Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-08-16-คู่มือและแผนการเรียนรู้สุขศึกษา ม.1

64-08-16-คู่มือและแผนการเรียนรู้สุขศึกษา ม.1

Published by elibraryraja33, 2021-08-16 01:39:02

Description: 64-08-16-คู่มือและแผนการเรียนรู้สุขศึกษา ม.1

Search

Read the Text Version

ก คำนำ ด้วยพระบรมราโชบายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑๐ ทรงมุ่งหมายให้การศึกษาบ่มเพาะ สมรรถนะให้แก่ผู้เรียน เพื่อสร้างคุณลักษณะสำคัญ ๔ ประการให้กับคนไทย อันได้แก่ ๑) มีทัศนคติที่ดีและถูกต้อง ๒) มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคงเข้มแข็ง ๓) มีอาชีพ มีงานทำ ๔) เป็นพลเมืองดี มีระเบียบวินัย และพระราชปณิธาน ใน การสบื สาน รกั ษา พฒั นาต่อยอด โครงการในพระราชดำริของพระราชบดิ า จึงทรงพฒั นาการศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียม หรือ NEW DLTV ในทุกด้านอาทิ ระบบออกอากาศ อุปกรณ์เทคโนโลยี บุคลากรและกระบวนการจัด การศึกษา เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนครูในโรงเรียนขนาดเล็ก สร้างโอกาสการเข้าถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิตของ ประชาชน ทุกเพศ ทุกวัย ผ่านการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมจำนวน ๑๕ ช่องสัญญาณ ไปยังโรงเรียนต่าง ๆ และ ผสู้ นใจทวั่ ประเทศ เพือ่ ให้ประเทศไทยเปน็ สังคมแหง่ ปญั ญามีจิตอาสาในการสรรค์สร้างและพัฒนาประเทศใหม้ น่ั คง การสอนออกอากาศทางไกลผา่ นดาวเทียม ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ในภาคเรียนที่ ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ นี้ เป็นการสอนออกอากาศในแนวใหม่ บันทึกเทปการสอนจากห้องเรียนต้นทางของโรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ์ ครูปลายทางสามารถดูเทปการสอนผ่านทางเว็ปไซต์ www.dltv.ac.th และ Application on mobile DLTVของมูลนธิ ิ และมีคมู่ อื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้รายชวั่ โมงครบทง้ั ๘ กล่มุ สาระการเรียนรู้ ซึ่ง ครูปลายทางสามารถปรับกิจกรรมการเรยี นรใู้ ห้เหมาะสมกับชมุ ชน ทอ้ งถ่ิน วฒั นธรรมและบริบทของแต่ละโรงเรยี น การจัดทำคู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ได้รับความร่วมมือจากคณะทำงาน ประกอบด้วย สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้บริหารระดับสูงของกระทรวงศึกษาธิการ คณาจารย์จากมหาวิทยาลัย ศึกษานิเทศก์ และครูผู้เชี่ยวชาญ ทั้ง ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ซึ่งครูปลายทางใช้ในการเตรียมการสอนล่วงหน้า รวมทั้งจัดเตรียมเอกสารเพื่อส่งเสริมการเรียน ได้แก่ ใบงาน ใบความรู้ แบบฝึกหัด ให้ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เกิด ประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในห้องเรียน เพื่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนขยายโอกาสและ โรงเรียนมธั ยมศึกษาขนาดเล็กตอ่ ไป นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมุ่งมั่นพัฒนายกระดับ คุณภาพการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เพื่อพัฒนาสังคมไทยและยกระดับคุณภาพของคนไทยให้เข้มแข็ง สมดัง พระราชปณธิ าน “...การศึกษาคอื ความมน่ั คงของประเทศ...” ขอพระองคท์ รงพระเจรญิ มูลนธิ ิการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ข บทนำ การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เป็นการจัดการศึกษาเพื่อแก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็ก ครูสอนไม่ครบชั้น โดยจัดการเรียนการสอนของครูห้องเรียนต้นทางจากโรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ์ ไปยังห้องเรียนปลายทางในโรงเรียนพื้นที่ต่างๆ ได้แก่ พื้นที่สูง ชายแดน เกาะแก่งและเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ จังหวัดชายแดนภาคใต้ เปน็ การลดความเหลือ่ มลำ้ ในการจัดการศกึ ษาให้ทัว่ ถึง เทา่ เทียมและมคี ุณภาพ คู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑ – ๓) ประจำภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ประกอบด้วยเอกสาร ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คือ ๑) ภาษาไทย ๒) คณิตศาสตร์ ๓) วิทยาศาสตร์ ๔) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๕) สุขศึกษาและพลศึกษา ๖) ศิลปะ ๗) การงานอาชีพ ๘) ภาษาต่างประเทศ แต่ละระดับชั้นมีเอกสารรวม ๘ เล่ม แต่ละเล่มมีรายละเอียด คำชี้แจงการจัดกระบวน การเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ สื่อ/ใบงาน/แบบฝึก แบบประเมิน ที่ตรงกับมาตรฐาน ตัวชี้วัด และสาระการเรียนร้แู กนกลาง (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ของแตล่ ะสาระการเรียนรู้ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษา ข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ การจัดทำคู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑ – ๓) เป็นการทำงาน ร่วมกันของหลายหน่วยงาน มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญแต่ละสาขาวิชา คณาจารย์ จากมหาวิทยาลัย คณะศึกษานิเทศก์ คณะครูผู้สอนในสังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และโรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ์ และผู้มีส่วนร่วมจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ที่ช่วยให้คู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีความสมบูรณ์และ เหมาะสมต่อการจัดการเรยี นการสอนเพอ่ื เยาวชนไทยทงั้ ประเทศ มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ หวังว่าคู่มือครูและแผนการจัด การเรียนรู้ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ คณะครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ในการจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม ในโรงเรียนขนาดเล็กและขยายโอกาสในระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น เพือ่ ประสิทธิภาพการจดั การเรยี นการสอนให้สงู ข้นึ ตอ่ ไป

สารบญั ฃ สารบญั หนา้ ค�ำน�ำ ฃห–นกขค้า คมคโคคสบคสคโคมคคาาาาาาำำ���ำาาทรรรชอชรชอนชตตนงงบจแ้ี้ีแธธร้้ีีแแราสสำ� าฐิบัญบิฐจจจจ รรกาางงาาง้ง้า้ ้านกรปนยกรยงงากาารรกรารรยรายาาะราาาวรยยรธวรยยรบัิชเววบัาิชเววรราิชชชินิชชาชิียียสามากนามานขุสสสรรรรศุขรุขุขสาสรู้าู้/ยกึศศุข/มศุขยตกษึกึกกึศกศตกวั าษษาษึกากึวัาชร ราาษชรษารสว้ี มสีว้หาาอรรดัรูลัดอหสัหนห.รรน นสัสัอหหัสพิธออัวสัสพิกพอก๒ิชววากอ๒๒ิช๑าชิรอาศา๑๑า๑พากกึ ๑๑๐กพพาษ2า๐๐ศ๑าศ221๑๑ท ช111าั้นชช110งมนั้้ันไ001ธัมมก11ยธััธลชมยยผช้ันชศมม่า้ัน้ันมึกศศนัธมมษกึกึดยัธธัษษาามยยปวาามศมปทีปเทึกศศีที่ีท๑ษึกียกึ ี่ี่ ษ๑มษ๑าภปใาาภาภนปปีทคาาพีทีท่ี เคค1รรี่่ี เเ11ียะรรภบนียียภาภรทนนคาามที่ทเคค๑รร่ี่ี เเา๑๑ ียรรช น ียียูปนนทถทที่ 1ัม่ี่ี 11ภ์ ฅคฉฆ––-- ฅซฃชฉ1345ฆงช หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 ช่ือหน่วย พัฒนาการสมวยั ๑6 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 เรื่อง ปฐมนิเทศ/ระบบประสาท 1๖1 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 2 เร่ือง การดูแลระบบประสาท 2๑3๘ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 3 เรื่อง ระบบต่อมไรท้ ่อ 2๒8๓ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4 เรื่อง การดูแลรักษาระบบต่อมไรท้ อ่ 3๒2๗ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 5 เรื่อง การเจริญเติบโตของตนเอง 3๓7๒ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 6 เรื่อง การเจริญเติบโตและปัจจยั ทเี่ กี่ยวข้อง 4๓0๕ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 7 เรื่อง เกณฑม์ าตรฐานการเจริญเติบโต 4๔5๐ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 8 เร่ือง การสง่ เสรมิ และพัฒนาตนเองให้เจริญเติบโต 5๔3๘ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 9 เรื่อง การเลือกกินอาหารที่เหมาะสมกับตนเอง 5๕8๓ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 10 เรื่อง ทบทวนสงิ่ ท่ีเรียนรู้จากการพัฒนาตนเอง 6๕4๙ หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 ชื่อหน่วย วยั สดใสชีวติ มีสุข 6๖8๓ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 11 เรอ่ื ง นันทนาการ 7๖2๗ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 12 เร่ือง ประโยชน์ของนันทนาการ ๔77๗๗๓69๔๑๘ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 13 เรอ่ื ง วยั รุ่นกับการเปลีย่ นแปลง ๔8๘๔5๐๖ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 14 เรอื่ ง พัฒนาการทางเพศ ๔9๘๕0๕๔ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 15 เรอ่ื ง การเบยี่ งเบนทางเพศ ๔9๙๖7๒ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16 เรื่อง การล่วงละเมิดทางเพศ 1๔0๙๗4๙๐ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 17 เรอ่ื ง ผลกระทบที่เกิดจากการล่วงละเมิดทางเพศ 1๑๔0๐๗8๓๕ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 18 เรอ่ื ง การป้องกันและหลกี เล่ียง 1๑๔1๐๘3๘๒ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 19 เร่ือง หน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลอื 1๑๔1๑๘7๒๘ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 20 เรอ่ื ง การใชท้ ักษะการปฏิเสธ 1๑๔1๑๙9๕๔ บรรณานุกรม ๑๑๘ คณะจดั ทำ� คู่มอื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น เพอื่ การเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) ๑๑๘ มูลนิธกิ ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ๑๑๙ คณะจัดคู่มือครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรียนร้สู ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ ๑๒๐ คณะปรบั ปรุงคู่มอื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ คณะตรวจปรฟู๊ และจดั ทำ� รปู เลม่ คู่มือครูและแผนการจดั การเรียนรู้ กลุม่ สาระการเรยี นร้สู ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑

ค การรับชมรายการ การเรียนการสอนทางไกลผา่ นดาวเทียม มลู นธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถัมภ์ ใหบ้ รกิ ารการจดั การเรยี นการสอน จากสถานวี ิทยโุ ทรทัศนก์ ารศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม จำนวน ๑๕ ช่องรายการ ทัง้ รายการสด (Live) และรายการย้อนหลัง (On demand) สามารถรับชมผ่าน www.dltv.ac.th Application on mobile DLTV - Android เข้าที่ Play Store/Google Play พมิ พ์คำว่า DLTV - iOS เขา้ ที่ App Store พมิ พ์คำวา่ DLTV การเรยี กหมายเลขชอ่ งออกอากาศสถานีวิทยุโทรทัศน์การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ๑๕ ชอ่ งรายการ เวลาเรยี น / นอกเวลาเรยี น DLTV ๑ (ชอ่ ง ๑๘๖) รายการสอนชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ / สถาบันพระมหากษตั ริย์ DLTV ๒ (ช่อง ๑๘๗) รายการสอนช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๒ / ความรรู้ อบตวั DLTV ๓ (ชอ่ ง ๑๘๘) รายการสอนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๓ / วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี DLTV ๔ (ช่อง ๑๘๙) รายการสอนชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๔ / ธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม DLTV ๕ (ช่อง ๑๙๐) รายการสอนช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ / ศิลปวัฒนธรรมไทย DLTV ๖ (ช่อง ๑๙๑) รายการสอนช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ / หนา้ ท่พี ลเมอื ง DLTV ๗ (ช่อง ๑๙๒) รายการสอนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ / ภาษาองั กฤษเพอื่ การสือ่ สาร DLTV ๘ (ชอ่ ง ๑๙๓) รายการสอนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒ / ภาษาตา่ งประเทศ DLTV ๙ (ช่อง ๑๙๔) รายการสอนช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ / การเกษตร DLTV ๑๐ (ชอ่ ง ๑๙๕) รายการสอนชัน้ อนบุ าลปที ่ี ๑ / รายการสําหรับเดก็ -การเลยี้ งดูลูก DLTV ๑๑ (ช่อง ๑๙๖) รายการสอนช้นั อนบุ าลปีท่ี ๒ / สุขภาพ การแพทย์ DLTV ๑๒ (ช่อง ๑๙๗) รายการสอนชนั้ อนบุ าลปที ี่ ๓ / รายการสำหรับผูส้ งู วยั DLTV ๑๓ (ชอ่ ง ๑๙๘) รายการของการอาชีพวงั ไกลกงั วล และมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล DLTV ๑๔ (ช่อง ๑๙๙) รายการของมหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช DLTV ๑๕ (ช่อง ๒๐๐) รายการพัฒนาวชิ าชีพครู

ฅ การตดิ ต่อรบั ข้อมูลขา่ วสาร ๑1. มลู นิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถัมภ์ เลขท่ี ๒๑๔ ถนนนครสวรรค์ แขวงวัดโสมนัส เขตปอ้ มปราบศตั รูพา่ ย กรุงเทพมหานคร ๑๐๑๐๐ โทร ๐ ๒๒๘๒ ๖๗๓๔ โทรสาร ๐ ๒๒๘๒ ๖๗๓๕ ๒2. สถานีวิทยโุ ทรทัศน์การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ซอยหวั หิน ๓๕ ถนนเพชรเกษม ตำบลหัวหิน อำเภอหัวหนิ จงั หวดั ประจวบครี ขี ันธ์ ๗๗๑๑๐ โทร. ๐๓๒ ๕๑๕๔๕๗ - ๘ โทรสาร ๐๓๒ ๕๑๕๙๕๑ [email protected] (ติดตอ่ เรอื่ งเวบ็ ไซต์) dltv@dltv,ac.th (ติดตอ่ เรื่องทว่ั ไป) 3๓.. โรงเรียนวงั ไกลกงั วล ในพระบรมราชูปถมั ภ์ อำเภอหัวหิน จงั หวัดประจวบครี ขี ันธ์ ๗๗๑๑๐ โทร ๐๓๒ ๕๒๒ ๓๔๗ , ๐๓๒ ๕๒๐ ๔๗๘ โทรสาร ๐๓๒ ๕๒๐ ๔๗๘ Facebook : โรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถมั ภ์ Website : http://www.kkws.ac.th ๔4. ช่องทางการติดตามขา่ วสาร Facebook : ครูตู้ DLTV Website : http://www.dltv.ac.th

