ช้ันประถมศึกษาปี ที่ 1 – 3 กลุ่มพฒั นาระบบการแนะแนว สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ
คานา 1ก แผนการจัดกิจกรรมแนะแนวฉบับนี้ จดั ทาขึน้ เพื่อเป็นแนวทางในการจดั กิจกรรมแนะแนว ในชั้นเรียนให้กับคุณครูและบุคลากรที่สนใจและรับผิดชอบในงานแนะแนว ในการนาไปเป็นแนวทาง ในการจัดกิจกรรมแนะแนวในชั้นเรียนให้มีประสิทธิภาพ โดยอาศัยความร่วมมือของบุคลากรทุกฝุาย ในโรงเรียน ทั้งนี้เนื่องจากการจัดกิจกรรมแนะแนวตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560) วา่ กิจกรรมแนะแนวเป็นกจิ กรรมส่งเสริมและพฒั นาความสามารถ ของผู้เรียนให้เหมาะสมตามความแตกต่างระหว่างบุคคล สามารถค้นพบและพัฒนาศักยภาพของตน เสริมสร้างทักษะชีวิต วุฒิภาวะทางอารมณ์ การเรียนรู้ในเชิงพหุป๎ญญา และการสร้างสัมพันธภาพท่ีดี โดยสอดคล้องกับทิศทางของแผนพัฒนาการแนะแนวการศึกษาข้ันพื้นฐาน ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2561 – 2565) ที่กล่าวถึงวิสัยทัศน์ของการแนะแนวที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีสมรรถนะด้านการศึกษา อาชีพ ส่วนตัวและสังคม มีสุขภาวะท่ีดี มีทักษะชีวิต และทักษะท่ีสาคัญจาเป็นในศตวรรษท่ี 21 ซ่ึงสอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง โดยมีพันธกิจ ดังนี้ 1) ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้สามารถค้นพบและพัฒนาศักยภาพตนเอง โดยใช้กระบวนการแนะแนว การใหค้ าปรกึ ษา ให้มีสมรรถนะทางการศกึ ษาอาชีพ ส่วนตวั และสงั คม เพ่ือ การศึกษาและการมีงานทา 2. ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีสุขภาวะท่ีดีมีทักษะชีวิต มีทักษะที่สาคัญ จาเป็นในศตวรรษท่ี 21 ดารงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3. พัฒนาระบบการแนะแนวใน สถานศึกษาให้ไดม้ าตรฐาน 4. สง่ เสริม สนับสนุน และสร้างภาคเี ครอื ข่ายความร่วมมือด้านการแนะแนว เพ่ือให้การจัดกิจกรรมแนะแนวในชั้นเรียนของสถานศึกษาสามารถดาเนินกิจกรรมได้บรรลุ วัตถุประสงค์และเปูาหมายของการจัดกิจกรรมแนะแนว จึงได้จัดทาแผนการจัดกิจกรรมแนะแนวฉบับน้ี ขึ้นเพ่ือเป็นแนวทางในการวางแผนการจัดกิจกรรมให้ครอบคลุมทุกด้าน เพื่อพัฒนานักเรียนให้มี คุณลักษณะที่พึงประสงค์ พร้อมกับส่งเสริมการจัดกิจกรรมแนะแนวในช้ันเรียนของสถานศึกษาให้มี ประสทิ ธภิ าพและเกดิ ประสิทธิผลต่อไป คณะผ้จู ัดทา
สารบญั หนา้ คานา ก สารบัญ ข บทนา 1 แนวทางการจัดกิจกรรมแนะแนว 6 ตารางวเิ คราะห์จุดประสงค์การเรยี นรู้กิจกรรมแนะแนว 8 โครงสรา้ งการจดั กิจกรรมแนะแนว 13 แผนการจดั กิจกรรมแนะแนว 20 - ดา้ นการศกึ ษา 69 - ดา้ นอาชีพ 107 - ดา้ นสว่ นตวั และสงั คม 167 บรรณานุกรม 168 คณะทางาน 2ข
บทนา 1
บทนำ 2 ตามแผนการศึกษาชาติ (2560-2579) ได้ระบุถึงป๎ญหาและความท้าทายของระบบการศึกษา ของกลุ่มเด็กในวัยเรียนท่ีนักเรียนยังประสบป๎ญหาทางพฤติกรรมและอารมณ์ การขาดทักษะการคิด ที่จะ พิจารณา แยกแยะ คัดกรองค่านิยมตามบรรทัดฐานท่ีดีของสังคมไทย รวมถึงการขาดทักษะชีวิตของนักเรียน ซ่ึงส่งผลสืบเนื่องสู่ป๎ญหาการติดยาเสพติด การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร การประสบป๎ญหาการวางแผน การศกึ ษาต่อและ การเลอื กศกึ ษาต่อทีไ่ ม่ตรงตามความสนใจและศักยภาพของตนเอง ส่งผลต่อการเกิดป๎ญหา ในการประกอบอาชพี ในอนาคต การจัดกิจกรรมแนะแนวตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ระบุว่า กระบวนการแนะแนวเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ท่ีมุ่งเน้นการทางานในเชิงปูองกันความเสี่ยง แกไ้ ขปญ๎ หา สง่ เสริมพฒั นาสมรรถนะอันพงึ ประสงคใ์ ห้นักเรียน ใหร้ จู้ ักเขา้ ใจตนเอง รู้รักษ์ส่ิงแวดล้อม ส่งเสริม ทักษะกระบวนการคิด การตัดสินใจ การคิดแก้ป๎ญหา สามารถกาหนดเปูาหมายในชีวิตของตนเองท้ังด้าน การศึกษาอาชีพ ตลอดจนสามารถปรับตัวดารงชีวิตเป็นสมาชิกท่ีมีคุณภาพในสังคม อย่างมีความสุข ควบคู่ การมีคุณธรรม ตามทศิ ทางของแผนพัฒนาการแนะแนวการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2561 – 2565) ที่ กล่าวถึงวิสยั ทศั น์ของการแนะแนวท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีสมรรถนะด้านการศึกษา อาชีพ ส่วนตัวและสังคม มีสุข ภาวะที่ดี มีทักษะชีวิต และทักษะท่ีสาคัญจาเป็นในศตวรรษ ท่ี 21 ให้สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีพันธกิจ ดังน้ี 1) ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้สามารถค้นพบและพัฒนาศักยภาพตนเอง โดยใช้กระบวนการ แนะแนวการให้คาปรึกษา ให้มีสมรรถนะทางการศึกษา อาชีพ ส่วนตัวและสังคม เพ่ือการศึกษาและการมีงานทา 2) สง่ เสรมิ และพฒั นาผูเ้ รยี น ให้มีสุขภาวะท่ีดี มีทักษะชีวิต มีทักษะ ที่สาคัญจาเป็นในศตวรรษที่ 21 ดารงชีวิตตาม หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง 3) พัฒนาระบบการแนะแนวในสถานศึกษาให้ได้มาตรฐาน 4) ส่งเสริม สนับสนุน และ สร้างภาคีเครอื ข่ายความร่วมมอื ดา้ นการแนะแนว จากแผนพัฒนาการแนะแนวการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2561–2565) ที่สอดรับกับ แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี มุ่งหวังให้การบริหารจัดการแนะแนวสัมฤทธิผลในการส่งเสริมบุคคลในทุกช่วงวัย ของชีวิต โดยเฉพาะผู้อยู่ในวัยเรียน ให้รู้จัก เข้าใจตนเอง มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ ศีลธรรม จริยธรรม มีทักษะชีวิต อยู่ดีมีสุข พฒั นาตนเองและสงั คมได้เต็มตามศกั ยภาพ สเู่ ปาู หมายการพัฒนาคุณภาพนักเรียนให้มีคุณธรรมเป็น พลเมอื งที่ดีของสังคมไทยและสามารถปรับตวั เปน็ พลเมืองโลกได้อย่างมคี วามสขุ อย่างย่งั ยนื การแนะแนว หมายถึง กระบวนการช่วยเหลือบุคคลให้เข้าใจตนเองและสิ่งแวดล้อมสร้าง เสริมให้เขามีคุณภาพเหมาะสมตามความแตกต่างระหว่างบุคคล ค้นพบและพัฒนาศักยภาพของตน มีทักษะ การดาเนินชีวิต มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ ศีลธรรม จริยธรรม รู้จักการเรียนรู้ในเชิงพหุป๎ญหารู้จักคิด ตัดสินใจ แกป้ ๎ญหาโดยจดุ หมายของการแนะแนว คือการปูองกันป๎ญหา แก้ไขและการพัฒนาให้ทุกคนไปสู่จุดหมายของ ชีวิตท่ีตอ้ งการ กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความสามารถของผู้เรียน ให้เหมาะสม ตามความแตกต่างระหว่างบุคคล สามารถค้นพบและพัฒนาศักยภาพของตน เสริมสร้างทักษะชีวิต วุฒิภาวะ
ทางอารมณ์ การเรียนรู้ในเชิงพหุป๎ญญา และการสร้างสัมพันธภาพที่ดี ซ่ึงครูแนะแนวทุกคนต้องทาหน้าที่ 3 แนะแนวใหค้ าปรกึ ษาด้านชีวิต การศกึ ษาตอ่ และการพฒั นาตนเองส่โู ลกอาชีพและการมงี านทา หลักการจัดกิจกรรมแนะแนว มีหลกั การในการดาเนนิ การดังน้ี 1. จดั กจิ กรรมใหส้ อดคล้องกบั สภาพป๎ญหา ความต้องการและธรรมชาตขิ องนกั เรยี น 2. จัดกิจกรรมใหค้ รอบคลมุ เนอ้ื หาสาระดา้ นการศึกษา อาชีพ สว่ นตวั และสังคม 3. ประสานความร่วมมือกับทุกฝุายที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนานักเรียน ต้ังแต่ผู้บริหาร ครูทุกคน ผู้ปกครอง ชุมชน ร่วมมีบทบาทและมีส่วนร่วมในการดาเนินการ ให้ความร่วมมือและสนับสนุนให้การจัด กิจกรรมดาเนนิ ไปด้วยความสะดวกอยา่ งมีประสิทธิภาพ ขอบข่ายการจดั กจิ กรรมแนะแนว มขี อบขา่ ยการดาเนินงาน 3 ดา้ น คือ 1. การแนะแนวการศึกษา ซึง่ มขี อบขา่ ยงานตัง้ แต่ การสรา้ งเจตคติท่ีดีต่อการเรยี น การฝกึ ทกั ษะหรือเทคนิคการเรยี นท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ การวางแผนการเรยี นท่ีดี การรชู้ อ่ งทางการศกึ ษาและการเลือก ทางศึกษาต่อ ตลอดท้ังการสร้างนิสัยเรยี นรู้ตลอดชีวิต 2. การแนะแนวด้านอาชีพ ซ่ึงมีขอบข่ายงานต้ังแต่การสร้างเจตคติท่ีดีต่อการทางานและ การประกอบอาชีพ การสร้างความตระหนัก รับรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของโลกอาชีพ การสารวจอาชีพ การตัดสินใจและวางแผนด้านอาชีพ การเตรียมตัวเพื่ออาชีพ การเข้าสู่อาชีพและการพัฒนาตนเอง เพื่อความกา้ วหนา้ ในอาชพี ตลอดทั้งมที ักษะในการประกอบอาชีพ 3. การแนะแนวส่วนตัวและสังคม ซึ่งมีขอบข่ายงานต้ังแต่การรู้จักชีวิตและสังคม ที่เปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา การรู้จักตนเองและรู้คุณค่าของตน การรู้จักปรับตัวและแก้ป๎ญหา การพัฒนา ตนเอง การฝึกทกั ษะชีวติ และทกั ษะทางสงั คม เพื่อใหบ้ ุคลกิ ภาพ สุขภาพกาย สุขภาพจิตทดี่ ี เปา้ หมายของการจัดกจิ กรรมแนะแนว ดา้ นการศกึ ษา นกั เรยี นมที ักษะในการเรียนเพื่อส่งเสริมให้ประสบความสาเร็จทางการเรียน ตามศักยภาพของตน ค้นพบศักยภาพและพัฒนาศักยภาพของตนให้เป็นประโยชน์ต่อตน ครอบครัว สังคม ประเทศชาติ ได้ตามสภาพของแต่ละบุคคล ดา้ นอาชพี นักเรียนมที กั ษะในการประกอบอาชีพ รู้จักนาข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เพ่ือประกอบการ วางแผนในการเลือกอาชีพ เช่น ความถนัด ความสามารถ ความสนใจ จุดเด่น จุดด้อยของตนเอง รู้และเข้าใจ ในธรรมชาติและคุณลักษณะของอาชีพ มีเจตคติท่ีดีต่ออาชีพสุจริต เห็นคุณค่าของการทางาน มีความเข้าใจ เก่ียวกับแนวทางการศึกษาเพื่อเข้าสู่งานอาชีพ มีเปูาหมายชีวิต รู้จักวางแผนชีวิต การเรียน การงาน ที่เหมาะสมกับ ความถนัด ความสนใจ และสภาพการเปล่ียนแปลงทางสังคมและเทคโนโลยีและมีคุณลักษณะพื้นฐานที่จาเป็น ในการเตรียมตัวสโู่ ลกของงานอาชีพ ด้านส่วนตัวและสังคม นักเรียนรู้จักและเข้าใจตนเอง รักและเห็นคุณค่าในตนเอง เข้าใจ และยอมรับผู้อ่ืน มีทักษะในการดาเนินชีวิต มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพสังคม สิ่งแวดล้อมทีเ่ ปลย่ี นไปได้อยา่ งเหมาะสม และสามารถดาเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข รู้จักตัดสินใจ และแก้ป๎ญหา รวมท้ังสามารถปรับตัวต่อสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตอย่างเหมาะสม มีคุณธรรม จริยธรรม
เป็นคนดีในสังคม อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข รู้จักหลีกเล่ียงอบายมุข สารเสพติด การพนัน หรือส่ิงที่เป็น 4 อนั ตรายตอ่ ชวี ิต รปู แบบการจดั กจิ กรรมแนะแนว มี 2 ลักษณะ คือ 1) การจัดบริการแนะแนว 2) การจัดกิจกรรม ในและนอกหอ้ งเรียน 1. การจัดบริการแนะแนว เป็นหน้าที่ที่ครูทุกคนรวมถึงครูแนะแนวด้วย ร่วมรับผิดชอบ และมีหน้าที่ในการจัดบริการแนะแนว โดยมีครูแนะแนวเป็นที่ปรึกษาและประสานงานเพื่อพัฒนานักเรียน ให้มีคุณลักษณะอนั พงึ ประสงคแ์ ละครอบคลุมบริการแนะแนวท้ัง 5 บริการ ตามวิธีการดังนี้ 1) บริการรวบรวม ข้อมูลและศึกษานักเรียนเป็นรายบุคคล เป็นบริการที่จาเป็นพ้ืนฐานในการที่จะให้ความช่วยเหลือนักเรียน ไดถ้ กู ตอ้ ง เพราะจะทาให้ได้ทราบป๎ญหา หรือข้อบกพร่องในตัวนักเรียน เพื่อดาเนินการแก้ไขได้ถูกต้องและนา ข้อมูลที่ได้ศึกษามาเป็นองค์ประกอบในการจัดบริการ อื่น ๆ ต่อไป งานบริการด้านนี้ได้แก่ การบันทึกประวัติ นักเรียนทุกคนไว้ในระเบียนสะสม บริการข้อมูลแก่ผู้ที่เก่ียวข้อง ทดสอบความถนัด ความสนใจของนักเรียน สารวจพฤติกรรมท่ีมีป๎ญหาของนักเรียน 2) บริการสนเทศ เป็นบริการให้ความรู้แก่นักเรียนในหลายรูปแบบ เพื่อช่วยใหน้ ักเรยี นสามารถปรบั ตัวเข้ากับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ รู้จักตัดสินใจ และวางแผนอนาคตอย่างฉลาด ได้แก่ การจัดสอนให้ความรขู้ อ้ มูลตา่ ง ๆ ในคาบกจิ กรรมแนะแนว การจัดปูายนิเทศ การจัดทาข้อมูลด้านต่างๆ ท่ีเป็นประโยชน์แก่นักเรียน การจัดอภิปราย บรรยาย ให้ความรู้ในด้านการศึกษาอาชีพ และการปรับตัวในสังคม การจัดงานวันอาชีพ การจัดสัปดาห์แนะแนวทางศึกษาต่อ การจัดฉายวีดิทัศน์ที่เป็นประโยชน์ต่อนักเรียน การจัด บรรยายจากวิทยากรและรุ่นพ่ี เพ่ือให้ความรู้แก่นักเรียนในด้านการปรับปรุงบุคลิกภาพ การวางตัว และการ วางแผนการศึกษาต่อภายหลังจบการศึกษา 3) บริการให้คาปรึกษา เป็นบริการที่นับว่าเป็นหัวใจสาคัญของ กิจกรรมแนะแนว โดยเฉพาะการเรียน การสอนตามหลักสูตรใหม่ และในสภาวะเศรษฐกิจและสังคมยุค ป๎จจุบัน งานบริการในด้านนี้ คือ ให้คาปรึกษานักเรียนท่ีมีป๎ญหาด้านส่วนตัว การเรียน และอาชีพ ศึกษาและ หาทางช่วยให้นักเรียนแก้ป๎ญหาของตนเองได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม เสนอแนะแนวทางปฏิบัติตนเพื่อเสริมสร้าง บุคลิกภาพ 4) บริการจัดวางตัวบุคคล เป็นบริการท่ีช่วยเหลือ ส่งเสริมและพัฒนาในด้านต่างๆ ดังน้ี การช่วยเหลือ ดา้ นทนุ การศกึ ษาการวางแผนในการเลือกรายวชิ าท่เี รยี น และส่งเสรมิ พัฒนาศักยภาพ ในด้านต่างๆให้เต็มตาม ศักยภาพของแต่ละบุคคล 5) บริการติดตามผล มีครูแนะแนวปฏิบัติหน้าท่ีร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษา และอาจารย์ฝุาย ต่างๆ เพ่อื ติดตามผล และให้บรกิ ารชว่ ยเหลือเพิ่มเติม ได้แก่ การติดตามผลนักเรียนที่ได้รับทุนการศึกษา การติดตามผล นักเรียนที่ออกกลางคันหรือมีป๎ญหา การติดตามผลนกั เรียนท่จี บออกไป นอกจากนยี้ งั นาเอาผลที่ได้มาปรับปรุง บริการแนะแนวตา่ งๆ ให้ดียง่ิ ข้นึ 2. การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน ครูทุกคนร่วมรับผิดชอบ และมีหน้าท่ีในการจัด กิจกรรมแนะแนว โดยมีครูแนะแนวเป็นท่ีปรึกษาและประสานงาน ร่วมกันวางแผนและหาวิธีการท่ีเหมาะสม มาใช้พฒั นานกั เรียน โดยสามารถดาเนินกจิ กรรมดงั นี้ กิจกรรมในห้องเรียน มแี นวทางในการจดั กจิ กรรมดงั นี้ 1) กจิ กรรมคาบแนะแนว 2) กิจกรรมโฮมรูม 3) การสอดแทรกกระบวนการแนะแนว กจิ กรรมนอกหอ้ งเรยี น มีแนวทางในการจัดกิจกรรมดังน้ี 1) กิจกรรมกลุ่มทางจิตวิทยาและ การแนะแนว เช่น โปรแกรมพัฒนาตนเองเกยี่ วกบั การรจู้ ัก และเห็นคณุ คา่ ในตนเอง 2)การอบรมเชิงปฏิบัติการ
เช่น อบรมนักเรียนเพ่ือนที่ปรึกษาอบรมเกี่ยวกับทักษะชีวิต 3) การทัศนศึกษาแหล่งวิทยาการและสถาน 5 ประกอบการ 4) ตลาดนัดอาชีพ 5) การเชิญวิทยากร ให้ความรู้ ได้แก่ ผู้ปกครอง นักเรียน ศิษย์เก่า ภูมิป๎ญญา ท้องถนิ่ 6) การจดั นิทรรศการ 7) การจัดปาู ยนเิ ทศ 8) การปฐมนิเทศ 9) การป๎จฉิมนิเทศ 10) การจัดเสียงตามสาย 11) ชุมนุมแนะแนว 12) กจิ กรรมพบผู้ปกครอง 13) กิจกรรมเพือ่ นชว่ ยเพือ่ น ในการจัดกิจกรรมแนะแนว ควรมีการเสริมสร้างในเร่ืองของสมรรถนะทางการแนะแนว เข้าไปด้วย ทั้งนี้เพ่ือให้นักเรียนได้มีแนวทางในการพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพในแต่ละด้านเพ่ือให้บรรลุ ถงึ เปาู หมาย สมรรถนะทางการแนะแนว หมายถึง คุณลักษณะท่ีต้องการให้นักเรียนทุกคนมีและสามารถ นาไปใช้กับตนเองได้อย่างเหมาะสม ซึ่งคุณลักษณะเหล่าน้ีครูควรส่งเสริมด้านต่างๆได้แก่ ความรู้ (Knowledge) หมายถึง ความรู้เฉพาะด้านของเด็ก เช่น ความรู้ภาษาอังกฤษ ความรู้ด้านคณิตศาสตร์ ความรู้ ด้านภาษา เป็นต้น ทักษะ(Skills) หมายถึง ส่ิงท่ีเด็กกระทาได้ดี และฝึกปฏิบัติเป็นประจาจนเกิดความชานาญ เช่น ทักษะการอ่าน การเขียน การวาดภาพ การร้องเพลง การทาอาหาร เป็นต้น ภาพลักษณ์ภายในตน (Self-image/Self-concept) หมายถึง ทัศนคติ ค่านิยม และความคิดเห็นเก่ียวกับภาพลักษณ์ของตนเอง หรือสงิ่ ทเ่ี ด็กเช่ือวา่ ตนเองเป็น เชน่ คนทม่ี ีความเชื่อมั่นในตัวเองสูง จะเชื่อว่าตนเองสามารถแก้ป๎ญหาต่างๆ ได้ คุณลักษณะภายในหรืออุปนิสัย (Traits) หมายถึง บุคลิกลักษณะประจาตัวของเด็ก เป็นส่ิงท่ีอธิบายถึงเด็กคนน้ัน เช่น เป็นคนท่ีน่าเชื่อถือ และไว้วางใจ หรือมีลักษณะเป็นผู้นา เป็นต้น แรงจูงใจ(Motive) หมายถึง แรงขับ ภายใน ซึ่งทาให้เด็กแสดงพฤติกรรมท่ีมุ่งสู่สิ่งที่เป็นเปูาหมาย เช่น เด็กท่ีมุ่งผลสัมฤทธ์ิ มักชอบตั้งเปูาหมายที่ ท้าทายและพยายามทางานสาเร็จตามเปูาที่ต้ังไว้ ตลอดจนพยายามปรับปรุงการทางานของตนเองตลอดเวลา ในการจดั กจิ กรรมแนะแนวควรสรา้ งเสรมิ คุณลักษณะให้สอดคล้องกับสมรรถนะทางการแนะแนวในแต่ละด้าน อยา่ งเหมาะสม ซึ่งมีอยู่ทั้งหมดด้วยกนั 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ 1. สมรรถนะด้านการศึกษา หมายถึง การมีความรู้ ความเข้าใจ มีเจตคติและค่านิยมที่ดีใน เร่อื งเก่ยี วกบั การเรียน สามารถนาข้อมูลความรู้ที่ได้รับมาใช้ในการวางแผนในด้านการเรียนและการศึกษาต่อ เพ่ือพัฒนาตนเองดา้ นการเรยี นไดเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ 2. สมรรถนะด้านอาชีพ หมายถึง การมีความรู้ ความเข้าใจในเก่ียวกับอาชีพ ตลอดจนมี เจตคติและค่านิยมที่ดีต่ออาชีพ มีข้อมูล/ประสบการณ์ด้านอาชีพ เพ่ือให้มีทักษะในการตัดสินใจวางแผน การศกึ ษาเพือ่ การมีงานทาเตม็ ตามศักยภาพ 3. สมรรถนะดา้ นส่วนตัวและสังคม หมายถึง การรู้จักและเข้าใจตนเอง รักและเห็นคุณค่า ในตนเองและผ้อู น่ื มีวุฒภิ าวะทางอารมณ์การปรบั ตัวและดารงชีวติ อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสขุ
แนวทางการจดั กิจกรรมแนะแนว 6
แนวทางการจัดกจิ กรรมแนะแนวระดบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ทีส่ อดรบั กับแผนยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1 – 3 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 - 2580) ได้ให้ความสาคัญกับการวางรากฐานการพัฒนาคนให้มี 7 ความสมบูรณ์ เร่ิมตั้งแต่กลุ่มเด็กปฐมวัยที่ต้องพัฒนาให้มีสุขภาพกายและใจที่ดี มีทักษะทางสมอง ทักษะ การเรียนรู้ และทักษะชีวิต เพื่อให้เติบโตอย่างมีคุณภาพ ควบคู่กับการพัฒนาคนไทยในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี มีสุขภาวะท่ีดี มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย มีจิตสานึกท่ีดีต่อสังคมส่วนรวม มีทักษะความรู้ และ ความสามารถปรับตัวเท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงรอบตัวท่ีรวดเร็ว บนพื้นฐานของการมีสถาบันทางสังคมที่ เขม้ แข็งทง้ั สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันชุมชน และภาคเอกชนที่ร่วมกันพัฒนา ทุนมนุษย์ให้มีคุณภาพสูง อีกท้ังยังเป็นทุนทางสังคมสาคัญในการขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศ ดังน้ันสานัก วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ จึงได้นากรอบแนวคิดดังกล่าวมาจัดทาเป็นแนวทางการ จัดกิจกรรมแนะแนวทส่ี อดรับกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี สาหรับนกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 1 – 3 ข้นึ กิจกรรมแนะแนวเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่กาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551เพ่ือส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จัก เข้าใจ รักและเห็นคุณค่าในตนเอง และผู้อ่ืน สามารถคิดตัดสินใจ คิดแก้ป๎ญหา กาหนดเปูาหมาย วางแผนชีวิตทั้งในด้านการศึกษาและอาชีพ ส่วนตัวและสังคม อีกท้ังพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะชีวิต สามารถปรับตนและดารงชีวิตได้อย่างเหมาะสม เป็นประโยชน์และเป็นสุข โดยเฉพาะนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 การจัดกิจกรรมต้องสนองตอบต่อ ความสนใจของผ้เู รียน โดยคานึงถงึ หลกั จิตวิทยาพัฒนาการ และจิตวิทยาการเรียนรู้ เน้นการเรียนรู้ตามสภาพ จริง มีความสนุกสนาน ได้ปฏิบัติจริง เพ่ือพัฒนาความเป็นมนุษย์ ทักษะพื้นฐานการติดต่อสื่อสาร และพัฒนา ลกั ษณะนิสัยและสนุ ทรียภาพ กิจกรรมแนะแนว มีขอบข่ายการจัดกิจกรรมให้ครอบคลุมท้ัง 3 ด้าน คือ ด้านการศึกษา ด้านอาชีพ ด้านส่วนตัวและสังคม ซึ่งการจัดกิจกรรมแต่ละด้านจะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน สาหรับชั้นประถมศึกษา ปีที่ 1 – 3 ไดก้ าหนดสัดสว่ นเวลาจดั กจิ กรรมแนะแนว ดงั นี้ ดา้ น การศกึ ษา อาชพี ส่วนตัวและสังคม สัดส่วนเวลา รอ้ ยละ 20 ร้อยละ 20 ร้อยละ 60 จดั กจิ กรรมแนะแนว ดังน้ัน การจัดกิจกรรมแนะแนวจึงจาเป็นต้องจัดให้กับนักเรียนทุกคนอย่างต่อเนื่องในทุกระดับชั้น และมีการดาเนินการจัดกิจกรรมเพ่ือการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ เพื่อมุ่งส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนให้พัฒนาตนเอง อยา่ งเต็มตามศกั ยภาพ รกั และเห็นคุณค่าในตนเองแลผู้อ่ืน พ่ึงตนเอง มีทักษะในการเลือกแนวทางการศึกษา อาชีพ สว่ นตวั และสังคม มีสุขภาพจิตท่ดี ี มีจิตสานึกในการทาประโยชน์ตอ่ ครอบครวั สังคมและประเทศชาติ ต่อไป
ตารางวิเคราะห์จุดประสงค์การเรียนรกู้ ิจกรรมแนะแนว 8
ตารางวิเคราะหจ์ ดุ ประสงคก์ ารเรียนรูก้ ิจกรรมแนะแนว ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 1 - 3 ด้านการศึกษา สมรรถนะการแนะแนว จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ขอ้ 1 รู้ เข้าใจและมีเจตคติท่ีดี 1. บอกความสาคัญของการเรียนได้ ตอ่ การเรียนรูต้ ามหลกั สูตร 2. บอกประโยชนข์ องการเรียนได้ 3. บอกช่ือวชิ าเรยี นได้ 4. บอกประโยชนข์ องวิชาเรยี นได้ 5. บอกวิชาที่ตนเองชอบและไมช่ อบเรียนได้ 6. บอกเหตผุ ลของตนเองที่ชอบเรยี นและไมช่ อบเรียนได้ 7. บอกวิธีการเรียนของตนเองได้ 8. บอกความตั้งใจเรยี นของตนเองได้ 9. บอกแหลง่ ความรใู้ นชมุ ชนของตนเองได้ ขอ้ 2 มีค่านยิ มในการเรยี นรู้ บอกลกั ษณะนิสัยที่ใฝุเรียนรู้ ตลอดชีวิต ข้อ 3 ใช้ขอ้ มูลในการวางแผน 1. บอกพฤตกิ รรมท่ที าให้ผลการเรียนดีได้ การศึกษา 2. บอกวธิ กี ารเรยี นที่มปี ระสิทธิภาพของบุคคลในสังคมหรือ 9 เพ่ือนในห้องเรียนได้ 3. บอกช่ือบุคคลในสังคมที่ประสบความสาเร็จด้านการศึกษาได้ 4. บอกป๎ญหาการเรยี นของตนเองได้ 5. เลอื กแหล่งข้อมูลที่ใช้แสวงหาความรู้ได้อย่างเหมาะสม ข้อ 4 พฒั นาตนเองดา้ นการ 1. บอกพฤตกิ รรมที่ทาให้ผลการเรยี นดีได้ เรยี นได้เตม็ ตามศักยภาพ 2. บอกแนวทางการปรบั ปรงุ วิธีเรยี นให้มผี ลการเรยี นดีข้ึน 3. บอกวธิ ีการเรียนท่ีเหมาะสมกับตนเองได้ 4. บอกวิธกี ารเปลยี่ นแปลงตนเองให้มีวิธีการเรยี นทมี่ ีประสทิ ธภิ าพ
ตารางวิเคราะหจ์ ดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้กิจกรรมแนะแนว ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 1 - 3 ด้านอาชพี สมรรถนะการแนะแนว จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 10 ขอ้ 1 การเรยี นรเู้ ก่ยี วกบั อาชีพ 1. บอกความสาคัญของอาชพี 2. บอกชอ่ื อาชีพทร่ี ู้จักได้ ข้อ 2 มีเจตคติที่ดีต่อการเรียน 3. บอกชื่ออาชีพที่ตนเองสนใจได้ สายอาชพี 4. บอกชื่ออาชพี พ่อ แม่ (ผูป้ กครอง) ได้ ขอ้ 3 มีทักษะการตัดสนิ ใจเพ่ือ 5. บอกชื่ออาชีพของคนในชมุ ชนได้ วางแผนการศกึ ษาเพอ่ื การมีงาน 6. อธิบายขอ้ มูลเก่ยี วกับอาชีพในชุมชนได้ ทาเตม็ ตามศักยภาพ 7. บอกลกั ษณะการประกอบอาชีพได้ 8. บอกลกั ษณะอาชีพสุจรติ ได้ 9. บอกความร้สู ึกทางบวกตอ่ อาชพี สจุ ริตได้ 10. เขียนสัญญาใจการประกอบอาชีพสจุ รติ 1. มีเจตคติทีด่ ตี ่ออาชีพสุจริต 2. จาแนกอาชีพท่ีสุจรติ ได้ 3. บอกความสาคัญและประโยชน์ของการเรยี นสายอาชีพ 4. บอกความรู้สึกดา้ นบวกต่อการประกอบอาชพี ตามงานอาชพี ได้ บอกแนวทางการปฏิบตั ิตนสู่การประกอบอาชีพทส่ี นใจได้
ตารางวเิ คราะห์จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรกู้ จิ กรรมแนะแนว ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 - 3 ดา้ นสว่ นตัวและสังคม สมรรถนะการแนะแนว จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 11 ขอ้ 1 รู้จกั และเข้าใจตนเอง 1. บอกชอื่ และลกั ษณะเดน่ ของตนเองได้ 2. บอกชอื่ เพ่ือนและลักษณะเด่นของเพื่อนในช้ันเรียน ข้อ 2 รกั และเห็นคุณคา่ 3. บอกชื่อส่วนตา่ ง ๆ ของร่างกายได้ ในตนเองและผู้อื่น 4. บอกหน้าที่ของอวัยวะส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้ 5. บอกพฤติกรรมทีแ่ สดงออกถึงความเมตตาได้ ข้อ 3 มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ 6. บอกความสาคญั ของการรับรูข้ ้อมลู ข่าวสารได้ ข้อ 4 ปรับตัวและดารงชวี ิต 7. ระบแุ หล่งคน้ คว้าข้อมลู ขา่ วสารจากแหล่งตา่ ง ๆ อยใู่ นสงั คมได้อยา่ งมคี วามสุข ได้อยา่ งเหมาะสม 8. บอกอารมณ์ความรูส้ ึกของตนเองได้ 1. บอกช่ือโรงเรียน ช่อื ครู และชื่อเพ่อื นได้ 2. บอกวิธีปฏิบตั ิตนในการดแู ลรา่ งกายใหส้ ะอาด 3. บอกวิธีดูแลรกั ษาอวัยวะส่วนตา่ ง ๆ ของท้ังตนเองและเพ่อื น ให้ปลอดภยั 4. บอกความสาคญั ของความแตกตา่ งและหลากหลายของเพอื่ นได้ 5. บอกลกั ษณะของความแตกต่างและหลากหลายของเพ่อื นได้ 6. บอกวิธกี ารปฏิบัติตนต่อเพื่อนได้ 7. จาแนกบคุ ลกิ ภาพท่ีดีและไม่ดีของตนและเพื่อนได้ 1. สามารถสอื่ อารมณ์ทางสีหนา้ ได้อย่างเหมาะสม 2. บอกความรู้สึก อารมณข์ องตนเองและรบั รู้อารมณ์ ความรู้สกึ ของเพอื่ นและสมาชิกในครอบครวั ได้ 3. แสดงออกทางอารมณ์ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 1. สามารถบอกวธิ กี ารสัมพันธภาพท่ีดกี ับเพื่อนและครูได้ 2. สามารถบอกวิธกี ารใช้จ่ายและอดออมได้ 3. สามารถบอกวิธกี ารปฏบิ ตั ติ นเป็นผมู้ ีนา้ ใจ เอ้ือเฟอื้ แบง่ ป๎นต่อ ผ้อู ่ืน 4. สามารถบอกวิธีการใช้สิง่ ของอย่างประหยัดและคมุ้ คา่ 5. มที ักษะการเป็นผนู้ า ผู้ตาม 6. ทางานรว่ มกับผอู้ นื่ ได้
