ใบงานเรือ่ ง พี่กูรู ร้ทู ุกเร่อื ง 98 คาช้ีแจง ให้นกั เรยี นตอบคาถามดงั ต่อไปน้ี 1. Google คืออะไร ............................................................................................................................. ...................................................... ................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ...................................................... ............................................................................................................................. ...................................................... ................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................ ........................................................... ................................................................................................................................................................................... 2. Google ได้แบง่ หมวดหมกู่ ารค้นหาไวก้ หี่ มวด อะไรบา้ ง ............................................................................................................................. ...................................................... ..................................................................................................................................................... .............................. ....................................................................................................... ............................................................................ ............................................................................................................................. ...................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... 3. การค้นหาข้อมลู โดยการใชเ้ คร่ืองหมาย ( - ) จะชว่ ยในเร่อื งอะไร ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ....................................................................................................................................................................... ....... ........................................................................................................................... ................................................... ............................................................................................................................. .................................................
แผนการจัดกจิ กรรมแนะแนวที่ 9 หน่วยการจดั กิจกรรม การศึกษา ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1-3 เรอื่ ง คนตน้ แบบ (My Idol) จานวน 2 ชวั่ โมง ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. สาระสาคัญ บุคคลทีเ่ ป็นต้นแบบเปน็ แบบอย่างที่ดยี ่อมเปน็ ผู้ทมี่ ีบคุ ลิก มวี ิสัยทัศน์ ผู้ที่มแี บบอยา่ งที่ดียอ่ มจะมแี รงใจ ในการท่ีจะพยายามพัฒนาตัวเองให้ไปสู่ความสาเร็จตามบุคคลต้นแบบที่ตนเองช่ืนชอบ รวมถึงการมองโลกใน แง่มุมใหม่ ๆ การมีความรู้สึกรักและเห็นคุณค่าในตนเองจะช่วยให้เข้าใจปัญหาและแก้ไขได้ ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาตนเองไดอ้ ย่างเหมาะสมและสอดคลอ้ งกับการวางแผนการศึกษาต่อในอนาคต 2. สมรรถนะการแนะแนว : ดา้ นการศกึ ษา ข้อ 2 มีค่านยิ มในการเรียนรู้ตลอดชวี ติ 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 มนี สิ ยั รกั การเรยี น ใฝ่หาความรู้ ท้ังทางตรงและทางอ้อม 3.2 มตี ้นแบบบุคคลทป่ี ระสบความสาเร็จทางสงั คมเป็นแรงบันดาลใจ 4. สาระการเรียนรู้ แรงบันดาลใจในการเลือกบุคคลทด่ี ีเพ่ือเป็นตน้ แบบของตนเอง 5. ชิ้นงาน / ภาระงาน 99 5.1 การทาใบงาน เร่ือง My Idol 5.2 การนาเสนอบุคคลตน้ แบบ 6. วธิ กี ารจัดกจิ กรรม ชว่ั โมงที่ 1 6.1 นกั เรยี นดคู ลปิ วีดิโอ เรอ่ื ง แรงบันดาลใจ (Nick Vujicic) จากนั้นครูสุ่มถามใหน้ ักเรยี นแสดง ความร้สู กึ เชน่ - นักเรียนร้สู กึ อยา่ งไรบา้ ง - ถ้านกั เรยี นเป็น Nick Vujicic นกั เรยี นจะปฏบิ ตั ติ นอยา่ งไร - Nick Vujicic มคี วามแตกต่างจากนักเรยี นอย่างไร - Nick Vujicic รสู้ ึกอยา่ งไรกับตวั เอง - Nick Vujicic พฒั นาตนเองอยา่ งไร - Nick Vujicic เปน็ ต้นแบบที่ดีสาหรบั นกั เรยี นในดา้ นใดบ้าง เปน็ ตน้ 6.2 นักเรียนทาใบงาน เรื่อง “แรงบันดาลใจของชายหัวใจนักสู้”หลังจากการดูคลิปวีดิโอ เรื่อง แรงบนั ดาลใจ (Nick Vujicic) โดยเขยี นสรุปลกั ษณะท่สี มควรเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ีสาหรับผ้อู ่นื 6.3 สมุ่ นักเรยี นตวั แทน 4-5 คน ออกมานาเสนองานหน้าชั้นเรยี น 6.4 นกั เรียนและครรู ่วมกันอภปิ รายและสรปุ ผลการทากจิ กรรมร่วมกัน
ช่ัวโมงท่ี 2 100 6.5 นักเรยี นดูคลิปวดี ิโอ เพลง พระราชาผ้ทู รงธรรม จากนนั้ ครสู ุ่มถามใหน้ ักเรยี นแสดงความรสู้ ึก เชน่ - นกั เรียนรสู้ ึกอยา่ งไรบ้าง - นกั เรยี นมคี วามภาคภูมิใจในหลวงรชั กาลท่ี 9 ในด้านใดบ้าง เพราะเหตุใด - ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงเป็นแบบอยา่ งทด่ี แี กน่ ักเรียนในดา้ นใดบ้าง 6.6 นักเรียนศกึ ษาใบความรู้ เร่อื ง “My Idol” 6.7 นกั เรียนทาใบงาน“คนตน้ แบบ My Idol” โดยเขยี นถึงบคุ คลตน้ แบบของตนเองพร้อมระบเุ หตุผล ทีเ่ ปน็ แบบอยา่ งทีด่ ีสาหรบั ตนเองและผอู้ ่ืน 6.8 สมุ่ นักเรียนตัวแทน 4-5 คน ออกมานาเสนองานหน้าชน้ั เรียน 6.9 นักเรยี นและครรู ่วมกันอภปิ รายและสรปุ ผลการทากิจกรรมรว่ มกนั 7. ส่ือ/อุปกรณ์ 7.1 ส่อื คลิปวดี โิ อ เร่อื ง แรงบันดาลใจ (Nick Vujicic) https://www.youtube.com/watch?v=gKNIUxLMc4M 7.2 ใบงาน เรื่อง “แรงบันดาลใจของชายหวั ใจนกั สู้” 7.3 สือ่ คลปิ วดี โิ อ เพลง พระราชาผทู้ รงธรรม https://www.youtube.com/watch?v=_XTWTi__uDo 7.4 ใบความรู้ เรือ่ ง “My Idol” 7.5 ใบงาน “คนต้นแบบ My Idol” 8. การประเมนิ ผล 8.1 วธิ กี ารประเมนิ 8.1.1 สังเกตการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม 8.1.2 ตรวจใบงาน 8.2 เคร่อื งมอื การประเมนิ 8.2.1 แบบบันทึกการสังเกตการณป์ ฏิบัตกิ ิจกรรม 8.2.1 แบบประเมินผลใบงาน 8.3. เกณฑ์การประเมนิ 8.3.1 สงั เกตจากการเขา้ รว่ มกิจกรรม เกณฑ์ ตัวบง่ ช้ี ผ่าน มคี วามต้งั ใจรว่ มกจิ กรรม ให้ความรว่ มมือกบั กลุ่มในการอภิปรายแสดงความคดิ เหน็ และสง่ งาน ตามกาหนด ไม่ผา่ น ขาดส่งิ ใดสิง่ หนง่ึ 8.3.2 ตรวจใบงาน เกณฑ์ ตวั บ่งชี้ ผ่าน บอกแนวทางการศกึ ษาต่อเม่ือจบชน้ั ม.3 ได้ ไม่ผา่ น ไม่สามารถบอกแนวทางการศึกษาต่อเมื่อจบชัน้ ม.3 ได้
ใบงาน เร่อื ง “แรงบนั ดาลใจของชายหัวใจนกั สู้” ประกอบการจัดกจิ กรรม เร่อื ง คนตน้ แบบ (My Idol) ลกั ษณะต้นแบบที่ดี ควำมประทบั ใจ ………………………………………………………………… ……………………………………………………………… ………………………………………………………………… ……………………………………………………………… ………………………………………………………………… ……………………………………………………………… ………………………………………………………………… ……………………………………………………………… ………………………………………………………………… ……………………………………………………………… …………… 101 แนวกำรปฏบิ ัติตนทีเ่ ปน็ ต้นแบบ สง่ิ นท้ี จ่ี ะนำมำเปน็ แบบอย่ำง ………………………………………………………………… …………………………………………………………………… ………………………………………………………………… …………………………………………………………………… ………………………………………………………………… …………………………………………………………………… ………………………………………………………………… …………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ……………………………………………………… ช่ือ.....................................................นามสกลุ ..............................................เลขท.่ี ..............ชนั้ ...................
ใบความรู้ เรอ่ื ง “My Idol” ประกอบการจัดกิจกรรม เร่ือง คนต้นแบบ (My Idol) The Idol 102 Idol คือ บุคคลหรืออะไรบางอย่างที่เราช่ืนชอบและมีอิทธิพลต่อตัวเรา เช่น ศิลปิน ดารา นักร้อง ในดวงใจ มักจะเป็น Idol ของกลุ่มวัยรุ่นท้ังหลาย จึงมักจะพยายามเลียนแบบพฤติกรรมหลายอย่างของ Idol ท่ีตนเองชื่น ชอบ ทั้งการแต่งกาย ทรงผม ลีลาท่าทาง เป็นต้น นอกจากน้ันยังมีอิทธิพลต่อความคิด แนวทางการปฏิบัติตัว มาก นอ้ ยแค่ไหนขึ้นอยู่กับความชื่นชอบของแตล่ ะคน คนทจี่ ะเปน็ Idol ของใครหลายๆ คนไดค้ วรมคี ุณสมบัติอย่างไร? หลักจริง ๆ คือเป็นต้นแบบในการดาเนินชีวิต ดีจนเป็นตัวอย่างที่เขาสามารถสร้างอนุสาวรีย์ให้เลย ดีในด้าน ตา่ ง ๆ ในบา้ นเมืองท่ีเจรญิ แล้วเขาจะมีอนุสาวรีย์ค่อนขา้ งมาก เปน็ ดา้ น ๆ ไป คนไหนประสบความสาเรจ็ ในการวิจัย ทางวิทยาศาสตรเ์ ขากส็ ร้างอนสุ าวรยี ์ให้ บางทกี เ็ ป็นฮีโร่ของชาติ ของตาบล ของบ้านเมอื ง เขาจะพยายามเอาคนที่มี ความดีท่ีต้องการให้คนรุ่นหลังได้ดูเป็นแบบอย่าง ก็ทารูปป้ันหรืออนุสาวรีย์ให้กระจายเต็มไปหมด น่ันคือรูปแบบ ของคาว่า Idol หรือ ฮีโร่ ดูเพ่ือเอาเป็นแบบอย่าง สังคมใดนิยมคนแบบไหน ก็จะเป็นแรงขับเคลื่อนให้คนรุ่นหลงั ใน สงั คมนัน้ เอาเป็นแบบอยา่ งตาม ยกตัวอย่าง อเมริกา เนื่องจากคนส่วนใหญ่อพยพมาจากยุโรป พอข้ามน้าข้ามทะเลไปไกลขนาดนั้น ถ้าข้าว ของมีไม่พอจะกลับมาซ้ือที่ยุโรปก็ไม่ได้ เพราะไกลมาก เดินทางก็ลาบากมากในยุคน้ัน ใครท่ีคิดค้นประดิษฐ์อะไร ขึ้นมาได้แล้วทาใหค้ นไดร้ บั ความสะดวกสบาย สงั คมจะยกย่องมากเลย ก็เลยส่งผลให้คนอเมรกิ ามีนกั ประดิษฐ์คิดค้น เกิดขึ้นจานวนมาก คนไหนกล้าหาญสามารถบุกเบิกดินแดนตะวันตกได้สาเร็จ ทุกคนจะเล่าขานชื่นชมยกย่อง เด็ก รุ่นหลงั เกดิ มาก็ได้ยนิ ได้ฟังแต่เร่ืองเหล่านี้ ก็วางเป้าอนาคตตัวเองไวจ้ ะเป็นนกั ผจญภัย ต้องเป็นคนกลา้ หาญ เปน็ นัก ประดิษฐ์คิดค้น ทุกคนต้องการเป็นนักวิทยาศาสตร์ พอเป็นอย่างนี้แล้วก็จะเป็นแรงขับเคล่ือนสังคมอเมริกาให้ เจริญก้าวหน้า นี่คืออิทธิพลของ Idol ท่ีดี เราต้องการให้สังคมไปทางไหนก็จะไปทางน้ัน Idol จะเป็นตัวนาให้คน ตามอย่าง ฉะนั้นเรารู้แล้วว่า Idol จริง ๆ คือ คนที่เป็นแบบอย่างได้ แต่ในปัจจุบันมันชักจะดูเบี่ยงเบนไปหน่อย กลายเป็นว่า นักร้อง ดารา นักแสดง ที่ดูเป็นท่ีสนใจของวัยรุ่นน้ันเรียกว่า Idol ซึ่งจริงๆ แล้วมันไม่ใช่ มันต้องโดดเด่น ดว้ ยความดีจนกระทั่งสงั คมยอมรบั จริง ๆ
The Idol 103 การเลียนแบบพฤติกรรมต่าง ๆ ของผู้ทีเ่ ราช่ืนชอบนัน้ จะมีผลดีหรือเสยี อยา่ งไรบา้ ง? คนเราถ้านิยมยกย่องใครก็มีแนวโน้มจะเลียนแบบตามเขา ถ้าได้ Idol ดี เป็นคนมีคุณธรรม มีความรู้ ความสามารถ เหมาะสมที่จะเป็นแบบจริง กจ็ ะเป็นแรงขับเคล่ือนใหเ้ ขาเองไปในทางท่ีถูกตอ้ งดีงาม แตถ่ า้ ไปได้ แบบอยา่ ง Idol ทีไ่ ม่เข้าทา่ กม็ ีแนวโน้มทจี่ ะทาใหต้ ัวเองไปทาตามเขาก็แย่ตามกนั ไป จะเห็นว่าคนในยุคปัจจุบันน้ี บางทีต้องการความสนใจ มันเกิดจากความเหงาในท่ามกลางฝูงชน เลย ตอ้ งการเรยี กร้องความสนใจดว้ ยการแต่งตวั แปลก ๆ ให้ดูแปลกตาและแตกต่างจากคนอ่ืน เพอ่ื ใหค้ นสนใจโดย ไมร่ เู้ ลยว่าเขามองด้วยความรู้สกึ อย่างไร จงึ ทาใหร้ ูปแบบเรียกความสนใจมนั ผิดไป เดมิ เขาเรยี กความสนใจด้วย การทาความดมี าก ๆ จนคนยอมรบั ไปถึงไหนเขากส็ นใจเพราะตอ้ งการดเู ปน็ ตัวอย่าง แต่ตอนนเ้ี ปน็ ยุคของการส่อื สารที่มนั กว้างมาก ทาให้คนหันมาหาความสนใจด้วยความแปลกประหลาด หรอื ทาอย่างไรก็ไดใ้ ห้เป็นข่าว เพราะรู้สกึ ว่าถา้ เป็นขา่ วก็จะดังข้ึนมา แบบนี้ถอื เปน็ ตวั อย่างที่ไม่ถูกต้อง ซงึ่ ควร จะต้องมกี ารปรับปรงุ แก้ไข เราควรมวี ธิ กี ารในการเลือก Idol หรือบคุ คลท่ีช่นื ชอบได้อยา่ งไรบา้ ง ? ถ้าเราปลกู ฝงั เยาวชนใหม้ ีหลกั ในการคิด วา่ เราจะชนื่ ชอบช่ืนชมใคร คนๆ นนั้ ควรมคี ุณสมบตั ิอยา่ งไร 1. คุณธรรม 2. ความรคู้ วามสามารถ อย่างในด้านคุณธรรมก็คือเป็นคนดี มีน้าใจ โอบอ้อมอารี จะเป็นคุณธรรมด้านใดก็แล้วแต่ท่ีมีความโดด เด่นเป็นพิเศษ เราก็หยิบยกข้ึนมา ซึ่งคนที่มีบทบาทมากคือผู้ใหญ่ เช่น พ่อแม่ ผู้ใหญ่ในบ้านเมือง บุคคลที่มี คุณธรรมความดใี นด้านใด ๆ กแ็ ล้วแต่ ทคี่ วรจะให้เดก็ หรือเยาวชนบุคคลทว่ั ไปยึดถือเป็นแบบอย่าง เจริญรอยตาม
ใบงาน “คนตน้ แบบ My Idol” ประกอบการจดั กิจกรรม เรื่อง คนตน้ แบบ (My Idol) ตน้ แบบของฉนั คอื ควำมประทับใจ ……………………………………. ……………………………………………………………… ……………………………………………………………… ลกั ษณะต้นแบบทด่ี ี ……………………………………………………………… ……………………………………………………………… ………………………………………………………………… ……………………………………………………………… ………………………………………………………………… …………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… 104 แนวกำรปฏิบตั ิตนท่ีเป็นต้นแบบ ………………………………………………………………… สิ่งนท้ี ่จี ะนำมำเปน็ แบบอยำ่ ง ………………………………………………………………… …………………………………………………………………… ………………………………………………………………… …………………………………………………………………… ………………………………………………………………… …………………………………………………………………… ………………………………………………………………… .........................…..…..….เ…ล…ข…ท…ี่.…..…..…..…..…..…..…..…ช…้นั ….…..…..…..…..…..…..…..…..….. ……………………………………………………… ชื่อ.....................................................นามสกุล................