ฆ คำคช�ำชี้แ้แี จจงง ประปกระอกบอกบากราใรชใช้แ2แผผนน…กกา…าร…รจจ…ดัดั …กก…าาร…รเเ…รรีย…ียน…นร…รู2กู้กล…ลม<ุ…สมุ่ …าส…ราะ…รก…ะาก…รเา…รรีย…เนร…รยี …ส2ู น…ขุ ร.ศูส้ ึกขุ ษศากึแลษะาพแลลศะึกพษลาศึกษา แผนจัดการเรียนรู1และสื่อการเรียนการสอนเพื่อการศึกษาทางไกลผ?านดาวเทียม (DLTV) ระดับมัธยมศึกษาตอนต1น กลุ?มสาระการเรียนร1ูสุขศึกษาและพลศึกษา ได1จัดทำรายวิชาพื้นฐาน ของระดับชั้นมัธยมศึกษาปSที่ ๑-๓ เปWนไปตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กำหนด และการนำไปใช1ของโรงเรียนปลายทาง สิ่งท่ี ต1องดำเนนิ การมีดงั น้ี ๑. ศกึ ษาทำความเข1าใจคำชแี้ จงการใช1แผนการจดั การเรียนร1ู และส่อื การเรยี นการสอนของ กลุ?มสาระการเรียนรู1สุขศึกษาและพลศึกษา แล1วเพิ่มเติมให1สอดคล1องกับบริบท สภาพป_จจุบันป_ญหาความ ความ ต1องการของโรงเรียน ชุมชน ท1องถิ่น โดยจัดกิจกรรมเสริมในเวลาเรียน นอกเวลาเรียน ใช1สื่อแหล่งเรยี แนหรลู้ใ?งนเรียนรู1ใน ชุมชน หรือเรียนรูเ1 พิ่มจากภูมปิ ญ_ ญาหน?วยงานทเี่ กี่ยวขอ1 ง ๒. ตอ1 งจัดการเรียนการสอนทีท่ นั สมัย ทันเหตกุ ารณc บูรณาการกับกลุม? สาระการเรยี นรู1อนื่ ๆ เพิ่มเติมในส?วนของการเชื่อมโยงกับการใช1ชีวิตประจำวันของผู1เรียน สามารถดำเนินการได1จากการนำวันสำคัญต?างๆ ตลอดปSการศึกษาประสบการณcการเรียนรู1ทั้งในห1องเรียนและนอกห1องเรียน แต?ละกลุ?มสาระจะจัดกิจกรรมให1เด็ก เกดิ การเรยี นรู1 และไดป1 ฏิบตั จิ ริงอะไรบา1 งทจ่ี ะลดความซ้ำซอ1 นของเดก็ และครใู นการทำงานและเรียนรร1ู ว? มกันอย?างมี คณุ ค?าเกดิ ประโยชนcสูงสุดกบั ทกุ ฝาi ย คดิ หาวธิ ีการเรียนร1ู ให1ผูเ1 รยี น ไดป1 ฏิบัติจริงอย?างหลากหลาย ๓. โรงเรยี นสามารถจัดตารางสอนให1ตรงกับเวลาออกอากาศใชเ1 ปนW การสอนปกติหรอื จะใชร1 ูปแบบ อื่นๆ ก็ได1ตามความเหมาะสมเพื่อก?อประโยชนcสูงสุดต?อผู1สอนและผู1เรียนในการจัดการเรียนการสอนสุขศึกษาและ พลศึกษาใหค1 รบถ1วนเปWนไปตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ กำหนด ๔. หลกั การสำคญั ในการสอนเพอื่ ให1บรรลุเปาk หมายตามธรรมชาตวิ ิชานี้ คอื การเปWนมนษุ ยcท่ี สมบูรณcทั้งทางกาย ทางจิต ทางสังคม ทางป_ญญา ด1านสุขภาพผู1เรียนต1องเกิด ความรู1 ความเข1าใจ เจตคติ ค?านิยมที่ ถูกต1อง มีคุณธรรม จริยธรรมที่เหมาะสมกับสังคมไทย เชื่อมโยงกับทุกมิติของชีวิตตั้งแต?เกิดจนตาย มีทักษะปฏิบัติ ด1านสุขภาพที่สามารถนำไปใช1อย?างต?อเนื่องในชีวิตประจำวันเปWนนิสัย ดูแลตัวเอง ครอบครัว สังคม ให1อยู?ร?วมกัน อย?างเปนW สุข สง? ผลโดยรวมให1สงั คมมคี ุณภาพอยา? งยั่งยืน ๕. สำหรับกิจกรรมการเรียนรู1พลศึกษาตามหลักการสอนพลศึกษาประกอบด1วย ๕5 ขั้นตอน ได1แก? ขั้น เตรียมอบอุ?นร?างกาย การสาธิต ฝmกปฏิบัติ นำไปใช1 และขั้นสรุป โดยนำมาจัดกลุ?มกิจกรรมการเรียนรู1เปWน ๓3 ขนั้ ตอน ได1แก? ขนั้ นำ ขน้ั สอน ขัน้ สรุปตามรปู แบบของแผนการจดั การเรียนรู1 DLTV ๖. ให1โรงเรียนศึกษาค1นคว1าเพิ่มเติมจากแหล?งเรียนรู1จากสถาบัน หน?วยงาน องคcกรที่ให1ความรู1เกี่ยวกับ สุขภาพทส่ี ามารถนำมาใชอ1 1างอิง และเชื่อถอื ได1

ง ได้แก่ -สสส. -กรมควบคุมโรค -กรมอนามัย -กระทรวงการท?องเทีย่ วและกฬี า -กรมพลศกึ ษา -กรมสขุ ภาพจิต -จฬุ าลงกรณcมหาวิทยาลัย -กระทรวงสาธารณสุข -อ่นื ๆ

จ คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน รหสั วิชา พ๒๑๑๐๑ รายวิชา สุขศกึ ษา กล?ุมสาระการเรียนรสูE ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปHที่ ๑ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง จำนวน ๐.๕ หนว? ยกติ -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษา วิเคราะห/ และอธิบายเกี่ยวกับความสำคัญของระบบประสาทและระบบตBอมไรDทBอท่ีมี ผลตBอสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรนุB วิธีการดูแลรักษาระบบประสาทและระบบตBอมไรDทBอ ใหDทำงานตามปกติ วิเคราะห/เปรียบเทียบภาวะการเจริญเติบโตทางรBางกายของตนเองกับเกณฑ/มาตรฐาน แสวงหาแนวทางในการพัฒนาตนเองใหDเจริญเติบโต รBวมกิจกรรมนันทนาการอยBางนDอย ๑ กิจกรรมและ นำหลักความรูDที่ไดDไปเช่ือมโยงสัมพันธ/กับวิชาอ่ืนๆๆ อธิบายวิธีการปรับตัวตBอการเปลี่ยนแปลงทางรBางกาย จิตใจ อารมณ/ และพัฒนาการทางเพศอยBางเหมาะสม แสดงทักษะการปฏิเสธเพื่อปXองกันตนเองจากการถูกลBวง ละเมิดทางเพศ เลือกกินอาหารที่เหมาะสมกับวัย โดยใชDกระบวนการสืบเสาะหาความรูD สืบคDนขDอมูล วิเคราะห/ อภปิ ราย และการปฏิบตั ิ เพื่อใหDมีความรูD ความเขDาใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย/ เขDาใจ และ เห็นคุณคBาตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดำเนินชีวิต ใฝ\\หาความรูD หม่ันศึกษาเลBาเรียน มุBงม่ันในการทำงาน มีระเบียบวินัย มีความสามารถในการคิด การแกDป]ญหา การใชDทักษะชีวิต และการใชD เทคโนโลยี ตวั ชี้วัด พ ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔ พ ๒.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒ พ ๓.๑ ม.๑/๓ พ ๔.๑ ม.๑/๑ รวมทง้ั หมด ๘ ตัวชวี้ ดั รวมทง้ั หมด ๘ ตวั ชีว้ ัด

4ฉ 4 มำตรฐำนกำรเรียนร/ู้ ตวั ชว้ี ัด รหัสวชิ ำ พ21101 รำยวิชำ สุขศึกษำ ชน้ั มธั ยมศกึ ษำปีที่ 1 ภำคเรียนท่ี 1 ปกี ำรศึกษำ 2562 รวมเวลำ 20 ช่ัวโมง จำนวน 0.5 หนว่ ยกิต สำระท่ี 1 กำรเจริญเตบิ โตและพฒั นำกำรของมนุษย์ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ มำตรฐำน พ 1.1 เขำ้ ใจธรรมชำติของกำรเจริญเตบิ โตและพัฒนำกำรของมนุษย์ ตวั ชี้วัด พ 1.1 ม.1/1 อธบิ ำยควำมสำคญั ของระบบประสำท และระบบต่อมไร้ทอ่ ท่ีมีผลต่อสุขภำพ กำรเจรญิ เตบิ โต และพฒั นำกำรของวยั รนุ่ พ 1.1 ม.1/2 อธบิ ำยวิธีดูแลรักษำระบบประสำท และระบบต่อมไรท้ ่อใหท้ ำงำนตำมปกติ พ 1.1 ม.1/3 วเิ ครำะห์ภำวะกำรเจริญเติบโตทำงรำ่ งกำยของตนเองกับเกณฑ์มำตรฐำน พ 1.1 ม.1/4 แสวงหำแนวทำงในกำรพฒั นำตนเองใหเ้ จริญเตบิ โตสมวัย สำระที่ 2 ชีวติ และครอบครัว มำตรฐำนกำรเรียนรู้ มำตรฐำน พ 2.1 เข้ำใจและเหน็ คุณค่ำตนเอง ครอบครวั เพศศึกษำ และมีทักษะในกำรดำเนินชีวติ ตัวช้ีวัด พ 2.1 ม.1/1 อธบิ ำยวธิ กี ำรปรบั ตัวต่อกำรเปล่ียนแปลงทำงรำ่ งกำยจจิตติ ใใจจออำารรมมณณ์ ์ และ พฒั นำกำรทำงเพศอย่ำงเหมำะสม พ 2.1 ม.1/2 แสดงทักษะกำรปฏิเสธเพื่อป้องกันตนเองจำกกำรถูกล่วงละเมิดทำงเพศ สำระที่ 3 กำรเคลอ่ื นไหว กำรออกกำลังกำย กำรเล่นเกม กีฬำไทย และกีฬำสำกล มำตรฐำน พ 3.1 เข้ำใจมที ักษะในกำรเคลื่อนไหว กิจกรรมทำงกำย กำรเลน่ เกมและกีฬำ ตวั ช้ีวดั พ 3.1 ม.1/3 รว่ มกิจกรรมนันทนำกำรอยำ่ งน้อย 1 กจิ กรรมและนำหลักควำมรู้ท่ีไดไ้ ปเชือ่ มโยง สัมพนั ธก์ ับวิชำอืน่ ๆ สำระท่ี 4 กำรสร้ำงเสริมสุขภำพ สมรรถภำพ และกำรป้องกนั โรค มำตรฐำน พ 4.1 เหน็ คณุ คำ่ และมีทักษะในกำรสรำ้ งเสรมิ สขุ ภำพ กำรดำรงสุขภำพ กำรป้องกันโรคและ กำรสร้ำงเสริมสมรรถภำพเพื่อสขุ ภำพ ตวั ชี้วดั พ 4.1 ม.1/1 กำรเลอื กกินอำหำรท่ีเหมำะสมกบั วยั

ช โครงสร้างรายวิชา รหสั วิชา พ๒๑๑๐๑ รายวิชา สขุ ศึกษา ชนั9 มธั ยมศึกษาปี ท@ี ๑ ภาคเรียนท@ี ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๒ รวมเวลา ๒๐ ชวั@ โมง จาํ นวน ๐.๕ หน่วยกิต หน่วยท)ี ชอ)ื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชว8ี ดั สาระสาํ คญั /ความคดิ รวบยอด เวลา น8ําหนกั ๑ (ชวั) โมง) คะแนน ๒ พฒั นาการสมวยั พ ๑.๑ ม.๑/๑ การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการ ๑๐ ๕๐ พ ๑.๑ ม.๑/๒ ของวยั รนุ่ มผี ลมาจากการทาํ งาน พ ๑.๑ ม.๑/๓ เชอ)ื มโยงสมั พนั ธก์ นั ของระบบ พ ๑.๑ ม.๑/๔ ประสาทและระบบต่อมไรท้ อ่ พ ๔.๑ ม.๑/๑ จงึ ตอ้ งรวู้ ธิ กี าร ดแู ลรกั ษาเพอ)ื ให้ ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ ทอ่ ทาํ งานปกตริ วมถงึ ปัญหา ภาวะโภชนาการทม)ี ผี ลกระทบต่อ สขุ ภาพเกดิ จากการกนิ อาหารจงึ ควรเลอื กกนิ อาหารใหเ้ หมาะสม กบั วยั วยั สดใสชวี ติ มสี ขุ พ ]๒..^๑มม.^๑/^/๑ การปรบั ตวั ต่อการเปลย)ี นแปลง ๑๐ ๕๐ พ ]๒..^๑มม.^๑/]/๒ พ 3๓.1๑มม.1๑/3/๓ ทางรา่ งกายจติ ใจ อารมณ์ และ พฒั นาการทางเพศ ตลอดจนการ ใชท้ กั ษะการปฏเิ สธมสี ว่ นชว่ ย ป้องกนั ตนเองจากการถกู ลว่ ง ละเมดิ ทางเพศ รว่ มกจิ กรรม นนั ทนาการเป็นการใชเ้ วลาวา่ งให้ เกดิ ประโยชน์ต่อตนเองและนํา หลกั ความรทู้ ไ)ี ดไ้ ปเชอ)ื มโยง สมั พนั ธก์ บั วชิ าอน)ื รวมตลอดภาคเรยี น ๒๐ ๑๐๐

16 6 หน่วยกำรเรียนรทู้ ี่ 1 ชือ่ หน่วยกำรเรยี นรู้ พัฒนำกำรสมวัย รหสั วิชำ พ21101 รำยวิชำ สุขศกึ ษำ กลุ่มสำระกำรเรียนรสู้ ุขศึกษำและพลศกึ ษำ ช้ันมัธยมศกึ ษำปีท่ี 1 ภำคเรียนท่ี 1 ปกี ำรศกึ ษำ 256๒ เวลำ 10 ชวั่ โมง 1. มำตรฐำนกำรเรยี นร/ู้ ตัวช้ีวัด สำระท่ี 1 กำรเจรญิ เตบิ โตและพัฒนำกำรของมนุษย์ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ พ 1.1 เขำ้ ใจธรรมชำติของกำรเจริญเตบิ โตและพฒั นำกำรของมนุษย์ ตัวชว้ี ัด พ 1.1 ม.1/1 อธิบำยควำมสำคัญของระบบประสำทและระบบตอ่ มไร้ท่อท่ีมีผลตอ่ สขุ ภำพ กำรเจรญิ เติบโตและพัฒนำกำรของวัยรุน่ พ 1.1 ม.1/2 อธบิ ำยวิธีดูแลรกั ษำระบบประสำทและระบบตอ่ มไรท้ ่อใหท้ ำงำนตำมปกติ พ 1.1 ม.1/3 วเิ ครำะห์ภำวะกำรเจริญเตบิ โตทำงรำ่ งกำยของตนเองกบั เกณฑม์ ำตรฐำน พ 1.1 ม.1/4 แสวงหำแนวทำงในกำรพัฒนำตนเองให้เจริญเตบิ โตสมวยั สำระที่ 4 กำรสร้ำงเสรมิ สุขภำพ สมรรถภำพ และกำรป้องกนั โรค มำตรฐำนกำรเรียนรู้ พ.4.1 เหน็ คุณคำ่ และมีทักษะในกำรสร้ำงเสริมสุขภำพ กำรดำรงสขุ ภำพ กำรป้องกันโรค และกำรสร้ำงเสริมสมรรถภำพเพื่อสุขภำพ ตัวช้วี ัด พ 4.1 ม.1/1 เลอื กกินอำหำรทเี่ หมำะสมกับวัย 2. สำระสำคญั /ควำมคิดรวบยอด กำรเจริญเตบิ โตและพฒั นำกำรของวยั รุ่นมีผลมำจำกกำรทำงำนเชอื่ มโยงสมั พนั ธ์กนั ของระบบประสำท และระบบต่อมไร้ท่อ จึงต้องรู้วธิ กี ำรดูแลรกั ษำเพ่ือใหร้ ะบบประสำทและระบบต่อมไร้ท่อทำงำนปกตริ ปวัมญถหงึ ำปญั หา ภำวะโภชนำกำรทมี่ ีผลกระทบต่อสขุ ภำพเกดิ จำกกำรกนิ อำหำร จงึ ควรเลอื กกินอำหำรให้เหมำะสมกับวัย 3. สำระกำรเรียนรู้ ควำมรู้ 1. ระบบประสำท และ ระบบตอ่ มไรท้ ่อท่มี ีผลต่อสุขภำพ กำรเจรญิ เติบโตและพัฒนำกำรของวัยรุ่น 2. วิธีดูแลรกั ษำระบบประสำทและระบบต่อมไร้ท่อใหท้ ำงำนตำมปกติ 3. ภำวะกำรเจรญิ เติบโตตำมเกณฑ์มำตรฐำนและปัจจัยทเ่ี ก่ียวขอ้ ง 4. แนวทำงในกำรพฒั นำตนเองให้เจรญิ เตบิ โตสมวยั 5. กำรกนิ อำหำรทเ่ี หมำะสมกับวัย ทักษะ/กระบวนกำร 1. กำรอธิบำย 2. กำรวเิ ครำะห์ 3. กำรแสวงหำแนวทำงพฒั นำตนเอง เจตคติ ตระหนักและเหน็ คุณค่ำของกำรดแู ลรักษำระบบประสำทและระบบต่อมไรท้ ่อใหท้ ำงำนตำมปกติ

