Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-06-27-คู่มือครู ป.1 หน่วยที่ 3 เรขาคณิต

64-06-27-คู่มือครู ป.1 หน่วยที่ 3 เรขาคณิต

Published by elibraryraja33, 2021-06-27 01:17:49

Description: 64-06-27-คู่มือครู ป.1 หน่วยที่ 3 เรขาคณิต

Search

Read the Text Version

ēโÙคøรÜงÖกćาøรÿสŠüวîนóพøรąะĂอÜงÙคŤÿสöมđเéดÝĘจ็ óพøรąะÖกîนĉþิษåฐćาíธริøĉ าćชßเđจÝาšćǰกÖรøมöสÿมöเđดéจ็ÝĘ พóรøะąเđทìพóรøตัĆêนîรøาćชßสÿดุčéาćฯĄǰสÿย÷าćมöบïรøมöรøาćชßกÖุมčöาćรøี Ċ öมúĎลู îนĉíธิ Öĉกิ ćาøรýศċÖึกþษćาìทćาÜงไĕกÖลúผñาćŠ นîดéาćวüเđทìียĊ÷มöǰใĔนîพóรøะąบïรøมöรøาćชßปูĎðถëัมĆöภõŤ ÿสĞćาํ îนÖĆักÜงćาîนÙคèณąะÖกøรøรöมÖกćาøรÖกćาøรýศÖċกึ þษćา×ขîĚĆน้ั óพื้นČĚîฐåาćนîǰสÿถëาćบïนัĆîสÿงŠÜเđสÿรøมิĉöกÖาćรøสÿอĂนîวüทิĉìย÷าćศýาćสÿตêรøแĒŤ ลúะąเđทìคÙโēนîโēลúย÷ี Ċ

ชุดเอกสารสื่อ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ลิขสิทธิ์ของ สำ�นักงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์แ​ ละเทคโนโลยี สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พิมพ์ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๖๑ จำ�นวน ๒๒,๐๐๐ ชุด จัดพิมพ์โดย องค์การค้าของ สกสค.

คค�ำาํ นนาํ �ำ ตามท่ี สํานักงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้จัดทําชุด การเรียนรู้ สําหรับใช้ในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กท่ีขาดครู มีครูไม่ครบช้ันหรืออยู่ในพ้ืนท่ีห่างไกลทุรกันดาร ซ่ึงประกอบด้วยชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สําหรับครูผู้สอน) และชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สําหรับนักเรียน) หลังจากท่ีมีการนําไปใช้ พบว่าส่ือดังกล่าวช่วยพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็กได้เป็นอย่างดี สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงเห็นควรมีการนําสื่อดังกล่าว มาใช้ในโรงเรียนประถมศึกษาขนาด เล็ก และโรงเรียนขยายโอกาสทุกโรง เพื่อช่วยพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับประถมศึกษาให้ดีย่ิงขึ้น ประกอบกับ กระทรวงศึกษาธกิ าร ไดป้ ระกาศใชม้ าตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภมู ศิ าสตร์ ในกลุ่มสาระการเรยี นรูส้ งั คมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรม ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ตามคาํ สั่งกระทรวงศกึ ษาธิการ ที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน จึงได้ปรับปรุงชุดการจัดการเรียนรู้ (สําหรับ ครูผู้สอน) ให้สอดคล้องกับการประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด และเพ่ือให้สะดวกต่อการนําไปใช้ จึงจัดแยกเป็นรายช้ันปี (ประถมศึกษาปีท่ี ๑ - ๖) และเป็นรายภาคเรียน (ภาคเรียนที่ ๑ และภาคเรียนท่ี ๒) ทั้ง ๕ กลุ่ม ประกอบดว้ ย - ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สําหรับครผู สู้ อน) กล่มุ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ - ๖ ภาคเรยี นท่ี ๑, ๒ - ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สําหรับครผู สู้ อน) กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ - ๖ ภาคเรียนที่ ๑, ๒ - ชุดการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ (สําหรบั ครผู สู้ อน) กลุม่ สาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๑ - ๖ ภาคเรยี นที่ ๑, ๒ - ชุดการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ (สําหรับครผู สู้ อน) กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๖ ภาคเรยี นที่ ๑, ๒ - ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (สาํ หรบั ครผู สู้ อน) กลุ่มบรู ณาการ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ - ๖ ภาคเรยี นที่ ๑, ๒ การนําชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ไปใช้ ครูผู้สอนต้องศึกษาเอกสาร คู่มือการใช้ชุดการจัด การเรยี นรู้ และศึกษาคําชีแ้ จงในเอกสาร ชดุ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สําหรบั ครผู ้สู อน) ให้เข้าใจ เพราะจะทําให้ ทราบถึงแนวคิดการจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้ การเตรียมตัวของครู ส่ือการจัดการเรียนรู้ ลักษณะชุดการจัด กจิ กรรมการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ สัญลกั ษณ์ท่ีใช้ แนวทางการวดั และประเมนิ ผลของแต่ละหนว่ ยการเรยี นรู้ หวังว่าชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สําหรับครูผู้สอน) และชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สําหรับ นักเรียน) ฉบับปรับปรุงน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอน อันจะส่งผลต่อการพัฒนา คณุ ภาพการศึกษาระดับประถมศกึ ษาต่อไป ขอขอบคุณ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้บริหารสถานศึกษา ศึกษานิเทศก์ ครู อาจารย์ และทุกท่านที่มี สว่ นเกีย่ วข้องกับการปรบั ปรงุ และจัดทําเอกสารมา ณ โอกาส น้ี สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน



คำ�ชี้แจง ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครผู สู้ อน) หนว่ ยท่ี ๒ การด�ำ เนนิ การของจ�ำ นวน เลม่ น้ี เปน็ ๑ ใน ๘ เลม่ ของชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรกู้ ลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ ใชก้ บั นกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ซึ่งผา่ นการวิเคราะหห์ ลกั สตู รกลุม่ สาระคณติ ศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามแกนกลางการศกึ ษา ขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ เม่ือสอนครบทงั้ ๘ เลม่ นักเรียนจะได้เรยี นรคู้ รบถ้วนครอบคลุมทุกตัวช้ีวดั ของ หลกั สูตร ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครผู สู้ อน) หนว่ ยท่ี ๒ การด�ำ เนนิ การของจ�ำ นวน เลม่ น้ี เปน็ เอกสาร ที่นำ�เสนอแนวทางในการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่องจ�ำ นวน ให้กับนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ ประกอบ ด้วย (๑) ค�ำ แนะนำ�สำ�หรับครูผ้สู อน (๒) โครงสรา้ งชุดการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (๓) กำ�หนดการสอนคณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ (๔) โครงสร้างหนว่ ยการเรยี นรู้ หน่วยที่ ๓ เรขาคณิต (๕) มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชว้ี ัดของหนว่ ยการเรียนรู้ หน่วยที่ ๓ เรขาคณิต (๖) แผนการจดั การเรยี นรู้ จำ�นวน ๑๐ แผน (๗) เฉลยแบบฝกึ หัดของนกั เรยี น (๘) เฉลยแบบทดสอบของนกั เรียน (๙) แบบประเมนิ ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาตร์ กอ่ นการสอนเร่อื งเรขาคณติ ครูผู้สอนควรศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้จากเอกสารเลม่ นอ้ี ย่างละเอียด จะทำ�ให้ร้วู ่าต้องสอนแตล่ ะเนอื้ หาอย่างไร และต้องเตรียมสือ่ /อปุ กรณป์ ระกอบการสอนอะไรบา้ ง ซึง่ จะทำ�ให้ การจดั การเรียนร้ขู องครูมปี ระสทิ ธิภาพ ส่งผลใหน้ กั เรยี นมคี วามรู้ความเขา้ ใจในเนอ้ื หาท่สี อน และเกิดทกั ษะ และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ คณะผจู้ ดั ท�ำ หวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครผู สู้ อน) หนว่ ยท่ี ๒ การด�ำ เนนิ การ ของจ�ำ นวน เล่มน้ี จะเปน็ ประโยชน์ต่อครผู ้สู อน ในการน�ำ ไปใช้จดั การเรียนรู้ เรื่องการบวก การลบ ใหก้ ับ นกั เรียนชน้ั ประถมศึกษา ปีที่ ๑ เพือ่ เพิ่มประสิทธภิ าพการจัดการเรยี นรูข้ องครูและการเรียนร้ขู องนกั เรียนให้ สงู ขึน้ ตอ่ ไป สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธิการ



สสาารรบบญััญ หน้า ๑ คำแนะนำสำหรบั ครผู ้สู อน ๕ โครงสร้ำงชดุ กำรจดั กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ ๖ กำหนดเวลำกำรสอนคณิตศำสตร์ ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๑ ๗ โครงสรำ้ งหนว่ ยกำรเรยี นรู้ที่ ๓ เรขำคณติ ๘ มำตรฐำนกำรเรียนรูแ้ ละตวั ชว้ี ัดของหนว่ ยกำรเรยี นรู้ หน่วยท่ี ๓ เรขำคณติ ๙ แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ ๑๑ ๑๔ แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ท่ี ๑ ๑๘ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๒ ๒๑ แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ท่ี ๓ ๒๔ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ท่ี ๔ ๒๗ แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ที่ ๕ ๓๐ แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ท่ี ๖ ๓๓ แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ที่ ๗ ๓๖ แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ที่ ๘ ๓๙ แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ที่ ๙ ๔๓ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๑๐ ภำคผนวก ๔๕ ภำคผนวก ก เฉลยแบบฝกึ หัด ๖๓ ภำคผนวก ข เฉลยแบบทดสอบ ภำคผนวก ค แบบประเมินทักษะและกระบวนกำรทำงคณิตศำสตร์ ๖๙ คณะผจู้ ดั ทำ�



ค�ำ แนะน�ำ สำ�หรบั ครผู สู้ อน ๑. แนวคิดหลัก การจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์มุ่งให้ผู้เรียนมีความสามารถด้านการส่ือสารและการคิดอย่างเป็น ระบบ สามารถตั้งข้อสันนิษฐาน สืบเสาะและเลือกสรรสารสนเทศ ให้เหตุผล แก้ปญหาโดยเลือกใช้ยุทธวิธี ต่าง ๆ การจัดกิจกรรมจึงควรเน้นการเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม ซ่ึงเป็นการเปดโอกาสให้ผู้เรียนได้ร่วมกันคิด ปรึกษาหารือ อภิปราย แก้ปญหา แสดงความคิดเห็นและสะท้อนความคิด (reflective thinking) ช่วยให้ ผู้เรียนได้พัฒนาความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และคุณธรรม จริยธรรมในการจัดกลุ่ม อาจจัดเป็นกลุ่ม ๒ คน หรือกลุ่ม ๓ – ๔ คน หรืออาจจัดกิจกรรมร่วมกันท้ังชั้น ท้ังนี้ข้ึนอยู่กับวัตถุประสงค์ของ การจัดกจิ กรรมการเรียนร้นู ้นั ๆ ในการดำาเนินกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ สิ่งสำาคัญที่ผู้สอนควรคำานึงถึงเป็นอันดับแรกคือ ความรู้พ้ืนฐานของผู้เรียน ผู้สอนอาจทบทวนโดยใช้คำาถามหรือยุทธวิธีต่าง ๆ เพ่ือนำาไปสู่การเรียนรู้เน้ือหาใหม่ ข้ันการสอนเนื้อหาใหม่ ผู้สอนอาจกำาหนดสถานการณ์ท่ีเชื่อมโยงกับเร่ืองราวในข้ันทบทวนความรู้ และใช้ ยุทธวิธีต่าง ๆ ที่ช่วยให้ผู้เรียนสามารถสรุปหรือเข้าใจหลักการ แนวคิด กฎ สูตร สัจพจน์ ทฤษฎีบท หรือบท นิยามด้วยตนเอง ในขณะที่ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรม ผู้สอนควรให้อิสระทางความคิดกับผู้เรียน โดยผู้สอนคอย สังเกต ตรวจสอบความเข้าใจและใหค้ ำาแนะนำาอย่างใกลช้ ดิ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอนควรให้ผู้เรียนแต่ละคนหรือแต่ละกลุ่มได้นำาเสนอแนวคิด เพราะผู้เรียนมีโอกาสแสดงแนวคิดเพ่ิมเติมร่วมกัน ซักถาม อภิปรายข้อขัดแย้งด้วยเหตุและผล ผู้สอนมีโอกาส เสริมความรู้ ขยายความรู้หรือสรุปประเด็นสำาคัญของสาระท่ีนำาเสนอน้ัน ทำาให้การเรียนรู้ขยายวงกว้างและลึก มากข้ึน สามารถนำาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้ นอกจากนี้ยังทำาให้ผู้เรียนเกิดเจตคติท่ีดี มีความภูมิใจใน ผลงาน เกิดความรู้สึกอยากทำา กล้าแสดงออก และจดจำาสาระที่ตนเองได้ออกมานำาเสนอได้นาน รวมทั้งฝึก การเปน็ ผู้นำา ผู้ตาม รบั ฟงความคิดเห็นของผูอ้ ่ืน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำาหรับชั้นประถมศึกษา ผู้สอนควรให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติ ฝึกทักษะการสังเกต ฝึกให้เหตุผลและหาข้อสรุปจากสื่อรูปธรรมหรือแบบจำาลองต่าง ๆ ก่อน แล้วขยายวง ความรู้สู่นามธรรมตามความสามารถของผู้เรียน สำาหรับบางเนื้อหาท่ียากต่อการทำาความเข้าใจของนักเรียน บางคน ผู้สอนควรหายุทธวิธีต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในการอธิบาย เช่น ใช้วิธีลดรูปของปญหา หรือ เลือกใช้ส่ือ เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อช่วยให้การเรียนรู้ง่ายขึ้น และเพื่อให้ผู้เรียนตระหนักในคุณค่าของ คณติ ศาสตร์ ผ้สู อนควรใช้สถานการณท์ เี่ ก่ยี วขอ้ งกบั ชีวติ จรงิ เปน็ ตัวอย่างในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ชุดการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ (สาำ หรบั ครูผู้สอน) กล่มุ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๑ (ฉบบั ปรับปรงุ ) 1