แผนการจดั กิจกรรมแนะแนวที่ 10 หนว่ ยการจัดกจิ กรรม การศกึ ษา ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 1-3 เรอ่ื ง สถานศึกษาดีมีใกล้บา้ น จานวน 2 ชว่ั โมง .................................................................................................................................................................. ......... 1. สาระสาคัญ สถานศึกษาในท้องถน่ิ ใกลบ้ า้ น เปิดสอนในระดบั การศึกษาที่แตกตา่ งกันดังนนั้ จึงมีความจาเป็นที่ นักเรียนตอ้ งศึกษาเรียนรู้รายละเอียด เปน็ ขอ้ มลู สาคัญในการตดั สนิ ใจเลือกใหเ้ หมาะสม 2. สมรรถนะการแนะแนว : ด้านการศกึ ษา ข้อ 3 ใชข้ ้อมูลในการวางแผนการศึกษา 3. จดุ ประสงค์ 3.1 ศึกษาขอ้ มูลสารสนเทศด้านการศึกษา เพ่ือนาไปใช้ประกอบการตดั สนิ ใจเลือกสถานศกึ ษา 3.2 รับรู้ข้อมูลข่าวสารท่ีเป็นประโยชน์จากแหลง่ ต่าง ๆ ไดถ้ กู ต้อง และเหมาะสมด้วยตนเอง 4. สาระการเรยี นรู้ สถานศึกษา ระดับการศึกษา และ/หรือหลกั สตู รในชมุ ชน 5. ช้ินงาน/ภาระงาน 105 5.1 แผนผงั แสดงช่ือสถานศกึ ษา ระดับการศึกษาและ/หรอื หลักสตู รที่เปดิ สอนในชุมชน 5.2 แผนผงั แสดงรายละเอยี ดของสถานศึกษาทีส่ นใจ 6. วิธีการจดั กิจกรรม 6.1 นกั เรียนน่งั สมาธเิ พอ่ื ทาจิตใจใหส้ งบก่อนเรยี น 6.2 ครูนาเขา้ สู่บทเรียน โดยสนทนาซักถาม - นกั เรียนจบ ป.6 มาจากโรงเรียนอะไรกันบ้าง - นักเรยี นรูจ้ ักโรงเรยี น หรือสถานศกึ ษาอะไรบา้ งในจงั หวัดของเรา - นกั เรยี นบอกชือ่ สถาบันการศึกษาทรี่ ู้จกั ในชมุ ชน คนละ 1 สถาบัน 6.3 ครูสุ่มนักเรียนออกมาเขียนชื่อสถานศึกษาท่ีรู้จักคนละ 1 สถาบัน นักเรียนและครูช่วยกันตรวจสอบ และเพิม่ เติมให้ได้มากทส่ี ุด 6.4 นักเรียนจับคู่ ปรึกษาหารือและร่วมกันสืบค้นข้อมูลจากอินเตอร์เน็ทโดยใช้โทรศัพท์มือถือ หรือ คอมพิวเตอร์โน๊ตบคุ๊ ที่มีอยใู่ กลต้ ัวเกย่ี วกบั ระดับ และ/หรือหลกั สูตรท่ีเปิดสอน 6.5 นักเรยี นอาสาสมคั รแจกใบงานเรื่อง สถานศกึ ษาดมี ีใกล้บ้าน ใหน้ กั เรยี นทกุ คนสรปุ องค์ความรู้ท่ีได้ จาก ขอ้ 3 เป็นแผนผังความคดิ โดยให้อิสระในการออกแบบสรา้ งสรรค์ช้ินงาน โดยใชเ้ วลาประมาณ 30 นาที 6.6 นักเรียนสง่ ใบงานและครเู ปิดโอกาสใหซ้ กั ถามเพิม่ เตมิ และแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ 6.7 นกั เรยี นและครูสรุปความร้รู ่วมกัน 6.8 ครทู บทวนกิจกรรมคาบเรียนท่ีผ่านมาว่านักเรียนได้ทาอะไรบ้าง สรุปองคค์ วามรู้และประสบการณ์ท่ี ไดร้ ับ นกั เรียนชว่ ยกันตอบ 6.9 ครูช้ีแจงว่าจากข้อมูลคร้ังผ่านมาให้นักเรียนได้เลือกสถานศึกษาท่ีสนใจมาคนละ 1 แห่ง ศึกษา รายละเอียด โดยการสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติม เช่น ท่ีตั้ง ระดับ และ/หรือหลักสูตรที่เปิดสอน จานวนครู นักเรียน บคุ ลากร วิสยั ทัศน์ ช่ือเสียง จดุ เดน่ เป็นต้น
6.10 นักเรยี นอาสาสมัครแจกใบงานเรื่อง มารูจ้ กั สถานศึกษาที่ฉนั สนใจใช้เวลาประมาณ 30 นาที 106 6.11 นักเรยี นจบั คกู่ ับเพือ่ น แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ เพิ่มเตมิ ความสมบูรณ์ของชิน้ งาน 6.12 นักเรยี นส่งใบงานและครูเปิดโอกาสให้ซักถาม เพ่มิ เติม 6.13 นกั เรยี นรว่ มกันสรปุ ความรู้รว่ มกัน 7. สอ่ื / อปุ กรณ์ 7.1 ใบงานเรอ่ื ง สถานศึกษาดีมใี กล้บา้ น 7.2 ใบงานเรอ่ื ง มารจู้ ักสถานศึกษาทฉี่ ันสนใจ 8. การประเมนิ ผล 8.1 วิธีการประเมิน 8.1.1 สังเกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมของนกั เรยี น 8.1.2 ตรวจผลงาน 8.2 เคร่อื งมือ 8.2.1 แบบบันทึกการสังเกตพฤตกิ รรม 8.2.2 แบบบนั ทกึ การตรวจผลงาน 8.3 เกณฑ์การประเมนิ 8.3.1 การสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมของนักเรยี น เกณฑ์ ตัวบ่งช้ี ผา่ น ใหค้ วามรว่ มมือ ต้งั ใจปฏิบัติกจิ กรรม ไมผ่ ่าน ไมป่ ฏิบตั ิครบทุกข้อ 8.3.2 การตรวจผลงาน เกณฑ์ ตัวบ่งช้ี ผ่าน ถกู ต้อง สมบูรณ์ มีคะแนนผ่านร้อยละ 80 ไมผ่ ่าน มีคะแนนผา่ นนอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80
ใบงานเร่ือง สถานศกึ ษาดีมีใกล้ คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นรวบรวมขอ้ มลู รายชื่อสถานศึกษา ระดับทีเ่ ปดิ สอน และ/หรอื หลกั สูตร ทีเ่ ปดิ สอนในชมุ ชน และใกล้เคียง โดยให้อิสระในการออกแบบสร้างสรรค์ชิน้ งาน สถานศึกษาในชมุ ชนของฉัน 107
ใบงานเรอ่ื ง มารจู้ กั สถานศึกษาทีฉ่ นั สนใจ คาชแ้ี จง ให้นักเรียนศึกษาขอ้ มูลสถานศึกษาที่สนใจมา 1 แหง่ และสรปุ รายละเอียดตา่ ง ๆ ให้ชดั เจนสมบรู ณ์ ทส่ี ดุ โดยใหอ้ สิ ระในการออกแบบสร้างสรรคช์ นิ้ งาน ช่ือสถานศึกษา ............................................................... . 108
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนวที่ 11 หนว่ ยการจัดกจิ กรรม การศกึ ษา ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1-3 เรอื่ ง ศกึ ษากว้างไกลสู่ตลาดแรงงานไทย 4.0 จานวน 2 ชว่ั โมง ........................................................................................................................... ...................................................... 1. สาระสาคัญ ในยุคของการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในทุกด้าน รวมถึงตลาดแรงงานย่อมเปล่ียนไป ดังนั้นการหม่ัน ศึกษาเรยี นรู้อย่างต่อเน่ือง จึงทาให้ได้ข้อมูลข่าวสารที่เป็นปจั จุบัน มคี วามจาเป็นอย่างยงิ่ ต่อการนามาใช้ในการวาง แผนการเรยี นรู้และตดั สนิ ใจเลือกไดอ้ ยา่ งเหมาะสมในยุคประเทศไทย 4.0 2.สมรรถนะการแนะแนว : ดา้ นการศกึ ษา ข้อ 3 ใชข้ ้อมลู ในการวางแผนการศึกษา 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 ศกึ ษาข้อมลู สารสนเทศจากแหลง่ ความรู้อย่างหลากหลาย และใช้เทคโนโลยใี นการสืบค้นข้อมูลได้ 3.2 รวบรวมขอ้ มูลข่าวสารทีเ่ ปน็ ประโยชน์จากแหล่งต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 3.3 วางแผนการเรียนรู้เพื่อเข้าสตู่ ลาดแรงงานไทย 4.0 ทสี่ นใจได้ 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 การศกึ ษาเรียนรู้สู่ตลาดไทยยุค 4.0 4.2 การวางแผนการศกึ ษาเรยี นรตู้ ่อเน่ืองตลอดชวี ิต 5. ชนิ้ งาน/ภาระงาน 109 5.1 รวบรวมรายชือ่ อาชีพตลาดแรงงานไทยยุค 4.0 5.2 แผนผังการวางแผนการศกึ ษาเรียนรู้ส่อู าชีพท่ีสนใจในยคุ 4.0 6. วธิ กี ารจัดกจิ กรรม ชัว่ โมงที่ 1 6.1 นกั เรยี นน่ังสมาธิเพื่อทาจติ ใจใหส้ งบก่อนเรยี น 6.2 ครูนาเขา้ ส่บู ทเรียนโดยสนทนาซักถาม - นกั เรียนคนใดขายของออนไลน์บ้าง - นักเรยี นรู้จักอาชพี ใหม่ ๆ ที่เกดิ ข้นึ บ้างในยุคปจั จุบนั - นกั เรียนคนใดมกี ิจกรรมหารายได้ระหวา่ งเรียนบ้าง เล่าให้เพื่อนฟงั 6.3 ครแู นะนาการสบื คน้ ข้อมูลเกี่ยวกับอาชีพยุค 4.0 โดยใชเ้ ทคโนโลยีในการสืบค้นข้อมลู เช่น โทรศัพท์มือถือ คอมพวิ เตอร์ โนต๊ บุ๊ค 6.4 แจกกระดาษขนาดกว้าง 3 น้ิว ยาว 4 นวิ้ ให้นักเรยี นคนละ 3 แผ่น ใหเ้ ขยี นชื่ออาชีพใหม่ ๆ ทเี่ กดิ ข้นึ ในยคุ 4.0 แผน่ ละ 1 อาชพี แล้วนามาติดทีก่ ระดานหนา้ ห้อง 6.5 ตวั แทนนกั เรียนอาสา 2 คน มาช่วยกนั อา่ นช่ืออาชีพ ทเ่ี พอ่ื นตดิ ไว้หน้าหอ้ งเรยี น เพอ่ื การ แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ 6.6 ครูแจกใบงานเรือ่ งรจู้ กั ตลาดแรงงานไทยยคุ 4.0 ใหเ้ วลาประมาณ 20 นาที เขียนให้ไดม้ ากทีส่ ดุ ใครไดม้ ากท่ีสุด ครูใหร้ างวัล ท่ี 1-3 6.7 นักเรยี นสง่ ใบงานและครเู ปิดโอกาสให้ซกั ถามเพ่ิมเตมิ และแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ 6.8 นักเรียนและครสู รุปความรูร้ ว่ มกัน
ช่วั โมงที่ 2 110 6.9 ครทู บทวนกิจกรรมและประสบการณใ์ นครง้ั ที่ผ่านมา นักเรยี นชว่ ยกนั ตอบ 6.10 ครชู แ้ี จงกิจกรรมในครง้ั นวี้ ่าใหน้ ักเรยี นได้ลองเลือกอาชีพใหมท่ ี่สนใจมากที่สดุ มา 1 อาชีพ และวางแผนแนวทางการเรียนรู้สอู่ าชีพ 6.11 ศึกษารายละเอียดของอาชพี ทีส่ นใจเลือก สรปุ องค์ความรู้ลงในใบงาน เร่อื ง วางแผนแนวทางการ เรียนรู้สอู่ าชีพทีส่ นใจในไทยยคุ 4.0 ใช้เวลาประมาณ 30 นาที 6.12 นักเรยี นจับกลมุ่ เพอื่ น 4-5 คน นาเสนอแลกเปล่ียนเรยี นรูก้ บั กลุ่มเพอ่ื น 6.13 ครสู ุ่มนักเรยี นออกมานาเสนอหน้าชัน้ เรียน 4-5 คน เปิดโอกาสใหน้ ักเรียนอภปิ รายและแสดง ความคิดเหน็ 6.14 นักเรยี นรว่ มกันสรปุ ความรู้รว่ มกัน 7. สอ่ื / อุปกรณ์ 7.1 ใบงานเรื่อง ตลาดแรงงานไทยยุค 4.0 7.2 ใบงานเร่ือง วางแผนแนวทางการเรยี นรสู้ ู่อาชีพทส่ี นใจในไทยยุค 4.0 7.3 กระดาษขนาดกว้าง 3 นวิ้ ยาว 4 นว้ิ 7.4 กระดาษกาว 8. การประเมินผล 8.1 วิธกี ารประเมิน 8.1.1 สังเกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักเรียน 8.1.2 ตรวจผลงาน 8.2 เครอ่ื งมือ 8.2.1 แบบบนั ทึกการสังเกตพฤติกรรม 8.2.2 แบบบนั ทกึ การตรวจผลงาน 8.3 เกณฑก์ ารประเมนิ 8.3.1 การสงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมของนกั เรยี น เกณฑ์ ตวั บ่งช้ี ผ่าน ให้ความรว่ มมือ ตัง้ ใจปฏบิ ตั ิกิจกรรม ไม่ผ่าน ไมป่ ฏบิ ตั คิ รบทุกข้อ 8.3.2 การตรวจผลงาน เกณฑ์ ตวั บง่ ชี้ ผา่ น ถกู ต้อง สมบรู ณ์ มีคะแนนผ่านรอ้ ยละ 80 ไมผ่ า่ น มีคะแนนผ่านน้อยกว่ารอ้ ยละ 80
ใบงานเรื่อง รู้จักตลาดแรงงานไทยยุค 4.0 คาช้แี จง ให้นกั เรียนสืบค้นและเขียนชื่ออาชีพใหม่ในยคุ 4.0 มาใหไ้ ด้มากท่ีสดุ โดยใหอ้ ิสระในการ ออกแบบสรา้ งสรรคช์ น้ิ งาน ตลาดแรงงานไทยยุค 4.0 111
ใบงานเรือ่ ง วางแผนแนวทางการเรยี นรู้สอู่ าชพี ทีส่ นใจในไทยยุค 4.0 คาชแี้ จง ใหน้ ักเรียนเขียนแผนผังเสน้ ทางการวางแผนการศกึ ษาเรียนรู้สอู่ าชพี ที่สนใจในไทยยุค 4.0 มา 1 อาชีพ และศึกษารายละเอียดพร้อมสรุปบนั ทกึ โดยให้อิสระในการออกแบบสรา้ งสรรค์ชน้ิ งาน 112
แผนการจดั กิจกรรมแนะแนวท่ี 12 หนว่ ยการจดั กิจกรรม การศกึ ษา ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1-3 เร่อื ง โลกกว้างทางการศกึ ษา จานวน 3 ชวั่ โมง ................................................................................................................. .......................................................... 1. สาระสาคญั การศึกษาต่อเมื่อจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีทางเลือกอย่างหลากหลายจัดข้ึนเพื่อตอบสนองต่อความ สนใจ ความสามารถ และความถนัดของนักเรียน ดังนั้นการศึกษาข้อมูลโลกกว้างทางการศึกษา จะช่วยทาให้ นกั เรยี นมีขอ้ มลู อย่างครบถว้ นรอบด้าน ช่วยใหน้ กั เรยี นตดั สนิ ใจวางแผนการศึกษาต่อได้อย่างเหมาะสม อีกทง้ั เป็น จดุ เรม่ิ ตน้ ในการเลอื กเรยี นเพอ่ื ก้าวส่โู ลกของงานอาชีพในอนาคตตอ่ ไป 2.สมรรถนะการแนะแนว : ด้านการศึกษา ข้อ 3 ใชข้ อ้ มูลในการวางแผนการศกึ ษา 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 บอกเส้นทางการศึกษาต่อเม่ือจบ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ได้ถูกต้อง 3.2 อธิบายรายละเอียดการศกึ ษาตอ่ สายสามัญและสายอาชพี ได้อย่างถูกต้อง 3.3 ใชข้ อ้ มูลสารสนเทศเพื่อนามาประกอบการวางแผนการเรียนได้อย่างเปน็ ระบบและมีประสทิ ธิภาพ 3.4 นาขอ้ มลู ทีไ่ ด้จากการศึกษาไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจาวันของตนเองได้ 4. สาระการเรยี นรู้ 113 เสน้ ทางการศกึ ษาเม่อื จบชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 การศึกษาตอ่ สายสามัญและสายอาชพี การนาข้อมูลโลกกว้างทาง การศกึ ษามาประกอบการวางแผนการเรยี น 5. ช้นิ งาน/ภาระงาน 5.1 จัดป้ายนิเทศแผนผงั เส้นทางการศกึ ษาต่อเมือ่ จบชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 5.2 จดั ป้ายนิเทศสรปุ การศึกษาต่อสายสามัญ 5.3 จัดปา้ ยนิเทศสรุปการศึกษาต่อสายอาชีพ 6. วธิ ีการจดั กจิ กรรม 6.1 นักเรียนนั่งสมาธเิ พ่อื ทาจิตใจให้สงบก่อนเรยี น 6.2 ครนู าเข้าสู่บทเรยี น โดยสนทนาซกั ถาม - นักเรยี นคดิ วา่ จบ ม.3 แลว้ ใครจะไปเรียนต่อทีไ่ หนกันบ้าง ใครบา้ งจะออกไปทางาน - ในชุมชนหรอื จังหวดั ของเรา มสี ถาบันไหนบ้างท่รี บั ผจู้ บ ม.3 เขา้ ศึกษาต่อ - นกั เรยี นคดิ วา่ คนท่ีจะไปเปน็ ช่างไฟฟ้า เรยี นตอ่ ท่ีไหนได้บ้าง 6.3 ครูชี้แจงว่าใน 3 ชั่วโมงต่อไปนี้เราจะมาเรียนรู้กันว่า จบม.3 แล้วนักเรียนสามารถไปศึกษาได้ที่ ไหนกันบ้าง ควรพิจารณาเลือกอย่างไร อะไรที่เหมาะกับตนเอง ซ่ึงเป็นเร่ืองท่ีมีความสาคัญใกล้ตัว เป็นการ กาหนดอนาคตครง้ั สาคัญที่สุดครง้ั หน่ึงในชีวติ 6.4 ครูแนะนาการเรียนรู้ในวนั น้ี ให้นักเรียนได้ช่วยกันสบื ค้นข้อมูลจากเอกสาร หนังสือ หรืออินเทอร์เนต็ หรืออนื่ ๆ ได้อยา่ งหลากหลายและตามความตอ้ งการของนักเรยี น โดยการแนะนาเวบ็ ไซตเ์ พอื่ การสืบคน้ ข้อมูล 6.5 นกั เรียนแบ่งกลุ่มให้ได้ทั้งหมด 3 กลมุ่ แบง่ อุปกรณด์ ังนี้ ฟวิ เจอรบ์ อร์ดขนาดกลาง 1 แผน่ กระดาษกาว กาว กระดาษสี กระดาษตกแต่งและวัสดุตกแต่ง โดยมอบหมายให้นักเรียนแต่ละกลุ่มได้จับสลากเพ่ือรับผิดชอบงาน ดังน้ี
กล่มุ ท่ี 1 แผนผงั เส้นทางการศกึ ษาต่อเมือ่ จบชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 114 กลุม่ ท่ี 2 สรุปการศกึ ษาต่อสายสามญั กลุ่มที่ 3 สรปุ การศกึ ษาต่อสายอาชพี 6.6 นักเรยี นสบื ค้นข้อมลู และวางแผนการทางาน แบง่ หน้าทีร่ ับผดิ ชอบ ลงมอื ปฏิบตั งิ าน และนัดหมายให้ เตรียมขอ้ มลู ทจี่ ะใช้ในการจดั บอร์ด วสั ดุอปุ กรณ์ตกแต่งเพิ่มเตมิ มาทาตอ่ ในชั่วโมงต่อไป 6.7 นกั เรียนและครูสรปุ ความรูร้ ว่ มกนั นดั หมายคร้ังตอ่ ไป 6.8 ครูทกั ทายและทบทวนงานครั้งท่ีผา่ นมา ใหน้ กั เรียนชว่ ยกันตอบ 6.9 นกั เรียนแบง่ กลมุ่ เดิมทางานท่ีได้มอบหมาย ชว่ ยกันดาเนนิ งานให้เสรจ็ สน้ิ ภายในช่วั โมง 6.10 ครูคอยให้คาปรึกษาดูแลอยา่ งใกลช้ ดิ ให้กาลังใจ อานวยความสะดวกในเรื่องการเตรยี มวสั ดุต่าง ๆ ท่ใี ช้ ในการจดั บอรด์ เตรยี มเคร่ืองคอมพิวเตอร์ เครื่องพมิ พ์ กระดาษ 6.11 เมอื่ หมดชั่วโมง ใหน้ กั เรียนได้เก็บวัสดอุ ปุ กรณ์ ทาความสะอาดให้เรียบรอ้ ย 6.12 นัดหมายครั้งตอ่ ไปนักเรยี นใหเ้ ตรียมตวั นาเสนองานทุกกลุ่ม 6.13 ครทู กั ทายและทบทวนงานคร้ังทีผ่ า่ นมา ให้นักเรยี นช่วยกันตอบ 6.14 ตัวแทนนักเรียนจบั สลาก เพอื่ เรียงลาดบั การนาเสนอ 6.15 นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ออกมานาเสนองาน ผู้ฟงั บนั ทกึ ลงในสมดุ ของแตล่ ะคน เปิดโอกาสใหซ้ กั ถาม และ แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ 6.16 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปกิจกรมและประสบการณ์ที่ได้รับ และครูได้ให้ข้อคิดในการนาไปเป็น ส่วนสาคัญในการพิจารณาเลือกตัดสินใจศึกษาต่อ ทั้งน้ีต้องคานึงถึงองค์ประกอบอ่ืน เช่น ความสนใจ ความถนัด ความสามารถและบุคลิกภาพของตนเองดว้ ย 7. สอ่ื / อปุ กรณ์ 7.1 ฟวิ เจอรบ์ อร์ด กลุ่มละ 1 แผน่ 7.2 วัสดอุ ปุ กรณต์ กแต่ง เชน่ กระดาษกาว กาว กระดาษสี กระดาษตกแต่งและวสั ดุตกแตง่ อน่ื ๆ 7.3 เว็บไซต์ https://sites.google.com/site/senthangkarsuksatxhlangcbm3/ 7.4 เว็บไซต์ http://guidance.obec.go.th/?p=1068 7.5 เวบ็ ไซต์ http://www.trueplookpanya.com/true/guidance_sitemap.php 7.6 เวบ็ ไซต์ http://www.supergenz.com/learning/m3worldwide/ 8. การประเมนิ ผล 8.1 วธิ กี ารประเมนิ 8.1.1 สังเกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมของนักเรยี น 8.1.2 ตรวจผลงาน 8.2 เคร่ืองมือ 8.2.1 แบบบนั ทึกการสังเกตพฤติกรรม 8.2.2 แบบบันทึกการตรวจผลงาน
8.3 เกณฑ์การประเมิน 8.3.1 การสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมของนักเรียน เกณฑ์ ตัวบง่ ชี้ ผา่ น ให้ความรว่ มมือ ตง้ั ใจปฏิบัติกจิ กรรม ไมผ่ ่าน ไมป่ ฏบิ ัติครบทกุ ข้อ 8.3.2 การตรวจผลงาน เกณฑ์ ตวั บง่ ช้ี ผา่ น ถูกต้อง สมบูรณ์ มคี ะแนนผ่านร้อยละ 80 ไมผ่ ่าน มคี ะแนนผ่านน้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 115
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนวท่ี 13 หน่วยการจัดกิจกรรม การศึกษา ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1-3 เรอ่ื ง วางแผนชีวิตพิชติ ความสาเรจ็ จานวน 1 ช่วั โมง ...................................................................................................................................................................... 1. สาระสาคัญ การวางแผนชีวิตของตัวเองถือเป็นก้าวสาคัญท่จี ะทาให้นักเรียนเดินทางสเู่ ป้าหมายได้อย่างมที ศิ ทางท่ี ชดั เจน สามารถผา่ นปัญหาอุปสรรคทอี่ าจเกดิ ขึน้ และพฒั นาส่คู วามสาเรจ็ ในเวลาอนั เหมาะสม 2. สมรรถนะการแนะแนว : ดา้ นการศึกษา ขอ้ 3 ใช้ข้อมูลในการวางแผนการศกึ ษา 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3.1 วเิ คราะหต์ นเองรอบด้าน เชน่ ด้านความถนดั ความสนใจ ความสามารถ และบคุ ลิกภาพ 3.2 วางแผนเส้นทางการศึกษาต่อไดอ้ ย่างเหมาะสมกบั ตนเอง 4. สาระการเรียนรู้ การวเิ คราะหต์ นเองเพ่อื การวางแผนศึกษาต่อ 5. ชิน้ งาน/ภาระงาน 116 5.1 ใบงาน การวางแผนเสน้ ทางสู่ความสาเร็จ 5.2 ใบงาน การวางแผนแนวทางการเรียนรูส้ อู่ าชีพ 5.3 ใบงาน มารู้จกั สถานศกึ ษาที่ฉันสนใจ 6. วธิ ีการจดั กจิ กรรม 6.1 นกั เรยี นน่ังสมาธเิ พ่ือทาจิตใจใหส้ งบก่อนเรียน 6.2 ครนู าเข้าสบู่ ทเรียน โดยสนทนาซักถาม - นกั เรยี นคดิ วา่ การที่เรารู้จักตนเองมีความสาคญั มีประโยชนอ์ ยา่ งไร - นักเรยี นมีความถนดั ความสนใจ ความสามารถและบุคลกิ ภาพจากผลการทดสอบเปน็ อย่างไรบ้าง 6.3 ครูชวนสนทนาเรอื่ งประโยชน์ของการวางแผนเสน้ ทางการศกึ ษาของนกั เรยี น โดยใหน้ ักเรียน ชว่ ยกนั ตอบและครูเพ่มิ เตมิ ใหส้ มบูรณ์ 6.4 ครูแจกใบงานเรื่อง การวางแผนเสน้ ทางการศกึ ษาสู่ความสาเร็จ ใหเ้ วลาประมาณ 30 นาที 6.5 นกั เรยี นเขา้ กลมุ่ 4-5 คน นาเสนอในกลุ่มและแลกเปล่ียนเรียนรู้ 6.6 นกั เรียนส่งใบงานและครูเปิดโอกาสให้ซักถามเพม่ิ เติมและแลกเปลีย่ นเรียนรู้ 6.7 นกั เรยี นและครูสรุปความรู้ร่วมกนั 7. สอ่ื / อุปกรณ์ ใบงานเรือ่ ง การวางแผนเส้นทางการศึกษาส่คู วามสาเรจ็
8. การประเมนิ ผล 117 8.1 วิธีการประเมิน 8.1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมของนกั เรียน 8.1.2 ตรวจผลงาน 8.2. เคร่ืองมือ 8.2.1 แบบบันทึกการสังเกตพฤตกิ รรม 8.2.2 แบบบนั ทกึ การตรวจผลงาน 8.3. เกณฑก์ ารประเมิน 8.3.1 การสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมของนักเรยี น เกณฑ์ ตวั บง่ ช้ี ผา่ น ให้ความร่วมมือ ตง้ั ใจปฏิบตั ิกจิ กรรม ไม่ผา่ น ไมป่ ฏิบัติครบทกุ ข้อ 8.3.2 การตรวจผลงาน เกณฑ์ ตวั บ่งชี้ ผ่าน ถูกต้อง สมบูรณ์ มคี ะแนนผ่านรอ้ ยละ 80 ไม่ผา่ น มคี ะแนนผา่ นน้อยกว่าร้อยละ 80
ใบงานเรอ่ื ง การวางแผนเสน้ ทางสูค่ วามสาเร็จ คาชี้แจง ขอใหน้ ักเรยี นนาผลการวิเคราะห์ตนเองมาใช้ในการวางแผนเส้นทางการศกึ ษา โดยออกแบบ การนาเสนอผลงานใหช้ ัดเจนสมบูรณ์ ทางาน...................................... ทางาน................................... เรียน....................................................................... ที่............................................................................ 118 เรียน....................................................................... ท่.ี ........................................................................... เรยี น....................................................................... ที.่ ........................................................................... ความสามารถ....................... ความถนดั ............................... ความสนใจ.............................. บุคลกิ ภาพ...................................
แผนการจัดกจิ กรรมแนะแนวที่ 14 หนว่ ยการจัดกจิ กรรมการศกึ ษา ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 1-3 เรือ่ ง ร้เู ท่าทนั ปญั หา พัฒนาการเรียน จานวน 1 ชั่วโมง ..................................................................................................................................................................... 1. สาระสาคัญ ปัญหาของการเรยี นเปน็ ปัญหาทมี่ ีความสาคญั ผ้เู รยี นควรให้ความสนใจ ค้นหาสาเหตแุ ละวธิ ีแก้ไข โดยขอ คาแนะนา หรอื ชว่ ยเหลือจากบคุ คลใกล้ชดิ อาจจะเป็นเพอ่ื น ครู อาจารย์ หรือผูป้ กครองกไ็ ด้ 2. สมรรถนะการแนะแนว: ด้านการศกึ ษา ขอ้ 4 พัฒนาตนเองดา้ นการเรียนไดเ้ ต็มตามศกั ยภาพ 3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 ระบสุ าเหตุของปัญหาเก่ียวกับการเรียนได้ 3.2 แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับแนวทางการแก้ไขปัญหาและพฒั นาการเรียนได้ 4. สาระการเรยี นรู้ วธิ ีการเรียนไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 5. ชนิ้ งาน / ภาระงาน (ถา้ ม)ี - ใบงาน เรื่อง “ทาอยา่ งไรฉันจะเรยี นได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ” 6. วธิ กี ารจัดกจิ กรรม 119 6.1 ครสู นทนากับนักเรยี นเร่อื งการเรียนของนักเรียนแต่ละคนวา่ เปน็ อย่างไร 6.2 ครแู บง่ กลุ่มนักเรยี นออกกลมุ่ ละ 4-5 คน ชว่ ยกนั คดิ วิธกี ารช่วยเหลือเพื่อนที่มปี ัญหาตา่ ง ๆ และ แนวทางช่วยเหลอื เพ่ือนใหก้ ลับมาเรยี นดี โดยบนั ทกึ ลงในใบงาน เร่ือง “ทาอยา่ งไรฉันจะเรยี นได้อยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ” 6.3 ครใู ห้แตล่ ะกล่มุ สง่ ตวั แทนออกมานาเสนอหน้าชัน้ เรยี น 6.4 ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปถึงความสาคัญของการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการเรียนว่า “ปัญหาของการเรียน เป็นปัญหาท่ีมีความสาคัญ ผู้เรียนควรให้ความสนใจ ค้นหาสาเหตุและวิธีแก้ไข โดยขอคาแนะนา หรือช่วยเหลอื จาก บคุ คลใกลช้ ิด อาจจะเป็นเพื่อน ครู อาจารย์ หรอื ผปู้ กครองก็ได้” 7. สือ่ / อปุ กรณ์ 7.1 ใบความรู้ เรื่อง “ทาอย่างไรฉนั จะเรยี นได้อย่างมีประสิทธิภาพ” 7.2 ใบงาน เรือ่ ง “ทาอย่างไรฉันจะเรยี นได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ” 7.3 เกมลูกบอลพาเพลิน
8. การประเมนิ ผล 120 8.1 วธิ ีการประเมิน 8.1.1 สังเกตการปฏิบตั ิกิจกรรม 8.1.2 ตรวจใบงาน 8.2 เครอ่ื งมือประเมิน 8.2.1 แบบบันทกึ การสงั เกตพฤตกิ รรม 8.2.2 แบบบันทึกการตรวจผลงาน 8.3 เกณฑ์การประเมิน 8.3.1 สังเกตจากการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม เกณฑ์ ตวั บ่งช้ี ผา่ น มคี วามตั้งใจรว่ มกิจกรรม ให้ความรว่ มมอื กับกลุ่มในการอภปิ รายแสดงความ คิดเห็น และส่งงานตามกาหนด ไมผ่ ่าน ไมใ่ ห้ความรว่ มมือกับกลมุ่ หรอื ขาดสง่ิ ใดสง่ิ หนงึ่ 8.3.2 ตรวจใบงาน เกณฑ์ ตวั บ่งชี้ ผ่าน ทาใบงานครบและถกู ต้อง ไมผ่ ่าน ขาดสง่ิ ใดสง่ิ หนงึ่
ใบความรู้เร่อื ง ทาอย่างไรฉันจะเรยี นได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 1. คนเรยี นเก่ง แบ่งเวลาเป็น 121 เคลด็ ลบั ข้อแรก ถงึ แม้วา่ เราจะชอบเล่นเกม อ่านการ์ตนู เล่นกฬี า ดูหนงั ฟังเพลง ช้อปปง้ิ ฯลฯ ขอแคเ่ รา แบ่งเวลาให้เป็น เวลาไหนเล่นก็เล่น เวลาไหนเรียนก็เรียน จะเล่นวันละกี่ชั่วโมงก็ได้ แต่ขอเจียดเวลามาเรียน นอกเหนอื จากในหอ้ งเรยี นสกั วันละ 30 นาที – 1 ชัว่ โมงกพ็ อแลว้ (เสาร์-อาทติ ย์ไมต่ อ้ งก็ได)้ ทาง่าย ๆ แต่ได้ผล 2. คนเรียนเก่ง ทบทวนลว่ งหน้า-หลังเรยี น เขา้ หัวไม่ตอ้ งจา เช่ือว่าข้อนี้ถูกใจคนขี้เกียจจาไมน่ ้อย เคล็ดลับง่าย ๆ อ่านล่วงหน้าก่อนเข้าห้องเรียนสัก 10-15 นาที อ่าน ผา่ น ๆ แคห่ วั ข้อก็พอวา่ วันน้ีเราจะเรยี นอะไรบา้ ง พอตกเยน็ กอ็ า่ นทบทวนผ่าน ๆ อีกรอบว่าวันน้ีเราเรยี นอะไรไป วันต่อวัน มันจะเขา้ ไปอยใู่ นหัวเองไม่ตอ้ งออกแรงจาให้เมื่อย แถมทาบอ่ ย ๆ มันจะประติดประตอ่ กันเองทง้ั เทอม 3. คนเรียนเก่ง ไม่ผลัดวนั ประกนั พรุ่ง แมห้ ลาย ๆ คนจะรู้อยวู่ ่าดินพอกหางหมูไม่ดี แต่กเ็ ช่ือว่าทุก ๆ คนก็เคย หรือยังมีดินพอกหางหมูอยู่ทั้งนั้น นายติวฟรีเองเคยพอกนานถึงสองเดือนด้วยซ้า มันลาบากมากที่ต้องมาตามแก้ดินพอกหางหมู บางครั้งใช้เวลา มากกว่าเดมิ 3 เทา่ บา้ ง 4 เท่าบ้าง รูง้ ้ที าซะเลยไมป่ ล่อยใหพ้ อกกด็ ีหรอก 4. คนเรยี นเก่ง ไมเ่ รียนอัดกอ่ นสอบ ข้อนี้ตามสองข้อที่แล้วมาติด ๆ ถ้าน้องปล่อยพอกไว้ต้ังแต่ต้นเทอม ยันปลายเทอม แล้วมาอัดอ่านทีเดียว ก่อนสอบ มันจะไม่ทันเอา หลายเรื่อง หลายวิชา ถ้าใครเคยเรียนอัดก่อนสอบคงรู้ดี (นายติวฟรีก็เคยทา) ว่า อ่าน บทแรกก็ยังโออยู่ แต่พออ่านบทสอง ดันลืมบทแรก พออ่านบทสาม ดันลืมบทสอง ฯลฯ แบบน้ีเรียกว่า ได้หน้าลืม หลัง มาดูตัวอย่างสด ๆ กันตรงนี้เลย นายติวฟรีถามว่า เคล็ดลับข้อแรกคืออะไร (ห้ามย้อนกลับไปอ่านนะ) เชื่อว่า ตอบไม่ได้กันเกินคร่ึง อิอิ จริง ๆ แล้วมันมีเหตผุ ลทางวิทยาศาสตร์สนับสนนุ อยู่นะว่า สมองของคนเรา จะสามารถ จดจาเรือ่ งราวต่าง ๆ ไดด้ ีโดยคอ่ ย ๆ จดคอ่ ยๆจาสะสมไปเรอื่ ย ๆ ถา้ มาพยามจดจาในระยะเวลาสัน้ ๆ มันจะไมเ่ ข้า หวั ขนาดไอน์สไตน์ฉลาดเปน็ กรด กย็ ังจาเยอะ ๆ ในเวลาส้ันๆไมไ่ หวเลย 5. คนเรยี นเก่ง ลงมือทาโจทย์ แบบฝึกหดั การบา้ น หลายคนมองขา้ มการทาโจทย์และแบบฝึกหดั ต่าง ๆ ไปโดยส้นิ เชิง แลว้ กลับไปให้ความสาคญั กับการเรียน เน้ือหา หรือทฤษฎีต่าง ๆ หลาย ๆ คนหนักข้อ แบบฝึกหัดข้อแรกท่ีได้ทาคือในห้องสอบนั่นเอง แล้วมันจะทาได้ ยังไง พอออกมาจากห้องสอบก็น้าตาตกในทาไม่เป็น นักฟุตบอลเก่ง ๆ อย่างเมสซ่ี เขามีความลับในความเก่งซ่อน อยู่ นั่นคือเขาใชเ้ วลาเรียนทฤษฎีนิดเดยี ว เอาใหไ้ ด้ครบสักรอบสองรอบก็พอ แล้วใชเ้ วลาที่เหลอื ไปทุ่มเทใหก้ ับการ ซ้อมในสนาม (ทาแบบฝีกหัด) อย่างหนักทุกวัน ๆ ถ้าอยากเรียนเก่งเหมือนเมสซ่ีเล่นบอลเก่ง เราก็ต้องขยันทา แบบฝึกหัดเยอะ ๆ เข้าไว้ 6. คนเรยี นเกง่ ทา mind map เรียนร้จู ากภาพใหญ่ไปภาพเลก็ มันจะง่ายกวา่ เยอะมากถ้าเรามองความสัมพันธ์ของเน้ือหาทั้งหมดโดยรวม วา่ มันเกย่ี วข้องกับอะไร แล้วมี หัวข้ออะไรบ้าง แต่ละหัวข้อเกี่ยวข้องกันอย่างไร อย่างการทา mind map น้ัน ช่วยได้มาก ๆ ที่สาคัญทาง่ายด้วย ไม่ ต้องคิดว่ามนั เป็นเร่อื งยาก แค่มีกระดาษกะปากกา กส็ ามารถทาเองได้แล้ว
7. คนเรียนเก่ง ทาสรปุ /ช้อทโน้ตดว้ ยตัวเอง 122 การทาสรุปหรือช้อทโน้ตจะเป็นเสมือนการทบทวนและสรปุ เนอื้ หาด้วยตัวเอง น้อง ๆ จะมีสรุปของเพ่ือน ทเี่ ก่ง ๆ กไ็ ด้ แตส่ าคัญคือให้ทาเวอร์ชันของตวั เองด้วย (เขียนสรปุ จากสรปุ ของเพื่อนก็ได้นะ) แค่การทาก็เหมือนว่า ไดท้ บทวนไปแล้วรอบหน่ึง ท่สี าคญั คอื เม่ือตวั เองมาอ่านสรปุ ของตัวเองแล้วนั้น มันจะจาได้ชัดเจนมากกว่าการอ่าน สรปุ ของคนอ่ืนมาก ๆ ย่งิ ถา้ เขียนสรุปด้วยปากกาหลายสี วาดรปู น่ารัก ๆ ลงไป บางคร้งั ในห้องสอบจาได้ด้วยแน่ะ ว่า ตรงนี้เราสรุปด้วยปากกาสีอะไร วาดรูปอะไรลงไป 8. คนเรียนเก่ง ตวิ เป็นกลมุ่ กับเพอ่ื น ผลัดกันถาม ผลัดกันตอบ การอ่านคนเดียวบางคร้ังเราก็มองข้ามเร่ืองสาคัญบางเร่ืองไป การจับกลุ่มกะเพ่ือน ติวหรือผลัดกันถาม ตอบ ก่อนสอบ จะทาให้เราได้ในส่วนท่ีเรามองข้ามไป ถึงบางอ้อหลายจุด บางคร้ังการจับกลุ่มถามตอบก่อนเข้า หอ้ งสอบไมก่ ี่ชวั่ โมงกท็ าให้เราจาอะไรดี ๆ ไดม้ ากกว่าทค่ี ิดอกี นะ 9. มน่ั ใจในตัวเอง อยา่ คิดว่าตวั เองไมเ่ ก่งเรียนยังไงกไ็ มไ่ ด้ ข้อห้ามที่สาคัญมาก ๆ หา้ มคิดว่าตวั เองไมเ่ ก่งแลว้ ไม่สามารถทาไดเ้ ด็ดขาด เด็กไมเ่ กง่ ก็มีวธิ ีเรียนดีของเด็ก ไมเ่ ก่งเหมือนกนั ทอ้ ไดแ้ ตห่ ้ามยอมแพเ้ ด็ดขาด! 10. คนเรยี นเกง่ ดูแลตัวเอง กนิ ให้พอ นอนให้พอ หลาย ๆ คนคิดว่า น่ีคือเคล็ดลับตรงไหนเน่ีย แต่ที่จริงแล้ว มันเป็นสุดยอดเคล็ดลับ ท่ีทาให้น้องเก่งจาก ภายใน ร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์ กินอ่ิมนอนหลับ จะส่งผลให้ สมองปลอดโปร่งตามไปด้วย พอสมองปลอดโปร่ง จะแล่นมาก จาอะไรได้งา่ ยกว่า เรว็ กว่า เยอะกวา่ ไม่ลองไมร่ นู้ ะเออ
ใบ ใบงานเรอื่ ง ทาอยา่ งไรฉันจะเรยี นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 123 ชือ่ กลุ่ม.............................................................................................. สมาชิก 1........................................................................................... 2……………………………………..………………………………….…… 3…………………………………………………….…………….….……… 4………………………………………………………….……….….……… 5……………………………………………………………..……….……… คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรียนศึกษากรณตี วั อย่าง แล้วบอกวิธีทจ่ี ะช่วยเพ่ือนให้กลบั มาเรียนดลี งในกรอบที่กาหนดให้ 1. สมชายชอบดกู ารถา่ ยทอดการแขง่ ขันฟุตบอลตอนกลางคืนตอ่ เนื่องถึงตี 1 ตี 2 สมชายจึงมา โรงเรียนสายบอ่ ย ๆ แนวทางแก้ไข .............................................................................................................................. ................................. .................................................................................................. .................................................... ......... ............................................................................................................................. .................................. . 2. จนั สดุ ามรี นุ่ พ่ี ม.6 มาชอบทาให้สนใจการเรียนน้อยลง เพราะหนั มาเอาใจใส่ดา้ นความสวยความ งาม พอตกเยน็ จะต้องคอยร่นุ พี่เพ่ือกลบั บา้ นพร้อมกันเสมอ แนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................. ............................ 3. วทิ ยามสี ุขภาพไมแ่ ข็งแรง เขาต้องหยุดเรียนบอ่ ย ๆ ทาใหเ้ รยี นตามเพื่อนไม่ทัน แนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ....................................... .................................................................................................................................................... 4. เดอื นเพ็ญต้องช่วยแม่ทางานตั้งแต่หลังเลกิ เรียนจรถึง 4 ทมุ่ และต้องตืน่ ตี 4 ทาให้เธอตอ้ ง อดหลับอดนอนทาการบ้านและงานที่ครูส่งั บางครง้ั ก็ส่งช้า และงานทสี่ ง่ ก็ไมเ่ รยี บร้อย แนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ..................................... ............................................................................................ ................................................................
5. ในช่ัวโมงเรยี นอนิรธุ ชอบคุยกับเพ่ือนเป็นประจา ไม่สนใจเวลาอาจารยส์ อน ทาให้ไม่เขา้ ใจบทเรียน และงานท่สี ่งก็ไม่เรียบร้อย แนวทางแก้ไข ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................. 6. โกวทิ นั่งหลงั สุดของห้องเรียนเนื่องจากเขาสูงถึง 180 ซม. ต่อมาเขาเรม่ิ รตู้ ัววา่ สายตาสั้น มอง 124 กระดานไม่ชัด จะไปตดั แวน่ กไ็ ม่มีเงนิ เนื่องจากผปู้ กครองตกงาน แนวทางแก้ไข ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ................................. ............................................................................................................................................ ................... ............................................................................................................................................................... 7. ลลิตาเปน็ นักเรียนท่เี รยี นชา้ และเรียนตามเพื่อนไม่ทัน ลลิตาไมช่ อบถามครู และมักจะขอลอก การบ้านจากเพ่ือนทเ่ี รยี นเกง่ อย่เู สมอเวลาสอบจึงได้ศนู ย์คะแนนเปน็ ประจา แนวทางแก้ไข .............................................................................................................................................................. ... .........................................................แ..บ...บ..ส...งั ..เ.ก..ต...ก..า..ร..ท...า..ง.า..น...ก..ล...่มุ ............................................................ 8. ฤดีวรรณชอบแตง่ ตวั ผิดระเบยี บ เธอมกั จะคอยหลบอาจารย์ฝา่ ยปกครองทุกครง้ั อาจารย์ จะเตอื นเธอเร่ืองการแตง่ กาย เธอจงึ เข้าห้องเรียนชา้ หรอื ไมค่ ่อยเขา้ เรียนอยู่บ่อยครั้ง แนวทางแก้ไข ............................................................................................................................................. ........................................................................................................................................... 9. แสงศกั ดิม์ รี ูปรา่ งอ้วนใหญ่ วชิ ายดื หยุน่ เปน็ วชิ าท่ีแสงศกั ดิเ์ ปน็ กงั วลมาก เนื่องจากไม่สามารถ ทากิจกรรมที่อาจารยส์ อนได้ วนั ไหนท่ีมีวิชานี้แสงศักดจ์ิ ึงมักจะหยดุ เรยี นเสมอ แนวทางแก้ไข .............................................แ..ผ..น..ก...า.ร..จ..ดั...ก..ิจ..ก..ร..ร..ม..แ..น..ะ..แ..น...ว..ท..่ี...1..6............................................... ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ...
แผนการจัดกจิ กรรมแนะแนวท่ี 15 หนว่ ยการจัดกิจกรรมการศึกษา ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1-3 เร่อื ง วางแผนเป็นระบบพบความสาเร็จ จานวน 1 ชั่วโมง ............................................................................................................................. .................................................. 1. สาระสาคญั การวางแผนการเรยี นเป็นปัจจัยสาคัญทจ่ี ะส่งผลให้ผ้เู รียนสามารถเรียนได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ผูเ้ รียนท่ีสา มาถนาผลการเรียนของตนเองมาวิเคราะห์เพ่ือเป็นแนวทางในการตัดสินใจ และแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์เพื่อ พัฒนาการเรียนของตนเองใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ 2. สมรรถนะการแนะแนว : ด้านการศึกษา ขอ้ 4 พฒั นาตนเองดา้ นการเรียนได้เต็มตามศกั ยภาพ 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 วิเคราะหผ์ ลการเรียนเพ่ือนาข้อมูลมาพัฒนาตนเองดา้ นการเรียนของตนเองได้ 3.2 คิดวิเคราะห์ ตดั สนิ ใจ และแกป้ ัญหาอย่างสร้างสรรคเ์ พอื่ พัฒนาการเรียนของตนเองได้ 4. สาระการเรียนรู้ การนาผลการเรยี นมาวเิ คราะห์เพอื่ พัฒนาการเรียนใหม้ ีประสิทธภิ าพ และวธิ ีการปฏิบัติตนเพื่อพัฒนา ทกั ษะการเรยี นทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพ 5. ช้นิ งาน / ภาระงาน (ถา้ มี) 125 5.1 ใบงาน “วางแผนเป็นระบบพบความสาเรจ็ ” 5.2 การนาเสนองาน 6. วิธีการจัดกิจกรรม 6.1 นักเรียนและครสู นทนาแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ รว่ มกัน ดงั นี้ - จากการสอบทผ่ี ่านมาผลการเรียนเรียนของนักเรียนเปน็ อย่างไรบา้ ง - นักเรียนพงึ พอใจผลการเรียนจากการสอบในครัง้ น้ีมากน้อยเพยี งใด 6.2 นักเรียนจับค่ศู ึกษาใบความรู้ เร่อื ง การนาตนเองส่คู วามสาเร็จในการศึกษา 6.3 ให้นกั เรียนทาใบงาน “วางแผนเป็นระบบพบความสาเร็จ” โดยเขยี นแผนภูมคิ วามคิดเพอื่ วเิ คราะห์ สาเหตุของการเรยี นไม่ดแี ละระบวุ ิธีทีจ่ ะแกป้ ัญหาการเรยี นของตนเอง 6.4 นกั เรยี นวางใบงานไว้ท่โี ตะ๊ เรียน ครกู าหนดเวลาใหน้ ักเรยี นลุกขึน้ เดินไปหาเพื่อนของตนเองทนี่ ั่งถัด จากตนเอง จากนนั้ อา่ นข้อความของเพ่ือนแล้วเขียนเพิ่มเติมข้อมลู ท่ีเป็นประโยชน์ลงในใบงานของเพอ่ื น (ทาต่อไปอีก 2-3 ครั้ง) 6.5 นักเรยี นกลบั ไปนัง่ ที่ของตนแล้วอ่านขอ้ ความท่เี พ่ือนเขียนเพมิ่ เตมิ ครสู มุ่ นักเรยี นอ่านขอ้ ความในใบงาน 6.6 นกั เรียนและครรู ่วมกนั สรุปข้อคิดทไี่ ด้จากการทากจิ กรรม พร้อมทั้งบอกวธิ ีการปฏบิ ตั ิตนเพอ่ื พัฒนา ทักษะการเรยี นทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ 7. สอื่ /อุปกรณ์ 7.1 ใบความรู้ เร่อื ง การนาตนเองสู่ความสาเร็จในการศึกษา 7.2 ใบงานเรอื่ ง วางแผนเปน็ ระบบพบความสาเรจ็ ”
8. การประเมินผล 126 8.1 วิธีการประเมนิ 8.1.1 สงั เกตการปฏิบตั ิกิจกรรม 8.1.2 ตรวจใบงาน 8.2 เครอ่ื งมือประเมิน 8.2.1 แบบบันทกึ การสงั เกตพฤตกิ รรม 8.2.2 แบบบันทึกการตรวจผลงาน 8.3 เกณฑ์การประเมิน 8.3.1 การสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรมของนกั เรยี น เกณฑ์ ตวั บ่งชี้ ผ่าน มคี วามตัง้ ใจร่วมกจิ กรรม ให้ความร่วมมือกบั กลุ่มในการอภปิ รายแสดงความ คดิ เหน็ และสง่ งานตามกาหนด ไม่ผ่าน ไมใ่ ห้ความร่วมมือกับกลมุ่ หรือ ขาดสงิ่ ใดสิ่งหน่ึง 8.3.2 การตรวจผลงาน เกณฑ์ ตวั บ่งชี้ ผ่าน บอกสงิ่ ที่ต้ังใจจะทาเพ่ือใหม้ ผี ลการเรยี นดีได้ ไมผ่ ่าน ไมส่ ามารถบอกสิง่ ท่ีตง้ั ใจจะทาเพ่อื ให้มผี ลการเรียนดีได้
ใบความรู้ ประกอบการจดั กจิ กรรมแนะแนว เรื่อง วางแผนเปน็ ระบบพบความสาเรจ็ 127 เรอ่ื ง การนาตนเองสูค่ วามสาเร็จในการศกึ ษา การนาตนเองเพื่อใหป้ ระสบผลสาเร็จในการศึกษาหรือบรรลตุ ามเปา้ หมายท่ีต้งั ไว้ สามารถปฏบิ ัตไิ ดต้ าม แนวทางตอ่ ไปน้ี 3.1 จัดสรรเวลาทจี่ ะใชใ้ นการศกึ ษา การจัดสรรเวลาเพ่อื ใชใ้ นการศึกษาด้วยตนเอง 3.2 ทาตารางเวลาเรียน เป็นตารางเรียนประจาสปั ดาห์ทีจ่ ะใชต้ ลอดภาคการศึกษา 3.3 วางแผนการศึกษา เพือ่ ให้นักเรยี นทราบวา่ ตลอดภาคการศกึ ษา จะต้องทากจิ กรรมการศกึ ษา อะไรบา้ ง โดยเริ่มตั้งแตเ่ ปดิ ภาคการศึกษาจนถึงสอบไล่ 3.4 กากบั ตนเองอยา่ งมรี ะบบ นักเรยี นสามารถกากบั ตนเองได้อย่างมีระบบ ข้นั ตอนในการเรยี นแต่ละคร้ัง ให้ บรรลเุ ปา้ หมายได้ โดยสามารถปฏิบัติ ดังนี้ 3.4.1 กาหนดเป้าหมายในการเรียนแต่ละคร้งั เช่น ต้องการเรียนรู้อะไรบ้าง ต้องการบรรลผุ ล อะไรบ้าง ใช้เวลายาวนานเท่าใด โดยดจู ากวตั ถุประสงค์ในแผนการสอนเปน็ หลกั และให้ สอดคลอ้ งกบั แผนทีก่ าหนดไวใ้ นแตล่ ะสปั ดาห์ 3.4.2 ปฏิบตั ติ ามแผนทก่ี าหนดไว้ คือ ศกึ ษาจากเอกสารการสอนหรือส่อื ต่าง ๆ ตามที่กาหนดไว้ใน แผน และมงุ่ ศึกษาเพื่อใหบ้ รรลุตามเป้าหมายการเรียนทต่ี ง้ั ไวใ้ ห้ได้ 3.4.3 บันทกึ ผลการการปฏิบตั ขิ องตนเองไว้ เชน่ บนั ทึกเวลาเร่มิ ต้นและส้ินสดุ การเรยี นในแต่ละ ครั้ง บันทึกปริมาณเน้ือหาที่ไดอ้ า่ นในแตล่ ะครั้ง เป็นต้น 3.4.4 ประเมินตนเอง โดยพิจารณาวา่ ไดป้ ฏิบัตติ ามแผนที่กาหนดไว้หรอื ไม่ และสามารถศึกษาได้ ตามเป้าหมายทีก่ าหนดไว้ไดห้ รือไม่ ในปริมาณมากน้อยเพยี งใด 3.4.5 จงู ใจตนเอง เพอื่ เป็นการกระตุ้นความคดิ ความรู้สึก และการปฏบิ ัตขิ องตนเอง ซ่งึ สามารถ ปฏิบัตไิ ด้หลายวธิ ี เชน่ ทาสัญญาณเตือน เชน่ ทาตารางเรยี นทสี่ ามารถมองเห็นไดช้ ดั ป้ายคา ขวัญ คติเตอื นใจ 3.4.6 สร้างความตระหนกั เช่น คดิ วา่ หากไมเ่ รียนตามแผนจะเกดิ ผลเสียอะไรแก่ตนเองใน อนาคต และหากเรยี นจะมผี ลดีอะไรแก่ตนเองในอนาคต 3.4.7 สร้างความเชือ่ มั่น เชน่ ตนเองสามารถเรยี นรู้แต่ละเรื่องได้ 3.4.8 สร้างความภาคภมู ิใจในตนเอง ทีต่ นเองสามารถปฏิบัติได้ตามเป้าหมายหรือแผนท่วี างไว้ 3.4.9 ใหร้ างวัลแก่ตนเองเป็นครั้งคราวตามสมควร เมอ่ื สามารถปฏิบตั ไิ ด้ตามแผนท่กี าหนดไว้ 3.4.10 ตาหนิตนเอง หากไม่ศึกษาเอกสารการสอนตามแผนที่กาหนด 3.4.11 ทากราฟหรือแผนภูมิแสดงความก้าวหนา้ ในการศึกษาแต่ละสปั ดาห์ 3.4.12 วธิ อี ื่น ๆ ท่ีใชจ้ งู ใจตนเองได้
ใบงานเรอื่ ง “วางแผนเปน็ ระบบพบความสาเรจ็ ” คาชแ้ี จง ให้นักเรยี นเขยี นแผนภูมคิ วามคิดแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับสาเหตุของการเรยี นไมด่ ี และระบุวิธที ่จี ะ แก้ปญั หาการเรียนของตนเอง 128 ชอื่ .................................................................................................ชน้ั .................... ....เลขท.่ี ...........
แผนการจดั กิจกรรมแนะแนวท่ี 16 หน่วยการจดั กิจกรรมการศึกษา ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1-3 เรอื่ ง เรยี นรูห้ ลากหลายจดุ ประกายความฝนั จานวน 2 ชั่วโมง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 1. สาระสาคัญ การพัฒนาตนเองเพื่อไปสู่เป้าหมายชีวิต ทั้งเป้าหมายการเรียนในระยะสั้น เป้าหมายการศึกษาต่อที่จะ นาไปสู่เป้าหมายอาชีพในอนาคตถือเป็นส่ิงสาคัญ หากนักเรียนมีเป้าหมายทางการเรียนที่ชัดเจน จะนาไปสู่การ สร้างแรงจูงใจในการพัฒนาตนเองเพื่อไปสู่เป้าหมายชวี ิตท่ีกาหนดไว้ และการรู้จักรูปแบบการเรียนรู้ที่ส่งเสรมิ การ เรยี นรู้ ของตนเองเพ่ือนาไปใชป้ ระกอบการเลือกและตัดสินใจดา้ นการเรยี นได้ ตลอดจนสามารถแสดงความคดิ เห็น เชิงสร้างสรรค์ด้านการศึกษาเป็นปัจจัยที่ช่วยให้มีเวลาสาหรับทากิจกรรมอื่น ๆ ท่ีเป็นประโยชน์ในอนาคต เพ่ือ นาไปสกู่ ารสร้างแรงจงู ใจในการพฒั นาตนเองให้ก้าวไปสเู่ ปา้ หมายชีวติ ทน่ี กั เรียนได้ตง้ั ไว้ 2. สมรรถนะการแนะแนว: ด้านการศกึ ษา ขอ้ 4 พฒั นาตนเองด้านการเรียนไดเ้ ตม็ ตามศักยภาพ 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 129 3.1 อธบิ ายรปู แบบกจิ กรรมทีส่ ่งเสรมิ การเรยี นรู้ได้ดว้ ยตนเอง 3.2 อธิบายเหตุผลในการเลอื กและตัดสนิ ใจดา้ นการเรียนได้ 3.3 แสดงความคดิ เห็นเชงิ สร้างสรรค์ดา้ นการศึกษาได้ 4. สาระการเรยี นรู้ ระดบั เชาวนป์ ัญญา หรอื ไอคิว รปู แบบการเรยี นรู้ การเลอื กและการตัดสนิ ใจด้านการเรยี น 5. ชน้ิ งาน / ภาระงาน 5.1 ใบงาน คาถามเชาวน์ปญั ญา 5.2 ใบงานจตั ุรสั วดั ไอควิ 5.3 ใบงานแบบสารวจรปู แบบการเรียนรู้ 5.4 การนาเสนองานกลุ่ม 6. วิธีการจดั กจิ กรรม ช่วั โมงที่ 1 6.1 ครูและนักเรียนสนทนาเพ่ือสร้างบรรยากาศท่ีเป็นกันเองกับผู้เรียน ครูตั้งคาถาม IQ หมายถึงอะไร และเกีย่ วขอ้ งกับตวั นกั เรยี นอย่างไร สมุ่ ตัวอย่างนกั เรียนใหต้ อบคาถามจานวน 2–3 คน 6.2 แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน โดยแต่ละกลุ่ม จะต้องมีประธาน รองประธาน เลขานุการและสมาชกิ กลุ่ม พร้อมทั้งแจกใบความรู้ที่ 1 เร่ือง “ความฉลาดตามธรรมชาตขิ องคนเราและไอควิ ” ให้ นักเรยี นศกึ ษาเกีย่ วกับใบงานให้เข้าใจ 6.3 นักเรียนทาใบงานท่ี 1 เรื่อง “คาถามเชาวน์ปัญญา” โดยให้ผู้เรียนทุกคนร่วมกันอภิปรายและตอบ คาถามลงในใบงาน ต่อจากน้นั ครูให้ผูเ้ รยี นบนั ทกึ ความคิดของกลมุ่ ที่ได้ลงในกระดาษ A4 แล้วส่งตัวแทนแต่ละกลุ่ม ทั้ง 5 กลุ่ม ออกมานาเสนอหนา้ ช้นั เรียนทีละกลุ่ม
6.4 นักเรียนทาใบงานที่ 2 เรื่อง “จัตุรัสวัดไอคิว” ให้นักเรียนแต่ละคนทาใบงานตามคาช้ีแจงของใบงาน 130 พรอ้ มทั้งครูอธบิ ายวธิ ีการทาเพ่มิ เติมและสง่ ใบงานตามเวลาทคี่ รกู าหนด 6.5 ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการพัฒนาเชาวน์ปัญญาของตนเอง พร้อมท้ังให้ บอกเหตผุ ลในการเลอื กและตดั สนิ ใจแนวทางในการนาไปพฒั นาการเรยี นของตนเอง ชว่ั โมงที่ 2 6.6 นักเรียนและครูร่วมกันแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกับรูปแบบการเรียนรู้ นักเรียนจะต้องจัดการกับเร่ือง ใดใหม้ ีประสทิ ธิภาพ (สมุ่ ถามนักเรยี น 4-5 คน) 6.7 นักเรียนศึกษาใบความรู้เรื่อง “รูปแบบการเรยี นรู้” 6.8 นกั เรียนทาใบงาน เรือ่ ง “รปู แบบการเรยี นรู้” โดยใหน้ ักเรยี นทกุ คนตรวจสอบการใช้เวลาของตนเอง 6.9 สุ่มตวั แทนนกั เรียน 4-5 คน ออกมานาเสนอหน้าชนั้ เรยี น 6.10 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกับรูปแบบกิจกรรมท่ีส่งเสริมการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง พร้อมทั้งให้ ระบเุ หตผุ ลในการเลอื กและตดั สินใจแนวทางในการนาไปพฒั นาการเรยี นของตนเอง 6. ส่อื / อุปกรณ์ 6.1 ใบความรู้ เรอื่ ง “ความฉลาดตามธรรมชาติของคนเราและไอคิว” 6.2 ใบงานที่ 1 เรอื่ ง “คาถามเชาวนป์ ัญญา” 6.3 ใบงานที่ 2 เร่อื ง “จตั ุรสั วดั ไอควิ ” 6.4 ใบความรู้ เรอ่ื ง “รปู แบบการเรยี นรู้” 6.5 ใบงาน เรื่อง “รูปแบบการเรยี นรู้” 8. การประเมินผล 8.1 วธิ ีการประเมนิ 8.1.1 สังเกตการปฏิบัตกิ จิ กรรม 8.1.2 ตรวจใบงาน 8.2 เครื่องมือประเมิน 8.2.1 แบบบนั ทึกการสงั เกตพฤติกรรม 8.2.2 แบบบนั ทึกการตรวจผลงาน 8.3 เกณฑ์การประเมิน 8.3.1 การสังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมของนกั เรียน เกณฑ์ ตัวบ่งชี้ ผ่าน มีความตง้ั ใจรว่ มกจิ กรรม ให้ความร่วมมือกบั กลุ่มในการอภปิ รายแสดงความ คดิ เหน็ และสง่ งานตามกาหนด ไม่ผ่าน ไมใ่ หค้ วามร่วมมือกับกลุ่ม หรือ ขาดสงิ่ ใดส่งิ หนึ่ง 8.3.2 ตรวจใบงาน ตัวบง่ ชี้ เกณฑ์ ผา่ น ทาใบงานครบและถกู ต้อง ไมผ่ ่าน ขาดส่ิงใดสิง่ หน่งึ
ใบความรู้ 131 เรอื่ ง ความฉลาดตามธรรมชาติของคนเราและ \"ไอควิ \" ระดับเชาวน์ปัญญา หรือ ไอคิว (IQ ย่อจาก Intelligence quotient) หมายถึง ความฉลาดทางเชาวน์ปัญญา การคิด การใช้เหตุผล การคานวณ การเช่ือมโยงไอคิว เป็นศักยภาพทางสมองที่ติดตัวมาแต่กาเนิด เปล่ียนแปลง แก้ไขได้ยาก ไอคิว สามารถวัดออกมาเป็นค่าสัดส่วนตัวเลขที่แน่นอนได้เทียบกับอายุคน ส่วนใหญ่มีไอคิวช่วง 90-110 สว่ นคนที่มไี อคิวเกนิ 120 ถือว่าเป็นคนท่ีมไี อคิวในระดับสงู สาเหตุจากการเล้ียงดูท่ีระดับสตปิ ัญญาของเด็กไทย ต่ากว่ามาตรฐานสากล สาเหตุสาคัญประการหนง่ึ เกิดจาก พ่อแม่เล้ียงดูแต่ด้านร่างกาย ไม่ได้ฝึกสอนเด็กให้เกิดการพัฒนาทางสติปัญญา แต่ยกภาระเหล่าน้ใี หเ้ ปน็ หน้าท่ีของ ครแู ละโรงเรียน ปัจจัยทางพันธุกรรม จากการศึกษาทั่วโลกพบว่าปัจจัยทางพันธุกรรมเกี่ยวข้องกับระดับสติปัญญา แต่ส่วนใหญ่ แลว้ ไม่ทราบถงึ ยนี ท่เี ก่ยี วข้องและอาจเปน็ สาเหตุ บางรายงานก็ไมพ่ บสาเหตทุ ่ีเกิดจากพันธุกรรมชัดเจน พัฒนาการในวัยทารกส่วนหนึ่งอาจจะเป็นปัญหาระหว่างการคลอด คลอดก่อนกาหนด คลอดออกมาขาด ออกซิเจน หรืออาจจะเป็นปัญหาจากโรคทางพันธุกรรม เป็นความผิดปกติระหว่างตั้งครรภ์ เช่น ได้รับสารพิษ ได้รับยาเสพตดิ หรอื สุราทาใหม้ พี ัฒนาการทางสมองช้า สมองไม่พัฒนาเท่าที่ควรปัจจัยหน่ึงที่น่าสนใจคือ ปัจจัยของสภาพแวดล้อมและการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม ทาให้ สมองไม่พฒั นาเทา่ ท่ีควร ระดบั ของเชาวน์ปัญญา - ระดบั 80 - 89 อยูใ่ นระดับปัญญาทบึ - ระดับ 70 - 79 เรียกว่าคาบเสน้ ปัญญาอ่อน - ระดับ 50 - 69 เรยี กว่าปญั ญาอ่อน ระดบั น้อย - ระดบั 35 - 49 เรยี กว่าปัญญาอ่อนระดับปานกลาง - ระดบั 20 - 34 เรยี กวา่ ปัญญาอ่อนมาก - ตา่ กว่า 20 เรียกว่าปญั ญาอ่อนมากท่ีสดุ
ใบงานท่ี 1 132 คาถามเชาวนป์ ัญญา 1. บางเดอื นมี 30 วัน บางเดอื นมี 31 วนั มีกีเ่ ดอื นที่มี 28 วนั 2. ถา้ คณุ มีไมข้ ดี ไฟเหลอื เพียงก้านเดียวแล้วตอ้ งเข้าไปในห้องที่ท้งั หนาวท้งั มืด ในหอ้ งนนั้ มฮี ีตเตอรน์ ้ามนั ตะเกยี งนา้ มันและเทียนไข คณุ จะเลอื กจุดอะไร 3. ชายคนหน่งึ สรา้ งบา้ นดว้ ยไมท้ ี่เป็นส่ีเหลีย่ มผนื ผ้าท้ัง 4 ดา้ น และหนั บ้านไปทางทิศใตถ้ า้ มีหมผี า่ นมาถามวา่ หมตี วั นัน้ จะมีสีอะไร 4. หยิบแอปเป้ิล 2 ลูกออกจากแอปเป้ิล 3 ลกู ถามว่าคุณจะได้อะไร 5. ถ้าคุณขบั รถซง่ึ บรรทุกคน 43 คน จากเชียงใหมแ่ ลว้ หยดุ รบั อกี 7 คน ข้ึนมา แลว้ หยดุ จอดให้คนลงทีล่ าพนู 5 คน จนมาถึงลาปางในอกี 20 ชั่วโมงต่อมา ถามว่าคนขับรถชือ่ อะไร เฉลย 1. 12 เดอื น เพราะทุกเดอื นก็มอี ยา่ งน้อย 28 วันอยูแ่ ล้ว 2. จุดไมข้ ีดไฟก่อน 3. สขี าว เพราะถา้ บา้ นหันไปทางทิศใตแ้ สดงว่าบา้ นตอ้ งอย่ทู ศิ เหนือหรอื ขวั้ โลกเหนือ 4. ได้แอปเป้ลิ 2 ลูก 5. ช่ือของคุณนนั่ แหละก็คณุ เป็นคนขบั รถนี่
ใบงานท่ี 2 จัตรุ ัสวดั ไอคิว คาช้แี จง ใส่รปู ทรงเรขาคณิตที่กาหนดใหล้ งในตาราง 25 ช่อง 1. ให้แนวตั้งหรือแนวนอน แตล่ ะแนวไม่มรี ูปเรขาคณติ ซา้ แบบกนั 2. ให้แนวต้ังหรอื แนวนอน แตล่ ะแนวไม่มรี ปู เรขาคณติ ท่ีมเี ลขซา้ กัน 133 11 1 22 2 33 3 44 4 55 5
เฉลย ใบงานที่ 2 จัตรุ สั วดั ไอคิว 4 1 3 12 4 14 2 134 3 1 2 1 5 2
แบบประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน การปฏิบัติงานรายบุคคล ที่ ชอ่ื - สกุล ขน้ั ตอนการ ดาเนินการ ความตั้งใจ สง่ ใบงาน ระดบั ปฏิบัตงิ าน ไดถ้ ูกตอ้ ง ในการปฏบิ ตั ิ ตามกาหนด คุณภาพ กจิ กรรม เวลา 3 2 13 213 2 1 3 2 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 135 10 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 3 คะแนน หมายถงึ มผี ลงานในหวั ข้อนัน้ อยา่ งชัดเจนและดาเนนิ การไดด้ ีมาก ระดับ 2 คะแนน หมายถึง มีผลงานในหวั ข้อนนั้ พอสมควรและดาเนินการได้ดี ระดบั 1 คะแนน หมายถึง มผี ลงานในหวั ข้อนัน้ น้อยและดาเนนิ การได้ไม่ดเี กณฑ์การแปลผล คะแนนระหว่าง 9-12 หมายถึง ผลงานอยใู่ นระดับ 3 คะแนนระหวา่ ง 6-8 หมายถึง ผลงานอยู่ในระดับ 2 คะแนน นอ้ ยกวา่ 5 หมายถึง ผลงานอยูใ่ นระดับ 1
แบบประเมนิ พฤติกรรมการทางานกลมุ่ คาชี้แจง ครูบันทึกคะแนนจากแบบประเมนิ พฤติกรรมนกั เรียนตามจุดประสงค์ดังต่อไปนี้ แล้วประเมนิ ผล ตามเกณฑ์ที่กาหนด ชื่อ………………………………..นามสกลุ ……………………………ชน้ั ........................เลขท…ี่ ………… หวั ข้อ 3 เกณฑ์ 1 1. การเขา้ ร่วมกจิ กรรม เขา้ ร่วมทุกครง้ั 2 รว่ มงานกลุ่มเป็นครั้ง นาน ๆ จะขาดสกั ครงั้ ราว หรือไมค่ ่อย ร่วมงานกลุ่ม 2. ความรับผิดชอบ อาสารับงาน ทางานตามที่กล่มุ เกย่ี งงาน เล่ียงงาน มอบหมายให้ 136 3. การมีสมั พนั ธภาพ เป็นหวั หน้ารับผิดชอบ กลุ่มใหค้ วามสนิมสนม กล่มุ ไม่สนใจนกั งานกลุ่ม เป็นท่รี ักใคร่ของกล่มุ กล่มุ รังแก 4.ความคดิ เหน็ พยายามแสดงความ เสนอความคิดเห็นที่ดี ไมส่ นใจ ไมเ่ สนอความ คดิ เหน็ ที่ดเี สมอ เป็นบางครง้ั คดิ เห็น รวม ลงชือ่ ………………………………ผู้ประเมนิ ……………../…………/…………… หมายเหตุ เกณฑ์การผ่าน จากคะแนนเตม็ 9 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน 9-12 คะแนน อย่ใู นระดบั 3 คะแนน 6-8 คะแนน อยใู่ นระดับ 2 3 หมายถงึ ชัดเจน คะแนน 1-5 คะแนน อยู่ในระดับ 1 2 หมายถงึ ปานกลาง 1 หมายถงึ ไมช่ ัดเจน
แบบทดสอบท้ายกจิ กรรม คาชแี้ จง ใหน้ กั เรียนพจิ ารณาประโยค หากข้อใดถูกให้ทาเครื่องหมาย และขอ้ ใดผดิ ให้คาเครื่องหมายผดิ × 1. _______ เชาวน์ปญั ญา หรือ ไอคิว IQ ยอ่ จาก Intelligence quotient 2. _______ มนษุ ยส์ ว่ นใหญม่ ีไอคิวช่วง 80 - 100 3. _______ คนทม่ี ไี อควิ เกนิ 120 ถือว่าเปน็ คนทมี่ ีไอควิ ในระดบั สงู 4. _______ เชาวน์ปัญญาหรือ IQ เปน็ ศักยภาพทางสมองทีต่ ิดตวั มาแตก่ าเนิด เปลย่ี นแปลงแก้ไขไดง้ า่ ย 5. _______ ไอควิ สามารถวัดออกมาเปน็ คา่ สัดส่วนตวั เลขทแ่ี น่นอนได้เทียบกับอายุคน 6. _______ ทีร่ ะดับสตปิ ัญญาของเด็กไทย ตา่ กว่ามาตรฐานสากล 7. _______ พัฒนาการในวัยทารกสว่ นหน่งึ อาจจะเป็นปัญหาระหวา่ งการคลอด เช่น คลอดออกมา ขาดออกซเิ จน อาจจะทาใหเ้ ด็กมีพฒั นาการชา้ 8. _______ ปจั จยั ของสภาพแวดลอ้ มและการเลยี้ งดูที่ไม่เหมาะสม ยอ่ มกใ็ หเ้ กดิ สมองไมพ่ ฒั นาเท่าท่ีควร 9. _______ ระดับเชาวน์ปญั ญา 80 - 90 อยูใ่ นระดับปญั ญาทึบ 10. _______ ระดับ 70 - 90 ระดับปญั ญาทึบกบั คาบเส้นปัญญาออ่ น 137
ใบความรู้ \"รปู แบบการเรยี นรู้\" ประกอบการจัดกิจกรรม เร่ือง เรียนรหู้ ลากหลายจุดประกายความฝัน Learning Style คือ รปู แบบการเรียนร้หู รือลีลาการเรยี นรู้ของมนษุ ย์ มนุษยเ์ รานนั้ สามารถรับข้อมูลโดย 138 ผ่านเส้นทางการรับรู้ได้ 3 ทาง คือ การรับรู้ทางสายตาโดยการมองเห็น (Visual Percepters) การรับรู้ทางโสต ประสาทโดยการได้ยิน (Auditory Percepters) และการรับรู้ทางร่างกายโดยการเคล่ือนไหวและการรู้สึก (Kinesthetic Percepters) ซึง่ สามารถนามาจัดเป็นรูปแบบการเรยี นรู้ได้ 3 ประเภท และผู้เรียนแต่ละประเภทจะ มคี วามแตกตา่ งกนั ดังนี้ 1. ผู้ที่เรียนรู้ทางสายตา (Visual Learner) จะเรียนรู้ได้ดีจากการเรียนจากรูปภาพ แผนผัง แผนภูมิ การ เรียนลักษณะน้ีเหมือนเป็นการดูหนังแล้วจดจาภาพไว้ได้อย่างดี มีเนื้อหาที่เป็นเรื่องเป็นราว เวลาที่ผู้เรียนจะ ต้องการจดจาเนื้อหาส่วนใด ก็สามารถมีวิธีการผูกเร่ืองเพื่อจาเร่ืองราวน้ัน ๆ ได้ดี ผู้เรียนจะเรียนได้ดีทางสายตาน้ัน จะต้องเลือกเรียนดา้ นสถาปัตยกรรม การออกแบบ และควรประกอบอาชีพมัณฑนากร วศิ วกร หมอผา่ ตดั 2. ผู้ทเี่ รยี นรทู้ างโสตประสาท (Auditory Learner) จะเรียนรู้ได้ดที ่ีสดุ ถ้าได้พูด ไดฟ้ งั จะไม่สนใจรูปภาพ ใด ๆ แต่ชอบและสนใจในส่ิงที่ได้ฟังซ้า ๆ ชอบเลา่ เรื่องให้คนอื่นฟัง เวลาอา่ นหนงั สอื จะต้องอา่ นออกเสยี งดงั ๆ จงึ จะจดจาไดด้ ี แตม่ ีข้อเสยี คือ ผเู้ รยี นทางโสตประสาทอาจถูกรบกวนจากเสียงอ่ืน ๆ จนทาใหไ้ ม่มสี มาธิในการฟังได้ ผู้เรียนประเภทนี้จะพบในกลุ่มเรียนด้านดนตรี กฎหมายและการเมือง ส่วนใหญ่จะเป็นนักดนตรี พิธีกร นักจัด รายการเพลง นกั จติ วทิ ยา นักการเมือง 3. ผู้ที่เรียนรู้ทางร่างกายและความรู้สึก (Kinesthetic Learner) จะเรียนรู้ผ่านทางความรู้สึก การ เคล่ือนไหวและร่างกายจึงจะจดจาได้ดี ต้องมีการสัมผัสและเกิดความรู้สึกที่ดีต่อส่ิงท่ีเรียนด้วย เวลานั่งเรียนจะไม่ อยู่นิ่ง ๆ จะไม่สนใจบทเรียนเท่าที่ควร ไม่สามารถจดจ่อกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้นาน ๆ กลุ่มนี้จะมีปัญหามาก หากผู้สอนบรรยายอยู่หน้าชั้นเรียนอย่างเดียว ดังน้ัน วิธีการแก้ปัญหาของผู้เรียนกลุ่มน้ีได้ โดยท่ีผู้สอนจะต้องให้ ผู้เรียนรู้จักการแสดงออกมากข้ึนหรือให้ปฏิบัติจริง เช่น ให้เล่นละคร แสดงบทบาทสมมติ มีการสาธิตและทาการ ทดลอง ผู้เรียนกลุ่มนี้เหมาะกับวิชาพลศึกษา วิชาก่อสร้าง อาชีพที่เหมาะสม คือ นักกีฬา หรือประเภทนี้จะเน้น ความคิดสร้างสรรค์ งานเตน้ รา
สภาวะของบคุ คลขณะรบั รู้ มี 3 สภาวะ คอื สภาวะของจิตสานึก (Conscious) จิตกึง่ สานึก (Subconscious) และจติ ไรส้ านึก (Unconscious) ผู้เรยี นแต่ละคนจะมีรปู แบบการเรียนรู้ที่ ต่างกัน มีลักษณะเฉพาะตัว แต่ผู้เรียนทุกคนก็ไม่ได้เลือกใช้แค่รูปแบบใดรูปแบบหน่ึงอยู่ตลอดเวลา แต่ในทาง กลับกันนั้นจะใช้หลาย ๆ รูปแบบและจะเกี่ยวข้องกัน แต่รูปแบบที่ถนัดมากที่สุดจะถูกใช้มากกว่ารูปแบบอื่น ในความเป็นจรงิ แลว้ น้นั ไม่มใี ครสามารถจะจดจาในสิ่งที่เห็น ส่ิงทไ่ี ดย้ นิ ไวไ้ ด้ตลอดเวลา แตเ่ ราจะสามารถจดจาได้ ดที ี่สุด ถ้าเราได้ลงมือทาดว้ ยตัวของเราเอง ทฤษฎีรปู แบบการเรยี นรู้ จาแนกตามพฤติกรรมที่แสดงในชั้นเรียนทฤษฎีรูปแบบการเรียนรู้ Learning Style จาแนกตามแบบ การคิด (สภาพความคิดของบุคคล ท่ีมีผลมาจากสภาพแวดล้อมลักษณะทางกายภาพ ฯลฯ) รูปแบบการเรียนรู้ จาแนกตามพฤตกิ รรมทแ่ี สดงในช้นั เรียน เชน่ ทฤษฎีของ Grasha & Reichman 1. แบบแขง่ ขนั - ชอบเอาชนะเพอ่ื น 2. แบบอิสระ - เช่ือมน่ั 3. แบบหลีกเล่ียง - ไมส่ นใจ 4. แบบพ่งึ พา - อาจารยแ์ ละเพอ่ื น เป็นแหล่งความรู้ 5. แบบรว่ มมอื - รว่ มมือแสดงความเหน็ ทง้ั ในและนอกชัน้ เรยี น 6. แบบมีส่วนร่วม - จะพยายามมีส่วนร่วมให้มากท่ีสุด ในกิจกรรมการเรียน (ในชั้นเรียน) แต่จะไม่สนใจ กิจกรรมนอกหลกั สตู รเลย 139
ใบงาน \"แบบสารวจรูปแบบการเรียนร้\"ู 140 ประกอบการจัดกจิ กรรม เรือ่ ง เรียนรูห้ ลากหลายจุดประกายความฝนั แบบสารวจชดุ ที่ 1 ชี้แจง ใหท้ าเครอื่ งหมาย X หน้าขอ้ ความท่บี รรยายถึงลักษณะของทา่ นได้ดที ่ีสดุ 1. ทา่ นจดจาเนอื้ หาท่ีครูบรรยายได้ดีทสี่ ุดเม่อื ก. ต้งั ใจฟงั เพียงอยา่ งเดียว โดยไมจ่ ดคาบรรยาย ข. ไดน้ ง่ั ใกล้ ๆ หน้าชน้ั เรียน และสายตาจอ้ งไปทีผ่ สู้ อน ค. ไดจ้ ดคาบรรยายตลอดเวลา โดยไมจ่ าเปน็ ต้องจ้องไปทีผ่ สู้ อน 2. เวลาท่านประสบปัญหา ทา่ นแก้ไขปัญหาโดย ก. ปรบั ทกุ ข์กบั เพ่อื น หรือบางครั้งกแ็ ก้ไขปญั หาดว้ ยตนเอง ข. วางแผนในการแกไ้ ขปญั หาอย่างเปน็ ระบบ โดยทาไปตามลาดับขนั้ ตอน ค. หางานมาทา เดินเลน่ หรือทากจิ กรรมทีต่ อ้ งออกใช้กาลังกาย 3. หากท่านไม่สามารถจดเบอร์โทรศพั ท์ในสมดุ บนั ทึกได้ ท่านใช้วิธจี าเบอร์โทรศัพท์ โดย ก. ทวนหมายเลขโทรศัพท์น้ันโดยเปล่งเสยี งออกมา ข. ใช้วิธีการมอง หรอื จดจาเปน็ ภาพตัวเลขในสมอง ค. ใชน้ ้ิวมอื เขียนเปน็ หมายเลขน้ัน ๆ บนโต๊ะหรอื ฝาผนัง 4. ท่านเรียนรสู้ ่ิงใหม่ ๆ ได้ดที ีส่ ุด เมอื่ ก. ฟงั คนอ่นื อธบิ ายถงึ วิธที า ข. ดกู ารสาธติ วิธีทา ค. พยายามทดลองทาด้วยตนเอง 5. หลังจากดภู าพยนตร์แลว้ สงิ่ ท่ีท่านยังจดจาไดอ้ ย่างชดั เจน ได้แก่ ก. บทสนทนาในภาพยนตร์ เสยี งดนตรี หรอื เสยี งเพลงในภาพยนตร์ ข. ฉากต่าง ๆ เชน่ ทวิ ทศั น์ หรอื เสือ้ ผา้ ของผู้แสดง ค. ขอ้ เท็จจรงิ ตา่ ง ๆ เชน่ เหตกุ ารณ์สรู้ บกนั ในสงคราม เป็นต้น 6. ทา่ นต้องการไปซ้ือของทร่ี า้ น แต่บงั เอญิ ไม่ได้นารายการของทจี่ ะซ้ือติดตัวไปด้วยทา่ นจะทาอย่างไร ก. ทบทวนรายการของทจ่ี ะซอื้ ภายในใจหรอื พดู ออกมาเบา ๆ ข. เดนิ ดูรายการตามชั้นวางของ ค. ตามปกติ ทา่ นสามารถจดจารายการของท่จี ะไปซอื้ ไดอ้ ยู่แลว้ 7. หากต้องการนึกถงึ เรื่องราวในอดตี ท่านจะใชว้ ธิ ี ก. ระลกึ จากเสยี งทีไ่ ดย้ ินในสมองว่าเกดิ อะไรข้ึน ข. ระลึกจากภาพท่เี กิดขึน้ ในเหตกุ ารณ์ ค. ระลกึ จากความรูส้ ึกทีเ่ กิดข้นึ ในเหตกุ ารณ์นั้น ๆ 8. ทา่ นจะเรียนภาษาต่างประเทศไดด้ ี หากเรยี นโดย ก. ฟงั จากเทปบันทึกเสยี ง ข. ไดเ้ ขยี นและอ่านค่มู ือการเรียนประกอบ ค. ตอ้ งเข้าไปนั่งเรียนในชน้ั ที่มที ้ังการอา่ นและการเขยี น
9. ทา่ นรู้สึกสบั สนไม่แนใ่ จว่าศพั ท์คาน้ันสะกดอย่างไร ท่านจะมีวิธกี ารนกึ คาสะกดทถ่ี ูกตอ้ งได้อยา่ งไร 141 ก. เปล่งเสยี ง สะกดเป็นคาออกมา ข. พยายามนึกในสมองว่าศัพทค์ านนั้ สะกดอยา่ งไร ค. เขยี นคาศพั ทน์ ัน้ ในกระดาษหลาย ๆ คา แล้วเลือกคาทค่ี ดิ วา่ ใกลเ้ คยี งทีส่ ดุ 10. ทา่ นจะร้สู ึกสนกุ สนานเพลิดเพลินที่สุด หากไดอ้ ่านหนังสอื ประเภทที่ ก. มีบทสนทนาระหวา่ งตัวละครมาก ๆ ข. มแี ตค่ าพรรณนาบรรยายเรอื่ งราวท่เี กิดข้นึ โดยทา่ นตอ้ งนึกภาพเหตุการณ์เอง ค. มีการเลา่ เปน็ เร่อื งราว โดยบรรยายใหเ้ ห็นภาพเหตกุ ารณท์ เ่ี กิดข้ึนทกุ ฉากทกุ ตอน ต้ังแตต่ น้ เร่ือง (เพราะทา่ นนัง่ อ่านหนงั สือนาน ๆ ไมไ่ ด)้ 11. ท่านสามารถจาคนทเี่ คยรูจ้ กั หรือเคยพบกันมาแล้วในลักษณะใด ก. จาช่อื ได้ แต่นึกใบหนา้ ไม่ออก ข. จาใบหนา้ ได้ แตน่ ึกชือ่ ไมอ่ อก ค. จาไดแ้ ต่กิรยิ าทา่ ทาง เช่น การเดนิ การพดู (จาชอ่ื จาหนา้ ไมไ่ ด้) 12. ทา่ นรูส้ ึกราคาญใจกับเรอ่ื งใดมากทส่ี ดุ ก. เสียงตา่ ง ๆ ข. คน ค. ส่ิงแวดล้อม เช่น อุณหภูมิท่ีรอ้ นหรือหนาวเกนิ ไป อปุ กรณต์ กแต่งห้อง 13. ตามปกตแิ ล้ว ท่านนิยมคนท่แี ตง่ กายอยา่ งไร ก. แตง่ กายดพี อใช้ (เพราะไม่คิดวา่ เสอื้ ผ้าเปน็ เร่อื งสาคญั ) ข. แต่งกายประณตี (เสือ้ ผา้ ต้องทนั สมยั หลายสไตล์) ค. แตง่ กายสบาย ๆ (เพ่อื ความคล่องตัว สะดวกในการเคล่ือนไหว) 14. หากท่านไม่สามารถทากิจกรรมท่ใี ชส้ ว่ นต่าง ๆ ของร่างกายได้และไม่สามารถอา่ นหนงั สือในขณะน้ันได้ ทา่ นจะ ก. คยุ กบั เพ่ือนแทน ข. ดทู วี ี หรือมองทิวทศั น์นอกหนา้ ตา่ ง ค. นง่ั เล่นบนเกา้ อี้ หรอื นอนเลน่ บนเตยี ง การแปลความหมาย 1) คะแนนรวมแต่ละข้อ มคี วามหมายดังน้ี Ø ข้อ ก หมายถงึ เรยี นได้ดที ่สี ดุ จากการฟงั (hearing) Ø ขอ้ ข หมายถงึ เรยี นได้ดีทีส่ ุดจากการมอง การดู (seeing) Ø ข้อ ค หมายถึง เรียนไดด้ ีทส่ี ดุ จากการสัมผสั การลงมือทา และการเคล่อื นไหว (touching doing and moving) 2) คะแนนรวมทีไ่ ด้สูงสุด แสดงวา่ ทา่ นมคี วามถนดั ในการใชร้ ปู แบบข้อน้ันมากทีส่ ุด
แบบสารวจชุดที่ 2 คาสัง่ : ใหใ้ ส่หมายเลขหน้าขอ้ ความ โดยใชส้ เกลตอ่ ไปนแี้ ทนความรู้สกึ นกึ คดิ ของทา่ น หมายเลข 3 หมายถึง เหมอื นท่านมากที่สุด หมายเลข 2 หมายถึง เหมือนท่านบางเวลา หมายเลข 1 หมายถงึ เหมือนท่านน้อยทสี่ ุด 1. ฉนั มกั จะวาดแผนท่ีให้กับคนทไี่ มร่ ้เู สน้ ทางมากกวา่ ทจ่ี ะบอกรายละเอียดของเส้นทางนน้ั 2. ถ้าฉันโกรธหรอื มีความสขุ ฉันจะรูไ้ ด้ทันทีถงึ สาเหตุท่ีทาใหเ้ กดิ อารมณ์เหล่านนั้ 3. ฉันเล่นดนตรีหรือเคยเล่นเคร่ืองดนตรีอย่างใดอย่างหนง่ึ 4. เวลาฟงั ดนตรี ฉนั จะเชือ่ มเสยี งดนตรีใหเ้ ข้าถึงอารมณข์ องฉัน 5. ฉนั สามารถบวกลบเลขในสมองได้อย่างรวดเร็ว 6. ฉันชอบช่วยเหลือเพื่อนที่รู้สึกไม่สบายใจหรือมีปัญหา เพราะฉันสามารถจัดการกับปัญหานั้นได้ด้วยความรู้สึกท่ี คลา้ ยคลึงกับความรสู้ ึกของเพ่ือน 7. ฉันชอบทางานที่เกย่ี วกับการคดิ คานวณและคอมพิวเตอร์ 8. ฉนั เรยี นร้จู ังหวะเตน้ ราใหม่ ๆ ไดอ้ ย่างรวดเร็ว 9. เวลาทมี่ กี ารอภิปรายหรือมกี ารโต้แย้ง ฉนั สามารถพูดในส่งิ ที่ฉนั คิดอยากจะพดู ได้โดยไม่ยาก 10. ฉันรูส้ กึ สนุกกบั การฟังคาบรรยาย คาปราศรัย หรือฟังเทศน์ 11. ไมว่ า่ ฉนั จะอยู่ ณ ทแ่ี หง่ ใด ฉันจะรจู้ ักบริเวณต่าง ๆ ของสถานท่ีนั้น ๆ เปน็ อยา่ งดี 12. ฉันชอบใหค้ นหลาย ๆ คนมารวมกล่มุ กันในเหตกุ ารณ์เดียวกนั 142 13. ชวี ิตท่ปี ราศจากดนตรยี อ่ มมีแตค่ วามวา่ งเปล่า 14. ฉนั เข้าใจภาพวาดและแผนภูมิทแี่ นบมากบั อุปกรณ์เครื่องใช้ต่าง ๆ ไดด้ ี 15. ฉนั ชอบเล่นเกมปรศิ นาและเกมคอมพิวเตอร์ 16. การเรียนขจี่ ักรยานหรือการเลน่ สเกต็ ไมใ่ ช่เร่อื งยากสาหรับฉัน 17. ฉันรู้สกึ หงดุ หงดิ ใจหากได้ยินคนบอกให้ทาตามแผน 18. ฉนั สามารถพดู จงู ใจผู้อ่นื ให้ทาตามแผนของฉนั 19. ฉนั มีความรู้สกึ ท่ดี ีในเรอื่ งการถว่ งดลุ (balance) และการประสานกนั (coordination) 20. ฉนั มักจะมองเห็นรปู แบบและความสัมพันธข์ องจานวนเลขต่าง ๆ ไดง้ า่ ยและเรว็ กวา่ คนอื่น ๆ 21. ฉนั ชอบสรา้ งแบบจาลอง ชอบงานปฏิมากรรม หรอื งานออกแบบ 22. ฉนั เขา้ ใจความหมายของคา วลี และการแบ่งวรรคตอนในงานเขยี นทกุ ประเภท 23. ฉันสามารถมองไปท่ีวัตถุเพียงด้านเดยี ว แตม่ องเหน็ วตั ถนุ น้ั หมนุ ไปด้านขา้ งหรือหมนุ กลับมาที่ เดิมไดโ้ ดยไม่ยากนัก 24. ฉันมักเชื่อมโยงบางส่วนของเพลงให้เขา้ กบั เหตกุ ารณ์บางช่วงของชวี ิต 25. ฉนั ชอบแก้ปญั หาท่ีมตี วั เลขและรูปทรงต่าง ๆ 26. ฉันชอบน่งั คนเดียวเงยี บ ๆ และสะทอ้ นความรูส้ ึกที่อยูภ่ ายในของตนเอง 27. ฉนั มคี วามสุขกับการมองพวกรูปทรงและโครงสร้างของตึกต่าง ๆ 28. เวลาอยู่คนเดยี ว ฉันชอบฮัมเพลง ผวิ ปาก หรอื ร้องเพลงขณะทีอ่ าบน้า 29. ฉันมคี วามสามารถด้านกฬี า (หรือกจิ กรรมท่ีเกี่ยวกับการออกกาลงั กาย) 30. ฉนั ชอบเขยี นจดหมายถึงเพอ่ื น แตง่ นิทาน หรือเขยี นเรื่องราวต่าง ๆ 31. ฉันระวงั การแสดงออกทางใบหน้าอยูเ่ สมอ 32. ฉันไวตอ่ ความรสู้ กึ ทแ่ี สดงออกทางใบหน้าของผู้อน่ื
33. ฉนั สัมผสั ได้ถึงอารมณ์ภายในของตนเอง และสามารถบอกถึงความรูส้ กึ ท่เี กดิ ขน้ึ ในขณะนั้น 34. ฉนั ไวต่ออารมณ์ของผู้อ่ืน 35. ฉันสามารถรไู้ ดว้ ่าคนอ่ืนมคี วามคดิ อยา่ งไรเกยี่ วกบั ตัวฉัน การใหค้ ะแนนและการแปลความหมาย ก. ใหน้ าคะแนนในแตล่ ะขอ้ มาใส่ในตารางคะแนน ดงั น้ี 1) คะแนนขอ้ 9, 10, 17, 22, และ 30 ใส่ในช่อง เกง่ ภาษา 2) คะแนนขอ้ 5, 7, 15, 20, และ 25 ใสใ่ นชอ่ ง เก่งตรรกะและเลข 3) คะแนนขอ้ 1, 11, 14, 23, และ 27 ใส่ในช่อง เกง่ มิติสมั พันธ์ 4) คะแนนข้อ 8, 16, 19, 21, และ 29 ใส่ในชอ่ ง เก่งเคลือ่ นไหว 5) คะแนนขอ้ 3, 4, 13, 24, และ 28 ใสใ่ นชอ่ ง เกง่ ดนตรคี ะแนน 6) ขอ้ 2, 6, 26, 31, และ 33 ใส่ในช่องเก่งรูจ้ ักตนเองคะแนน 7) ข้อ 12, 18, 32, 34, และ 35 ใสใ่ นชอ่ ง เก่งรู้จักผู้อื่น ข. ให้รวมคะแนนในแต่ละช่องใส่ในช่อง (A) ค. ให้รวมคะแนนทัง้ หมดใสใ่ นชอ่ ง (B) ง. ใหค้ ดิ เปอร์เซ็นต์รวมของรูปแบบการเรยี นร้ใู นแตล่ ะช่อง วิธีคิดคอื ให้นาคะแนนในชอ่ ง A หารด้วยคะแนน ใน ช่อง B ตัวอย่างเช่น คะแนน (A) ในช่องเก่งภาษา ได้เท่ากับ 10 ส่วนคะแนนรวม (B) ได้เท่ากับ 61 เพราะฉะนั้น 143 คะแนนรวมในชอ่ งภาษาเม่ือคดิ เปน็ เปอร์เซน็ ต์จะไดเ้ ทา่ กับ .163 หรอื 16%
รูปแบบการเรยี นรู้ (A) คะแนน % รวมใน (Learning style) รวมในแตล่ ะ แตล่ ะรูปแบบ รปู แบบการ การเรยี นรู้ 1. เก่งภาษา (Linguistic) เรียนรู้ 2. เกง่ ตรรกะและเลข (Logical – Mathematical) 3. เกง่ มิตสิ ัมพนั ธ์ (Visual – Spatial) คะแนนรวม % รวม = 4. เกง่ เคลือ่ นไหว (Bodily – Kinesthetic) (B) = 100% 5. เกง่ ดนตรี (Musical) 6. เก่งรจู้ ักตนเอง (Intrapersonal) 144 7. เก่งร้จู กั ผูอ้ ่นื (Interpersonal)
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนวท่ี 17 หนว่ ยการจดั กิจกรรมการศึกษา ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1-3 เรอ่ื ง นาฬิกาแห่งความฝนั จานวน 2 ช่วั โมง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 1. สาระสาคัญ การวางแผนบริหารเวลาในการปฏิบัติภารกิจประจาวันให้เกิดประโยชน์สูงสุด จะทาให้สามารถแบ่ง เวลาสาหรับทากิจกรรมทส่ี ่งเสรมิ ทกั ษะการเรยี นใหม้ ีประสิทธภิ าพได้ 2. สมรรถนะการแนะแนว : ดา้ นการศกึ ษา ขอ้ 4 พัฒนาตนเองดา้ นการเรียนไดเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 บอกประโยชนแ์ ละความสาคัญของการแบง่ เวลาได้ 3.2 เขียนตารางเวลาประจาวนั เพื่อพัฒนาการเรียนของตนเองได้อย่างเหมาะสม 4. สาระการเรยี นรู้ คณุ คา่ ประโยชน์ และความสาคญั ของการแบ่งเวลา 5. ชนิ้ งาน / ภาระงาน - ตารางการแบง่ เวลากจิ วัตรประจาวนั ของฉัน 6. วธิ ีการจดั กจิ กรรม 145 ช่ัวโมงที่ 1 6.1 นักเรียนเล่นเกม “ตัวเลขหรรษา” โดยให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกลุ่มละ 5-6 คน แล้วช่วยกันจาตัวเลขท่ี ครใู ห้นักเรยี นดใู หไ้ ด้มากทส่ี ดุ ภายในเวลาทีค่ รกู าหนดให้ กล่มุ ใดจาตัวเลขได้ถูกต้องและมากท่ีสดุ กล่มุ นน้ั เป็นผชู้ นะ 6.2 นกั เรยี นเชอื่ มโยงเขา้ ส่คู วามสาคัญของการวางแผน โดยครูตง้ั คาถามกับกลมุ่ ทชี่ นะว่ามีเคลด็ ลับ และ วิธกี ารวางแผนอยา่ งไรจงึ ทาให้กลุม่ ชนะ และเชื่อมโยงความรู้เขา้ สกู่ ารวางแผนการเรยี น ชั่วโมงที่ 2 6.3 นักเรียนดูตัวอย่างตารางการแบ่งเวลาในการทากิจวตั รประจาวนั มาติดบนกระดาน พร้อมทั้งอธิบาย ยกตวั อย่างแลว้ แจกใบงานตารางการแบ่งเวลาในการทากจิ วัตรประจาวันใหน้ ักเรียนคนละ 1 แผ่น เพ่ือใหน้ ักเรียน แตล่ ะคนจดั ตารางการแบง่ เวลาในการทากจิ วตั รประจาวันของแต่ละคน โดยเนน้ ใหน้ ักเรียนเขยี นแผนการใชเ้ วลาท่ี นักเรียนสามารถปฏบิ ัติได้จริง 6.4 นักเรียนแต่ละคนนาเสนอตารางการแบ่งเวลาของตนเองหน้าชั้นเรียน และบอกถึงวิธีการแบ่งเวลา ของตนเอง 6.5 นกั เรียนดูตัวอย่างบทกลอนการวางแผนท่คี รูนามาตดิ บนกระดาน แล้วใหน้ ักเรยี นทอ่ งพร้อมกนั 6.6 นักเรียนและครูร่วมกันสรุปโดยการอภิปรายซักถามนักเรียนเพื่อให้ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับประโยชน์ ความสาคัญของการวางแผนการเรยี นและการแบง่ เวลา ตลอดจนใหน้ กั เรยี นนาไปใช้ในชวี ิตประจาวันได้ 7. สื่อ / อุปกรณ์ 7.1 ชุดตัวเลข 7.2 ใบงานเรื่อง ตารางการแบ่งเวลากจิ วตั รประจาวนั ของฉนั 7.3 บทกลอนการวางแผน
8. การประเมนิ ผล 8.1 วิธีการประเมนิ 8.1.1 สงั เกตการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม 8.1.2 ตรวจใบงาน 8.2 เครอื่ งมือประเมิน 8.2.1 แบบบนั ทกึ การสงั เกตพฤติกรรม 8.2.2 แบบบนั ทกึ การตรวจผลงาน 8.3 เกณฑ์การประเมนิ 8.3.1 การสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมของนักเรยี น เกณฑ์ ตัวบ่งชี้ ผา่ น มคี วามต้ังใจรว่ มกจิ กรรม ให้ความรว่ มมือกับกลุ่มในการอภิปรายแสดงความ คิดเหน็ และส่งงานตามกาหนด ไม่ผา่ น ไม่ให้ความร่วมมือกับกลุ่ม หรอื ขาดสิง่ ใดสง่ิ หนึ่ง 8.3.2 ตรวจใบงาน เกณฑ์ ตัวบง่ ชี้ 146 ผ่าน ทาใบงานครบและถูกต้อง ไมผ่ ่าน ขาดส่ิงใดสงิ่ หน่ึง
ใบงาน 147 การแบง่ เวลากิจวัตรประจาวันของฉนั คาชแี้ จง ใหน้ ักเรยี นเขียนตารางการแบ่งเวลาในการทากิจวัตรประจาวนั ของนักเรียนท่สี ามารถ ปฏิบัติไดจ้ รงิ ในชวี ิตประจาวนั เวลา กจิ กรรมทีต่ ้องทา ............................... ........................................................................................................... ............................... ........................................................................................................... ............................... ........................................................................................................... ............................... ........................................................................................................... ............................... ........................................................................................................... ............................... ........................................................................................................... ............................... ........................................................................................................... ............................... ........................................................................................................... ............................... ........................................................................................................... ............................... ........................................................................................................... ............................... ........................................................................................................... ............................... ........................................................................................................... ............................... ........................................................................................................... ............................... ........................................................................................................... ............................... ........................................................................................................... ............................... ........................................................................................................... ............................... ........................................................................................................... ............................... ........................................................................................................... ............................... ........................................................................................................... บทกลอนการวางแผน ตอ้ งใส่ใจและวางแผน ต้องวางแผนแบ่งเวลา หากจะทาสง่ิ ใด หมนั่ อา่ นเขียนเพยี รศึกษา เรยี นดมี คี ะแนน ในเนอื้ หาใหเ้ ข้าใจ เมอ่ื ถึงเวลาเรยี น แลว้ ชีวาจะสดใส ฝกึ ทบทวนวิชา เปน็ นิสยั ประจาตวั เลน่ ต้องเป็นเวลา ปญั หามาก็ไมก่ ลัว ฝกึ ฝนเป็นวนิ ัย เมื่อรู้จักวางแผนเอย วางแผนกอ่ นล่วงหน้า ชีวิตไมห่ มองมัว
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384