27 7 4. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น 1. ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร 2. ควำมสำมำรถในกำรคิด 3. ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี 5. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มจี ติ สำธำรณะ 6. กำรประเมินผลรวบยอด ชน้ิ งำนหรอื ภำระงำน 1. แผนผัง แผนภมู ิ สรปุ ควำมสำคัญของระบบประสำทและระบบต่อมไรท้ ่อรวมท้งั กำรดูแลรกั ษำ ๒. แผนกำรพัฒนำตนเองให้เจริญเตบิ โตสมวัย ๓. เขียนตำรำงรำยกำรอำหำรท่เี หมำะสมกบั วัยใน 1 สปั ดำห์

38 8 เกณฑ์กำรประเมินผลชิน้ งำนหรอื ภำระงำน ประเดน็ กำรประเมิน ระดบั คณุ ภำพ 1 (ปรบั ปรุง) อธบิ ำยควำมสำคัญของ 3 (ดี) 2 (พอใช้) ระบบประสำท และระบบ อธบิ ำยควำมสำคัญของ อธิบำยควำมสำคัญของ อธิบำยควำมสำคัญของ ต่อมไร้ท่อทมี่ ผี ลต่อสขุ ภำพ ระบบประสำท และระบบ ระบบประสำท และระบบ ระบบประสำท และระบบ กำรเจริญเติบโต และ ต่อมไรท้ อ่ ท่มี ีผลต่อสขุ ภำพ ต่อมไร้ทอ่ ที่มีผลตอ่ สุขภำพ ต่อมไร้ท่อ ที่มีผลตอ่ สุขภำพ พฒั นำกำรของวัยรุ่น กำรเจรญิ เติบโต และ กำรเจริญเตบิ โต และ กำรเจริญเติบโต และ อธบิ ำยวิธีดแู ลรกั ษำ พฒั นำกำรของวยั รุ่น พัฒนำกำรของวัยร่นุ ถูกตอ้ ง พัฒนำกำรของวยั รนุ่ ไม่ ระบบประสำท และระบบ ถูกต้อง 2 ระบบ ๑ ระบบ ถกู ต้อง ต่อมไรท้ อ่ ใหท้ ำงำน อธบิ ำยวิธีดูแลรักษำ อธิบำยวธิ ีดแู ลรักษำ อธิบำยวธิ ีดูแลรักษำ ตำมปกติ ระบบประสำท และระบบ ระบบประสำท และระบบ ระบบประสำท และระบบ วิเครำะห์ภำวะกำร ต่อมไร้ทอ่ ให้ทำงำน ต่อมไรท้ ่อใหท้ ำงำนตำมปกติ ตอ่ มไร้ทอ่ ใหท้ ำงำน เจริญเตบิ โตทาง ทำง ตำมปกติถกู ต้อง 4 ระบบ ถูกต้อง 3 ระบบ ตำมปกติถูกต้อง ๑ - ๒ ร่ำงกำยของตนเอง จำแนก ปจั จยั ทีส่ ง่ ผลกับ ระบบ กับเกณฑ์มำตรฐำน ภำวะกำรเจริญเตบิ โต จำแนกปัจจัยทสี่ ง่ ผลกับ จำแนกปัจจยั ที่สง่ ผลกับ แสวงหำแนวทำงในกำร ของตนเองใไหด้ตไดาต้มำเกมณเกฑณ์ ฑ์ ภำวะกำรเจริญเตบิ โตของ ภำวะกำรเจรญิ เติบโตของ พฒั นำตนเอง ให้ มำตรฐำน มำกกวำ่ 3 ตขอนงเอตงนใเหอ้ไงดไ้ตดำ้ตมามเกเณกณฑฑ์ ์ ขตอนงเอตงนใเหอ้ไงดไดต้ ต้ำมามเกเกณณฑฑ์ ์ เจริญเตบิ โตสมวัย ปัจจยั มำตรฐำน มำกกว่ำ 2 ปจั จยั มำตรฐำน มำกกว่ำ 1 ปจั จยั สรปุ ขอ้ มูลท่สี ืบคน้ เป็น เลอื กกินอำหำรที่เหมำะสม แนวทำงพฒั นำตนเองให้ สรุปข้อมูลทส่ี ืบคน้ เป็น ไมส่ รุปข้อมูล/ไมส่ ืบคน้ กับวยั เจริญเตบิ โตสมวยั และ แนวทำงพฒั นำตนเองให้ นำไปปฏบิ ตั ิใน ใน เจริญเติบโตสมวยั แตม่ ี กำรส่ือสำร ชีวิตประจำวันด้วย เฉพำะภำคทฤษฎี แสดงข้อมลู โภชนำกำร ควำมสำมำรถในกำรคดิ ทีเ่ ลอื กกินจนเปน็ นิสัย แสดงขอ้ มลู โภชนำกำรที่ ไแมส่แดสงดขงอ้ ขมอ้ ูลมโูลภโชภนชำนกาำกราร ในแต่ละวนั ไดส้ ดั สว่ น เลอื กกนิ จนเป็นนสิ ยั ในแตล่ ะ เหมำะสมกับลักษณะของ วนั ได้แตไ่ ม่เหแมตา่ไมะส่เหมมำะสม ตนเอง กบั ลักษณะ ของตนเอง นำเสนอให้ผอู้ นื่ เข้ำใจ ตำมวัตถปุ ระสงคค์ รบถ้วน นำเสนอให้ผู้อนื่ เข้ำใจ นำเสนอ แตผ่ ้อู ืน่ ไม่เขำ้ ใจ ทกุ จดุ ประสงค์ ตำมวตั ถุประสงค์บำง จำแนกข้อมลู จุดประสงค์ และเชอื่ มโยงข้อมลู จำแนกข้อมลู แต่ไม่เชอ่ื มโยง ไมจ่ ำแนกข้อมลู อยำ่ งมีเหตผุ ลเป็นระบบ ขอ้ มูล ใหญ่

49 9 ประเดน็ กำรประเมนิ 3 (ดี) ระดบั คุณภำพ 1 (ปรบั ปรุง) กำรแกป้ ัญหำ 2 (พอใช้) นำควำมรู้ไปปฏิบตั ิกจิ กรรม นำควำมรู้ไปปฏิบัติกจิ กรรม แก้ปญั หำไมไ่ ด้ แก้ปัญหำได้ประสบ แก้ปัญหำได้ประสบผลสำเรจ็ ผลสำเร็จ บำงเรอ่ื ง ครบถว้ น เกณฑ์กำารรตตดั ดั สสนิ ิน ๑๗ – ๒๔ หมำยถึง ดี คะแนน ๙ – ๑๖ หมำยถึง พอใช้ คะแนน ๑-๘ หมำยถงึ ปรบั ปรงุ คะแนน เกณฑ์กำรผำ่ น ตั้งแตร่ ะดบั พอใช้ขึ้นไป

150 10 กำรประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ประเด็นกำร 3 (ดี) ระดบั คุณภำพ 1 (ปรับปรุง) ประเมนิ บันทึกกำรปฏิบตั ิงำน 2 (พอใช้) ตำมหลกั กำรสุขภำพ บันทกึ กำรปฏิบัติงำน ไมป่ ฏิบตั ิ มีวนิ ัย เชน่ กำรปฏิบตั ติ นตำม ตำมหลักกำรสุขภำพ ใฝ่เรยี นรู้ หลัก ๕ อ/หลักสุขบัญญติ เช่น กำรปฏิบัติตนตำมหลกั ๑๐ ประกำร ทกุ คร้งั ๕ อ/หลักสขุ บัญญติ มงุ่ มน่ั - รวบรวมข้อมลู จำก 2 ๑๐ ประกำร บำงคร้ัง ในกำรทำงำน แหล่งข้ึนไป หลอมรวม - รวบรวมข้อมลู จำก - คดั ลอกข้อมลู ไมอ่ ้ำงอิง มีจิตสำธำรณะ เปน็ ของตนเอง มีอำ้ งอิง ๑ แหลง่ หลอมรวม - ไมม่ ีสว่ นรว่ ม - มีสว่ นรว่ มในกำร เป็นของตนเอง มีอ้ำงอิง ในกำรอภิปรำย/เสนอ อภิปรำย/เสนอแนวทำง/ - มีส่วนรว่ มในกำรอภปิ รำย/ แนวทำง/แสดงควำมคิดเห็น แสดงควำมคิดเห็นต่อกำร เสนอแนวทำง/แสดง ต่อกำรทำงำน ทำงำนอย่ำงต่อเน่อื ง ควำมคดิ เห็นต่อกำรทำงำน ทุกครง้ั บำงคร้ัง ปฏิบัตงิ ำนสำเรจ็ สมบรู ณ์ ทกุ ช้ิน ปฏบิ ัตงิ ำนสำเร็จสมบรู ณ์ ปฏิบตั ไิ ม่สำเร็จ - ช่วยกนั ปฏิบัติกจิ กรรม บำงชิน้ - ช่วยกันปฏิบัตกิ จิ กรรม ดำ้ นสุขภำพในระดบั - ช่วยกันปฏบิ ตั กิ ิจกรรม ดำ้ นสขุ ภำพเฉพำะตนเอง ครอบครัว/ชุมชน ดำ้ นสขุ ภำพในระดับ หอ้ งเรียน เกณฑก์ ำรตัดสนิ ๙ - 12 หมำยถึง ดี คะแนน ๕–๘ หมำยถงึ พอใช้ คะแนน ๑-๔ หมำยถึง ปรับปรงุ คะแนน เกณฑ์กำรผ่ำน ตงั้ แต่ระดบั พอใชข้ นึ้ ไป

หนว4 ยการเรยี นรู.ที่ ๑ พัฒนาการสมวัย แผนการจัดการเรยี นรท.ู ี่ ๑ เวลา ๑ ชัว่ โมง กล4ุมสาระการเรียนร.ู สุขศกึ ษาและพลศึกษา เรื่อง ปฐมนเิ ทศ/ระบบประสาท ขอบเขตเนื้อหา รายวชิ า สขุ ศึกษา ชั้นมัธยมศกึ ษาปMท่ี ๑ การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการของวัยรน9ุ มีผลมาจาก กิจกรรมการเรยี นรู. สือ่ /แหล4งเรยี นร.ู การทำงานเชอ่ื มโยงสัมพันธกD ันของระบบประสาทและ ขั้นนำ ๑. ใบความรGูท่ี ๑ เรอื่ ง กิจกรรมฝnกสมอง ระบบต9อมไรGท9อจงึ ตอG งรวูG ธิ กี าร ดูแลรักษาเพอ่ื ใหG ๑. สำรวจจำนวนนักเรยี นรายละเอยี ดเน้อื หาต9างๆๆนักนเักรเยี รนยี น (Brain Gym) ระบบประสาทและระบบต9อมไรGท9อทำงานปกติ จะไดGเรยี นตลอด ๑ ภาคเรยี น และมกี ารทดสอบ ๒. www.thaihealth.or.th จุดประสงคกP ารเรยี นร.ู ๒ ระยะ คือกลางภาคและปลายภาคเพอ่ื วัดผลสัมฤทธ์ิ ๓. http://www.idoctorhouse.com/ ๒. เวลาเรยี นตลอด ๑ ภาคเรียน จำนวน ๒๐ คาบ library/physio-neuro/ ด.านความร.ู (๑ คาบ/สัปดาหD) ๔. ใบความรูGที่ ๒ เร่ือง ระบบประสาท อธบิ ายถึงความสำคัญของระบบประสาท ๓. อัตราสว9 นคะแนนระหว9างภาค (๘๐ : ๒๐) ด.านทักษะและกระบวนการ ขั้นสอน ภาระงาน/ชนิ้ งาน ปฏิบตั ิทา9 Brain Gym ไดG ๔ ทา9 ขนึ้ ไป ๑. นกั เรียนแบ9งกลม9ุ ตามความสมัครใจ กลม9ุ ละ ๔ - ๖ คน ๑. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลม9ุ ดา. นคุณลักษณะ ครเู สนอแนะกระบวนการทำงานกล9มุ ๒. ใบงานท่ี ๑ เร่อื ง ระบบประสาท ๑. แสดงพฤตกิ รรมการมวี นิ ัย ๒. นกั เรยี นแตล9 ะกลม9ุ ศึกษาใบความรGูที่ ๑ เรอื่ ง กจิ กรรม ๓. สมุดจดบันทึก ๒. แสดงพฤตกิ รรมใฝ`เรียนรGู ฝกn สมอง และใบความรูทG ี่ ๒ เรื่อง ระบบประสาท ๓. แสดงพฤตกิ รรมม9ุงมัน่ ในการทำงาน ๓. นกั เรยี นทำใบงานท่ี ๑ เรื่อง ระบบประสาท ๔. ครูและนักเรยี นร9วมกนั อภิปรายเพมิ่ เติม ขัน้ สรุป ๑. ครูเสนอแนะเพ่มิ เติมเกีย่ วกบั การดูแลและพัฒนาระบบ ประสาท เช9น การฝกn สมาธิ,การรับประทานอาหารที่มีประโยชนDตอ9 ระบบประสาทและสมอง ๒. นกั เรียนคดิ ว9าจะนำกิจกรรมฝกn สมอง (Brain Gym) ไป ใชGฝกn ท่บี าG นไดGอยา9 งไรบาG ง 6

7 การวดั และประเมินผล วธิ ีการ เคร่อื งมอื ทใี่ ช7 เกณฑA ตรวจใบงาน ระดบั พอใชIข้นึ ไป สิ่งท่ตี 7องการวัด/ประเมนิ แบบตรวจผลงาน ๑. อธิบายความสำคญั ของ (มติ คิ ณุ ภาพแบบ ระบบประสาททมี่ ผี ลต<อ การใหIคะแนน Rubric) สขุ ภาพและพัฒนาการ ของวยั รุน< ๒. ปฏิบตั ิท<า Brain Gym สังเกตการปฏิบตั ิ แบบสังเกต (Rubric) ระดับพอใชIข้นึ ไป ๓. แสดงพฤตกิ รรมการมีวนิ ยั สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสังเกต (Rubric) ระดับพอใชIขนึ้ ไป ๔. แสดงพฤติกรรมใฝเc รยี นรIู สงั เกตพฤตกิ รรม มิติคณุ ภาพการประเมนิ ระดบั พอใชขI ้ึนไป ชิ้นงาน (Rubric) ระดบั พอใชIขนึ้ ไป ๕. แสดงพฤตกิ รรมมง<ุ มั่น ตรวจสอบความสำเรจ็ ในการทำงาน ของชิน้ งาน มติ คิ ณุ ภาพการประเมนิ ช้นิ งาน (Rubric)

389 39 บนั ทึกผลหลงั สอน ผลกำรเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหำและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ/แนวทำงแกไ้ ข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ……………………………………………ผสู้ อน (………………………………………….) วันที่…………เดอื น………………….พ.ศ………….. ควำมคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะของผ้บู ริหำรหรอื ผู้ทไี่ ด้รับมอบหมำย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ……………………………………………ผ้ตู รวจ (…………………………………………..) วนั ที่…………เดือน………………….พ.ศ…………..

9 ใบความร้ทู ี? ๑ เร?ือง กิจกรรมฝึ กสมอง หน่วยการเรียนร้ทู ี? ๑ แผนการจดั การเรียนรทู้ ?ี ๑ เรือ? ง ระบบประสาท รายวิชา สขุ ศึกษา ชนัL มธั ยมศึกษาปี ที? ๑ ................................................................... Brain Gym จะแบง่ ออกเป็น ๔ กล่มุ ท่า ทกุ คนสามารถทาํ ตามได้ไม่ยาก คือ กล่มุ ท่าท?ี ๑ การเคลื?อนไหวสลบั ข้าง (Cross Over Movement) เป็นการทํางานของสมองทงัL สองซกี โดยถ่ายโยงขอ้ มูลกนั ได้ ถ้าใหเ้ ดก็ ทําท่าเหล่านLีบ่อยๆ จะทําให้ ทราบวา่ เดก็ มปี ัญหาในดา้ นประสานการทาํ งานของตา มอื และเทา้ หรอื ไม่ ๑.๑ ยกขาขวางอใหต้ งัL ฉากกบั พนLื พรอ้ มกบั ย@นื แขนทงัL สองออกไปดา้ นหน้า คว@ํามอื ลงขนานกบั พนLื แกว่งแขนทงัL สองไปดา้ นขา้ งลําตวั ตรงขา้ มกบั ขาทย@ี กขนLึ แกว่งแขนทงัL สองกลบั มาอยู่ทด@ี า้ นหน้า พรอ้ มกบั วางเทา้ ขวาไวท้ เ@ี ดมิ แลว้ เอามอื ลง เปลย@ี นขา ๑.๒ กา้ วเทา้ ขวาวางหน้าเทา้ ซา้ ย พรอ้ มกบั ย@นื แขนทงัL สองขา้ งออกไปดา้ นหน้า มอื คว@าํ ลงขนานกบั พนLื แกวง่ แขนทงัL สองไปดา้ นขา้ งลาํ ตวั ตรงขา้ มกบั ขาทก@ี า้ วออกไป แกวง่ แขนทงัL สองขา้ งกลบั มาอยดู่ า้ นหน้า พรอ้ มกบั ชกั เทา้ ขวาวางทเ@ี ดมิ แลว้ เอามอื ลง สลบั เทา้ ทาํ ซLาํ อกี ครงัL ๑.๓ ยกขาขวางอไปดา้ นหลงั พรอ้ มกบั ย@นื แขนทงัL สองออกไปดา้ นหน้า มอื คว@าํ ลง แกว่งแขนทงัL สอง ไปดา้ นขา้ งลาํ ตวั ตรงขา้ มกบั ขาทย@ี กขนLึ ใหม้ อื ซา้ ยแตะสน้ เทา้ ขวา แกวง่ แขนทงัL สองกลบั มาอยดู่ า้ นหน้า พรอ้ ม กบั วางเทา้ ขวาไวท้ เ@ี ดมิ แลว้ เอามอื ลง แลว้ เปลย@ี นขาทาํ ซLาํ อกี ครงัL ๑.๔ วง@ิ เหยาะๆ อยกู่ บั ทช@ี า้ ๆ ๑.๕ นัง@ ชนั เขา่ มอื สองขา้ งประสานกนั ทท@ี า้ ยทอย เอยี งขอ้ ศอกซา้ ยแตะทห@ี วั เขา่ ขวา ยกขอ้ ศอกซา้ ย กลบั ไปทเ@ี ดมิ เปลย@ี นเป็นเอยี งขอ้ ศอกขวา ๑.๖ กาํ มอื ซา้ ยขวาไขวก้ นั ระดบั หน้าอก กางแขนทงัL สองขา้ งออกหา่ งกนั เป็นวงกลมแลว้ เอามอื กลบั มา ไขวก้ นั เหมอื นเดมิ ๑.๗ กาํ มอื สองขา้ ง ยน@ื แขนตรงไปขา้ งหน้า ใหแ้ ขนคกู่ นั เคล@อื นแขนทงัL สองขา้ งพรอ้ มๆๆกกนั นั หมนุ เปปน็ น วงกลมสองวงตอ่ กนั คลา้ ยเลข ๘ ในแนวนอน

10 ๑.๘ ย@นื แขนขวาออกไปขา้ งหน้า กํามอื ชนู Lิวโป่งขนLึ ตามองทน@ี Lิวโป่ง ศรี ษะตรงและน@ิง หมุนแขนเป็น วงกลม ๒ วงต่อกนั คลา้ ยเลข ๘ ในแนวนอน ขณะหมุนแขนตามองทน@ี Lิวโป้งตลอดเวลา แลว้ เปลย@ี นแขนทาํ ซLาํ อกี ครงัL กล่มุ ท่าท?ี ๒ การยืดส่วนต่างๆ ของร่างกาย (Lengthening Movement) เป็นการชว่ ยผอ่ นคลายความตงึ เครยี ดของสมองสว่ นหน้า และสว่ นหลงั ทาํ ใหม้ สี มาธใิ นการเรยี นรู้ และ การทาํ งานมากขนLึ ๒.๑ ยนื หนั หน้าเขา้ ผนัง เวน้ ระยะห่างเลก็ น้อย ยกมอื สองขา้ งดนั ฝาผนัง งอขาขวา ขาซา้ ยยดื ตรงยก สน้ เทา้ ขนLึ เอนตวั ไปขา้ งหน้า เลก็ น้อย พรอ้ มกบั หายใจเขา้ ชา้ ๆ ลกึ ๆ วางสน้ เทา้ ลง ตวั ตรงหายใจออกชา้ ๆ งอขาซา้ ย ทาํ เหมอื นขาขวา ๒.๒ ยนื ไขวข้ าทงัL สองขา้ ง ยนื ทรงตวั ใหด้ ี หายใจเขา้ ชา้ ๆ ลกึ ๆ กม้ ตวั ลงไขวแ้ ขน หายใจออกชา้ ๆ ยดื ตวั ขนLึ แลว้ เปลย@ี นขาทาํ ซLาํ อกี ครงัL ๒.๓ นงั@ ไขวห่ า้ ง กระดกปลายเทา้ ขนLึ -ลง พรอ้ มกบั นวดขาชว่ งหวั เขา่ ถงึ ขอ้ เทา้ เปลย@ี นขาทาํ ซLาํ อกี ครงัL ๒.๔ มอื ขวาจบั ไหลซ่ า้ ย พรอ้ มกบั หายใจเขา้ ชา้ ๆ ตามองมอื ขวา ดงึ หวั ไหลเขา้ หาตวั พรอ้ มกบั หนั หน้า ไปทางขวา ทาํ เสยี ง “อ”ู ยาวๆ เปลย@ี นมอื ทาํ ซLาํ อกี ครงัL ๒.๕ ใชม้ อื ทงัL สองขา้ งทําท่ารดู ซปิ ขนLึ (สุดแขนดา้ นล่าง แลว้ ยกขนLึ เหนือศรี ษะ) หายใจเขา้ ชา้ ๆ ทําท่า รดู ซปิ ลง หายใจออกขา้ ๆ

11 กล่มุ ท่าที? ๓ การเคล?ือนไหวเพ?ือกระต้นุ (Energizing Movement) เป็นการกระตุน้ การทาํ งานของกระแสประสาท ทาํ ใหเ้ กดิ การกระตุน้ ความรสู้ กึ ทางอารมณ์ และเกดิ แรงจงู ใจ ในการชว่ ยใหเ้ รยี นรไู้ ดด้ ขี นLึ ๓.๑ ใชน้ LิวชนLี วดขมบั เบาๆ ทงัL สองขา้ งวนเป็นวงกลม ๓.๒ กดจดุ ตาํ แหน่งต่างๆ ในรา่ งกายทจ@ี ะกระตุน้ การทาํ งานของสมอง - ใชน้ Lิวโป้งกบั นLิวชวLี างบรเิ วณกระดกู คอ ลบู เบาๆ อกี มอื วางทต@ี ําแหน่งสะดอื กวาดตามองจากซา้ ยไป ขวา และจากพนLื ขนLึ เพดาน เปลย@ี นมอื ทาํ เชน่ เดยี วกนั - ใชน้ LิวชLแี ละนLิวกลางแตะเหนือรมิ ฝีปาก อกี มอื วางทต@ี ําแหน่งกระดูกก้นกบ กวาดตามองจากพนLื ขนLึ เพดาน หายใจเขา้ -ออกชา้ ๆ ลกึ ๆ เปลย@ี นมอื ทาํ เชน่ เดยี วกนั - ใชม้ อื นวดกระดกู หลงั ใบหเู บาๆ อกี มอื วางทต@ี ําแหน่งสะดอื ตามองตรงไปขา้ งหน้าไกลๆ จนิ ตนาการ วาดรปู วงกลมดว้ ยจมกู เปลย@ี นมอื ทาํ เชน่ เดยี วกนั - ใชน้ LิวชแLี ละนLิวกลางวางทใ@ี ต้คาง อกี มอื อยู่ทต@ี ําแหน่งสะดอื หายใจเขา้ -ออก ชา้ ๆ ลกึ ๆ สายตามอง จากไกลเขา้ มาใกล้ เปลย@ี นมอื ทาํ เชน่ เดยี วกนั ๓.๓ นวดใบหดู า้ นนอกเบาๆ ทงัL สองขา้ ง แลว้ ใชม้ อื ปิดหเู บาๆ ทาํ ชา้ ๆ หลายๆครงัL ๓.๔ ใชม้ อื ทงัL สองเคาะทต@ี าํ แหน่งกระดกู หน้าอก โดยสลบั มอื กนั เคาะ แต่ตอ้ งเคาะเบาๆ

12 กล่มุ ท่าท?ี ๔ ท่าบริหารร่างกายง่ายๆ (Useful) เป็นการชว่ ยเพมิ@ ประสทิ ธภิ าพในดา้ นต่างๆ ของสมอง เชน่ การจดจาํ การมองเหน็ การไดย้ นิ และชว่ ย ลดความเครยี ดลงได้ ๔.๑ นัง@ บนเก้าอLี ยกเทา้ ขวาขนLึ พาดบนขาซ้าย มอื กุมฝ่ าเทา้ ขวา หายใจเขา้ ออกชา้ ๆ ลกึ ๆ ๑ นาที แลว้ วางเทา้ ลงบนพนLื เหมอื นเดมิ ใหเ้ ทา้ ทงัL สองขา้ งแตะพนLื กํามอื เขา้ ดว้ ยกนั แลว้ ใชป้ ลายลLนิ กดทฐ@ี านฟัน ลา่ งประมาณ ๑ นาที จะเป็นทา่ ทมี ปี ระสทิ ธภิ าพสงู มาก ชว่ ยลด ความเครยี ด ความอดึ อดั และความคบั ขอ้ งใจ เปลย@ี นขาทาํ ซLาํ อกี ครงัL ๔.๒ กาํ มอื ทงัL สองขา้ ง ยกขนLึ ไขวก้ นั ระดบั ตา ตามองมอื ทอ@ี ยดู่ า้ นนอก ๔.๓ วางมอื ซอ้ นกนั ทด@ี า้ นหน้า หายใจเขา้ ชา้ ๆ ลกึ ๆ ยกแขนขนLึ เหนือศรี ษะ คว@าํ มอื ลง หายใจออกชา้ ๆ แลว้ วาดมอื ออกเป็นวงกลม แลว้ วางมอื ไวท้ เ@ี ดมิ ๔.๔ ใชม้ อื ทงัL สองปิดตาทล@ี มื อยู่เบาๆ ใหส้ นิท จนมองเหน็ เป็นสดี ํามดื สนิทสกั พกั แลว้ ค่อยๆ เอามอื ออก เรม@ิ ปิดตาใหม่ ๔.๕ ใชน้ Lิวมอื ทงัL สองขา้ งเคาะเบาๆ ทวั@ ศรี ษะ จากกลางศรี ษะออกมา ดา้ นขวาและซา้ ยพรอ้ มๆ กนั นอกจากการบรหิ ารสมองแลว้ ยงั มเี ทคนิคง่ายๆ จาก สสส. ทอ@ี ยากใหท้ ุกคนมสี ุขภาพทด@ี ี และส่งเสรมิ ใหม้ ี กิจกรรมทางกายมากขLนึ โดยได้แนะนําว่า แกว่งแขนวนั ละประมาณ ๓๐ นาที ต่อวนั หรอื เดนิ เร็วอย่าง น้อย ๑๐ นาทตี ่อวนั เพ@อื เล@ยี งการเกิดโรคไม่ติดต่อเรLอื รงั (NCDs) และอ้วนลงพุงได้ จะเห็นว่า สมองมี ความสําคญั กบั ร่างกายเราจรงิ ๆ ถ้าเราบรหิ ารสมองควบคู่กบั การออกกําลงั กายเป็นประจํา เรากจ็ ะช่วยให้ สามารถทาํ ทกุ อยา่ งในแต่ละวนั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพมากขนLึ

13 ใบความรทู้ ?ี ๒ เรอื? ง ระบบประสาท หน่วยการเรียนร้ทู ?ี ๑ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี? ๑ เรือ? ง ระบบประสาท รายวิชา สขุ ศึกษา ชนัL มธั ยมศึกษาปี ท?ี ๑ ……………………………………………………. ระบบประสาท ระบบประสาทเกย@ี วขอ้ งกบั การควบคมุ และประสานงานของการทาํ งานของสว่ นต่างๆ ของรา่ งกาย เพอ@ื จดั เตรยี มรา่ งกายใหม้ ปี ฏกิ ริ ยิ าต่อสง@ิ แวดลอ้ มภายนอก ในขณะเดยี วกนั กค็ วบคมุ อวยั วะตา่ งๆ ภายในให้ เขา้ กบั สงิ@ แวดลอ้ มภายใน ซง@ึ จาํ เป็นสาํ หรบั การยงั มชี วี ติ อยู่ คนเราเหนือกวา่ สตั วต์ ่างๆ กโ็ ดยทร@ี ะบบประสาท โดยเฉพาะสมองเจรญิ ดกี วา่ สตั วท์ งัL ปวง ระบบประสาท แบง่ ออกไดเ้ ป็น ๑. ระบบประสาทกลาง (central nervous system) ไดแ้ ก่ สมอง และไขสนั หลงั (spinal cord) ซง@ึ เป็น ศนู ยก์ ลางควบคมุ และประสานงานของการทาํ งานของรา่ งกายทงัL หมด ๒. ระบบประสาทนอก (peripheral nervous system) ซง@ึ ยงั แบง่ ตอ่ ไปอกี เป็น ๒.๑ เสน้ ประสาทสมอง ม๑ี ๒ คู่ ออกจากสมองผา่ นรตู ่าง ๆ ของกะโหลกศรี ษะ สว่ นใหญ่กระจาย ไปบรเิ วณศรี ษะ ๒.๒ เสน้ ประสาทไขสนั หลงั มี ๓๑ คู่ ออกจากไขสนั หลงั เป็นชว่ ง ๆ ผา่ นรรู ะหวา่ งกระดกู สนั หลงั ไปสรู่ า่ งกายและแขนขา ๒.๓ ประสาทระบบอตั โนมตั ิ ควบคมุ การทาํ งานของอวยั วะทอ@ี ยนู่ อก อาํ นาจจติ ใจและโดยไม่ รสู้ กึ ตวั เชน่ การเตน้ ของหวั ใจ การเคลอ@ื นไหว ของอวยั วะภายใน ผนงั ของหลอดเลอื ดและต่อมตา่ ง ๆ ระบบ อตั โนมตั ยิ ังแบย่งงั ตแ่อบไง่ปตอีก่อไคปืออกี คอื ๒.๓.๑ ระบบซมิ พาเธตคิ (sympatthetic) มเี ซลลก์ าํ เนิดอยใู่ นไขสนั หลงั ๒.๓.๒ ระบบพาราซมิ พาเธตคิ (parasympathetic) มเี ซลลก์ าํ เนิดอยใู่ นสมองเป็นสว่ นใหญ่ ระบบประสาทกลาง ๑. สมอง เป็นสว่ นของระบบประสาททเ@ี จรญิ อยใู่ นโพรงกะโหลกศรี ษะ มสี ว่ นทเ@ี จรญิ อยใู่ นโพรงกะโหลกศรี ษะ มสี ว่ นทเ@ี จรญิ เตบิ โตมากอยู่ ๓ แหง่ ตดิ ต่อซง@ึ กนั และกนั คอื สมองสว่ นหลงั สมองสว่ นกลาง และสมองสว่ น หน้า สมองสว่ นหลงั ประกอบดว้ ย สมองน้อย (cerebellum) พอนส์ (pons) และเมดลู ลาออบลองกาตา (medulla oblongata) ซง@ึ ตดิ ตอ่ กบั ไขสนั หลงั สมองสว่ นหน้า ประกอบดว้ ย ซรี บี รมั (cerebrum) เป็นสว่ นใหญ่โตทส@ี ดุ ของสมอง สมองสว่ นกลาง เป็นสว่ นแคบระหวา่ งสมองสว่ นหน้า และสมองสว่ นหลงั สมองมเี ยอ@ื หมุ้ ๓ ชนัL คอื ชนัL นอกสดุ เรยี กวา่ เยอ@ื ดรู า (dula mater) หนาและเหนียว อยชู่ ดิ กบั ดา้ นในของกะโหลกศรี ษะ ในทบ@ี างแหง่ เยอ@ื ดรู ายน@ื แทรกเขา้ ไปในรอยแยกของสมอง เพอ@ื พยงุ และป้องกนั การกระทบกระเทอื นต่อสมอง ชนัL กลาง เรยี กวา่ เยอ@ื อะแรค็ นอยด์ (arachnoid mater) เป็นชนัL บาง อยแู่ นบชดิ กบั ดา้ นในของเยอ@ื ดรู า