๒. กระบวนการจดั การเรยี นรู การนำาชดุ การจัดกจิ กรรมการเรียนรไู้ ปใช้ ครูควรเตรยี มตัวลว่ งหนา้ ดังนี้ ๑. ศึกษาโครงสรา้ งชดุ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อใหท้ ราบว่าตลอดท้งั ปีการศกึ ษา นกั เรยี นตอ้ ง เรียนรทู้ ้งั หมดกี่หน่วย แต่ละหน่วยมีหน่วยย่อยอะไรบา้ ง ใช้เวลาสอนกช่ี ว่ั โมง และมีกีแ่ ผน ๒. ศึกษาโครงสรา้ งหน่วยการเรียนรู้ วา่ แต่ละหนว่ ยการเรยี นรูม้ ีเน้ือหาอะไรบ้าง เนือ้ หาละกี่ชัว่ โมง ซ่ึง จะชว่ ยใหค้ รผู ู้สอนมองเห็นภาพรวมของการสอนในหนว่ ยดงั กล่าวได้อย่างชัดเจน ๓. ศึกษาแนวการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ซึง่ อยู่หนา้ แผนแตล่ ะแผน เปน การสรุปแนวการจัดกจิ กรรม ในแตล่ ะข้ันตอนการสอน ทำาใหค้ รูมองเห็นภาพรวมของการจดั การเรยี นรู้ในชว่ั โมงนน้ั ๆ ๔. ศึกษาแผนการจัดการเรยี นรู้ ตามหัวข้อต่อไปนี้ ๔.๑ ขอบเขตเนอ้ื หา เปน เน้อื หาที่นกั เรียนตอ้ งเรียนรู้ในแผนท่ีกำาลังศกึ ษา ๔.๒ สาระสาำ คญั เปน ความคดิ รวบยอดหรอื หลกั การทน่ี กั เรยี นควรจะไดห้ ลงั จากไดเ้ รยี นรตู้ ามแผนท่ี กาำ หนด ๔.๓ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ แบ่งเปน ดา้ นความรู้ และด้านทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ ๔.๔ กิจกรรมการเรียนรู้ แบ่งเปน ข้นั นาำ ขั้นสอน และข้ันสรปุ ซ่ึงแต่ละขน้ั ครผู ู้สอนควรศึกษา ทำาความเข้าใจอย่างละเอียด นอกจากนีค้ รูควรพิจารณาด้วยว่า ในแตล่ ะขน้ั ตอนการสอน ครจู ะต้องศกึ ษาวา่ มี สอ่ื /อปุ กรณอ์ ะไรบ้าง ๔.๕ สอ่ื /แหลง่ เรียนรู้ เปน การบอกรายการสือ่ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรทู้ ี่ตอ้ งใช้ในการจดั กิจกรรม การเรียนรใู้ นช่วั โมงนนั้ ๔.๖ การประเมิน เปนการบอกทง้ั วิธกี าร เครื่องมอื และเกณฑ์การประเมิน สาำ หรบั เครอ่ื งมอื การ ประเมนิ ในชดุ การจัดกิจกรรมการเรียนรฯู้ น้ี ได้จดั เตรียมไว้ใหค้ รผู ูส้ อนเรยี บรอ้ ยแล้ว ๓. ส่ือการจัดการเรียนรู กลุม สาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๑ ส่ือการจดั การเรยี นรู้ กลุม่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๑ ประกอบด้วย ๓.๑ แผนการจดั การเรียนรู้ สาำ หรับครใู ชเ้ ปน แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรใู้ ห้กับนักเรียน ๓.๒ แบบฝก หดั สาำ หรบั นกั เรยี นใชฝ้ ก ทกั ษะหลงั จากทาำ ความเขา้ ใจบทเรยี น แนวคดิ และความคดิ รวบยอด ท่ีสาำ คัญในบทเรยี นเรื่องนัน้ ๆ ไปแล้ว ๓.๓ ใบกิจกรรม สำาหรับนักเรยี นใชฝ้ ก ทกั ษะปฏบิ ัติ หรอื สร้างความคิดรวบยอดในบทเรยี น ๓.๔ แบบทดสอบ เปนการวัดความรู้ความเข้าใจตามตัวช้ีวัดที่กำาหนดไว้ในหลกั สูตร แบบฝกหัด ใบกจิ กรรมและแบบทดสอบของนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๑ ไดม้ ีการกาำ หนดสญั ลักษณ์ รปู ดาว 5 แฉกจำานวน ๑ ดวง และแถบสีเหลอื ง โดย ฝ. หมายถงึ แบบฝก หดั ก. หมายถึง ใบกิจกรรม ชุดการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สาำ หรับครูผสู้ อน) กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) 2

สัญลักษณ์รูปดำว ๕ แฉกจำนวน ๑ ดวง และแถบสีเหลือง โดย ฝ. หมำยถงึ แบบฝึกหดั ก. หมำยถงึ ใบกิจกรรม ท. หมำยถึง แบบทดสอบ ผ. หมำยถึง แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ เช่น ฝ. ๑.๖ / ผ. ๔ เปน็ แบบฝกึ หดั หน่วยท่ี ๑ ลำดบั ท่ี ๖ อยูใ่ นแผนกำรจดั กำรเรียนรู้ที่ ๔ ฝ. ๓.๗ / ผ. ๖ เป็นแบบฝกึ หดั หน่วยที่ ๓ ลำดบั ท่ี ๗ อยูใ่ นแผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ท่ี ๖ ก. ๒.๑ / ผ. ๓ เป็นใบกิจกรรมหนว่ ยท่ี ๒ ลำดบั ที่ ๑ อยใู่ นแผนกำรจดั กำรเรียนรู้ที่ ๓ ท. ๑.๒ / ผ. ๖ เปน็ แบบทดสอบหน่วยที่ ๑ ลำดบั ท่ี ๒ อยู่ในแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ท่ี ๖ หมำยเหตุ ลำดับท่ขี องแบบฝึกหัด ใบกจิ กรรม และแบบทดสอบจะเรียงต่อกนั จนครบทุกแผนในแต่ละหนว่ ย เมื่อข้นึ หนว่ ยใหม่ลำดับทข่ี องแบบฝกึ หัด ใบกจิ กรรม และแบบทดสอบจะเร่ิมตน้ ใหม่ ๔. ลักษณะชดุ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ ชุดกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์ ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๑ จัดทำเป็น หน่วยกำรเรียนรู้ (Learning Unit) โดยผ่ำนกำรวิเครำะห์หลักสูตรกลุ่มสำระคณิตศำสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตำมแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน พุทธศักรำช ๒๕๕๑ มำจัดทำเป็นหน่วยกำรเรียนรู้ในแต่ละ ภำคเรยี น ดงั น้ี ภำคเรียนที่ ๑ ประกอบดว้ ย หน่วยกำรเรียนรู้ ๓ หนว่ ย ดงั นี้ หนว่ ยท่ี ๑ จำนวน หนว่ ยยอ่ ยที่ ๑.๑ จำนวนนับ ๑ ถงึ ๒๐ และ ๐ หน่วยท่ี ๒ กำรดำเนนิ กำรของจำนวน หน่วยยอ่ ยท่ี ๒.๑ กำรบวก กำรลบ (ไมเ่ กนิ ๒๐) หน่วยท่ี ๓ เรขำคณิต ภำคเรยี นที่ ๒ ประกอบด้วย หนว่ ยกำรเรยี นรู้ ๕ หนว่ ย ดงั น้ี หนว่ ยท่ี ๑ จำนวน หน่วยย่อยท่ี ๑.๒ จำนวนนบั ๒๑ ถึง ๑๐๐ หน่วยที่ ๒ กำรดำเนินกำรของจำนวน หนว่ ยยอ่ ยท่ี ๒.๒ กำรบวก กำรลบ (ไม่เกิน ๑๐๐) หนว่ ยที่ ๔ แบบรปู หน่วยที่ ๕ สถติ ิ ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำาหรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ (ฉบับปรบั ปรงุ ) 3

หน่วยที่ ๖ กำรวัด หน่วยยอ่ ยท่ี ๖.๑ กำรวัดนำ้ หนกั หนว่ ยยอ่ ยที่ ๖.๒ กำรวัดควำมยำว ๕. แผนการจดั การเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ กำรจัดทำแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์ ชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๑ กำหนดให้ สอดคล้องกับหน่วยกำรเรียนรู้ แต่ละหน่วยกำรเรียนรู้ประกอบด้วยแผนกำรจัดกำรเรียนรู้หลำยแผน แผนละ ๑ ชวั่ โมง โดยมีองคป์ ระกอบของแผนกำรจัดกำรเรียนรู้คือ ขอบเขตเน้ือหำ สำระสำคัญ จุดประสงค์กำรเรียนรู้ ซึ่งมีทั้งด้ำนควำมรู้และด้ำนทักษะและกระบวนกำรทำงคณิตศำสตร์ กิจกรรมกำรเรียนรู้ สื่อ/แหล่งเรียนรู้ และ กำรประเมิน สำหรับแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ทุกแผนจะมีแนวกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้อยู่หน้ำแผนทุกแผนซ่ึง เป็นกำรสรุปภำพรวมของกำรจดั กจิ กรรมกำรเรียนรูใ้ นช่ัวโมงน้ัน ๆ ในทกุ ข้ันตอนกำรสอนตั้งแต่ขั้นนำ ข้ันสอน ข้นั สรุป และกำรประเมนิ ผล ชุดการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรับครผู สู้ อน) กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) 4

โครงสรา้ งชุดการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ หมายเหตุ เวลำรวมของทกุ หน่วยเปน็ ๑๗๔ ช่วั โมงรวมกับกำรวดั ผลประเมนิ ผล และกจิ กรรมเสริมกำรเรยี นรู้คณติ ศำสตร์เปน็ ๒๐๐ ชวั่ โมง/ปี ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (สำาหรบั ครผู ้สู อน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง) 5

กาหนดเวลาการสอนคณติ ศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ หนว่ ยการเรียนรู้ จานวน หน่วยการเรยี นรู้ จานวน ชั่วโมง ช่ัวโมง หนว่ ยท่ี ๑ จานวน หนว่ ยที่ ๑ จานวน หนว่ ยย่อยท่ี ๑.๑ ๓๖ หน่วยย่อยที่ ๑.๒ ๑๒ จำนวนนบั ๑ ถงึ ๒๐ และ ๐ จำนวนนบั ๒๑ ถงึ ๑๐๐ หน่วยที่ ๒ การดาเนินการของจานวน หน่วยที่ ๒ การดาเนินการของจานวน หนว่ ยย่อยท่ี ๒.๑ การบวก การลบ ๔๙ หน่วยย่อยที่ ๒.๒ การบวก การลบ ๓๓ (ไม่เกนิ ๒๐) (ไม่เกนิ ๑๐๐) หนว่ ยที่ ๓ เรขาคณติ ๑๐ หนว่ ยที่ ๔ แบบรปู ๖ กิจกรรมเพ่มิ เติมสาหรบั โรงเรียน ๑๐ หนว่ ยท่ี ๕ สถิติ ๖ หนว่ ยท่ี ๖ การวัด หน่วยย่อยท่ี ๖.๑ กำรวดั นำ้ หนัก ๑๐ หน่วยยอ่ ยที่ ๖.๒ กำรวดั ความยาว ๑๒ กิจกรรมเพิม่ เติมสาหรบั โรงเรยี น ๑๖ รวม ๑๐๕ รวม ๙๕ รวม ๒๐๐ ช่ัวโมง ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ (สาำ หรบั ครูผสู้ อน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ (ฉบับปรบั ปรงุ ) 6

โครงสร้างหนว่ ยการเรียนรู้ หนว่ ยท่ี ๓ เรขาคณติ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ รูปเรขาคณติ สามมติ ิ รปู เรขาคณติ สองมิติ (๔ ชว่ั โมง) (๔ ชวั่ โมง) หนว่ ยท่ี ๓ เรขาคณิต (๑๐ ชวั่ โมง) การเขียนรปู เรขาคณิตสองมิติ (๒ ชวั่ โมง) ชดุ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ (สาำ หรับครผู สู้ อน) กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง) 7

มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชว้ี ัดของหน่วยการเรยี นรู้ หนว่ ยที่ ๓ เรขาคณิต กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๑ สาระท่ี ๒ การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค. ๒.๒ เขา้ ใจและวเิ คราะห์รูปเรขาคณิต สมบัตขิ องรปู เรขาคณติ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง รปู เรขาคณิตและทฤษฎบี ททางเรขาคณติ และนาไปใช้ ตัวช้ีวดั ค ๒.๒ ป.๑/๑ จำแนกรปู สำมเหลยี่ ม รปู ส่ีเหลย่ี ม วงกลม วงรี ทรงส่เี หลย่ี มมมุ ฉำก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ 1. กำรส่ือสำรและกำรสือ่ ควำมหมำยทำงคณติ ศำสตร์ 2. กำรเช่ือมโยง 3. กำรใหเ้ หตุผล 4. กำรคิดสร้ำงสรรค์ ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (ส�ำหรับครผู สู้ อน) กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรุง) 8

แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยที่ ๓ เรขาคณิต



ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (ส�ำหรบั ครูผ้สู อน) กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ (ฉบบั ปรับปรงุ ) ข้ันนำ แผนกำรจัดกำรเรยี นรทู้ ่ี๑ ขัน้ สอน แนวกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ 11 ข้นั สรุป กำรวัดและประเมินผล สนทนำเกยี่ วกับรูปเรขำคณิตสำมมติ ิทพี่ บเห็นได้จำกส่ิงต่ำง ๆ ท่ีอยใู่ นชวี ติ ประจำวนั สำรวจรปู รำ่ งลักษณะของสิง่ ตำ่ ง ๆ ทมี่ ลี กั ษณะเป็นทรงสเ่ี หลย่ี มมุมฉำก แบบฝกึ หดั 3.1 ซักถำมเก่ยี วกบั ลกั ษณะของทรงสเ่ี หลย่ี มมมุ ฉำก - ประเมนิ จำกกำรตอบคำถำม และกำรทำแบบฝึกหัด 3.1 - ประเมินจำกกำรใหเ้ หตุผล กำรสอ่ื สำร กำรสอ่ื ควำมหมำยทำงคณติ ศำสตร์ 1