สมรรถนะการแนะแนว จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ขอ้ 4 ปรบั ตวั และดารงชวี ิต 7. สามารถแสดงพฤตกิ รรมทเ่ี หมาะสมในการใชท้ ักษะทางภาษา อยู่ในสงั คมได้อย่างมีความสขุ การสือ่ สาร ภาษากายได้อยา่ งเหมาะสม (ต่อ) 8. สามารถปฏิบัติตนตอ่ เพื่อนได้อย่างเหมาะสม 9. บอกวิธกี ารเอาตัวรอดจากสถานการณต์ ่าง ๆ 10. บอกความสาคัญของบุคลิกภาพ 11. สามารถจาแนกบคุ ลิกภาพที่ดแี ละไมด่ ีของตนและเพื่อนได้ 12
โครงสรา้ งการจดั กจิ กรรมแนะแนว 13
โครงสรา้ งการจดั กิจกรรมแนะแนว ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 – 3 สมรรถนะด้านการศกึ ษา สมรรถนะ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ เรอ่ื ง จานวน 14 การแนะแนว 1. ปฐมนเิ ทศกิจกรรม (ช่วั โมง) ขอ้ 1 รู้ เขา้ ใจและ 1. ปฏิบัติตนในการเรยี นกจิ กรรมแนะแนว แนะแนว มีเจตคตทิ ี่ดีตอ่ ถกู ต้องตามจุดมงุ่ หมายของกิจกรรม 3 การเรยี นรู้ 2. บอก จุดมงุ่ หมายการจัดกจิ กรรมการ 2. เคลด็ ลบั เรยี นดี ตามหลกั สตู ร เรยี นรู้ และการประเมินผลกจิ กรรม 3. ยอดนกั สู้ 3 แนะแนวได้ 4. วางแผนดมี ีชัย 3 ข้อ 1 รู้ เขา้ ใจและ 1. ปฏิบตั ิตนให้เป็นผเู้ รยี นท่มี ี 3 มีเจตคติทีด่ ีต่อการ ประสิทธภิ าพ 5. การเตรียมพร้อมกอ่ นเรยี น เรยี นร้ตู ามหลักสูตร 2. รู้จกั แสวงหาและใชข้ ้อมลู สารสนเทศ 3 ขอ้ 2 มคี ่านยิ มในการ 1. บอกเคล็ดลบั การเรยี นเกง่ จากผทู้ ่ี 6. เรียนดมี วี ิธอี ย่างไร เรียนรู้ตลอดชวี ติ ประสบผลสาเร็จในการเรยี น 3 2. แสวงหาและใช้ขอ้ มลู สารสนเทศได้ ข้อ 3 ใชข้ ้อมูลในการ 1. บอกระดับความสามารถทางการเรียน วางแผนการศกึ ษา ของตนได้ 2. บอกคุณคา่ ของวิชาตา่ ง ๆ ได้ ข้อ 3 ใช้ขอ้ มลู ในการ 3. บอกวธิ กี ารปฏบิ ัติตนเพ่ือการปรบั ปรงุ วางแผนการศกึ ษา และพฒั นาผลการเรียน 1. บอกแนวทางการศึกษา และพฒั นา ข้อ 4 พัฒนาตนเอง ทักษะทางการเรียน ด้านการเรยี นได้ 2. บอกประโยชน์ของอุปกรณ์การเรยี น เต็มตามศกั ยภาพ ทจ่ี าเป็นได้ 3. วางแผนในการเตรยี มของอุปกรณ์การ เรียนและสามารถนาไปใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้ 1. ระบพุ ฤติกรรมทจ่ี ะนามาใช้ในการ ปรับตวั ด้านการเรียนใหม้ ีผลการเรยี น ระดบั ดีขน้ึ ไป และมีความพร้อมสาหรบั การประเมนิ ระดับชาติ 2. ระบแุ นวทางในการปรับตวั เพ่อื ผลการ เรยี นระดบั ดขี ึน้
สมรรถนะ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เรื่อง จานวน การแนะแนว (ชั่วโมง) ข้อ 4 พัฒนาตนเอง 1. บอกสาเหตุของป๎ญหาเกย่ี วกบั การ 7. ฉลาดเรยี นเพยี รสู่ 15 ด้านการเรยี นได้เตม็ เรียนได้ ความสาเร็จ 3 ตามศักยภาพ 2. บอกแนวทางการแก้ไขป๎ญหาเก่ียวกับ 8. การใชอ้ ินเทอรเ์ น็ตเพ่ือ 3 การเรยี นได้ การเรยี นรู้ 3 ข้อ 4 พฒั นาตนเอง 1. บอกประโยชน์ของการใชอ้ ินเทอร์เน็ตได้ 9. ตะเกยี งส่องทาง ด้านการเรียนได้เตม็ 2. บอกผลเสยี ของการใช้อินเทอร์เน็ตได้ 3 ตามศักยภาพ 3. สามารถใช้อนิ เทอรเ์ นต็ ไดอ้ ย่าง 10. โรงเรียนของฉนั เหมาะสมและถูกวธิ ี ข้อ 4 พัฒนาตนเอง 1. เขียนคาสาคัญทจ่ี ะนาไปสู่เปูาหมาย ด้านการเรยี นได้เต็ม ที่ตอ้ งได้อยา่ งชัดเจน และเปน็ ไปได้ ตามศกั ยภาพ เหมาะสมกับโอกาสและความเป็นตวั ตนได้ 2. กาหนดเปาู หมายท่ีต้องการได้อย่าง ข้อ 4 พัฒนาตนเอง ชัดเจนในสิง่ ทีเ่ ป็นไปได้และเหมาะสม ดา้ นการเรียนได้เต็ม กับตนเองได้ ตามศกั ยภาพ 3. ตระหนกั ถึงความสาคญั ของการ วางเปาู หมายในชวี ติ 1. รู้จักโรงเรยี นของตนเองมากยง่ิ ขึ้น 2. ปรบั ตัวและดารงชวี ติ ไดอ้ ย่างมี ความสขุ
โครงสร้างการจดั กิจกรรมแนะแนว ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 – 3 สมรรถนะดา้ นอาชพี สมรรถนะ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เร่อื ง จานวน การแนะแนว (ชั่วโมง) ขอ้ 1 การเรยี นรู้ 1.ศกึ ษาขอ้ มูลเกี่ยวกบั อาชีพที่สนใจ 11. ท่องโลกอาชีพ เกย่ี วกับอาชีพ 3 ข้อ 1 การเรยี นรู้ 1. บอกความหมายของอาชีพได้ 12. อาชพี น่ารู้ 3 เกี่ยวกับอาชีพ 2. บอกความสาคัญของอาชพี ได้ 3. จาแนกประเภทของอาชพี ได้ 3 ข้อ 1 การเรยี นรู้ 1. บอกอาชพี ท่ีนักเรียนชอบได้ 13. ตน้ ไม้อาชพี ที่หนูชอบ 3 เก่ยี วกบั อาชีพ 2. บอกเหตผุ ลของความชอบอาชีพได้ ขอ้ 1 การเรียนรู้ 1. บอกชอ่ื อาชีพของพ่อและแม่ได้ 14. พ่อ แมห่ นูทาอะไร 3 เกย่ี วกับอาชีพ 2. บอกข้อมูลอาชพี ของพ่อ แม่ หรอื ผปู้ กครองได้ 16 ข้อ 1 การเรียนรู้ 1. บอกอาชพี ในชมุ ชนท่นี ักเรียน 15. อาชีพดมี ีสุข เกี่ยวกบั อาชีพ อาศยั อยู่ได้ 3 2. ให้ขอ้ มลู เกย่ี วกับอาชพี ในชุมชนได้ ขอ้ 1 การเรยี นรู้ ตามสมควร 3 เก่ียวกบั อาชีพ 1. บอกชื่ออาชีพในฝ๎นพร้อมบอก 16. อาชีพที่ฉันฝน๎ เหตุผลประกอบได้ 3 ขอ้ 1 การเรยี นรู้ 2. วาดภาพอาชพี และบอก เก่ยี วกบั อาชีพ รายละเอยี ดเกี่ยวกับภาพได้ 1. ค้นหาอาชพี ผ่านส่ือตา่ ง ๆ ได้ 17. อาชพี ที่ฉนั คน้ หา ข้อ 1 การเรยี นรู้ 2. บอกความสามารถและกจิ กรรม เกย่ี วกับอาชีพ เวลาวา่ งได้ 1. บอกช่ืออาชีพในชุมชนของตนเองได้ 18. อาชีพใกลต้ ัว ข้อ 2 มีเจตคตทิ ่ดี ตี ่อ 2. อธิบายขอ้ มูลเกย่ี วกบั อาชีพใน การเรยี นสายอาชีพ ชมุ ชนได้ 1. สารวจความต้องการของตนเอง 19. อาชีพที่ฉนั อยากเปน็ เกยี่ วกับอาชีพที่ใฝุฝ๎น 2. รจู้ กั เขา้ ใจ เหน็ คุณคา่ ต่ออาชพี สจุ รติ
สมรรถนะ จุดประสงค์การเรยี นรู้ เรือ่ ง จานวน การแนะแนว (ชว่ั โมง) ข้อ 3 มที ักษะการ 1. สารวจ และกาหนดเปูาหมายที่ตน 20. ความปรารถนาของฉัน ตัดสินใจเพื่อวางแผน ต้องการได้ 3 การศกึ ษาเพ่อื การมี 2. บอกแนวทางการพฒั นาตนเองสู่ งานทาเต็มตาม เปูาหมายได้ ศกั ยภาพ 17
โครงสร้างการจดั กจิ กรรมแนะแนว ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 – 3 สมรรถนะดา้ นสว่ นตวั และสังคม สมรรถนะ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ เร่ือง จานวน การแนะแนว 21. รา่ งกายของเรา (ชั่วโมง) ข้อ 1 รู้จักและเข้าใจ 1. บอกอวยั วะภายนอกรา่ งกายได้ ตนเอง 2. บอกหน้าที่ของอวยั วะภายนอกร่างกาย 22. หนูน้อยนกั สารวจ 3 ได้ถูกต้อง ข้อ 1 รจู้ ักและเข้าใจ 1.บอกสว่ นต่าง ๆ ของร่างกายได้ 3 ตนเอง 3 ขอ้ 1 รู้จักและเข้าใจ 1. บอกวธิ ีปฏบิ ตั ติ นในการดูแลอวยั วะส่วน 23. รกั ตวั รกั ตน 3 ตนเอง ขอ้ 1 ร้จู ักและเข้าใจ ต่างๆของร่างกายได้ 3 ตนเอง 3 1. แยกแยะพฤติกรรมด้านดีและไมด่ ีได้ 24. ความดีของฉนั ขอ้ 1 ร้จู ักและเข้าใจ 3 ตนเอง 2. เขียนความดขี องตนได้ ขอ้ 1 รจู้ กั และเข้าใจ 3 ตนเอง 3. เห็นความสาคญั ของการทา ความดี 3 ขอ้ 1 รจู้ ักและเข้าใจ 1. บอกช่ือและข้อมูลของตนเองได้ 25. เช็คอนิ ตวั ตน 3 ตนเอง 2. บอกช่อื และข้อมลู ของครอบครวั ได้ 18 ข้อ 1 รจู้ กั และเข้าใจ ตนเอง 1.บอกความสาคญั ของการดูแลรกั ษา 26. กายดีชวี มี ีสขุ ขอ้ 2 รกั และเห็น คุณคา่ ในตนเองและ รา่ งกายของตนเองให้แขง็ แรงได้ ผู้อนื่ ขอ้ 2 รักและเหน็ 2. บอกวิธีการดแู ลรกั ษาร่างกายของตนเอง คณุ ค่าในตนเองและ ผู้อื่น ใหแ้ ข็งแรงได้ 1. บอกความสาคญั ของการรับรู้ข่าวสารต่าง ๆ ได้ 27. รู้ทันเหตุการณ์ 2. สบื ค้นข้อมูลข่าวสารจากแหลง่ ตา่ ง ๆ ท่ี ตนเองสนใจได้ 1. บอกความแตกต่างทางดา้ นร่างกายของ 28. ฉนั และเธอ ตนเองและเพ่ือน 1. ยกตัวอย่างความดขี องตนเองและผู้อืน่ ได้ 29. เด็กดหี นูทาได้ 2. บอกผลจากการทาความดีของตนเองและ ผูอ้ น่ื ได้ 1. ระบุอารมณแ์ ละความรู้สึกของตนเองได้ 30. รู้เขารู้เรา 2. ระบุอารมณแ์ ละความรสู้ ึกของเพ่ือน และครูได้ 3. บอกความสาคญั ของการแสดงอารมณต์ อ่ ผอู้ ื่นได้
สมรรถนะ จุดประสงค์การเรยี นรู้ เรือ่ ง จานวน 19 การแนะแนว 31. รอยยม้ิ (ชั่วโมง) ข้อ 3 มีวุฒภิ าวะทาง 1. บอกอารมณ์และความรสู้ ึกท่เี คยเกดิ ขน้ึ กับ อารมณ์ ตวั เองได้ 32. ภาษาอารมณ์ 3 2. บอกสาเหตุการเกดิ อารมณแ์ ละความรูส้ กึ ได้ ข้อ 3 มวี ฒุ ภิ าวะทาง 3. บอกอารมณ์และความรสู้ ึกของตนเองได้ 33. ตา่ งจิตตา่ งใจ 3 อารมณ์ ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ 1. แยกแยะความแตกตา่ งของอารมณ์ได้ 34. กจิ วัตรของฉนั 3 ข้อ 3 มวี ฒุ ภิ าวะทาง 2. ตรวจสอบอารมณ์ของตนได้ 35. โลกเปลย่ี น ชวี ติ เปล่ยี น อารมณ์ 3. แสดงอารมณ์ได้อย่างถูกต้องและ 36. ผนู้ าผู้ตามเพ่ือการอยู่ 3 เหมาะสม ร่วมกัน 3 ขอ้ 4 ปรับตวั และดารง 1. บอกอารมณ์ ความรู้สกึ ของตนเองเมอ่ื อยู่ 37. แบง่ ปน๎ และอดออม 3 ชีวติ อยใู่ นสังคมไดอ้ ย่าง ในสภาวการณต์ ่าง ๆ ได้ 3 มีความสขุ 2. รบั ฟง๎ สงิ่ ทเ่ี พ่ือนบอกอารมณ์ ความรสู้ ึก ขอ้ 4 ปรับตวั และดารง ในสภาวการณ์ต่างๆ ชวี ิตอยูใ่ นสังคมไดอ้ ย่าง 1. บอกกิจวัตรประจาวันทีต่ ้องปฏบิ ัติได้ มีความสขุ 2. บอกประโยชน์ของการปฏิบตั กิ ิจวัตร ขอ้ 4 การปรบั ตัวและ ประจาวันไดด้ ้วยตนเอง ดาเนนิ ชวี ติ อยู่ในสงั คม บอกการเปลีย่ นแปลงของสภาพแวดล้อม อย่างมีความสขุ ส่งิ ของ เครื่องใช้ หรอื การดาเนินชีวติ ขอ้ 4 การปรับตัวและ ของตนเองได้ ดาเนินชีวิตอยูใ่ นสังคม 1. บอกความหมายของผนู้ าและผูต้ ามได้ อย่างมีความสุข 2. บอกความสาคัญของผู้นาและผู้ตามได้ 3. บอกแนวทางการทางานร่วมกับผู้อ่นื ได้ 1. ใชจ้ ่ายและอดออมได้ 2. ใชส้ ิง่ ของอย่างร้คู ุณค่า 3. ปฏิบัติตนเป็นผ้มู นี ้าใจเอ้ือเฟือ้ แบง่ ปน๎ ผูอ้ ืน่
แผนการจัดกจิ กรรมแนะแนว ดา้ นการศกึ ษา 20
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนวท่ี 1 หน่วยการจัดกจิ กรรมด้านการศกึ ษา ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1-3 เร่อื ง ปฐมนิเทศกิจกรรมแนะแนว จานวน 3 ชัว่ โมง -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. สาระสาคญั กจิ กรรมแนะแนวเปน็ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียนกิจกรรมหน่ึงที่สถานศึกษาต้องจัดให้นกั เรยี นในทุกช่วงช้ัน การศึกษา เพ่ือส่งเสริมและพัฒนาความสามารถของนักเรียนให้เหมาะสมตามความแตกต่างระหว่างบุคคล ทาให้นักเรียนสามารถค้นพบและพัฒนาศักยภาพของตน อีกทั้งเสริมสร้างนักเรียนในด้านทักษะชีวิต วุฒิภาวะ ทางอารมณ์ การเรยี นรู้ การสร้างสมั พันธภาพทด่ี ี ทง้ั นีเ้ พอ่ื ใหน้ ักเรยี นไดพ้ ัฒนาตนเองส่โู ลกอาชีพและการมงี าน 2. สมรรถนะการแนะแนว : ด้านการศึกษา ขอ้ 1 รู้ เขา้ ใจและมีเจตคตทิ ี่ดีตอ่ การเรยี นรู้ตามหลกั สตู ร 3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 21 3.1 ปฏบิ ตั ติ นในการเรียนกจิ กรรมแนะแนวถูกต้องตามจุดมุ่งหมายของกิจกรรม 3.2 บอกจดุ มุ่งหมายการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และการประเมนิ ผลกจิ กรรมแนะแนวได้ 4. สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมแนะแนว 5. ช้ินงาน / ภาระงาน (ถ้ามี) 5.1 การร่วมกันอภปิ ราย 5.2 ใบงาน 6. วธิ กี ารจดั กจิ กรรม 6.1 ครูแนะนาตนเองให้นักเรียนรู้จักโดยบอกชื่อ-สกุล วิชาที่สอน ระดับช้ันที่สอน และห้องพักครูที่อยู่ประจา หลงั การสอน ตอ่ จากนั้นให้นักเรียนแนะนาตัวเองทีละคน โดยนักเรียนลุกข้ึนยืนและแนะนาช่ือ นามสกุล และ ชอื่ เลน่ ของตน 6.2 ครูอธิบายถึงธรรมชาติวิชา จุดมุ่งหมาย กิจกรรมแนะแนว คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของกิจกรรม และการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ เพอ่ื ให้เกดิ คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงคด์ ังกลา่ ว 6.3 ครอู ธบิ ายถึงเวลาเรียนตามโครงสรา้ งหลักสตู รข้ันพ้ืนฐานโรงเรียน (ชื่อโรงเรียน) ตลอดการศึกษา กาหนดไว้ 40 ช่ัวโมง ภาคเรียนละ 20 ชั่วโมง หากมีวิชาใดตรงกับวันหยุดต่าง ๆ เช่น วันแม่ วันเข้าพรรษา ฯลฯ หรือมีกิจกรรมของโรงเรียน เช่น กิจกรรมวันไหว้ครู กิจกรรมวันสุนทรภู่ ฯลฯ จะต้องมีการเรียนการสอน
ซ่อมเสริมให้ครบ 20 ชั่วโมง นักเรียนต้องมีเวลาเรียนในแต่ละภาคเรียน ไม่น้อยกว่า 16 ชั่วโมง ขาดเรียนได้ 22 ไม่เกิน 4 คร้ัง ถา้ ขาดเกินตอ้ งเรยี นเพ่มิ เติมให้ครบตามเกณฑ์ 6.4 ครูชี้แจงแนวทางการจัดกิจกรรม เช่น การทากิจกรรมกลุ่ม การทากิจกรรมเป็นรายบุคคล และการประเมินผลการทากิจกรรม ซึ่งมีการวัดผลประเมิน ผลตามจุดประสงค์ สังเกตพฤติกรรม และประเมินคณุ ลกั ษณะด้านคณุ ธรรม จริยธรรม 6.5 นักเรียนศึกษาใบความรู้เรื่อง ปฐมนิเทศกิจกรรมแนะแนว และร่วมอภิปรายกับครูตาม แนวทางการอภปิ รายดังน้ี ● กิจกรรมแนะแนวเปน็ ส่วนหนง่ึ ของกิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น ● กิจกรรมแนะแนวเป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมและพัฒนาความสามารถของนักเรียนตามความ แตกตา่ งระหวา่ งบุคคล ● ในกิจกรรมแนะแนวมีการจัดกิจกรรมเพื่อให้นักเรียนรู้จักเข้าใจและเห็นคุณค่าในตนเองและ ผอู้ ื่น ● ในกิจกรรมแนะแนวมกี ารจัดกจิ กรรมเกี่ยวกับการปรับตวั และการดารงชวี ิต 6.6 นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมแนะแนว อาทิ เวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรมและการวัดผลประเมนิ ผล 6.7 นักเรียนทาใบงานท่ี 1 เรื่อง แบบวัดเจตคติต่อการเรียนกิจกรรมแนะแนว 6.8 จากน้ันนักเรียนทาใบงานที่ 2 เรื่อง แบบสารวจความต้องการของนักเรียนเป็นการบ้าน โดยนาสง่ ครใู นวันตอ่ ไป 7. สอ่ื /อุปกรณ์ 7.1 ใบงานท่ี 1 เร่ือง แบบวดั เจตคตติ อ่ การเรยี นกิจกรรมแนะแนว 7.2 ใบงานท่ี 2 เรื่อง แบบสารวจความตอ้ งการของนักเรยี น 7.3 ใบความร้เู รื่อง ปฐมนเิ ทศกจิ กรรมแนะแนว 8. การวัดและประเมินผล 8.1 วธิ ีการวดั และประเมนิ ผล 8.1.1 สงั เกตความสนใจในการฟ๎ง การตอบคาถาม และการรว่ มอภิปรายแสดงความคิดเหน็ 8.1.2 ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน และความเรียบร้อยของใบงาน 8.2 เคร่อื งมือ -
8.3 เกณฑก์ ารประเมนิ 8.3.1 สังเกตการปฏิบตั ิกิจกรรม เกณฑ์ ตัวบง่ ช้ี ผ่าน มีความสนใจในการฟง๎ การตอบคาถาม การร่วมอภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ ไม่ผา่ น ขาดสิ่งใดสิ่งหนงึ่ 8.3.2 ตรวจใบงาน เกณฑ์ ตัวบง่ ชี้ ผ่าน ทาใบงานถูกต้อง ครบถ้วน และส่งงานตามกาหนด ไม่ผ่าน ขาดสิ่งใดสง่ิ หนึ่ง 23
ใบงานท่ี 1 แบบวัดเจตคตติ ่อการเรยี นกจิ กรรมแนะแนว คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรยี นเขียนเคร่อื งหมาย ลงในช่องว่างทางขวามอื ท่ตี รงกับความเห็นของนักเรยี น ข้อที่ ขอ้ ความ มาก ความคิดเห็น นอ้ ย ที่สดุ มาก ปาน นอ้ ย ทส่ี ุด 1 กจิ กรรมแนะแนวเป็นกจิ กรรมที่นา่ สนใจ 2 การเรยี นกจิ กรรมแนะแนวได้ฝกึ ฝน พัฒนา กลาง ตนเองทาให้อยากเรยี นรเู้ พ่มิ ขึ้น 24 3 การเรยี นกจิ กรรมแนะแนวสนุก เพราะได้เรยี นรู้ จากการจดั กิจกรรมอย่างหลากหลาย 4 กจิ กรรมแนะแนวทาใหส้ ามารถทางานรว่ มกับ ผู้อ่นื ไดเ้ ปน็ อย่างดี 5 การเรียนกจิ กรรมแนะแนวส่งเสรมิ ให้ นกั เรียนมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมการเรยี น 6 ครูจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนกระตนุ้ ให้ใช้ ทักษะการคิดวิเคราะห์ 7 นกั เรียนมีบทบาทในการเรียนมากกวา่ ครู 8 การเรียนกิจกรรมแนะแนวชว่ ยฝกึ ให้เป็นคนมี เหตุผลกลา้ แสดงออก 9 การเรียนกิจกรรมแนะแนวชว่ ยใหร้ ูจ้ ักตดั สนิ ใจ และแกป้ ๎ญหา 10 การเรียนกจิ กรรมแนะแนวนามาใชใ้ นชีวิต ประจาวนั ได้ เกณฑก์ ารเทียบคะแนนจากการประเมิน 5 หมายถงึ เห็นดว้ ยในระดบั มากทสี่ ุด 4 หมายถงึ เห็นดว้ ยในระดบั มาก 3 หมายถึง เห็นด้วยในระดบั ปานกลาง 2 หมายถึง เหน็ ด้วยในระดับนอ้ ย 1 หมายถงึ เหน็ ดว้ ยในระดบั นอ้ ยที่สุด
ใบงานท่ี 2 แบบสารวจความตอ้ งการของนกั เรียน ชอ่ื – สกุล................................................................. อายุ............ปี ชน้ั ประถมศึกษาปีที่............/............. คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรยี นเขียนตัวเลข 1, 2, 3 ในชอ่ งว่างหน้าข้อความ โดย 1 หมายถงึ อันดับท่นี กั เรยี นต้องการ เลอื กมากท่สี ดุ และ 2, 3 เปน็ อันดับทตี่ อ้ งการเลอื กรองลงมาตามลาดบั 25
26
ใบความรู้ 27 เรอื่ ง ปฐมนิเทศกจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกิจกรรมหนึ่งที่สถานศึกษาต้องจัดให้นักเรียนในทุกช่วงช้ัน การศึกษาเพ่ือส่งเสริมและพัฒนาความสามารถของนักเรียนให้เหมาะสม ตามความแตกต่าง ระหว่างบุคคล ทาให้นักเรียนสามารถค้นพบและพัฒนาศักยภาพของตน อีกท้ังเสริมสร้าง นักเรียนในด้านทักษะชีวิต วุฒิภาวะทางอารมณ์ การเรียนรู้การสร้างสัมพันธภาพที่ดี ท้ังนี้ เพื่อใหน้ ักเรยี นได้พฒั นาตนเองสูโ่ ลกอาชพี และการมีงานทา คาอธบิ ายกิจกรรมแนะแนว เข้าใจและค้นหาจุดเด่นจุดด้อยของตนเอง มีความพึงพอใจในตนเองตามสภาพที่เป็นอยู่ สามารถแก้ป๎ญหาด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสมกับวัย มีทักษะในการตัดสินใจอย่างเหมาะสม กับสถานการณ์เรียนรู้ความรู้สึกของตนเองและผู้อื่น วางแผนอนาคตอย่างเป็นระบบและมี ขอ้ มูลประกอบท่ถี กู ต้อง มคี วามภาคภูมิใจในความเปน็ ไทย จุดมุ่งหมายของงานแนะแนว งานแนะแนวที่โรงเรียนจดั ข้ึนเพ่อื ใหบ้ รกิ ารแกน่ ักเรียน มจี ุดมุง่ หมาย ดังน้ี 1. การแนะแนวการศึกษาโดยมุ่งหวังให้นักเรียนพัฒนาการเรียนได้เต็มศักยภาพ รู้จัก แสวงหาความรู้และวางแผนการเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถปรับตัวด้านการเรียน และมนี ิสยั ใฝรุ ู้ ใฝเุ รยี น 2. การแนะแนวอาชีพช่วยให้นักเรียนรู้จักตนเองและโลกของงานอย่างหลากหลาย มีเจตคติและมีนิสัยที่ดีในการทางาน มีโอกาสได้รับประสบการณ์และฝึกงานตามความถนัด ความสนใจ 3. การแนะแนวเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพช่วยให้นักเรียนเข้าใจตนเอง รักและเห็นคุณค่าใน ตนเองและผู้อ่ืน มีอารมณ์ม่ันคง มีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดี เข้าใจส่ิงแวดล้อม และสามารถปรับตัวให้ ดารงชีวิตอยใู่ นสังคมได้อย่างเป็นสุข
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 28 ในการเรียนการสอนกิจกรรมแนะแนว มีการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ดังนี้ 1. กิจกรรมรจู้ ักและเหน็ คุณค่าในตนเองและผู้อน่ื 2. กจิ กรรมการตดั สินใจและแกป้ ญ๎ หา 3. กิจกรรมการปรับตวั และการดารงชวี ติ 4. กิจกรรมการแสวงหาและใช้ขอ้ มลู สารสนเทศ การวดั และประเมนิ ผลกจิ กรรมแนะแนว 1. ประเมนิ การผ่านจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 2. ประเมินจากการสงั เกตพฤติกรรม และประเมินคุณลักษณะด้านคุณธรรม จริยธรรม ดังตอ่ ไปน้ี 2.1 ด้านความมุ่งม่ันขยันหมั่นเพียรได้แก่ พฤติกรรมการปฏิบัติตามหน้าที่ที่ได้รับ มอบหมายด้วยความตั้งใจและพฤตกิ รรมการสง่ งานตรงเวลา 2.2 ด้านความซ่ือสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น ได้แก่ พฤติกรรมการยอมรับในผลงาน ตนเองและพฤติกรรมการไม่รบกวนผู้อื่น 2.3 ด้านความมีระเบียบวินัย ได้แก่ พฤติกรรมการเข้าเรียนตรงเวลา และผลงาน สะอาดเรียบรอ้ ยถูกตอ้ ง 2.4 ด้านความสามัคคี ได้แก่ พฤติกรรมการร่วมมือกันปฏิบัติงานจนสาเร็จและ พฤตกิ รรม มคี วามเป็นประชาธปิ ไตย 2.5 ด้านความมีน้าใจ ได้แก่ พฤติกรรมการช่วยเหลือเพ่ือนและพฤติกรรมการ อธิบายความรใู้ หซ้ ึ่งกนั และกัน 3. ประเมินจากการมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมแนะแนวไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลา ทัง้ หมดท่จี ัดกจิ กรรมตลอดปกี ารศึกษา ทมี่ า : สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2555). แนวทางการจดั กิจกรรมแนะ แนวตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราชการ 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชมุ นุม สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
แผนการจดั กิจกรรมแนะแนวที่ 2 หน่วยการจดั กิจกรรมดา้ นการศกึ ษา ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 1-3 เรือ่ ง เคลด็ ลับเรียนดี จานวน 3 ชว่ั โมง -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. สาระสาคญั การเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ มีวิธีปฏิบัติซึ่งนักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ว่าจะทาอย่างไรจึงจะได้ชื่อว่า เปน็ ผ้ทู ่เี รยี นเกง่ โดยนักเรยี นศึกษาวิธกี ารเรยี นของผูป้ ระสบความสาเร็จในการเรียน แล้วนาข้อปฏิบัติเหล่านั้น มาใชเ้ ป็นแนวทางการปฏิบตั ไิ ด้อยา่ งเหมาะสม เพ่ือให้นักเรียนเปน็ อกี คนหนึง่ ท่ีประสบความสาเรจ็ ในการเรยี น 2. สมรรถนะการแนะแนว : ดา้ นการศึกษา ข้อ 1 รู้ เขา้ ใจและมีเจตคตทิ ี่ดีตอ่ การเรียนร้ตู ามหลกั สตู ร 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ปฏิบตั ติ นใหเ้ ปน็ ผู้เรียนที่มีประสทิ ธิภาพ 3.2 รู้จักแสวงหาและใช้ข้อมลู สารสนเทศ 4. สาระการเรยี นรู้ 29 ศึกษาวิธกี ารเรียนของผปู้ ระสบความสาเร็จในการเรียน 5. ชน้ิ งาน / ภาระงาน (ถา้ มี) 5.1 การร่วมกนั อภปิ ราย 5.2 ใบงาน 6. วธิ ีการจดั กจิ กรรม 6.1 ครชู วนนักเรยี นสนทนาถึงระดบั ผลการเรียนตอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 นักเรียนคิดว่าตนเองเป็น คนทเ่ี รียนดหี รือไม่ เพราะอะไร สุ่มตัวแทนนักเรียนตอบให้เพื่อน ๆ ช่วยกันเลือกตัวแทนที่เรียนดีท่ีสุดของห้อง ออกมาหนา้ ชน้ั เรยี น 3-5 คน เพื่อใหบ้ อกเคล็ดลบั การเรยี นดขี องตนเองให้เพื่อน ๆ ฟง๎ 6.2 ครถู ามนกั เรียนว่า หากเราจะเรยี นใหด้ เี ราจะต้องปฏบิ ัตติ นอย่างไรบา้ ง นกั เรยี นชว่ ยกนั ตอบ 6.3 นกั เรยี นยกตัวอย่างบุคคลที่เรยี นดที ี่นักเรยี นรูจ้ กั 6.4 นักเรียนศกึ ษาใบความรู้เรอ่ื ง “8 กลมุ่ สาระ” และตอบคาถาม 6.5 นักเรยี นทาใบงานเร่ือง “8 กลมุ่ สาระ”
6.6 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงเคล็ดลับการเรียนดีจากแหล่งต่างๆ เช่น หนังสือ อินเทอร์เน็ต 30 การสัมภาษณ์ผู้ท่ีเรียนเก่ง และช่วยกันสรุปถึงวิธีการปฏิบัติตนให้เป็นผู้ที่ได้ชื่อว่า “เป็นผู้ท่ีเรียนดี” ครูแนะนา ให้นกั เรยี นไปศกึ ษาเคลด็ ลบั เรียนดจี ากแหล่งต่าง ๆ และนาไปปฏบิ ตั อิ ย่างตอ่ เนือ่ ง 7. สอ่ื /อุปกรณ์ 7.1 ใบความรเู้ ร่ือง 8 กลุ่มสาระ 7.2 ใบงานเรอื่ ง 8 กลุ่มสาระ 8. การวดั และประเมินผล 8.1 วธิ กี ารวัดและประเมินผล 8.1.1 สงั เกตความสนใจในการฟ๎ง การตอบคาถาม และการร่วมอภิปรายแสดงความคดิ เห็น 8.1.2 ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน และความเรยี บร้อยของใบงาน 8.2 เครื่องมือ - 8.3 เกณฑก์ ารประเมิน 8.3.1 สงั เกตการปฏบิ ตั ิกิจกรรม เกณฑ์ ตวั บง่ ชี้ ผ่าน มคี วามสนใจในการฟ๎ง การตอบคาถาม การร่วมอภิปรายแสดงความคิดเหน็ ไม่ผ่าน ขาดส่ิงใดสิ่งหนึ่ง 8.3.2 ตรวจใบงาน เกณฑ์ ตัวบ่งช้ี ผ่าน ทาใบงานถกู ต้อง ครบถ้วน และสง่ งานตามกาหนด ไมผ่ า่ น ขาดส่งิ ใดสงิ่ หน่งึ
31
32 ที่มา : สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2555). แนวทางการพฒั นาทักษะชวี ติ บูรณาการการเรยี นการสอน 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศ.
แผนการจดั กิจกรรมแนะแนวท่ี 3 หนว่ ยการจัดกจิ กรรมด้านการศึกษา ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1-3 เรอ่ื ง ยอดนกั สู้ จานวน 3 ช่วั โมง -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. สาระสาคัญ การศึกษาเคล็ดลับการเรียนเก่งจากผู้ท่ีประสบความสาเร็จในการเรียน จะทาให้ได้แนวทางการเรียน เพอื่ นามาประยกุ ต์ใช้และปรบั ปรงุ ใหส้ อดคล้องเหมาะสมกบั ตนเอง เพื่อสง่ ผลให้นักเรยี นมผี ลการเรยี นทดี่ ีขึ้น 2. สมรรถนะการแนะแนว : ดา้ นการศึกษา ข้อ 2 มีคา่ นยิ มในการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต 3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 บอกเคลด็ ลับการเรียนเก่งจากผ้ทู ป่ี ระสบผลสาเร็จในการเรยี น 3.2 แสวงหาและใชข้ ้อมลู สารสนเทศได้ 4. สาระการเรยี นรู้ 33 เทคนิคการเรียนเกง่ 5. ช้นิ งาน / ภาระงาน (ถ้ามี) การรว่ มกันอภิปราย 6. วธิ กี ารจดั กิจกรรม 6.1 ครูพูดคุยกับนักเรียนถึงวิธีการเรียนให้ประสบความสาเร็จนั้นต้องมีอะไรบ้าง จากนั้นครูกล่าว เพ่ิมเติมและถามนักเรียนว่าเคยได้ยินคาว่า “สุ จิ ปุ ลิ” บ้างไหม ถามนักเรียนคนท่ีรู้คาตอบว่าคืออะไร หรอื สุม่ ถามนกั เรียน 3 – 4 คน โดยครูยังไม่ต้องสรุปคาตอบ 6.2 ครูขออาสาสมัครนักเรียนบอกถึงเทคนิควิธีการเรียนท่ีนักเรียนใช้ในการเรียนวิชาต่าง ๆ เพื่อให้ ได้ผลการเรียนดี อาสาสมัครนกั เรียน 3 - 4 คน ออกมาพดู ให้เพอื่ นฟง๎ หน้าชัน้ เรียน 6.3 ครูถามนักเรียนอกี ครัง้ ว่า “หัวใจนักปราชญ์” คอื อะไร จากน้นั ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษา ใบความรเู้ รื่อง “หัวใจนักปราชญ์” เปน็ รายบคุ คลด้วยตนเองใหเ้ วลาศกึ ษา 15 นาที 6.4 นกั เรยี นทาใบงานเรอ่ื ง “หวั ใจนกั ปราชญ์” 6.5 ครกู ลา่ วทบทวนถึงเนอื้ หารายละเอยี ด เร่อื ง “หัวใจนักปราชญ์” 6.6 ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปข้อคดิ ทไี่ ด้จากกิจกรรม
ครสู รปุ ประเด็นสาคัญเพม่ิ เติม ดงั น้ี การหม่ันทบทวนตนเองด้านการเรยี นอยู่เสมอเป็นสิง่ ทน่ี ักเรียนทุกคนพึงปฏบิ ตั ิ เพื่อไปให้ถงึ ซ่ึงเปูาหมายทีน่ ักเรียนต้องการ ดังเชน่ คากลอนทวี่ า่ เรยี นดเี รยี นอย่างไร เรยี นด้วยใจหวิ วชิ า อยากรู้ดูตารา ยิง่ คน้ ควา้ ยิ่งพาเพลนิ ยง่ิ เรยี นยิ่งสนุก ผลักความทุกข์พน้ ทางเดิน ไม่หิวไม่อม่ิ เกิน ไมห่ า่ งเหินไม่โหมเอย่ 7. ส่ือ/อปุ กรณ์ 7.1 ใบงาน เรื่อง หัวใจนักปราชญ์ 7.2 ใบความรู้ เร่อื ง หัวใจนกั ปราชญ์ 8. การวัดและประเมนิ ผล 34 8.1 วธิ กี ารวัดและประเมินผล 8.1.1 สังเกตความสนใจในการฟ๎ง การตอบคาถาม และการร่วมอภปิ รายแสดงความคิดเห็น 8.1.2 ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ครบถ้วน และความเรยี บรอ้ ยของใบงาน 8.2 เครอื่ งมือ - 8.3 เกณฑก์ ารประเมนิ 8.3.1 สังเกตการปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ ตัวบง่ ช้ี ผา่ น มคี วามสนใจในการฟง๎ การตอบคาถาม การรว่ มอภิปรายแสดงความคดิ เหน็ ไม่ผ่าน ขาดสิง่ ใดส่งิ หนึง่ 8.3.2 ตรวจใบงาน เกณฑ์ ตัวบ่งชี้ ผ่าน ทาใบงานถูกต้อง ครบถว้ น และสง่ งานตามกาหนด ไม่ผ่าน ขาดสิ่งใดสง่ิ หนงึ่
ใบงาน เร่อื ง หัวใจนักปราชญ์ คาชแี้ จง ให้นกั เรยี นตอบคาถามต่อไปน้ี 1. หัวใจนักปราชญ์คอื ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. หวั ใจนักปราชญ์ประกอบด้วยอะไรบา้ ง จงอธบิ าย 35 2.1 ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2.2 ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2.3 ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2.4 ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 3. นกั เรียนสามารถฝึกฝนตนเองให้เป็นผทู้ มี่ ีหัวใจนักปราชญ์ได้อยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………
ใบความรู้ เรอ่ื ง หัวใจนกั ปราชญ์ หลักหัวใจนักปราชญ์ (สุ จิ ปุ ลิ) ทาอย่างไรเราจึงจะเป็นผู้รอบรู้ หรือ สามารถฝึกฝนให้ผู้อ่ืน 36 เป็นผู้รอบรู้ได้ ตามหลัก พุทธศาสนาจะสอนให้ปฏิบัติตามหลักหัวใจ นักปราชญ์ ซึ่งเป็นหลักปฏิบัติ เพอื่ ใหเ้ ป็นผ้รู อบรู้ และเชย่ี วชาญในเร่อื งใดเรอ่ื งหน่งึ โดยมหี ลกั ปฏบิ ัติ 4 ประการคือ 1. สุตะ คือการฟง๎ ซึง่ รวมทงั้ การดู และการอ่านจากสื่อตา่ ง ๆ 2. จติ ตะ คือการคดิ โดยน าส่งิ ทฟ่ี ง๎ หรอื อา่ นมานน้ั มาคิดพิจารณา 3. ปจุ ฉา คอื การสอบถามผรู้ ู้ 4. ลขิ ติ คอื การจดจาหรอื บันทึก สุ คือ สุตะ หมายถึง รู้ได้ด้วยการฟ๎ง ที่สาคัญต้อง ฟ๎งอย่างต้ังใจ ฟ๎งให้ต่อเน่ือง มีสมาธิ ในการฟ๎ง ก็ต้องควบคกู่ บั การอา่ นมากดว้ ย จิ คือ จิตตะ หมายถึง รู้ได้ด้วยการคิด มีจินตนาการ สร้างสรรค์ เม่ือฟ๎งแล้วอ่านแล้ว ตอ้ งนามาคิด คดิ อย่างมีวิจารณญาณ แยกแยะได้อย่างเหมาะสม ปุ คือ ปุจฉา หมายถึง รู้ได้ด้วยการ สอบถาม การค้นคว้า การสืบค้นหาความรู้ เพื่อให้ได้ ข้อมูลมากย่ิงข้นึ หรอื ถูกตอ้ ง หรอื หาขอ้ มลู ท่ีเก่ยี วขอ้ งได้ ลิ คือ ลิขิต หมายถึง รู้ได้ ด้วยการเขียน การจดบันทึกความรู้ด้วยความ เข้าใจจากการฟ๎ง การคดิ การถาม การเขียนจงึ เป็นบทสรุปของหวั ใจทัง้ หมดของนกั ปราชญ์ และเป็นหัวใจทีส่ าคัญทสี่ ดุ ทม่ี า : พระมหาอดุ ร อุตฺตโร (มากดี). (2557). รปู แบบแหง่ การจัดการการเรยี นรู้ตามหลักพทุ ธธรรม Learning Management Model Based on Buddhist principle. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ. ปีท่ี 1 ฉบบั ที่ 2 กนั ยายน-ธนั วาคม.
แผนการจัดกจิ กรรมแนะแนวท่ี 4 หน่วยการจัดกจิ กรรมดา้ นการศกึ ษา ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1-3 เรือ่ ง วางแผนดีมีชัย จานวน 3 ชั่วโมง -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. สาระสาคญั ผลการเรียนเป็นสิ่งทแ่ี สดงถึงความสามารถทางการเรียนของผเู้ รียน ซ่ึงเป็นผลจากพฤติกรรมการเรียน ที่ผ่านมา ดังนั้นการพัฒนาพฤติกรรมการเรียนให้เหมาะสมย่อมส่งผลต่อการพัฒนาความสามารถทาง การเรียนด้วย 2. สมรรถนะการแนะแนว : ด้านการศึกษา ข้อ 3 ใชข้ อ้ มูลในการวางแผนการศกึ ษา 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 37 3.1 บอกระดับความสามารถทางการเรียนของตนได้ 3.2 บอกคุณค่าของวชิ าตา่ ง ๆ ในหลกั สูตรกบั ชีวิตได้ 3.3 บอกวธิ ีการปฏบิ ัตติ นเพื่อการปรับปรงุ และพฒั นาผลการเรียน 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 ระดบั ความสามารถทางการเรียนของตน 4.2 วธิ ปี ฏิบัติตนเพ่อื ปรับปรุงและพัฒนาผลการเรยี น 5. ช้นิ งาน / ภาระงาน (ถ้ามี) - 6. วธิ ีการจัดกิจกรรม 6.1 ครูกับนักเรยี นรว่ มร้องเพลง ไดเ้ วลาแล้ว “ไดเ้ วลาแลว้ เข้าแถวมาเล่า มาเรยี น เราต้องพากเพียร หมุนเวียนเรยี นเร่อื ยไป อยู่ท่ีไหน มวั ทาอะไร รบี เรง่ เร็วไว ชา้ ไปจะเรียนไมท่ ันเรยี น” จากนน้ั สนทนากบั นักเรยี นเกี่ยวกบั เนอ้ื หาในเพลง แลว้ นาเข้าสูบ่ ทเรียนเรอ่ื งการเรียนหนังสือ 6.2 ครใู หน้ ักเรยี นแตล่ ะคนบอกวิชาที่ตนเองชอบพรอ้ มเหตุผลโดยกาหนดเวลาไม่เกินคนละ 1 นาที 6.3 ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั สรุปรายวชิ าทีน่ ักเรียนสว่ นใหญช่ อบ แล้วเช่ือมโยงให้เหน็ ว่าความจรงิ แลว้ นักเรียนตอ้ งเรียนวชิ าที่ไม่ชอบด้วย
6.4 ครูสนทนาประกอบการซกั ถามนักเรยี นเกย่ี วกบั คณุ คา่ ของวิชาต่าง ๆ ในหลักสตู ร 38 6.5 ครใู หน้ กั เรยี นชมวีดทิ ศั น์เพลงคาถาเรยี นเกง่ แล้วให้นกั เรียนรอ้ งตาม 6.6 นกั เรยี นช่วยกนั สรปุ แนวทางการเรียนเกง่ จากการชมวีดทิ ัศนเ์ พลงคาถาเรียนเก่ง โดยครูช่วยสรุป เพม่ิ เตมิ ในประเดน็ ทขี่ าดหายไป 6.7 ครูแจกใบงานเรอ่ื ง วชิ าทฉ่ี นั เรียนในชนั้ ป.1-3 คืนใหน้ ักเรียนทุกคน เพื่อกรอกผลการเรียนทีไ่ ด้ (ใบงานที่ 1 เรื่อง วิชาท่ีฉันเรียนในช้ัน ป.1-3 ได้วางแผนให้นักเรียนทาไว้ในภาคเรียนท่ี 1 และครูเก็บไว้ให้ เพอ่ื ใช้เป็นใบงานนาสกู่ ารเรยี นรูใ้ นช่ัวโมงนี้) 6.8 ครตู ัง้ ประเดน็ ใหน้ กั เรยี นพจิ ารณาตนเองและอภิปรายรว่ มกนั ดังนี้ - สามารถทาไดต้ ามเปาู หมายท่ตี ้งั ไว้หรือไม่ และเปน็ เพราะอะไร - จุดดีของตนเองท่จี ะรกั ษาไว้ - จดุ อ่อนทีจ่ ะแก้ไข 6.9 ครมู อบหมายให้นักเรียนทาใบงานท่ี 2 เร่ือง มองผลการเรียน เป็นการบ้านและนาเสนอในชั่วโมง ถดั ไป 6.10 ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรปุ กิจกรรม 7. สอ่ื /อปุ กรณ์ 7.1 เพลงได้เวลาแล้ว 7.2 วีดิทศั น์เพลงคาถาเรียนเกง่ (5.09 นาที) จาก https://www.youtube.com/watch?v=Tyl5ebrtMXM 7.3 ใบงานท่ี 1 เรื่อง วิชาทีฉ่ ันเรียนในช้นั ป.1-3 7.4 ใบงานที่ 2 เรื่อง มองผลการเรยี น 8. การวดั และประเมินผล 8.1 วธิ กี ารวัดและประเมินผล 8.1.1 สงั เกตความสนใจในการฟ๎ง การตอบคาถาม และการร่วมอภิปรายแสดงความคดิ เห็น 8.1.2 ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถว้ น และความเรียบรอ้ ยของใบงาน 8.2 เคร่ืองมือ -
8.3 เกณฑก์ ารประเมนิ 8.3.1 สงั เกตการปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์ ตัวบง่ ช้ี ผ่าน มีความสนใจในการฟง๎ การตอบคาถาม การร่วมอภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ ไม่ผา่ น ขาดสิ่งใดส่ิงหนงึ่ 8.3.2 ตรวจใบงาน เกณฑ์ ตัวบง่ ชี้ ผ่าน ทาใบงานถกู ต้อง ครบถ้วน และส่งงานตามกาหนด ไม่ผา่ น ขาดสิ่งใดสง่ิ หนึ่ง 39
ใบงานท่ี 1 เรอ่ื ง วิชาที่ฉันเรยี นในชั้น ป.1-3 คาชี้แจง ให้นกั เรียนปฏิบตั กิ ิจกรรมตอ่ ไปน้ี 40
41
ใบงานท่ี 2 เรอ่ื ง มองผลการเรยี น คาชี้แจง 1. ใหน้ กั เรียนประเมนิ ผลการเรยี น (ก่อนซ่อมเสรมิ ) กับเปูาหมายทต่ี ้ังไว้ก่อนเรยี น ผลการเรยี นช้นั ป.1-3 ภาคเรียนท่ี 1 รายวชิ า กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน จานวนวิชาทเ่ี รยี นทง้ั หมด.........................วิชา จานวนกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น................กิจกรรม สอบได.้ ..............วชิ า สอบตก.................วชิ า ผ่านตามเปาู หมาย...............................กิจกรรม ได้เกรดตามเปูาหมายหรือมากกวา่ ............วชิ า ไม่ผ่านตามเปาู หมาย...........................กจิ กรรม ได้เกรดไม่ถงึ เปูาหมาย.............................วิชา เกรดเฉลย่ี เกรดเฉลย่ี ภาคเรียนที่ 1 ทต่ี ง้ั เปูาหมายไว้ คือ…………เกรดเฉลี่ยทไี่ ด้จริง คือ………………… ผล ทาไดต้ ามเปูาหมาย ไม่ถงึ เปาู หมาย เกรดเฉลย่ี คณุ ภาพการเรยี น คาเตอื นใจ ระบายสยี า้ เตือนตวั เอง 42 3.50 – 4.00 อยา่ ระเริงใจ ดารงรักษาไว้ 3.00 – 3.49 อย่าชะล่าใจพัฒนาต่อไป 2.50 – 2.99 อย่าเพ่ิงพอใจพยายามอีก 2.00 – 2.49 …..สู้ต่อ 1.50 – 1.99 …….ส้ๆู 0.00 – 1.49 ---- ...ส้ตู าย จดุ แขง็ ทีจ่ ะรักษาไว้ จุดอ่อนทจ่ี ะแกไ้ ข การกระทาทส่ี ่งผลดตี อ่ การเรยี นและจะทาตอ่ ไป การกระทาท่ไี มส่ ง่ ผลดีต่อการเรยี น ที่จะแกไ้ ข ………………………………………………….................................... ………………………………………………….……………………………… ............................................................................................. ………………………………………………….……………………………… ............................................................................................. ………………………………………………….……………………………… ............................................................................................. ………………………………………………….……………………………… ............................................................................................. ........................................................................................................ ชือ่ -สกุลนักเรยี น..............................................................................................ช้ัน ป.2/..........เลขท.ี่ ..........
ใบงานเร่อื ง คนตน้ แบบ (บุคคลตวั อย่าง/ทชี่ นื่ ชอบ) 2. ให้นักเรยี นคน้ หาคนตน้ แบบทางการเรียน 1 คน และกรอกข้อมลู ตามใบงาน ชอ่ื -สกลุ .................................................................................................. ยังมีชวี ิตอยู่ อายุ.......ปี รปู ภาพคนต้นแบบ เสยี ชีวิตแล้ว อาชีพ .............................................. .............................................. การศกึ ษา .............................................. .............................................. สถาบัน .............................................. .............................................. 43 1. เหตุผลทเ่ี ลือกเป็นคนตน้ แบบทางการเรียน ............................................................................................................................. .......................................... ......................................................................................... ..................................................... ........................ ............................................................................................................................. ......................................... ........................................................................................................................................ .............................. 2. คต/ิ ข้อคดิ ท่ีได้จากบุคคลตัวอยา่ ง/คนที่ชน่ื ชอบ ท่ีสามารถนามาปรับใชก้ ับตวั ของนกั เรียนได้ ............................................................................................................................. .......................................... .................................................................................................. .................................................................... ............................................................................................................................. ......................................... ................................................................................................................................................. ..................... 3. สงิ่ ท่ีนักเรียนยงั ขาดอย่แู ละต้องพฒั นาให้เหมือนบุคคลตวั อยา่ ง/คนที่ช่นื ชอบ คืออะไร ............................................................................................................................. .......................................... ................................................................................................................. ..................................................... ............................................................................................................................. ......................................... .......................................................................................................................................................... ............
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนวท่ี 5 หน่วยการจัดกิจกรรมด้านการศึกษา ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 1-3 เรือ่ ง การเตรียมพร้อมก่อนเรยี น จานวน 3 ชั่วโมง -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. สาระสาคัญ การจัดเตรียมอุปกรณ์การเรียนให้พร้อม สาหรับการเรียนในแต่ละวัน เป็นการฝึกการวางแผน การเรยี นขน้ั ต้น ซึ่งจะชว่ ยส่งเสรมิ ทกั ษะทางดา้ นการเรยี นใหม้ ีประสิทธภิ าพได้ 2. สมรรถนะการแนะแนว : ด้านการศกึ ษา ข้อ 4 พัฒนาตนเองดา้ นการเรยี นได้เต็มตามศักยภาพ 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 บอกแนวทางการศึกษา และพฒั นาทักษะทางการเรียน 3.2 บอกประโยชนข์ องอปุ กรณก์ ารเรียนที่จาเปน็ ได้ 3.3 วางแผนในการเตรียมของอุปกรณ์การเรียนและสามารถนาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวันได้ 4. สาระการเรียนรู้ 44 ทกั ษะทางการเรยี น 5. ชิ้นงาน / ภาระงาน (ถ้ามี) - 6. วิธีการจัดกิจกรรม 6.1 นักเรยี นนง่ั สมาธเิ พอ่ื เตรยี มความพรอ้ มก่อนเรียนเปน็ เวลา 2 นาที 6.2 นกั เรยี นชมวดี ทิ ศั น์เร่ือง 10 วิธเี รียนเกง่ แลว้ สนทนาเกี่ยวกบั แนวทางการเรียนทีม่ ปี ระสิทธิภาพ 6.3 ครูสนทนากับนกั เรียนเช่อื มโยงเกย่ี วกับการเรียนในบริบทนักเรียนประถมศึกษาตอนตน้ 6.4 ครูสนทนาซักถามนักเรียน โดยให้นักเรียนคิดว่า ก่อนที่นักเรียนจะมาโรงเรียน ได้เตรียมตัว อย่างไร และตอ้ งเตรยี มอุปกรณอ์ ะไรบ้างท่ใี ชใ้ นการเรยี น ให้นักเรียนยกมือตอบ ครเู ป็นผู้บันทึกไว้บนกระดาน 6.5 ครอู ธบิ ายถึงอปุ กรณ์ต่าง ๆ ทใ่ี ชใ้ นการเรียนรู้ พร้อมกับยกตัวอย่างจากคาตอบของผู้เรียน และให้ นักเรียนดตู ัวอย่างของอปุ กรณ์การเรียน 6.6 นกั เรยี นทา “กิจกรรมเตรยี มตวั กอ่ นเรียนอย่างไรดี” โดยกิจกรรมน้ีเป็นกิจกรรมเกี่ยวกับการวาดภาพ อปุ กรณท์ น่ี กั เรียนต้องนามาโรงเรียน โดยเรียงลาดับสิง่ ทนี่ กั เรียนคิดวา่ ต้องเตรียมมาก่อน-หลัง และระบายสีให้ สวยงาม
6.7 นักเรียนนาเสนอผลงานตนเองหน้าชั้นเรียนถึงรูปท่ีนักเรียนวาด ว่ามีรูปอะไรบ้าง และทาไม 45 นกั เรยี นถงึ เรียงลาดบั รปู ทีน่ กั เรียนวาดเปน็ แบบนน้ั 6.8 ซักถามกนั ระหวา่ งนกั เรียนและครู 6.9 นกั เรยี นและครรู ว่ มกนั สรปุ ใจความสาคญั ครบถว้ นตรงตามสาระการเรียนรู้นั้น 6.10 ใหน้ กั เรยี นโยงเส้นของอุปกรณ์การเรยี นรู้ใหส้ มั พนั ธ์กับประโยชนข์ องการใชง้ านลงในใบงานแล้ว ส่งทา้ ยชวั่ โมง 7. สอ่ื /อุปกรณ์ 7.1 วดี ิทศั น์เรื่อง 10 วธิ ีเรียนเก่ง (8.36 นาท)ี จาก https://www.youtube.com/watch?v=XruQW0aG0ao 7.2 รปู ภาพประกอบเร่ืองอปุ กรณ์การเรยี น 7.3 ใบงานเร่อื ง เตรียมตัวก่อนเรียนอยา่ งไรดี 8. การวัดและประเมนิ ผล 8.1 วิธีการวดั และประเมินผล 8.1.1 สงั เกตความสนใจในการฟ๎ง การตอบคาถาม และการร่วมอภปิ รายแสดงความคิดเหน็ 8.1.2 ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ครบถ้วน และความเรยี บรอ้ ยของใบงาน 8.2 เคร่อื งมอื - 8.3 เกณฑก์ ารประเมนิ 8.3.1 สงั เกตการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม เกณฑ์ ตวั บ่งชี้ ผา่ น มีความสนใจในการฟ๎ง การตอบคาถาม การร่วมอภิปรายแสดงความคดิ เหน็ ไมผ่ า่ น ขาดส่ิงใดสิ่งหนงึ่ 8.3.2 ตรวจใบงาน เกณฑ์ ตัวบง่ ช้ี ผา่ น ทาใบงานถูกต้อง ครบถ้วน และส่งงานตามกาหนด ไมผ่ ่าน ขาดสิ่งใดส่งิ หนึง่
ใบงาน เร่ือง เตรียมตัวกอ่ นเรียนอย่างไรดี คาช้แี จง ใหน้ ักเรยี นวาดรูปอปุ กรณ์การเรียนทีน่ ักเรียนคิดวา่ ตอ้ งเตรยี มมาโรงเรยี น ตามลาดับก่อน-หลงั และระบายสีให้สวยงาม 46
แผนการจดั กจิ กรรมแนะแนวท่ี 6 หน่วยการจดั กิจกรรมดา้ นการศึกษา ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1-3 เรอ่ื ง เรียนดีมีวธิ อี ยา่ งไร จานวน 3 ช่วั โมง ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. สาระสาคญั การประเมินผลการเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 นอกจากมีการสอนเหมือนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 แล้วยังมีการทดสอบระดับชาติ National Test (NT) ดังนั้น นักเรียนประถมศึกษาปีท่ี 3 จึงต้องมีการเตรียม ความพร้อมเพื่อรองรบั ผลการทดสอบระดับชาติ 2. สมรรถนะการแนะแนว : ด้านการศกึ ษา ข้อ 4 พฒั นาตนเองดา้ นการเรียนไดเ้ ต็มตามศักยภาพ 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 47 3.1 ระบพุ ฤติกรรมทจ่ี ะนามาใช้ในการปรับตัวด้านการเรียนให้มผี ลการเรยี นระดับดขี ึ้นไป และมคี วาม พรอ้ มสาหรับการประเมินระดับชาติ 3.2 ระบแุ นวทางในการปรับตัวเพ่ือผลการเรยี นระดบั ดีข้ึน 4. สาระการเรียนรู้ วิธกี ารปรับตัวด้านการเรียน 5. ช้ินงาน / ภาระงาน (ถา้ มี) - 6. วธิ กี ารจัดกิจกรรม 6.1ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับผลการเรียนที่ดี คือการได้ผลการเรียนระดับ 3 ข้ึนไป และให้ นักเรียนยกมือถามเป็นรายวิชา 6.2 ครูให้อาสาสมัครนักเรียนท่ีเรียนดีเล่าวิธีการเรียนของตนให้สมาชิกในห้องฟ๎งและให้นักเรียนทุกคน บนั ทึกวธิ ีการเรยี นลงในสมุดแนะแนว 6.3 นักเรยี นร่วมกนั สนทนาเก่ยี วกบั การสอบตอนส้ินปกี ารศึกษา และการทดสอบระดบั ชาติ (NT) 6.4. นักเรียนร่วมกนั คดิ ว่าจะทาอยา่ งไร คะแนนสอบ NT ของโรงเรยี นจงึ จะสูงขึน้ 6.5 ใหน้ ักเรียนศึกษาใบความรู้ เรือ่ ง NT ดีอย่างไร 6.6 ครสู นทนากบั นักเรียนเก่ียวกับประเด็นตอ่ ไปนี้ - มกี ารทดสอบวิชาอะไรบา้ ง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175