14 ชนัL ใชนนัL ใเนรยี เกรวยี า่กวเยา่ อ@ื เเยปอ@ื ียเป(ียpia(pmiaamtear)teเrป)็นเปช็นัL ชบนัLาบงๆางอๆยอู่ แยนู่ แบนสบนสิทนกิทบั กผบั วิ ผขวิอขงสอมงสอมงอแงตแ่แตย่แกยหกา่ หงจา่ งาจกาก เยอ@ื เอยะอ@ื แอระค็ แนรอค็ ยนดอจ์ยงึดเจ์ปงึ็นเปช็นอ่ งชวอ่ า่ งงวขา่ นLึงขเนLึรยี เกรยวี า่กวชา่ อ่ ชงใอ่ ตงอ้ใตะแอ้ ระค็แนรค็อนยอดย์ (ดsu์ (bsaurbaacrhancohindosidpascpea)ceซ)ง@ึ ซจะง@ึ มจะนี มLํานีอLํายอู่ ยู่ เรยี เกรวยี า่กวนา่ LําหนลLําอ่หสลมอ่ อสงมอแงละแไลขะสไนขั สหนัลหงั ล(cงั e(rceebrreob-srop-isnpailnfalul ifdlu)id) ๒. ๒ไข.สไขนั สหนัลหงั ลงั อย่ภูอยาย่ภู ใานยชใน่องชส่อนังสหนัลหงั ลมงั ขี มนขีาดนเาลดก็ เลกก็ว่ากนวLิว่านมLิวอื มยอืาวยปาวรปะมราะมณาณ๔๕๔เ๕ซนเซตนเิ มตตเิ มรตทราทรการในกใคนรครภรร์ ภไข์ ไสขนั สหนั ลหงั ลงั ยาวยไาปวถไปงึ กถน้ งึ กนบ้ กแบต่ใแนตก่ในารกเาจรเญิ จรเตญิ บิ เตโตบิ ตโต่อตม่อากมราะกดรกูะดสกูนั สหนัลหงั เลจงั รเญิจรเญริ ว็ เกรว็ กา่ แวลา่ แะมละามกากกวกา่ ไวขา่ สไขนั สหนั ลหงั ลไงั ขไสขนั สหนั ลหงั ลจงัึ จงึ เล@อื เนลข@อื นLึ บขนLึ บกนระกทรงัะ@ ไทปงั@ อไปยทู่อยร@ี ะทู่ ดร@ี บัะดกบัระกดรกูะดสกูนั สหนัลหงั สลว่งั นสว่เอนวเอนวั อทนั @ี ๓ท@ี ใ๓นเใดนก็เดเก็ ดิเกใหดิ มให่ แมล่ แะไลปะไอปยอทู่ ยร@ี ่ทูะดร@ี ะบั ดสบั ว่ สนว่ บนนบขนอขงอง กระกดรกู ะสดนักู หสนลั งหั สลว่ งั นสเว่ อนวเอนัวทอนั@ี ๒ท@ีใ๒นผในใู้ หผญใู้ ห่ ปญล่ ปายลลาา่ยงลขา่ องขงไอขงสไขนั สหนัลหงั มลเงีั สมน้ เี สเปน้ ็นเปเง็นาเงแาขแง็ แขรง็ งแรตง่อตล่องไลปงไตปดิ ตทดิ ด@ี ทา้ ด@ีนา้หนลหงั ลงั ของขกอรงะกดรกู ะกดน้กู กบน้ กบ ไขสไนัขหสนลั งหั มลเีงัสมน้ เี ปสน้ระปสราะทสสาทนั สหนัลหงั อลองั กออไปกไ๓ป๑๓ค๑ผู่ คา่ นผู่ รา่ รนู ะรหรู ะวหา่ งวกา่ รงะกดรกูะดสกูนั สหนั ลหงั ลงั ไขสไนัขหสนัลหงั มลเีงั ยม@อื เี หย@อืุม้ ห๓ุม้ ช๓Lนิ ชเนLิช่นเชเด่นยี เดวกยี วบั กสบัมสอมงอแงตแ่ชตนัL ่ชนนัLอนกอสกุดสไุมดไ่ตมดิ ่ตกดิ บั กกบั รกะดระูกดสูกนั สหนั ลหงั ลชงั นัL ชกนัL ลกาลงาแงยแกยก จแายกกจชจานักาL กใชนชนัL ั้นใแนใลนะแมแลนีละLํมาะหมนี นีลLําอ่ห้�ำหไลขลอ่ สอ่ไนขัไขสหสนัลนัหงั บหลรลงั รบังจบรอุ รยจรู่อุจุอยยู่ ู่ ระบรบะบปบระปสราะทสนาทอนกอก ๑. ๑ป.ระปสราะทสสาทมสอมงอง มี ๑ม๒ี ๑ค๒ู่ เคลยLู่ี เงลบยLี รงเิบวรณเิ วศณรี ษศะรี แษละะแคลอะคเปอ็นเปส็นว่ นสว่ใหนญให่ ญยก่ ยเวกน้ เวคน้ทู่ ค@ี ๑ทู่ ๐@ี ๑ไ๐ปไเลปยLีเลงยอLี วงอยั วยัะภวะาภยาในยใชนอ่ ชงอ่ งกอแกลแะละ ชอ่ งชทอ่ อ้งงทอ้ ง ค่ทู ค@ี ๑่ทู @ีป๑ระปสราะทสโาอทลโแอพลแคพตคอตรีอ(oรlี f(aoclftaocrytonryernveer)veเป)็นเปป็นรปะสราะทสารทบั รคบั วคามวารมสู้ รกึ สู้จกึากจาเยก@อืเยเม@อื อืเมกอื ขกอขงอจงมจกู มมกู ี มี หน้หาทนร@ี้าบัทกร@ี ลบั น@ิกลน@ิ คู่ทค@ี ๒ู่ท@ี ป๒ระปสราะทสาอทออพอตพิกต(ิกop(toicptnicernveer)vเeป)็นเปป็นรปะสระาสทารทบั รคบั วคามวารมู้สรกึ ู้สจกึ าจกาเรกตเรินตาิน(าre(trineatin) aข)อขงอตงาตมาี มี หนห้าทน@ี้ารทบั @ีครวบั าคมวราสู้มกึ รเสู้ กกึ ย@ี เวกกย@ี บัวกแบสั งแสสแีงลสะแี ภลาะพภาพ คู่ทค@ี ๓ู่ท@ี ป๓รปะสราะทสาอทออคอคคูโลคมูโลอมเตออเตร์อ(oรc์(couclcoumloomtoortonrernveer)veเป) ็เนปป็ นรปะรสะาสทายทนยตน์ ตเล์ LียเลงLียกงลก้าลม้าเมนเLือนทLือ@ี ท@ี เคลเ@อืคนล@ไอื หนวไลหูกวตลูกาตแาละแกลละา้กมลเา้ นมLือเนดLืองึ หดนงึ หังตนาังบตานบขนLึ ข(นLึ ลมื (ลตมืาต) าม) หี มนหี ้านท้าท@ี ทําท@ีใหําใล้ หูกล้ตูกาตเคาลเค@อื ลน@อื ไนหไวหอวยอ่ายงส่างมั สพมั นั พธนั ์กธนั ์กนั นอกนจอากกจนากันL นปันLระปสราะทสสาทมสอมงคอู่ทงค@ี ๓ู่ท@ี ย๓งั นยํางั ปนํราะปสราะทสาพทวพกวพกาพราซรามิ ซพมิ าพเธาตเธคิ ตคิ ซ@งึ ซม@งึหี มนหี ้านท้าเ@ี กท@ยีเกวย@ีกวบั กกบั ากรมารอมงอเหงเน็ หชน็ ดั ชดั และแคลวะบคควมุบขคนมุ าขดนขาอดงขรอมู งา่รนมู ตา่ นาใตหาเ้ใหหมเ้ หาะมสามะสกมบั กแบัสงแสวงา่สงวอา่ กีงอดกีว้ ดยว้ ย คทู่ ค@ี ๔ทู่ @ีป๔ระปสราะทสทาทรอทเรคอลเยคี รล์ยี (tรr์o(ctrholcehalreanrernveer)veเป)็นเปป็นรปะสราะทสายทนยตน์ เตล์ยLี เลงกยLี งลกา้ มลา้เนมLือเนเคLือลเค@อื ลน@อื ไนหไวหลวกู ลตกู าต๑า๑ มดั มดั คู่ทค@ี ๕ู่ท@ี ป๕ระปสราะทสาไทรไทเจรมเจนิ มัลนิ (ัลtrig(terimgeinmailnvael rvveer)veเป) ็นเปป็นรปะสระาสทาทท@ีมทที @ีมงัL ที ปงัLรปะสระาสทายทนยตน์ แตล์ แะลปะรปะรสะาสทาท รบั ครวบั าคมวราสู้ มกึ รสู้ สกึ ว่ นสทว่ นเ@ี ปท็นเ@ี ป็นระปสราะทสยาทนยตนจ์ ะตไจ์ ปะเไลปยLี เงลกยLี ลงกา้ มลเา้ นมLือเนทLือเ@ี คทลเ@ี คอ@ื ลนอ@ืไหนไวหกวระกดรกะู ดขกูากขารกรไรกรรไกลา่รงลเา่ กงย@ีเกวย@ีกวบั กกบั ากรเาครยLีเควยLี ว กลา้กมลเา้ นมLือเทนLือเ@ี คทลเ@ี @อืคนล@อไื หนวไหเพวดเพานดอาน่อนอ่อแนละแกลละกา้ มลเา้ นมLือเนทLือท@ี ทําท@ีใหําเ้ใยห@อื เ้ ยห@อืูตหงึ ูตขนงLึ ขเนLึ พ@อเื พก@อืากรฟารังฟชังดั ชสดั ่วสน่วทนเ@ี ปท็นเ@ี ปป็นรปะสระาสทารทบั รบั ควาคมวราสู้ มกึ รสู้ จกึ ะรจบั ะครบวั าคมวราสู้มกึรจสู้ ากึ กจผากวิ หผนวิ หงั ขนองั งขหอนงห้าหนน้าหงั ศนรีงั ษศระี ษสะว่ นสว่คนรง@คึ หรงน@ึ ห้านเ้ายอ@ืเยบอ@ืุขบอุขงปองาปกาเกหงเหอื กงอื แกลแะละนLิ ลนLิ คู่ทค@ี ๖ู่ท@ีป๖ระปสราะทสแาทอบแอดบูเซดนูเซตน์ (ตa์b(daubcdeunctenet rnveer)veเป)็นเปป็นรปะสราะสทายทนยตน์ เตล์ LยีเลงLยีกงลก้าลม้าเนมLือเนเคLือลเค@อื ลน@อื ไนหไวหลวูกลตูกาตา อกี มอดกัี หมนดั ห@ึง น@ึง

15 ค่ทู @ี ๗ ประสาทแฟเซยี ล (facial nerve) เป็นประสาทยนตเ์ ลยLี ง กลา้ มเนLือของใบหน้า เพ@อื บ่งบอกถงึ อารมณ์ต่างๆ นอกจากนLี ยงั นําประสาทพาราซมิ าพาเธตคิ ไปเลยLี งต่อมของชอ่ งจมกู เพดาน ต่อมนLําตา และ ต่อมนLําลายใตค้ าง และใตล้ นLิ และยงั รบั รสจากลนLิ สว่ นหน้า ๒ ใน ๓ สว่ น คู่ท@ี ๘ ประสาทเวสตบิ ูโล-โคเคลยี ร์ (vestibulo-coclear nerve) เป็นประสาทรบั ความรู้สกึ เก@ียวกบั การไดย้ นิ และการทรงตวั คู่ท@ี ๙ ประสาทกลอสโซ-ฟารงี เจยี ล (glosso-pharyngeal nerve) มที งัL ประสาทยนต์ และประสาทรบั ความรสู้ กึ ประสาทยนตไ์ ปควบคุมกลา้ มเนLือของคอหอย ประสาทรบั ความรสู้ กึ รบั ความรสู้ กึ จากคอหอยสว่ น หลงั ของลนLิ ชอ่ งหสู ว่ นกลาง นอกจากนLียงั นําประสาทพาราซมิ พาเธตดิ ไปเลยLี งต่อมนLําลายพาโรตดิ และยงั รบั รสจากสว่ นหลงั ของลนLิ ดว้ ย คู่ท@ี ๑๐ ประสาทเวกสั (vagus nerve) ส่วนใหญ่เป็นประสาทพาราซมิ พาเธตคิ มปี ระสาทยนต์เลLยี ง กลา้ มเนLือเรยี บของหลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลําไส้ จนถงึ ส่วนทอดขวางของลําไสใ้ หญ่ ตบั อ่อน หวั ใจ ปอด รวมทงัL ต่อมต่างๆ ของทางเดนิ ลาํ ไสใ้ หญ่ดว้ ย และมปี ระสาทรบั ความรสู้ กึ รบั ความรสู้ กึ จากอวยั วะต่างๆ เหลา่ นLีดว้ ย คทู่ @ี ๑๑ ประสาทแอคเซสเซอรี (accessory nerve) มปี ระสาทยนตไ์ ปเลยLี งกลา้ มเนLือทเ@ี คล@อื นไหวและ ไหล่ กลา้ มเนLือยกเพดานออ่ น กลา้ มเนLือเกย@ี วกบั การกลนื กลา้ มเนLือควบคมุ การหายใจ และการเปลง่ เสยี ง คู่ท@ี ๑๒ ประสาทไฮโปกลอสซัล (hypoglossal nerve) ไปเลLียงกล้ามเนLือของลLิน ทําให้เกิดการ เคลอ@ื นไหว ประสาทไขสนั หลงั มี ๓๑ คู่ แบง่ เป็น ประสาทสมอง สว่ นคอ ๘ คู่ สว่ นนอก ๑๒ คู่ สว่ นเอว ๕ คู่ สว่ น กน้ ๕ คู่ และส่วนกน้ กบ ๑ คู่ แต่ละเสน้ ประกอบดว้ ยประสาทยนต์ และประสาทรบั ความรสู้ กึ ไปส่กู ลา้ มเนLือ และผวิ หนงั สว่ นคอ แขน สว่ นอก สว่ นเอว สว่ นกน้ และขาตามลาํ ดบั ประสาทระบบอตั โนมตั ิ ประสาทซมิ พาเธตคิ มเี ซลลก์ าํ เนิดอยใู่ นไขสนั หลงั ระดบั สว่ นอกทงัL หมด และสว่ นเอวชว่ งบน และเสน้ ใยประสาทฝากไปกบั ประสาทไขสนั หลงั ประสาทพาราซมิ พาเธตคิ มเี ซลลก์ ําเนิดอยใู่ นไขสมอง แลว้ สง่ เสน้ ใยประสาทฝากไปกบั เสน้ ประสาท สมองคู่ท@ี ๓ คู่ท@ี ๗ คู่ท@ี ๙ และคู่ท@ี ๑๐ ดงั กล่าวมาแลว้ นอกจากนLียงั มเี ซลลก์ ําเนิดอยู่ในไขสนั หลงั ส่วนล่าง ดว้ ย ทงัL ประสาทซมิ พาเธตคิ และพาราซมิ พาเธตคิ กระจายไปเลยLี งอวยั วะเดยี วกนั เป็นส่วนใหญ่ ยกเวน้ ต่อมเหง@อื ต่อมไขมนั และหลอดเลอื ด ผวิ หนังของแขนและขา มแี ต่ซมิ พาเธตคิ อย่างเดยี ว เช่น ซมิ พาเธตคิ ไปเลLียงหวั ใจ ทําให้หวั ใจเต้นเร็วขLนึ แต่พาราเธติคทําให้หวั ใจเต้นช้าลง ซิมพาเธติคทําให้ลําไส้มีการ เคล@อื นไหวชา้ ลง แต่พาราซมิ พาเธตคิ ทําใหล้ ําไสเ้ คล@อื นไหวเรว็ ขนLึ ซมิ พาเธตคิ ทําใหร้ ูม่านตากวา้ งขนLึ แต่ พาราซมิ พาเธตคิ ทาํ ใหร้ มู า่ นตาเลก็ ลง