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) แผนกำรจดั กำรเรียนร้ทู ่ี ๑ 12 กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้คณิตศำสตร์ ช้ัน ป.๑ หน่วยท่ี ๓ เรขำคณิต เวลำ ๑ ช่ัวโมง ขอบเขตเนือ้ หำ กิจกรรมกำรเรยี นรู้ สือ่ /แหลง่ เรียนรู้ ข้นั นำ ทรงสี่เหลยี่ มมุมฉำก 1. ส่งิ ตำ่ ง ๆ ท่ีมีลักษณะเหมือนหรือ 1. ครูนำส่ิงของตำ่ ง ๆ ท่พี บเห็นในชวี ติ ประจำวันท่ีมีรูปรำ่ งลกั ษณะแตกต่ำงกนั เชน่ กล่องยำสีฟนั คล้ำยกบั รูปเรขำคณิตสำมมติ ิ เช่น สำระสำคญั กล่องนม กล่องยำสีฟัน แท่งไมท้ รง ลกู ฟตุ บอล ลูกรกั บ้ี กรวยกรอกนำ้ แกว้ น้ำ หลอดดดู ฯลฯ วำงบนโตะ๊ แล้วนำสนทนำถงึ รูปรำ่ ง สีเ่ หลี่ยมมมุ ฉำก ลูกฟุตบอล ลกู รักบ้ี ทรงส่เี หล่ยี มมมุ ฉำกเป็น รูปเรขำคณิต ลักษณะของสิ่งตำ่ ง ๆ ทพี่ บในชีวติ ประจำวนั แล้วใหน้ ักเรยี นทดลองจบั วำง ตง้ั กล้งิ หรือซอ้ นกนั แลว้ กรวยกระบอก นำ้ แกว้ นำ้ เปน็ ตน้ สำมมิตชิ นดิ หนงึ่ ทห่ี นำ้ ท้งั หกหน้ำ ร่วมกันอภปิ รำยถงึ ลักษณะของสิง่ ต่ำง ๆ เหลำ่ นัน้ ซึง่ จะไดว้ ่ำ บำงชนดิ มีบำงส่วนเรยี บแบน บำงชนดิ วำง 2. สิง่ ตำ่ ง ๆ ที่มีลกั ษณะเหมือน เปน็ รูปสเี่ หลยี่ มมุมฉำก มีลักษณะ ซ้อนกันได้ บำงชนิดกลิง้ ได้ ทรงสี่เหลยี่ มมมุ ฉำก เชน่ กลอ่ งนม กล่องยำสีฟนั กลอ่ งสบู่ เรียบแบน กลง้ิ ไมไ่ ด้ แตว่ ำงซ้อนกนั ได้ ขนั้ สอน แท่งไม้ทรงสี่เหลยี่ มมุมฉำก กลอ่ งบรรจุยำ ยำงลบ ลูกเต๋ำ จุดประสงคก์ ำรเรียนรู้ 2. แบ่งนักเรยี นเปน็ กลมุ่ กลุ่มละ 3 – 4 คน ครแู จกสิง่ ของต่ำง ๆ ที่มีลักษณะเปน็ ทรงส่เี หลี่ยมมมุ ฉำก เป็นตน้ ขนำดตำ่ ง ๆ กนั เชน่ กล่องสบู่ กลอ่ งยำสฟี ัน กล่องบรรจยุ ำ กลอ่ งนม ลกู เตำ๋ ฯลฯ กลุ่มละ 3 – 4 3. ส่ิงของท่มี ลี ักษณะไมเ่ ปน็ ดำ้ นควำมรู้ ชิน้ ใหช้ ่วยกันทำกำรสำรวจลักษณะของส่ิงของท่ีได้รบั และบอกผลกำรสำรวจ ซึ่งควรจะไดว้ ำ่ สง่ิ ท่ีได้ ทรงสเ่ี หลีย่ มมมุ ฉำก เชน่ ลกู แกว้ เพ่ือใหน้ กั เรยี นสำมำรถจำแนก สำรวจทกุ ชิน้ มี 6 หน้ำ แตล่ ะหน้ำมีลกั ษณะเรยี บแบน สำมำรถนำมำวำงซ้อนกันได้ แต่กลง้ิ ไม่ได้ กระป๋องนำ้ อัดลม มะนำว ครูแนะนำวำ่ สงิ่ ตำ่ ง ๆ เหล่ำนี้ มีลักษณะเป็นรูปสีเ่ หลย่ี มมุมฉำก ซ่งึ เปน็ รปู เรขำคณติ สำมมติ ชิ นิดหน่ึง หมอนสำมเหล่ียม กระดง่ิ ฯลฯ รูปเรขำคณติ สำมมิติทมี่ ลี ักษณะเป็น 3. ครูนำส่ิงของอ่ืน ๆ ที่มีลักษณะเป็นทรงส่เี หลยี่ มมุมฉำก และไม่เปน็ ทรงส่เี หลี่ยมมุมฉำก ให้นกั เรยี นดู 4. บตั รภำพรูปเรขำคณิตสำมมิติ ทรงส่ีเหลี่ยมมมุ ฉำก ชนิดตำ่ ง ๆ และรปู อื่น ๆ ดำ้ นทักษะและกระบวนกำรทำง และสมั ผสั แลว้ ให้แต่ละกลุ่มตอบวำ่ สงิ่ ของตำ่ ง ๆ เหล่ำน้ันมลี ักษณะเป็นทรงสี่เหลี่ยมมุมฉำก หรอื ไมเ่ ปน็ 5. แบบฝึกหัด 3.1 คณติ ศำสตร์ ทรงสีเ่ หลย่ี มมุมฉำก เพรำะเหตใุ ด เพือ่ ให้นกั เรียนสำมำรถ 4. ใหน้ ักเรยี นแต่ละกลุ่มยกตัวอย่ำงสง่ิ ต่ำง ๆ ท่ีอยูร่ อบตัว ท่ีมีลักษณะเป็นทรงส่เี หล่ยี มมมุ ฉำกหรอื คลำ้ ย 1. ให้เหตผุ ล ทรงสี่เหลยี่ มมุมฉำก กลุ่มละ 2 ชนดิ 2. สือ่ สำร สื่อควำมหมำยทำง 5. ครชู ูบัตรภำพรูปเรขำคณติ สำมมิตทิ ่มี ีทัง้ ทรงสเี่ หล่ยี มมมุ ฉำกและรปู อน่ื ๆ ให้นักเรียนแตล่ ะกล่มุ ผลัด กนั ตอบวำ่ เปน็ ภำพของทรงสีเ่ หล่ยี มมุมฉำกหรือไม่ เพรำะเหตุใด จำกนัน้ ใหน้ ักเรียนทำแบบฝกึ หัด 3.1 คณิตศำสตร์ เป็นรำยบุคคล

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สาำ หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) แผนกำรจดั กำรเรียนร้ทู ่ี ๑ 13 กลมุ่ สำระกำรเรยี นร้คู ณติ ศำสตร์ ชน้ั ป.๑ หนว่ ยท่ี ๓ เวลำ ๑ ชว่ั โมง ข้ันสรปุ กำรประเมนิ 6. ครูใหน้ กั เรียนชว่ ยกนั บอกลกั ษณะของทรงสี่เหล่ียมมมุ ฉำก ซ่ึงควรจะได้ว่ำ ทรงส่เี หลีย่ มมุมฉำก เป็น 1. วธิ ีกำร 1.1 สังเกตพฤติกรรมกำรเรียนรู้ รูปเรขำคณติ สำมมิตชิ นดิ หนึ่ง ทห่ี นำ้ ท้ังหกหนำ้ ทีม่ ีลักษณะเรยี บแบน สำมำรถวำงซ้อนกันได้ กลิ่งไม่ได้ 1.2 ตรวจแบบฝกึ หดั 2. เคร่ืองมอื 2.1 แบบฝกึ หัด 3.1 2.2 แบบประเมินทกั ษะและ กระบวนกำรทำงคณติ ศำสตร์ 3. เกณฑ์ 3.1 ผลงำนมคี วำมถกู ต้อง ไม่นอ้ ยกวำ่ ร้อยละ 80 3.2 คะแนนรวมด้ำนทักษะและ กระบวนกำรทำงคณิตศำสตร์ ไม่น้อยกว่ำร้อยละ 60

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) ขัน้ นำ แผนกำรจัดกำรเรยี นรูท้ ี่ ๒ ขัน้ สอน แนวกำรจัดกจิ กรรมกำรเรียนรู้ 14 ขนั้ สรปุ กำรวแั ละประเมนิ ผล ซกั ถามถึงลกั ษณะของทรงสีเ่ หลยี่ มมมุ ฉาก สารวจรปู รา่ งลกั ษณะของรปู เรขาคณิตสามมิติโดยการเปรียบเทยี บเปน็ คู่ ๆ ดงั น้ี ทรงกลมกับทรงสีเ่ หลย่ี มมุมฉาก ทรงกระบอกกับทรงกลม และกรวยกบั ทรงกระบอก เพ่ือสรา้ งความคดิ รวบยอดเกยี่ วกับ รปู รา่ งลกั ษณะของรูปเรขาคณติ สามมิตแิ ตล่ ะชนิด แบบฝึกหัด 3.2 ช่วยกันบอกลกั ษณะสาคญั ของทรงสี่เหลยี่ มมมุ ฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย พร้อมยกตวั อย่างประกอบ - ประเมนิ จากการตอบคาถาม และการทาแบบฝกึ หดั 3.2 - ประเมินจากการใหเ้ หตุผล การสอ่ื สาร การสือ่ ความหมายทางคณิตศาสตร์ 1

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) แผนกำรจดั กำรเรยี นรูท้ ี่ ๒ 15 กลุม่ สำระกำรเรยี นรู้คณติ ศำสตร์ ช้ัน ป.๑ หน่วยท่ี ๓ เรขำคณิต เวลำ ๑ ชว่ั โมง ขอบเขตเนือ้ หำ กจิ กรรมกำรเรียนรู้ สอ่ื /แหล่งเรียนรู้ ขน้ั นำ ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย 1. แท่งไม้ทรงสี่เหลีย่ มมมุ ฉาก 1. ครูชูแท่งไมท้ รงสเี่ หล่ียมมุมฉากใหน้ ักเรยี นพิจารณา แล้วตอบว่า แทง่ ไมม้ ลี กั ษณะเป็นรปู เรขาคณติ 2. ลกู บอล ลกู ปิงปอง และลูกแกว้ สำระสำคัญ 3. สิ่งของที่มลี ักษณะไมเ่ ป็นทรงกลม สามมติ ชิ นิดใด เพราะเหตุใด เชน่ กระป๋องนม กล่องชอล็ค ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย กรวยยาง ถ่านไฟฉาย ธูปกายาน เปน็ รปู เรขาคณิตสามมติ ิ โดยทรงกลม ข้ันสอน ปลากระป๋อง ฯลฯ มผี วิ โคง้ ทัง้ หมด ไม่เรยี บแบนกลิ้งได้ 4. แท่งไม้ทรงกระบอก หรือแทง่ โดยรอบ วางซอ้ นกันไม่ได้ 2. แบง่ นกั เรียนเปน็ กล่มุ กล่มุ ละ 3 – 4 คน ครูแจกลูกบอลให้แต่ละกลมุ่ พิจารณาและสัมผัส แล้วถาม พลาสติกทรงกระบอก ทรงกระบอก มีผิวบางส่วนโคง้ ว่า ลกู บอลนม้ี ลี กั ษณะเปน็ ทรงสี่เหลย่ี มมุมฉากหรอื ไม่ เพราะเหตุใด ใหแ้ ต่ละกลุ่มผลัดกันตอบ ต่อมาจึง 5. กรวยไมห้ รือกรวยพลาสตกิ บางสว่ นเรียบแบน นาสว่ นที่เรียบแบน ทรงตัน วางซอ้ นกันได้ กล้ิงไดท้ างเดียว กรวย แจกลูกปงิ ปองและลกู แกว้ ตามลาดบั แลว้ ใชค้ าถามเชน่ เดมิ จากนนั้ จงึ แนะนาว่า ลกู บอล ลูกปิงปอง 6. แก้วกระดาษรปู กรวย มียอดแหลม ผิวบางส่วนโค้ง บางส่วน 7. ชุดเรขาคณิตสามมิติ ซง่ึ เรยี บแบน วางซอ้ นกันไม่ได้ และกลง้ิ และลกู แก้ว มลี กั ษณะเป็นทรงกลม ซง่ึ เป็นรูปเรขาคณติ สามมิติอกี ชนดิ หนึ่ง โดยให้นักเรยี นสังเกตว่า ประกอบดว้ ย ทรงสี่เหล่ียมมุมฉาก ได้เปน็ วง ทรงกลมจะมผี วิ โคง้ ท้งั หมดไม่เรียบแบน กล้งิ ได้โดยรอบ วางซ้อนกนั ไม่ได้ ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย 8. บตั รภาพรปู เรขาคณิตสามมติ ิ จดุ ประสงคก์ ำรเรียนรู้ 3. ครูชสู ่ิงของอื่น ๆ ที่มลี กั ษณะเปน็ ทรงกลม และไมเ่ ป็นทรงกลม ให้แตล่ ะกลุม่ ตอบวา่ สง่ิ ของนั้นเป็น 9. แบบฝกึ หดั 3.2 ด้ำนควำมรู้ ทรงกลม หรือไม่เปน็ ทรงกลม เพราะเหตุใด เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นสามารถจาแนก 4. ครูแจกลกู บอลกับแท่งไม้ทรงกระบอก (หรือแทง่ พลาสตกิ ทรงกระบอก) ใหท้ กุ กล่มุ แลว้ ช่วยกันสารวจ ทรงสี่เหลีย่ มมมุ ฉาก ทรงกลม ว่าสงิ่ ของ 2 สิง่ นี้มลี ักษณะเหมอื นกัน หรือแตกต่างกนั อย่างไร ใหผ้ ลัดกันบอกผลการสารวจ ครรู วบรวม ทรงกระบอก และกรวยได้ ผลสารวจท่ไี ด้ แล้วใหน้ ักเรียนช่วยกนั สรปุ ซงึ่ จะไดว้ า่ ลกู บอลกับแท่งไม้ทรงกระบอก มผี ิวโ คง้ เชน่ เดยี วกนั แต่ลูกบอลมผี ิวโค้งทง้ั หมด วางซอ้ นกนั ไม่ได้ สามารถกลิ้งไดโ้ ดยรอบ สว่ นแท่งไม้ทรงกระบอก มีทั้งสว่ นทเ่ี ปน็ ผวิ โคง้ และส่วนทเี่ รยี บแบน ส่วนท่เี รียบแบนสามารถวางซ้อนกันได้ และกลิ้งไดท้ างเดยี ว จากนัน้ ครแู นะนาวา่ แท่งไม้ (หรอื แทง่ พลาสติกทรงกระบอก)นี้ มีลกั ษณะเปน็ ทรงกระบอก ซง่ึ เปน็ รูปเรขาคณิตสามมติ ิอกี ชนดิ หนงึ่ 5. ครูชสู ง่ิ ของ 2 ส่ิง ทม่ี ีลักษณะแตกต่างกนั เช่น ลูกปิงปอง กับกระปอ๋ ง นำ้ อดั ลม แล้วถามนักเรียนว่า สง่ิ ใดมลี กั ษณะเป็นทรงกระบอก และอีกสงิ่ หน่ึงมลี ักษณะเปน็ รูปเรขาคณิตสามมติ ชิ นดิ ใด

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (สำาหรบั ครูผ้สู อน) กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ (ฉบบั ปรับปรงุ ) แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ที่ ๒ 16 กลุ่มสำระกำรเรยี นรคู้ ณิตศำสตร์ ชนั้ ป.๑ หน่วยท่ี ๓ เวลำ ๑ ชวั่ โมง ดำ้ นทกั ษะและกระบวนกำรทำง 6. ครูแจกแทง่ ไม้ทรงกระบอก (หรอื แท่งพลาสตกิ ทรงกระบอก) กับกรวยไม้ (หรือกรวยพลาสติก) ให้ทกุ กำรประเมนิ คณิตศำสตร์ กลมุ่ แล้วช่วยกันสารวจวา่ ส่ิงของ 2 สง่ิ น้ีมีลักษณะเหมือนกัน หรือแตกต่างกนั อยา่ งไร ให้ผลดั กนั บอกผล การสารวจ ครูรวบรวมผลสารวจทไี ด้ แล้วให้นักเรียนช่วยกันสรุป ซง่ึ จะได้วา่ ท้งั สองสง่ิ มีส่วนทเ่ี ป็นผวิ 1. วธิ กี ำร เพือ่ ใหน้ กั เรียนสามารถ โค้งและส่วนทีเ่ รยี บแบนเช่นเดียวกนั แทง่ ไมท้ รงกระบอกวางซอ้ นกนั ได้ กล้งิ ได้ทางเดียว แต่อีกสง่ิ หนึ่ง 1.1 สงั เกตพฤติกรรมการเรียนรู้ 1. ให้เหตุผล วางซ้อนกนั ไม่ได้ กลิง้ ได้เป็นวง และมยี อดแหลม ครแู นะนาวา่ สิ่งนม้ี ีลกั ษณะเป็นกรวย ซ่ึงเปน็ 1.2 ตรวจแบบฝึกหัด 2. สอ่ื สาร ส่ือความหมายทาง รูปเรขาคณติ สามมิติอีกชนดิ หน่งึ คณติ ศาสตร์ 7. ครชู ูสงิ่ ของ 2 สิง่ ทม่ี ีลักษณะแตกต่างกนั เชน่ ถ่านไฟฉายกบั แกว้ กระดาษรปู กรวย แล้วถามนักเรียน 2. เครอ่ื งมือ ว่า ส่ิงใดมีลักษณะเปน็ กรวย และอีกสงิ่ หนึง่ มลี ักษณะเปน็ รูปเรขาคณิตสามมติ ิชนดิ ใด 8. ครูตรวจสอบความเข้าใจเก่ียวกบั ลกั ษณะของรปู เรขาคณติ สามมติ ิแตล่ ะชนดิ โดยแจกชุดรปู เรขาคณิต 2.1 แบบฝึกหดั 3.2 สามมติ ทิ ่ีประกอบด้วย ทรงสี่เหล่ยี มมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย ขนาดต่าง ๆ กัน กลุ่มละ 1 ชุด ใหน้ ักเรียนชว่ ยกันจาแนก ครูชูรปู เรขาคณิตสามมติ ิทลี ะชนิด ถามว่า เป็นรูปเรขาคณติ สามมิติ 2.2 แบบประเมินทักษะและ ชนิดใด พร้อมกบั ให้ทุกกล่มุ ชูรูปเรขาคณิตสามมติ นิ ้ัน 9. ครูชบู ตั รภาพรปู เรขาคณติ สามมติ ิทลี ะภาพ ให้นกั เรียนช่วยกนั ตอบวา่ เป็นรปู เรขาคณติ สามมติ ิ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ชนดิ ใด ตัวอยำ่ งบัตรภำพ 3. เกณฑ์ 3.1 ผลงานมีความถูกต้อง ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 80 3.2 คะแนนรวมด้านทักษะและ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 60 จากนนั้ ให้ทาแบบฝึกหัด 3.2

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) กลมุ่ สำระกำรเรยี นรคู้ ณติ ศำสตร์ แผนกำรจดั กำรเรียนรทู้ ี่ ๒ ชั้น ป.๑ หน่วยท่ี ๓ เวลำ ๑ ชวั่ โมง 17 ข้นั สรุป 11. ให้นกั เรยี นชว่ ยกันบอกลกั ษณะสาคัญของทรงส่ีเหลีย่ มมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย พร้อมยกตวั อยา่ งสง่ิ ตา่ ง ๆ ท่ีมลี กั ษณะเหมือน หรอื คลา้ ยกับรปู เรขาคณิตสามมิตเิ หลา่ นั้น ซึ่งจะไดว้ า่ ทรงส่ีเหล่ยี มมมุ ฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย เปน็ รูปเรขาคณิตสามมิติ โดยทรงสีเ่ หลยี่ ม มุมฉากมหี น้า 6 หนา้ แตล่ ะหนา้ มีลกั ษณะเรยี บแบน สามารถนาวางซ้อนกนั ได้ กลิง้ ไม่ได้ ทรงกลม มผี วิ โคง้ ท้งั หมด วางซอ้ นกนั ไมไ่ ด้ สามารถกลิ้งไดโ้ ดยรอบ ทรงกระบอก มสี ่วนทเี่ ปน็ ผิวโค้ง และสว่ นที่ เรียบแบน สามารถนาส่วนที่เรยี บแบนมาวางซ้อนกันได้ กล้ิงได้ทางเดียว กรวย มีสว่ นทีเ่ ปน็ ผิวโคง้ และสว่ นที่เรียบแบน วางซอ้ นกันไม่ได้ มียอดแหลม และกลง้ิ ได้เปน็ วง

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (สำ� หรบั ครูผ้สู อน) กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ (ฉบบั ปรับปรงุ ) ขนั้ นำ แผนกำรจัดกำรเรยี นร้ทู ี่ ๓ ข้นั สอน แนวกำรจัดกจิ กรรมกำรเรยี นรู้ 18 ขน้ั สรปุ กำรวแั ละประเมนิ ผล สนทนำถงึ รูปรำ่ งลักษณะของสง่ิ ตำ่ ง ๆ ทอ่ี ยรู่ อบตวั โดยเชื่อมโยงกับรปู เรขำคณติ สำมมิติ ทำกจิ กรรม “ช่วยกันหำ” เล่นเกมบิงโก “รูปเรขำพำสนุก” และทำกจิ กรรม “แบง่ สมบัติ” ทำแบบฝกึ หัด 3.3 ทำกจิ กรรม “ตอ้ นเข้ำมุม” - ประเมินจำกกำรตอบคำถำม กำรทำกิจกรรม และกำรทำแบบฝึกหัด 3.3 - ประเมินจำกกำรใหเ้ หตุผล กำรสอ่ื สำร กำรสอื่ ควำมหมำยทำงคณิตศำสตร์ 1

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สาำ หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) แผนกำรจัดกำรเรียนรูท้ ่ี ๓ 19 กลุ่มสำระกำรเรยี นรูค้ ณติ ศำสตร์ ช้ัน ป.๑ หน่วยที่ ๓ เรขำคณิต เวลำ ๑ ชวั่ โมง ขอบเขตเน้อื หำ กิจกรรมกำรเรยี นรู้ สอ่ื /แหลง่ เรยี นรู้ ขนั้ นำ ทรงส่ีเหลี่ยมมมุ ฉำก ทรงกลม 1. สิ่งของต่ำง ๆ ท่ีมีลักษณะเหมอื น ทรงกระบอก และกรวย 1. ครูนำสนทนำถงึ ส่งิ ต่ำง ๆ ท่อี ยู่รอบตัวว่ำ มีลักษณะเหมือนหรอื คล้ำยกับรูปเรขำคณิตสำมมติ ิ จำกน้ัน หรอื คลำ้ ยกับทรงสเ่ี หลย่ี มมมุ ฉำก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย สำระสำคญั ทบทวนลักษณะของทรงส่เี หล่ียมมุมฉำก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย โดยชูสิ่งของต่ำง ๆ และ หลำย ๆ สิ่ง เชน่ ยำงลบ ลกู บอล หมวกสำหรบงำนรน่ื เรงิ สง่ิ ต่ำง ๆ รอบตัว มักมลี ักษณะเป็น รปู ภำพทม่ี ลี กั ษณะเหมือนหรือคล้ำยกบั รูปเรขำคณิตสำมมิตดิ งั กลำ่ ว แล้วให้นกั เรียนตอบวำ่ มลี กั ษณะ 2. ฉลำกเขยี นชื่อชนิดของ รปู เรขำคณิตสำมมิติ เช่น รปู เรขำคณิตสำมมิติ ได้แก่ ทรงสเี่ หลีย่ มมุมฉำก ทรงกลม เหมือนหรอื คล้ำยกบั รูปเรขำคณิตสำมมติ ิใด เพรำะเหตใุ ด ทรงสี่เหล่ียมมมุ ฉำก ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย เป็นต้น ทรงกระบอก และกรวย ข้ันสอน 3. กล่องทึบขนำดใหญ่ ภำยในบรรจุ จดุ ประสงค์กำรเรยี นรู้ สิง่ ต่ำง ๆ ทม่ี ลี ักษณะเหมือนหรอื 2. ให้นกั เรียนทำกิจกรรม “ชว่ ยกนั หำ” โดยแบง่ นักเรยี นเปน็ 4 กล่มุ ให้ตวั แทนจับฉลำกชือ่ ชนิดของ คลำ้ ยกบั ทรงสีเ่ หล่ยี มมุมฉำก ด้ำนควำมรู้ รูปเรขำคณิตสำมมิติ จำกนั้นให้แต่ละกลุ่มช่วยกนั รวบรวมส่ิงของตำ่ ง ๆ ท่อี ยรู่ อบตวั ทัง้ ในและนอก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย เพื่อให้นกั เรยี นสำมำรถยกตัวอย่ำง อำจเปน็ ผัก ผลไม้ สิ่งของตำ่ ง ๆ หอ้ งเรยี นทีม่ ีลักษณะตรงกับชื่อท่ีระบใุ นฉลำก ให้ได้มำกท่ีสุดภำยในเวลำ 10 นำที ในกรณที ี่สิ่งของน้นั มี ประมำณ 20 ชนิ้ สง่ิ ตำ่ ง ๆ รอบตัวทม่ี รี ปู ร่ำงลกั ษณะ 4. ตำรำงบิงโกรูปเรขำคณิตสำมมติ ิ เหมือนหรอื คลำ้ ยกบั ทรงสเ่ี หลย่ี ม ขนำดใหญ่หรือเคลอ่ื นย้ำยไม่ได้ อำจชใ้ี ห้เห็นหรอื บอกดว้ ยวำจำ จำกนนั้ ให้แต่ละกลุ่มนำเสนอสง่ิ ท่ี มมุ ฉำก ทรงกลม ทรงกระบอก และ ขนำด 3  3 น้วิ (จำนวนเท่ำกับ กรวย รวบรวมมำได้ และใหก้ ลุ่มท่ีเหลอื อกี 3 กลุม่ เป็นผตู้ รวจสอบควำมถกู ต้อง โดยมคี รเู ป็นผ้ใู ห้คำแนะนำ นักเรียนในห้อง) 5. บัตรคำชอื่ ชนิดของรปู เรขำคณติ ดำ้ นทักษะและกระบวนกำรทำง และกำกบั ดูแล กลุม่ ใดรวบรวมได้มำกทีส่ ุดและถกู ต้องเป็นผู้ชนะ สำมมติ ิ “ทรงส่เี หลี่ยมมุมฉำก” “ทรงกลม”“กรวย”“ทรงกระบอก” 3. ใหน้ ักเรียนเล่นเกมบงิ โก “รูปเรขำพำสนุก” โดยแจกตำรำงบิงโกรปู เรขำคณติ สำมมิติคนละ 1 แผน่ โดยที่แตล่ ะแผ่นมีกำรจดั เรียบรูปแตกต่ำงกนั เช่น

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ที่ ๓ 20 กล่มุ สำระกำรเรยี นรู้คณิตศำสตร์ ชน้ั ป.๑ หนว่ ยท่ี ๓ เรขำคณติ เวลำ ๑ ชวั่ โมง ด้ำนทกั ษะและกระบวนกำรทำง ครูชูตำรำงบงิ โก 1 แผน่ แลว้ ชที้ ีร่ ูปเรขำคณิตสำมมติ ิทลี ะรูปให้นักเรียนช่วยกนั บอกว่ำ เปน็ รูปเรขำคณิต 6. บัตรภำพสง่ิ ของตำ่ ง ๆ ทม่ี ี คณิตศำสตร์ สำมมิติชนดิ ใด ครสู ุ่มหยบิ สง่ิ ต่ำง ๆ จำกกล่องทบึ ชใู หน้ กั เรียนสงั เกตว่ำ มลี ักษณะเหมือนหรอื คลำ้ ยกับ ลักษณะเหมือนหรอื คล้ำยกับทรง สีเ่ หลีย่ มมมุ ฉำก ทรงกลม เพอ่ื ใหน้ กั เรียนสำมำรถ รปู เรขำคณิตสำมมติ ิใด แลว้ ให้  ชอ่ื ลงในตำรำง ทำเช่นน้ีไปเร่อื ย ๆ ใครทมี่ ี  เรยี งตดิ กนั ใน ทรงกระบอก และกรวย (จำนวน 1. ให้เหตผุ ล เทำ่ กบั นักเรยี นในห้อง) 2. ส่อื สำร สอ่ื ควำมหมำยทำง แนวตัง้ แนวนอน หรือแนวทแยง กอ่ น ให้ร้อง “บิงโก” จะเปน็ ผชู้ นะ 7. แบบฝกึ หัด 3.3 คณติ ศำสตร์และนำเสนอ 4. ใหน้ ักเรียนทำกจิ กรรม “แบง่ สมบตั ิ” โดยครนู ำส่งิ ต่ำง ๆ ท่ีมีลักษณะเหมอื นหรือคลำ้ ยทรงสี่เหลย่ี ม มมุ ฉำก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย ใส่กล่องทึบ ให้ตวั แทนแต่ละกล่มุ สุ่มหยบิ ทลี ะช้นิ แลว้ นำมำวำง กำรประเมนิ บนโตะ๊ หน้ำชัน้ เรยี น โดยให้จำแนกตำมรูปร่ำงลักษณะ สิ่งที่มีรปู รำ่ งลักษณะเหมือนกันให้วำงกอง เดยี วกนั ผลดั กนั หยบิ จนหมด ครูถำมวำ่ ส่ิงต่ำง ๆ แตล่ ะกองมรี ปู รำ่ งลกั ษณะเหมือนรปู เรขำคณิตสำม 1. วธิ ีกำร มิตชิ นดิ ใด แล้วให้ตัวแทนนกั เรียนหยบิ บตั รคำชือ่ ชนิดของรูปเรขำคณิตสำมมติ ิ ไปตดิ ท่ีกองของสงิ่ ต่ำง ๆ 1.1 สงั เกตพฤติกรรมกำรเรียนรู้ เหลำ่ นั้นใหถ้ กู ต้อง จำกนั้นให้ทำแบบฝกึ หดั 3.3 1.2 ตรวจแบบฝึกหัด ขั้นสรุป 2. เครอื่ งมือ 2.1 แบบฝกึ หดั 3.3 5. ใหน้ ักเรียนทำกจิ กรรม “ต้อนเขำ้ มมุ ” โดยครนู ำบัตรคำชนดิ ของรปู เรขำคณิตสำมมิติ ติดไวท้ ่มี ุมห้อง 2.2 แบบประเมินทกั ษะและ ท้ังสมี่ ุม แลว้ แจกบตั รภำพสิง่ ตำ่ ง ๆ ท่มี ีอยู่ในชวี ิตประจำวัน คนละ 1 ใบ เมื่อครใู ห้สัญญำณนกหวีด ให้ กระบวนกำรทำงคณิตศำสตร์ นักเรยี นทกุ คนถือบัตรภำพที่ได้รบั วิง่ ไปอยู่มุมห้องที่ติดบตั รคำตรงกบั บัตรภำพท่ีตนเองไดร้ ับ จำกนน้ั ให้ นักเรยี นที่อยู่แตล่ ะมมุ บอกลักษณะของรปู เรขำคณิตสำมมติ ิท่ตี นยืนอยู่อีกคร้ัง 3. เกณฑ์ 3.1 ผลงำนถูกตอ้ งไมน่ ้อยกว่ำ รอ้ ยละ 80 3.2 คะแนนรวมดำ้ นทักษะและ กระบวนกำรทำงคณิตศำสตร์ ไมน่ อ้ ยกวำ่ ร้อยละ 60

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) ข้นั นำ แผนกำรจดั กำรเรียนร้ทู ่ี ๔ ขน้ั สอน แนวกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ 21 ขั้นสรปุ กำรวัและประเมินผล ทบทวนทรงสเ่ี หลยี่ มมมุ ฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย โดยใช้ไม้บล็อก ทากิจกรรมสรา้ งบา้ นนอ้ ยในฝัน ถาม – ตอบ เกีย่ วกบั รปู เรขาคณิตสามมติ ิที่พบในชีวิตประจาวนั พรอ้ มยกตวั อยา่ งประกอบ - ประเมนิ จากการตอบคาถามและการทากิจกรรมสรา้ งบา้ นน้อยในฝนั - ประเมนิ จากการสื่อสาร การส่อื ความหมายทางคณติ ศาสตร์ การเชือ่ มโยง และการคดิ สร้างสรรค์ 1

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ท่ี ๔ 22 กลุม่ สำระกำรเรยี นรูค้ ณติ ศำสตร์ ชั้น ป.๑ หนว่ ยที่ ๓ เวลำ ๑ ชวั่ โมง ขอบเขตเน้ือหำ กิจกรรมกำรเรยี นรู้ สอ่ื /แหล่งเรยี นรู้ กระบวนการ ขั้นนำ ทรงส่เี หล่ยี มมมุ ฉาก ทรงกลม 1. ไม้บล็อกรปู เรขาคณติ สามมิติ 1. ครูทบทวนลกั ษณะของรปู เรขาคณติ สามมิติ โดยนาไมบ้ ล็อกทรงส่เี หลีย่ มมมุ ฉาก ทรงกลม 2. ภาพบา้ นรปู แบบต่าง ๆ ทรงกระบอก และกรวย ทรงกระบอก และกรวย ให้นักเรียนดูและสมั ผัส แล้วให้นักเรียนบอกลกั ษณะของไม้บล็อกเหล่านั้นวา่ 3. กล่องขนม กล่องยา กระปอ๋ ง เป็นรปู เรขาคณิตสามมติ ิชนดิ ใด เพราะเหตุใด หรอื อืน่ ๆ ที่มีลักษณะเป็นทรง สำระสำคญั สเี่ หล่ยี มมุมฉาก ทรงกลม ขั้นสอน ทรงกระบอก และกรวย ทรงสเี่ หลย่ี มมมุ ฉาก ทรงกลม 4. ลกู บอลโฟม ทรงกระบอก กรวย เป็นรปู เรขาคณิต 2. แบ่งนักเรยี นเปน็ กล่มุ กลมุ่ ละ 3 – 4 คน ครแู จกภาพบา้ นรูปแบบต่าง ๆ ใหแ้ ต่ละกลมุ่ พจิ ารณา แล้ว 5. เทปกาวใส หรอื กาว สามมิติ และส่งิ ต่าง ๆ ที่อยรู่ อบตวั ก็มี ออกมานาเสนอว่า พบสง่ิ ใดบ้างทม่ี ลี กั ษณะเหมือนหรอื คลา้ ยกับทรงส่เี หลีย่ มมุมฉาก ทรงกลม 6. กระดาษ A4 สาหรบั รอง ลักษณะเหมือนหรือคล้ายรูปเรขาคณิต ทรงกระบอก และกรวย 7. แปง้ โด หรือดนิ นา้ มนั สามมิติเหล่าน้นั 3. ครูแจกอปุ กรณใ์ ห้แต่ละกลุม่ ดงั น้ี - บล็อกไม้ทรงสี่เหล่ียมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย กำรประเมนิ จดุ ประสงค์กำรเรยี นรู้ - กล่องขนม กล่องยา กระป๋องหรืออื่น ๆ ทม่ี ีลักษณะเป็นทรงสี่เหล่ียมมุมฉาก ทรงกระบอก และกรวย - ลูกบอลโฟม 1. วธิ กี ำร ดำ้ นควำมรู้ - เทปกาวใส หรอื กาว 1.1 สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นสามารถเชื่อมโยงสิ่ง - กระดาษ A4 1 แผ่น สาหรบั รอง - แป้งโด หรือดนิ น้ามัน 1.2 ตรวจผลงาน ต่าง ๆ ท่มี ีในชีวติ ประจาวนั กับ จากน้ันให้นักเรียนแต่ละกลุ่มชว่ ยกันสรา้ งบา้ นนอ้ ยในฝนั โดยใชอ้ ุปกรณ์ท่ีแจกให้ หรืออาจปัน้ แป้งโด ทรงส่ีเหลี่ยมมุมฉาก ทรงกลม หรือดนิ นา้ มันเป็นทรงสเี่ หลี่ยมมมุ ฉาก ทรงกระบอก และกรวย ไดต้ ามต้องการ แล้วตกแต่งให้สวยงาม 2. เครอื่ งมอื ทรงกระบอก และกรวย 2.1 แบบประเมนิ ผลงาน จากนน้ั ใหน้ าเสนอผลงานของกลมุ่ โดยระบุวา่ บ้านน้อยในฝนั ของกลุ่ม ประกอบด้วย รูปเรขาคณิต เชงิ คณุ ภาพ สามมิติใดบา้ ง และรปู เรขาคณติ สามมิตเิ หลา่ นัน้ ใชแ้ ทนส่งิ ใด เช่น ทรงกระบอก แทนตัวบา้ น 2.2 แบบประเมนิ ทกั ษะและ กระบวนกำรทำงคณิตศำสตร์

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) แผนกำรจัดกำรเรียนรูท้ ี่ ๔ 23 กลุ่มสำระกำรเรยี นร้คู ณติ ศำสตร์ ชัน้ ป.๑ หนว่ ยที่ ๓ เวลำ ๑ ชว่ั โมง ด้ำนทกั ษะและกระบวนกำรทำง ทรงส่เี หลยี่ มมมุ ฉากแทนตวั บ้าน กรวยแทนหลังคาบ้าน ทรงกลมแทนตน้ ไม้ 3. เกณฑ์ คณติ ศำสตร์ 3.1 ผลงานมีคณุ ภาพไม่ต่ากว่า ขัน้ สรปุ เพือ่ ใหน้ กั เรียนสามารถ ระดบั 2 1. สอื่ สาร ส่อื ความหมายทาง 4. ครูให้นักเรยี นช่วยกนั ตอบคาถามว่า ในชวี ติ ประจาวนั เราพบรูปเรขาคณติ สามมติ ิชนิดใดบ้างจากส่ิง 3.2 คะแนนรวมดา้ นทักษะและ คณิตศาสตร์ 2. เช่อื มโยง ใดบ้าง โดยยกตัวอยา่ งประกอบ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ 3. คิดสรา้ งสรรค์ ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 60 3

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) ขั้นนำ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๕ ขัน้ สอน แนวกำรจัดกจิ กรรมกำรเรยี นรู้ 24 ขน้ั สรุป กำรวแั ละประเมนิ ผล เล่นเกม “จดั เขำ้ พวก” แนะนำรูปสำมเหลีย่ มและรปู ส่เี หลย่ี ม โดยใหส้ ำรวจด้ำนและมมุ เพอ่ื นำไปสขู่ ้อสรุป แบบฝกึ หดั 3.4 บอกควำมแตกต่ำงระหวำ่ งรปู สำมเหลย่ี มกับรูปสีเ่ หลย่ี ม - ประเมนิ จำกกำรตอบคำถำม กำรทำกิจกรรม และกำรทำแบบฝึกหดั 3.4 - ประเมนิ จำกกำรใหเ้ หตุผล กำรสอ่ื สำร กำรส่ือควำมหมำยทำงคณติ ศำสตร์

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) กลมุ่ สำระกำรเรยี นรคู้ ณติ ศำสตร์ แผนกำรจัดกำรเรียนรทู้ ี่ ๕ ชัน้ ป.๑ หน่วยท่ี ๓ เรขำคณติ 25 กิจกรรมกำรเรียนรู้ เวลำ ๑ ชั่วโมง ขอบเขตเนอื้ หำ ข้ันนำ ส่อื /แหล่งเรยี นรู้ รูปสำมเหล่ยี มและรปู ส่เี หลีย่ ม 1. แบ่งนกั เรยี นเป็นกลุ่ม กลุม่ ละ 3 – 4 คน ครแู จกชดุ รูปเรขำคณิตสองมติ ิ กล่มุ ละ 1 ชดุ แนะนำให้ นกั เรียนรจู้ ักว่ำ รปู เรขำคณติ เหล่ำน้นั เปน็ รูปเรขำคณิตสองมิติ ครูใหน้ กั เรยี นเลน่ เกม “จดั เข้ำพวก” 1. ชดุ รปู เรขำคณติ สองมติ ิ สำระสำคัญ โดยให้แตล่ ะกลุ่มจำแนกรูปเรขำคณติ สองมิตทิ ีไ่ ด้รบั กลมุ่ ใดจัดเสรจ็ กอ่ น และถกู ต้องเป็นผู้ชนะ ครูให้ ซง่ึ ประกอบดว้ ยรปู สำมเหลย่ี ม และ ตวั แทนของกลุ่มท่จี ดั ได้ถูกต้องบอกว่ำ ในกำรจดั เข้ำพวกนี้ สงั เกตจำกอะไร รปู ส่ีเหล่ยี ม หลำยๆ ขนำดและ 1. รูปสำมเหล่ียมและรปู สเ่ี หลยี่ มเปน็ ท้งั หมดมสี ีเดยี วกัน รูปเรขำคณิตสองมิติ ขั้นสอน 2. กระดำษรปู หลำยเหลี่ยมอื่น ๆ 2. กำรจำแนกรูปสำมเหล่ียม เช่น รปู หำ้ เหล่ยี ม รปู หกเหลยี่ ม รูปสเี่ หลย่ี ม พิจำรณำจำกขอบของรปู 2. ครตู ิดรูปสำมเหลีย่ นบนกระดำน พร้อมบัตรคำ “รูปสำมเหลยี่ ม” ใหน้ กั เรยี นอ่ำนพร้อมกัน แล้ว 3. บัตรคำ “รูปสำมเหลี่ยม” 3. กำรจำแนกรูปสำมเหล่ยี มและรูป แนะนำให้นักเรียนรู้จักรปู สำมเหลี่ยม โดยให้นักเรียนเลือกรูปเรขำคณิตสองมิติที่จำแนกไว้ ที่มลี ักษณะ “รูปสเ่ี หล่ียม” สีเ่ หลยี่ มใช้วิธนี บั จำนวนดำ้ น หรอื เช่นเดียวกบั ทต่ี ดิ บนกระดำน ถือไว้ทุกคน ครูแนะนำใหร้ ู้จกั ดำ้ นของรูปสำมเหลี่ยม โดยให้ทุกคนใช้น้วิ 4. บตั รภำพรูปสำมเหลีย่ ม จำนวนมุมของรปู ลำกไปตำมขอบของรูปสำมเหล่ยี มทลี ะด้ำน พรอ้ มสงั เกตวำ่ ด้ำนแตล่ ะด้ำนมีลกั ษณะตรง แลว้ นับพร้อม 5. บัตรภำพรปู ส่เี หลีย่ ม - รปู สำมเหลี่ยมมีด้ำน 3 ด้ำน กนั จนครบทุกดำ้ น จำกนน้ั ชว่ ยกนั สรุปว่ำ ลักษณะของรูปสำมเหลีย่ มจะมดี ้ำน 3 ด้ำน 6. เชือกขำว – แดง 3. ครแู นะนำมุมของรปู สำมเหลยี่ ม โดยใหท้ กุ คนใชน้ ้ิวหวั แม่มือกับนว้ิ ชี้ ลำกไปตำมดำ้ น 2 ดำ้ นของรปู 7. หลอดดดู ทมี่ ีควำมยำวตำ่ ง ๆ กนั และมุม 3 มมุ สำมเหล่ยี มจนน้ิวมำบรรจบกัน (โดยท่ตี ้องไม่มหี ลอด 2 อนั โดยที่ - รูปส่ีเหลีย่ มมดี ้ำน 4 ดำ้ น ควำมยำวรวมกันแล้ว ส้นั กวำ่ ควำม ยำวของหลอดอีกอนั หนึ่ง) และมมุ 4 มุม 8. แบบฝึกหัด 3.4 จุดประสงค์กำรเรียนรู้ แล้วแนะนำวำ่ ด้ำน 2 ดำ้ นที่มำบรรจบกัน ทำให้เกดิ มุม 1 มุม ครูถำมนักเรียนวำ่ ในรปู สำมเหลย่ี มจะมี มุมทีเ่ กิดตำมลักษณะดังกลำ่ ว กี่มมุ จำกน้นั ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปลักษณะของรปู สำมเหล่ียม ซ่งึ จะ ด้ำนควำมรู้ ไดว้ ำ่ รูปสำมเหลี่ยมมีดำ้ น 3 ด้ำน และมุม 3 มุม โดยทดี่ ้ำนแตล่ ะดำ้ นมลี ักษณะตรง เพือ่ ใหน้ ักเรียนสำมำรถจำแนก รปู สำมเหล่ยี มและรปู สี่เหลีย่ ม

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (สำ� หรบั ครูผ้สู อน) กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ (ฉบบั ปรับปรงุ ) แผนกำรจดั กำรเรียนรทู้ ี่ ๕ 26 กลมุ่ สำระกำรเรียนร้คู ณิตศำสตร์ ช้ัน ป.๑ หนว่ ยที่ ๓ เรขำคณิต เวลำ ๑ ช่ัวโมง ดำ้ นทักษะและกระบวนกำรทำง 4. ครแู จกหลอดให้นักเรยี นคนละ 2 อัน พร้อมเชอื กขำว – แดง 1 เสน้ ให้นกั เรียนใช้เชือกร้อยหลอด กำรประเมนิ คณติ ศำสตร์ ท้งั 3 อัน เขำ้ ดว้ ยกนั ผูกปลำยเชือก แลว้ จดั วำงหลอดดังกลำ่ วไดเ้ ป็นรูปสำมเหล่ยี มไวบ้ นโตะ๊ เช่น 1. วิธกี ำร เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นสำมำรถ แล้วใหน้ ักเรียนชท้ี ีด่ ำ้ นแตล่ ะด้ำน พรอ้ มนบั จำนวนดำ้ น ( 1 – 2 – 3 ) และชี้ทีม่ ุมพร้อมนับจำนวนมุม 1.1 สงั เกตพฤติกรรมกำรเรียนรู้ 1. ใหเ้ หตุผล ( 1 – 2 – 3 ) ครตู รวจสอบควำมถูกต้อง 2. สื่อสำร สื่อควำมหมำยทำง 5. ครใู หน้ กั เรยี นนำรปู สำมเหลี่ยมของตนเองในข้อ 3 ไปติดบนกระดำน จำกน้นั ใหท้ ุกคนสังเกต แลว้ 1.2 ตรวจแบบฝกึ หัด คณติ ศำสตร์และนำเสนอ ช่วยกันสรุปให้ได้วำ่ รูปสำมเหล่ียมแตล่ ะรูปอำจมลี ักษณะแตกต่ำงกัน แตท่ ุกรูปมดี ำ้ น 3 ด้ำน และมุม 2. เครอ่ื งมือ 3 มุม เช่นเดียวกัน 6. ครูแนะนำให้นักเรยี นรจู้ กั “รูปส่เี หล่ียม” โดยให้ทำกิจกรรมทำนองเดยี วกบั ข้อ 2 – ข้อ 5 ซึ่งจะทำ 2.1 แบบฝึกหัด 3.4 ให้ไดข้ ้อสรปุ ว่ำ รปู สี่เหลย่ี มมีด้ำน 4 ดำ้ น และมุม 4 มมุ และรปู สีเ่ หลยี่ มแต่ละรูปอำจมีลกั ษณะแตกต่ำง กนั แต่ทุกรูปมีด้ำน 4 ดำ้ น และมุม 4 มุม เช่นเดยี วกัน 2.2 แบบประเมนิ ทกั ษะและ 7. ครูตรวจสอบควำมเข้ำใจเก่ยี วกับลักษณะของรูปสำมเหล่ยี มและรูปสี่เหลี่ยม โดยชูรปู สำมเหลยี่ ม รปู สี่เหลยี่ ม และรปู หลำยเหล่ยี มอ่นื ๆ หรือบัตรภำพรปู สำมเหล่ียม รปู ส่ีเหล่ียม และรปู หลำยเหล่ียมอื่นๆ กระบวนกำรทำงคณติ ศำสตร์ ใหน้ กั เรียนพจิ ำรณำ แลว้ ให้ตอบวำ่ เป็นรปู สำมเหลยี่ ม หรอื รปู ส่เี หลย่ี ม หรือไม่เพรำะเหตใุ ด จำกน้ันให้ 3. เกณฑ์ ทำแบบฝึกหดั 3.4 3.1 ผลงำนถูกตอ้ งไมต่ ่ำกวำ่ ขัน้ สรปุ รอ้ ยละ 80 8. ครใู ห้นักเรยี นช่วยกันบอกลกั ษณะของรปู สำมเหลีย่ มกบั รูปสีเ่ หลย่ี ม ซ่งึ จะได้วำ่ รูปสำมเหลีย่ มและรปู 3.2 คะแนนรวมด้ำนทักษะและ สี่เหลี่ยมเป็นรูปเรขำคณิตสองมิติโดยทร่ี ูปสำมเหลย่ี มมีด้ำน 3 ด้ำน และมุม 3 มุม ส่วนรูปส่เี หลย่ี มมีด้ำน 4 ด้ำน และมมี ุม 4 มมุ กระบวนกำรทำงคณติ ศำสตร์ ไม่น้อยกวำ่ ร้อยละ 60

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) ข้ันนำ แผนกำรจัดกำรเรียนรทู้ ี่ ๖ ขนั้ สอน แนวกำรจดั กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ 27 ขนั้ สรปุ กำรวัดและประเมินผล ทบทวนลักษณะของรปู สามเหลยี่ มและรปู สเ่ี หล่ยี มโดยให้ชรู ูปตามคาบอก แลว้ จาแนกรปู ที่เหลือโดยใหส้ ังเกตจากขอบของรปู แนะนาวงกลมและวงรโี ดยให้สงั เกตลกั ษณะทีเ่ หมอื นกัน และลกั ษณะท่ีตา่ งกันเพอื่ สรา้ งความคดิ รวบยอด แบบฝกึ หัด 3.5 บอกความเหมอื นกันและความแตกต่างกันระหวา่ งวงกลมกับวงรี - ประเมนิ จากการตอบคาถาม การทากิจกรรม การทาแบบฝกึ หดั 3.5 และการทาแบบทดสอบ 3.1 - ประเมินจากการให้เหตผุ ล การสอ่ื สาร การสอ่ื ความหมายทางคณติ ศาสตร์

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สาำ หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) แผนกำรจดั กำรเรยี นรทู้ ่ี ๖ 28 กลุม่ สำระกำรเรยี นรคู้ ณิตศำสตร์ ชน้ั ป.๑ หน่วยที่ ๓ เวลำ ๑ ชวั่ โมง ขอบเขตเน้ือหำ กจิ กรรมกำรเรียนรู้ ส่อื /แหลง่ เรยี นรู้ วงกลม และวงรี ขัน้ นำ 1. ชุดรปู เรขาคณิตสองมิติ ซง่ึ ประกอบด้วยรปู สามเหล่ียม สำระสำคญั 1. แบง่ นกั เรยี นเป็นกลมุ่ กลุ่มละ 3 – 4 คน ครแู จกชดุ รูปเรขาคณิตสองมติ ิ กลมุ่ ละ 1 ชดุ รปู สเ่ี หล่ียม วงกลม และวงรี วงกลมและวงรี เป็นรูปเรขาคณติ หลายๆ ขนาดและท้ังหมดมีสี ครใู ห้นักเรยี นชูรูปสามเหลยี่ ม และรปู ส่ีเหล่ียม ตามลาดบั และใหบ้ อกเหตุผลว่า ทาไมจึงเรียกวา่ เดียวกัน สองมิติท่ีไม่มีด้านและไม่มมี ุม รูปสามเหล่ียม หรอื รปู สี่เหลยี่ ม จากนัน้ ให้จาแนกรปู เรขาคณิตสองมิติท่ีเหลือโดยใหส้ ังเกตจาก 2. บัตรคา “วงกลม” “วงรี” เสน้ ขอบของรปู มลี ักษณะโค้ง 3. กระดาษวงกลมและกระดาษวงรี เชน่ เดยี วกนั แตว่ งรีจะมลี ักษณะยาวรี ขอบของรปู ซึ่งควรจาแนกได้ 2 กลมุ่ คือวงกลม และวงรี หลาย ๆ ขนาด คล้าย ๆ ขอบจานเปล หรือรูปไข่ 4. แผ่นภาพวงกลมและวงรี ข้นั สอน 5. แบบฝึกหดั 3.5 จดุ ประสงค์กำรเรียนรู้ 6. แบบทดสอบ 3.1 ดำ้ นควำมรู้ 2. ให้นักเรียนสารวจรปู เรขาคณิตสองมิตทิ ่จี าแนกไว้ในข้อ 1 วา่ ทงั้ สองชนดิ มีความเหมือนกนั และความ กำรประเมิน เพอื่ ให้นักเรยี นสามารถจาแนก แตกตา่ งกนั อย่างไรบา้ ง ครูอาจแนะนาให้นักเรียนใช้น้วิ ลากไปตามขอบของรูป ซงึ่ ควรจะไดว้ า่ ท้งั สอง 1. วิธกี ำร วงกลมและวงรี ชนดิ ไม่มดี า้ น ไมม่ ีมุมเหมือนกัน มเี สน้ ขอบของรปู โค้งเหมือนกนั และเม่ือเปรียบเทียบลกั ษณะของรูปแล้ว ด้ำนทักษะกระบวนกำรทำง 1.1 สงั เกตพฤติกรรมการเรียนรู้ คณิตศำสตร์ จะพบวา่ ลักษณะของรูปชนดิ หนึ่งจะยาวรคี ล้ายขอบจานเปลหรอื รปู ไข่ จากน้ันให้นักเรียนนา 1.2 ตรวจแบบฝกึ หัด 1.3 ตรวจแบบทดสอบ เพอ่ื ให้นกั เรยี นสามารถ รูปเรขาคณิตสองมิตทิ ี่จาแนกได้น้ี ตดิ บนกระดานคนละด้าน 1. ใหเ้ หตผุ ล 3. ครแู นะนาชื่อของรูปเรขาคณิตสองมิตทิ จ่ี าแนกไว้ โดยนาบตั รคา “วงกลม” และ “วงรี” ติดกากบั ไว้ 2. สอื่ สาร ส่ือความหมายทาง แล้วให้นกั เรยี นอ่านช่ือพร้อมกัน คณติ ศาสตร์ 4. ครูนาแผน่ ภาพวงกลม และวงรี หลาย ๆ ขนาด มาให้นักเรยี นพจิ ารณาวา่ รูปใดบ้างเปน็ วงกลม รปู ใดบ้างเป็นวงรี เช่น ก ข คง ฉ ช รูป ก รูป ค และ รูป ช เปน็ วงรี

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้คณิตศำสตร์ แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ที่ ๖ ช้นั ป.๑ หนว่ ยท่ี ๓ 29 5. ใหน้ ักเรียนยกตัวอยา่ งส่ิงต่าง ๆ ท่ีมลี ักษณะเหมือนหรือคลา้ ยวงกลมและวงรี ท่ีนักเรยี นเคยพบ เวลำ ๑ ชัว่ โมง จากนน้ั ให้ทาแบบฝกึ หัด 3.5 2. เครือ่ งมอื ขน้ั สรปุ 2.1 แบบฝึกหดั 3.5 2.2 แบบทดสอบ 3.1 6. ใหน้ ักเรยี นบอกลักษณะของวงกลมกบั วงรี ซึ่งจะไดว้ า่ วงกลมและวงรีเปน็ รูปเรขาคณิตสองมิติท่ีไมม่ ี 2.3 แบบประเมินทักษะและ ดา้ น ไม่มมี ุม เสน้ ขอบของรูปมีลักษณะโค้ง แตว่ งรจี ะมลี กั ษณะยาวรีกวา่ วงกลม มลี ักษณะคลา้ ยกบั กระบวนการทางคณิตศาสตร์ จานเปลหรือรปู วง 3. เกณฑ์ กำรวัดและประเมินผล 3.1 ผลงานถกู ตอ้ ง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 7. ใหน้ ักเรียนทาแบทดสอบ 3.1 3.2 คะแนนจากแบบทดสอบไม่ น้อยกว่ารอ้ ยละ 80 3.3 คะแนนรวมด้านทักษะและ กระบวนการทางคณติ ศาสตร์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) ขัน้ นำ แผนกำรจดั กำรเรียนรทู้ ี่ ๗ ขน้ั สอน แนวกำรจัดกิจกรรมกำรเรยี นรู้ 30 ขน้ั สรปุ กำรวัดและประเมินผล ให้นกั เรียนบอกรูปร่างลกั ษณะของกลอ่ งชอลค์ และกระดาษ A4 - เปรยี บเทยี บรปู รา่ งลักษณะของกลอ่ งชอลค์ กบั กระดาษ A4 - เปรยี บเทยี บรปู รา่ งลกั ษณะของลกู บอลกับกระดาษวงกลม แบบฝึกหัด 3.6 - บอกความแตกตา่ งระหวา่ งรูปเรขาคณติ สามมิติ กับรปู เรขาคณิตสองมิติ - ประเมินจากการตอบคาถาม การทากจิ กรรม และการทาแบบฝกึ หดั 3.6 - ประเมนิ จากการใหเ้ หตผุ ล การสอื่ สาร การส่อื ความหมายทางคณิตศาสตร์

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ที่ ๗ 31 กล่มุ สำระกำรเรียนร้คู ณติ ศำสตร์ ชัน้ ป.๑ หน่วยท่ี ๓ เวลำ ๑ ชัว่ โมง ขอบเขตเน้อื หำ กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ รปู เรขาคณติ สองมิตแิ ละ ข้นั นำ ส่อื /แหล่งเรียนรู้ 1. กลอ่ งทรงสีเ่ หลย่ี มมมุ ฉากหลายๆ รูปเรขาคณิตสามมติ ิ 1. ครชู กู ล่องชอล์กใหน้ ักเรยี นดู แล้วถามว่า กล่องชอล์คเปน็ รปู เรขาคณิตสามมติ ชิ นดิ ใด มีรปู ร่าง ขนาด เชน่ กล่องชอล์ค กล่องขนม กล่องยา เป็นต้น สำระสำคญั ลกั ษณะเปน็ อย่างไร จากนั้นครูชกู ระดาษ A4 1 แผ่นให้นักเรียนดู แลว้ ถามวา่ กระดาษเปน็ 2. กระดาษรปู สี่เหลี่ยมมุมฉาก - รูปเรขาคณติ สามมติ ิกบั รูปเรขาคณติ รูปเรขาคณิตสองมิติชนดิ ใด มีรปู รา่ งลักษณะเป็นอย่างไร รูปรา่ งลักษณะของทั้งสองส่งิ เหมือนกันหรือไม่ หลายๆขนาด เช่น A4 A5 เปน็ ต้น สองมติ ิที่มีความต่างกัน รปู เรขาคณิต อย่างไร นักเรียนอาจตอบวา่ ไม่เหมือนกนั หรือเหมือนกนั บางส่วน ครูควรซกั ถามต่อให้นักเรยี นได้ 3. ลกู บอล ลกู ปงิ ปอง ลกู แก้ว สามมิติมคี วามหนา แตร่ ูปเรขาคณติ อธบิ าย หรือช้แี สดงให้เหน็ 4. ภาพทรงส่ีเหลย่ี มมมุ ฉาก สองมิติไมม่ ีความหนา 5. ภาพรปู สเี่ หลย่ี มมุมฉาก ขน้ั สอน 6. ภาพทรงกลม จุดประสงค์กำรเรียนรู้ 7. ภาพวงกลม ดำ้ นควำมรู้ 2. ครจู ดั กจิ กรรมให้นักเรียนสังเกตความแตกต่างระหวา่ งทรงสี่เหลย่ี มมุมฉากกับรูปสี่เหลี่ยมมมุ ฉากโดย 8. แตงโมงลกั ษณะยางรี นากลอ่ งชอล์คและกระดาษ A4 วางคู่กนั แลว้ อธิบายเพิ่มเตมิ วา่ กล่องชอล์คเป็นรูปเรขาคณติ สามมิติ 9. ภาพวงรี เพื่อให้นักเรยี นสามารถบอกความ ส่วนกระดาษ A4 เปน็ รูปเรขาคณติ สองมิติ ให้นักเรียนสังเกตวา่ ทั้งสองสิ่งมคี วามแตกต่างกนั อยา่ งไร 10. ภาพกรวย แตกตา่ งระหว่างรปู เรขาคณิตสามมิติ ซง่ึ ครอู าจแนะนาให้นักเรยี นสังเกตที่ความหนา 11. ภาพรปู สามเหลยี่ ม กบั รปู เรขาคณติ สองมิติ 3. ครูจัดกจิ กรรมทานองนี้อีก 2 – 3 ตัวอย่าง โดยเปลยี่ นขนาดของกล่องทรงส่ีเหลย่ี มมุมฉาก และ 12. กระดาษวงกลมหลาย ๆ ขนาด ดำ้ นทกั ษะกระบวนกำรทำง กระดาษรูปส่ีเหลย่ี มมุมฉาก จากน้ันใช้การซักถามเพ่ือนาไปสูข่ อ้ สรปุ วา่ ทรงส่เี หล่ียมมุมฉากมีความหนา 13. กระดาษวงรหี ลาย ๆ ขนาด คณติ ศำสตร์ 14. กรวยกระดาษ แตร่ ปู สเ่ี หลยี่ มมุมฉากไมม่ ีความหนา 15. กระดาษรูปสามเหลยี่ ม เพื่อให้นักเรยี นสามารถ 4. ครูนาภาพของทรงสีเ่ หลี่ยมมมุ ฉาก กับภาพของรปู สี่เหลย่ี มมุมฉากตดิ คกู่ นั บนกระดาน ให้นักเรยี น 16. แบบฝึกหัด 3.6 1. ให้เหตุผล สังเกตลกั ษณะของภาพว่า มคี วามแตกต่างกันอย่างไร แล้วใหต้ วั แทนนกั เรียนออกมาช้วี า่ ภาพใดเปน็ 2. ส่อื สาร ส่ือความหมายทาง ภาพของรปู เรขาคณิตสามมติ ิ และภาพใดเป็นภาพของรูปเรขาคณิตสองมิติ นกั เรียนมีวิธีการสงั เกต อยา่ งไร ให้ร่วมกันอภปิ ราย ซึ่งควรจะไดว้ า่ ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากเป็นรปู เรขาคณติ สามมิติมีความหนา คณิตศาสตร์ อาจสังเกตได้จากเงาของภาพ สว่ นรปู สีเ่ หล่ียมมมุ ฉากเป็นรปู เรขาคณิตสองมิติมีลักษณะเรยี บแบน ไม่มีความหนา

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) แผนกำรจดั กำรเรียนรทู้ ่ี ๗ 32 กลุม่ สำระกำรเรยี นร้คู ณิตศำสตร์ ช้นั ป.๑ หนว่ ยท่ี ๓ เวลำ ๑ ชวั่ โมง 5. ครจู ดั กจิ กรรมให้นักเรยี นสงั เกตความแตกตา่ งระหว่างทรงกลมกบั วงกลม โดยนาลกู บอลและกระดาษ กำรประเมิน วงกลมวางคู่กัน แลว้ อธบิ ายเพมิ่ เติมวา่ ลูกบอลเป็นรปู เรขาคณติ สามมติ ิ สว่ นกระดาษวงกลมเป็นรปู 1. วธิ กี ำร เรขาคณติ สองมิติ ใหน้ กั เรียนสังเกตว่าทัง้ สองสิ่งมคี วามแตกตา่ งกนั อยา่ งไร ซ่งึ ครูอาจแนะนาให้นกั เรียน สังเกตท่ีความหนา หรือความโคง้ นนู 1.1 สงั เกตพฤติกรรมการเรียนรู้ 6. ครูจัดกิจกรรมทานองนี้ อีก 2 – 3 ตัวอย่าง โดยเปลีย่ นขนาดของทรงกลมและวงกลม จากนน้ั ใชก้ าร ซกั ถาม เพ่ือนาไปสูข่ ้อสรปุ ว่า ทรงกลมมคี วามโค้งนูน หรอื ความหนา แต่วงกลมมลี ักษณะเรียบแบน 1.2 ตรวจแบบฝกึ หัด ไม่โค้งนูนหรือไม่มคี วามหนา 2. เครื่องมือ 7. ครูนาภาพของทรงกลมกับภาพวงกลมติดคูก่ ันบนกระดาน ให้นักเรียนสงั เกตลักาณะของภาพวา่ มี ความแตกต่างกันอย่างไร แล้วให้ตวั แทนนกั เรยี นออกมาชีว้ ่า ภาพใดเปน็ ภาพของรูปเรขาคณิตสามมิติ 2.1 แบบฝึกหดั 3.6 และภาพใดเป็นภาพของรูปเรขาคณติ สองมิติ นกั เรยี นมวี ธิ สี งั เกตอย่างไร ให้ร่วมกันอภิปราย ซึ่งควรจะได้ 2.2 แบบประเมินทกั ษะและ ว่า ทรงกลมเป็นรปู เรขาคณิตสามมิตมิ ีความโค้งนูนหรอื มีความหนา อาจสังเกตได้จากเงาของภาพ สว่ นวงกลมเป็นรปู เรขาคณิตสองมิติ มลี ักษณะเรียบแบน ไม่มคี วามหนา กระบวนการทางคณิตศาสตร์ 8. ครใู ห้นกั เรียนสงั เกตความแตกตา่ งระหวา่ งทรงรีกับวงรี โดใชผ้ ลแตงโมกับกระดาษวงรี และให้ 3. เกณฑ์ นักเรยี นสังเกตความแตกตา่ งระหวา่ งกรวยกับรปู สามเหลยี่ ม โดยใช้กรวยกระดาษกบั กระดาษรปู สามเหล่ยี ม 3.1 ผลงานถกู ตอ้ ง ไม่น้อยกวา่ 9. ครนู าผลการอภปิ รายในข้อ 4 ขอ้ 7 และข้อ 8 มาใหน้ ักเรยี นพิจารณาอีกครงั้ แลว้ ชว่ ยกนั สรปุ ถึง ความแตกต่างระหว่างรปู เรขาคณติ สามมิตกิ ับรูปเรขาคณติ สองมิติ ซงึ่ ควรจะไดว้ า่ รูปเรขาคณิตสามมติ ิ รอ้ ยละ 80 มคี วามหนา แตร่ ูปเรขาคณิตสองมติ ิไม่มีความหนา จากนั้นให้นกั เรียนทาแบบฝกึ หัด 3.6 3.2 คะแนนรวมดา้ นทักษะและ ขัน้ สรุป กระบวนการทางคณติ ศาสตร์ 10. ครใู ห้นกั เรียนชว่ ยกันสรปุ ถึงความแตกตา่ งระหวา่ งรูปเรขาคณิตสามมติ ิกบั รูปเรขาคณติ สองมิติ ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 60 ซึ่งจะได้วา่ รูปเรขาคณติ สามมิตมิ ีความหนา ส่วนรปู เรขาคณติ สองมิติไม่มีความหนา พร้อมยกตัวอย่าง

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๘ แนวการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 33 ข้ันนำ ทบทวนชนิดของรูปเรขำคณิตสองมติ ทิ ีน่ ักเรยี นร้จู กั ขัน้ สอน สำธิตกำรเขยี นรูปสำมเหล่ยี ม รปู สเ่ี หลย่ี ม วงกลม และวงรี โดยใช้แบบของรูปเรขำคณติ สองมิติ ขั้นสรปุ แบบฝึกหัด 3.7 กำรวัดและประเมนิ ผล ซักถำมถงึ ประโยชน์ของกำรใช้แบบของรูปเรขำคณิตสองมติ ิในกำรเขยี นรปู สำมเหลีย่ ม รูปสี่เหลย่ี ม วงกลม และวงรี - ประเมินจำกกำรตอบคำถำม กำรปฏิบัติ และกำรทำแบบฝกึ หัด 3.7 - ประเมินจำกกำรสอื่ สำร สือ่ ควำมหมำยทำงคณติ ศำสตร์ กำรเช่ือมโยง และความคิดสร้างสรรค์

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๘ 34 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ชน้ั ป.๑ หน่วยท่ี ๓ เวลา ๑ ชั่วโมง ขอบเขตเนื้อหา กจิ กรรมการเรยี นรู้ สื่อ/แหล่งเรียนรู้ กำรเขยี นรูปสำมเหลีย่ ม ขนั้ นา 1. แบบของรูปสำมเหล่ยี ม รปู สเ่ี หลี่ยม วงกลม และวงรี รปู สเี่ หล่ียม วงกลม และวงรี โดยใช้ 1. ครูซักถำมถึงรปู เรขำคณิตสองมติ ิที่นักเรยี นร้จู ักว่ำ มีชนิดใดบ้ำง ใหน้ กั เรียนช่วยกันตอบ จำกนนั้ ครชู ู แบบเจำะ ขนำดตำ่ ง ๆ กัน แบบของรปู เรขำคณิตสองมติ ิ บตั รภำพรูปเรขำคณติ สองมติ ิเหลำ่ น้ัน แล้วใหน้ กั เรยี นช่วยกนั ตอบว่ำ เป็นรูปเรขำคณิตสองมติ ิชนดิ ใด 2. แบบของรูปสำมเหล่ยี ม รูปส่เี หลี่ยม วงกลม และวงรี สาระสาคัญ ขั้นสอน แบบลำกเส้นตำมขอบนอกขนำด กำรเขียนรูปสำมเหลยี่ ม ตำ่ ง ๆ กัน 2. ครูแนะนำวำ่ กำรเขียนรูปสำมเหล่ยี ม รูปสี่เหล่ยี ม วงกลม และวงรี อำจเขยี นไดโ้ ดยไมม่ เี คร่ืองมือ 3. ตวั อย่ำงภำพประดษิ ฐจ์ ำกรปู รปู สี่เหล่ียม วงกลม และวงรี อำจใช้ ช่วย ครสู ำธติ กำรเขียนรปู เรขำคณติ สองมิติเหล่ำน้ันโดยไม่ใชเ้ คร่อื งมอื ช่วยในกำรเขยี น ให้นักเรียนทกุ เรขำคณิตสองมิติทเ่ี ขียนโดยใชแ้ บบ แบบของรปู ช่วยในกำรเขยี นจะทำให้ได้ คนฝกึ เขยี นรปู เหลำ่ นัน้ โดยไม่ใช้เคร่อื งมือทีละรูป แลว้ ชูให้เพอ่ื น ๆ ดู และให้นักเรียนสงั เกตผลงำนของ ของรปู เรขำคณติ สองมติ ิ รูปทถ่ี ูกต้องสมบรู ณ์ ตนเองและของเพอ่ื นๆ ซึ่งจะพบวำ่ เส้นขอบของรูปไมต่ รง เส้นไมโ่ คง้ ไม่เรยี บ รปู บิดเบี้ยว เปน็ ต้น 4. แบบฝกึ หดั 3.7 ครูแนะนำวำ่ กำรเขียนรปู เหล่ำน้ีโดยไมม่ ีเครื่องมือ จะทำให้ได้รปู คร่ำว ๆ เทำ่ นนั้ ครแู นะนำว่ำถ้ำ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ตอ้ งกำรเขยี นรูปให้ถูกต้องสมบูรณ์ เรำอำจใช้แบบของรปู เรขำคณติ สองมิติช่วยกำรเขียน ดา้ นความรู้ 3. ครแู นะนำแบบของรูปเรขำคณติ สองมติ ทิ ั้งสองแบบ คอื แบบรปู แบบเจำะ ซงึ่ จะลำกเสน้ ตำมขอบใน เชน่ เพอื่ ใหน้ ักเรยี นสำมำรถกำรเขยี น รปู สำมเหล่ยี ม รูปสเ่ี หลี่ยม วงกลม และแบบของรูปแบบลำกเส้นตำมขอบนอก เชน่ และวงรี โดยใชแ้ บบของรปู เรขำคณติ สองมติ ิ 2

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๘ 35 กลุม่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ช้ัน ป.๑ หน่วยที่ ๓ เวลา ๑ ชัว่ โมง ด้านทักษะกระบวนการทาง โดยครชู แู บบของรูปทลี ะแผ่นให้นักเรยี นดู แลว้ ให้ตอบวำ่ เป็นแบบของรปู เรขำคณิตสองมิติชนิดใด การประเมนิ คณติ ศาสตร์ 4. ครแู จกแบบของรูปแบบเจำะให้นกั เรียนคนละ 1 แผน่ ใหแ้ ตล่ ะคนบอกว่ำ ได้แบบของรูปเรขำคณติ 1. วธิ กี าร สองมิติ ชนิดใด ครสู ำธติ กำรเขยี นรูปเรขำคณิตสองมติ ิโดยใชแ้ บบของรปู นีบ้ นกระดำน แลว้ ให้นักเรียน เพื่อให้นกั เรยี นสำมำรถ ฝกึ เขยี นรปู ตำมแบบของรปู ทีได้รับ พร้อมเขียนชนดิ ของรูปกำกบั จำกนั้นใหแ้ ตล่ ะคนแลกแบบของรูป 1.1 สงั เกตพฤติกรรมกำรเรียนรู้ 1. สอ่ื สำร สื่อควำมหมำยทำง กบั เพ่ือน เพื่อเขียนรปู ให้ครบทงั้ 4 ชนิด คอื รปู สำมเหล่ียม รปู สีเ่ หลีย่ ม วงกลม และวงรี พรอ้ มเขยี น 1.2 ตรวจแบบฝกึ หัด ชนดิ ของรปู กำกับ 2. เครื่องมือ คณิตศำสตร์ 5. ครูแจกแบบของรูปแบบลำกเสน้ ตำมขอบนอก ใหน้ ักเรียนคนละ 1 แผ่น แล้วทำกิจกรรมทำนอง 2.1 แบบฝกึ หัด 3.7 2. เช่อื มโยง เดยี วกับขอ้ 4 2.2 แบบประเมนิ ทักษะและ 3. คดิ สรำ้ งสรรค์ 6. ครูนำภำพที่ประดิษฐจ์ ำกรูปเรขำคณติ สองมิตทิ ีเ่ ขยี นโดยใช้แบบรูป ให้นักเรียนดูเปน็ ตวั อย่ำง 2 - 3 ภำพ แล้วให้ตอบว่ำ แต่ละแบบ มรี ปู เรขำคณิตสองมิตชิ นดิ ใด อยำ่ งละกรี่ ูป จำกนนั้ ให้ทำแบบฝกึ หดั 3.7 กระบวนกำรทำงคณิตศำสตร์ เป็นรำยบคุ คล 3. เกณฑ์ ข้นั สรปุ 3.1 ผลงำนถกู ตอ้ งไม่น้อยกวำ่ 7. ครูซกั ถำมถงึ ประโยชนข์ องกำรใชแ้ บบของรปู เรขำคณิตสองมิติเขยี นรปู สำมเหลี่ยม รูปสเ่ี หล่ยี ม ร้อยละ 80 วงกลม และวงรี ซึง่ จะได้วำ่ จะทำให้ไดร้ ปู เรขำคณติ สองมิติท่ีถกู ต้องและสมบูรณ์ 3.2 ผลงำนมคี ณุ ภำพไม่ตำ่ กว่ำ ระดับ 2 (ขอ้ 2) 3.3 คะแนนรวมดำ้ นทักษะและ กระบวนกำรทำงคณิตศำสตร์ ไมน่ อ้ ยกวำ่ ร้อยละ 60

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (สำ� หรบั ครูผ้สู อน) กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ (ฉบบั ปรับปรงุ ) ขั้นนำ แผนกำรจดั กำรเรยี นร้ทู ี่ ๙ ขนั้ สอน แนวกำรจดั กิจกรรมกำรเรยี นรู้ 36 ขัน้ สรุป กำรวดั และประเมนิ ผล สนทนาถงึ การเขียนรูปสามเหล่ียม รปู สี่เหล่ยี ม วงกลม และวงรี โดยใช้แบบรูปเรขาคณิตสองมติ ิ แนะนาพรอ้ มสาธิตการใชส้ งิ่ ต่าง ๆ ทีม่ บี างส่วนเปน็ รูปสามเหลย่ี ม รปู สเ่ี หลีย่ ม วงกลม และวงรี เปน็ แบบในการเขียนรูป แบบฝึกหัด 3.8 ให้ยกตวั อย่างส่งิ ตา่ ง ๆ ทสี่ ามารถนามาใชเ้ ป็นแบบในการเขียนรปู สามเหลยี่ ม รปู ส่เี หลยี่ ม วงกลม และวงรี - ประเมินจากการตอบคาถาม การทากจิ กรรม และการทาแบบฝึกหัด 3.8 - ประเมนิ จากการส่อื สาร สื่อความหมายทางคณติ ศาสตร์ การเชอื่ มโยง และความคดิ สร้างสรรค์

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) กล่มุ สำระกำรเรียนรคู้ ณติ ศำสตร์ แผนกำรจัดกำรเรียนร้ทู ี่ ๙ ชนั้ ป.๑ หนว่ ยที่ ๓ เรขำคณิต เวลำ ๑ ชัว่ โมง 37 กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ ขอบเขตเน้ือหำ ข้ันนำ ส่ือ/แหล่งเรียนรู้ การเขียนรูปสามเหลยี่ ม 1. แบบของรูปเรขาคณิตสองมิติแบบ 1. ครูนาสนทนาถึงการเขียนรูปเรขาคณติ สองมิติ ให้มคี วามถูกต้องสมบรู ณ์ ควรใช้เคร่ืองมือใดชว่ ยใน เจาะและแบบลากเส้นตามขอบนอก รูปสี่เหล่ยี ม วงกลม และวงรี โดยใช้ การเขยี นรูป (แบบของรปู เรขาคณิตสองมติ )ิ ครูสุ่มนักเรียนให้เขียนรปู สามเหลยี่ ม รูปส่ีเหลย่ี ม วงกลม 2. สิง่ ต่าง ๆ ทมี่ บี างสว่ นมีลกั ษณะ ส่ิงตา่ ง ๆ เปน็ แบบ และวงรี บนกระดาน โดยใช้แบบของรูปเรขาคณิตสองมติ ิ ทงั้ แบบเจาะและแบบลากเสน้ ตามขอบนอก เปน็ รปู สามเหลี่ยม รูปสเี่ หลีย่ ม พร้อมเขียนชนดิ ของรปู เรขาคณติ กากับดว้ ย จากนนั้ แนะนาเพ่ิมเติมว่า นอกจากจะใช้แบบของรูป วงกลม และวงรี เชน่ กล่องไมข้ ดี สำระสำคญั เรขาคณติ สองมิติเป็นแบบในการเขียนรปู แลว้ ยงั อาจใชส้ ่งิ ต่าง ๆ มาเปน็ แบบในการเขียนรปู เรขาคณติ แกว้ น้า จานเปล เหรียญ ถว้ ย การเขยี นรปู สามเหลย่ี ม สองมติ ิไดเ้ ช่นกนั เชน่ แหวน เงินเหรยี ญ การ์ดแขง็ จานเปล หอ่ ชอ็ คโกแลต กระดุม เป็นต้น 3. ตวั อย่างภาพประดิษฐ์ทใี่ ช้สง่ิ ตา่ งๆ รปู สีเ่ หลี่ยม วงกลม และวงรี อาจใช้ ขนั้ สอน เปน็ แบบของรูปสามเหล่ียม สิ่งต่าง ๆ เปน็ แบบได้ รปู สี่เหลย่ี ม วงกลม และวงรี 2. ครูแจกสงิ่ ตา่ ง ๆ ท่มี ีบางส่วนมลี ักษณะเป็นรปู สามเหล่ยี ม รปู สเ่ี หลีย่ ม วงกลม และวงรี เช่น 4. แบบฝกึ หัด 3.8 จดุ ประสงคก์ ำรเรยี นรู้ กลอ่ งไม้ขดี แกว้ น้า จานเปล เหรียญ ถ้วย หอ่ ช็อคโกแลต กระดุม เป็นตน้ โดยใหค้ นละ 1 ช้นิ ดำ้ นควำมรู้ แลว้ ทาการสารวจว่า สิง่ ต่าง ๆ เหลา่ น้ัน มสี ว่ นใดบา้ งทเ่ี ป็นรปู สามเหล่ียม รูปสี่เหล่ยี ม วงกลม และ กำรประเมนิ วงรี แล้วนาเสนอหน้าชน้ั โดยใช้นว้ิ ลากไปตามขอบประกอบการอธิบายและบอกว่าเป็นรูปเรขาคณติ 1. วธิ กี ำร เพื่อใหน้ กั เรียนสามารถการเขยี น สองมิตชิ นดิ ใด จากนนั้ ครูแนะนาว่า เราสามารถนาสว่ นต่าง ๆ เหลา่ นนั้ มาเป็นแบบในการเขียนรูป รูปสามเหล่ียม รปู สเ่ี หล่ยี ม วงกลม เรขาคณิตสองมิติไดเ้ ช่นเดียวกับแบบของรูปเรขาคณติ สองมิติ 1.1 สงั เกตพฤติกรรมการเรียนรู้ และวงรี โดยใช้ส่งิ ต่าง ๆ เปน็ แบบ 3. ครูสาธติ การใช้สง่ิ ตา่ ง ๆ เป็นแบบในการเขยี นรปู เรขาคณิตสองมติ บิ นกระดาน จากนั้นให้นักเรียนฝึก 1.2 ตรวจแบบฝกึ หดั เขยี นรูปสามเหลย่ี ม รูปสเี่ หล่ียม วงกลม และวงรี จากส่งิ ต่าง ๆ ทไี่ ด้รับ โดยนกั เรยี นอาจแลกเปลยี่ น สงิ่ ต่าง ๆ นนั้ กับเพ่ือน เพื่อเขียนรูปเรขาคณิตสองมิติให้ครบท้งั สีช่ นดิ พรอ้ มเขยี นชนิดของรปู กากับไว้ ดว้ ย ครตู รวจสอบความถูกต้อง 2

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) กลมุ่ สำระกำรเรียนร้คู ณิตศำสตร์ แผนกำรจดั กำรเรียนรทู้ ่ี ๙ ชน้ั ป.๑ หน่วยที่ ๓ เรขำคณติ 38 4. ครูนาตวั อยา่ งภาพประดษิ ฐท์ ี่ใช้สง่ิ ตา่ ง ๆ เป็นแบบของรูปสามเหล่ยี ม รูปสี่เหลย่ี ม วงกลม และวงรี เวลำ ๑ ชว่ั โมง ดำ้ นทักษะกระบวนกำรทำง ให้นกั เรยี นดู และให้ตอบวา่ เปน็ ภาพอะไร จากนน้ั ใหท้ าแบบฝกึ หดั 3.8 คณิตศำสตร์ 2. เครอื่ งมือ ข้นั สรปุ 2.1 แบบฝึกหดั 3.8 เพ่ือให้นักเรยี นสามารถ 2.2 แบบประเมนิ ผลงาน 1. สอ่ื สาร สอื่ ความหมายทาง 5. ครูให้นกั เรียนยกตัวอย่างสิง่ ต่าง ๆ ทส่ี ามารถนามาเปน็ แบบในการเขียนรปู สามเหล่ยี ม รปู สเ่ี หลยี่ ม เชิงคุณภาพ (ข้อ 3) คณติ ศาสตร์ วงกลม และวงรี 2.3 แบบประเมนิ ทักษะและ 2. เช่ือมโยง กระบวนการทางคณิตศาสตร์ 3. ความคิดสร้างสรรค์ 3. เกณฑ์ 3.1 ผลงานถกู ตอ้ งไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 3.2 ผลงานมคี ณุ ภาพไม่ต่ากว่า ระดบั 2 (ขอ้ 3) 3.3 คะแนนรวมด้านทักษะและ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 60

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) ขน้ั นำ แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ที่ ๑๐ ขนั้ สอน แนวกำรจัดกจิ กรรมกำรเรียนรู้ 39 ขนั้ สรปุ กำรวัดและประเมินผล ทบทวนลักษณะของรูปสามเหลย่ี ม รูปส่เี หล่ยี ม วงกลม และวงรี โดยเล่นเกม “อะไรเอ่ย” ประดษิ ฐภ์ าพด้วยกระดาษรปู สามเหลย่ี ม รูปสเ่ี หลย่ี ม วงกลม และวงรี ตามจนิ ตนาการ แบบฝึกหดั 3.9 ชว่ ยกนั สรุปใหไ้ ดว้ า่ ส่ิงตา่ ง ๆ ทอี่ ยูร่ อบตวั นั้น เม่ือมองจากขอบนอก อาจมลี ักษณะคลา้ ยเป็นรปู สามเหลย่ี ม รปู สเ่ี หล่ยี ม วงกลม หรอื วงรี หรอื รปู ประกอบกนั หลายรปู - ประเมนิ จากการตอบคาถาม และการทาแบบฝกึ หดั 3.9 - ประเมินจากการส่อื สาร สอื่ ความหมายทางคณติ ศาสตร์ การเชือ่ มโยง และความคิดสร้างสรรค์

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สำ� หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) แผนกำรจดั กำรเรียนรูท้ ี่ ๑๐ 40 กลุม่ สำระกำรเรยี นรคู้ ณติ ศำสตร์ ชนั้ ป.๑ หนว่ ยที่ ๓ เรขำคณติ เรขำคณติ เวลำ ๑ ช่ัวโมง ขอบเขตเนื้อหำ กจิ กรรมกำรเรียนรู้ สอื่ /แหล่งเรียนรู้ รปู สามเหล่ียม รูปสเ่ี หลยี่ ม ข้ันนำ 1. ภาพถ่ายหรือภาพวาดของสิ่งตา่ งๆ 2. กระดาษสรี ปู สามเหลีย่ ม วงกลม และวงรี 1. ครูทบทวนลักษณะของรปู สามเหลยี่ ม รปู สเ่ี หลย่ี ม วงกลม และวงรี โดยให้นักเรียนเลน่ เกมอะไรเอ่ย รปู สี่เหลี่ยม วงกลม และวงรี ท่ีมีสี มีครเู ป็นผู้บอกลกั ษณะของรูปเรขาคณิตสองมิติ แล้วใหน้ กั เรียนทายวา่ เปน็ รปู เรขาคณิตสองมิติชนิดใด และขนาดต่าง ๆ กัน สำระสำคญั เชน่ - รปู ท่มี ดี า้ น 3 ด้าน มมุ 3 มมุ (รูปสามเหลย่ี ม) 3. กระดาษ A4 ส่ิงต่าง ๆ ทอ่ี ยู่รอบตัว เมื่อมองจาก 4. กาว - รูปท่มี ดี า้ น 4 ดา้ น มมุ 4 มุม (รปู สีเ่ หลย่ี ม) 5. แบบฝกึ หัด 3.9 ขอบนอกแล้ว อาจมีลกั ษณะคล้าย - รูปท่ไี มม่ ีดา้ น ไมม่ ีมุม ขอบมลี กั ษณะโคง้ ยาวรีกวา่ วงกลม (วงรี) รปู สามเหลีย่ ม รปู สเ่ี หลี่ยม วงกลม กำรประเมนิ หรอื วงรี หรือรูปหลายรูปประกอบกนั ฯลฯ 1. วิธีกำร จุดประสงค์กำรเรียนรู้ ขน้ั สอน 1.1 สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ ดำ้ นควำมรู้ 1.2 ตรวจแบบฝึกหัด 2. ครูนาภาพถ่าย หรือภาพวาดของสง่ิ ตา่ ง ๆ ในธรรมชาติหรือส่งิ ท่ีอยรู่ อบตวั แลว้ ให้นกั เรยี นสงั เกตว่า 2. เคร่อื งมือ เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นสามารถประดษิ ฐ์ เม่ือลากเส้นตามขอบนอกของสิ่งเหลา่ น้นั จะคล้ายกับรปู สามเหลย่ี ม รปู สี่เหลี่ยม วงกลม หรอื วงรี เชน่ 2.1 แบบประเมินผลงาน ภาพจากรปู สามเหล่ยี ม รูปส่เี หลยี่ ม วงกลม และวงรี ภาพต้นไม้ มีลักษณะคล้ายกับรูปเรขาคณิต เชิงคุณภาพ สองมติ ิชนดิ ใด (รปู สามเหลีย่ ม) 2.2 แบบประเมนิ ทกั ษะและ ภาพดอกทานตะวนั มีลกั ษณะคลา้ ยกับรูปเรขาคณิต กระบวนการทางคณิตศาสตร์ สองมติ ชิ นดิ ใด (วงกลม)

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สาำ หรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้คณติ ศำสตร์ แผนกำรจดั กำรเรียนรทู้ ี่ ๑๐ ชนั้ ป.๑ หนว่ ยที่ ๓ เรขำคณติ เวลำ ๑ ชั่วโมง 41 ภาพรถยนต์ มลี กั ษณะคลา้ ยกับรูปเรขาสองมติ ิ ดำ้ นทกั ษะกระบวนกำรทำง ชนดิ ใด (รูปส่เี หลยี่ ม 2 รูปซอ้ นกนั ) 3. เกณฑ์ คณิตศำสตร์ 3.1 ผลงานมคี ณุ ภาพไมต่ ่ากวา่ ระดบั 2 เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นสามารถ 3.2 คะแนนรวมดา้ นทักษะและ 1. ส่ือสาร ส่ือความหมายทาง กระบวนการทางคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 60 2. เชือ่ มโยง 3. คิดสรา้ งสรรค์ ภาพแตงโม มีลักษณะคลา้ ยกบั รูปเรขาสองมิติ ชนดิ ใด (วงรี) ภาพหนา้ คน มลี กั ษณะคลา้ ยกับรปู เรขาคณติ สองมิติ ชนิดใด (วงรี)

ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (ส�ำหรบั ครผู ู้สอน) กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ฉบับปรับปรงุ ) กล่มุ สำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์ แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ท่ี ๑๐ ช้นั ป.๑ หนว่ ยท่ี ๓ เรขำคณิต เวลำ ๑ ช่วั โมง 42 3. แบง่ นกั เรยี นเป็นกล่มุ กลุ่มละ 3 – 4 คน ใหช้ ่วยกนั ทาแบบฝึกหดั 3.9 โดยครูเตรียมกระดาษสี รูปสามเหล่ียม รปู ส่เี หลย่ี ม วงกลม และวงรี ขนาดตา่ ง ๆ กนั จานวนมากพอสมควร ประดษิ ฐเ์ ปน็ ภาพ ตามจินตนาการ โดยใช้กระดาษสีเหล่าน้นั ตดิ ลงบนกระดาษ A4 ตกแต่งให้สวยงาม แล้วนาไปติดบน กระดาน จากนน้ั ให้เพ่ือนทายว่า เปน็ ภาพอะไร ตรงกับจินตนาการของผปู้ ระดิษฐห์ รอื ไม่ ถ้าทายถูก แสดงว่า ผ้ปู ระดิษฐ์และผตู้ อบสามารถเชอื่ มโยงรปู เรขาคณติ สองมิติกบั สิ่งที่อยรู่ อบตัวได้ ข้ันสรปุ 4. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั สรุปใหไ้ ดว้ ่า ส่งิ ต่าง ๆ ที่อยรู่ อบตวั นั้น เมื่อมองจากขอบนอกแล้ว อาจมลี กั ษณะคล้ายรูปสามเหลย่ี ม รูปสเี่ หลยี่ ม วงกลม หรือวงรี หรือรปู หลายรปู ประกอบกัน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook