารอด วัดสารอดสันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอนปลาย เน่ืองจากพบใบ เสมาสมัยอยุธยาตอนปลายหลงเหลืออยู่ มีตา้ นานเลา่ วา่ เดมิ วดั แห่งน้ีมชี ื่อว่า “วัดเสือรอด” เน่ืองจาก เม่ือครั้งแรกสร้าง มีเสือตัวหน่ึงถูกยิงได้รับบาดเจ็บ แล้ววิ่งหนีเข้ามาในวัด จากนั้นก็หายจากอาการ บาดเจ็บ รอดตายอย่างปาฏิหาริย์ และมีความส้าคัญท่ีมีพระพุทธรูปที่ชาวบ้านย่านราษฎร์บูรณะ เคารพนับถือ และมีความศรัทธาเป็นอย่างมาก คือ หลวงพ่อรอด รวมถึงยังเป็นวัดท่ีมีพระบรมวงศานุ วงศ์ เคยเสด็จมาเปน็ องคป์ ระธานในการตัดหวายลูกนิมิต ครั้งพระอุโบสถหลังใหม่ของวดั สร้างข้ึน 7. วดั เกียรตปิ ระดษิ ฐ์ วัดเกียรติประดิษฐ์ตามประวัติ ผู้ท่ีอุทิศท่ีดินสร้างวัดนามว่า ยายคง เม่ือได้สร้างวัดแล้วจึงได้ขนานนามตามชื่อผู้สร้างว่า วัดใหม่ยายคง สร้างข้ึนเมื่อประมาณ พ.ศ. 2430 ต่อมาได้เปลี่ยนนามเปน็ วัดใหม่อรณุ เกียรติ และเปล่ยี นอีกคร้งั เป็น วัดเกียรติประดษิ ฐ์ และมีความ ส้าคัญ ซ่ึงเป็นวัดที่สร้างขึ้นในยุคกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งจากศิลปกรรม และประติมากรรมท่ีมีภายในวัด มีความเป็นยุคปัจจุบันมากที่สุด โดยเริ่มสร้างข้ึนสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รชั กาลที่ 5 วัดเกยี รตปิ ระดิษฐ์มีการส่งเสริมการเรียนการสอนพระปรยิ ัติธรรม

4 ตวั ช้ีวดั 1. บอกประวัตขิ องวัดคู่บ้านยา่ นราษฎร์บูรณะได้ 2. อธิบายความส้าคญั ของวัดค่บู ้านย่านราษฎร์บรู ณะได้ 3. ตระหนักถงึ ความสา้ คัญและเห็นคุณค่าของวดั คบู่ า้ นย่านราษฎร์บรู ณะ ขอบขา่ ยเน้ือหา หัวเรื่องท่ี 1 ประวัตแิ ละความสา้ คญั ของวัดคู่บ้านยา่ นราษฎรบ์ ูรณะ มขี อบขา่ ยเนื้อหา ดังน้ี 1. วัดราษฎร์บรู ณะ 1.1 ประวตั ิ 1.2 ความสา้ คัญ 2. วัดแจงรอ้ น 2.1 ประวัติ 2.2 ความส้าคัญ 3. วัดบางปะกอก 3.1 ประวตั ิ 3.2 ความส้าคัญ 4. วดั ประเสริฐสทุ ธาวาส 4.1 ประวัติ 4.2 ความสา้ คญั 5. วดั สน 5.1 ประวัติ 5.2 ความส้าคัญ 6. วัดสารอด 6.1 ประวตั ิ 6.2 ความส้าคญั 7. วดั เกยี รตปิ ระดษิ ฐ์ 7.1 ประวตั ิ 7.2 ความส้าคัญ

5 เนื้อหา 1. วดั ราษฎรบ์ ูรณะ 1.1 ประวตั ขิ องวัดราษฎรบ์ รู ณะ วดั ราษฎร์บรู ณะ วัดราษฎรบ์ ูรณะ แต่เดมิ ชาวบา้ นเรยี กนามวา่ “วดั นอก” บ้าง “วัดปากคลอง” บ้าง ด้วยวัดน้ีตั้งอยู่ริมแม่น้าเจ้าพระยา ตรงบริเวณปากคลองราษฎร์บูรณะ แม้นามวัดปัจจุบันก็คง เรียกกันตามลกั ษณะภมู ปิ ระเทศสภาพสิ่งแวดลอ้ ม การสร้างวัด จากการบอกเล่าของนางพ่ิว มีสวาสด์ิ ซ่งึ เปน็ หลานของผู้สร้างวดั วา่ มีชาย 3 คนพน่ี อ้ ง ชอื่ ปู่สวน ปทู่ ัด ป่ทู อง พร้อมด้วยลูกหลานได้สร้างวัด น้ีข้ึนในสมัยอยุธยาตอนปลาย คือ ประมาณ พ.ศ. 2310 กาลเวลาผ่านมาบรรดาหลาน ๆ ก็ได้บูรณะ ก่อสร้างเพ่ิมเติมสืบต่อกันมา เช่น นายชุณห์ กาญจนกุญชร นายล้อม ฟักอุดม ตลอดถึงเจ้าอาวาสแต่ ละยุคได้ท้าให้วัดเจริญรุ่งเรืองมาตามล้าดับตราบถึงปัจจุบัน วัดราษฎร์บูรณะเป็นวัดที่ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมาแล้ว แต่มิอาจทราบได้ว่ารับเม่ือใดแน่ สันนิษฐานว่าคงได้รับในระยะใกล้ เคียงกับเวลาสร้างวัด คือ ประมาณ พ.ศ. 2310 เอกสารโบราณ เช่น “โคลงนิราศชุมพร” ที่แต่งโดย พระพิพธิ สาลี ซึง่ อยใู่ นสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช รชั กาลที่ 1 ซึ่งลอ่ งเรอื มาตามแม่นา้ เจา้ พระยา ออกสู่อา่ วไทย มุง่ หน้าไปเมืองชุมพร ได้กล่าวถึงวัดนโี้ ดยเรียกว่า “ราชบุรณะ” ดังความว่า “...ลงลุอาวาสไหว้ วงั พระ นามราชบรุ ณะ ทา่ นสรา้ ง พระเอยช่วยเผดจ็ สระ สรงโศก หน่งึ นา ขอสว่ นบรู ณะกา้ ง กอ่ ให้พนู เกษม....”

6 นอกจากน้ีใน “นริ าศพระยาตรงั ” ท่ีพระยาตรงั แต่งข้นึ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระ พุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 ได้กล่าวถึงสถานที่ต่าง ๆ ริมแม่น้าเจ้าพระยา ท่ีท่านเดินทางผ่าน ขณะเดินทางไปยังหวั เมืองใต้ ก็เรยี ก “วัดราชบุรณะ” เชน่ เดียวกัน ดงั ความวา่ “...วดั ราชบรุ ณะเบอ้ื ง บุญใคร ท้านา นามราชฤาราชใด สบื สรา้ ง....” จากชื่อวัดด้ังเดิมที่ปรากฏในเอกสารโบราณว่า “วัดราชบุรณะ” ดังกล่าวน้ี อาจ เปน็ ไปได้ว่าแต่เดิมวัดแห่งนี้ สร้างขึ้นโดยกษัตริย์หรือพระบรมวงศานุวงศ์ ตามความหมายของช่ือ แต่ ตอ่ มาได้เปลีย่ นไปเปน็ วัดราษฎรบ์ ูรณะในสมยั ใดสมัยหนึ่ง พ้ืนท่ีตั้งวัด เดิมจากหลักฐานโฉนดที่ดิน เม่ือคร้ังสมัยพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจา้ อยู่หัว พระเจ้าแผน่ ดินสยาม แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้เป็นที่ธรณีสงฆ์วัดราษฎร์บูรณะ ตามระวางที่ 4353 หมายเลขที่ดิน ที่ 54 คิดเป็นเน้ือท่ี 3216 ตารางวา หรือ 8 ไร่ 16 ตารางวา ต่อมาจากการส้ารวจของเจ้าพนักงานที่ดิน ได้ออกโฉนดท่ีดินเลขที่ 18249 เล่มท่ี 138 หน้าที่ 49 เลขท่ี 685 หนา้ สา้ รวจ 1010 ให้แกว่ ัดราษฎร์บรู ณะ อยูบ่ า้ นเลขท่ี 14 (ปัจจบุ นั เลขท่ี 377) หมู่ที่ 10 ตา้ บลบางปะกอก อ้าเภอราษฎร์บรู ณะ กรุงเทพมหานคร ที่ดนิ แปลงน้มี ี เนอ้ื ท่ี 7 ไร่ 1 งาน 56 ตารางวา ออก ณ วนั ที่ 27 เดือนเมษายน พ.ศ. 2520 วัดราษฎรบ์ รู ณะ สงั กัดคณะสงฆ์มหานิกาย อาณาเขต ทิศตะวันออก ตดิ กบั คลอง ราษฎร์บรู ณะ ซง่ึ แยกออกจากแม่น้าเจ้าพระยา มสี ้านักงานเขตราษฎร์บรู ณะต้ังอย่ตู รงกนั ขา้ มคนละ ฝ่ังคลองกับวดั ทศิ ตะวันตก ติดกับทเี่ อกชน ทศิ เหนือ ตดิ กับแม่น้าเจ้าพระยาตลอดแนวจนสุดเขตวัด ทศิ ใต้ ตดิ กับถนนราษฎรบ์ รู ณะตลอดแนวจนสดุ เขตวัด ทีธ่ รณีสงฆ์ 1 แปลง เน้อื ที่ 4 ไร่ ล้าดบั อดีตเจา้ อาวาสจนถงึ ปจั จุบัน ไม่มหี ลกั ฐานปรากฏชัดเจนวา่ มเี จา้ อาวาส มาแล้วกร่ี ปู แต่เท่าที่สบื ไดจ้ ากค้าบอกเลา่ ของผสู้ งู อายุในท้องถิน่ และหลักฐานบางอย่างประกอบ พอจัดลา้ ดับได้ดงั น้ี ลา้ ดบั ที่ 1 พระอาจารยไ์ หล ลา้ ดับที่ 2 พระอาจารย์เอี่ยม ลา้ ดับที่ 3 พระอาจารย์เปยี ลา้ ดบั ที่ 4 พระอาจารยเ์ มยี้ น ล้าดบั ท่ี 5 พระอาจารยร์ ว่ ม ล้าดับที่ 6 พระอาจารยท์ องอยู่ ลา้ ดบั ที่ 7 พระครวู จิ ติ รบูรณการ ลา้ ดับท่ี 8 พระครสู ริ ิวรี าภรณ์ (บุญมี วีรปญโฺ ) ล้าดับท่ี 9 พระมหาสมศักดิ์ ทนฺตจิตฺโต (พ.ศ. 2557–ปัจจบุ นั )

7 กลา่ วโดยสรปุ วัดราษฎร์บูรณะตั้งอยู่ริมแม่น้าเจ้าพระยา บรเิ วณปากคลอง ราษฎร์บรู ณะ เดมิ เรยี กกันวา่ “วดั ปากคลอง” แตบ่ างคนก็เรียกวา่ “วดั นอก” และมีข้อสันนษิ ฐานว่า วดั แห่งน้สี ร้างขึน้ ในสมัยกรงุ ศรอี ยุธยาตอนปลายถึงสมัยกรุงธนบุรี และอาจเป็นไปได้ว่าแต่เดิมวัดแห่ง น้ี สรา้ งข้ึนโดยกษัตริย์หรือพระบรมวงศานุวงศ์ ตามความหมายของชอื่ แต่ตอ่ มาได้เปลี่ยนไปเปน็ วัดราษฎร์บูรณะ 1.2 ความสา้ คญั ของวัดราษฎรบ์ รู ณะ วดั ราษฎรบ์ รู ณะในยุคปัจจุบัน มีพระมหาสมศกั ดิ์ ทนฺตจติ โฺ ต (ป.ธ.8) ไดร้ ับแตง่ ตัง้ ใหเ้ ปน็ เจา้ อาวาสวัดราษฎร์บูรณะ เมื่อ ปพี .ศ. 2557 ถอื วา่ เป็นยุคพัฒนาบุคลากรมากกว่าวัตถุ ซึ่งท่าน ได้มีนโยบายมุ่งเน้นด้านการส่งเสริมการศึกษา เน่ืองจากการก่อสร้างถาวรวัตถุ อดีตเจ้าอาวาสแต่ละ ยุคได้สร้างไว้พอเพียงแก่การใช้ประโยชน์ในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ แล้ว เช่น อาคารสถานที่ต่าง ๆ สามารถประยกุ ตใ์ ชอ้ า้ นวยความสะดวกแก่การเปิดการเรียนการสอนได้ เป็นต้น ด้วยเหตุนี้ จึงน้าไปสู่ การเปิดการเรียนการสอนพระปริยัติธรรม ทั้งแผนกธรรมและแผนกบาลี ในนามส้านักเรียนคณะเขต ราษฎร์บูรณะ และได้ขอเสนอแต่งต้ังเป็นส้านักศาสนศึกษาวัดราษฎร์บูรณะ โดยมอบหมายให้ พระ มหาไพบูลย์ ชนเทโว (ป.ธ.9) เป็นอาจารย์ใหญ่แผนกบาลี เปิดท้าการเรียนการสอนอย่างจริงจัง ในปี พ.ศ. 2558 ปัจจุบันมีพระภิกษุสามเณร สนใจเข้ามาศึกษาภาษาบาลีมากข้ึนและมีการสอบบาลี สนามหลวงได้ทุกปี นอกจากนี้ วัดราษฎร์บูรณะยังมีศิลปกรรมเจดีย์ย่อมุมไม้สิบสองข้างอุโบสถ พิจารณาจากรูปแบบสามารถก้าหนดอายุได้ว่าสร้างขึ้นในช่วงรัชกาลท่ี 3-4 และมีพระพุทธรูป ศักดิ์สิทธ์ิ ที่ชาวชุมชนราษฎร์บูรณะให้ความเคารพศรัทธาอย่างมาก คือ หลวงพ่อพระพุทธโสธร (จ้าลอง) สร้างเมอื่ ปี พ.ศ. 2499 แมจ้ ะเปน็ พระพทุ ธโสธร (จ้าลอง) ก็ตาม แต่ก็เกิดความผูกพันต่อคน ในชุมชนราษฎร์บูรณะอย่างมาก และทางวัดได้อัญเชิญหลวงพ่อพระพุทธโสธร (จ้าลอง) เป็นองค์ปิด ทองงานประจ้าปีของวัดตดิ ตอ่ กนั ทุกปี จนเป็นท่ีร้จู กั และเคารพศรัทธาของคนในชุมชน กลา่ วโดยสรปุ วดั ราษฎรบ์ ูรณะถือเป็นวดั ท่ีมกี ารสง่ เสรมิ ด้านการศึกษา มีการเรยี น การสอนพระปริยตั ิธรรม ทั้งแผนกธรรมและแผนกบาลี ในนามสา้ นักเรียนคณะเขตราษฎร์บูรณะ และ ยังถอื ไดว้ ่าเป็นวดั ที่มีความเก่าแก่สรา้ งข้ึนในสมยั อยุธยาตอนปลาย มีศิลปกรรมเจดยี ย์ ่อมุมไม้สบิ สอง สามารถก้าหนดอายุไดว้ า่ สรา้ งข้ึนในช่วงรัชกาลที่ 3-4 และมีพระพุทธรูปศักดิส์ ิทธิท์ ช่ี าวชุมชน ราษฎร์บรู ณะใหค้ วามศรัทธาเปน็ อย่างมาก คอื หลวงพอ่ พระพุทธโสธร (จา้ ลอง) กกกกกกก2. วดั แจงร้อน กกกกกกก 2.1 ประวัติของวัดแจงรอ้ น วัดแจงร้อนต้ังอยูร่ ิมแม่นา้ เจา้ พระยา ตรงปากคลองแจงรอ้ น เป็นวดั โบราณ สันนษิ ฐานว่าสร้างข้ึนในสมยั อยุธยาตอนปลาย ประมาณ พ.ศ. 2300 ไม่ปรากฏว่าใครเป็นผู้สร้าง เดิม มีนามวา่ “วดั พารา” ขณะทีจ่ ากคา้ บอกเลา่ ของผู้สงู อายุหลายท่านซงึ่ มพี ้ืนเพภูมลิ ้าเนาเดิมอยู่ในต้าบล

8 ราษฎร์บูรณะกล่าวตรงกันว่า วัดแจงร้อนน้ันเดิมชื่อ “วัดหงษ์ร่อน” แต่มาเปลี่ยนช่ือเป็นวัดแจงร้อน ตั้งแต่ครั้งใด และด้วยเหตุผลใดไม่ปรากฏ คงเรียกกันว่าวัดแจงร้อนสืบต่อกันมาจนกระทั่งปัจจุบันนี้ ชือ่ “วดั หงษ์รอ่ น” นัน้ ไดท้ ราบจากเรือ่ งราว และการสนั นิษฐานซึ่งเปน็ คา้ บอกเล่าสืบต่อกันมาถึงที่มา ของชื่อน้ีว่า “ในขณะท่ีก้าลังสร้างวัดอยู่ ได้มีหงษ์ตัวหนึ่งมาบินร่อนอยู่เหนือบริเวณที่สร้างวัดเป็น เวลานาน แล้วก็บินหายไป” บางท่านกล่าวว่า “เม่ือสร้างวัดเสร็จแล้ว จึงมีหงษ์ตัวหนึ่งมาบินร่อน เหนอื บริเวณวัด” เพราะเหตุดังกล่าวข้างต้นน้ี ผู้สร้างจึงได้ตั้งชื่อว่า “วัดหงษ์ร่อน” ตามนิมิตที่ได้เห็น น้นั ผู้ท่เี คยเห็นอุโบสถเก่าของวัดแจงร้อนบางท่านกล่าวว่าท่ีหน้าอุโบสถเก่า มีเสาคู่หนึ่งทางด้านหน้า พระอุโบสถ ยอดเสาหารท้าเป็นรูปหงส์กางปีกทั้งสองเสา มาคร้ังพระครูประสิทธิ์สิกขการ(หลวงพ่อ จวน) เป็นเจ้าอาวาสได้รื้อพระอุโบสถหลังเดิมออกแล้วสร้างพระอุโบสถหลังใหม่ข้ึน ในปี พ.ศ. 2461 เสาหารทย่ี อดเป็นรูปหงส์นัน้ จงึ ได้ถกู รื้อลงด้วย ส่วนช่ือ “วัดแจงร้อน” นั้นซึ่งเรียกขานกันอยู่ ปัจจุบัน น้ีไม่มีผู้ใดทราบว่ามีความหมายอย่างไร และได้เปล่ียนเม่ือใด บางท่านกล่าวว่าช่ือวัดแจงร้อนท่ีเรียก กนั อย่ปู จั จบุ ันน้เี พ้ยี นมาจากค้าวา่ “แจงรอ้ ย” บ้าง “แร้งร่อน” บ้าง แล้วแต่จะเข้าใจกันไป ยังไม่มีข้อ ยตุ ิลงไปได้ วัดแจงร้อนได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา คร้ังหลังประมาณ พ.ศ. 2461 ซึ่งได้รื้ออุโบสถ หลงั เดมิ และสร้างขนึ้ ใหมแ่ ทน วัดแจงร้อน พื้นท่ตี งั้ วดั เป็นท่ีราบสูง บางแหง่ เปน็ ที่ลุ่มตั้งอยู่ริมแมน่ า้ เจ้าพระยา อาคาร เสนาสนะ มีอโุ บสถ กวา้ ง 13 เมตร ยาว 23 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2466 กุฏสิ งฆ์ จา้ นวน 14 หลงั มี ท้ังทีเ่ ป็นทรงไทยโบราณและทรงป้ันหยา หอสวดมนต์ ศาลาการเปรยี ญ วิหารหลวงพอ่ หินแดง ผนงั ทบึ ไม่มีหนา้ ต่าง กวา้ ง 10 เมตร ยาว 18 เมตร ท่ีหน้าบนั ซุ้มประตู มีลวดลายไทยปนู ปั้นงดงามศลิ ปะ สมัยต้นกรงุ รตั นโกสินทร์

9 วัดแจงร้อน สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มที ีด่ นิ ตั้งวดั เนือ้ ที่ 40 ไร่ อาณาเขตทิศ เหนือยาว 199 เมตร ตดิ ตอ่ กับแม่นา้ เจ้าพระยา ทิศใตย้ าว 200 เมตร ติดต่อกับคลองแจงร้อน ทิศตะวันออกยาว 327 เมตร ติดต่อกับคลองแจงร้อน ทศิ ตะวันตกยาว 374 เมตร ติดตอ่ กับที่เอกชน ทธ่ี รณีสงฆ์จา้ นวน 3 แปลง เน้อื ที่ 115 ไร่ 1 งาน 38 ตารางวา โฉนดเลขที่ 3728 กลา่ วโดยสรุป เน่ืองจากวดั แจงร้อนเปน็ วัดราษฎร์ และเปน็ วัดโบราณจงึ ไมม่ ี เร่ืองราวหรือหลักฐานใดพอที่จะมาคน้ ควา้ เพ่ือจะทราบได้ว่าสรา้ งข้ึนมาตงั้ แต่ครัง้ ใด มเี พียงค้าบอก เลา่ ของผูส้ งู อายหุ ลายทา่ นซ่ึงมีพน้ื เพภมู ลิ า้ เนาเดิมอยใู่ นต้าบลราษฎรบ์ ูรณะกล่าวตรงกันว่า วดั แจง ร้อนนัน้ เดิมชอ่ื “วัดหงษร์ ่อน” แต่มาเปล่ียนชื่อเป็นวดั แจงร้อน ตั้งแตค่ รั้งใด และดว้ ยเหตุผลใดไม่ ปรากฏคงเรียกกนั ว่าวดั แจงร้อนสบื ตอ่ กนั มาจนกระท่ังปจั จุบันน้ี กกกกกกก 2.2 ความสา้ คัญของวดั แจงรอ้ น วัดแจงรอ้ น เป็นวดั โบราณอกี วัดหน่ึงซึง่ ตงั้ อยู่ในยา่ นสวนเก่าธนบุรี บริเวณริมแม่น้า เจ้าพระยา อาจารย์ น.ณ ปากน้า บันทึกไว้ในงานส้ารวจของท่านในหนังสือ ศิลปกรรมในบางกอกว่า “วิหารวดั น้ีใหญโ่ ตเปน็ ของเกา่ โบราณมาก กอ่ ผนังหนาประมาณ 1 เมตรโดยตลอด นับวา่ เปน็ ศิลปวัตถุส้าคัญเก่าแก่ที่สุดในธนบุรี ลวดลายบนฐานชุกชี และบนขอบประตูเป็นศิลปะสมัยพระ นารายณ์ คอื มลี ายฝรั่งผสมไทย แสดงว่าในสมัยพระนารายณ์ได้มาท้าการปฏิสังขรณ์วิหารน้ีขึ้น และ ก็คงท้าการปั้นลวดลายประดับทั้งด้านหน้าและด้านหลังโดยตลอด พระพุทธรูปในวิหารองค์หลังสุด ใหญม่ าก เป็นพระทรงเครอื่ งสวมชฎาเทริด ใบหน้าแบบพระลพบุรีผสมอทู่ อง และพระพทุ ธรูปองค์ อ่ืน ๆ หลายยุคหลายสมัยมากมาย แสดงว่าแถบน้ีต้องเคยเป็นเมืองอันคับค่ังมาแล้วแต่ในสมัยอู่ทอง หรือสมัยลพบุรี กอ่ นสมยั กรุงศรีอยุธยาหลายร้อยปี” ตามท่ีอาจารย์ น.ณ ปากน้า ระบุถึงความส้าคัญ ของวัดแจงร้อนจากหลักฐานโบราณวัตถุสถาน อาจกล่าวได้ว่า พื้นที่บริเวณวัดแจงร้อนตั้งอยู่นั้นมี ความส้าคัญมาแล้วในสมัยก่อนกรุงศรีอยุธยา และได้มีการบูรณปฏิสังขรณ์วัดต่อ ๆ กันมาหลายยุค หลายสมัย ซึ่งหลักฐานทางปูชนียวัตถุท่ีส้าคัญ ที่พอสันนิษฐานลักษณะโครงสร้างได้ว่า เป็นลักษณะ โครงสร้างที่นิยมสร้างในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ประมาณ พ.ศ. 2303-2394 ซึ่งเป็นศิลปะในยุคต้นกรุงรัตนโกสินทร์ มีกลุ่มพระประธาน พระพุทธรูป สลักด้วยหินทรายแดง หลวงพ่อหินแดง และพระพุทธรูปบนฐานชุกชี ในพระวิหารหลวงพ่อหินแดง เปน็ พระพุทธรูปท่ีสรา้ งในสมยั กรงุ ศรีอยธุ ยาตอนปลาย ราวพุทธศตวรรษท่ี 23 พระพุทธรูปทรงเครื่อง น้อย อยู่ด้านหลังหลวงพ่อหินแดง เป็นพระพุทธรูปทรงเครื่องยุคแรก ๆ ของอยุธยาที่พบในเขต กรุงเทพมหานคร โดยน่าจะสร้างข้ึนในราวสมัยอยุธยาตอนต้น (ปลายพุทธศตวรรษที่ 20 ถึงต้นพุทธ ศตวรรษท่ี 21) เน่ืองจากสวมมงกุฎท่ีมีลักษณะคล้ายกับศิลปะขอมเป็นอย่างมาก ส่วนสังวาลและ ทับทรวงเป็นงานท่ีมาเพ่ิมเติมในภายหลัง นักวิชาการบางท่านเสนอว่า พระพุทธรูปองค์นี้อาจถูก อัญเชิญมาจากราชธานีกรุงศรีอยุธยา หรือไม่ก็อาจอัญเชิญมาจากหัวเมืองอื่น ๆ พระอุโบสถ

10 วัดแจงร้อน ได้สร้างขึ้นใหม่แทนหลังเดิมที่มีขนาดเล็ก และได้สร้างเสร็จเม่ือ พ.ศ. 2466 โดยมีหลวง ธนาบาล อดีตนายอ้าเภอราษฎร์บูรณะ และนายชุน กาญจนกุญชร รวมท้ังพุทธศาสนิกชนผู้มีจิต ศรทั ธา เปน็ ผบู้ ริจาคทุนทรพั ย์ในการก่อสร้างพระอุโบสถ โดยใช้แนวคิดภูมิปัญญาชาวบ้านผสมผสาน ภมู ิปัญญาชา่ งฝมี อื ชนั้ ครอู ยา่ งเตม็ ความสามารถ ซ่ึงถอื ว่าเปน็ ของดขี องมีคณุ คา่ ของชาวแจงรอ้ น อย่างน่าภาคภมู ใิ จ กล่าวโดยสรปุ วัดแจงร้อน เปน็ วดั เก่าที่สรา้ งมานานนับร้อยกวา่ ปี จากหลักฐานที่ ปรากฏให้เห็นคือ พระวิหารหลวงพ่อหินแดง ซ่ึงเป็นหลักฐานทางปูชนียวัตถุที่ส้าคัญเป็นลักษณะ โครงสร้างที่นิยมสร้างในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ประมาณ พ.ศ. 2303-2394 ซ่ึงเป็นศิลปะในยุคต้นกรุงรัตนโกสินทร์ มีงานศิลปะปูนป้ัน คือ พระ อุโบสถวัดแจงร้อน ท่ีได้สร้างขึ้นใหม่แทนหลังเดิมที่มีขนาดเล็ก โดยใช้แนวคิดภูมิปัญญาชาวบ้าน ผสมผสานภูมิปัญญาช่างฝีมือช้ันครูอย่างเต็มความสามารถ ซึ่งถือว่าเป็นของดีของมีคุณค่าของชาว แจงรอ้ นอยา่ งนา่ ภาคภมู ิใจ กกกกกกก3. วัดบางปะกอก กกกกกกก 3.1 ประวัตขิ องวดั บางปะกอก วัดบางปะกอก หรอื ชื่อเดิมวา่ “วัดบางคี่” เป็นวัดโบราณท่ีสรา้ งมานานในสมยั อยุธยา แต่ได้กลายเป็นวัดร้างอยู่ระยะหน่ึง พม่าได้เคยมาหลบซ่อนอาศัยอยู่ คร้ันจะจากไปได้เอาไฟ เผาวัดเสียด้วย เม่ือบ้านเมืองสงบเรียบร้อยจากข้าศึก ประชาชนได้ตั้งบ้านเรือนเป็นหลักแหล่งก็ได้ บรู ณปฏสิ ังขรณ์วดั ใหเ้ จรญิ รุ่งเรอื งขึน้ มาอีก ประมาณ พ.ศ. 2325 ซงึ่ ถอื ว่าเป็นปที ่สี รา้ งวดั ใหม่ และ ไดร้ บั พระราชทานวิสุงคามสีมา เมอื่ ปี พ.ศ. 2327 และโดยที่วัดตั้งอยู่ริมคลองบางปะกอก จึงได้ขนาน นามตามภมู ปิ ระเทศทีต่ ้งั วดั วดั บางปะกอก

11 พ้นื ทต่ี งั้ วัด เป็นทร่ี าบลุ่มต้งั อย่รู มิ คลองบางปะกอก หน้าวัดอยทู่ างทิศใต้ มถี นน เขา้ ถงึ วดั ได้ 2 ทาง คอื ทางถนนสขุ สวัสดิแ์ ละถนนราษฎร์บูรณะ อาคารเสนาสนะมีอโุ บสถกวา้ ง 13.50 เมตร ยาว 23.10 เมตร กุฏิสงฆ์ จ้านวน 7 หลัง ทรงไทยโบราณ 2 ช้ัน คร่ึงตึกครึ่งไม้ หอสวด มนต์และศาลาการเปรียญ วัดบางปะกอก สังกดั คณะสงฆม์ หานิกาย มีที่ดนิ ต้ังวดั เน้อื ท่ี 9 ไร่ 3 งาน 42 ตารางวา ตาม ส.ค.1 อาณาเขต ทศิ เหนอื จรดถนนราษฎร์บูรณะ ทศิ ใต้ จรดโรงเรยี นวดั บางปะกอก ทศิ ตะวนั ออก จรดคลองบางปะกอก ทิศตะวันตก จรดโรงเรยี นบางปะกอก วิทยาคม ทีธ่ รณีสงฆ์จ้านวน 4 แปลง เน้อื ท่ี 18 ไร่ 4 ตารางวา วดั บางปะกอก ในสมยั นั้น ถือได้วา่ เปน็ วัดท่ีเกือบมสี ภาพร้าง มีพระสงฆค์ งจะจา้ พรรษาอยู่ไม่มากนัก แม้แต่เสนาสนะอ่ืน ๆ รวมถึงอุโบสถหรือวิหาร ก็ช้ารุดทรุดโทรมมาก เฉพาะตัว อุโบสถนั้น กเ็ ปน็ อุโบสถแบบเกา่ สร้างแบบโบกปนู ปดิ ทบึ แบบอุโบสถมหาอดุ เหมือนวัดเก่า ๆ ก่อนที่ หลวงปพู่ รง้ิ หรือ ทา่ นพระครปู ระศาสน์สิกขกจิ จะไดม้ าจ้าพรรษาและมาเป็นเจา้ อาวาสวดั บาง ปะกอกแห่งนี้ สมัยก่อน ต้าบลบางปะกอก มชี ่ือวา่ “บางคี่” และในละแวกนีก้ ็มีนกั เลงอยู่มาก มเี ร่ือง ตีกนั ทะเลาะกันอยบู่ ่อย ๆ ชาวบ้านทจี่ ะมาทา้ บญุ ตักบาตรในวัดกย็ ังจะต้องพกมดี ไม้ พกอาวุธมา ปอ้ งกันตัวด้วย แตเ่ มื่อหลวงปู่พรงิ้ ได้มาจา้ พรรษาท่ีวดั บางปะกอก และไดเ้ ป็นเจ้าอาวาสเป็นที่นา่ แปลกวา่ บรรดานักเลงหวั ไมท้ ่ีเคยมเี รื่องกัน ตา่ งกเ็ กรงใจ ก็ไม่กล้ามเี ร่ืองกัน บางสว่ นก็มาเปน็ ศิษย์ หรือไม่ก็หายหน้าหายตากนั ไป กล่าวโดยสรุป วัดบางปะกอก หรือชื่อเดิมว่า “วัดบางค่ี” เป็นวัดโบราณที่สร้างมา นานในสมัยอยุธยา ต่อมาวัดได้ร้างไป กระทั่งต้นสมัยรัตนโกสินทร์จึงมีการบูรณปฏิสังขรณ์วัดขึ้นใหม่ อีกครัง้ และโดยท่ีวดั ต้ังอย่รู ิมคลองบางปะกอก จงึ ได้ขนานนามตามภูมปิ ระเทศที่ตง้ั วดั กกกกกกก 3.2 ความส้าคัญของวัดบางปะกอก วัดบางปะกอกน้ันไม่ปรากฏหลักฐานที่แน่ชัด แต่ในช่วงแรกนั้นขาดเจ้าอาวาส ปกครองวัด ชาวบ้านจึงอาราธนานิมนต์หลวงปู่พร้ิงไปปกครองวัดและช่วยบูรณะบ้ารุงวัดบางปะกอก หลวงปู่พริ้งจึงได้ร่วมมือกับชาวบ้านบูรณปฏิสังขรณ์ ท้ังพระอุโบสถและวิหาร กุฏิสงฆ์ ที่ช้ารุดทรุด โทรมเปน็ อยา่ งมากใหส้ วยงาม ซ่งึ สันนิษฐานวา่ เป็นการบูรณปฏิสงั ขรณ์วัดครง้ั หน่งึ ในปี พ.ศ. 2400 และทา่ นยังไดส้ ร้างพระวหิ ารข้างพระอุโบสถและเสรจ็ ในปี พ.ศ. 2484 อกี ท้ังยังสรา้ งและอปุ การะ โรงเรียนวัดบางปะกอกขึ้นในปีเดียวกัน หลวงปู่พร้ิง วัดบางปะกอกน้ันเป็นพระท่ีประชาชนตลอดจน บรรดาเจา้ นายเชื้อพระวงศ์ในวังตา่ งรจู้ กั เปน็ อย่างดใี นสมยั ท่ีทา่ นยังมีชวี ิตอยู่ ดังเช่น พลเรอื เอก

12 พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ตลอดจนพระโอรสและพระธิดาของพระองค์ที่มี ความเลื่อมใสศรัทธาหลวงปู่พรง้ิ เปน็ อยา่ งมาก ถึงกบั นา้ พระโอรสมาอุปสมบทเปน็ สามเณรอยู่ท่ี วัดบางปะกอกถึง 3 พระองค์ คือ พลเรือเอกหม่อมเจา้ ครรชิตพล อาภากร (ท่านน่วม) หม่อมเจ้าสมรบ้าเทอง (ท่านขรัว) และหม่อมเจ้าด้าแดงฤทธ์ิ (ท่านบ๊วย) โดยท่ีเสด็จในกรมฯและ หม่อมเจ้าหญิงเริงจิตรแจรง พระธิดาตลอดจนข้าราชบริพารได้มาถือศีลประจ้าอยู่ที่วัดแห่งน้ี จวบจน พระโอรสครบกา้ หนดลาสิกขาบท เม่อื คราวเกิดสงครามมหาเอเชียบูรพา วดั บางปะกอกได้กลายเป็นที่หลบภัยของ ประชาชนเปน็ จา้ นวนมาก ท้งั เจา้ นายทีอ่ ยใู่ นวงั กต็ ่างกนั มาขอพึง่ บารมที ี่วดั บางปะกอก โดย วัดบางปะกอกต้ังอยู่ห่างอู่ต่อเรือของญ่ีปุ่นเพียงเล็กน้อย ซ่ึงมีระเบิดลงอยู่แต่ผู้ที่มาหลบอาศัยอยู่ ภายในวดั บางปะกอกน้นั ปลอดภัย ดงั นนั้ ทั้งเจา้ นายและประชาชนจึงเชอ่ื วา่ เป็นเพราะบารมขี อง หลวงปู่พร้ิงท่ีช่วยเหลือจากเหตุการณ์คร้ังน้ี จึงท้าให้ช่ือเสียงของหลวงปู่พร้ิงนั้นเป็นท่ีเลื่องลือและ ศรัทธาเปน็ อยา่ งมาก หลวงปู่พริ้งเป็นพระอาจารย์ ท่ีมชี ือ่ เสยี งในเรอ่ื งวชิ าอาคม วชิ าลอ่ งหนอยยู่ งคง กระพันรวมถึงวิทยาคมต่าง ๆ ในด้านการสัก อีกท้ังยังมีความเชี่ยวชาญในด้านการแพทย์แผนโบราณ การดูฤกษ์ยามท้านายทายทักโชคชะตา อีกทั้งยังได้สร้างเคร่ืองรางของขลังในด้านความคงกระพัน และเมตตามหานิยมมากมาย จึงท้าให้มีประชาชนท่ัวไปเคารพและเลื่อมใสเป็นจ้านวนมาก จึงมีการ จัดสร้างวัตถุมงคลของหลวงปู่พริ้งข้ึน ซ่ึงวัตถุมงคลท่ีมีช่ือเสียงเป็นอย่างมากคือ ลูกอมด้า อันมี คุณสมบัติในด้านคงกระพันและเมตตามหานิยม นอกจากนี้ก็ยังมีพระพิมพ์และพระผงอีกหลายรุ่นท่ี ปัจจบุ นั มีราคาสูงมาก ช่อื เสียงของวัดบางปะกอกจึงเป็นท่ีรู้จักและโด่งดังจากความศรัทธาในอานุภาพ หลวงปูพ่ ร้งิ มาจนถึงปัจจุบนั น้ี กล่าวโดยสรปุ วดั บางปะกอก ถือได้วา่ มีเจดียท์ รงระฆังซึ่งเป็นศลิ ปะมอญอยดู่ ว้ ย องค์หน่ึง มีพระเกจิรูปส้าคัญ และมีชื่อเสียงมากจากพระเครื่องรางของขลังที่มีชื่อเสียงโด่งดัง ของ หลวงพริง้ คอื ลกู อมด้า ลกู อมสเี ทา เหรยี ญ พระพมิ พผ์ งใบลาน และเกยี รติคุณของท่านย่ิงได้รับความ เช่ือถือมากข้ึนอีก เมื่อพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ พระราชโอรสใน พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อย่หู ัว ได้มาเปน็ ศษิ ย์ของท่าน กกกกกกก4. วดั ประเสริฐสุทธาวาส 4.1 ประวตั ิของวดั ประเสริฐสุทธาวาส วดั ประเสรฐิ สุทธาวาส เป็นวัดเก่าแก่ ต้ังอยู่รมิ คลองราษฎร์บูรณะ มีนทิ านท้องถน่ิ เล่าวา่ คนจีนเลยี้ งหมูคนหนึง่ ได้พบเงิน 3 ตุ่มโดยบังเอิญ จึงน้ามาสร้างวัดแห่งน้ี คาดว่าวัดแห่งน้ีสร้าง ข้ึนมาต้ังแต่สมัยอยุธยาตอนปลาย จากน้ันได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ในสมัยพระบาทสมเด็จ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยู่หวั รัชกาลที่ 3 ดังปรากฏหลกั ฐานเปน็ จารึกอยูใ่ นอุโบสถ ซึง่ จารเป็นภาษาไทยและ

13 จีน ระบุว่าในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 3 เม่ือ พ.ศ. 2381 พระประเสริฐ วานิช ขุนนางกรมท่าซ้ายเชื้อสายจีนแซ่แต้ พร้อมญาติ ได้ปฏิสังขรณ์วัดแห่งน้ี และตั้งช่ือว่า “วัด ประเสริฐบุญพสุทธาวาส” ต่อมาได้เปล่ียนช่ือเป็นวัดประเสริฐสุทธาวาส อย่างไรก็ตาม ทุกวันน้ี ชาวบ้านกลับนิยมเรียกว่า “วัดกลาง” ซ่ึงคงหมายถึง “วัดท่ีต้ังอยู่ตรงต้าแหน่งก่ึงกลางของล้าคลอง” เพราะวัดแห่งนี้ตั้งอยู่ลึกจากปากคลองราษฎร์บูรณะเข้ามาราว 300 เมตร คู่กับ “วัดนอก” หรือวัด ราษฎร์บูรณะ ซ่ึงต้ังอยู่ด้านนอกตรงปากคลอง วัดประเสริฐสุทธาวาสคงจะได้รับพระราชทาน วสิ งุ คามสีมาใน พ.ศ. 2382 ปีตอ่ มาหลงั จากไดป้ ระกาศการสร้างวัดเสร็จเรียบร้อยแลว้ วัดประเสรฐิ สุทธาวาส พ้ืนท่ีตง้ั วัด เปน็ ท่รี าบเรียบ หน้าวัดอยู่ทิศตะวนั ออก ซึง่ ตดิ ตอ่ กบั ลา้ คลอง มี ก้าแพงตลอดริมคลอง หลังวัดติดต่อกับถนนราษฎร์พัฒนา มีก้าแพงและประตูเข้าด้านหลังวัดได้ อาคารเสนาสนะมี อโุ บสถกวา้ ง 8.30 เมตร ยาว 16 เมตร สร้างเมอื่ พ.ศ. 2381 แบบเก๋งจีน ผนงั ภายในเขียนภาพสามก๊กด้วยหมึกจีน ขณะน้ีได้ช้ารุดลง กุฏิสงฆ์ จ้านวน 4 หลัง เป็นแบบ 2 ช้ัน ครึ่ง ตึกครง่ึ ไม้ หอสวดมนต์ 2 ช้ัน ศาลาการเปรยี ญ 2 ช้นั ครึง่ ตกึ คร่งึ ไม้ ปชู นียวัตถุ มีพระประธานหน้าตัก กวา้ ง 2 เมตร พร้อมกบั พระโมคคัลลานะและพระสารบี ุตร เจดยี ์ 2 องค์ วดั ประเสรฐิ สุทธาวาส สงั กดั คณะสงฆ์มหานกิ าย มที ี่ดินตั้งวัดเน้อื ท่ี 4 ไร่ 1 งาน 53 ตารางวา โฉนดเลขท่ี 15975 อาณาเขต ทิศเหนือยาว 58 วาเศษ ติดต่อกับท่ีเอกชน ทิศใต้ยาว 45 วาเศษ ติดตอ่ กับท่เี อกชน ทิศตะวนั ออกยาว 43 วาเศษ ตดิ ตอ่ กบั ล้าคลอง ทศิ ตะวนั ตกยาว 42 วา เศษ ติดต่อกับถนนราษฎร์พัฒนา ทธ่ี รณีสงฆ์จ้านวน 2 แปลง เนอ้ื ที่ 28 ไร่ 1 งาน 80 ตารางวา โฉนด เลขท่ี 1494,441 กลา่ วโดยสรปุ วดั ประเสรฐิ สทุ ธาวาส ถอื เปน็ วดั เก่าแก่ คาดว่าวัดแหง่ นส้ี ร้าง

14 ข้ึนมาต้ังแต่สมัยอยุธยาตอนปลาย จากน้ันได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ข้ึนใหม่ในสมัยพระบาทสมเด็จ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยู่หัว รัชกาลท่ี 3 ดังปรากฏหลกั ฐานเปน็ จารกึ อยใู่ นอุโบสถ ซงึ่ จารเป็นภาษาไทยและ จนี 4.2 ความส้าคัญของวดั ประเสริฐสทุ ธาวาส วดั ประเสริฐสุทธาวาส มที ้ังอุโบสถและวิหารมีคณุ ค่าทางศิลปวฒั นธรรม กรม ศิลปากรได้ประกาศข้ึนทะเบียนเป็นโบราณสถาน ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2537 และมีสิ่งที่ส้าคัญในอุโบสถ คือ ภาพเล่าเร่อื งสามกก๊ บนผนัง ท่ีเขยี นด้วยหมกึ ด้าบนพื้นขาวในกรอบส่ีเหล่ียม กรอบละ 1 ตอน ถือเป็น ภาพเล่าเรื่องสามก๊กท่ีมีมากท่ีสุดในประเทศไทย มีจ้านวน 364 ภาพ ที่ผ่านมามีนิสิต นักศึกษาจาก ประเทศต่าง ๆ เช่น จีน ฮ่องกง พม่า อเมริกา ลาว ไทย ออสเตรเลีย นักท่องเที่ยวจากยูเครน นักจัด รายการเกี่ยวกับศาสนาพุทธ ช่อง 11 กรุ๊ปนิสิตบ้านทานตะวัน มาขอชมและถ่ายท้า ที่ผนังอุโบสถ ด้านหลังพระประธาน มีแผ่นศิลาจารึกของพระประเสริฐวานิช ถอดความได้ใจความท่ีส้าคัญว่า มูลเหตุท่ีพระประเสริฐวานิชบูรณะวัดประเสริฐสุทธาวาส เพราะเห็นว่า ทรัพย์สมบัติต่าง ๆ น้ันไม่ได้ เป็นแก่นสาร เปน็ ทรัพยส์ าธารณะสญู เปล่า จึงคดิ น้ามาฝังไว้กับพระศาสนา โดยเห็นว่าจะเป็นทรัพย์ท่ี แทจ้ ริงแหง่ ตน จงึ ไดช้ ักชวนญาติพี่น้องมาช่วยกนั สรา้ งวดั กล่าวโดยสรปุ วัดประเสริฐสุทธาวาส มที ั้งอุโบสถและวิหารมีคุณค่าทาง ศลิ ปวฒั นธรรม กรมศิลปากรได้ประกาศขนึ้ ทะเบียนเป็นโบราณสถาน ตั้งแตป่ ี พ.ศ. 2537 มีนสิ ติ นกั ศกึ ษาจากประเทศตา่ ง ๆ นกั ทอ่ งเที่ยว และตลอดจนสอ่ื โทรทัศนข์ อเขา้ ชมและถ่ายท้ารายการ มีงานจิตรกรรมฝาผนังท่ีส้าคัญในอุโบสถ คือ ภาพเล่าเรื่องสามก๊กบนผนัง ท่ีเขียนด้วยหมึกด้าบนพื้น ขาวในกรอบสเี่ หลย่ี ม กรอบละ 1 ตอน ถอื เปน็ ภาพเล่าเร่อื งสามก๊กท่ีมมี ากท่สี ุดในประเทศไทย มจี ้านวน 364 ภาพ กกกกกกก5. วัดสน 5.1 ประวัตขิ องวัดสน วดั สน ตง้ั อยู่ริมคลองแจงรอ้ น เป็นวัดท่ีสร้างขึน้ มาเมื่อประมาณ พ.ศ. 2400 จาก การสนั นิษฐานทอ่ี ุโบสถหลังเดิมชา้ รดุ และไดร้ ือ้ ถอนเม่ือ พ.ศ. 2458 ซง่ึ กว่าอุโบสถจะชา้ รุดลงคง กินเวลาอย่างน้อยก็ 30 ปีขึ้นไป แต่เดิมน้ันบริเวณต้ังวัดนี้มีต้นสนเป็นจ้านวนมาก จึงได้ขนานนามว่า “วัดต้นสน” ต่อมาชาวบ้านมักเรียกสั้น ๆ ว่า “วัดสน” และได้ใช้เป็นนามวัดมาจนตราบเท่าทุกวันนี้ วัดสนเป็นวัดท่ีได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาแล้ว แต่ไม่อาจทราบได้แน่ชัดว่าได้รับเมื่อใด ค้านวณ จากระยะเวลาสรา้ งวดั ซึง่ อาจหลังจากนน้ั ไมเ่ กนิ 15 ปี คงอยใู่ นราว พ.ศ. 2415

15 วดั สน พื้นทตี่ ง้ั วัด เปน็ ที่ลุ่มตัง้ อยรู่ ิมลา้ คลอง ด้านหน้าวัดตดิ กบั ถนนทางทศิ เหนอื อาคารเสนาสนะมี อุโบสถ กว้าง 6 เมตร ยาว 12 เมตร สร้างเม่ือ พ.ศ. 2460 มีเครื่องลายคราม ประดับทงั้ ด้านหน้าและหลงั กุฏสิ งฆ์ จา้ นวน 20 หลัง อาคารครงึ่ ตกึ คร่งึ ไม้ 2 ชั้น หอสวดมนต์ คอนกรตี ศาลาการเปรียญ อาคารไม้สักท้งั หลัง วัดสน สงั กัดคณะสงฆ์มหานกิ าย มที ด่ี ินตัง้ วดั เนอื้ ท่ี 6 ไร่ 3 งาน 49 ตารางวา โฉนดเลขที่ 216 อาณาเขต ทิศเหนือยาว 55 วา ติดต่อกับถนนสาธารณะ ทิศใต้ยาว 58 วา ติดต่อกับ ล้าคลอง ทศิ ตะวันออกยาว 50 วา ตดิ ตอ่ กบั ทเ่ี อกชน ทศิ ตะวนั ตกยาว 59 วา ติดตอ่ กับทเ่ี อกชน กลา่ วโดยสรปุ วัดสน สันนษิ ฐานว่าสรา้ งขน้ึ ในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ส่วนท่ีมาของชื่อวัดสันนิษฐานว่ามาจากพ้ืนที่บริเวณน้ีมีต้นสนข้ึนเป็นจ้านวน มาก แตเ่ ดิมจึงเรยี กวา่ “วดั ตน้ สน” ก่อนที่จะย่อลงเหลือเพยี ง “วัดสน” และเรียกสบื มาจนถึงปจั จบุ ัน 5.2 ความส้าคัญของวดั สน วัดสน พระอุโบสถของวัดสนเป็นสถาปัตยกรรมของไทยแท้ ๆ ฝาผนังพระอุโบสถ ทัง้ 4 ด้าน เป็นภาพเขยี นลายไทยที่งดงาม ภายในอโุ บสถประดิษฐานพระพุทธรปู 3 องค์ โดย พระพุทธรูปประธานสร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 6 ส่วนอีก 2 องค์ อาจเปน็ พระพุทธรูปเก่าแก่ท่เี คยประดิษฐานในอุโบสถหลงั เดมิ มากอ่ น ซึง่ น่าจะสร้างขึ้นในสมัย ต้นรัชกาลท่ี 4 สว่ นผนงั อุโบสถตกแต่งดว้ ยจิตรกรรมฝาผนังสมัยใหม่ เล่าเรื่องพุทธประวัติและทศชาติ ชาดก รวมไปถึงมีพระเกจิรูปส้าคัญ ซึ่งเป็นอดีตเจ้าอาวาสวัดสน เจ้าคณะต้าบลราษฎร์บูรณะ คือ หลวงพ่อ พระครูศีลนิวาส (อินฺทสโร) หรือ หลวงปู่โม้ เมื่อท่านได้รับการแต่งต้ังให้เป็นเจ้าคณะต้าบล

16 แล้ว ทา่ นไดพ้ ยายามปรับปรงุ การศกึ ษาของพระภิกษสุ ามเณรในเขตการปกครองให้ดีข้ึน โดยจัดให้วัด ต่าง ๆ ในเขตการปกครอง มีโรงเรียนการสอนพระปริยัติธรรมประจ้าวัด และในทางอาณาจักรก็ให้ ความร่วมมือในการก่อต้ังโรงเรียนข้ึนตามวัดต่างๆ และท่านได้จัดท้าวัตถุมงคล ขึ้นมาหลายรุ่น เป็นท่ี รูจ้ กั และมีชอ่ื เสยี งโดง่ ดัง คอื ตะกรดุ 7 ดอก ตะกรุดโทนกมุ ารทอง ตะกรดุ เดี่ยวหรือพริ อดแขน ผา้ ยนั ต์ ซ่งึ เป็นวัตถมุ งคลท่หี ายากยิง่ ในปัจจุบัน กลา่ วโดยสรปุ วดั สนมพี ระอโุ บสถซึ่งถอื เปน็ สถาปตั ยกรรมของไทยแท้ ๆ สว่ นผนัง อุโบสถตกแต่งด้วยจิตรกรรมฝาผนังสมัยใหม่ เล่าเร่ืองพุทธประวัติและทศชาติชาดก รวมไปถึงมีพระ เกจริ ูปส้าคัญ ซ่ึงเป็นอดีตเจ้าอาวาสวัดสน เจ้าคณะต้าบลราษฎร์บูรณะ คือ หลวงพ่อพระครูศีลนิวาส (อนิ ทฺ สโร) หรอื หลวงปูโ่ ม้ ซ่งึ วตั ถมุ งคลของท่านหายากยงิ่ ในปจั จุบัน 6. วัดสารอด 6.1 ประวัตขิ องวัดสารอด วัดสารอด ตั้งอยู่ริมคลองราษฎร์บูรณะ สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอน ปลาย เน่ืองจากพบใบเสมาสมัยอยุธยาตอนปลายหลงเหลืออยู่ มีต้านานเล่าว่า เดิมวัดแห่งนี้มีช่ือว่า “วัดเสือรอด” เนื่องจากเมื่อครั้งแรกสร้าง มีเสือตัวหนึ่งถูกยิงได้รับบาดเจ็บ แล้วว่ิงหนีเข้ามาในวัด จากนั้นก็หายจากอาการบาดเจ็บ รอดตายอย่างปาฏิหาริย์ วัดแห่งนี้ได้รับการบูรณะคร้ังใหญ่สมัย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รัชกาลท่ี 6 เม่อื พ.ศ. 2457 โดยสกุล “กาญจนกุญชร” วัดสารอดได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อประมาณ พ.ศ. 2376 เขตวิสุงคามสีมากว้าง 10.62 เมตร ยาว 23.36 เมตร พนื้ ทีต่ ้ังวัด เปน็ ท่ีราบลมุ่ อาคารเสนาสนะมี อโุ บสถกวา้ ง 10.62 เมตร ยาว 23.36 เมตร สรา้ งเมือ่ พ.ศ. 2461 กฏุ สิ งฆ์จ้านวน 12 หลงั หอสวดมนต์เป็นตกึ 2 ชนั้ ศาลาการเปรยี ญ ปูชนียวัตถุ มีพระพทุ ธรูปท่ีถอื วา่ ศกั ดสิ์ ทิ ธ์ิ นามวา่ “หลวงพ่อรอด” วัดสารอด สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินต้ังวัด เนื้อท่ี 14 ไร่ 2 งาน 29 ตาราง วา อาณาเขต ทิศเหนือติดต่อกับท่ีเอกชน ถนน ทิศใต้ยาว 150 เมตร ติดต่อกับคลองราษฎร์บูรณะ ทิศตะวนั ออกยาว 300 เมตร ติดต่อกบั คลองหลอด ทศิ ตะวนั ตกยาว 300 เมตรเศษ ติดตอ่ กับที่ เอกชน กลา่ วโดยสรปุ วดั สารอด สันนิษฐานว่าสร้างข้นึ ในสมยั อยธุ ยาตอนปลาย เน่อื งจาก พบใบเสมาสมยั อยธุ ยาตอนปลายหลงเหลืออยู่ มตี ้านานเล่าว่า เดมิ วดั แหง่ น้ีมีชอื่ ว่า “วดั เสอื รอด” เน่อื งจากเม่อื คร้ังแรกสร้าง มเี สอื ตวั หนงึ่ ถกู ยงิ ไดร้ ับบาดเจ็บ แล้วว่งิ หนเี ขา้ มาในวดั จากนั้นกห็ ายจาก อาการบาดเจ็บ รอดตายอย่างปาฏิหารยิ ์

17 วดั สารอด 6.2 ความส้าคญั ของวดั สารอด วัดสารอด มีอุโบสถประดิษฐานพระพุทธชินราชจ้าลอง ซึ่งนิยมสร้างเป็น พระพุทธรูปประธานในวัดท่ีสร้างขึ้นราวทศวรรษ 2480 เป็นต้นมา ภายในวิหารหลวงพ่อรอด ประดิษฐานพระพุทธรูป 3 องค์ คือ หลวงพ่อเพชร หลวงพ่อพลอย หลวงพ่อรอด ซ่งึ มีเรือ่ งเลา่ ปรัมปรากล่าวว่า หลวงพ่อรอดเคยถูกขโมยลงเรือ แล้วเรือล่ม แต่หลวงพ่อรอดก็ลอยกลับมาท่ีวัด ดงั เดมิ อย่างนา่ อศั จรรย์ มจี ติ รกรรมฝาผนังภายในวิหารหลวงพ่อรอด เล่าเร่ืองพระสุธน-มโนห์รา วาด อยู่ในชอ่ งสเี่ หลีย่ ม ชอ่ งละ 1 ตอน รวม 12 ตอน ส้าหรบั พระอุโบสถหลงั ใหมข่ องวดั สรา้ งขนึ้ ในปี พ.ศ. 2527 โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จเป็นองค์ประธานตัดหวาย ลกู นมิ ิตของพระอุโบสถ กลา่ วโดยสรุป วดั สารอด ถอื เป็นวัดท่มี คี วามส้าคญั ท่ีมพี ระพุทธรปู ทชี่ าวบา้ น ยา่ นราษฎร์บรู ณะเคารพนับถือ และมีความศรทั ธาเป็นอย่างมาก คือ หลวงพ่อรอด รวมถึงยังเป็นวัดท่ี มีพระบรมวงศานุวงศ์ เคยเสด็จมาเป็นองค์ประธานในการตัดหวายลูกนิมิต ครั้งพระอุโบสถหลังใหม่ ของวดั สร้างข้ึน

18 กกกกกกก7. วัดเกียรติประดิษฐ์ 7.1 ประวตั ขิ องวัดเกยี รตปิ ระดษิ ฐ์ วัดเกียรตปิ ระดิษฐ์ ผู้อทุ ิศทด่ี นิ ใหส้ ร้างวัดนามว่า “ยายคง” เมอื่ ไดส้ ร้างวดั แลว้ จึง ได้ขนานนามตามช่ือผสู้ รา้ งวา่ “วดั ใหมย่ ายคง” ซงึ่ สร้างข้ึนเมือ่ ประมาณ พ.ศ. 2430 ต่อมาได้เปลีย่ น นามเปน็ “วดั ใหม่อรุณเกยี รติ” และเปล่ียนอีกครงั้ หนึ่งเปน็ “วัดเกียรติประดิษฐ์” และวัดนีไ้ ดร้ ับ พระราชทานวสิ งุ คามสีมา ประมาณ พ.ศ. 2435 พื้นที่ต้ังวัดเป็นท่ีราบลุ่มถูกน้าท่วมถึงในฤดูฝน อาคารเสนาสนะมี อุโบสถ กว้าง 9.60 เมตร ยาว 22 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2435 หลังคา 2 ชั้น กุฏิสงฆ์ จ้านวน 6 หลัง เป็นแบบครึ่ง ตึกคร่ึงไม้ หอสวดมนต์ทรงตรีมุข มีหอคอยเป็นรูปเจดีย์ สูง 3.50 เมตร มีหงส์และพญานาคหล่อด้วย สัมฤทธิ์ติดต่อบนยอดหลังคา ศาลาการเปรียญ ปูชนียวัตถุมีพระประธานในอุโบสถพร้อมด้วยพระ โมคคลั ลาน์และพระสารีบุตร จีวรลายดอกพิกุล และมหี ลวงพ่อใหญท่ ่ศี ักดส์ิ ทิ ธอิ์ กี องคห์ นึง่ วัดเกียรติประดิษฐ์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินต้ังวัด เน้ือที่ 4 ไร่ 57 ตาราง วา อาณาเขต ทศิ เหนอื ยาว 126 เมตร ติดต่อกับทเี่ อกชน ทิศใตย้ าว 132 เมตร ตดิ ตอ่ กบั คูคลอง ทิศตะวันออกยาว 45 เมตร ติดต่อกับคลองบางปะแก้ว ทิศตะวันตกยาว 51 เมตร ติดต่อกับท่ีเอกชน ทธ่ี รณีสงฆ์ 1 แปลง เน้อื ที่ 1 ไร่ 3 งาน 20 ตารางวา กลา่ วโดยสรุป วัดเกยี รติประดิษฐ์ ตามประวัติผู้ท่ีอุทิศท่ีดินสร้างวัดนามว่า ยายคง เม่อื ได้สร้างวัดแล้วจึงได้ขนานนามตามช่ือผู้สรา้ งว่า วดั ใหม่ยายคง สรา้ งข้ึนเมอ่ื ประมาณ พ.ศ. 2430 ตอ่ มาไดเ้ ปลย่ี นนามเปน็ วดั ใหม่อรณุ เกียรติ และเปล่ียนอกี ครง้ั เปน็ วัดเกียรติประดษิ ฐ์

19 7.2 ความส้าคัญของวดั เกียรตปิ ระดิษฐ์ วดั เกยี รตปิ ระดษิ ฐ์ มีอุโบสถหลังเดิมท่สี รา้ งขนึ้ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระ จลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หัว รัชกาลท่ี 5 ราว พ.ศ. 2435 แต่ถูกรื้อลง แล้วสร้างอโุ บสถหลังใหม่ขน้ึ แทน โดย ยังเก็บช่อฟ้าและกระเบื้องมุงหลังคาเดิมไว้ในศาลาด้านข้าง ภายในอุโบสถประดิษฐานพระพุทธรูป ประธานท่ีย้ายมาจากอุโบสถหลังเดิม หอสวดมนต์เป็นเรือนไม้เก่าของวัด ด้านบนประดับด้วยเจดีย์ ทรงเคร่ือง มีรูปหงส์และพญานาคหล่อด้วยส้าริดประดับบนหลังคา มีประติมากรรมรูปทหารหรือ ต้ารวจคู่หน่ึง รูปหนึ่งอยู่ในท่าแสดงความเคารพ ส่วนอีกรูปหน่ึงถือปืนยาวอาจเคยใช้เป็นทวารบาล ต้ังอยดู่ ้านหน้าอโุ บสถมาก่อนก็เปน็ ได้ และได้เปดิ สอนพระปริยตั ธิ รรม เรมิ่ เมอ่ื พ.ศ. 2522 จนถึง ขณะนมี้ ีนกั เรยี นที่เปน็ พระภิกษุ 52 รปู สามเณร 28 รูป กล่าวโดยสรุป วัดเกียรติประดิษฐ์ถือเป็นวัดที่สร้างข้ึนในยุคกรุงรัตนโกสินทร์ ซ่ึง จากศิลปกรรม และประติมากรรมท่ีมีภายในวัดมีความเป็นยุคปัจจุบันมากที่สุด โดยเร่ิมสร้างข้ึนราว สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 วัดเกียรติประดิษฐ์มีกิจกรรมส้าคัญคือ การส่งเสรมิ การเรยี นการสอนพระปริยตั ิธรรม การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ 1. ศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเองในประเดน็ ท่ีกา้ หนด 2. บันทึกผลการศกึ ษาคน้ คว้าลงในเอกสารการเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง(กรต.) 3. น้าผลการศึกษาคน้ คว้ามาพบกลมุ่ 4. อภิปราย คิดวิเคราะหข์ ้อมูล แลกเปลี่ยนข้อมลู 5. สรปุ ผลการเรียนรู้ท่ไี ดร้ ่วมกนั และบนั ทึกลงในเอกสารการเรยี นรูด้ ้วยตนเอง(กรต.) 6. นา้ สรุปผลการเรยี นรูท้ ีไ่ ด้ไปปฏิบัติท้าใบงานและศึกษาวัดคูบ่ ้านย่านราษฎรบ์ ูรณะ หวั เร่อื ง ประวัตแิ ละความสา้ คัญของวัดคบู่ า้ นย่านราษฎร์บรู ณะ 7. เขยี นเอกสารรายงานการศึกษาวัดค่บู ้านยา่ นราษฎรบ์ ูรณะหัวเรื่องประวตั ิและ ความสา้ คญั ของวดั คู่บ้านย่านราษฎรบ์ รู ณะ พร้อมน้าสง่ ครูผูส้ อน ส่อื และแหลง่ เรียนรู้ 1. สอื่ เอกสาร 1.1 ใบความรูท้ ี่ 1 1.2 ใบงานที่ 1 1.3 หนงั สอื ท่เี ก่ยี วข้อง

20 1.3.1 ชอ่ื หนงั สอื ประวัตวิ ัดทัว่ ราชอาณาจักร เล่ม 2 ผเู้ ขยี น นายสมคดิ ทองสมิ า นายบญุ มา ศรสี ุรเมธี น.ส.อรรจนีลดา วฒุ ิจันทร์ ปที ี่พิมพ์ พ.ศ. 2526 โรงพมิ พ์การศาสนา 1.3.2 ช่ือหนังสือประวัตกิ ารบูรณะพระอุโบสถ-วิหาร ผ้เู ขียน วรรณา วชั รพิมล พรรณ ปที ่ีพิมพ์ พ.ศ.2549 ไม่ระบสุ ถานท่พี ิมพ์ 1.3.3 ชื่อหนงั สือหนงั สอื สวดมนตท์ า้ วตั รเช้า-เยน็ แปล ฉบบั วดั ราษฎร์บูรณะ ผ้จู ัดทา้ พระมหาสมศักดิ์ ทนฺตจิตฺโต (ป.ธ.8) ปีท่พี ิมพ์ พ.ศ. 2561 โรงพิมพ์ บรษิ ัท สหธรรมกิ จ้ากดั 1.3.4 ชื่อหนังสอื ศลิ ปกรรมวดั ราษฎรใ์ นย่านเกา่ กรงุ เทพฯ ผู้เขยี น ธนภทั ร์ ลม้ิ ส หัสนยั กุล ปที พ่ี ิมพ์ พ.ศ.2561 โรงพมิ พ์ บมจ.อมรินทร์พร้นิ ต้ิงแอนด์พับลชิ ชิง่ 1.3.5 ชอ่ื หนงั สอื ประชุมมนตพ์ ธิ วี ัดแจงร้อน ผเู้ ขยี น อ.วรณี เอีย่ มนาคะ ไมร่ ะบุปี ที่พมิ พ์ โรงพิมพ์วรศิลปก์ ารพิมพ์ 98 (แดง) 2. สอื่ อิเล็กทรอนิกส์ 2.1 คลปิ เรื่อง ร้อยเรื่องเมืองพุทธ วดั สน 2.2 คลปิ เร่ือง วดั สารอด รายการแผน่ ดินไทยแผน่ ดนิ ธรรม 2.3 คลปิ เร่ือง น้าเสนอวดั บางปะกอก 2.4 คลิป เร่ือง สารคดีรักบา้ นเกดิ ตอน วดั บางปะกอก 2.5 เวบ็ ไซต์ ไดแ้ ก่ 2.5.1 บทความวัดบางปะกอก หรอื ชื่อเดิมว่า “วดั บางค่ี” ผเู้ ขยี น พระยศวนิ ธมฺมรโต สืบค้นจาก https://m.facebook.com>posts บางปะกอกวทิ ยาคม พ่ีนอ้ งพ้อง เพ่อื นชมพเู ขยี ว 2.5.2 บทความสถานที่ท่องเที่ยว ผู้เขยี น สา้ นักงานเขตราษฎรบ์ รู ณะ สืบคน้ จาก www.bangkok.go.th/ratburana สา้ นกั งานเขตราษฎรบ์ ูรณะ 3. สอื่ บคุ คลหรอื ภูมปิ ัญญา 3.1 พระมหาสมศกั ด์ิ ทนตฺ จิตโฺ ต ทีอ่ ยู่ วดั ราษฎรบ์ รู ณะ แขวงบางปะกอก เขตราษฎร์ บูรณะ กรงุ เทพมหานคร หมายเลขโทรศพั ท์ 084-122-6531 3.2 พระครสู ุนทรธรี าภิวฒั น์ (สนุ ทฺ โร) ที่อยู่ วัดเกยี รติประดษิ ฐ์ แขวงบางปะกอก เขต ราษฎรบ์ ูรณะ กรุงเทพมหานคร หมายเลขโทรศัพท์ 098-494-9199 3.3 นายสุวชิ ยั สมนาค ทอ่ี ยู่ บ้านเลขที่ 14 ซอยราษฎรบ์ ูรณะ 32 แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎรบ์ รู ณะ กรงุ เทพมหานคร หมายเลขโทรศัพท์ 081-205-8885 4. สอื่ แหล่งเรียนรู้ในชมุ ชน 4.1 วัดราษฎรบ์ ูรณะ ตง้ั อยูเ่ ลขท่ี 14 ถนนราษฎร์บรู ณะ หม่ทู ี่ 10 แขวงบางปะกอก เขตราษฎร์บรู ณะ กรุงเทพมหานคร หมายเลขโทรศัพท์ 087-7194531

21 4.2 วดั แจงร้อน ต้ังอยเู่ ลขท่ี 2 ถนนราษฎรบ์ รู ณะ แขวงราษฎรบ์ ูรณะ เขตราษฎร์ บูรณะ กรงุ เทพมหานคร หมายเลขโทรศัพท์ 02-8166923 4.3 วัดบางปะกอก ต้ังอยเู่ ลขที่ 86 ถนนสขุ สวสั ด์ิ คลองบางปะกอก หม่ทู ่ี 1 แขวงบาง ปะกอก เขตราษฎร์บรู ณะ กรุงเทพมหานคร หมายเลขโทรศัพท์ 02-4272812 4.4 วดั ประเสรฐิ สุทธาวาส ต้งั อยเู่ ลขท่ี 10 ซอยสุขสวสั ดิ์ 27 ถนนราษฎรพ์ ฒั นา หมู่ที่ 4 แขวงบางปะกอก เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร หมายเลขโทรศัพท์ 02-4272919 4.5 วดั สน ตั้งอยู่เลขที่ 1 ซอยสขุ สวสั ด์ิ 35 ถนนราษฎรบ์ รู ณะ หมู่ท่ี 5 แขวงราษฎร์ บรู ณะ เขตราษฎรบ์ ูรณะ กรงุ เทพมหานคร หมายเลขโทรศัพท์ 02-4630311 4.6 วดั สารอด ต้ังอย่เู ลขท่ี 25 ซอยวดั สารอด ถนนสขุ สวัสด์ิ หมู่ท่ี 8 แขวงราษฎร์ บรู ณะ เขตราษฎรบ์ ูรณะ กรงุ เทพมหานคร หมายเลขโทรศัพท์ 02-4285959 4.7 วัดเกียรตปิ ระดิษฐ์ ต้ังอย่เู ลขที่ 55 ซอยสุขสวัสด์ิ 11 หมทู่ ี่ 11 แขวงบางปะกอก เขตราษฎร์บรู ณะ กรุงเทพมหานคร หมายเลขโทรศัพท์ 02-4684478 4.8 หอสมุดแหง่ ชาติ ตง้ั อยทู่ ี่ ท่าวาสกุ รี ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร หมายเลขโทรศัพท์ 02-2815212 การวัดและประเมินผล 1. ประเมนิ ความก้าวหน้า ดว้ ยวิธกี ารต่อไปน้ี 1.1 การสังเกต 1.2 การซักถาม ตอบค้าถาม 1.3 ตรวจเอกสารการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง (กรต.) 1.4 ตรวจเอกสารรายงานการศกึ ษาวดั คู่บา้ นย่านราษฎรบ์ ูรณะ เร่อื ง ประวตั แิ ละ ความส้าคัญของวดั คบู่ า้ นย่านราษฎร์บรู ณะ 2. ประเมินผลรวม ด้วยวิธีการต่อไปน้ี 2.1 ใหต้ อบแบบทดสอบวัดความรู้ หัวเร่อื ง ประวตั แิ ละความสา้ คัญของวัดคบู่ า้ นย่าน ราษฎร์บรู ณะ จา้ นวน 3 ข้อ 2.2 ให้ตอบแบบสอบถามวดั เจตคติ

22 หวั เรื่องที่ 2 แผนท่ี สถานที่ตัง้ และการเดนิ ทางของวดั ค่บู า้ นย่านราษฎร์บูรณะ สาระสาคัญ กกกกกกก1. สถานท่ตี ง้ั และการเดินทางไปวดั ราษฎร์บรู ณะ กกกกกกก วัดราษฎร์บูรณะ ตง้ั อยเู่ ลขที่ 14 ถนนราษฎร์บูรณะ หมู่ที่ 10 แขวงบางปะกอก เขตราษฎรบ์ รู ณะ กรงุ เทพมหานคร สามารถเดนิ ทางไปได้หลายเส้นทาง ได้แก่ ทางรถยนต์ส่วนบุคคล เส้นทางที่ 1 เริ่มจากถนนพระราม 2 ไปตามถนนสุขสวัสดิ์ เข้าถนนราษฎร์พัฒนา (ซอยสุขสวัสดิ์ 27) ถนนราษฎร์บูรณะ เส้นทางท่ี 2 เร่ิมจากแยกบุคคโลไปตามถนนเจริญนคร และถนนราษฎร์บูรณะ เส้นทางท่ี 3 เร่ิมจากพระประแดงไปตามถนนสุขสวัสด์ิ ถนนราษฎร์พัฒนา และถนนราษฎร์บูรณะ เส้นทางที่ 4 เริม่ จากท่าน้าพระประแดง ตรงไปยังสามแยก ถนนราษฎร์บูรณะ เดินทางด้วยรถโดยสาร ปรับอากาศประจ้าทาง สาย 6, 37, 75 นอกจากน้ียังสามารถเดินทางโดยรถยนต์โดยสารขนาดเล็ก (รถสองแถว) สาย 11,77, 80 ไดอ้ กี ดว้ ย กกกกกกก2. สถานทตี่ ัง้ และการเดนิ ทางไปวดั แจงร้อน กกกกกกก วดั แจงรอ้ น ตง้ั อยู่เลขท่ี 2 ถนนราษฎรบ์ รู ณะ แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎรบ์ ูรณะ กรงุ เทพมหานคร สามารถเดินทางไปได้หลายเส้นทาง ได้แก่ ทางรถยนตส์ ว่ นบุคคล เส้นทางท่ี 1 เร่ิมจากถนนพระราม 2 ไปตามถนนสขุ สวสั ดิ์ ถนนราษฎรพ์ ัฒนา และถนนราษฎร์บูรณะ เส้นทางท่ี 2 เริม่ จากแยกบคุ คโลไปตามถนนเจรญิ นคร และถนนราษฎรบ์ รู ณะ เส้นทางที่ 3 เร่ิมจากพระประแดง ไปตามถนนสุขสวสั ดิ์ ถนนราษฎรพ์ ัฒนา และถนนราษฎร์บูรณะ เดินทางดว้ ยรถโดยสารประจา้ ทาง สาย 6, 37 และสามารถเดนิ ทาง รถยนตโ์ ดยสารขนาดเลก็ (รถสองแถว) อีกด้วย กกกกกกก3. สถานทีต่ ง้ั และการเดนิ ทางไปวดั บางปะกอก กกกกกกก วดั บางปะกอก ตงั้ อยู่เลขที่ 86 ถนนสุขสวัสด์ิ คลองบางปะกอก หม่ทู ่ี 1 แขวงบาง ปะกอก เขตราษฎร์บรู ณะ กรุงเทพมหานคร สามารถเดนิ ทางไปได้หลายเสน้ ทาง ได้แก่ ทางรถยนต์ สว่ นบุคคล เส้นทางท่ี 1 เรมิ่ จากถนนพระราม 2 ขบั รถไปตามถนนสุขสวสั ดิ์ จดุ สงั เกตห้างสรรสนิ ค้า บ๊ิกซี บางปะกอก เส้นทางที่ 2 เริ่มจากแยกบุคคโลขับรถยนต์ไปทางถนนเจรญิ นคร และเขา้ ถนน ราษฎร์บรู ณะ กลบั รถห้างสรรสนิ ค้าบิก๊ ซี สาขาราษฎรบ์ รู ณะ เส้นทางที่ 3 เร่ิมจากท่าน้าพระประแดง นอกจากนย้ี ังสามารถเดนิ ทางดว้ ยรถโดยสารประจ้าทาง สาย 20, 21, 82, 75, 140, 141 ไดอ้ ีกด้วย

23 กกกกกกก4. สถานทีต่ ้ัง และการเดินทางไปวัดประเสรฐิ สุทธาวาส กกกกกกก วัดประเสรฐิ สุทธาวาสตง้ั อยูเ่ ลขที่ 14 ถนนราษฎร์บรู ณะ หมู่ท่ี 10 แขวงบางปะกอก กรงุ เทพมหานคร สามารถเดินทางไปได้หลายเส้นทาง ได้แก่ ทางรถยนต์ส่วนบุคคล เส้นทางที่ 1 เรม่ิ จากถนนพระราม 2 ขบั รถยนตไ์ ปตามถนนสุขสวสั ด์ิ จุดสงั เกตห้างสรรพสนิ คา้ เทสโก้โลตสั สาขา บางปะกอกเลี้ยวซ้ายเขา้ ถนนราษฎรพ์ ฒั นา เส้นทางที่ 2 เริ่มจากแยกบคุ คโลไปตามถนนเจริญนคร ขบั รถยนต์เข้าถนนราษฎรบ์ ูรณะ เสน้ ทางที่ 3 เรมิ่ จากทา่ น้าพระประแดง ขับรถไปทางถนนราษฎร์ บรู ณะผา่ นธนาคารกสกิ รไทย สา้ นกั งานใหญ่ ขบั รถยนต์ถึงสามแยกไฟแดงถนนราษฎร์บูรณะเล้ียว ซ้ายเขา้ ถนนราษฎร์พฒั นา และสามารถเดินทางดว้ ยรถโดยสารประจา้ ทางปรบั อากาศ สาย 6, 37, 75 นอกจากนยี้ ังสามารถเดินทางโดยรถยนต์โดยสารประจา้ ทาง (รถสองแถว) สาย 11, 77, 80 ได้อีกด้วย กกกกกกก5. สถานที่ตงั้ และการเดนิ ทางไปวดั สน กกกกกกก วัดสนตั้งอยู่เลขท่ี 1 ซอยสุขสวัสด์ิ 35 ถนนราษฎร์บูรณะ หมู่ท่ี 5 แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎรบ์ ูรณะ กรุงเทพมหานคร สามารถเดนิ ทางไปได้หลายเส้นทาง ได้แก่ ทางรถยนต์ส่วนบุคคล เสน้ ทางที่ 1 เร่มิ จากถนนพระราม 2 ขับรถยนต์ไปทางถนนสุขสวสั ดิ์ ผา่ นแยกไฟแดงราษฎรบ์ รู ณะ และผา่ นแยกไฟแดงประชาอทุ ศิ ขับรถตรงไปเขา้ ซอยสขุ สวสั ด์ิ 35 เสน้ ทางที่ 2 เริ่มจากแยกบุคคโลไป ตามถนนเจริญนคร ขบั รถยนต์เข้าถนนราษฎร์บูรณะ ผา่ นธนาคารกสกิ รไทย ส้านักงานใหญ่ จุดสังเกต ป๊ัมน้ามันบางจากทางด้านขวามือ กลับรถ ขับรถยนต์ตรงไปเลี้ยวซ้ายเข้าซอยถนนราษฎร์บูรณะ 44 เส้นทางที่ 3 เร่ิมจากท่าน้าพระประแดงขับรถไปตามถนนราษฎร์พัฒนา จุดสังเกตปั๊มน้ามันบางจาก เลี้ยวเข้าซอยราษฎร์บูรณะ 44 นอกจากนี้ยังสามารถเดินทางโดยรถโดยสารปรับอากาศประจ้าทาง สาย 20, 35, 82, 140, 141 ไดอ้ ีกดว้ ย กกกกกกก6. สถานทตี่ ง้ั และการเดินทางไปวัดสารอด กกกกกกก วัดสารอด ต้ังอยู่เลขที่ 25 ซอยวัดสารอด ถนนสุขสวัสดิ์ หมู่ที่ 8 แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ เขตราษฎรบ์ รู ณะ กรงุ เทพมหานคร สามารถเดินทางไปได้หลายเส้นทาง ได้แก่ ทาง รถยนต์ส่วนบุคคล เส้นทางท่ี 1 เร่ิมจากถนนพระราม 2 ขับรถยนต์ไปทางถนนสุขสวัสดิ์ เส้นทางท่ี 2 เริ่มจากท่าน้าพระประแดง ขับรถยนต์ตรงไปถึงสามแยกไฟแดง พระประแดง จุดสังเกตพระประแดง อาเขต (ทางด้านซ้ายมือ) เลี้ยวขวาเพ่ือขับรถยนต์ไปทางถนนสุขสวัสด์ิ ขับรถยนต์ผ่านแยกไฟแดง ประชาอทุ ศิ ชิดซา้ ยเข้าซอยสุขสวัสดิ์ 44 นอกจากนีย้ ังสามารถเดนิ ทางโดยรถโดยสารประจ้าทาง สาย 20, 82, 140, 141 ไดอ้ กี ด้วย กกกกกกก7. สถานที่ต้งั และการเดนิ ทางไปวัดเกียรติประดิษฐ์ วดั เกยี รติประดิษฐ์ ต้งั อยู่เลขที่ 55 ซอยสขุ สวัสด์ิ 11 หม่ทู ่ี 11 แขวงบางปะกอก เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร สามารถเดินทางไปได้หลายเส้นทาง ได้แก่ ทางรถยนต์ส่วนบุคคล เสน้ ทางท่ี 1 เร่มิ จากถนนพระราม 2 ขับรถยนต์ไปทางดาวคะนอง ถึงแยกไฟแดงบางปะแก้ว ให้เล้ียว

24 ซ้ายขับรถยนต์ตรงไปประมาณ 1 กิโลเมตร ให้ชิดขวาเพื่อกลับรถ ชิดซ้าย เล้ียวเข้าซอยสุขสวัสด์ิ 11 เส้นทางท่ี 2 เร่ิมจากพระประแดงไปตามถนนสุขสวัสด์ิ ถนนราษฎร์พัฒนา และถนนราษฎร์บูรณะ เส้นทางท่ี 3 เริ่มจากท่าน้าพระประแดง ตรงไปยังสามแยก ถนนราษฎร์บูรณะ นอกจากนี้ยังสามารถ เดนิ ทางโดยรถโดยสารประจ้าทางสาย 68, 147, 20, 21 ไดอ้ กี ด้วย ตวั ชีว้ ดั กกกกกกกบอกแผนที่ สถานที่ตงั้ และการเดินทางไปวัดคู่บ้านยา่ นราษฎร์บูรณะได้ ขอบข่ายเนอื้ หา กกกกกกกหัวเรือ่ งท่ี 2 แผนท่ี สถานทต่ี ัง้ และการเดินทางไปวดั คู่บ้านยา่ นราษฎรบ์ รู ณะมีขอบข่าย เน้อื หาดงั นี้ กกกกกกก1. วัดราษฎรบ์ ูรณะ 1.1 แผนที่ 1.2 สถานทตี่ ้ัง ตงั้ อยู่เลขท่ี 14 ถนนราษฎรบ์ ูรณะ หมู่ที่ 10 แขวงบางปะกอก เขตราษฎร์บูรณะ กรงุ เทพมหานคร 1.3 การเดนิ ทาง 1.3.1 เดินทางโดยรถยนต์ส่วนบุคคล 1.3.2 เดินทางโดยรถโดยสารประจา้ ทาง กกกกกกก2. วัดแจงรอ้ น 2.1 แผนท่ี 2.2 สถานทตี่ ้ัง ต้ังอย่เู ลขที่ 2 ถนนราษฎรบ์ ูรณะ แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร 2.3 การเดนิ ทาง 2.3.1 เดนิ ทางโดยรถยนต์สว่ นบุคคล 2.3.2 เดนิ ทางโดยรถโดยสารประจา้ ทาง กกกกกกก3. วัดบางปะกอก 3.1 แผนที่ 3.2 สถานทตี่ ้ัง ตงั้ อยูเ่ ลขท่ี 86 ถนนสุขสวัสดิ์ คลองบางปะกอก หม่ทู ี่ 1 แขวงบางปะกอก เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร

25 3.3 การเดนิ ทาง 3.3.1 เดินทางโดยรถยนต์ส่วนบคุ คล 3.3.2 เดินทางโดยรถโดยสารประจา้ ทาง กกกกกกก4. วัดประเสริฐสุทธาวาส 4.1 แผนที่ 4.2 สถานที่ตั้ง ตงั้ อยเู่ ลขท่ี 10 ซอยสขุ สวสั ดิ์ 27 ถนนราษฎรพ์ ัฒนา หมู่ท่ี 4 แขวงบางปะกอก เขตราษฎร์บรู ณะ กรุงเทพมหานคร 4.3 การเดินทาง 4.3.1 เดนิ ทางโดยรถยนต์ส่วนบคุ คล 4.3.2 เดนิ ทางโดยรถโดยสารประจา้ ทาง กกกกกกก5. วดั สน 5.1 แผนที่ 5.2 สถานท่ีตั้ง ตงั้ อยูเ่ ลขท่ี 1 ซอยสขุ สวัสดิ์ 35 ถนนราษฎรบ์ รู ณะ หมู่ท่ี 5 แขวงราษฎรบ์ รู ณะ เขตราษฎรบ์ รู ณะ กรุงเทพมหานคร 5.3 การเดินทาง 5.3.1 เดนิ ทางโดยรถยนต์สว่ นบคุ คล 5.3.2 เดินทางโดยรถโดยสารประจา้ ทาง กกกกกกก6. วัดสารอด 6.1 แผนท่ี 6.2 สถานทต่ี ้ัง ต้ังอยเู่ ลขท่ี 25 ซอยวัดสารอด ถนนสุขสวสั ดิ์ หมูท่ ่ี 8 แขวงราษฎรบ์ รู ณะ เขตราษฎรบ์ ูรณะ เขตราษฎร์บรู ณะ กรุงเทพมหานคร 6.3 การเดนิ ทาง 6.3.1 เดินทางโดยรถยนต์ส่วนบุคคล 6.3.2 เดินทางโดยรถโดยสารประจา้ ทาง กกกกกกก7. วดั เกียรตปิ ระดิษฐ์ 7.1 แผนท่ี 7.2 สถานที่ตั้ง ตั้งอยเู่ ลขท่ี 233 ซอยสขุ สวสั ดิ์ 11 หมทู่ ่ี 11 แขวงบางปะกอก เขตราษฎรบ์ รู ณะ กรงุ เทพมหานคร 7.3 การเดินทาง 7.3.1 เดินทางโดยรถยนต์สว่ นบุคคล 7.3.2 เดินทางโดยรถโดยสารประจา้ ทาง

26 เนอ้ื หา กกกกกกก1. วัดราษฎรบ์ ูรณะ 1.1แผนที่ แผนท่ี วัดราษฎรบ์ ูรณะ 1.2 สถานที่ต้งั ต้งั อยูเ่ ลขที่ 14 ถนนราษฎร์บรู ณะ หมูท่ ี่ 10 แขวงบางปะกอก เขตราษฎร์บูรณะ กรงุ เทพมหานคร 1.3 การเดนิ ทาง เดนิ ทางโดยรถยนตส์ ่วนบุคคล เส้นทางที่ 1 เดินทางจากถนนพระราม 2 ขับรถยนต์มุ่งหน้าไปตามถนนดาวคะนอง ถึงสาม แยกไฟแดง ให้เล้ียวขวาไปพระประแดง ไปทางถนนสุขสวัสดิ์ มีจุดสังเกตห้างสรรพสินค้าเทสโก้โลตัส สาขาบางปะกอก ถึงสามแยกไฟแดงให้ชิดซ้ายเพื่อเล้ียวซ้าย เข้าสู่ถนนราษฎร์พัฒนา (สุขสวัสด์ิ ซอย 27) ขับรถยนต์ไปบนถนนราษฎร์พัฒนาประมาณ 1 กิโลเมตร จุดสังเกตวัดอยู่ริมถนน ถึงสามแยกไฟ แดงถนนราษฎร์บูรณะถงึ วดั ราษฎร์บรู ณะ

27 เส้นทางท่ี 2 เดนิ ทางจากแยกบคุ คโลใหข้ บั รถยนต์ตรงไปยังถนนเจริญนคร ขบั รถยนตต์ อ่ ไปยัง ถนนราษฎร์บรู ณะ จดุ สงั เกตหา้ งสรรพสินคา้ บกิ๊ ซี สาขาราษฎร์บรู ณะ สามแยกไฟแดงถนน ราษฎรบ์ รู ณะ ให้ชิดซา้ ย เพ่อื เลีย้ วเข้าสู่วดั ราษฎร์บรู ณะ เส้นทางที่ 3 เดินทางจากท่านา้ พระสมุทรเจดีย์ ขบั รถยนต์มุ่งหน้าไปตามถนนสุขสวสั ดิ์ ถงึ สาม แยกพระประแดงขับรถยนต์ตรงไป ผ่านสามแยกประชาอุทิศ ขับรถยนต์ตรงไปประมาณ 1 กิโลเมตร ให้ชิดขวาตรงสามแยกราษฎร์บูรณะให้ชิดขวาเพ่ือเลี้ยวขวาเข้าสู่ถนนราษฎร์พัฒนา (สุขสวัสดิ์ ซอย 27) ขับรถยนต์ไปบนถนนราษฎรพ์ ฒั นาประมาณ 1 กิโลเมตร จุดสงั เกตวดั อยูร่ ิมถนน ตรงสามแยก ไฟแดงถนนราษฎร์บูรณะ เส้นทางท่ี 4 เดินทางจากทา่ นา้ พระประแดง ขบั รถยนต์ตรงมายังถนนราษฎรบ์ รู ณะ ผ่าน วดั รวก ผ่านธนาคารกสิกรไทย ส้านกั งานใหญ่ ผ่านส้านกั งานเขตราษฎร์บูรณะ ถึงสามแยกไฟแดง ชิด ขวา เพ่อื เลย้ี วขวาเข้าสูว่ ัดราษฎรบ์ ูรณะ เดนิ ทางโดยรถโดยสารประจาทาง รถโดยสารปรบั อากาศประจ้าทาง สาย 6 พระประแดง–บางล้าพู รถโดยสารปรบั อากาศประจ้าทาง สาย 37 แจงรอ้ น–มหานาค รถโดยสารปรบั อากาศประจ้าทาง สาย 75 วัดพุทธบชู า–หัวลา้ โพง เดินทางโดยรถยนต์โดยสารประจา้ ทาง (รถสองแถว) โดยรถยนต์โดยสารขนาดเลก็ (รถสองแถว) 11 ทงุ่ ครุ–บิก๊ ซี ราษฎร์บูรณะ โดยรถยนต์โดยสารขนาดเล็ก (รถสองแถว) 80 ทุ่งครุ–บ๊ิกซี ราษฎรบ์ ูรณะ โดยรถยนตโ์ ดยสารขนาดเล็ก (รถสองแถว) 77 พุทธบชู า–บกิ๊ ซี ราษฎรบ์ ูรณะ

28 กกกกกกก2. วัดแจงรอ้ น 2.1 แผนที่ แผนท่ี วัดแจงร้อน 2.2 สถานท่ตี ั้ง ตง้ั อยู่เลขท่ี 2 ถนนราษฎรบ์ รู ณะ แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บรู ณะ กรุงเทพมหานคร 2.3 การเดินทาง เดนิ ทางโดยรถยนตส์ ่วนบคุ คล เส้นทางที่ 1 เดนิ ทางจากถนนพระราม 2 ขับรถยนต์มงุ่ หน้า ดาวคะนอง-พระประแดง ถึงสามแยกไฟแดงบางปะแก้ว ให้เล้ียวขวาไปพระประแดง ขับรถยนต์ไปทางถนนสุขสวัสดิ์ จดุ สงั เกตห้างสรรพสินค้าเทสโกโ้ ลตัส สาขาบางปะกอก ถึงสามแยกไฟแดง ให้เลี้ยวซ้ายเพ่ือเข้าสู่ถนน ราษฎร์พฒั นา (สุขสวสั ดิ์ ซอย 27) ขับรถยนต์ตรงไปบนถนนราษฎรพ์ ฒั นา ถึงสามแยกไฟแดงถนน ราษฎร์บูรณะ เล้ียวขวา ขับรถยนต์ไปบนถนนราษฎร์บูรณะ ผ่านธนาคารกสิกรไทยส้านักงานใหญ่ ผ่านใต้ทางด่วนสะพานพระราม 9 ขับรถยนต์ต่อไปประมาณ 1 กิโลเมตร ชิดซ้าย เพ่ือเลี้ยวซ้ายเข้า ซอยราษฎร์บูรณะ 37 ขบั รถยนต์ตรงไป วัดแจงร้อนจะอยูท่ างดา้ นซา้ ยมือ

29 เสน้ ทางที่ 2 เดินทางจากแยกบุคคโลให้ขับรถยนต์ตรงไปยังถนนเจริญนคร ขับรถยนต์ต่อไปยัง ถนนราษฎร์บูรณะ ขับรถยนต์ผ่านสามแยกไฟแดงถนนราษฎร์บูรณะ ขับรถยนต์ผ่านธนาคารกสิกร ไทย สา้ นกั งานใหญ่ ผ่านใต้ทางดว่ นสะพานพระราม 9 ขับรถยนต์ต่อไปประมาณ 1 กิโลเมตร ชิดซ้าย เพ่อื เลยี้ วซ้ายเขา้ ซอยราษฎร์บูรณะ 37 ขบั รถยนตต์ รงไป วัดแจงรอ้ นจะอยูท่ างดา้ นซา้ ยมือ เสน้ ทางที่ 3 เดินทางจากท่านา้ พระประแดง ขบั รถยนต์ตรงไปทางถนนราษฎรบ์ ูรณะ ผา่ น วัดรวก จุดสังเกตธนาคารกสิกรไทย ส้านักงานใหญ่ ทางด้านขวามือ ชิดขวาเพ่ือกลับรถบริเวณ ธนาคารกสกิ รไทย สา้ นักงานใหญ่ ผ่านใตท้ างดว่ นสะพานพระราม 9 ขับรถยนต์ตรงไปทางถนน ราษฎรบ์ รู ณะ ชิดซา้ ย เพ่อื เล้ียวซ้ายเข้าซอยราษฎรบ์ ูรณะ 37 ขับรถยนต์ตรงไปวดั แจงรอ้ นจะอยู่ ทางด้านขวามอื เดินทางโดยรถโดยสารประจาทาง รถโดยสารปรับอากาศประจา้ ทาง สาย 6 พระประแดง–บางลา้ พู รถโดยสารปรบั อากาศประจ้าทาง สาย 37 แจงรอ้ น–มหานาค เดินทางโดยรถยนต์โดยสารขนาดเล็ก (รถสองแถว) โดยรถยนตโ์ ดยสารขนาดเล็ก (รถสองแถว) พระประแดง–โรงแก้ว

30 กกกก กกกกกกก3. วัดบางปะกอก 3.1 แผนท่ี แผนท่ี วดั บางปะกอก 3.2 สถานทตี่ ้ัง ตง้ั อยู่เลขท่ี 86 ถนนสุขสวัสด์ิ คลองบางปะกอก หมู่ท่ี 1 แขวงบางปะกอก เขตราษฎร์บูรณะ กรงุ เทพมหานคร 3.3 การเดินทาง เดนิ ทางโดยรถยนตส์ ่วนบุคคล เส้นทางท่ี 1 เดนิ ทางจากถนนพระราม 2 ขบั รถยนตม์ ่งุ หนา้ ดาวคะนอง-พระประแดง ถึงสามแยกไฟแดงบางปะแก้ว ให้เลี้ยวขวาไปทางพระประแดง ขับรถยนต์ไปทางถนนสุขสวัสดิ์ ผ่าน ห้างสรรพสนิ คา้ บิก๊ ซี สาขาบางปะกอก ประมาณ 1 กิโลเมตร เลี้ยวซา้ ยเขา้ ซอยสขุ สวัสดิ์ 19 ขบั รถยนต์ตรงไปในซอยสุขสวัสด์ิ 19 ประมาณ 800 เมตร จุดสงั เกตโรงเรียนวดั บางปะกอก วดั บางปะกอกจะอยทู่ างด้านขวามอื เส้นทางท่ี 2 เดินทางจากแยกบุคคโล ขบั รถยนต์มงุ่ หน้าไปยังถนนเจริญนคร ขบั รถยนต์เข้า ถนนราษฎรบ์ รู ณะ จดุ สังเกตหา้ งสรรพสินค้าบ๊ิกซี สาขาราษฎร์บูรณะ ชดิ ขวาเพื่อกลบั รถบริเวณ

31 หา้ งสรรพสินค้าบ๊ิกซี สาขาราษฎรบ์ ูรณะ ขับรถยนต์ตรงไป ข้ามสะพานบางปะกอกชดิ ซา้ ย เลย้ี วซ้าย เข้าซอย ราษฎร์บูรณะ 8 ขับรถยนต์ตรงไปประมาณ 50 เมตร วดั บางปะกอกจะอยู่ทางด้านซา้ ยมอื เสน้ ทางที่ 3 เดนิ ทางจากทา่ น้าพระประแดง ขบั รถยนต์มงุ่ หนา้ ไปยังถนนราษฎร์บูรณะ ผา่ น วัดรวก ผ่านใต้ทางด่วนพระราม 9 ผ่านธนาคารกสิกรไทย ส้านักงานใหญ่ จุดสังเกตห้างสรรพสินค้า บ๊ิกซี สาขาราษฎร์บูรณะ (อยู่ทางขวามือ) ข้ามสะพานบางปะกอกชิดซ้าย เล้ียวซ้ายเข้าซอยราษฎร์ บูรณะ 8 ขบั รถยนตต์ รงไปประมาณ 50 เมตร วดั บางปะกอก จะอยทู่ างด้านซ้ายมอื เดินทางโดยรถโดยสารประจาทาง รถโดยสารปรับอากาศประจา้ ทาง 6 พระประแดง–บางล้าพู รถโดยสารปรับอากาศประจ้าทาง สาย 20 สขุ สวัสด์ิ–ท่าดนิ แดง รถโดยสารประจา้ ทาง สาย 20 สุขสวัสดิ์–ทา่ ดินแดง รถโดยสารปรบั อากาศประจ้าทาง สาย 21 วัดคสู่ ร้าง–จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย รถโดยสารประจา้ ทาง สาย 21 วัดคสู่ ร้าง–จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย รถโดยสารประจา้ ทางสาย 82 พระประแดง–สนามหลวง รถโดยสารปรบั อากาศประจา้ ทาง สาย 75 วดั พุทธบูชา–หัวล้าโพง รถโดยสารประจ้าทางสาย 75 วัดพทุ ธบูชา–หวั ล้าโพง รถโดยสารปรับอากาศประจ้าทาง สาย 140 แสมด้า–อนสุ าวรยี ์ชัยสมรภมู ิ รถโดยสารปรบั อากาศประจ้าทาง สาย 141 แสมดา้ –โรงพยาบาลจฬุ า รถโดยสารปรับอากาศประจา้ ทาง สาย 142 แสมด้า–บางนา

32 กกกกกกก4. วดั ประเสรฐิ สุทธาวาส 4.1 แผนท่ี แผนท่ี วัดประเสรฐิ สทุ ธาวาส 4.2 สถานที่ต้ัง ตง้ั อยู่เลขท่ี 10 ซอยสขุ สวัสดิ์ 27 ถนนราษฎร์พัฒนา หมู่ที่ 4 แขวงบางปะกอก เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร 4.3 การเดินทาง เดนิ ทางโดยรถยนต์สว่ นบคุ คล เสน้ ทางที่ 1 เดินทางจากถนนพระราม 2 ขับรถยนตม์ ุ่งหนา้ ไปทางดาวคะนอง พระประแดง ถงึ สามแยกไฟแดงบางปะแก้ว ให้เล้ยี วขวาไปพระประแดง ขบั รถยนต์ไปทางถนนสุขสวัสดิ์ มีจุดสังเกต ห้างสรรพสินค้าเทสโก้โลตัส สาขาบางปะกอก ถึงสามแยกไฟแดงให้ชิดซ้ายเพื่อเลี้ยวซ้าย เข้าสู่ถนน ราษฎร์พัฒนา (ถนนสุขสวัสดิ์ ซอย27) ขับรถยนต์ไปทางถนนราษฎร์พัฒนาประมาณ 1.5 กิโลเมตร วัดจะอย่ดู ้านขวามอื ตดิ กบั โรงเรยี นวัดประเสริฐสทุ ธาวาส

33 เสน้ ทางที่ 2 เดินทางจากแยกบุคคโลให้ขับรถยนต์ตรงไปยังถนนเจริญนคร ขับรถยนต์ไปทาง ถนนราษฎร์บูรณะ ผา่ นหา้ งสรรพสนิ ค้าบกิ๊ ซี สาขาราษฎร์บรู ณะ ถึงสามแยกไฟแดงถนนราษฎร์บูรณะ ให้เลี้ยวขวาเข้าถนนราษฎร์พัฒนา ขับรถยนต์บนถนนราษฎร์พัฒนา วัดจะอยู่ทางด้านซ้ายมือ ติดกับ โรงเรียนวดั ประเสริฐสุทธาวาส เสน้ ทางท่ี 3 เดินทางจากท่าน้าพระประแดง ขับรถยนต์ไปทางถนนราษฎร์บูรณะ ผ่านวัดรวก ผ่านใต้ทางดว่ นพระราม 9 ผ่านธนาคารกสิกรไทย ส้านักงานใหญ่ ถึงสามแยกไฟแดง ถนน ราษฎร์บูรณะข้ามสะพาน เพ่ือเล้ียวซ้ายเข้าสู่ถนนราษฎร์พัฒนา วัดจะอยู่ทางด้านซ้ายมือ ติดกับ โรงเรียนวัดประเสริฐสุทธาวาส เดินทางโดยรถโดยสารประจาทาง รถโดยสารปรับอากาศประจ้าทาง สาย 6 พระประแด–บางล้าพู รถโดยสารปรบั อากาศประจ้าทาง สาย 37 แจงรอ้ น–มหานาค รถโดยสารปรับอากาศประจ้าทาง สาย 75 วดั พุทธบูชา–หัวลา้ โพง เดินทางโดยรถยนต์โดยสารขนาดเลก็ (รถสองแถว) โดยรถยนต์โดยสารขนาดเลก็ (รถสองแถว) 11 ทงุ่ ครุ–บ๊กิ ซี ราษฎรบ์ ูรณะ โดยรถยนตโ์ ดยสารขนาดเล็ก (รถสองแถว) 80 ทุง่ ครุ–บิ๊กซี ราษฎรบ์ ูรณะ โดยรถยนตโ์ ดยสารขนาดเล็ก (รถสองแถว) 77 พทุ ธบูชา–บิ๊กซี ราษฎร์บรู ณะ

34 กกกกกกก5. วดั สน 5.1 แผนท่ี แผนท่ี วัดสน 5.2 สถานท่ตี ้ัง ต้ังอยเู่ ลขท่ี 1 ซอยสุขสวัสด์ิ 35 ถนนราษฎร์บรู ณะ หมทู่ ่ี 5 แขวงราษฎรบ์ รู ณะ เขตราษฎรบ์ ูรณะ กรุงเทพมหานคร 5.3 การเดนิ ทาง เดนิ ทางโดยรถยนต์ส่วนบคุ คล เส้นทางท่ี 1 เดินทางจากถนนพระราม 2 ขับรถยนตม์ ุ่งหน้าไปทางดาวคะนอง พระประแดง ถึงสามแยกไฟแดงบางปะแก้ว ให้เล้ียวขวาไปทางพระประแดง ขับรถยนต์ไปทางถนนสุขสวัสดิ์ ผ่าน สามแยกประชาอทุ ิศให้ขบั รถยนตต์ รงไปประมาณ 500 เมตร ให้เลย้ี วซ้ายเขา้ ซอยสุขสวัสด์ิ 35 ขบั รถยนต์ตรงไปในซอยประมาณ 800 เมตร วดั สนจะอยูท่ างด้านซา้ ยมือติดกับโรงเรียนวัดสน เสน้ ทางท่ี 2 เดินทางจากแยกบุคคโลใหข้ บั ตรงไปยังถนนเจรญิ นคร ขบั รถยนต์ต่อไปยังถนน ราษฎรบ์ รู ณะ ถึงสามแยกไฟแดงถนนราษฎร์บรู ณะ ให้ขบั รถยนต์ตรงไป ผา่ นธนาคารกสิกรไทย สา้ นักงานใหญ่ ผ่านใต้ทางดว่ นสะพานพระราม 9 จดุ สงั เกตปั๊มน้ามันบางจากทางดา้ นขวามือ ให้กลบั รถไปทางปั๊มนา้ มันบางจาก เพ่ือเลยี้ วซ้ายเข้าซอยราษฎรบ์ ูรณะ 44 ขับรถยนต์ประมาณ 2 กิโลเมตร วดั สนจะอยู่ทางขวามือ

35 เสน้ ทางที่ 3 จากทา่ นา้ พระประแดง ขับรถยนต์ไปทางถนนราษฎรบ์ รู ณะ ผา่ นวดั รวก จุด สงั เกตปม๊ั นา้ มนั บางจาก ชิดซ้าย เลี้ยวซ้ายเข้าซอยราษฎร์บูรณะ 44 ขับรถยนต์ประมาณ 2 กิโลเมตร วดั สนจะอยู่ทางดา้ นขวามอื เดนิ ทางโดยรถโดยสารประจาทาง รถโดยสารประจา้ ทาง สาย 20 พระประแดง–บางลา้ พู รถโดยสารประจา้ ทาง สาย 35 พระประแดง–สายใต้ใหม่ รถโดยสารประจ้าทางสาย 82 ทา่ นา้ พระประแดง–บางล้าพู รถโดยสารปรบั อากาศประจา้ ทาง สาย 140 แสมด้า–อนุสาวรยี ช์ ัยสมรภมู ิ รถโดยสารปรับอากาศประจ้าทาง สาย 141 แสมดา้ –โรงพยาบาลจฬุ า ฯ กกกกกกก6. วดั สารอด 6.1 แผนที่ แผนท่วี ดั สารอด 6.2 สถานท่ตี ้ัง ตั้งอยู่เลขที่ 25 ซอยวัดสารอด ถนนสุขสวสั ด์ิ หมทู่ ี่ 8 แขวงราษฎรบ์ ูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร

36 6.3 การเดนิ ทาง เดนิ ทางโดยรถยนต์สว่ นบคุ คล เส้นทางท่ี 1 เดนิ ทางจากถนนพระราม 2 ขบั รถยนตม์ ุง่ หน้าไปตามปา้ ยบอกทาง ดาวคะนอง ถึงสามแยกไฟแดงบางปะแก้ว ให้เลี้ยวขวาไปพระประแดง ไปทางถนนสุขสวัสด์ิ ผ่านสามแยกไฟแดง ราษฎร์บูรณะประมาณ 500 เมตร กลับรถชิดซ้าย ระยะทางประมาณ 50 เมตร เพ่ือเข้าสู่ทางเข้าวัด สารอด ซอยสขุ สวัสดิ์ 44 เสน้ ทางที่ 2 เดินทางจากทา่ น้าพระประแดง ขับรถยนต์ไปทางถนนสขุ สวสั ด์ิ ถงึ สามแยก พระประแดง ขับรถยนต์ตรงไป ถงึ สามแยกไฟแดงประชาอุทิศ ประมาณ 500 เมตร ชิดซ้าย เพือ่ เลีย้ ว เขา้ วดั สารอด ซอยสขุ สวสั ดิ์ ซอย 44 เดนิ ทางโดยรถโดยสารประจาทาง รถโดยสารประจา้ ทาง สาย 20 พระประแดง–บางลา้ พู รถโดยสารประจา้ ทางสาย 82 ท่านา้ พระประแดง–บางล้าพู รถโดยสารปรบั อากาศประจา้ ทาง สาย 140 แสมด้า–อนสุ าวรยี ์ชยั สมรภมู ิ รถโดยสารปรบั อากาศประจา้ ทาง สาย 141 แสมดา้ –โรงพยาบาลจฬุ า

37 กกกกกกก7. วดั เกยี รติประดิษฐ์ 7.1 แผนที่ แผนท่ี วดั เกียรตปิ ระดิษฐ์ 7.2 สถานทีต่ ้ัง ต้งั อยูเ่ ลขที่ 233 ซอยสขุ สวัสด์ิ 11 หมูท่ ่ี 11 แขวงบางปะกอก เขตราษฎร์บรู ณะ กรุงเทพมหานคร 7.3 การเดินทาง เดนิ ทางโดยรถยนต์สว่ นบุคคล เส้นทางท่ี 1 เดนิ ทางจากถนนพระราม 2 ขบั รถยนต์มุ่งหน้าไปตามถนนดาวคะนอง พระประแดง ถงึ สามแยกไฟแดงบางปะแก้วแยกดาวคะนอง ใหเ้ ลย้ี วไปทางซา้ ยมือ เพอ่ื ขับบนถนน สุขสวสั ด์ิ ประมาณ 1 กโิ ลเมตร ชิดขวา เพ่ือกลบั รถ ขับรถยนต์ต่อไปบนถนนสขุ สวสั ด์ิ ประมาณ 700 เมตร ชดิ ซา้ ย เพ่อื เล้ียวเข้าซอยสุขสวัสดิ์ 11 ขับรถยนตต์ ่อไปถึงทางตัน ให้เล้ยี วซา้ ย ถงึ วดั เกยี รตปิ ระดษิ ฐ์

38 เสน้ ทางที่ 2 เดินทางจากแยกบคุ คโล ขับรถยนตต์ รงไปยังถนนมไหสวรรย์ เลย้ี วซ้าย เพ่ือขับ รถยนตไ์ ปทางถนนสุขสวัสดิ์ ประมาณ 3 กิโลเมตร ชดิ ซ้ายเพือ่ เลย้ี วเข้าซอย สขุ สวสั ด์ิ 11 ขับรถยนต์ ต่อไปถงึ ทางตัน ให้เลย้ี วซา้ ย ถึงวดั เกียรตปิ ระดิษฐ์ เส้นทางท่ี 3 เดินทางจากทา่ น้าพระประแดง ขับรถยนตม์ ุ่งหน้าไปทางถนนราษฎร์บรู ณะ ผ่าน วัดรวก ผา่ นใตท้ างดว่ นพระราม 9 ผ่านธนาคารกสิกรไทย สา้ นกั งานใหญ่ ถึงสามแยกราษฎรบ์ รู ณะ เลีย้ วซา้ ย เพอื่ ขบั รถยนตไ์ ปทางถนนราษฎรพ์ ัฒนา ถงึ สามแยกไฟแดงราษฎรพ์ ฒั นา เล้ยี วขวาขบั ไป ทางถนนสุขสวัสดิ์ ถึงสามแยกไฟแดงบางปะแก้ว ขบั รถตรงไปประมาณ 1 กโิ ลเมตร ชดิ ขวาเพอ่ื กลับ รถ ขับรถยนต์ไปทางถนนสุขสวัสด์ิ ประมาณ 300 เมตร ชิดซา้ ย เล้ยี วซา้ ยเขา้ ซอยสขุ สวัสดิ์ 11 ขับรถยนตต์ ่อไปถึงทางตนั ให้เล้ียวซ้าย ถึงวัดเกยี รติประดิษฐ์ เสน้ ทางที่ 4 เดินทางจากท่าน้าพระประแดง ขับรถยนต์ไปทางสุขสวัสด์ิ ถงึ สามแยกไฟแดง พระประแดง จดุ สงั เกตพระประแดงอาเขต ขับรถยนตต์ รงไป ผ่านสามแยกประชาอทุ ิศ ผา่ นสามแยก ถนนราษฎรพ์ ัฒนา (ถนนสขุ สวัสดิ์ ซอย 27) ใหเ้ ล้ียวขวาไปทางดาวคะนองผ่านสามแยกไฟแดง บางปะแก้ว ขบั รถยนตต์ รงไปประมาณ 1 กโิ ลเมตร ชิดขวาเพอื่ กลบั รถ ขับต่อไปบนถนนสขุ สวัสดิ์ ประมาณ 700 เมตร ชดิ ซ้าย เพอ่ื เลี้ยวเข้าซอยสุขสวัสด์ิ 11 ขบั รถยนต์ต่อไปถึงทางตัน ให้เลีย้ วซ้าย ถงึ วัดเกียรตปิ ระดิษฐ์ เดนิ ทางโดยสารรถโดยประจาทาง รถโดยสารประจ้าทางสาย 82 ท่าน้าพระประแดง–บางล้าพู รถโดยสารประจา้ ทางสาย 68 แสมดา้ –บางลา้ พู รถโดยสารปรบั อากาศประจ้าทาง สาย 68 สมทุ รสาคร–บางลา้ พู รถโดยสารประจ้าทางสาย 147 การเคหะธนบรุ ี–เดอะมอลลบ์ างแค รถโดยสารประจา้ ทาง สาย 20 ท่านา้ เจดีย์–ทา่ ดนิ แดง รถโดยสารปรับอากาศประจา้ ทาง สาย 21 วดั คสู่ ร้าง–จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั รถโดยสารประจา้ ทาง สาย 21 วดั คสู่ ร้าง–จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ กกกกกกก1. ศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเองในประเดน็ ที่ก้าหนด กกกกกกก2. บนั ทึกผลการศกึ ษาคน้ คว้าลงในเอกสารการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง (กรต.)

39 กกกกกกก3. น้าผลการศกึ ษาคน้ ควา้ มาพบกลุ่ม กกกกกกก4. อภิปราย คิดวเิ คราะหข์ ้อมลู แลกเปลย่ี นขอ้ มูล กกกกกกก5. สรุปผลการเรียนรู้ที่ได้ร่วมกันและบนั ทึกลงในเอกสารการเรียนร้ดู ้วยตนเอง (กรต.) 6. นา้ สรุปผลการเรยี นรูท้ ี่ไดไ้ ปปฏบิ ัติ ทา้ ใบงาน และศกึ ษาวัดคบู่ ้านย่านราษฎร์บูรณะ ดว้ ยวิธกี ารศกึ ษาทางภูมิศาสตร์ หวั เร่อื ง แผนท่ี สถานท่ตี ้งั และการเดินทางของวดั ค่บู ้านย่าน ราษฎรบ์ ูรณะ 7. เขยี นเอกสารรายงานการศึกษาวดั คบู่ า้ นยา่ นราษฎรบ์ รู ณะ หัวเรือ่ ง แผนท่ี สถานทีต่ ง้ั และการเดินทางของวัดคบู่ ้านย่านราษฎรบ์ รู ณะ พรอ้ มนา้ สง่ ครูผู้สอน ส่ือและแหลง่ เรียนรู้ กกกกกกก1. ส่ือเอกสาร ไดแ้ ก่ 1.1 ใบความรู้ท่ี 2 1.2 ใบงานที่ 2 กกกกกกก2. สอื่ อเิ ล็กทรอนิกส์ ได้แก่ 2.1 เวบ็ ไซต์ได้แก่ 2.1.1 องค์การขนสง่ มวลชนกรุงเทพ สืบค้นจาก www.bmta.co.th 2.1.2 แผนทเ่ี สน้ ทาง สบื ค้นจาก http://www.route.in.th/detailbus.php 2.1.3 ความหมายของแผนท่ี https://www.baanjomyut.com/library_2/extension-2/using_the_map/01.html การวัดและประเมนิ ผล กกกกกกก1. ประเมนิ ความก้าวหน้า ด้วยวธิ กี ารต่อไปนี้ 1.1 การสังเกต 1.2 การซักถาม ตอบค้าถาม 1.3 ตรวจเอกสารการเรียนรดู้ ้วยตนเอง (กรต.) 1.4 ตรวจเอกสารรายงานการศึกษาวดั คบู่ ้านยา่ นราษฎร์บรู ณะ กกก2. ประเมินผลรวม ดว้ ยวธิ กี ารต่อไปนี้ 2.1 ให้ตอบแบบทดสอบวัดความรู้หัวเร่ือง แผนที่ สถานทต่ี ้ัง และการเดินทางของวดั คู่บา้ นยา่ นราษฎร์บูรณะ จ้านวน 3 ข้อ

40 หัวเร่ืองท่ี 3 พระพทุ ธรูป พระเกจิ และสถานทส่ี าคญั ของวัดคบู่ ้านย่านราษฎร์บรู ณะ สาระสาคัญ กกกกกกก1. พระพุทธรปู ส้าคัญของวดั คบู่ า้ นย่านราษฎร์บูรณะ 1.1 ประวตั หิ ลวงพอ่ พระพทุ ธโสธร (จ้าลอง) เป็นพระพทุ ธรปู ท่ีประดิษฐานอยู่ในวัด ราษฎร์บูรณะ มีลักษณะเป็นพระพุทธรูปปูนปั้นปางสมาธิ สร้างเม่ือ พ.ศ. 2499 ในทุก ๆ ปี ชาวบ้าน และวดั จะอัญเชิญหลวงพอ่ พระพุทธโสธร (จ้าลอง) เป็นองค์ปิดทองงานประจ้าปีของวัด จนเป็นที่รู้จัก และเคารพศรัทธาของคนในชุมชนเป็นอย่างมาก ความส้าคัญหลวงพ่อพระพุทธโสธร (จ้าลอง) มีความส้าคัญอย่างมาก ส้าหรับคนในพื้นท่ีใกล้เคียงและนอกพื้นท่ีวัดราษฎร์บูรณะ เพราะบารมีองค์ หลวงพ่อพระพุทธโสธร (จ้าลอง) ท้าให้เกิดความเล่ือมใสศรัทธาในบารมีหลวงพ่อพระพุทธโสธร (จ้าลอง) มักจะมีผู้คนแวะเวียนเข้ามากราบสักการบูชาอย่างสม้่าเสมอ เน่ืองเป็นจากพระพุทธรูป ที่หลวมรวมใจของคนในชุมชนและเป็นท่ียึดเหน่ียวจิตใจคนท้ังในพื้นท่ีใกล้เคียงและนอกพ้ืนท่ีวัด ราษฎร์บูรณะ นอกจากน้ีทางวัดยังได้จัดงานประจ้าปีข้ึนในทุก ๆ ปี โดยทางวัดได้อาราธนาหลวงพ่อ พระพุทธโสธร (จ้าลอง) ลงมาประดิษฐานไว้ เพ่ือให้พุทธศาสนิกชนได้กราบไหว้ขอพรและปิดทองอีก ดว้ ย ความเชอ่ื และความศรัทธา หลวงพ่อพระพุทธโสธร (จ้าลอง) โดยส่วนมากจะมีความเช่ือเกี่ยวกับ การบนบานศาลกล่าว ไม่ว่าจะเร่ืองการเกณฑ์ทหาร เพ่ือไม่ให้ตนเองจับฉลากได้ใบแดงในช่วงท่ีมีการ เกณฑท์ หาร เป็นต้น ซึ่งหลวงพ่อพระพุทธโสธร (จ้าลอง) ได้ดลบันดาลให้ผู้ที่มากราบไหว้ขอพรหรือผู้ ท่มี าบนบานศาลกล่าว ประสบความส้าเรจ็ สมความมงุ่ มาดปรารถนา กล่าวได้ว่าความเช่ือเร่ืองการบน บานศาลกล่าวกลายเป็นส่วนหน่ึงท่ีส่งผลต่อจิตใจและอารมณ์ความรู้สึกโดยตรง หลวงพ่อพระพุทธ โสธร (จา้ ลอง) วดั ราษฎร์บรู ณะ 1.2 ประวตั ิหลวงพอ่ หนิ แดง สนั นิษฐานว่าหลวงพอ่ หินแดงเป็นพระพุทธรปู สลักดว้ ย หินทรายแดง หลวงพ่อหินแดงและพระพุทธรูปบนฐานชุกชี ในพระวิหารหลวงพ่อหินแดงเป็น พระพุทธรูปที่สร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ราวพุทธศตวรรษท่ี 23 จึงสรุปได้ว่าวัดแจงร้อน สร้างมานานแล้ว ความส้าคัญของหลวงพ่อหินแดง เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ท่ีชาวชุมชนแจงร้อน และประชาชนทั่วไปท่ีรู้จักต่างก็ให้ความเคารพศรัทธาในองค์หลวงพ่อหินแดงเป็นอย่างมาก ทางวัด แจงรอ้ นจะเปิดวิหารใหป้ ระชาชนทว่ั ไป ไดก้ ราบไหว้ สกั การบูชาองค์หลวงพ่อหินแดง โดยเฉพาะวันที่ 12 สิงหาคม ของทุกปี ความเช่ือและความศรัทธาตามความเช่ือและความศรัทธาของชาวบ้านย่าน ชมุ ชนแจงร้อน มคี วามเช่ือถึงความศักดส์ิ ิทธ์ิในองค์หลวงพ่อหนิ แดง ถ้าหากใครได้สกั การบชู า กราบ

41 ไหว้ขอพรองค์หลวงพ่อหินแดงแล้ว มักจะประสบความส้าเร็จสมตามความปรารถนา ซึ่งจะเห็นได้ว่า หลวงพ่อหินแดงส่งผลต่อจิตใจในด้านความเช่ือและความศรัทธาโดยตรงต่อคนในชุมชนในย่านนี้ หลวงพ่อหินแดงวัดแจงร้อน 1.3 ประวตั ิหลวงพอ่ สรอ้ ยสวุ รรณรัตน์ ประดิษฐานอยูใ่ นวัดประเสริฐสทุ ธาวาส เปน็ ศิลาทรายสแี ดงสมัยอทู่ อง ลักษณะเป็นพระพุทธรูปแบบสมัยสุโขทัยปางสมาธิ ทรงปางมารวิชัยที่ ด้านหลังองค์พระปรากฏแผ่นศิลาจารึกของพระประเสริฐวานิช ความส้าคัญ หลวงพ่อสร้อยสุวรรณ รัตน์ มีความส้าคัญอย่างมาก เน่ืองจากเป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธ์ิ ทรงคุณค่าคู่วัด ประดิษฐานใน อุโบสถ มีโบสถ์และวิหาร ที่เก่าแก่อายุกว่า 300 ปี ปัจจุบันได้มีการอนุรักษ์และบูรณปฏิสังขรณ์ เพ่ือให้เป็นศาสนสถานอันทรงคุณค่าของชาวราษฎร์บูรณะและชาวไทยสืบไป ความเช่ือและความ ศรัทธา ด้านความเช่ือและความศรัทธาของคนในชุมชนพ้ืนท่ีรอบวัดประเสริฐสุทธาวาสและพื้นท่ี ใกล้เคียง โดยส่วนมากแล้วประชาชนมีความเช่ือเรื่องการบนบานสานกล่าว เนื่องจากวัดประเสริฐ สุทธาวาสได้ถูกใช้เป็นสถานที่ส้าหรับเกณฑ์ก้าลังพลเข้ารับราชการทหาร หากผู้ใดไม่ประสงค์จะรับ ราชการทหารกจ็ ะบนบานศาลกลา่ วกบั หลวงพ่อสร้อยสุวรรณรัตน์ ไม่ให้ถูกเกณฑ์ทหาร ถ้าส้าเร็จก็จะ แก้บน ถวายดว้ ยไขต่ ม้ หรือจดุ ประทัด ทา้ ให้เป็นทีเ่ ล่ืองลอื ของคนในเขตราษฎร์บูรณะ หลวงพ่อสร้อย สวุ รรณรตั น์ วดั ประเสริฐสุทธาวาส 1.4 ประวัติหลวงพ่อรอด หลวงพอ่ รอดจะมีลกั ษณะแบบพระพุทธรปู ปางสมาธสิ มยั อยธุ ยา เป็นพระพุทธรูปท่หี ล่อด้วยปนู ปั้น แตไ่ ม่มีผ้ใู ดทราบแน่ชดั เกีย่ วกบั การสร้างพระพุทธรปู องค์ หลวงพอ่ รอด ซ่ึงคนในพื้นท่ีให้ความเคารพสกั การบชู าและเปน็ พระพุทธรูปคู่วัดสารอด ความส้าคญั ของหลวงพ่อรอด นอกจากจะเปน็ พระพทุ ธรูปคู่วัดสารอดแลว้ ถือไดว้ า่ องคห์ ลวงพ่อรอดมีความสา้ คญั อยา่ งมากต่อวิถีชีวิตของคนในชุมชนและพ้นื ท่ีใกลเ้ คียง เพราะเป็นท่ีพ่ึงของประชาชน เปน็ ศนู ย์กลาง ของชมุ ชน ปจั จุบนั ความศกั ดิ์สิทธ์แิ ละความศรัทธาของบารมีองค์หลวงพอ่ รอด จะมีประชาชนทงั้ ใน ชมุ ชนและพ้นื ที่ใกล้เคยี งแวะเวยี นมากราบไหว้สกั การบชู าตลอดเวลา ความเชอ่ื และความศรัทธา หลวงพ่อรอด วัดสารอด ชาวบ้านมีความเชือ่ ความศรัทธาในบารมี ความศักดส์ิ ทิ ธิ์ ตามต้านานที่เลา่ ขานสบื ตอ่ กันมา ว่าหลวงพ่อรอด เคยถูกโจรขโมยลงเรอื ไป ได้มเี หตุการณ์ทา้ ใหเ้ รอื ของโจรท่ีขโมย องคห์ ลวงพ่อรอดดงั กล่าวลม่ หลวงพอ่ รอดกล็ อยกลับมาทว่ี ดั เปน็ ทนี่ า่ อัศจรรยใ์ จยิ่งทา้ ให้ชาวบ้านเกิด ความเลื่อมใส ศรัทธาองคห์ ลวงพ่อรอดมาก หลวงพ่อรอด วัดสารอด 1.5 ประวตั ิหลวงพอ่ ใหญ่ วัดเกียรตปิ ระดษิ ฐ์ มีประวัติการสร้างทไ่ี มป่ รากฏ พ.ศ.ท่แี น่ชดั วา่ สรา้ งเมอ่ื ปี พ.ศ.ใด แต่ก็มีการเล่าขานจากเจ้าอาวาสในแต่ละรูปสืบต่อกันมา ท้าให้ยัง พอทราบประวัติหลวงพ่อใหญ่บ้าง และลักษณะหลวงพ่อใหญ่น้ัน มีลักษณะปางขัดสมาธิเพชร ท้ามา จากเน้ือส้าริด ซึ่งดูแล้วองค์พระมีความสง่างามมาก ความส้าคัญของหลวงพ่อใหญ่นั้น นอกจากเป็น พระพุทธรูปศกั ดส์ิ ทิ ธิท์ ี่หลอมรวมจติ ใจของประชาชนในชมุ ชนโดยรอบวัดเกียรตปิ ระดิษฐ์แล้วน้ัน

42 วัดเกียรติประดิษฐ์และชุมชนยังเล็งเห็นความส้าคัญในการสืบทอดประเพณีอันดีงามของทางวัด ด้วย การจัดงานประจ้าปีปิดทององค์หลวงพ่อใหญ่ เพ่ือให้ประชาชนพุทธศาสนิกชนผู้มีความเล่ือมใสและ ศรัทธาในองค์หลวงพ่อใหญ่ได้มาสักการบูชาเสริมความเป็นสิริมงคลแก่ตนเองและครอบครัว ความ เช่ือและความศรัทธา หลวงพ่อใหญ่น้ัน จะเห็นได้ว่า มนุษย์มีความเชื่อเรื่องการบนบานศาลกล่าว ฉะน้ันจึงมีกุศโลบายเก่ียวกับการบนบานสานกล่าวเพื่อให้เกิดความสบายใจ แต่ต้องมีความพยายาม ด้วย และปล่อยให้ผลจากการกระท้าน้ันเกิดขึ้น ด้วยหวังว่าจะเป็นไปตามท่ีปรารถนา หลวงพ่อใหญ่ วัดเกียรติประดษิ ฐ์ กกกกกกก2. พระเกจิส้าคญั ของวัดค่บู ้านยา่ นราษฎรบ์ ูรณะ 2.1 ประวตั ิหลวงปู่พร้ิง พระเกจิอดีตท่านเจ้าอาวาสวัดบางปะกอก ได้อุปสมบทเปน็ สามเณรตง้ั แตย่ งั เลก็ ท่ีวัดพลับ ธนบรุ ี เมอ่ื อายคุ รบจึงได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุท่ีวัดทองนพคุณ ธนบุรี โดยมิได้อยู่ในเพศฆราวาสเลย ต่อมาจึงได้ถูกนิมนต์มาประจ้าพรรษาอยู่ท่ีวัดบางปะกอกน้ี นับต้ังแต่ ท่านถูกนิมนต์มาจ้าพรรษา ท่านก็ได้ร่วมกับชาวบ้านบูรณปฏิสังขรณ์ กุฏิ โบสถ์ วิหาร และเสนาสนะ อนื่ ๆ ทีช่ า้ รดุ ทรดุ โทรมจนเรียบร้อยสวยงามมาจนถึงปัจจุบัน ความส้าคัญ หลวงปู่พริ้ง มีความส้าคัญ มาก ส้าหรับชาวบางปะกอกและชาวตา้ บลใกลเ้ คียง ซง่ึ ชาวบา้ นใกล้เคยี งมกั จะเรยี กท่านว่า “หลวงปู่” ในสมัยท่ีท่านยังมีชีวิตอยู่ ข้าราชการในสมัยน้ันหรือแม้กระท่ังบรรดาท่านผู้มีช่ือเสียง มีความเลื่อมใส ศรัทธาต่อหลวงปู่มาก บางท่านถึงกับน้าพระโอรสหรือบุตรของตนมาอุปสมบทเป็นสามเณรอยู่ท่ีวัดนี้ และหลวงปู่ยังปลุกเสกเคร่ืองรางของขลัง เพื่อน้าดอกผลมาช่วยเหลือนักเรียนท่ีขาดแคลนทุนทรัพย์ ความเช่ือและความศรัทธา อภินิหารความศักด์ิสิทธ์ิเคร่ืองรางของขลังของหลวงปู่พริ้ง เล่ืองลือไปไกล ในยุคน้ัน นอกเหนือไปจากชาวจังหวัดพระนครธนบุรี และชาวจังหวัดอ่ืน ๆ ท่านมีลูกศิษย์ลูกหาของ ท่านมากมาย แม้ในบรรดาพระผู้ใหญ่ช้ันราชาคณะหลายท่านก็เคารพนับถือท่านมาก ด้วยเหตุนี้ ช่ือเสียงท่านจึงโด่งดังมากเป็นผลให้ประชาชนทั่วสารทิศ ต่างมุ่งไปขอวัตถุมงคลจากท่านรวมท้ังไปให้ ท่านชว่ ยรกั ษาโรคภยั ไข้เจ็บต่าง ๆ อกี ด้วย ซ่ึงท่านก็ไม่เคยปฏิเสธผู้ใดไม่ว่าจะเป็นเจ้าใหญ่นายโตหรือ ประชาชนธรรมดา สามัญ หากไปขอให้ท่านช่วยสงเคราะห์แล้วเป็นได้รับเมตตาช่วยเหลือเสมอ เหมอื นกนั หมด ท่านจึงทา้ การสร้าง “วัตถมุ งคล” ขึ้นมากมายหลายชนิดแจกจ่ายกันไปตามแต่ผู้มาขอ ต้องการ สว่ นที่มีช่ือเสียงเปน็ ทนี่ ิยมเสาะหากม็ ีทง้ั “ลูกอมเน้ือผง, ตะกรุด, ผ้ายันต์, เส้ือยันต์ และพระ พิมพ์ต่าง ๆ หลักธรรมค้าสอนการท่ีเรานึกถึงประวัติของหลวงปู่พริ้ง เฉพาะในด้านอภินิหาร และ วิทยาคุณของท่านเพียงอย่างเดียวคงไม่เพียงพอ แต่ควรร้าลึกว่า หลวงปู่พริ้ง ท่านเป็นพระเถระท่ี นอกจากจะทรงวิทยาคุณแล้ว ยังทรงไว้ซึ่งปฏิปทา ศีลาจารวัตร เป็นพระสงฆ์สุปฏิปันโน ที่ควรกราบ ไหว้บูชา และมีเมตตาอนุเคราะห์ประชาชน ถ้าหากว่าได้น้อมน้าความดีงามของท่าน มาเป็นแบบ ปฏบิ ัติขัดเกลาตนเอง ให้ด้าเนินตามรอยท่าน สมกับท่ีเรียกตนเองว่า \"เป็นศิษย์หลวงปู่พริ้ง\" อย่างแท้ แล้ว ย่อมถือไดว้ า่ เราไดก้ ราบไหวบ้ ูชาหลวงป่อู ยา่ งแทจ้ รงิ หลวงปู่พร้ิง วดั บางปะกอก

43 2.2 ประวัติหลวงปู่โม้ หรือหลวงพอ่ พระครศู ลี นวิ าส อดีตเจา้ อาวาสวดั สน นามเดมิ ช่อื โม้ ต่อมา เปลี่ยนเป็น อนิ ท์ มภี มู ิลา้ เนาเดมิ อย่ทู ี่จังหวดั อา่ งทอง เมื่ออายุ 22 ปี กไ็ ดอ้ ุปสมบท ณ วัดไทร ต้าบลจระเข้ร้อง โดยมีพระครูทองวัดสนามชัย เป็นพระอุปัชฌาย์ และได้รับฉายาว่า “อินทตโร” นับแต่ท่านได้อุปสมบทแล้วท่านได้พยายามศึกษาหาความรู้ในทางพระพุทธศาสนาเป็น อย่างมาก ท่านจะไม่ยอมให้เวลาผ่านไปโดยเปล่าประโยชน์ ท่านค้นคว้าใฝ่หาอ่านต้าราต่าง ๆ จน แตกฉานและสามารถสั่งสอนให้ผู้อ่ืนได้รับความรู้ต้ังม่ันอยู่ในศีลธรรมคุณงามความดีตลอดมา ความส้าคญั หลวงปู่โม้ ทา่ นมคี วามส้าคัญมากส้าหรับชาวชมุ ชนวดั สน ทา่ นมีลกู ศษิ ย์ให้ความเคารพนับ ถือทั้งในพื้นที่และนอกพ้ืนที่อยู่มากมาย ด้วยเพราะชาวบ้านแถบหมู่บ้านบางบูรณ์ เขตราษฎร์บูรณะ หรือพ้นื ทใ่ี กลเ้ คียง เนอื่ งจากท่านให้ความส้าคญั ดา้ นการศกึ ษาในพระพุทธศาสนาและอบรมสั่งสอนให้ ผู้อ่ืนได้รับความรู้ต้ังม่ันอยู่ในศีลธรรมคุณงามความดี ความเชื่อและความศรัทธา หลวงปู่โม้ เป็นพระ เกจิท่มี ีลกู ศิษยใ์ หค้ วามเคารพนับถือท้ังในพ้ืนที่และนอกพ้ืนท่ีอยู่มากมาย เพราะชาวบ้านแถบหมู่บ้าน บางบรู ณ์ เขตราษฎร์บูรณะหรือพื้นท่ีใกล้เคียง มีความเลื่อมใสและมีความศรัทธาต่อท่าน ด้วยท่านได้ ศึกษาและค้นคว้าต้าราทางธรรมะอย่างต่อเนื่อง โดยมีหลักความประพฤติท่ีดีงามเป็นที่รู้จักกันของ ประชาชนในพ้ืนที่ในด้านพระธรรมวินัย ส่ิงท่ีเป็นความเชื่อและได้มีการกล่าวขานถึงความมหัศจรรย์ แต่ในอดีตเกี่ยวกับเหรียญท่ีระลึกหลวงปู่โม้ รุ่นที่ 2 หรือเหรียญอยู่ยงคงกระพันของหลวงปู่โม้ ไม่ว่า ผใู้ ดบูชาและแขวนติดตวั จะประสบเหตุเภทภยั ใด กจ็ ะรอดปลอดภัยเสมอ หลักธรรมค้าสอนหลวงปู่โม้ ท่านมีความส้าคัญมากส้าหรบั ชาวชมุ ชนวัดสน ทา่ นมีลูกศิษย์ให้ความเคารพนับถือท้ังในพ้ืนท่ีและนอก พื้นที่อยู่มากมายด้วยเพราะชาวบ้านแถบหมู่บ้านบางบูรณ์ เขตราษฎร์บูรณะหรือพ้ืนที่ใกล้เคียง เน่ืองจากท่านให้ความส้าคัญด้านการศึกษาในพระพุทธศาสนาและอบรมสั่งสอนให้ผู้อื่นได้รับความรู้ ตั้งม่นั อยู่ในศีลธรรมคุณงามความดี หลวงป่โู ม้ วัดสน กกกกกกก3. สถานท่ีสา้ คญั ของวัดค่บู ้านย่านราษฎรบ์ รู ณะ 3.1 พระอโุ บสถวัดแจงร้อน มีลักษณะโครงสรา้ งลวดลายตา่ ง ๆ ทีเ่ ปน็ ลวดลายชอ่ ฟา้ ใบระกาเป็นฝีมือช่างไทย ส่วนลวดลายหน้าบัน ซุ้มประตู หน้าต่าง ลวดลายใบเทศ ลักษณะลวดลาย เป็นฝีมือช่างจีน ซ่ึงฝีมือปูนปั้นแต่ละซุ้ม ถือได้ว่าเป็นฝีมือช้ันครูท่ีอนุชนรุ่นหลังควรศึกษาหาความรู้ จากลักษณะการปน้ั จากการออกแบบแต่ละซุ้มประตหู นา้ ตา่ งท่ีไมซ่ ้ากันเลย ลวดลายแต่ละซุ้มหน้าต่าง สบื เน่ืองจากผมู้ ีจิตศรทั ธาคนนน้ั ๆ และผนวกพชื ผักผลไม้และกุ้งหอยปูปลาเป็นองค์ประกอบลวดลาย ในการปั้นอย่างผสมกลมกลืน จึงเป็นการปั้นลวดลายที่สวยงามวิจิตรพิสดารตามความต้องการของ ผู้สร้างและตามจินตนาการการออกแบบลวดลายของช่าง โดยใช้แนวความคิดภูมิปัญญาชาวบ้าน ผสมผสานภูมิปัญญาช่างฝีมือชั้นครู อย่างเต็มความสามารถ ซ่ึงถือว่าเป็นของดีมีคุณค่าของชาวแจง รอ้ นอย่างหน้าภาคภมู ใิ จ

44 3.2 พระอุโบสถวดั ประเสริฐสุทธาวาส มีความเกา่ แก่กว่า 300 ปี มกี ารบูรณะคร้ัง ใหญ่ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 ประมาณ พ.ศ. 2381 สถาปัตยกรรม แบบเก๋งจนี มีลักษณะเป็นอาคารก่ออิฐถือปูนหลังคาทรงจั่วแบบจีนมีการประดับตกแต่งด้วยลวดลาย ปูนปั้นท่ีบริเวณหน้าบันและบริเวณเหนือกรอบประตู หน้าต่าง ภายในมีจิตรกรรมฝาผนังเป็นภาพ ลายเสน้ ขาว ด้าเขียนเป็นเร่อื งสามก๊ก ซุม้ ใบเสมาอยู่ล้อมรอบพระอุโบสถ 3.3 พระอุโบสถวดั สน จากการสนั นษิ ฐานท่ีอุโบสถหลงั เดิมช้ารุดและได้รื้อถอนเมื่อปี พ.ศ. 2458 ซง่ึ กวา่ อุโบสถจะชา้ รุดลงคงกินเวลาอย่างนอ้ ย 30 ปี ขน้ึ ไป อโุ บสถมีลักษณะหนา้ บัน ซมุ้ ประตู ฝาผนังของพระอุโบสถประดบั ตกแต่งประดับดว้ ยชามเบญจรงค์ 3.4 พิพิธภัณฑ์ท้องถิน่ กรงุ เทพมหานครวดั ประเสรฐิ สุทธาวาส เป็นแหลง่ รวบรวม ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปัญญาและ ประวัติศาสตร์ท่ีส้าคัญตลอดจนจิตวิญญาณอันงดงามของผู้คนในท้องถ่ินเขตราษฎร์บูรณะให้เยาวช น และผู้สนใจได้ตระหนักถึงคุณค่า และร่วมกันอนุรักษ์ไว้ให้คงอยู่ตลอดไป ภายในพิพิธภัณฑ์จัดแสดง ภาพ เรือนานาชนดิ ในล้าคลองและเรือกระแชงจา้ ลองส้าหรับใช้บรรทุกข้าวเปลือกไปโรงสีและบรรทุก ข้าวสารไปขาย โดยเฉพาะภาพโกดังสินค้าริมฝ่ังแม่น้าเจ้าพระยาในเขตราษฎร์บูรณะ เพื่อล้าเลียง สินค้าระหว่างเรือขนสินค้ากับโกดัง รวมทั้งมีโรงสี เรื่องราวท้ังหมดจัดแสดงสะท้อนผ่านเคร่ืองมือ เคร่ืองใช้โบราณของโรงสี รวมถึงหมอนหนุนสบู ฝ่นิ สะทอ้ นความนิยมสูบฝน่ิ ของกุลีชาวจีน ตัวชว้ี ัด กกกกกกก1. บอกและอธิบายพระพทุ ธรูป พระเกจิ และสถานทีส่ า้ คญั ของวดั คูบ่ ้านย่าน ราษฎรบ์ ูรณะได้ กกกกกกก2. บอกหลักธรรมค้าสอนของพระเกจสิ ้าคัญของวดั คู่บา้ นย่านราษฎร์บรู ณะได้ กกกกกกก3. ตระหนักถึงความส้าคัญและเห็นคุณค่า พระพุทธรูป พระเกจิ และสถานท่ีส้าคัญของ วัดคู่บ้านยา่ นราษฎรบ์ ูรณะ ขอบข่ายเนือ้ หา กกกกกกกหัวเรอื่ งที่ 3 พระพทุ ธรปู พระเกจิ และสถานท่ีสา้ คญั ชองวดั คู่บา้ นย่านราษฎร์บรู ณะ มขี อบขา่ ยเนื้อหาดงั นี้ กกกกกกก1. พระพุทธรปู สา้ คัญของวัดคู่บ้านยา่ นราษฎรบ์ ูรณะ 1.1 หลวงพอ่ พระพุทธโสธร (จ้าลอง) วดั ราษฎร์บูรณะ 1.1.1 ประวัติ

45 1.1.2 ความสา้ คัญ 1.1.3 ความเชอ่ื และความศรัทธา 1.2 หลวงพอ่ หนิ แดง วดั แจงร้อน 1.2.1 ประวัติ 1.2.2 ความส้าคญั 1.2.3 ความเชื่อและความศรัทธา 1.3 หลวงพอ่ สร้อยสวุ รรณรตั น์ วดั ประเสริฐสทุ ธาวาส 1.3.1 ประวัติ 1.3.2 ความสา้ คัญ 1.3.3 ความเชอ่ื และความศรัทธา 1.4 หลวงพอ่ รอด วดั สารอด 1.4.1 ประวัติ 1.4.2 ความสา้ คัญ 1.4.3 ความเชอื่ และความศรัทธา 1.5 หลวงพอ่ ใหญ่ วัดเกยี รติประดิษฐ์ 1.5.1 ประวตั ิ 1.5.2 ความสา้ คญั 1.5.3 ความเชอ่ื และความศรัทธา กกกกกกก2. พระเกจิสา้ คัญของวัดคู่บ้านยา่ นราษฎรบ์ รู ณะ 2.1 หลวงป่พู ร้ิง วัดบางปะกอก 2.1.1 ประวตั ิ 2.1.2 ความสา้ คัญ 2.1.3 ความเชื่อและความศรัทธา 2.1.4 หลักธรรมค้าสอน 2.2 หลวงปู่โม้ วดั สน 2.2.1 ประวตั ิ 2.2.2 ความส้าคัญ 2.2.3 ความเชอื่ และความศรัทธา กกก 2.2.4 หลกั ธรรมค้าสอน กกกกกกก3. สถานทส่ี า้ คัญของวัดคบู่ ้านย่านราษฎรบ์ ูรณะ 3.1 พระอโุ บสถ วัดแจงร้อน

46 3.2 พระอโุ บสถ วัดประเสริฐสุทธาวาส 3.3 พระอโุ บสถ วัดสน 3.4 พิพธิ ภณั ฑ์ท้องถน่ิ กรุงเทพมหานคร วัดประเสรฐิ สทุ ธาวาส เน้อื หา กกกกกกก1. พระพุทธรูปท่ีส้าคัญของวดั คบู่ า้ นยา่ นราษฎรบ์ ูรณะ 1.1 หลวงพอ่ พระพทุ ธโสธร (จา้ ลอง) วดั ราษฎรบ์ รู ณะ 1.1.1 ประวตั ิของหลวงพ่อพระพุทธโสธร (จ้าลอง) วัดราษฎร์บูรณะ วดั ราษฎร์บรู ณะ เปน็ ท่ปี ระดิษฐานพระพุทธรูปทส่ี ้าคัญคือ “หลวงพอ่ พระ พุทธโสธร (จ้าลอง)” ลักษณะเปน็ พระพุทธรูปปูนป้นั ปางสมาธิ พระพุทธรูปอยู่ในพระอิริยาบถประทบั (น่ัง) สมาธิ พระหัตถ์ท้ังสองวางหงายซอ้ นกันบนเพลา (ตกั ) พระหัตถ์ขวาทับพระหตั ถซ์ ้าย พระสงฆ์ (แข้ง) ขวาทับพระชงฆ์ซา้ ย ชาวชุมชนราษฎรบ์ รู ณะใหค้ วามเคารพศรัทธาอยา่ งมาก เป็นพระพทุ ธรูป ศักดส์ิ ิทธ์ิ สรา้ งเม่ือ ปี พ.ศ. 2499 แมจ้ ะเปน็ พระพุทธรูปโสธรจ้าลองกต็ าม แตก่ เ็ กดิ ความผกู พันต่อคน ในชุมชนราษฎรบ์ รู ณะอย่างมาก และทางวดั ได้อญั เชญิ หลวงพ่อพระพทุ ธโสธร (จ้าลอง) เป็นองคป์ ดิ ทองงานประจา้ ปีของวดั ติดต่อกันมานานหลายสิบปี จนเปน็ ที่รูจ้ กั และเคารพศรัทธาของคนในชมุ ชน เป็นอย่างมาก เดมิ วัดราษฎร์บูรณะ มีพระพทุ ธรปู ศิลา หรือ ชาวบา้ นเรยี กวา่ หลวงพ่อ พุทธศิลา เป็นพระพุทธรูปท่ีสร้างด้วยศิลาหรือหินทรายละเอียดอ่อน มีขนาดหน้าตักกว้าง 49 นิ้ว สามารถถอดช้ินส่วนออกได้ เข้าใจว่าเป็นพระพุทธรูปที่เก่าแก่คู่กับวัด สมัยก่อนชาวบ้านเลื่อมใส ศรทั ธามาก ตอนหลังได้สร้างพระประธานในอุโบสถเป็นปูน ซึ่งองค์ใหญ่กว่าเดิม จึงได้น้าพระพุทธรูป ศิลาบรรจุไว้ใต้ฐานพระประธานในอุโบสถ ต่อมาพระพุทธรูปศิลาได้ช้ารุดตามกาลเวลา จึงได้เอาปูน ปัน้ ทบั พระพทุ ธรปู ศลิ าอกี ช้ันหน่งึ และประดษิ ฐานไว้ดา้ นหลังอุโบสถ ส่วนพระพุทธรูปองค์ประธานในอโุ บสถ วัดราษฎร์บรู ณะ ได้จัดสรา้ งใหม่ ด้วยปูนรปู แบบ “ปางมารวิชยั ” มคี วามงดงามมาก มพี ระพกั ตรเ์ อิบอ่มิ เต็มเป่ยี มไปด้วยความเมตตามี พุทธลกั ษณะอ่อนชอ้ ย งดงาม สมกบั ยุคร่วมสมยั ที่ไดน้ า้ เอารปู แบบพระพทุ ธรูปที่เคยสร้างสมัยก่อนมา สรา้ งใหมแ่ บบรว่ มสมัย สว่ นพระพุทธรปู องค์เล็กจ้านวน 3 องค์ เปน็ พระพทุ ธรูปเก่าแก่ประจ้าวดั เนอ้ื โลหะมีลกั ษณะการหม่ ลายจีวรดอกพิกุล พระรศั มเี ปน็ เปลว เปลวรัศมีสามารถถอดแยกสว่ นได้ พระพักตร์สีเ่ หลย่ี มเครง่ ขรึมพระเมาลีขนาดเลก็ สงั ฆาฏิพาดยาว ในอโุ บสถวัดราษฎร์บรู ณะมีจา้ นวน 3 องค์ ไดแ้ ก่ ปางมารวิชยั 2 องค์ และปางสมาธิ 1 องค์ พระพทุ ธรปู ลักษณะเช่นนนี้ ยิ มสรา้ งในสมยั

47 พระบาทสมเดจ็ พระนัง่ เกลา้ เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 แหง่ กรงุ รตั นโกสินทร์ โดยทางวดั ได้ดา้ เนนิ การ ปดิ ทองใหมแ่ ลว้ อัญเชญิ ประดิษฐานไวใ้ นอุโบสถ นอกจากน้ียงั มพี ระพุทธรูปเก่าแก่ของทางวดั อกี หลายองค์ท่ีเก็บไว้ในพระวหิ าร และสว่ นหน่ึงประดษิ ฐานไว้ ณ กฏุ เิ จ้าอาวาสอีก 3 องค์ เพ่อื ให้ พุทธศาสนิกชนได้กราบไหวบ้ ูชา สา้ หรบั องค์ที่ประดิษฐานไว้ท่ีกฏุ ิเจ้าอาวาสในปจั จุบัน ระบใุ ต้ฐานองค์ พระพุทธรปู ไวแ้ สดงถงึ เจตนาของผูส้ ร้างและปี พ.ศ. ท่ีได้สรา้ งไว้วา่ “แม่เสม สรา้ งใหห้ ลวงเวชการ พิเศษเมือ่ พ.ศ. 2479” กลา่ วโดยสรุปตามประวตั ิหลวงพ่อพระพุทธโสธร (จ้าลอง) เป็นพระพุทธรปู ที่ประดษิ ฐานอยูใ่ นวัดราษฎรบ์ ูรณะ มีลักษณะเป็นพระพุทธรูปปูนปั้นปางสมาธิ สร้างเม่ือ พ.ศ. 2499 ในทุก ๆ ปี ชาวบ้านและวัดจะอัญเชิญหลวงพ่อพระพุทธโสธร (จ้าลอง) เป็นองค์ปิดทองงานประจ้าปี ของวดั จนเปน็ ทีร่ ู้จักและเคารพศรทั ธาของคนในชมุ ชนเป็นอยา่ งมาก 1.1.2 ความสา้ คญั ของหลวงพ่อพระพทุ ธโสธร (จ้าลอง) วดั ราษฎร์บูรณะ ชาวบ้านย่านชุมชนราษฎร์บูรณะใหค้ วามเคารพศรัทธาหลวงพ่อพระพุทธ โสธร (จ้าลอง) อย่างมาก โดยผู้คนมกั จะมากราบไหว้ขอพรหรอื บนบานศาลกล่าวจากหลวงพ่อพระ พุทธโสธร (จา้ ลอง) อยเู่ นือง ๆ เพื่อความเป็นสิริมงคล มโี ชคลาภและประสบผลส้าเร็จแก่ตนเองและ ครอบครวั นอกจากน้ีทางวดั ยังได้จัดงานประจา้ ปีขึ้นทกุ ๆ ปี โดยทางวัดไดอ้ าราธนาหลวงพ่อพระ พทุ ธโสธร (จ้าลอง) ลงมาประดิษฐานไว้ เพ่ือใหพ้ ุทธศาสนิกชนได้กราบไหว้ขอพรและปิดทองอกี ด้วย กล่าวโดยสรุป ความศักดิส์ ทิ ธ์ิของหลวงพอ่ พระพุทธโสธร (จ้าลอง) มีความสา้ คัญอยา่ งมาก สา้ หรับคนในพ้ืนทีใ่ กล้เคียงและนอกพืน้ ทีว่ ัดราษฎรบ์ ูรณะ เพราะบารมีองค์ หลวงพ่อพระพุทธโสธร (จา้ ลอง) ทา้ ให้เกิดความเล่อื มใสศรัทธาในบารมีหลวงพ่อพระพุทธโสธร (จ้าลอง) จงึ มผี ู้คนเข้ามากราบสกั การบชู าอยา่ งสมา่้ เสมอ เน่อื งจากเปน็ พระพุทธรูปที่หลอมรวมใจของ คนในชมุ ชนและเปน็ ทยี่ ดึ เหน่ียวจติ ใจคนทงั้ ในพ้ืนท่ีใกลเ้ คยี งและนอกพนื้ ที่วดั ราษฎรบ์ รู ณะ นอกจากน้ที างวดั ยังไดจ้ ดั งานประจ้าปีขึน้ ในทุก ๆ ปี โดยทางวดั ได้อาราธนาหลวงพ่อพระพุทธโสธร (จา้ ลอง) ลงมาประดิษฐานไว้ เพ่ือใหพ้ ทุ ธศาสนิกชนได้กราบไหวข้ อพรและปดิ ทองอีกด้วย 1.1.3 ความเช่อื และความศรัทธาตอ่ หลวงพ่อพระพุทธโสธร (จา้ ลอง) วดั ราษฎร์บรู ณะ ชาวบา้ นยา่ นชมุ ชนราษฎรบ์ รู ณะ มคี ตคิ วามเชื่อในองค์หลวงพ่อพระพุทธ โสธร (จา้ ลอง) วา่ ถ้าหากใครไดก้ ราบไหว้ขอพรหรือบนบานศาลกลา่ วหลวงพอ่ พระพทุ ธโสธร (จา้ ลอง) แลว้ มกั จะประสบความสา้ เร็จสมความมุ่งมาดปรารถนา เช่น ในบางครัง้ มผี คู้ นมากราบไหว้ ขอพรหรือบนบานศาลกล่าวเพื่อไมใ่ หต้ นเองจบั ฉลากได้ใบแดงในชว่ งที่มีการเกณฑท์ หาร ซ่ึงหลวงพอ่

48 พระพุทธโสธร (จ้าลอง) ได้ดลบันดาลใหผ้ ้ทู ่ีมากราบไหวข้ อพรหรอื ผ้ทู มี่ าบนบานศาลกล่าว ประสบ ความสา้ เร็จสมความมุ่งมาดปรารถนา เปน็ ตน้ กลา่ วโดยสรุป ความเชือ่ และความศรัทธาหลวงพ่อพระพุทธโสธร (จา้ ลอง) โดยส่วนมากจะมีความเชื่อเก่ียวกับการบนบานศาลกล่าว ไม่ว่าจะเรื่องการเกณฑ์ทหาร เพ่ือไม่ให้ ตนเองจับฉลากได้ใบแดงในช่วงท่ีมีการเกณฑ์ทหาร เป็นต้น ซึ่งหลวงพ่อพระพุทธโสธร (จ้าลอง) ได้ ดลบันดาลให้ผู้ที่มากราบไหว้ขอพรหรือผู้ที่มาบนบานศาลกล่าว ประสบความส้าเร็จสมความมุ่งมาด ปรารถนา กลา่ วไดว้ า่ ความเชื่อเรอ่ื งการบนบานศาลกลา่ วกลายเปน็ ส่วนหนึง่ ท่ีสง่ ผลต่อจิตใจและ อารมณค์ วามรสู้ ึกโดยตรง 1.2 หลวงพอ่ หนิ แดง วัดแจงร้อน 1.2.1 ประวัติของหลวงพ่อหนิ แดง วดั แจงร้อน ข้อสันนิษฐานจากกล่มุ พระประธานในวิหารหลวงพ่อหินแดง ซ่ึงมที ั้งสิ้น 28 องค์ แกะสลกั จากหินทรายสีแดงและศิลาแลง เนอ่ื งจากกลุม่ พระประธานนเี้ ดิมชา้ รดุ ทรุดโทรม มาก จงึ ไดม้ ีการปฏสิ ังขรณโ์ ดยลงรกั ปิดทองซ่อมแซมสว่ นท่ีชา้ รดุ ทรดุ โทรมเสยี ใหม่ทุกองค์ อาจารย์ คงเดช ประพัฒน์ทอง ได้ข้อพิจารณาวา่ ลักษณะของพระพุทธรูปซง่ึ สรา้ งในสมัยกรุงศรอี ยุธยารวมท้ัง การจดั ฐานชกุ ชี โดยมีพระพทุ ธรปู เป็นกลุ่ม แบบนี้ตกอย่ใู นสมัยอยุธยาตอนปลาย ประมาณพทุ ธศตวรรษท่ี 23 จะเห็นไดว้ า่ มี ความขัดแย้งกันเก่ยี วกับการก้าหนดอายุสมยั ของวดั แจงร้อนอยู่ ตอนหนึ่งก็คือ ลวดลายปนู ป้ันท่ีกรอบหน้าบนั และลวดลายปูนป้นั ท่ี กรอบหนา้ ซุ้มประตูของวิหารหลวงพ่อหินแดง ได้พจิ ารณาก้าหนดอายุสมยั ไว้ว่า เปน็ ลวดลาย ที่นิยมท้ากนั ในรชั สมัยของพระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจ้าอยูห่ ัว รชั กาลท่ี 3 แหง่ กรงุ รัตนโกสินทร์ แต่กลุม่ พระประธานภายใน วิหารเป็นพระพทุ ธรูปท่ีสร้างในสมัยกรงุ ศรี อยธุ ยาตอนปลาย ราวพุทธศตวรรษท่ี 23 จึงสรปุ ไดว้ ่าวัดแจงร้อนสร้างมานานแลว้ หลวงพอ่ หนิ แดง วัดแจงร้อน

49 นายคงเดช ประพัฒน์ทอง ไดใ้ ห้ข้อสันนิฐานไว้วา่ ตัวอาคารคือ วหิ าร หลวงพ่อหนิ แดงน่าจะมาปฏสิ ังขรณข์ ึน้ ภายหลงั คือสรา้ งข้ึนใหมห่ รือซ่อมข้ึนใหมห่ รือซ่อมแซม เปลยี่ นแปลงจากตัววหิ ารเดิมในสมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจา้ อยู่หวั รัชกาลที่ 3 นน่ั เอง กลา่ วโดยสรุป ตามขอ้ สนั นิษฐานประวัติหลวงพอ่ หินแดง ทราบว่าหลวงพอ่ หินแดงเป็นพระพุทธรปู สลกั ด้วยหนิ ทรายแดง หลวงพอ่ หินแดงและพระพทุ ธรูปบนฐานชุกชี ในพระ วหิ ารหลวงพ่อหนิ แดงเปน็ พระพุทธรูปท่สี ร้างในสมยั กรุงศรีอยธุ ยาตอนปลาย ราวพุทธศตวรรษที่ 23 จงึ สรปุ ได้ว่าวัดแจงรอ้ นสรา้ งมานานแลว้ 1.2.2 ความสา้ คัญของหลวงพ่อหินแดง วัดแจงร้อน หลวงพอ่ หนิ แดง เปน็ พระพุทธรูปศกั ดิ์สิทธิ์ ที่ชาวชุมชนแจงร้อนและ ประชาชนทวั่ ไปทร่ี จู้ กั ต่างก็ให้ความเคารพศรทั ธาในองค์หลวงพอ่ หินแดงเปน็ อย่างมาก ซึ่งในแต่ละปี จะมปี ระชาชนจา้ นวนมากทม่ี ีความเลอื่ มใสศรัทธาในองคห์ ลวงพ่อหนิ แดง ต่างก็เดินทางมาสกั การบชู า องค์หลวงพ่อหนิ แดงอยูเ่ นือง ๆ ซ่งึ ในช่วงวนั หยุดนักขตั ฤกษ์ วันสา้ คญั ทางพระพทุ ธศาสนา และชว่ ง เทศกาลส้าคญั ทางวัดแจงร้อนจะเปิดวหิ ารใหป้ ระชาชนทวั่ ไป ได้กราบไหว้ สักการบชู าองคห์ ลวงพอ่ หนิ แดง โดยเฉพาะวันท่ี 12 สิงหาคม ของทุกปี ทางวดั แจงรอ้ นจะดา้ เนนิ การเปดิ วหิ ารหลวงพ่อ หนิ แดง ใหผ้ ทู้ ีเ่ ล่ือมใสศรัทธาในองคห์ ลวงพ่อหนิ แดงไดส้ ักการบชู าองคห์ ลวงพ่อหินแดงอย่างยง่ิ ใหญ่ ท้ังนี้เพ่ือความเป็นสิริมงคลแก่ตนเองและครอบครัว เปน็ ตน้ กลา่ วโดยสรปุ ความส้าคญั ของหลวงพ่อหนิ แดง เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สทิ ธิ์ ทช่ี าวชมุ ชนแจงร้อนและประชาชนทั่วไปทรี่ จู้ ักตา่ งกใ็ ห้ความเคารพศรัทธาในองคห์ ลวงพ่อหินแดงเป็น อย่างมาก ทางวัดแจงร้อนจะเปดิ วิหารให้ประชาชนท่ัวไป ไดก้ ราบไหว้ สกั การบูชาองคห์ ลวงพ่อ หนิ แดง โดยเฉพาะวนั ท่ี 12 สิงหาคม ของทุกปี 1.2.3 ความเชอ่ื และความศรัทธาตอ่ หลวงพอ่ หินแดง วดั แจงร้อน ชาวบา้ นยา่ นชมุ ชนแจงรอ้ นและประชาชนโดยท่วั ไปทรี่ ู้จกั และศรทั ธาใน องคห์ ลวงพ่อหินแดงมคี วามเชื่อในองคห์ ลวงพ่อหินแดง วา่ ถา้ หากใครไดส้ ักการบชู า กราบไหว้ ขอพร องคห์ ลวงพ่อหินแดงแลว้ มักจะประสบความสา้ เร็จสมความมงุ่ มาดปรารถนา จากคา้ บอกเลา่ ของผ้ทู ี่ เคยเดินทางมาจากสถานท่ีไกล ๆ หลายคน ท่เี คยมาสักการบชู าขอพรหลวงพ่อหนิ แดง ซึ่งหลวงพ่อหนิ แดงได้ดลบนั ดาลใหผ้ คู้ นที่เคยเดนิ ทางมาจากสถานทไ่ี กล ๆ ประสบความสา้ เรจ็ สมความมุ่งมาด ปรารถนา และหลวงพ่อหินแดงยังเคยแสดงอทิ ธิฤทธ์ิปาฏิหารยิ ใ์ ห้คนที่มาจากสถานทไี่ กล ๆ ได้รบั รู้ โดยหลวงพ่อได้ดลจิตให้ผคู้ นหลายคนเดินทางมาสักการบูชา และจากค้าบอกเลา่ ของคนในพ้ืนที่ ละแวกใกล้เคียงอีกอยา่ ง เชน่ มคี นที่อยู่ในพ้ืนทีล่ ะแวกใกล้เคยี ง เคยเหน็ แสงสว่างเจดิ จา้ บรเิ วณเหนือ วิหารหลวงพ่อหนิ แดง หรือในชว่ งที่ทางวัดแจงร้อนมกี ารจัดงานบญุ พธิ ตี ่าง ๆ ในบางครั้งสังเกตดู คลา้ ยฝนจะตกแตฝ่ นก็ไม่ตกแตอ่ ย่างใด ซึ่งเป็นเร่ืองท่ีนา่ อศั จรรย์ยิง่ นัก ซึ่งหลังจากท่ีทางวดั แจงร้อนได้

50 จัดงานบุญพิธีเสรจ็ เรียบร้อยแล้ว ฝนจงึ ตกลงมา เปน็ ต้น หลวงพอ่ หินแดง วัดแจงร้อน กลา่ วโดยสรุป ตามความเช่อื และความศรัทธาของชาวบ้านยา่ นชุมชนแจง ร้อน มคี วามเช่ือถงึ ความศักด์ิสทิ ธใ์ิ นองคห์ ลวงพ่อหินแดง ถ้าหากใครได้สกั การบูชา กราบไหวข้ อพร องค์หลวงพ่อหนิ แดงแลว้ มกั จะประสบความสา้ เรจ็ สมตามความปรารถนา ซึง่ จะเห็นได้วา่ หลวงพ่อ หินแดงส่งผลต่อจิตใจในดา้ นความเชอ่ื และความศรัทธาโดยตรงต่อคนในชมุ ชนในยา่ นนี้ 1.3 หลวงพ่อสรอ้ ยสวุ รรณรัตน์ วดั ประเสริฐสทุ ธาวาส 1.3.1 ประวตั ิของหลวงพอ่ สร้อยสุวรรณรตั น์ วดั ประเสรฐิ สทุ ธาวาส หลวงพอ่ สร้อยสุวรรณรัตน์ วดั ประเสรฐิ สทุ ธาวาส