16 ส่วนประกอบของระบบประสาท สมอง - ควบคมุ การทาํ งานของสว่ นต่างๆในรา่ งกาย - รกั ษาดลุ ยภาพและการทรงตวั ของรา่ งกาย - เกย@ี วกบั พฤตกิ รรมทเ@ี กดิ จากการเรยี นรู้ เชน่ ความจาํ การตดั สนิ ใจ ไขสนั หลงั - เป็นศนู ยก์ ลางการปฏบิ ตั งิ านทเ@ี กดิ ขนLึ ทนั ทที นั ใด - เป็นทางผา่ นของกระแสความรสู้ กึ ไปยงั สมอง เซลลป์ ระสาท - นํากระแสความรสู้ กึ เขา้ สสู่ มอง และนําคาํ สงั@ จากสมองไปยงั สว่ นต่างๆของรา่ งกาย เสน้ ประสาทสมอง -รบั กระแสความรสู้ กึ เขา้ สสู่ มอง และนําคาํ สงั@ จากสมองไปยงั สว่ นตา่ งๆของรา่ งกาย เสน้ ประสาทไขสนั หลงั -รบั กระแสความรสู้ กึ เขา้ สไู่ ขสนั หลงั และนําคาํ สงั@ จากไขสนั หลงั ไปยงั สว่ น ต่างๆ ของรา่ งกาย การดแู ลระบบประสาท ๑. หลกี เลย@ี งอาหารทเ@ี ป็นโทษ และทานอาหารทม@ี ปี ระโยชน์ อาหารทม@ี ไี ขมนั สงู และเคร@อื งด@มื แอลกอฮอล์ ลว้ นเป็นภยั รา้ ยต่อระบบประสาท เพราะไขมนั อาจ ไปอุดกนัL ผนงั หลอดเลอื ดสมอง ทาํ ใหเ้ ลอื ดไปเลยLี งสมองไมเ่ พยี งพอ และเสย@ี งต่อภาวะเสน้ เลอื ดในสมองแตก ส่วนแอลกอฮอล์และสารพษิ อ@นื ๆ ก็อาจทําลายเสน้ ประสาทได้ ในขณะท@อี าหารท@ชี ่วยบํารุงระบบประสาท ไดแ้ ก่ ผกั ใบเขยี ว ขา้ วซอ้ มมอื และธญั พชื ซง@ึ อุดมดว้ ยวติ ามนิ บÜี ๒. พกั ผอ่ นใหเ้ พยี งพอ ความเครยี ดและการนอนไม่พอ จะทําใหร้ ะบบประสาทเราต@นื ตวั อย่ตู ลอดเวลา และอาจส่งผลให้ การหลงั@ สารส@อื ประสาทผดิ ปกติ ดงั นันL การหาเวลาพกั ผ่อนและผ่อนคลายความเครยี ดอย่างเหมาะสม จะ ชว่ ยป้องกนั ความผดิ ปกตขิ องระบบประสาทได้ ๓. ทะนุถนอมอวยั วะทเ@ี กย@ี วขอ้ ง การใชส้ ายตามากเกนิ ไป การกม้ ๆ เงยๆ และการยกของหนกั ลว้ นเป็นพฤตกิ รรมทท@ี าํ ลายอวยั วะ ในระบบประสาททงัL สนLิ รวมถงึ การไม่ระมดั ระวงั จนเกดิ อุบตั เิ หตุทก@ี ระทบกระเทอื นสมองและไขสนั หลงั ดว้ ย ดงั นนัL เราควรทะนุถนอมอวยั วะทเ@ี กย@ี วขอ้ งโดยการใชง้ านอยา่ งเหมาะสม ๔. หากมคี วามผดิ ปกติ ใหร้ บี ไปหาหมอ อาการทบ@ี ง่ บอกความผดิ ปกตขิ องระบบประสาท ไดแ้ ก่ วงิ เวยี น ปวดศรี ษะ คลน@ื ไส้ อาเจยี น ตา พรา่ การมองเหน็ หรอื การไดย้ นิ ลดลง ชาตามมอื และเทา้ ซง@ึ หากพบวา่ มอี าการเหลา่ นLีบอ่ ยๆ หรอื เป็นแลว้ ไม่ หาย ควรรบี พบแพทยเ์ พอ@ื หาสาเหตุโดยดว่ น ขอขอบคณุ ขอ้ มลู จาก : http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=8&chap=2&page=t8- 2- infodetail12.html https://sites.google.com/site/systembody302/nervous_system https://www.honestdocs.co/how-does-the-nervous-system-work

17 ใบงานที? ๑ เรอื? ง ระบบประสาท หน่วยการเรียนรทู้ ?ี ๑ แผนการจดั การเรียนรทู้ ?ี ๑ เรือ? ง ระบบประสาท รายวิชา สขุ ศึกษา ชนัL มธั ยมศึกษาปี ที? ๑ ............................................................ ชอ@ื – นามสกุล...............................................................................ชนัL ...............เลขท.@ี ............. คาํ ชีLแจง ใหน้ กั เรยี นสรปุ ความรู้ เรอ@ื ง ระบบประสาท หลงั จากไดศ้ กึ ษาใบความรทู้ @ี ๒ โดยการเขยี นใน รปู แบบต่างๆ ตามทน@ี กั เรยี นสนใจและถนดั

23 หน่วยกำรเรยี นรู้ที่ 1 พัฒนำกำรสมวัย แผนกำรจดั กำรเรียนร้ทู ่ี 2 เวลำ 1 ชวั่ โมง กลุม่ สำระกำรเรียนรู้ สุขศึกษำและพลศกึ ษำ เรอื่ ง กำรดแู ลระบบประสำท ชั้นมัธยมศกึ ษำปีที่ 1 ขอบเขตเนื้อหำ สอ่ื /แหลง่ เรียนรู้ กำรเจรญิ เติบโตและพฒั นำกำรของวัยรนุ่ มผี ลมำจำก รำยวิชำ สุขศึกษำ ๑. http://www.idoctorhouse.com/ กำรทำงำนเชื่อมโยงสมั พันธก์ ันของระบบประสำทและ กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ library/physio-neuro/ ระบบตอ่ มไร้ทอ่ จึงต้องรูว้ ิธกี ำร ดูแลรักษำเพอ่ื ให้ ขนั้ นำ 2. www.thaihealth.or.th ระบบประสำทและระบบต่อมไร้ทอ่ ทำงำนปกติ 3. ใบควำมร้ทู ี่ ๓ เรื่อง กำรทำงำนของ จดุ ประสงคก์ ำรเรยี นรู้ ๑. ทบทวนควำมรู้เดิม ระบบประสำท ๒. แจง้ จดุ ประสงคก์ ำรเรยี นรู้ใหน้ กั เรียนทรำบ ภำระงำน/ช้นิ งำน ดำ้ นควำมรู้ ขัน้ สอน 1. สังเกตพฤติกรรมกำรทำงำนกลุ่ม อธิบำยวธิ ดี ูแลระบบประสำทใหท้ ำงำนตำมปกติ 1. นักเรียนศึกษำองค์ประกอบและกำรดูแลของระบบประสำทจำก 2. ใบงำนที่ ๒ เร่ือง กำรดแู ลระบบประสำท ด้ำนทักษะและกระบวนกำร ใบควำมรู้ท่ี ๒ เรอื่ งกำรทำงำนของระบบประสำท จำกเวปไซต์ทเ่ี กย่ี วข้อง 3. สมุดจดบันทกึ ปฏบิ ตั ติ นในกำรดูแลระบบประสำทใหท้ ำงำน เช่นhttp://www.idoctorhouse.com/ library/physio-neuro/ ตำมปกติ และwww.thaihealth.or.th รวมทงั้ ส่ือกำรเรียนรู้ออนไลน์ต่ำงๆ ดำ้ นคณุ ลกั ษณะ 2. นกั เรียนทำใบงำนที่ ๒ เรื่อง กำรดูแลระบบประสำท โดยกำร ๑. แสดงพฤตกิ รรมกำรมีวินัย จำแนกองค์ประกอบของกำรดูแลของระบบประสำท ๒. แสดงพฤติกรรมใฝ่เรยี นรู้ 3. ครแู ละนักเรียนร่วมกันอภปิ รำยควำมสมั พนั ธ์ของระบบประสำท ๓. แสดงพฤตกิ รรมกำรมจี ติ สำธำรณะ ทีม่ ผี ลต่อสขุ ภำพ กำรเจริญเติบโต และพัฒนำกำรของวยั รุ่น ขนั้ สรุป 1. ครูและนกั เรยี นร่วมกนั สรุป จำกคำถำม “เรำจะมวี ธิ กี ำรดูแล รกั ษำระบบประสำทในอนำคตให้กบั ตนเองได้อยำ่ งไร” 2. องค์ควำมรูท้ ี่ได้เป็นแผนผังควำมคดิ /แผนภูมิ ๓. ครูเสนอแนะแนวทำงกำรปฏิบัติตนในกำรดูแลระบบประสำท ของนักเรียนเพิ่มเติม พร้อมทั้งให้นักเรียนเสนอแนะผู้อื่นให้ปฏบิ ัติอย่ำง ตอ่ เนอื่ งได้ดว้ ย 1823

19 การวดั และประเมินผล สิ2งท2ีต้องการวดั /ประเมิน วิธีการ เคร2ืองมอื ท2ีใช้ เกณฑ์ ๑. อธบิ ายวธิ กี ารดแู ลระบบ แบบตรวจผลงาน ระดบั พอใชข้ นQึ ไป ประสาทใหท้ าํ งานตามปกติ ตรวจใบงาน (มติ คิ ณุ ภาพแบบ การใหค้ ะแนน Rubric) ๒. ปฏบิ ตั ติ นในการดแู ล สงั เกตการนําเสนอ แบบสงั เกต (Rubric) ระดบั พอใชข้ นQึ ไป ระบบประสาท ๓. แสดงพฤตกิ รรมการมี สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกต (Rubric) ระดบั พอใชข้ นQึ ไป วนิ ยั ๔. แสดงพฤตกิ รรมใฝ่ สงั เกตพฤตกิ รรม มติ คิ ณุ ภาพการประเมนิ ระดบั พอใชข้ นQึ ไป เรยี นรู้ สงั เกตพฤตกิ รรม ชนQิ งาน (Rubric) ๕. แสดงพฤตกิ รรม การมจี ติ สาธารณะ แบบสงั เกต (Rubric) ระดบั พอใชข้ นQึ ไป

2250 25 บนั ทกึ ผลหลงั สอน ผลกำรเรยี นรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหำและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขอ้ เสนอแนะ/แนวทำงแกไ้ ข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ……………………………………………ผู้สอน (………………………………………….) วันท่ี…………เดอื น………………….พ.ศ………….. ควำมคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะของผบู้ ริหำรหรือผู้ที่ไดร้ บั มอบหมำย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื ……………………………………………ผู้ตรวจ (…………………………………………..) วนั ที่…………เดือน………………….พ.ศ…………..

2216 26 ใบควำมรู้ท่ี ๓ เรือ่ ง กำรทำงำนของระบบประสำท หนว่ ยกำรเรียนร้ทู ี่ ๑ แผนกำรจดั กำรเรยี นรทู้ ่ี ๒ เรือ่ ง กำรดแู ลระบบประสำท รำยวิชำ สุขศึกษำ ชัน้ มัธยมศกึ ษำปที ี่ ๑ กำรทำงำนของระบบประสำท กำรทำงำนของระบบประสำทของคนเรำนั้นเปน็ กำรทำงำนประสำนกันระหวำ่ งสมอง ไขสันหลงั และ เซลลป์ ระสำท กำรทำงำนของเซลล์ประสำท จำกกำรท่ีเซลล์ประสำทต้ังแต่สองตัวขึ้นไปมีกำรตดิ ต่อถงึ กันเป็นวงจนประสำท (neuronal circuit) ซึ่ง มีเครือข่ำย อยู่มำกมำยในร่ำงกำย ลักษณะกำรทำงำนอยู่ในรูปของกำรส่งสัญญำณประสำท หรือ กระแส ประสำท (nerve impulse) ไปตำมเซลล์ประสำท โดยมีสมองหรือไขสันหลังเป็นศูนย์ควบคุมกำรทำงำน กระแสประสำทเกิดจำกท่ีเซลล์ประสำทมีคุณสมบัติพิเศษ เพ่ือสำมำรถตอบสนองต่อส่ิงเร้ำได้ดี เมื่อสิ่งเร้ำมำ กระตุ้นจะทำให้เกิดควำมต่ำงศักย์ไฟฟ้ำที่เยื่อเซลล์เปล่ียนไปจำกเดิมจนกระท่ังถึงจุดที่เกิดกำรนำกระแส ประสำท กระแสประสำทสำมำรถส่งผ่ำนจำกเซลล์ประสำทหนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่งใด ปลำยแอกซอนของ เซลล์ประสำทมีกำรสร้ำงและหลั่งสำรส่ือประสำท (neurothansmitter) เพื่อช่วยสัง่ กระแสประสำททบี่ รเิ วณ จุดประสำน ส่วนเดนไดรต์จะทำหน้ำที่รับสัญญำณประสำทเข้ำมำโดยกำรตอบสนองต่อสำรส่ือประสำทท่ี บริเวณจุดประสำน หรือทำหน้ำท่ีเปล่ียนพลังงำนรูปต่ำงๆ ให้เป็นสัญญำณประสำท เดนไดรต์และตัวเซลล์ ประสำทจะรับสัญญำณประสำทและส่งสัญญำณประสำทออกไปตำมแอกซอน แอกซอนอำจไปประสำนกับ เซลลป์ ระสำทตัวอน่ื หรอื เซลล์เป้ำหมำยอ่ืนๆ ไดแ้ ก่ เซลล์กล้ำมเนื้อและตอ่ มตำ่ งๆ ตวั อยำ่ งกำรทำงำนของระบบประสำท สถานการณ์ ปลำยนวิ้ ถกู น้ำร้อนกำรทำงำนของระบบประสำท เปน็ ดงั นี้ 1. ควำมรอ้ นจะกระตุ้นหนว่ ยรบั ควำมร้อนใตผ้ วิ หนงั บริเวณปลำยน้ิว 2. กระแสควำมรสู้ ึกรอ้ นจะถูกส่งขน้ึ ไปตำมเซลล์ประสำทรับควำมรู้สกึ ผำ่ นไขสันหลงั ไปสู่ศนู ย์ประสำท รบั ควำมรู้สกึ ร้อนในสมอง 3. สมองรับร้วู ำ่ มคี วำมร้อนสัมผัสทปี่ ลำยน้วิ มือ 4. ศนู ย์ประสำทในสมองจะสงั่ กำรลงมำตำมเซลล์ประสำทสัง่ กำรผำ่ นไขสันหลัง ไปยังหนว่ ยปฏิบัติงำน คอื กล้ำมเนอ้ื ท่โี คนแขน 5. กล้ำมเน้อื รบั คำส่ังจะหดตัวทำให้แขนพับงอ ทำใหป้ ลำยนิว้ หลดุ จำกนำ้ รอ้ น ดงั นัน้ กำรทำงำนของระบบประสำทก็คอื กำรตอบสนองต่อส่ิงเร้ำหรอื สิง่ กระตุ้นจำกสถำนกำรณ์ ควำมร้อน คือ สิง่ เร้ำ กำรพบั ของแขนเพ่อื หนจี ำกน้ำรอ้ น คือ กำรตอบสนองตอ่ สง่ิ เร้ำ ที่มำ : http://www.thaigoodview.com/library/sema/sukhothai/lamphu_s/ bodysystem/sec066pp0044.h.htmtm : http://www.pharm.chula.ac.th/physiopharm/2554422__sesemm22/g/1g21/2N/SNWSOWROKR.HK.THMTM

2227 27 คำชแี้ จง ใบงำนที่ ๒ เร่ือง กำรดูแลระบบประสำท หนว่ ยกำรเรยี นรูท้ ี่ ๑ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ท่ี ๒ เรอื่ ง กำรดแู ลระบบประสำท รำยวิชำ สขุ ศกึ ษำ ชนั้ มัธยมศกึ ษำปีท่ี ๑ ………………………………………………………………. ชื่อ – นำมสกุล ....................................................................................ชัน้ ..........เลขท.่ี ....... ให้นักเรียนตอบคำถำมโดยกำรอธบิ ำยใหค้ รอบคลุมควำมรู้ ควำมเข้ำใจ และกำรนำไปใช้ ๑. ระบบประสำทมีควำมสำคญั อยำ่ งไรต่อสุขภำพ กำรเจริญเติบโต และพัฒนำกำรของวยั รนุ่ ” ๒. ให้นักเรยี นเสนอแนะแนวทำงปฏบิ ตั ิกำรดูแลรักษำระบบประสำท ของตนเอง มำอยำ่ งละเอียด และชดั เจน

28 แผนกำรจัดกำรเรยี นรทู้ ่ี 3 หน่วยกำรเรียนร้ทู ี่ 1 พัฒนำกำรสมวัย เร่ือง ระบบตอ่ มไร้ท่อ เวลำ 1 ช่วั โมง กลุม่ สำระกำรเรยี นรู้ สขุ ศึกษำและพลศกึ ษำ รำยวชิ ำ สุขศกึ ษำ ชั้นมธั ยมศึกษำปีท่ี 1 ขอบเขตเน้ือหำ กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ ส่ือ/แหลง่ เรียนรู้ กำรเจรญิ เตบิ โตและพัฒนำกำรของวยั รนุ่ มผี ลมำ ข้นั นำ 1. สื่อควำมร้เู กยี่ วกบั เร่ืองระบบต่อมไร้ท่อ จำกกำรทำงำนเชอ่ื มโยงสมั พันธก์ ันของระบบ 1. ทบทวนควำมรเู้ ดิม จำกสือ่ ออนไลน์ เชน่ ประสำทและระบบต่อมไรท้ ่อจงึ ตอ้ งรู้วิธีกำร ดูแล 2. แจง้ จดุ ประสงค์กำรเรยี นรู้ www.honestdocs.co/hormones/endocrine- รกั ษำเพ่อื ให้ระบบประสำทและระบบต่อมไร้ท่อ 3. ครูขออำสำสมัครนักเรียน ๑ คน อธิบำยควำมหมำยของ system ทำงำนปกติ ฮอร์โมนแลว้ ถำมนกั เรียนวำ่ ฮอร์โมนเกิดขน้ึ ได้อยำ่ งไร 2. แผนภำพแสดงที่ต้งั ของต่อมไร้ท่อ ข้ันสอน 3. www.youtube.com จดุ ประสงคก์ ำรเรียนรู้ ๑. ครอู ธบิ ำยเพ่ิมเติมตอ่ จำกนักเรยี นอำสำสมัครวำ่ ตอ่ มไร้ท่อจะขับ ภำระงำน/ช้นิ งำน ด้ำนควำมรู้ 1. ใบงำนที่ 3 เรือ่ ง โครงสรำ้ งและหนำ้ ท่ีของ อธบิ ำยควำมสำคญั ของระบบตอ่ มไรท้ ่อท่มี ีผลต่อ สำรคดั หลงั่ ซ่ึงเปน็ สำรเคมที เ่ี รียกว่ำฮอร์โมนออกมำ แลว้ ซมึ เข้ำสู่ระบบ ระบบตอ่ มไร้ท่อ กระแสเลือดไปยังอวยั วะภำยในร่ำงกำยเพื่อให้สำมำรถทำงำนไดต้ ำมปกติ ๒. สมดุ จดบนั ทึก สขุ ภำพและพัฒนำกำรของวัยรุ่น ด้ำนทักษะและกระบวนกำร ๒. ครูติดแผนภำพแสดงทต่ี งั้ ของต่อมไร้ทอ่ ภำยในร่ำงกำย ให้ สบบื อคก้นคควำวมามสสำค�ำคัญญั ขขอองตงต่อ่อมมไรไ้ทรท้อ่ อ่ทที่ม่มีผผีลลตต่อ่อ นักเรียนดแู ละอธบิ ำยประกอบเพอื่ ให้นักเรียนเกดิ ควำมเขำ้ ใจ กำรดำรงชีวิตประจำวนั ได้ ๓. นกั เรยี นแบ่งกลมุ่ กลุม่ ละ ๔ – ๖ คน ทำใบงำนท่ี 3 เรื่อง ดำ้ นคุณลักษณะ โครงสร้ำงและหนำ้ ที่ของระบบต่อมไร้ท่อ จำกกำรคน้ คว้ำหำคำตอบจำก ๑. แสดงพฤติกรรมกำรมีวนิ ยั สือ่ ออนไลน์ เช่น www.honestdocs.co/hormones/endocrine-system ๒. แสดงพฤตกิ รรมใฝเ่ รยี นรู้ ๓. แสดงพฤติกรรมกำรมจี ติ สำธำรณะ ๔. ครแู ละนักเรียนร่วมกันตรวจสอบควำมถูกตอ้ งและเสนอแนะ เพ่มิ เติมถงึ ควำมสำคัญของระบบตอ่ มไรท้ ่อท่ีมีผลต่อสุขภำพและ พฒั นำกำรของวยั รุ่น ข้ันสรปุ ๑. หลังจำกศกึ ษำโครงสรำ้ งและหนำ้ ทขี่ องระบบตอ่ มไร้ทอ่ แล้ว นักเรยี นตระหนักในควำมสำคัญของระบบต่อมไร้ท่อท่ีมีต่อผลต่อสุขภำพ และพัฒนำกำรของตวั นักเรยี นเองอย่ำงไรบำ้ ง เพรำะเหตุใด ๒. นกั เรยี นจะวำงแผนดูแลรกั ษำระบบต่อมไรท้ ่อในร่ำงกำย ตนเองอย่ำงไรบ้ำง ที่สำคญั ต้องปฏิบัตใิ หถ้ ูกต้องอย่ำงตอ่ เนื่องเพ่ือ พฒั นำกำรของตนเอง 2328

24 การวดั และประเมินผล วิธีการ เครอื2 งมือท2ีใช้ เกณฑ์ สิ2งท2ีต้องการวดั /ประเมิน ตรวจใบงาน แบบตรวจผลงาน ระดบั พอใชข้ นVึ ไป ๑. อธบิ ายถงึ ความสาํ คญั (มติ คิ ณุ ภาพแบบ ของโครงสรา้ งและหน้าท?ี การใหค้ ะแนน Rubric) ของระบบต่อมไรท้ อ่ ทม?ี ผี ล ต่อสขุ ภาพและพฒั นาการ ๒. สบื คน้ ขอ้ มลู ไดห้ ลายวธิ ี และหลากหลาย สงั เกตการนําเสนอ แบบสงั เกต (Rubric) ระดบั พอใชข้ นVึ ไป ๓. แสดงพฤตกิ รรมการมี สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกต (Rubric) ระดบั พอใชข้ นVึ ไป วนิ ยั ๔. แสดงพฤตกิ รรมใฝ่ ตรวจสอบ มติ คิ ณุ ภาพการประเมนิ ระดบั พอใชข้ นVึ ไป เรยี นรู้ ความสาํ เรจ็ ชนVิ งาน (Rubric) ของชนVิ งาน ๕. แสดงพฤตกิ รรม สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกต (Rubric) ระดบั พอใชข้ นVึ ไป การมจี ติ สาธารณะ

2350 30 บนั ทกึ ผลหลงั สอน ผลกำรเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหำและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขอ้ เสนอแนะ/แนวทำงแกไ้ ข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ……………………………………………ผสู้ อน (………………………………………….) วนั ที่…………เดอื น………………….พ.ศ………….. ควำมคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหำรหรอื ผู้ท่ีได้รับมอบหมำย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ……………………………………………ผู้ตรวจ (…………………………………………..) วันที่…………เดือน………………….พ.ศ…………..

2316 31 ใบงำนท่ี ๓ เรอ่ื ง โครงสรำ้ งและหน้ำทขี่ องระบบต่อมไรท้ อ่ หนว่ ยกำรเรยี นรทู้ ี่ 1 แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๓ เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ รำยวชิ ำ สขุ ศกึ ษำ ชั้นมธั ยมศึกษำปที ี่ ๑ ............................................................................. ชื่อ – นำมสกุล...............................................................................ชั้น...............เลขท่ี.............. คำชีแ้ จง ให้นักเรยี นบอกช่ือและหนำ้ ท่ีของอวยั วะต่ำงๆ ในระบบต่อมไรท้ ่อ ช่อื ช่อื หน้าท่ี หน้าท่ี ชอ่ื ช่อื หน้าท่ี หน้าท่ี ช่อื ช่อื หน้าท่ี หน้าท่ี ช่อื ชอ่ื หน้าท่ี หน้าท่ี

32 หนว่ ยกำรเรยี นรู้ท่ี 1 พัฒนำกำรสมวัย แผนกำรจัดกำรเรียนรูท้ ี่ 4 เร่ือง กำรดูแลรกั ษำระบบตอ่ มไร้ทอ่ เวลำ 1 ช่ัวโมง กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ สุขศกึ ษำและพลศึกษำ รำยวชิ ำ สุขศึกษำ ช้นั มัธยมศกึ ษำปีที่ 1 ขอบเขตเนอ้ื หำ กิจกรรมกำรเรยี นรู้ ส่อื /แหลง่ เรียนรู้ กำรเจริญเติบโตและพัฒนำกำรของวยั รนุ่ ข้นั นำ 1. สอื่ ควำมรเู้ ก่ยี วกับเร่ืองระบบตอ่ มไรท้ ่อ มีผลมำจำกกำรทำงำนเช่ือมโยงสมั พนั ธ์ 1. ทบทวนควำมรู้เดมิ จำกสอ่ื ออนไลน์ เชน่ กันของระบบประสำทและระบบต่อมไร้ 2. แจง้ จดุ ประสงค์กำรเรยี นรู้ www.honestdocs.co/hormones/endocrine-system ท่อ จึงต้องร้วู ธิ กี ำร ดูแลรักษำเพอื่ ให้ ๓. ครูนำภำพเดก็ แคระมำให้นกั เรียนดู แลว้ ให้นักเรียนแต่ละกลมุ่ www.bangkokhealth.com/index.php/health/health- ระบบประสำทและระบบต่อมไร้ทอ่ ร่วมกันสังเกตและวิเครำะห์สำเหตทุ ท่ี ำให้เด็กคนนี้มคี วำมผิดปกติ system/diabetes/ ทำงำนปกติ ๔. นกั เรียนรว่ มกนั อภิปรำยเพ่มิ เตมิ จำกข้อ ๓ ในประเด็นตำ่ งๆ ๒. ภำพเด็กแคระ ท่เี กยี่ วข้อง ภำระงำน/ชน้ิ งำน จดุ ประสงค์กำรเรียนรู้ ขั้นสอน 1. ใบงำนที่ 4 เรื่อง กำรดแู ลรักษำระบบตอ่ มไร้ท่อ ด้ำนควำมรู้ ๒. สมุดจดบนั ทึก อธิบำยวธิ ดี ูแลระบบต่อมไร้ทอ่ ให้ 1. นกั เรียนนำขอ้ มูลจำกกำรอภปิ รำยกลุม่ เดิมมำร่วมกันวำงแผน เพ่ือศกึ ษำควำมรู้ของระบบต่อมไร้ท่อทม่ี ีผลตอ่ สุขภำพ กำรเจริญเติบโต ทำงำนตำมปกติ และพัฒนำกำรของวัยรุ่น ด้ำนทกั ษะและกระบวนกำร ปฏิบัตติ นในกำรดูแลระบบตอ่ มไรท้ อ่ ให้ 2. นกั เรียนแสวงหำควำมรจู้ ำกสอื่ ออนไลน์เกย่ี วกับระบบต่อมไร้ ท่อ เร่อื งกำรดแู ลรักษำระบบตอ่ มไรท้ อ่ ใหท้ ำงำนตำมปกติ ทำงำนตำมปกติ ด้ำนคุณลกั ษณะ จำก www.honestdocs.co/hormones/endocrine-system ๑. แสดงพฤติกรรมกำรมีวนิ ยั www.bangkokhealth.com/index.php/health/health- ๒. แสดงพฤติกรรมใฝเ่ รยี นรู้ system/diabetes/ 3. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ นำควำมรู้ทีไ่ ด้รบั จำกกำรศึกษำมำเป็น แนวทำงในกาใรนทกำ� ำใรบทงำาในบทง่ีำ๔นทเรี่ ือ่๔งเกรอ่ืารงดกูแำลรรดักแู ษลารรักะษบำบรตะอ่บมบไตร่อ้ทมอ่ ไร้ท่อ 27 32

หนว่ ยกำรเรยี นรูท้ ่ี 1 พัฒนำกำรสมวัย แผนกำรจัดกำรเรยี นรทู้ ี่ 4 33 เรอื่ ง กำรดูแลรักษำระบบต่อมไรท้ ่อ เวลำ 1 ชัว่ โมง กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ สขุ ศึกษำและพลศกึ ษำ รำยวิชำ สุขศึกษำ ชั้นมัธยมศึกษำปที ่ี 1 ขน้ั สรุป 1. นกั เรยี นและครรู ว่ มกนั สรุปควำมรู้ เรอื่ ง ควำมสำคัญของ ระบบตอ่ มไร้ท่อทีม่ ผี ลต่อสุขภำพ กำรเจรญิ เตบิ โตและกำรพัฒนำกำรของ วัยรุน่ และกำรดูแลรกั ษำระบบตอ่ มไรท้ ่อมใหท้ ำงำนตำมปกติ 2. ครฝู ำกคำถำมให้กลับไปคิดและนำไปใช้ “นักเรียนสำมำรถ นำควำมรู้ดังกลำ่ วไปใชป้ ระโยชน์ในกำรดำรงชวี ติ ประจำวนั ไดอ้ ย่ำงไร และสำมำรถ ต่อยอดควำมรู้นี้ได้หรอื ไม่อย่ำงไร” 28

29 การวดั และประเมินผล สิ2งท2ีต้องการวดั /ประเมิน วิธีการ เครอื2 งมอื ที2ใช้ เกณฑ์ ๑. อธบิ ายวธิ ดี แู ลระบบต่อม แบบตรวจผลงาน ระดบั พอใชข้ นRึ ไป ไรท้ อ่ ใหท้ าํ งานตามปกติ ตรวจใบงาน (มติ คิ ณุ ภาพแบบ การใหค้ ะแนน Rubric) ระดบั พอใชข้ นRึ ไป ๒. ปฏบิ ตั ติ นในการดแู ล สงั เกตการนําเสนอ แบบสงั เกต (Rubric) ระบบต่อมไรท้ อ่ ใหท้ าํ งาน ตามปกติ ๓. ปฏบิ ตั ติ ามขอ้ ตกลงทXี สงั เกตการทาํ งาน แบบสงั เกต (Rubric) ระดบั พอใชข้ นRึ ไป ไดร้ บั มอบหมาย ๔. แสดงพฤตกิ รรมการมี สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกต (Rubric) ระดบั พอใชข้ นRึ ไป วนิ ยั ตรวจสอบ ๕. แสดงพฤตกิ รรม ความสาํ เรจ็ มติ คิ ณุ ภาพการประเมนิ ใฝ่เรยี นรู้ ของชนRิ งาน ชนRิ งาน (Rubric) ระดบั พอใชข้ นRึ ไป

3350 35 บนั ทึกผลหลังสอน ผลกำรเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปญั หำและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขอ้ เสนอแนะ/แนวทำงแกไ้ ข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื ……………………………………………ผูส้ อน (………………………………………….) วันท่ี…………เดอื น………………….พ.ศ………….. ควำมคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะของผูบ้ ริหำรหรอื ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมำย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………………ผตู้ รวจ (…………………………………………..) วนั ที่…………เดอื น………………….พ.ศ…………..

3316 36 ใบงำนท่ี ๔ เร่ือง กำรดแู ลรกั ษำระบบต่อมไร้ท่อ หนว่ ยกำรเรยี นรทู้ ี่ 1 แผนกำรจดั กำรเรยี นรทู้ ่ี ๔ เร่ือง ระบบต่อมไรท้ ่อ รำยวิชำ สุขศกึ ษำ ช้ันมธั ยมศึกษำปีท่ี ๑ .................................................................. ช่อื – นำมสกุล...............................................................................ชั้น...............เลขที่.............. คำชแ้ี จง ให้นกั เรยี นตอบคำถำมโดยกำรอธิบำยใหค้ รอบคลุมควำมรู้ ควำมเข้ำใจ และกำรนำไปใช้ ๑. ระบบต่อมไร้ท่อมีควำมสำคัญต่อสุขภำพ กำรเจริญเตบิ โต และพฒั นำกำรของวัยรนุ่ อยำ่ งไรบำ้ ง ๒. อธิบำยแนวทำงปฏบิ ัตใิ นกำรดแู ลรักษำระบบต่อมไร้ท่อให้ทำงำนได้ตำมปกติ มำอย่ำงน้อย 5 ข้อ

37 แผนกำรจดั กำรเรยี นร้ทู ี่ 5 เวลำ 1 ช่วั โมง หน่วยกำรเรยี นรทู้ ี่ 1 พฒั นำกำรสมวัย เรื่อง กำรเจริญเติบโตของตนเอง ชัน้ มัธยมศึกษำปที ่ี 1 กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ สุขศึกษำและพลศึกษำ รำยวชิ ำ สุขศึกษำ ส่อื /แหล่งเรียนรู้ ขอบเขตเน้ือหำ กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ 1. สมุดบนั ทกึ สุขภำพ กำรเจริญเติบโตและพฒั นำกำรของวัยรนุ่ มี ขั้นนำ ๒. นำ้ หนักและสว่ นสูงตำมเกณฑม์ ำตรฐำนเด็กไทย จำก ผลมำจำกกำรทำงำนเชื่อมโยงสัมพันธ์กนั 1. ทบทวนควำมรู้เดิม http://nutrition.anamai.moph.go.th/images/files/AW- ของระบบประสำทและระบบต่อมไร้ทอ่ จึง 2. แจ้งจุดประสงค์กำรเรยี นรู้ WeightHeight.PDF ตอ้ งรวู้ ธิ กี ำร ดูแลรักษำเพ่ือให้ระบบประสำท ขน้ั สอขน้ันสอน ภำระงำน/ชิน้ งำน และระบบต่อมไรท้ ่อทำงำนปกติ ปัญหำ 1. ศึกษำข้อมูล น้ำหนกั สว่ นสูงของตนเอง สมุดบันทกึ สุขภำพ บนั ทกึ นำ้ หนกั และสว่ นสงู ของตนขเอองง ภำวะโภชนำกำรท่มี ีผลกระทบต่อสขุ ภำพ 2. เปรียบเทียบ น้ำหนัก สว่ นสูงกบั เกณฑม์ ำตรฐำนเด็กไทย (ตจนัดเทอ�ำงก(รจาัดฟทแำสกดรงำภฟาแวสะดกงาภรำเวจะรญิกำเรตเิบจโรติญขเอตงิบตโนตเองตขน้องตนเอง เกิดจำกกำรกินอำหำรจงึ ควรเลือกกนิ อำหำร ของตนเองจำก ภตน้าคภเำรคียเนรยี แนละแปลละาปยลภำายคภเำรคยี เนร)ยี น) ใหเ้ หมำะสมกบั วยั http://nutrition.anamai.moph.go.th/images/files/AW- WeightHeight.PDF จดุ ประสงคก์ ำรเรียนรู้ 3. วเิ ครำะหผ์ ลกำรเปรยี บเทียบกำรเจรญิ เติบโตของตนเอง ด้ำนควำมรู้ เปรียบเทียบนำ้ หนัก ส่วนสงู กับเกณฑ์ แล้วบันทึกลงสมุดบันทึกสุขภำพ ๔. นกั เรยี นร่วมกนั อภิปรำยแนวทำงกำรพัฒนำน้ำหนักและ มำตรฐำนเดก็ ไทย ด้ำนทกั ษะและกระบวนกำร สว่ นสงู ของตนเอง ด้วยกำรวำงแผนกำรพัฒนำสขุ ภำพ ๑. วิเครำะห์ผลกำรเปรียบเทยี บกำร ขัน้ สรุป เจรญิ เตบิ โตของตนเอง ๑. หลงั จำกพบวำ่ นำ้ หนักและส่วนสูงของตนเอง ไม่เปน็ ไป ๒. จัดทำกรำฟแสดงภำวะกำรเจรญิ เตบิ โต ตำมเกณฑ์มำตรฐำนเดก็ ไทย นักเรียนรู้สึกอย่ำงไร และจะวำงแผน ของตนเอง ดูแลสุขภำพของตนเองอยำ่ งไรตอ่ ไป ด้ำนคุณลกั ษณะ ๑. แสดงพฤติกรรมกำรมีวินยั ๒. ครเู น้นย้ำใหน้ ักเรียนตระหนกั ในควำมสำคัญของน้ำหนัก ๒. แสดงพฤตกิ รรมใฝเ่ รยี นรู้ และส่วนสูงของตวั นกั เรียนเองวำ่ มผี ลต่อสุขภำพในระยะยำวอย่ำงไร ๓. แสดงพฤติกรรมม่งุ ม่นั ในกำรทำงำน นกั เรียนจะนำสิ่งทไ่ี ด้รับจำกกำรเรยี นรู้ในช่ัวโมงน้ไี ปใช้ใน ชีวติ ประจำวันอย่ำงไรบ้ำงเพื่อกำรมีสขุ ภำพที่ดีอยำ่ งต่อเนือ่ งและ 32 37 ย่ังยนื

33 การวดั และประเมินผล ส2ิงท2ีต้องการวดั /ประเมิน วิธีการ เครอื2 งมือท2ีใช้ เกณฑ์ ๑. เปรยี บเทยี บน-ําหนกั สว่ นสงู แบบตรวจผลงาน ระดบั พอใชข้ น-ึ ไป กบั เกณฑม์ าตรฐาน ตรวจใบงาน (มติ คิ ณุ ภาพแบบ การใหค้ ะแนน Rubric) ระดบั พอใชข้ น-ึ ไป ๒. จดั ทาํ กราฟแสดงภาวะการ ตรวจบนั ทกึ สขุ ภาพ แบบตรวจบนั ทกึ เจรญิ เตบิ โตของตนเอง ๓. แสดงพฤตกิ รรมการมวี นิ ยั สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกต (Rubric) ระดบั พอใชข้ น-ึ ไป ๔. แสดงพฤตกิ รรมใฝ่เรยี นรู้ ตรวจสอบความสาํ เรจ็ มติ คิ ณุ ภาพการประเมนิ ระดบั พอใชข้ น-ึ ไป ๕. แสดงพฤตกิ รรม ของชน-ิ งาน ชน-ิ งาน (Rubric) มงุ่ มนัa ในการทาํ งาน ตรวจสอบความสาํ เรจ็ มติ คิ ณุ ภาพการประเมนิ ระดบั พอใชข้ น-ึ ไป ของชน-ิ งาน ชน-ิ งาน (Rubric)

3349 39 บนั ทึกผลหลงั สอน ผลกำรเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหำและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ/แนวทำงแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื ……………………………………………ผสู้ อน (………………………………………….) วันท่ี…………เดือน………………….พ.ศ………….. ควำมคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะของผู้บริหำรหรอื ผู้ท่ีไดร้ ับมอบหมำย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………………ผ้ตู รวจ (…………………………………………..) วนั ท่ี…………เดือน………………….พ.ศ…………..

40 แผนกำรจัดกำรเรียนรูท้ ี่ 6 เวลำ 1 ชวั่ โมง หน่วยกำรเรยี นรทู้ ่ี 1 พฒั นำกำรสมวัย เรือ่ ง กำรเจรญิ เติบโตและปัจจัยท่เี กี่ยวข้อง กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ สขุ ศึกษำและพลศกึ ษำ รำยวิชำ สขุ ศกึ ษำ ชัน้ มธั ยมศึกษำปที ่ี 1 ขอบเขตเนอื้ หำ กจิ กรรมกำรเรียนรู้ ส่อื /แหลง่ เรยี นรู้ กำรเจริญเติบโตและพัฒนำกำรของวัยร่นุ มผี ลมำจำก ขั้นนำ 1. สอื่ ควำมรู้เก่ียวกบั เรื่องปัจจัยที่เก่ยี วข้องกับ 1. ทบทวนควำมรเู้ ดิม กำรเจรญิ เตบิ โตจำกสื่อออนไลน์ เชน่ กำรทำงำนเช่ือมโยงสัมพนั ธ์กันของระบบประสำทและ 2. แจ้งจดุ ประสงค์กำรเรียนรู้ http://kanchanapisek.or.th/kp6/ 3. ครูสนทนำกบั นกั เรียนเก่ียวกบั นำ้ หนักและส่วนสูง 2. ใบควำมรทู้ ่ี ๓ เร่ืองปัจจัยท่ีมีผลตอ่ ระบบตอ่ มไร้ท่อจึงต้องรู้วธิ ีกำร ดูแลรกั ษำเพ่ือใหร้ ะบบ ของ ตัวนกั เรียนวำ่ มีน้ำหนกั และส่วนสูงตำมเกณฑ์ กำรเจริญเตบิ โตของวัยร่นุ ประสำทและระบบต่อมไร้ท่อทำงำนปกติ ปัญหำภำวะ กำรเจรญิ เตบิ โตของเด็กไทยหรือไม่ อย่ำงไร พร้อมท้งั ภำระงำน/ชนิ้ งำน โภชนำกำรทมี่ ผี ลกระทบต่อสุขภำพเกดิ จำกกำรกนิ อำหำร บันทกึ ควำมคิดเห็น จงึ ควรเลือกกินอำหำรให้เหมำะสมกับวยั จดุ ประสงค์กำรเรยี นรู้ ข้ันสอน 1. ใบงำนที่ 5 เร่อื งปจั จัยท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั ดำ้ นควำมรู้ 1. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั แลกเปลยี่ นประสบกำรณ์ กำรเจริญเติบโตของวัยรนุ่ ๑. บอกควำมสำคัญของกำรเจริญเตบิ โต 2. แบบประเมนิ กำรคน้ คว้ำแหลง่ ขอ้ มูล เก่ยี วกบั การดก�ำเรนดินำเชนีวินติ ชปวี ริตะปจรำ� ะวันจำววา่ นัสง่วผำ่ สลง่ตผ่อลภตา่อวภะกำวาะรกำร 4. สมุดจดบนั ทกึ ตำมเกณฑม์ ำตรฐำนของวยั ร่นุ เจริญเติบโตของวยั รุน่ อย่ำงไรบ้ำง ๒. วเิ ครำะหเ์ กณฑ์มำตรฐำนกำรเจรญิ เติบโตของวยั ร่นุ ได้ ด้ำนทักษะและกระบวนกำร ๒. นกั เรียนแบง่ กลุ่มๆ ละ 4 คน แลว้ ให้สมำชิกใน นำเสนอแนวควำมคดิ ที่ไดจ้ ำกกำรวเิ ครำะหใ์ ห้เพอื่ นฟงั ได้ กลุม่ จับคู่กันภำยในกลมุ่ เป็น 2 คู่ ใหแ้ ตล่ ะครู่ ่วมกันศึกษำ ดำ้ นคุณลกั ษณะ ควำมรู้ เรื่อง ปัจจยั ท่ีเก่ยี วข้องกับกำรเจริญเติบโตของ ๑. แสดงพฤติกรรมกำรมีวินยั วยั รุน่ ดังนี้ ๒. แสดงพฤติกรรมใฝเ่ รยี นรู้ ๓. แสดงพฤตกิ รรมกำรมีจติ สำธำรณะ - คนที่ 1 ศึกษำควำมรู้เร่ืองปัจจัยภำยใน - คนที่ 2 ศึกษำควำมรู้เรื่องปัจจัยภำยนอก ๓. สมำชิกแตล่ ะกลมุ่ นำควำมรู้ท่ีได้จำกกำรศึกษำมำ อธิบำยรว่ มกันและรว่ มกันวิเครำะหเ์ พื่อตอบคำถำมตำม ประเดน็ ที่ครูกำหนด แล้วจดคำตอบลงในสมดุ ๔. ครสู ่มุ นักเรียน 5-6 กลุ่มนำเสนอคำตอบแล้วให้ เพ่อื นกล่มุ อ่นื ชว่ ยแสดงควำมคดิ เห็นเพิ่มเตมิ 35 40

ประเดน็ ทค่ี รูกำหนด แลว้ จดคำตอบลงในสมดุ ๔. ครูส่มุ นักเรียน 5-6 กลมุ่ นำเสนอคำตอบแล้วให้ เพือ่ นกลมุ่ อื่นช่วยแสดงควำมคดิ เหน็ เพ่ิมเติม หน่วยกำรเรยี นรทู้ ี่ 1 พัฒนำกำรสมวัย แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ที่ 6 41 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ สุขศกึ ษำและพลศึกษำ เร่ือง กำรเจริญเติบโตและปัจจัยที่เก่ียวข้อง เวลำ 1 ช่วั โมง ชน้ั มัธยมศึกษำปที ่ี 1 รำยวิชำ สขุ ศึกษำ ๕. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ชว่ ยกนั ทำใบงำนท่ี 5 เรอื่ ง ปจั จยั ที่เก่ียวข้องกบั กำรเจรญิ เติบโตของวยั รนุ่ ขั้นสรปุ ๑. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มชว่ ยกนั วพิ ำกษ์และสรปุ ควำมรู้เกยี่ วกบั ภำวะกำรเจริญเติมโตและปัจจยั ที่เกย่ี วข้อง กับกำรเจรญิ เตบิ โตของวัยรนุ่ ๒. ครูฝำกขอ้ คิดใหน้ กั เรียนทุกคนกลบั ไปดูแลและ ปฏิบตั ิตำมแผนกำรพฒั นำกำรเจรญิ เตบิ โตให้สมวัยอย่ำง ตอ่ เน่ืองและจริงจัง รวมทัง้ ร่วมคดิ วำงแผนพฒั นำกำร เจริญเตบิ โตของพีน่ ้องในครอบครัวด้วย 36

37 การวดั และประเมินผล ส2ิงท2ีต้องการวดั /ประเมิน วิธีการ เครอ2ื งมือท2ีใช้ เกณฑ์ ๑. บอกความสาํ คญั ของ ตรวจใบงาน แบบตรวจผลงาน ระดบั พอใชข้ นSึ ไป การเจรญิ เตบิ โตและปัจจยั (มติ คิ ณุ ภาพแบบ ทเ>ี กย>ี วขอ้ ง การใหค้ ะแนน Rubric) ๒. วเิ คราะหเ์ กณฑ์ สงั เกตการนําเสนอ แบบสงั เกต (Rubric) ระดบั พอใชข้ นSึ ไป มาตรฐานการเจรญิ เตบิ โต ของวยั รนุ่ ๓. แสดงพฤตกิ รรมการมี สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกต (Rubric) ระดบั พอใชข้ นSึ ไป วนิ ยั ตรวจสอบ ความสาํ เรจ็ มติ คิ ณุ ภาพการประเมนิ ๔. แสดงพฤตกิ รรมใฝ่เรยี นรู้ ของชนSิ งาน ชนSิ งาน (Rubric) ระดบั พอใชข้ นSึ ไป ๕. แสดงพฤตกิ รรม สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกต (Rubric) ระดบั พอใชข้ นSึ ไป การมจี ติ สาธารณะ

3483 43 บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลกำรเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปญั หำและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขอ้ เสนอแนะ/แนวทำงแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ……………………………………………ผู้สอน (………………………………………….) วันที่…………เดือน………………….พ.ศ………… ควำมคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผบู้ ริหำรหรือผู้ทไ่ี ดร้ ับมอบหมำย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ……………………………………………ผู้ตรวจ (…………………………………………..) วนั ท่ี…………เดือน………………….พ.ศ………


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook