Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2563

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2563

Published by sukvit, 2020-07-01 02:22:23

Description: กลุ่มนโยบายและแผน

Search

Read the Text Version

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาพจิ ติ ร เขต 1 กลุ่มนโยบายและแผน

2 คำนำ สำนกั งำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำพิจติ ร เขต 1 ได้จัดทำแผนปฏิบัตกิ ำร ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2563 ฉบบั นี้ขน้ึ เพ่ือใช้เปน็ ค่มู ือในกำรเสรมิ สร้ำงควำมเขม้ แข็งในกำรบริหำร จัดกำรเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำ ใชเ้ ปน็ กรอบกำรดำเนินงำนและขับเคลือ่ นกำรบรหิ ำรจัดกำรศกึ ษำ โดยมสี ำระสำคญั ประกอบด้วย วสิ ยั ทัศน์ พันธกิจ เป้ำประสงค์ กลยทุ ธ์ และตัวช้วี ดั ควำมสำเร็จ โครงกำร กจิ กรรม และงบประมำณ มกี ำรวิเครำะหค์ วำมสอดคล้องของแผนปฏบิ ตั กิ ำรประจำปี กับยทุ ธศำสตรช์ ำติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) แผนพฒั นำเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560-2565) แผนกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. 2560-2579 นโยบำยสำคญั นโยบำยของรฐั บำล นโยบำยของกระทรวงศึกษำธิกำร นโยบำยของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขัน้ พน้ื ฐำน เพอ่ื นำนโยบำยและจุดเนน้ กำหนดตวั ช้ีวัดควำมสำเรจ็ ท่มี งุ่ เน้นกำรพัฒนำคณุ ภำพกำรศึกษำ กำรขยำยโอกำสทำงกำรศึกษำ และประสิทธภิ ำพกำรบรหิ ำรจดั กำรศึกษำขั้นพื้นฐำนท่ีสอดคล้อง ยุทธศำสตร์ กลยทุ ธ์ ในกำรจัดกำรศึกษำเพือ่ กำรพัฒนำที่ยั่งยืน ขอขอบคุณผมู้ ีสว่ นเกี่ยวข้องทุกทำ่ นที่ให้ควำมร่วมมือในกำรจดั ทำแผนปฏิบตั กิ ำร ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 สำเรจ็ ลลุ ว่ งไปดว้ ยดี ซง่ึ จะเป็นประโยชน์ในกำรขบั เคลื่อนกำรจัด กำรศกึ ษำต่อไป สำนักงำนเขตพน้ื ท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำพิจติ ร เขต 1 ธนั วำคม 2563

3 สำรบัญ หน้ำ คำนำ 1 ส่วนท่ี 1 บทนำ 1 สภำพภูมิศำสตร์ 2 ภำรกิจของสำนักงำนเขตพ้นื ที่กำรศึกษำประถมศึกษำพิจติ ร เขต 1 3 ข้อมลู ทำงกำรศกึ ษำ 7 ผลกำรดำเนินงำนท่ีผำ่ นมำ สว่ นที่ 2 ทิศทำงกำรพัฒนำกำรศึกษำ ประจำปงี บประมำณ พ.ศ.2562 11 ยุทธศำสตร์ชำติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) แผนพฒั นำเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชำติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564) 11 นโยบำยสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พ้ืนฐำน ปงี บประมำณ 2563 14 กำรวิเครำะหส์ ภำพแวดลอ้ มองค์กรและบรบิ ทของเขตพ้นื ท่ีกำรศึกษำ 20 สว่ นที่ 3 รำยละเอียดโครงกำร กิจกรรม งบประมำณ 52 สว่ นที่ 4 กำรบริหำรแผนส่กู ำรปฏิบัติ 72 75 ภำคผนวก - คำส่ังสำนกั งำนเขตพื้นที่กำรศกึ ษำประถมศึกษำพจิ ติ ร เขต 1 ที่ 280/2562 เรอ่ื ง แตง่ ตงั้ คณะกรรมกำรจัดทำ แผนพัฒนำคุณภำพกำรศกึ ษำ ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563 – 2565) และแผนปฏิบตั ิกำรประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563

4 สว่ นที่ 1 บทนำ พระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ.2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 และ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ.2553 หมวด 2 มำตรำ 10 ได้กล่ำวถึงกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำนไว้ว่ำ กำรศึกษำต้องจัด ใหบ้ ุคคลมีสิทธแิ ละโอกำส เสมอกันในกำรรับกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำนไม่น้อยกว่ำสิบสองปีท่ีรัฐต้องจัดอย่ำง ทัว่ ถงึ และมคี ณุ ภำพ โดยไม่เก็บค่ำใชจ้ ่ำย กำรจดั กำรศกึ ษำสำหรับบคุ คลซำงมีควำมบกพร่องทำงร่ำงกำย จิตใจ สติปัญญำ อำรมณ์ สังคม กำรสื่อสำร และกำรเรียนรู้ หรือมีร่ำงกำยพิกำร หรือทุพพลภำพ หรือ บุคคลซำงไม่สำมำรถพ่ึงตนเองได้ หรือไม่มีผู้ดูแลหรือ ด้อยโอกำส ต้องจัดให้บุคคลดังกล่ำวมีสิทธิและ โอกำสได้รับกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำนเป็นพิเศษ แผนพัฒนำเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชำติฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564) กรอบทิศทำงแผนกำรศึกษำแห่งชำติ (พ.ศ.2560-2574) แผนปฏิบัติรำชกำร 4 ปี และแผนยุทธศำสตร์กำรปฏิรูปกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน (พ.ศ.2558-2563) ซึ่งได้รับควำมสำคัญ ต่อกำรจัด กำรศกึ ษำข้นั พื้นฐำนต่อประชำกรวยั เรยี นใหไ้ ดร้ ับโอกำสทำงกำรศึกษำอยำ่ งทั่วถึง และมีคณุ ภำพ สภำพภมู ศิ ำสตร์ สำนักงำนเขตพ้ืนที่กำรศึกษำประถมศึกษำพิจิตร เขต 1 ต้ังอยู่ท่ีเลขที่ 27/31 หมู่ที่ 3 ตำบล คลองคะเชนทร์ อำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร ประกอบด้วย อำเภอเมืองพิจิตร อำเภอสำมง่ำม อำเภอโพธิ์ประทบั ช้ำง อำเภอวงั ทรำยพูน อำเภอวชิรบำรมี และอำเภอสำกเหล็ก สภำพพื้นที่โดยทั่วไป เปน็ ทีร่ ำบลุม่ มีพ้ืนทท่ี ้งั สิ้น 2,150,942 ตำรำงกิโลเมตร มีแม่น้ำสำคัญ 3 สำย คือ แม่น้ำน่ำน แม่น้ำยม และแม่น้ำพิจิตร

5  ทิศเหนือ ตดิ ต่อกบั เขตพืน้ ทกี่ ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำพษิ ณโุ ลก เขต 2  ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ กับเขตพืน้ ทก่ี ำรศึกษำประถมศึกษำพจิ ติ ร เขต 2  ทิศตะวนั ออก ติดต่อกับเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำเพชรบูรณ์ เขต 1  ทิศตะวันตก ติดตอ่ กับเขตพืน้ ท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำกำแพงเพชร เขต 1 ภำรกจิ ของสำนักงำนเขตพืน้ ทก่ี ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำพิจิตร เขต 1 อำนำจหน้ำที่ตำมกฎหมำย สำนกั งำนเขตพน้ื ที่กำรศึกษำ มอี ำนำจหน้ำที่ ตำมระเบยี บบริหำรรำชกำรกระทรวง ศึกษำธิกำร กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์ กำรแบ่งส่วนรำชกำรภำยในสำนักงำนเขตพ้ืนที่กำรศึกษำ พ.ศ. 2546 และประกำศกระทรวง เรื่อง แบ่งส่วนรำชกำรสำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำ ให้เขตพื้นท่ีกำรศึกษำมี บทบำทหนำ้ ทีด่ งั ต่อไปนี้ 1. จัดทำนโยบำย แผนพัฒนำ และมำตรฐำนกำรศึกษำของเขตพื้นที่กำรศึกษำให้สอดคล้องกับ นโยบำย มำตรฐำนกำรศึกษำ แผนกำรศึกษำ แผนพัฒนำกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนและควำมต้องกำรของ ทอ้ งถ่นิ 2. วิเครำะห์กำรจัดต้ังงบประมำณเงินอุดหนุนท่ัวไปของสถำนศึกษำและหน่วยงำนในเขตพ้ืนท่ี กำรศึกษำและแจ้งกำรจัดสรรงบประมำณที่ได้รับให้หน่วยงำนข้ำงต้นรับทรำบ รวมทั้งกำกับ ตรวจสอบ ติดตำมกำรใช้จ่ำยงบประมำณของหนว่ ยงำนดงั กล่ำวด้วย 3. ประสำน ส่งเสริม สนบั สนุนและพัฒนำหลักสูตรรว่ มกบั สถำนศกึ ษำในเขตพ้นื ทีก่ ำรศึกษำ 4. กำกบั ดแู ล ติดตำมและประเมินผลสถำนศึกษำข้นั พืน้ ฐำนและในเขตพืน้ ทีก่ ำรศึกษำ 5. ศึกษำ วเิ ครำะห์ วิจยั และรวบรวมข้อมลู สำรสนเทศด้ำนกำรศึกษำในเขตพน้ื ทีก่ ำรศึกษำ 6. ประสำนกำรระดมทรัพยำกรดำ้ นตำ่ งๆ รวมท้ังทรัพยำกรบคุ คล เพ่ือส่งเสรมิ สนบั สนนุ กำรจัด และกำรพฒั นำกำรศกึ ษำในเขตพืน้ ท่ีกำรศกึ ษำ 7. จัดระบบกำรประกนั คุณภำพกำรศึกษำ และประเมินผลสถำนศกึ ษำในเขตพืน้ ที่กำรศึกษำ 8. ประสำนส่งเสรมิ สนับสนนุ กำรจัดกำรศึกษำของสถำนศึกษำเอกชน องค์กรปกครองส่วน ท้องถน่ิ รวมทง้ั บคุ คล องค์กรชมุ ชน องคก์ รวิชำชีพ สถำบันศำสนำ สถำนประกอบกำร และสถำบนั อนื่ ท่ี จัดรูปแบบที่หลำกหลำยในเขตพ้ืนที่กำรศกึ ษำ 9. ดำเนนิ กำรและประสำน สง่ เสริม สนบั สนนุ กำรวิจยั และพฒั นำกำรศึกษำในเขตพน้ื ที่ กำรศกึ ษำ 10. ประสำน ส่งเสริม กำรดำเนนิ งำนของคณะอนุกรรมกำร และคณะทำงำนด้ำนกำรศึกษำ 11. ประสำนกำรปฏิบัติรำชกำรทัว่ ไปกบั องค์กรหรอื หน่วยงำนต่ำงๆ ทง้ั ภำครัฐภำคเอกชน และ องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ ในฐำนะสำนักงำนผ้แู ทนกระทรวงศึกษำธิกำรในเขตพนื้ ท่ีกำรศึกษำ 12. ปฏบิ ตั หิ นำ้ ท่ีอ่นื เกย่ี วกับกิจกำรภำยในเขตพนื้ ที่กำรศึกษำทมี่ ิได้ระบุให้เปน็ หน้ำที่ของ หน่วยงำนใดโดยเฉพำะหรอื ปฏิบัติงำนอน่ื ตำมทไ่ี ด้มอบหมำย

ขอ้ มูลทำงกำรศึกษำ 6 ขอ้ มลู ทัว่ ไป จำนวน 134 136 รำยกำร โรงเรยี นหลกั 2 โรงเรียนสำขำ 6 อำเภอ 99 โรงเรียนที่เปิดสอนก่อนประถมศึกษำ 35 โรงเรยี นขยำยโอกำสทำงกำรศกึ ษำ 2 โรงเรียนทไ่ี มม่ นี ักเรยี น (วัดเกำะแกว้ และ บ้ำนหนองสำหร่ำย) 136 รวมท้ังสิน้ จำนวน จำนวนโรงเรยี น จำแนกตำมขนำดนกั เรียน 84 ขนำดโรงเรยี น 7 ขนำดที่ 1 (1 - 120 คน) 21 < = 20 18 21 – 40 24 41 - 60 8 61 – 80 6 81 – 100 101 – 120 35 ขนำดท่ี 2 (121 – 200 คน) 9 ขนำดท่ี 3 (201 – 300 คน) 6 ขนำดท่ี 4 (301 – 499 คน) 1 ขนำดที่ 5 (500 – 1,499 คน) 1 ขนำดที่ 6 (1,500 – 2,499 คน) 0 ขนำดท่ี 7 (> = 2,500 คน) 136 รวมทั้งสิ้น ท่ีมำ : ขอ้ มลู นักเรียนรำยบุคคล : DMC ณ วันที่ 10 มิถุนำยน 2562

7 จำนวนครู นักเรยี น หอ้ งเรียน แยกตำมประเภทและขนำดโรงเรียน รำยกำร/อำเภอ เมืองพิ ิจตร วังทรำย ูพน โพธ์ิประ ัทบช้ำง สำม ่งำม สำกเหล็ก วชิรบำรมี รวม หลัก 38 11 27 23 15 20 134 สำขำ โรงเรยี น รวม 12 3 เล็ก ประเภท ขยำยโอกำส 38 12 29 23 15 20 136 ขนำด มัธยม โรงเรยี น รวม 29 6 18 20 11 16 100 (จำนวน 0–120 คน นักเรียน) 121–200 คน 9 5 10 3 4 4 35 201–300 คน จำนวน 301–499 คน 11 500–1,499คน 1,500–2,499 38 11 29 23 15 20 136 คน รวม 27 6 17 13 9 12 84 ครู นักเรียน 8 3 8 6 5 5 35 ห้องเรยี น 2 33 19 211 26 11 11 38 11 29 23 15 20 136 306 93 225 175 113 149 1,061 5,392 1,883 3,093 2,763 1,810 2,536 17,177 384 105 272 203 141 174 1,279

8 จำนวนนกั เรียน และช้นั เรยี น จำนวนห้องเรยี น จำนวนนกั เรยี น ชำย หญิง รวม ช้นั 35 134 186 162 348 อนบุ ำล 1 (อนุบำล 3 ขวบ) 147 อนบุ ำล 2 306 821 702 1,523 อนบุ ำล 3 142 143 818 766 1,584 รวมก่อนประถมฯ 143 ประถมศึกษำปที ่ี 1 144 1,825 1,630 3,455 ประถมศึกษำปที ่ี 2 143 ประถมศึกษำปีที่ 3 143 962 876 1,838 ประถมศกึ ษำปีที่ 4 858 ประถมศึกษำปีท่ี 5 38 988 937 1,925 ประถมศกึ ษำปีที่ 6 38 36 993 867 1,860 รวมประถม 112 มัธยมศกึ ษำปที ี่ 1 1 1,047 904 1,951 มธั ยมศึกษำปีท่ี 2 1 มัธยมศึกษำปที ี่ 3 1 1,066 920 1,986 3 รวมมัธยมตน้ 1,279 1,050 997 2,047 มัธยมศึกษำปีท่ี 4 มัธยมศึกษำปที ่ี 5 6,106 5,501 11,607 มัธยมศึกษำปที ่ี 6 413 324 737 รวมมธั ยมปลำย รวมทั้งส้ิน 375 315 690 355 304 659 1,143 943 2,086 44 8 33 6 8 7 16 15 14 29 9,089 8,088 17,177

9 ข้อมูลบุคลำกรที่ปฏิบตั งิ ำนจริง ชำย หญิง รวม 31 4 รำยกำร 81 33 114 หวั หน้ำหน่วยงำนทำงกำรศึกษำ (ผอ., รอง, ผช.) 201 746 947 ผ้บู รหิ ำรสถำนศึกษำ (ผอ., รอง) 9 36 45 ครู/อำจำรย์ 82 2 84 บคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ (38 ค(2) ศน.) 17 26 43 ลูกจ้ำงประจำ พนักงำนรำชกำร (ปฏบิ ัตหิ นำ้ ทีส่ อน) 4 20 24 พนกั งำนรำชกำร (ไม่ได้ปฏิบัติหนำ้ ท่ีสอน) 80 150 230 ลูกจ้ำงชวั่ ครำว (ปฏิบัติหน้ำท่ีสอน) 477 1,014 1,491 ลูกจ้ำงชัว่ ครำว (ไม่ได้ปฏิบัตหิ นำ้ ทีส่ อน) รวมท้ังสน้ิ จำนวนบคุ ลำกรที่ปฏิบัติงำน ในสำนักงำนเขตพืน้ ท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำพจิ ิตร เขต 1 จำแนกตำมประเภท และระดับกำรศกึ ษำ ท่ี กลุ่มตำมโครงสรำ้ ง บคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ ระดบั กำรศึกษำ 1 ผอ.สพท. 38 ค 38ค(1) รวม ต่ำกว่ำ ป.ตรี ป.โท ป.เอก 2 รอง ผอ.สพท. (2) ข(3) ป.ตรี 3 กล่มุ อำนวยกำร 4 กลมุ่ นโยบำยและแผน 33 4 1 5 กลุ่มบริหำรงำนบคุ คล 66 6 1 6 กล่มุ สง่ เสรมิ กำรจดั กำรศึกษำ 66 32 7 กลุ่มนเิ ทศฯ 88 44 8 กลุ่มบริหำรกำรเงินและ 77 52 1 11 12 1 10 สินทรัพย์ 55 23 9 หน่วยตรวจสอบภำยใน 11 1 2 รวมทั้งสิ้น 34 15 49 22 25 ท่มี ำ : ข้อมลู บุคลำกรทปี่ ฏบิ ัติงำนจริง : DMC ณ วนั ท่ี 10 มิถุนำยน 2562

10 ข้อมลู ลกู จำ้ งประจำ และลูกจ้ำงช่ัวครำว ท่ีปฏิบตั ิงำนในสำนักงำนเขตพน้ื ที่กำรศึกษำ ประถมศกึ ษำพจิ ติ ร เขต 1 จำนวน 21 คน จำแนกตำมระดบั กำรศึกษำได้ดงั นี้ ที่ กลุ่มตำมโครงสรำ้ ง ระดบั กำรศึกษำ ป.เอก รวม 1 ลูกจ้ำงประจำ ต่ำกว่ำ ป.ตรี ป.ตรี ป.โท - 2 ลูกจำ้ งชว่ั ครำว 811 - 10 38- - 11 รวมท้ังสน้ิ 11 9 1 21 ผลกำรดำเนนิ งำนทผ่ี ำ่ นมำ สำนกั งำนเขตพนื้ ที่กำรศึกษำประถมศึกษำพจิ ติ ร เขต 1 ได้ดำเนินกำรบริหำรจัดกำรและพัฒนำ คณุ ภำพกำรศึกษำ โดยยดึ เปำ้ หมำยตำมกลยุทธ์เปน็ ฐำนในกำรดำเนนิ งำนพฒั นำคุณภำพกำรศกึ ษำ สรุปผลกำรดำเนนิ งำนได้ดังน้ี ดำ้ นคุณภำพกำรศกึ ษำ ผลกำรสอบ O-Net และ ผลกำรสอบ NT ปกี ำรศึกษำ 2561 1. ผลกำรทดสอบระดับชำติ (O-Net) ช้นั ประถมศกึ ษำปที ี่ 6 ปีกำรศึกษำ 2561 ขอ้ มลู ภำษำไทย คณิตศำสตร์ วทิ ยำศำสตร์ ภำษำอังกฤษ รวม 2560 2561 2560 2561 2560 2561 2560 2561 2560 2561 คะแนนเฉลย่ี เขต 43.78 51.26 34.95 30.81 37.27 35.82 31.63 32.48 36.91 37.59 คะแนนเฉลย่ี สพฐ. 45.29 54.61 35.55 35.65 38.13 38.83 32.73 35.47 37.93 41.14 คะแนนเฉลย่ี ประเทศ 46.58 55.90 37.12 37.50 39.12 39.93 36.34 39.24 39.79 43.14 จำกตำรำง พบวำ่ ผลกำรสอบ O-Net มคี ะแนนรวมเฉลยี่ 37.591 ต่ำกวำ่ ระดับ สพฐ. 3.55 และน้อยกวำ่ ระดับประเทศ 5.55 มีค่ำคะแนนรวมเฉลี่ย ปี 2561 สงู กว่ำปี 2560 เท่ำกับ 0.68 และ มีคะแนนเฉลย่ี ในวิชำภำษำไทย และวชิ ำภำษำองั กฤษในปี 2561 สงู กว่ำปี 2560 ยกเว้นวิชำคณติ ศำสตร์ และวิชำวิทยำศำสตร์ มีคะแนนตำ่ กว่ำปี 2560

11 ตำรำง แสดงผลกำรเปรยี บเทียบค่ำคะแนนเฉลย่ี ร้อยละผลกำรทดสอบ O-NET ชั้น ประถมศึกษำปีที่ 6 ปีกำรศกึ ษำ 2560 และปีกำรศกึ ษำ 2561 และผลกำรเปรยี บเทียบกับค่ำคะแนนระดับสงั กัด และระดบั ประเทศ ปีกำรศึกษำ 2561 ค่ำคะแนนเฉลยี่ ร้อยละ ระดับเขตพนื้ ท่ี ผลกำร ผลกำร เปรียบเทยี บปี ผลกำร กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ ปีกำรศึกษำ ปี เปรียบเทียบ กำรศกึ ษำ เปรียบเทยี บ ภำษำไทย 2560 กำรศึกษำ ปกี ำรศึกษำ 2560-2561 ปีกำรศึกษำ คณิตศำสตร์ 2560-2561 กบั ระดบั 2560-2561 กบั วิทยำศำสตร์ 2561 ตน้ สงั กัด ระดับประเทศ ภำษำองั กฤษ 43.78 51.26 +.48 +10.83 +12.12 รวมเฉลย่ี 34.95 30.81 -4.14 +0.7 +2.55 37.27 35.85 -1.42 +1.56 +2.66 31.63 32.48 +0.85 +3.84 +7.61 36.91 37.60 +0.68 +4.23 +6.23 จำกตำรำง พบวำ่ ผลกำรประเมนิ ระดับชำติ (O-NET) ชัน้ ประถมศึกษำปีท่ี 6 ปีกำรศึกษำ 2561 ภำพรวม 4 กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ เม่ือเปรียบเทยี บกับผลกำรประเมินภำพรวม 4 กลมุ่ สำระกำร เรยี นรู้ ปีกำรศกึ ษำ 2560 ปรำกฏว่ำ มีค่ำคะแนนเฉลยี่ เพมิ่ ขนึ้ 0.69 ผลกำรเปรียบเทียบผลกำรประเมนิ ระดับชำติ (O-NET) ปีกำรศึกษำ 2561 กบั ระดบั ต้นสังกัด พบว่ำ ภำพรวม 4 กล่มุ สำระกำรเรียนรู้ มคี ำ่ คะแนนเฉลี่ยต่ำกว่ำระดบั ต้นสงั กดั 3.54 ผลกำรเปรยี บเทียบผลกำรประเมนิ ระดับชำติ (O-NET) ปกี ำรศึกษำ 2559 กับระดับประเทศ พบว่ำ ภำพรวม 4 กลุ่มสำระกำรเรียนร้มู ีคำ่ คะแนนเฉลีย่ ต่ำกว่ำระดับประเทศ 2.00 2. ผลกำรทดสอบระดับชำติ (O-Net) ช้นั มัธยมศึกษำปีท่ี 3 ปกี ำรศึกษำ 2560 ขอ้ มูล ภำษำไทย คณิตศำสตร์ วิทยำศำสตร์ ภำษำองั กฤษ รวม 2560 2561 2560 2561 2560 2561 2560 2561 2560 2561 คะแนนเฉลย่ี เขต 44.85 47.87 21.66 23.53 30.60 31.71 27.83 26.04 31.24 32.28 คะแนนเฉลย่ี สพฐ. 48.77 55.04 26.55 30.28 32.47 36.43 30.14 29.10 34.48 37.71 คะแนนเฉล่ยี ประเทศ 48.29 54.42 26.30 30.04 32.28 36.10 30.45 29.45 34.33 37.50 จำกตำรำง พบวำ่ ผลกำรสอบ O-Net มคี ะแนนรวมเฉล่ีย 32.28 น้อยกวำ่ ระดบั สพฐ. 5.43 และนอ้ ยกว่ำระดับประเทศ 5.22 และมีคะแนนเฉลีย่ ในวิชำ ภำษำไทย คณิตศำสตร์ วทิ ยำศำสตร์ ในปี 2561 สูงกว่ำปี 2560 ยกเวน้ วิชำภำษำอังกฤษ มคี ะแนนตำ่ กวำ่ ปี 2560

12 ตำรำง แสดงผลกำรเปรียบเทยี บค่ำคะแนนเฉล่ยี ร้อยละผลกำรทดสอบ O-NET ชน้ั มธั ยมศกึ ษำปีท่ี 3 ปกี ำรศกึ ษำ 2560 และปีกำรศึกษำ 2561 และผลกำรเปรยี บเทยี บกับผลกำรเปรียบเทยี บกับ คำ่ คะแนนระดับสงั กัด และระดบั ประเทศ ปกี ำรศึกษำ 2561 ค่ำคะแนนเฉลย่ี ร้อยละ ระดบั เขตพนื้ ที่ ผลกำร ปี ผลกำร เปรียบเทยี บ ผลกำร กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ กำรศกึ ษำ เปรยี บเทียบ ปีกำรศกึ ษำ เปรียบเทยี บ ภำษำไทย ปีกำรศกึ ษำ 2561 ปีกำรศึกษำ 2560-2561 ปกี ำรศกึ ษำ คณิตศำสตร์ 2560 2560-2561 กบั ระดบั 2560-2561 กบั วทิ ยำศำสตร์ ระดับประเทศ ภำษำองั กฤษ ตน้ สงั กัด 44.85 47.87 +3.02 +10.19 +9.57 รวมเฉลี่ย 21.66 23.53 +1.87 +8.62 +8.38 +5.5 30.60 31.71 +1.11 +5.83 +1.62 +6.26 27.83 26.04 -1.79 +1.27 31.24 32.29 +1.05 +6.47 จำกตำรำง พบวำ่ ผลกำรประเมนิ ระดับชำติ (O-NET) ช้นั มัธยมศกึ ษำปที ี่ 3 ปีกำรศึกษำ 2561 ภำพรวม 4 กลุม่ สำระกำรเรยี นรู้ เม่อื เปรยี บเทียบกับผลกำรประเมนิ ภำพรวม 4 กลมุ่ สำระ กำรเรียนรู้ ปีกำรศึกษำ 2560 ปรำกฏว่ำ มคี ำ่ คะแนนเฉล่ียเพม่ิ ขนึ้ 1.05 ผลกำรเปรยี บเทยี บผลกำรประเมินระดบั ชำติ (O-NET) ปีกำรศึกษำ 2561 กับระดบั ต้นสงั กัด พบวำ่ ภำพรวม 4 กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ มีค่ำคะแนนเฉลยี่ ตำ่ กวำ่ ระดับต้นสังกัด 5.43 ผลกำรเปรยี บเทียบผลกำรประเมินระดับชำติ (O-NET) ปกี ำรศกึ ษำ 2561 กับระดับประเทศ พบวำ่ ภำพรวม 4 กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้มีคำ่ คะแนนเฉล่ยี ต่ำกว่ำระดบั ประเทศ 5.22 3.ผลกำรทดสอบควำมสำมำรถพ้นื ฐำนของผเู้ รยี นระดับชำติ (NT) ชนั้ ป.3 ปีกำรศึกษำ 2561 ขอ้ มูล ควำมสำมำรถ ควำมสำมำรถ ควำมสำมำรถ รวมควำมสำมำรถ คะแนนเฉล่ยี เขต ด้ำนภำษำ ด้ำนคำนวณ ด้ำนเหตผุ ล 3 ด้ำน คะแนนเฉลยี่ สพฐ. คะแนนเฉล่ยี ประเทศ 2560 2561 2560 2561 2560 2561 2560 2561 49.59 49.55 36.05 43.66 42.02 45.34 42.55 46.18 51.94 52.73 38.38 47.89 44.98 47.57 45.10 49.39 52.67 43.18 37.75 47.19 45.31 48.07 45.25 49.48 จำกตำรำง พบว่ำ ผลกำรสอบ NT มีคะแนนรวมเฉลีย่ ควำมสำมำรถท้ัง 3 ด้ำน 46.18 น้อยกวำ่ ระดับ สพฐ. 3.21 ระดบั ประเทศ 3.30 และมคี ะแนนเฉล่ยี รวมควำมสำมำรถ ด้ำนคำนวณ และ ด้ำนเหตผุ ล ในปี 2561 สงู กว่ำปี 2560 ยกเวน้ ควำมสำมำรถด้ำนภำษำตำ่ กว่ำ ปี 2560

13 ตำรำง แสดงเปรียบเทยี บคะแนนเฉล่ยี ผลกำรประเมนิ คุณภำพกำรศกึ ษำขนั้ พื้นฐำน (NT) ระดับ ชน้ั ประถมศึกษำปีที่ 3 สำระกำรเรียนร้/ู คะแนนเฉลี่ย ปี 2560 ผลเปรียบเทยี บ ควำมสำมำรถด้ำน ปี 2559 ปี 2559-2560 54.22 49.59 ภำษำ 42.46 36.05 -4.63 คำนวณ 56.55 42.02 -6.41 เหตุผล 51.08 42.55 -14.53 รวมเฉลี่ย -8.53 จำกตำรำง พบว่ำ นักเรียนช้ันประถมศึกษำปีที่ 3 มีผลกำรประเมินคุณภำพกำรศึกษำ ขั้นพ้ืนฐำน (NT) ควำมสำมำรถภำพรวม ปีกำรศึกษำ 2560 มีคะแนนเฉลี่ยลดลง เท่ำกับ 8.53 ถ้ำพิจำรณำเป็นรำยด้ำน พบว่ำ ควำมสำมำรถด้ำนภำษำ มีคะแนนเฉล่ียลดลง เท่ำกับ 4.63 ด้ำนคำนวณ มคี ะแนนเฉลีย่ ลดลง เทำ่ กับ 6.41 และ ดำ้ นเหตุผล มคี ะแนนเฉล่ียลดลง เทำ่ กับ 14.53 4 ผลกำรทดสอบควำมสำมำรถด้ำนกำรอำ่ นออกของผูเ้ รียน (Reading Test : RT) ชั้น ป.1 ปี 2561 ตำมที่ สพป.พจิ ิตร เขต 1 ได้ดำเนนิ กำรจัดสอบ RT ปีกำรศกึ ษำ 2561 ชน้ั ป. 1 ระหวำ่ งวนั ท่ี 19 – 23 กมุ ภำพันธ์ 2561 ผลกำรสอบ มีดงั น้ี เปรยี บเทยี บ เปรยี บเทยี บ เปรยี บเทยี บ สมรรถนะ ปี 2560 ปี 2561 สังกดั ประเทศ ปี2560- สงั กัด ประเทศ 2561 กำรอำ่ นออกเสียง 74.91 70.94 65.70 66.13 -3.99 +5.24 +4.81 กำรอ่ำนรูเ้ ร่ือง 73.49 76.84 71.17 71.24 +3.35 +5.67 +5.60 รวม 2 สมรรถนะ 74.21 73.89 68.44 68.69 -0.32 +5.45 +5.20 ผลกำรสอบ RT ช้นั ป. 1 ปีกำรศกึ ษำ 2561 มคี ะแนนรวมเฉล่ียรวม 2 สมรรถนะ ร้อยละ 73.89 สูงกวำ่ ระดับ สพฐ. และระดบั ประเทศ ร้อยละ 5.45 และ 5.20 โดยมีคะแนนเฉลีย่ รวม สมรรถนะกำรออกเสยี งสงู กวำ่ ระดับ สพฐ. และระดบั ประเทศ ร้อยละ 5.24 และ 4.81 มีคะแนนเฉลยี่ รวมสมรรถนะกำรออกรเู้ รื่องสงู กวำ่ ระดบั สพฐ. และระดบั ประเทศ ร้อยละ 5.67 และ 5.60 แตม่ ี คะแนนเฉลย่ี รวมทัง้ 2 สมรรถนะ ปี 2561 ต่ำกว่ำปี 2560 ร้อยละ 0.32

14 ส่วนท่ี 2 ทิศทำงกำรพัฒนำกำรศึกษำ ประจำปีงบประมำณ พ.ศ.2563 ยทุ ธศำสตร์ชำติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - พ.ศ. 2580) วสิ ยั ทศั น์ประเทศไทย “ประเทศไทยมีควำมม่ันคง มั่งค่ัง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนำแล้ว ด้วยกำรพัฒนำตำมหลัก ปรัชญำ ของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคติพจน์ประจำชำติว่ำ“มั่นคง มั่งค่ัง ยั่งยืน” เพื่อสนองตอบ ต่อผลประโยชน์แห่งชำติ อันได้แก่ กำรมีเอกรำช อธิปไตย กำรดำรงอยู่อย่ำงม่ันคง และย่ังยืนของ สถำบันหลัก ของชำติและปรำศจำกภัยคุกคำมทุกรูปแบบ กำรอยู่ร่วมกันในชำติอย่ำงสันติสุขเป็น ปึกแผ่น มีควำมมั่นคง ทำงสังคมท่ำมกลำงพหุสังคมและกำรมีเกียรติและศักดิ์ศรีของควำมเป็นมนุษย์ ควำมเจริญเติบโตของชำติ ควำมเป็นธรรมและควำมอยู่ดีมีสุขของประชำชน ควำมย่ังยืนของฐำน ทรัพยำกรธรรมชำติส่ิงแวดล้อม ควำมม่ันคงทำงพลังงำนและอำหำร ควำมสำมำรถในกำรรักษำ ผลประโยชน์ของชำติภำยใต้กำรเปล่ียนแปลง ของสภำวะแวดล้อมระหว่ำงประเทศและกำรอยู่ร่วมกัน อย่ำงสันติประสำนสอดคล้องกันด้ำนควำมมั่นคง ในประชำคมอำเซียนและประชำคมโลกอย่ำงมีเกียรติ และศักด์ิศรี ควำมม่ันคง หมำยถึง กำรมีควำมมั่นคงปลอดภัยและกำรเปลี่ยนแปลงทั้งภำยในประเทศ และ ภำยนอกประเทศในทุกระดับ ท้ังระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปัจเจกบุคคล และมีควำม ม่ันคง ในทุกมิติ ทั้งมิติทำงกำรทหำร เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และกำรเมือง เช่น ประเทศมีควำม ม่ันคงในเอกรำช และอธิปไตย มีกำรปกครองระบอบประชำธิปไตยที่มีพระมหำกษัตริย์ทรงเป็นประมุข สถำบันชำติ ศำสนำ พระมหำกษัตริย์มีควำมเข้มแข็งเป็นศูนย์กลำงและเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของ ประชำชน มีระบบกำรเมือง ที่ม่ันคงเป็นกลไกที่นำไปสู่กำรบริหำรประเทศที่ต่อเนื่องและโปร่งใสตำม หลักธรรมมำภิบำล สังคมมีควำมปรองดอง และสำมัคคี สำมำรถผนึกกำลังเพื่อพัฒนำประเทศ ชุมชนมี ควำมเขม้ แข็ง ครอบครัวมีควำมอบอุ่น ประชำชนมีควำมม่ันคงในชีวิต มีงำนและรำยได้ที่ม่ันคงพอเพียง กับกำรดำรงชวี ติ มีกำรออมสำหรับวยั เกษยี ณ ควำมมน่ั คงของอำหำร พลังงำน และน้ำ มีท่ีอยู่อำศัยและ ควำมปลอดภยั ในชวี ิตทรัพยส์ นิ ควำมม่ังค่ัง หมำยถึง ประเทศไทยมีกำรขยำยตัวของเศรษฐกิจอย่ำงต่อเนื่องและมีควำมย่ังยืน จนเข้ำสู่กลุ่มประเทศรำยได้สูง ควำมเหลื่อมล้ำของกำรพัฒนำลดลง ประชำกร มีควำมอยู่ดีมีสุข ได้รับ ผลประโยชนจ์ ำกกำรพฒั นำอย่ำงเท่ำเทียมกันมำกขน้ึ และมีกำรพัฒนำอย่ำงท่ัวถึงทุกภำคส่วนมีคุณภำพ ชีวิตตำมมำตรฐำนขององค์กำรสหประชำชำติ ไม่มีประชำชนท่ีอยู่ในภำวะควำมยำกจน เศรษฐกิจ ใน ประเทศมีควำมเข้มแข็ง ขณะเดียวกันต้องมีควำมสำมำรถในกำรแข่งขันกับประเทศต่ำงๆ ทั้งใน ตลำดโลก และตลำดภำยในประเทศเพื่อให้สำมำรถสร้ำงรำยได้ทั้งจำกภำยในและภำยนอกประเทศ ต ล อ ด จ น มี ก ำ ร ส ร้ ำ ง ฐ ำ น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม แ ห่ ง อ น ำ ค ต เ พื่ อ ใ ห้ ส อ ด รั บ กั บ บ ริ บ ท ก ำ ร พั ฒ น ำ ที่เปล่ียนแปลงไป และประเทศไทยมีบทบำทที่สำคัญในเวทีโลก และมีควำมสัมพันธ์ทำงเศรษฐกิจและ กำรค้ำอย่ำงแน่นแฟ้น กับประเทศในภูมิภำคเอเชีย เป็นจุดสำคัญของกำรเช่ือมโยงภูมิภำค ท้ังกำร

15 คมนำคมขนส่ง กำรผลิต กำรค้ำ กำรลงทุนและกำรทำธุรกิจ เพื่อให้เป็นพลังในกำรพัฒนำ นอกจำกน้ี ยังมีควำมสมบูรณ์ในทุนที่จะสำมำรถ สร้ำงกำรพัฒนำต่อเน่ืองไปได้ ได้แก่ ทุนมนุษย์ ทุนทำงปัญญำ ทุนทำงกำรเงนิ ทนุ ท่เี ป็นเครือ่ งมอื เคร่อื งจักร ทนุ ทำงสังคม และทนุ ทรัพยำกรธรรมชำติและส่ิงแวดลอ้ ม ควำมย่ังยืน หมำยถึง กำรพัฒนำที่สำมำรถสร้ำงควำมเจริญ รำยได้ และคุณภำพชีวิตของ ประชำชน ให้เพิ่มขึ้นอย่ำงต่อเนื่อง ซ่ึงเป็นกำรเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่อยู่บนหลักกำรใช้ กำรรักษำ และกำรฟื้นฟู ฐำนทรัพยำกรธรรมชำติอย่ำงย่ังยืน ไม่ใช้ทรัพยำกรธรรมชำติจนเกินพอดี ไม่สร้ำง มลภำวะต่อสง่ิ แวดลอ้ ม จนเกินควำมสำมำรถในกำรรองรบั และเยยี วยำของระบบนิเวศ กำรผลิตและกำร บริโภคเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสอดคล้องกับเป้ำหมำยกำรพัฒนำท่ีย่ังยืน ทรัพยำกรธรรมชำติมี ควำมอุดมสมบูรณ์มำกข้ึนและส่ิงแวดล้อม มีคุณภำพดีขึ้น คนมีควำมรับผิดชอบต่อสังคม มีควำมเอื้อ อำทร เสียสละเพื่อผลประโยชน์ส่วนรวม รัฐบำลมีนโยบำย ท่ีมุ่งประโยชน์ส่วนรวมอย่ำงย่ังยืนและให้ ควำมสำคัญกบั กำรมสี ่วนรว่ มของประชำชน และทกุ ภำคส่วน ในสงั คมยึดถอื และปฏิบัติตำมหลักปรัชญำ เศรษฐกจิ พอเพียงเพื่อกำรพฒั นำอย่ำงสมดลุ มีเสถยี รภำพ และย่ังยนื ประเด็นยทุ ธศำสตร์ชำติ เพ่ือให้ประเทศไทยสำมำรถยกระดับกำรพัฒนำให้บรรลุตำมวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีควำม ม่ันคง มั่งค่ัง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนำแล้ว ด้วยกำรพัฒนำตำมหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง” และเป้ำหมำยกำรพัฒนำประเทศข้ำงต้น จึงจำเป็นต้องกำหนดยุทธศำสตร์กำรพัฒนำประเทศระยะยำว ท่ีจะทำให้ประเทศไทยมีควำมมั่นคงในเอกรำชและอธิปไตย มีภูมิคุ้มกันต่อกำรเปลี่ยนแปลงจำกปัจจัย ภำยใน และภำยนอกประเทศในทุกมิติทุกรูปแบบและทุกระดับ ภำคเกษตรกรรม ภำคอุตสำหกรรม และภำคบริกำร ของประเทศได้รับกำรพัฒนำยกระดับไปสู่กำรใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในกำรสร้ำง มูลค่ำเพิ่มและพัฒนำกลไก ท่ีสำคัญในกำรขับเคลื่อนเศรษฐกิจใหม่ท่ีจะสร้ำงและเพิ่มศักยภำพในกำร แข่งขันของประเทศ เพื่อยกระดับ ฐำนรำยได้ของประชำชนในภำพรวมและกำรกระจำยผลประโยชน์ ไปสู่ภำคส่วนต่ำงๆ ได้อย่ำงเหมำะสม คนไทยได้รับกำรพัฒนำให้เป็นคนดี เก่งมีวินัย คำนึงถึง ผลประโยชน์ส่วนรวมและมีศักยภำพในกำรคิดวิเครำะห์ สำมำรถ “รู้ รับ ปรับใช้” เทคโนโลยีใหม่ได้ อย่ำงตอ่ เน่ือง สำมำรถเขำ้ ถงึ บรกิ ำรพื้นฐำน ระบบสวัสดิกำร และกระบวนกำรยุติธรรมได้อย่ำงเท่ำเทียม กัน โดยไมม่ ใี ครถกู ทิง้ ไวข้ ำ้ งหลัง กำรพฒั นำประเทศในช่วงระยะเวลำของยุทธศำสตร์ชำติ จะมุ่งเน้นกำร สร้ำงสมดุลระหว่ำง กำรพัฒนำควำมม่ันคง เศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อม โดยกำรมีส่วนร่วมของทุก ภำคส่วนในรูปแบบ “ประชำรัฐ” โดยประกอบด้วย 6 ยุทธศำสตร์ ได้แก่ ยุทธศำสตร์ชำติด้ำนควำม ม่ันคง ยุทธศำสตร์ชำติ ด้ำนกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน ยุทธศำสตร์ชำติด้ำนกำรพัฒนำและ เสริมสร้ำงศักยภำพ ทรัพยำกรมนุษย์ ยุทธศำสตรช์ ำตดิ ้ำนกำรสร้ำงโอกำสและควำมเสมอภำคทำงสังคม ยุทธศำสตร์ชำติ ด้ำนกำรสร้ำงกำรเติบโตบนคุณภำพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม และยุทธศำสตร์ชำติ ด้ำนกำรปรับสมดุล และพัฒนำระบบกำรบริหำรจัดกำรภำครัฐ โดยแต่ละยุทธศำสตร์มีเป้ำหมำยและ ประเดน็ กำรพัฒนำ ดังนี้

16 1. ยทุ ธศำสตรด์ ำ้ นควำมมัน่ คง ยุทธศำสตร์ชำติด้ำนควำมม่ันคง มีเป้ำหมำยกำรพัฒนำที่สำคัญ คือ ประเทศชำติม่ันคง ประชำชน มีควำมสขุ เนน้ กำรบรหิ ำรจัดกำรสภำวะแวดลอ้ มของประเทศให้มีควำมมั่นคง ปลอดภัย เอก รำช อธิปไตย และมีควำมสงบเรียบร้อยในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับชำติสังคม ชุมชน มุ่งเน้นกำรพัฒนำคน เคร่ืองมือ เทคโนโลยีและระบบฐำนข้อมูลขนำดใหญ่ให้มีควำมพร้อมสำมำรถรับมือกับภัยคุกคำม และ ภัยพิบัติ ได้ทุกรูปแบบ และทุกระดับควำมรุนแรง ควบคู่ไปกับกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำ ด้ำนควำม มั่นคงท่ีมีอยู่ ในปัจจุบัน และท่ีอำจจะเกิดขึ้นในอนำคต ใช้กลไกกำรแก้ไขปัญหำแบบบูรณำกำร ท้ังกับ ส่วนรำชกำร ภำคเอกชน ประชำสงั คม และองค์กรที่ไม่ใชร่ ัฐ รวมถึงประเทศเพื่อนบำ้ น และมิตรประเทศ ท่ัวโลก บนพ้ืนฐำนของหลักธรรมำภิบำล เพ่ือเอื้ออำนวยประโยชน์ต่อกำรดำเนินกำร ของยุทธศำสตร์ ชำติดำ้ นอนื่ ๆ ใหส้ ำมำรถขับเคลื่อนไปได้ตำมทศิ ทำงและเปำ้ หมำยท่ีกำหนด 2. ยทุ ธศำสตรช์ ำติดำ้ นกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน มีเป้ำหมำยกำรพัฒนำ ที่มุ่งเน้นกำรยกระดับศักยภำพของประเทศในหลำกหลำยมิติบน พน้ื ฐำนแนวคดิ 3 ประกำร ได้แก่ (1) “ต่อยอดอดตี ” โดยมองกลบั ไปทร่ี ำกเหง้ำทำงเศรษฐกิจ อัตลักษณ์ วัฒนธรรม ประเพณีวถิ ชี ีวิต และจุดเดน่ ทำงทรัพยำกรธรรมชำติท่ีหลำกหลำย รวมท้ังควำมได้เปรียบเชิง เปรียบเทียบ ของประเทศ ในด้ำนอื่นๆ นำมำประยุกต์ผสมผสำนกับเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพ่ือให้ สอดรับกบั บริบท ของเศรษฐกิจและสังคมโลกสมัยใหม่ (2) “ปรับปัจจุบัน” เพ่ือปูทำงสู่อนำคต ผ่ำนกำร พัฒนำโครงสร้ำงพื้นฐำน ของประเทศในมิติต่ำงๆ ทั้งโครงข่ำยระบบคมนำคมและขนส่ง โครงสร้ำง พื้นฐำนวิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี และดิจิทัล และกำรปรับสภำพแวดล้อมให้เอื้อต่อกำรพัฒนำ อุตสำหกรรมและบริกำรอนำคต และ (3) “สร้ำงคุณค่ำใหม่ในอนำคต” ด้วยกำรเพิ่มศักยภำพของ ผู้ประกอบกำร พัฒนำคนรุ่นใหม่ รวมถึงปรับรูปแบบธุรกิจ เพื่อตอบสนองต่อควำมต้องกำรของตลำด ผสมผสำนกบั ยทุ ธศำสตรท์ ร่ี องรับอนำคต บนพ้ืนฐำนของกำรต่อยอดอดีตและปรับปัจจุบันพร้อมทั้งกำร ส่งเสริมและสนับสนุนจำกภำครัฐ ให้ประเทศไทยสำมำรถสร้ำงฐำนรำยได้และกำรจ้ำงงำนใหม่ขยำย โอกำสทำงกำรคำ้ และกำรลงทนุ ในเวทโี ลก ควบคู่ไปกบั กำรยกระดับรำยได้และกำรกินดีอยู่ดีรวมถึงกำร เพมิ่ ข้ึนของคนช้นั กลำง และลดควำมเหลือ่ มลำ้ ของคนในประเทศได้ในครำวเดยี วกัน 3. ยทุ ธศำสตร์ชำตดิ ำ้ นกำรพัฒนำและเสริมสร้ำงศักยภำพทรัพยำกรมนษุ ย์ มเี ป้ำหมำย กำรพัฒนำทสี่ ำคญั เพอ่ื พัฒนำคนในทุกมติ ิและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดีเก่ง และมี คุณภำพ โดยคนไทย มีควำมพร้อมท้ังกำย ใจ สติปัญญำ มีพัฒนำกำรที่ดีรอบด้ำนและมีสุขภำวะที่ดี ใน ทุกช่วงวัย มีจิตสำธำรณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์อดออม โอบอ้อมอำรีมีวินัย รักษำ ศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชำติมีหลักคิดท่ีถูกต้อง มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษท่ี 21 มีทักษะ สื่อสำรภำษำอังกฤษและภำษำท่ีสำม และอนุรักษ์ภำษำท้องถิ่น มีนิสัยรักกำรเรียนรู้และกำรพัฒนำ ตนเอง อย่ำงต่อเน่ืองตลอดชีวิต สู่กำรเป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกรรม นักคิด ผู้ประกอบกำร เกษตรกรยคุ ใหม่ และอ่ืนๆ โดยมสี มั มำชพี ตำมควำมถนัดของตนเอง

17 4. ยุทธศำสตรช์ ำตดิ ้ำนกำรสร้ำงโอกำสและควำมเสมอภำคทำงสงั คม มีเป้ำหมำย กำรพัฒนำที่ให้ควำมสำคัญกับกำรดึงเอำพลังของภำคส่วนต่ำงๆ ทั้งภำคเอกชน ประชำสังคม ชมุ ชน ท้องถนิ่ มำรว่ มขบั เคลือ่ น โดยกำรสนับสนุนกำรรวมตวั ของประชำชนในกำรร่วมคิด รว่ มทำ เพอ่ื ส่วนรวม กำรกระจำยอำนำจและควำมรับผิดชอบไปสู่กลไกบริหำรรำชกำรแผ่นดินในระดับ ท้องถ่ิน กำรเสริมสร้ำง ควำมเข้มแข็งของชุมชนในกำรจัดกำรตนเอง และกำรเตรียมควำมพร้อมของ ประชำกรไทย ท้ังในมิติสุขภำพ เศรษฐกิจ สังคม และสภำพแวดล้อมให้เป็นประชำกรท่ีมีคุณภำพ สำมำรถพึ่งตนเอง และทำประโยชน์ แก่ครอบครัว ชุมชน และสังคมให้นำนที่สุด โดยรัฐให้หลักประกัน กำรเข้ำถึงบรกิ ำรและสวสั ดกิ ำรทีม่ คี ณุ ภำพ อยำ่ งเป็นธรรมและทั่วถงึ 5. ยุทธศำสตร์ชำตดิ ้ำนกำรสร้ำงกำรเตบิ โตบนคุณภำพชวี ติ ทเ่ี ป็นมติ รกบั สงิ่ แวดล้อม มีเป้ำหมำยกำรพัฒนำที่สำคัญเพื่อนำไปสู่กำรบรรลุเป้ำหมำยกำรพัฒนำท่ียั่งยืนในทุกมิติ ทั้ง ดำ้ นสังคม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดลอ้ ม ธรรมำภบิ ำล และควำมเปน็ หุน้ สว่ นควำมรว่ มมือระหวำ่ งกนั ท้ังภำยใน และภำยนอกประเทศอย่ำงบูรณำกำร ใช้พื้นที่เป็นตัวต้ังในกำรกำหนดกลยุทธ์และแผนงำน และกำรให้ ทุกฝ่ำ ยท่ีเ กี่ยว ข้อง ได้เ ข้ำม ำ มีส่ วนร่ วมใ นแบ บทำ งตร งให้ มำก ที่สุด เท่ำ ท่ีจะเป็น ไปไ ด้โด ยเป็ นกำ ร ดำเนินกำร บนพื้นฐำนกำรเติบโตร่วมกัน ไม่ว่ำจะเป็นทำงเศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อม และคุณภำพชีวิต โดย ให้ควำมสำคัญ กับกำรสร้ำงสมดลุ ทงั้ 3 ดำ้ น อนั จะนำไปสูค่ วำมยั่งยืนเพ่ือคนรนุ่ ต่อไปอยำ่ งแท้จรงิ 6. ยุทธศำสตรช์ ำติดำ้ นกำรปรับสมดลุ และพฒั นำระบบกำรบรหิ ำรจดั กำรภำครัฐ มีเป้ำหมำยกำรพัฒนำท่ีสำคัญเพื่อปรับเปล่ียนภำครัฐที่ยึดหลัก “ภำครัฐของประชำชน เพ่ือ ประชำชน และประโยชน์ส่วนรวม” โดยภำครัฐต้องมีขนำดท่ีเหมำะสมกับบทบำทภำรกิจ แยกแยะ บทบำท หน่วยงำนของรัฐที่ทำหน้ำท่ีในกำรกำกับหรือในกำรให้บริกำรในระบบเศรษฐกิจที่มีกำรแข่งขัน มีสมรรถนะสูง ยึดหลักธรรมำภิบำล ปรับวัฒนธรรมกำรทำงำนให้มุ่งผลสัมฤทธ์ิและผลประโยชน์ ส่วนรวม มีควำมทันสมัย และพร้อมท่ีจะปรับตัวให้ทันต่อกำรเปล่ียนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลำ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง กำรนำนวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูลขนำดใหญ่ระบบกำรทำงำนท่ีเป็นดิจิทัลเข้ำมำ ประยุกต์ใช้อย่ำงคุ้มค่ำ และปฏิบัติงำนเทียบได้กับมำตรฐำนสำกล รวมท้ังมีลักษณะเปิดกว้ำง เชื่อมโยง ถงึ กนั และเปิดโอกำสให้ ทุกภำคส่วนเข้ำมำมสี ่วนร่วมเพ่ือตอบสนองควำมต้องกำรของประชำชนได้อย่ำง สะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส โดยทุกภำคส่วนในสังคมต้องร่วมกันปลูกฝังค่ำนิยมควำมซื่อสัตย์สุจริต ควำมมัธยัสถ์ และสร้ำงจิตสำนึกในกำรปฏิเสธไม่ยอมรับกำรทุจริตประพฤติมิชอบอย่ำงส้ินเชิง นอกจำกนั้น กฎหมำย ต้องมีควำมชัดเจน มีเพียงเท่ำท่ีจำเป็น มีควำมทันสมัย มีควำมเป็นสำกล มี ประสิทธภิ ำพ และนำไปสู่ กำรลดควำมเหลื่อมล้ำและเอ้ือต่อกำรพัฒนำ โดยกระบวนกำรยุติธรรมมีกำร บริหำรท่มี ีประสิทธภิ ำพ เป็นธรรม ไมเ่ ลือกปฏบิ ตั ิและกำรอำนวยควำมยตุ ธิ รรมตำมหลักนิตธิ รรม 2.2 แผนพัฒนำเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำติ ฉบับที่12 (พ.ศ. 2560 – 2564) หลกั กำรพัฒนำประเทศทส่ี ำคัญในระยะแผนพัฒนำฯ ฉบับท่ี 12 ยดึ หลัก “ปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียง” “กำรพัฒนำที่ย่งั ยนื ” และ “คนเป็นศูนย์กลำงกำรพัฒนำ”

18 จุดเปลี่ยนสำคญั ในแผนพฒั นำเศรษฐกิจและสงั คมฉบับท่ี 12 กำรเตรียมพร้อมด้ำนกำลังคนและกำรเสริมสร้ำงศักยภำพของประชำกร ในทุกช่วงวัย มุ่งเน้น กำรยกระดบั คุณภำพทุนมนุษยข์ องประเทศ โดยพฒั นำคนให้เหมำะสมตำมช่วงวัย เพ่ือให้เติบโต อย่ำงมี คุณภำพ กำรหล่อหลอมให้คนไทยมีค่ำนิยมตำมบรรทัดฐำนที่ดีทำงสังคม เป็นคนดี มีสุขภำวะท่ีดี มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย และมีจิตสำนึกท่ีดีต่อสังคมส่วนรวม กำรพัฒนำทักษะท่ีสอดคล้อง กับควำมต้องกำรในตลำดแรงงำนและทักษะที่จำเป็นต่อกำรดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ของคนในแต่ละ ช่วงวัยตำมควำมเหมำะสม กำรเตรียมควำมพร้อมของกำลังคนด้ำนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี ที่จะ เปล่ยี นแปลงโลกในอนำคต ตลอดจนกำรยกระดบั คุณภำพกำรศกึ ษำสู่ควำมเป็นเลิศ กำรสรำ้ งเสริมให้คน มีสุขภำพดีที่เน้นกำร ปรับเปล่ียนพฤติกรรมทำงสุขภำพและกำรลดปัจจัยเสี่ยงด้ำนสภำพแวดล้อม ที่ส่งผลต่อสุขภำพ กำรสร้ำงควำมเป็นธรรมและลดควำมเหลื่อมล้ำให้ควำมสำคัญกับกำรจัดบริกำรของ รัฐที่มีคุณภำพท้ังด้ำนกำรศึกษำ สำธำรณสุข .ให้กับผู้ท่ีด้อยโอกำสและผู้ที่อำศัยในพื้นที่ห่ำงไกล กำรจัดสรรที่ดินทำกิน สนับสนุนในเร่ืองกำรสร้ำงอำชีพ รำยได้ และสนับสนุนกำรเพิ่มผลิตภำพ ผู้ด้อยโอกำส สตรี และผู้สูงอำยุ รวมท้ังกระจำยกำรจัดบริหำรภำครัฐให้มีควำมครอบคลุมและท่ัวถึง ท้งั ในเชิงปรมิ ำณและคณุ ภำพ กำรประเมินสภำพแวดล้อมกำรพฒั นำประเทศ สถำนกำรณ์และแนวโน้มของสังคมไทย โครงสร้ำงประชำกรไทย เปลี่ยนแปลงเข้ำสู่สังคมสูงวัย อยำ่ งสมบรู ณเ์ มอ่ื สิน้ สดุ แผนพัฒนำฯ ฉบบั ที่ 12 โดยปี 2557 ประชำกรวัยแรงงำนจะมีจำนวนสูงสุดและ เรมิ่ ลดลง อย่ำงตอ่ เน่ือง คุณภำพคนไทยทุกกลุ่มวัยยังมีปัญหำคุณภำพกำรศึกษำ และกำรเรียนรู้ของคน ไทยยังอยู่ในระดับ ค่อนข้ำงต่ำนอกจำกนี้ คนไทยส่วนใหญ่ยังมีปัญหำด้ำนคุณธรรมจริยธรรม และไม่ ตระหนักถึงควำมสำคัญ ของระเบยี บวินัย ควำมซอื่ สัตย์ และกำรมจี ติ สำธำรณะ วัตถุประสงคแ์ ละเป้ำหมำยกำรพัฒนำในชว่ งแผนพฒั นำฯ ฉบบั ที่ 12 เพ่ือวำงรำกฐำนให้คนไทยเป็นคนที่สมบูรณ์ มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบ วินัย ค่ำนิยมที่ดี มี จิตสำธำรณะ และมีควำมสุข โดยมีสุขภำวะและสุขภำพท่ีดี ครอบครัวอบอุ่น ตลอดจนเป็นคนเก่งที่มี ทกั ษะควำมร้คู วำมสำมำรถและพัฒนำตนเองได้ต่อเนื่องตลอดชวี ติ ยุทธศำสตร์ที่ 1 กำรเสรมิ สรำ้ งและพฒั นำศักยภำพทุนมนษุ ย์ กำรเสริมสร้ำงและพัฒนำศักยภำพทุนมนุษย์ของประเทศไทยยังมีปัญหำในด้ำนคุณภำพคน ใน แต่ละช่วงวัย โดยผลลัพธ์ทำงกำรศึกษำของเด็กวัยเรียนค่อนข้ำงต่ำ กำรพัฒนำควำมรู้และ ทักษะของ แรงงำนไม่ตรงกับตลำดงำน ในขณะท่ีคนไทยจำนวนไม่น้อยยังไม่สำมำรถคัดกรองและเลือกรับ วัฒนธรรมได้อย่ำงเหมำะสม ซ่ึงส่งผลต่อวิกฤตค่ำนิยม ทัศนคติ และพฤติกรรมในกำรดำเนินชีวิต กำร พัฒนำในระยะตอ่ ไปจงึ ต้องให้ควำมสำคัญกับกำรวำงรำกฐำนกำรพัฒนำคนให้มีควำมสมบูรณ์ เพ่ือให้คน ไทยมีทัศนคติ และพฤติกรรมตำมบรรทัดฐำนท่ีดีของสังคม ได้รับกำรศึกษำท่ีมีคุณภำพสูง ตำม มำตรฐำนสำกล และสำมำรถเรียนรู้ด้วยตนเองอย่ำงต่อเน่ือง มีสุขภำวะที่ดีข้ึนคนทุกช่วงวัยมีทักษะ ควำมรู้ และควำมสำมำรถเพิ่มข้ึน รวมท้ังสถำบันทำงสังคมมีควำมเข้มแข็งและมีส่วนร่วมในกำรพัฒนำ ประเทศเพิ่มข้ึน แนวทำงกำรพัฒนำที่สำคัญ ประกอบด้วย (1) ปรับเปลี่ยนค่ำนิยมคนไทยให้มีคุณธรรม จริยธรรม มวี ินยั จติ สำธำรณะ และพฤตกิ รรมทพ่ี งึ ประสงค์ อำทิ ส่งเสริมให้มีกิจกรรมกำรเรียนกำรสอน

19 ท้ังในและนอกห้องเรียนท่ีสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ควำมมีระเบียบวินัย และจิตสำธำรณะ (2) พัฒนำ ศักยภำพคนให้มีทักษะ ควำมรู้ และควำมสำมำรถในกำรดำรงชีวิตอย่ำงมีคุณค่ำ อำทิ ส่งเสริม เดก็ ปฐมวัย ใหม้ กี ำรพฒั นำทักษะทำงสมองและทำงสังคมท่ีเหมำะสม เด็กวัยเรียนและวัยรุ่นมีทักษะกำร คดิ วิเครำะห์ อย่ำงเป็นระบบ (3) ยกระดับคุณภำพกำรศึกษำและกำรเรียนรู้ตลอดชีวิต อำทิ ปรับระบบ บริหำรจัดกำร สถำนศึกษำขนำดเล็กให้มีกำรจัดทรัพยำกรร่วมกันให้มีขนำดและจำนวนที่เหมำะสม ปรับปรงุ แหล่งเรยี นรู้ ในชุมชนใหเ้ ปน็ แหล่ง เรียนรเู้ ชงิ สรำ้ งสรรคแ์ ละมีชวี ติ เป้ำหมำยกำรพัฒนำที่ 1 คนไทยส่วนใหญ่มีทัศนคติและพฤติกรรมตำมบรรทัดฐำนท่ีดีของ สังคม ตัวช้ีวัด 1.1 ประชำกรอำยุ 13 ปีข้ึนไป มีกิจกรรมกำรปฏิบัติตนที่สะท้อนกำรมีคุณธรรม จริยธรรมเพ่ิมขน้ึ ตวั ช้วี ดั 1.2 คดอี ำญำมีสดั ส่วนลดลง เป้ำหมำยกำรพัฒนำท่ี 2 คนในสังคมไทยทุกชว่ งวัยมที กั ษะ ควำมรู้ และควำมสำมำรถเพมิ่ ข้ึน 2.1 เดก็ ปฐมวัยมีพฒั นำกำรเต็มตำมศักยภำพ ตวั ช้ีวดั 1 เดก็ มีพฒั นำกำรสมวัยไมน่ อ้ ยกว่ำรอ้ ย ละ 85 2.2 เด็กวยั เรียนและวยั รุ่นมสี ตปิ ัญญำและควำมฉลำดทำงอำรมณ์เพ่ิมขึ้น ตัวช้ีวัด 2 คะแนน IQ เฉล่ียไม่ตำ่ กว่ำเกณฑม์ ำตรฐำน ตัวช้ีวดั 3 เดก็ รอ้ ยละ 70 มีคะแนน EQ ไมต่ ่ำกวำ่ เกณฑม์ ำตรฐำน ตัวช้วี ดั 4 ผ้เู รียนในระบบทวิภำคเี พ่มิ ข้นึ เฉลย่ี ร้อยละ 30 ตอ่ ปี เป้ำหมำยกำรพัฒนำที่ 3 คนไทยมกี ำรศึกษำท่ีมีคุณภำพตำมมำตรฐำนสำกลและ มคี วำมสำมำรถ เรยี นรู้ดว้ ยตนเองอย่ำงต่อเนอื่ ง ตัวชีว้ ัด 3.1 ผลคะแนนสอบ PISA ในแต่ละวิชำไมต่ ่ำกว่ำ 500 ตัวชีว้ ดั 3.2 กำรใช้อินเทอรเ์ น็ตเพอื่ กำรอ่ำนหำควำมรู้เพมิ่ ข้ึน ตวั ชว้ี ดั 3.3 กำรอำ่ นของคนไทยเพ่ิมขน้ึ เปน็ รอ้ ยละ 85 ตวั ช้วี ัด แนวทำงกำรพฒั นำ 1. ปรับเปล่ียนค่ำนยิ มคนไทยใหม้ คี ุณธรรม จริยธรรม มวี นิ ัย จิตสำธำรณะ และพฤติกรรม ที่พึง ประสงค์ สง่ เสริมกำรเล้ียงดใู นครอบครัวทเ่ี นน้ กำรฝึกเด็กให้รูจ้ ักกำรพง่ึ พำตัวเอง มีควำมซือ่ สัตย์ มวี นิ ัย มศี ีลธรรม คุณธรรม จรยิ ธรรม มีควำมรบั ผิดชอบ ในรูปแบบของกิจกรรมที่เปน็ กิจวตั ร ประจำวัน และ ใหพ้ ่อแม่ หรือผปู้ กครองเป็นแบบอย่ำงท่ีดใี ห้เด็กสำมำรถเรียนรแู้ ละยึดถือเป็นตน้ แบบในกำรดำเนนิ ชีวิต สง่ เสริมใหม้ กี ิจกรรมกำรเรียนกำรสอนท้ังในและนอกห้องเรียนที่สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ควำมมีวินัย จิตสำธำรณะ รวมทั้งเร่งสร้ำงสภำพแวดล้อมภำยในและโดยรอบสถำนศึกษำให้ปลอดจำก อบำยมุขอยำ่ งจรงิ จัง

20 2. พัฒนำศกั ยภำพคนให้มที กั ษะควำมร้แู ละควำมสำมำรถในกำรดำรงชวี ิตอย่ำงมีคุณค่ำ ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีกำรพัฒนำทักษะทำงสมองและทักษะทำงสังคมท่ีเหมำะสม พัฒนำ หลักสูตร กำรสอนท่ีอิงผลงำนวิจัยทำงวิชำกำรและปรับปรุงสถำนพัฒนำเด็ก ปฐมวัยให้มีคุณภำพตำม มำตรฐำนที่เน้น กำรพัฒนำทักษะสำคัญด้ำนต่ำงๆ อำทิ ทักษะทำงสมอง ทักษะด้ำน ควำมคิดควำมจำ ทักษะกำรควบคุม อำรมณ์ ทกั ษะกำรวำงแผนและกำรจัดระบบ ทักษะกำรรู้จักประเมินตนเอง ควบคู่กับ กำรยกระดับบคุ ลำกร ในสถำนพฒั นำเด็กปฐมวัยให้มีควำมพร้อมทั้งทักษะ ควำมรู้ จริยธรรม และควำม เป็นมืออำชีพ สนับสนุน กำรผลิตสื่อสร้ำงสรรค์ท่ีมีรูปแบบหลำกหลำยที่ให้ควำมรู้ในกำรเล้ียงดู และ พัฒนำเด็กปฐมวัย อำทิ ครอบครัวศึกษำ อนำมัยแม่และเด็ก วิธีกำรพัฒนำทักษะทำงสมองและทักษะ ทำง สังคม ผลักดันให้มี กฎหมำยกำรพัฒนำเด็กปฐมวัยให้ครอบคลุมทั้งกำรพัฒนำทักษะกำรเรียนรู้ เน้นกำรเตรยี มควำมพร้อม เข้ำสู่ระบบกำรศึกษำ กำรพัฒนำสุขภำพอนำมัยให้มีพัฒนำกำรท่ีสมวัย และ กำรเตรียมทักษะ กำรอยู่ในสงั คมใหม้ ีพฒั นำกำรอยำ่ งรอบดำ้ น พัฒนำเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นให้มีทักษะกำรคิดวิเครำะห์อย่ำงเป็นระบบ มีควำมคิด สร้ำงสรรค์ มีทักษะกำรทำงำนและกำรใช้ชีวิตท่ีพร้อมเข้ำสู่ตลำดงำน ปรับกระบวนกำรเรียนรู้ที่ส่งเสริม ให้เด็กมกี ำรเรยี นรู้ จำกกำรปฏิบัติจริง สอดคลอ้ งกบั พฒั นำกำรของสมองแต่ละช่วงวัย เน้นพัฒนำทักษะ พื้นฐำนด้ำนวิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี ด้ำนวิศวกรรมศำสตร์ ด้ำนคณิตศำสตร์ ด้ำนศิลปะ และด้ำน ภำษำต่ำงประเทศ สนับสนุนให้เด็ก เข้ำร่วมกิจกรรมท้ังในและนอกห้องเรียนท่ีเอื้อต่อกำรพัฒนำ ทักษะ ชวี ิตและทกั ษะกำรเรียนรู้อย่ำงต่อเนื่อง อำทิ กำรอ่ำน กำรบำเพ็ญประโยชน์ทำงสังคม กำรดูแลสุขภำพ กำรทำงำนร่วมกันเป็นกลุ่ม กำรวำงแผนชีวิต สร้ำงแรงจูงใจให้เด็กเข้ำสู่กำรศึกษำในระบบทวิภำคี และสหกจิ ศึกษำทม่ี งุ่ กำรฝกึ ทักษะอำชีพให้พร้อมเข้ำสตู่ ลำดงำน 3. ยกระดับคุณภำพกำรศึกษำและกำรเรียนรตู้ ลอดชวี ิต ปรับระบบบริหำรจัดกำรสถำนศึกษำขนำดเล็กที่มีขนำดและจำนวนผู้เรียนต่ำกว่ำเกณฑ์ มำตรฐำน ให้มกี ำรจัดทรัพยำกรร่วมกันให้มีขนำดและจำนวนท่เี หมำะสมตำมควำมจำเป็นของพ้ืนที่ และ โครงสร้ำง ประชำกรที่มสี ดั ส่วนวยั เด็กลดลงอยำ่ งตอ่ เน่อื ง ปรับหลักสูตรกำรผลิตครูท่ีเน้นสมรรถนะ มีจิตวิญญำณควำมเป็นครู เป็นผู้แนะนำ และ สำมำรถ กระตุ้นกำรเรียนรู้ของผู้เรียน สร้ำงมำตรกำรจูงใจให้ผู้มีศักยภำพสูงเข้ำมำเป็นครูปรับระบบ ประเมิน วิทยฐำนะทำงวิชำชีพให้เช่ือมโยงกับพัฒนำกำรและผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน และสร้ำงเครือข่ำย แลกเปล่ียน เรยี นรู้ในกำรจัดกำรเรียนกำรสอนท่เี ป็นกำรพัฒนำสมรรถนะของครูอยำ่ งตอ่ เน่ือง พัฒนำระบบประเมินคุณภำพมำตรฐำนทส่ี ำมำรถวดั และประเมินผลคุณภำพผเู้ รียน ท้ังดำ้ น ทักษะ ควำมรู้ ควำมสำมำรถ และสมรรถนะตำมมำตรฐำนกำรเรยี นรแู้ ต่ละระดบั กำรศึกษำ ส่งเสริมมำตรกำรสร้ำงแรงจูงใจให้สถำนประกอบกำรขนำดกลำงท่ีมีศักยภำพ เข้ำร่วมระบบ ทวิภำคี หรือสหกิจศึกษำ สร้ำงควำมรู้ควำมเข้ำใจให้กับผู้ประกอบกำร ครูฝึกหรือครูพี่เล้ียงให้ร่วม วำงแผนกำรจัด กำรเรียนกำรสอน กำรฝกึ ปฏบิ ัติ และกำรตดิ ตำมประเมินผลผู้เรียน

21 ขยำยควำมร่วมมือระหว่ำงสถำบันอำชีวศึกษำ สถำบันอุดมศึกษำ ภำคเอกชน และ ผู้เช่ียวชำญ ทั้งในและต่ำงประเทศ พัฒนำสำขำวิชำที่มีควำมเชี่ยวชำญเฉพำะด้ำนสู่ควำมเป็นเลิศกำร พัฒนำ งำนวิจยั ไปสนู่ วัตกรรม รวมท้ังขยำยกำรจัดทำและกำรใช้หลกั สูตรฐำนสมรรถนะให้มำกข้ึน จัดทำส่ือกำรเรียนรู้ ท่ีเป็นส่ืออิเล็กทรอนิกส์และสำมำรถใช้งำนผ่ำนระบบอุปกรณ์ ส่ือสำร เคลื่อนท่ี ให้คนทุกกลุ่มสำมำรถเข้ำถึงได้ง่ำย สะดวก ท่ัวถึง ไม่จำกัดเวลำและสถำนท่ี และใช้มำตรกำร ทำงภำษจี งู ใจ ให้ภำคเอกชนผลติ หนังสอื ส่ือกำรอำ่ นและกำรเรยี นร้ทู มี่ ีคุณภำพและรำคำถกู ยทุ ธศำสตร์ที่ 2 กำรสรำ้ งควำมเปน็ ธรรมและลดควำมเหลอื่ มลำ้ ในสงั คม เป้ำหมำยที่ 2 เพ่มิ โอกำสกำรเข้ำถึงบริกำรพ้ืนฐำนทำงสังคมของภำครัฐ ตัวช้ีวัด 2.1 อัตรำกำร เข้ำเรียนสุทธิ (ท่ีปรับปรุง) ในระดับกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำนเท่ำกับร้อยละ 90 โดยไม่มี ควำมแตกต่ำง ระหว่ำงกลุ่มนักเรียน/นักศึกษำท่ีครอบครัวมีฐำนะทำงเศรษฐกิจสังคมและระหว่ำงพื้นท่ี ตัวชี้วัด 2.2 สัดส่วนนักเรียนท่ีมีผลสัมฤทธิ์ทำงกำรศึกษำทุกระดับช้ันผ่ำนเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50 มีจำนวนเพ่ิมข้ึน และควำมแตกตำ่ งของคะแนนผลสัมฤทธ์ริ ะหว่ำงพ้นื ที่ และภมู ิภำคลดลง แนวทำงกำรพฒั นำ ขยำยโอกำสกำรเข้ำถึงกำรศึกษำที่มีคุณภำพให้แก่เด็กและเยำวชน ท่ีด้อย โอกำส ทำงกำรศึกษำอย่ำงต่อเน่ืองโดยไม่ถูกจำกัดศักยภำพจำกสภำพครอบครัว พื้นท่ี และสภำพ ร่ำงกำย กำรดแู ลนกั เรียนยำกจนที่อำศัยในพ้ืนท่ีห่ำงไกลท่ีครอบคลุมต้ังแต่กำรสร้ำงรำยได้ของครัวเรือน กำรสนับสนุน ค่ำเดินทำงไปยังสถำนศึกษำ กำรปรับปรุงระบบคัดกรองและกำรให้เงินอุดหนุน ปจั จัยพ้ืนฐำนนกั เรียนยำกจน ของ สพฐ. ให้มีประสิทธิภำพมำกข้ึน และกำรให้ทุนกำรศึกษำต่อระดับสูง เพอ่ื ป้องกันไมใ่ หเ้ ดก็ นกั เรียนออกจำก โรงเรยี นกลำงคัน 2.3 แผนกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. 2560 – 2579 สำนักงำนเลขำธิกำรสภำกำรศึกษำได้จัดทำแผนกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. 2560 - 2579 เพื่อใช้ เป็นแผนยุทธศำสตร์ระยะยำวสำหรับหน่วยงำนที่เก่ียวข้องกับกำรศึกษำของประเทศ ได้นำไปใช้ เป็น กรอบและแนวทำงกำรพฒั นำกำรศกึ ษำและเรยี นรู้สำหรับพลเมืองทุกช่วงวัยตั้งแต่แรกเกิดจนตลอดชีวิต โดยจุดมุ่งหมำยท่ีสำคัญของแผน คือ กำรมุ่งเน้นกำรประกันโอกำสและควำมเสมอภำคทำงกำรศึกษำ และกำรศึกษำเพ่ือกำรมีงำนทำและสร้ำงงำนได้ ภำยใต้บริบทเศรษฐกิจและสังคมของประเทศและของ โลก ที่ขับเคล่ือนด้วยนวัตกรรมและควำมคิดสร้ำงสรรค์ รวมท้ังควำมเป็นพลวัตร เพ่ือให้ประเทศไทย สำมำรถ ก้ำวข้ำมกับดักประเทศที่มีรำยได้ปำนกลำงไปสู่ประเทศที่พัฒนำแล้วซ่ึงภำยใต้กรอบแผนกำร ศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. 2560 - 2579 ได้กำหนดสำระสำคัญสำหรับบรรลุเป้ำหมำยของกำรพัฒนำ กำรศึกษำใน 5 ประกำร ได้แก่ กำรเข้ำถึงโอกำสทำงกำรศึกษำ (Access) ควำมเท่ำเทียมทำงกำรศึกษำ (Equity) คุณภำพกำรศึกษำ (Quality) ประสิทธิภำพ (Efficiency) และตอบโจทย์บริบทเปล่ียนแปลง (Relevancy) ในระยะ 15 ปขี ำ้ งหน้ำ ดังน้ี วสิ ยั ทัศน์ : คนไทยทุกคนได้รับกำรศกึ ษำและเรยี นรู้ตลอดชีวิตอย่ำงมคี ุณภำพ ดำรงชีวิต อย่ำง เป็นสุข สอดคล้องกบั หลกั ปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพียง และเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21

22 วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื พฒั นำระบบและกระบวนกำรจดั กำรศึกษำท่ีมีคุณภำพและมีประสทิ ธิภำพ 2. เพอื่ พฒั นำคนไทยใหเ้ ปน็ พลเมอื งดี มีคณุ ลกั ษณะ ทักษะและสมรรถนะท่สี อดคล้อง กับ บทบัญญตั ขิ องรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พระรำชบัญญัติกำรศึกษำแหง่ ชำติ และยทุ ธศำสตร์ ชำติ 3. เพือ่ พัฒนำสังคมไทยใหเ้ ป็นสังคมแห่งกำรเรยี นรู้ และคุณธรรมจริยธรรม รู้จักสำมคั คี และ ร่วมมอื ผนึกกำลงั มงุ่ สู่กำรพัฒนำประเทศอย่ำงยง่ั ยนื ตำมหลกั ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพยี ง 4. เพือ่ นำประเทศไทยกำ้ วข้ำมกบั ดักประเทศท่ีมีรำยได้ปำนกลำง และควำมเหลอื่ มลำ้ ภำยในประเทศลดลง ยทุ ธศำสตร์ 1. กำรจดั กำรศึกษำเพื่อควำมม่ันคงของสังคมและประเทศชำติ 2. กำรผลิตและพฒั นำกำลงั คน กำรวจิ ัย และนวัตกรรม เพ่ือสรำ้ งขีดควำมสำมำรถ ในกำรแข่งขนั ของประเทศ 3. กำรพัฒนำศักยภำพคนทกุ ชว่ งวัย และกำรสรำ้ งสังคมแห่งกำรเรยี นรู้ 4. กำรสรำ้ งโอกำส ควำมเสมอภำค และควำมเท่ำเทยี มทำงกำรศึกษำ 5. กำรจัดกำรศึกษำเพ่ือสร้ำงเสรมิ คณุ ภำพชวี ิตทเี่ ป็นมิตรกับส่งิ แวดลอ้ ม 6. กำรพัฒนำประสิทธิภำพของระบบบริหำรจัดกำรศกึ ษำ ปจั จัยและเงื่อนไขควำมสำเร็จ กำรดำเนินกำรตำมวัตถุประสงค์ เป้ำหมำยของแต่ละยุทธศำสตร์ตำมที่กำหนดไว้ในแผน กำรศึกษำแห่งชำติจะประสบผลสำเร็จตำมท่ีระบุไว้ในแต่ละยุทธศำสตร์และแนวทำงกำรพัฒนำ หน่วยงำน ทั้งระดับนโยบำยและระดับปฏิบัติกำร ทั้งในส่วนกลำง ส่วนภูมิภำค จังหวัด เขตพ้ืนท่ี กำรศึกษำ และสถำนศึกษำ ต้องยึดถือเป็นแนวทำงในกำรดำเนินงำน และมีกำรทบทวน ปรับปรุง มำตรกำร เป้ำหมำยควำมสำเร็จให้ทัน ต่อกำรเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นในแต่ละพื้นที่เพ่ือกำรพัฒนำ ศกั ยภำพผ้เู รยี นในทกุ ช่วงวยั ตอ้ งดำเนินกำร ดังน้ี 1. กำรสร้ำงกำรรับรู้ ควำมเข้ำใจและกำรยอมรับจำกผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและประชำสังคม ในกำรสนับสนุนส่งเสริมกำรพัฒนำกำรศึกษำในลักษณะต่ำงๆ อย่ำงกว้ำงขวำง มุ่งเน้นที่กำรจัดระบบ กำรศกึ ษำทมี่ ปี ระสทิ ธิภำพ โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ และม่งุ เน้นกำรพัฒนำคุณภำพของผเู้ รียนในทุกระดบั 2. กำรสร้ำงควำมเข้ำใจในเป้ำหมำยและยุทธศำสตร์กำรดำเนินงำนของแผนฯ ของผู้ปฏิบัติทุก หน่วยงำนทุกระดับ เพื่อให้กำรขับเคลื่อนแผนฯ ไปสู่กำรปฏิบัติ มีกำรบริหำรจัดกำร และกำรเช่ือมโยง ยทุ ธศำสตร์และแนวทำงกำรพัฒนำให้บรรลุเปำ้ หมำยและวิสัยทศั นข์ องกำรจดั กำรศกึ ษำมีคณะกรรมกำร กำกับดูแลแต่ละยุทธศำสตร์ให้เกิดกำรนำไปปฏิบัติ โดยมีระบบงบประมำณเป็นกลไก สนับสนุนให้ บรรลุผลอย่ำงเป็นรปู ธรรม

23 3. กำรปรับเปล่ียนกระบวนทัศน์ของกำรจัดกำรศึกษำ จำกกำรเป็นผู้จัดกำรศึกษำโดยรัฐ มำ เป็นกำรจัดกำรศึกษำโดยทุกภำคส่วนของสังคม ท่ีมุ่งกำรจัดกำรศึกษำเพ่ือควำมเท่ำเทียมและทั่วถึง (Inclusive Education) ตลอดจนกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับทุกคน ซึ่งสอดคล้องกับ เป้ำหมำยกำรพัฒนำทย่ี ั่งยนื (Sustainable Development Goals) 4. กำรจัดให้แผนกำรศึกษำแห่งชำติเป็นเสมือนแผนงบประมำณด้ำนกำรจัดกำรศึกษำของรัฐ ระบบกำรจัดสรรงบประมำณประจำปีให้ยึดแผนงำน โครงกำรและเป้ำหมำยกำรพัฒนำที่กำหนดไว้ใน ยุทธศำสตร์ และแนวทำงกำรพัฒนำของแผนฯ เป็นหลักในกำรพิจำรณำ เพ่ือให้กำรดำเนินงำนพัฒนำ กำรศึกษำเป็นไป ในทิศทำงและเป้ำหมำยกำรพัฒนำผู้เรียนแต่ละช่วงวัย และกำรพัฒนำกำลังคนตำม ควำมตอ้ งกำรของตลำดงำน และประเทศ เพ่ือกำรจัดกำรศึกษำบรรลุผลตำมยุทธศำสตร์ ตัวชี้วัดในช่วง เวลำทกี่ ำหนด 5. กำรปรับระบบกำรบริหำรจัดกำรภำครัฐให้เกิดประสิทธิภำพ โดยปรับโครงสร้ำง กำร บริหำรงำนให้มีควำมชัดเจนในด้ำนบทบำท หน้ำที่และกำรกระจำยอำนำจและกำรตัดสินใจ จำก ส่วนกลำงสู่ระดับภูมิภำคและสถำนศึกษำ รวมทั้งกำรปรับระบบกำรบริหำรจัดกำร และกำรบริหำรงำน บุคคลในแต่ละระดับให้ส่งเสริม สนับสนุนกำรจัดกำรศึกษำในสถำนศึกษำให้เป็นไปอย่ำงมีคุณภำพ ผูเ้ รียนไดร้ บั บริกำรกำรศึกษำท่มี มี ำตรฐำนอยำ่ งเสมอภำคและเทำ่ เทยี ม 6. กำรสรำ้ งระบบขอ้ มูลและสำรสนเทศท่บี ูรณำกำรและเชื่อมโยงกับระบบกำรประกัน คุณภำพ ภำยในและกำรประเมินคุณภำพภำยนอกผ่ำนระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศ และกำรรำยงำน ต่อ สำธำรณชนจะเป็นกลไกในกำรสร้ำงกำรรับรู้ของผู้จัดกำรศึกษำและผู้เรียน เพ่ือกำรปรับประสิทธิภำพ กำรบริหำรจัดกำร และควำมรับผิดชอบต่อผู้เรียน ผ่ำนระบบกำรกำกับ ตรวจสอบ ติดตำมและ ประเมนิ ผล 7. กำรปฏิรูประบบทรัพยำกรและกำรเงินเพ่ือกำรศึกษำ เพื่อให้รัฐสำมำรถใช้เครื่องมือ ทำง กำรเงินในกำรกำกับกำรดำเนินงำนของสถำนศึกษำให้เป็นไปตำมแผนกำรศึกษำแห่งชำติและ นโยบำย รัฐบำล 2.4 นโยบำยสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขนั้ พ้ืนฐำน ปงี บประมำณ พ.ศ. 2563 บทนำ รฐั ธรรมนูญแหง่ รำชอำณำจักรไทย พ.ศ. 2560 หมวด 5 หนำ้ ท่ขี องรฐั มำตรำ 54 บญั ญัติว่ำ “รฐั ต้องดำเนินกำรให้เดก็ ทุกคนไดร้ ับกำรศกึ ษำเป็นเวลำสิบสองปี ตงั้ แตก่ ่อนวัยเรยี นจนจบ กำรศกึ ษำภำคบงั คับอย่ำงมีคุณภำพโดยไมเ่ กบ็ ค่ำใช้จำ่ ย” และคำสั่งหัวหนำ้ คณะรักษำควำมสงบ แหง่ ชำตทิ ่ี 28/2559 เร่ือง ใหจ้ ัดกำรศึกษำขน้ั พืน้ ฐำน 15 ปี โดยไมเ่ กบ็ ค่ำใชจ้ ำ่ ย ตำมนัยขอ้ 3 กำหนดวำ่ “ใหส้ ่วนรำชกำร ทีเ่ กยี่ วข้องกับกำรจัดกำรศึกษำขนั้ พื้นฐำนดำเนนิ กำรจัดกำรศึกษำขัน้ พ้นื ฐำน 15 ปใี ห้มมี ำตรฐำนและคุณภำพ โดยไมเ่ กบ็ ค่ำใช้จำ่ ย” และตำมหมวด 6 แนวนโยบำยแห่งรฐั มำตรำ 65 บญั ญัติว่ำ “ให้รฐั พึงจดั ใหม้ ียุทธศำสตร์ชำตเิ ป็นเป้ำหมำยกำรพัฒนำประเทศอย่ำงยั่งยนื ตำม หลักธรรมำภิบำล เพื่อใชเ้ ป็นกรอบในกำรจัดทำแผนต่ำง ๆ ใหส้ อดคล้องและบูรณำกำรกันเพ่ือให้เกดิ กำรผลักดนั รว่ มกันไปสเู่ ปำ้ หมำยดังกล่ำว”

24 อนึ่ง ยุทธศำสตรช์ ำติ (พ.ศ. 2560 - 2580) ประกำศ ณ วนั ที่ 8 ตลุ ำคม พ.ศ. 2561 ได้กำหนดวสิ ยั ทัศน์ ในกำรพัฒนำประเทศ ดงั น้ี “ประเทศไทยมีควำมมน่ั คง มัง่ คงั่ ย่ังยืน เปน็ ประเทศที่ พัฒนำแลว้ ด้วยกำรพฒั นำตำมหลกั ปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพยี ง” และไดก้ ำหนดยทุ ธศำสตรใ์ นกำร พัฒนำประเทศตำมวสิ ยั ทศั น์ไว้ 6 ยุทธศำสตร์ คอื 1. ยุทธศำสตรช์ ำตดิ ้ำนควำมมนั่ คง 2. ยทุ ธศำสตรช์ ำติดำ้ นกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน 3. ยุทธศำสตร์ชำติด้ำนกำรพัฒนำและเสริมสร้ำงศักยภำพทรัพยำกรมนษุ ย์ 4. ยทุ ธศำสตรช์ ำตดิ ้ำนกำรสร้ำงโอกำสและควำมเสมอภำคทำงสังคม 5. ยุทธศำสตร์ชำตดิ ำ้ นกำรสร้ำงกำรเตบิ โตบนคุณภำพชีวิตท่ีเปน็ มติ รกบั สิ่งแวดล้อม 6. ยทุ ธศำสตรช์ ำตดิ ำ้ นกำรปรับสมดุลและพฒั นำระบบกำรบริหำรจดั กำรภำครฐั สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้นั พนื้ ฐำน ไดต้ ระหนักถงึ ควำมสำคัญของ ยุทธศำสตร์ชำตเิ ปน็ อยำ่ งยิ่ง เพรำะเปน็ แนวทำงในกำรพฒั นำประเทศที่ยัง่ ยืน โดยเฉพำะอย่ำงยงิ่ ยุทธศำสตรช์ ำติ ดำ้ นกำรพฒั นำและเสรมิ สรำ้ งศักยภำพทรัพยำกรมนุษย์ ซง่ึ เป็นยุทธศำสตร์ท่ีเน้น กำรวำงรำกฐำนกำรพัฒนำทรพั ยำกรมนุษย์ของประเทศอย่ำงเปน็ ระบบ โดยมุ่งเนน้ กำรพัฒนำและ ยกระดับคนในทุกมติ แิ ละในทุกชว่ งวัยใหเ้ ปน็ ทรัพยำกรมนุษยท์ ่ดี ี เก่ง และมีคุณภำพพร้อมขับเคลอ่ื น กำรพัฒนำประเทศไปข้ำงหน้ำได้อย่ำงเตม็ ศักยภำพซึง่ “คนไทยในอนำคต จะต้องมีควำมพร้อมทัง้ กำย ใจ สติปัญญำ มพี ฒั นำกำรทดี่ ีรอบดำ้ นและมีสขุ ภำวะท่ีดีในทกุ ชว่ งวัย มีจิตสำธำรณะ รับผิดชอบต่อ สังคมและผู้อน่ื มธั ยสั ถ์ อดออม โอบอ้อมอำรีมวี นิ ยั รักษำศีลธรรม และเป็นพลเมืองดขี องชำติ มหี ลกั คิด ที่ถกู ต้อง มีทกั ษะทีจ่ ำเป็นในศตวรรษท่ี 21 มีทกั ษะสื่อสำรภำษำองั กฤษและ ภำษำที่ 3 และอนุรักษ์ ภำษำท้องถิ่น มนี สิ ัยรกั กำรเรียนรแู้ ละกำรพฒั นำตนเองอย่ำงตอ่ เนื่องตลอดชีวิตส่กู ำรเป็นคนไทย ท่มี ี ทักษะสงู เปน็ นวตั กร นักคดิ ผู้ประกอบกำรเกษตรกรยคุ ใหมแ่ ละอ่นื ๆ โดยมี สัมมำชีพตำมควำมถนัด ของตนเอง” ดังน้นั เพอ่ื ให้กำรพัฒนำประเทศไปส่เู ปำ้ หมำย “ประเทศชำตมิ ัน่ คง ประชำชน มีควำมสุขเศรษฐกิจพฒั นำอย่ำงตอ่ เนื่อง สังคมเปน็ ธรรม ฐำนทรพั ยำกรธรรมชำติยงั่ ยนื ” สำนกั งำน คณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขั้นพื้นฐำน จึงได้กำหนดนโยบำยสำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พน้ื ฐำน ปงี บประมำณ พ.ศ. 2563 สอดคลอ้ งกับยุทธศำสตรช์ ำติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนกำรศึกษำ แหง่ ชำติพ.ศ. 2560 - 2579 แผนกำรปฏริ ปู ประเทศ นโยบำยรัฐบำลท่ีไดแ้ ถลงนโยบำยต่อรฐั สภำ เมื่อวันที่ 25–26 กรกฎำคม 2562 และนโยบำยและจุดเน้นของกระทรวงศกึ ษำธกิ ำร ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 โดย ไดก้ ำหนด วสิ ยั ทศั น์ พันธกิจ เปำ้ ประสงค์ และมำตรกำรและแนวทำงในกำรดำเนินกำร ดงั น้ี ข. วิสยั ทัศน์ “สรำ้ งคณุ ภำพทนุ มนุษย์ สสู่ งั คมอนำคตทยี่ ง่ั ยนื ” ค. พันธกิจ 1. จดั กำรศกึ ษำเพ่ือเสริมสร้ำงควำมมัน่ คงของสถำบนั หลักของชำติและกำรปกครอง ในระบอบประชำธิปไตยอันมีพระมหำกษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข

25 2. พฒั นำผเู้ รยี นใหม้ คี วำมสำมำรถควำมเป็นเลศิ ทำงวิชำกำรเพื่อสร้ำงขดี ควำมสำมำรถ ในกำรแข่งขัน 3. พัฒนำศกั ยภำพและคณุ ภำพผเู้ รียนใหม้ ีสมรรถนะตำมหลักสูตรและคุณลกั ษณะ ในศตวรรษท่ี 21 4. สร้ำงโอกำส ควำมเสมอภำค ลดควำมเหล่อื มลำ้ ใหผ้ เู้ รียนทุกคนได้รบั บรกิ ำรทำง กำรศึกษำอย่ำงทวั่ ถึงและเทำ่ เทยี ม 5. พัฒนำผบู้ รหิ ำร ครู และบุคลำกรทำงกำรศึกษำใหเ้ ป็นมืออำชีพ 6. จัดกำรศึกษำเพ่ือพฒั นำคุณภำพชีวติ ทเี่ ป็นมติ รกับสิง่ แวดลอ้ ม ยึดหลักปรัชญำของ เศรษฐกิจพอเพยี ง และเป้ำหมำยกำรพัฒนำทย่ี ัง่ ยนื (Sustainable Development Goals: SDGs) 7. ปรบั สมดลุ และพัฒนำระบบกำรบรหิ ำรจัดกำรศกึ ษำทกุ ระดับ และจัดกำรศึกษำโดย ใช้เทคโนโลยีดิจิทลั (Digital Technology) เพอ่ื พัฒนำมุ่งสู่ Thailand 4.0 ง. เป้ำหมำย 1. ผูเ้ รยี นมคี วำมรักในสถำบันหลักของชำติ และยึดมั่นกำรปกครองระบอบ ประชำธปิ ไตยอนั มีพระมหำกษตั ริย์ทรงเป็นประมุข มที ศั นคติทีถ่ ูกตอ้ งตอ่ บ้ำนเมือง มีหลกั คิดที่ถูกต้อง และเปน็ พลเมอื งดีของชำติ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มีคำ่ นยิ มทพ่ี ึงประสงค์ มีจิตสำธำรณะ รบั ผิดชอบต่อ สงั คมและผู้อืน่ ซ่อื สัตย์สุจริต มัธยสั ถ์ อดออม โอบอ้อมอำรี มวี นิ ัย รักษำศีลธรรม 2. ผเู้ รยี นทม่ี ีควำมสำมำรถพิเศษดำ้ นวทิ ยำศำสตร์ คณติ ศำสตร์ ศิลปะ ดนตรี กีฬำ ภำษำและอ่นื ๆ ไดร้ บั กำรพฒั นำอย่ำงเต็มตำมศกั ยภำพ 3. ผูเ้ รยี น เปน็ บุคคลแห่งกำรเรยี นรู้ คดิ รเิ ริ่มและสร้ำงสรรค์นวตั กรรม มีควำมรู้ มที กั ษะมสี มรรถนะตำมหลักสูตร และคุณลักษณะของผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 มีสุขภำวะท่ีเหมำะสม ตำมวัยมคี วำมสำมำรถในกำรพึ่งพำตนเอง ตำมหลกั ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และกำรเปน็ พลเมือง พลโลกทด่ี ี (Global Citizen) พร้อมกำ้ วสสู่ ำกล นำไปสู่กำรสรำ้ งควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขนั ของ ประเทศ 4. ผู้เรียนที่มีควำมตอ้ งกำรจำเปน็ พเิ ศษ (ผู้พิกำร) กล่มุ ชำตพิ นั ธ์ุ กลมุ่ ผูด้ ้อยโอกำสและ กลมุ่ ท่ีอยู่ในพ้นื ทีห่ ำ่ งไกลทรุ กันดำร ได้รบั กำรศึกษำอย่ำงทั่วถงึ เท่ำเทยี ม และมีคณุ ภำพ 5. ผบู้ รหิ ำร ครู และบุคลำกรทำงกำรศึกษำเปน็ บุคคลแห่งกำรเรยี นรู้ มคี วำมร้แู ละ จรรยำบรรณ ตำมมำตรฐำนวิชำชีพ 6. สถำนศึกษำจัดกำรศึกษำเพ่ือกำรบรรลเุ ปำ้ หมำยกำรพัฒนำอย่ำงยัง่ ยืน ( Sustainable Development Goals: SDGs) และสรำ้ งเสรมิ คุณภำพชีวิตทเี่ ป็นมติ รกับสง่ิ แวดลอ้ ม ตำมหลกั ปรัชญำ ของเศรษฐกจิ พอเพียง 7. สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน สำนกั งำนเขตพื้นท่กี ำรศึกษำ สถำนศกึ ษำมสี มดลุ ในกำรบริหำรจัดกำรเชิงบูรณำกำร มกี ำรกำกับ ตดิ ตำม ประเมินผล มรี ะบบข้อมูล สำรสนเทศทม่ี ีประสิทธภิ ำพ และกำรรำยงำนผลอย่ำงเป็นระบบ ใชง้ ำนวิจัย เทคโนโลยีและนวตั กรรมใน กำรขบั เคล่ือนคุณภำพกำรศึกษำ

26 จ. นโยบำยสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พ้ืนฐำน สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขน้ั พื้นฐำน ไดก้ ำหนดนโยบำย ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 โดยยดึ หลักของกำรพัฒนำทยี่ ง่ั ยืน และกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของประเทศ ในอนำคต เปน็ แนวทำงในกำรจัดกำรศึกษำจัดกำรศกึ ษำขั้นพ้นื ฐำน และสอดคลอ้ งกับยุทธศำสตร์ชำติ พ.ศ. 2561 – 2580 แผนแม่บทภำยใตย้ ุทธศำสตร์ชำติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนปฏิรูปประเทศ ด้ำนกำรศึกษำ แผนพฒั นำเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชำติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2565) แผนกำรศกึ ษำ แห่งชำติ พ.ศ. 2560 – 2579 และม่งุ สู่ Thailand 4.0 ดังนี้ ประเทศ นโยบำยท่ี 1 ด้ำนกำรจัดกำรศกึ ษำเพ่อื ควำมม่ันคงของมนษุ ย์และของชำติ สงิ่ แวดล้อม นโยบำยที่ 2 ดำ้ นกำรจัดกำรศึกษำเพ่ือเพิม่ ควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของ นโยบำยท่ี 3 ด้ำนกำรพฒั นำและเสรมิ สร้ำงศกั ยภำพทรัพยำกรมนุษย์ นโยบำยที่ 4 ดำ้ นกำรสรำ้ งโอกำสในกำรเข้ำถงึ บรกิ ำรกำรศึกษำทีม่ คี ุณภำพ มีมำตรฐำนและลดควำมเหล่อื มล้ำทำงกำรศึกษำ นโยบำยท่ี 5 ดำ้ นกำรจัดกำรศึกษำเพ่ือพฒั นำคุณภำพชีวิตทเ่ี ปน็ มิตรกบั นโยบำยที่ 6 ดำ้ นกำรปรับสมดุลและพัฒนำระบบกำรบริหำรจัดกำรศกึ ษำ ฉ. มำตรกำรและแนวดำเนนิ กำร นโยบำยที่ 1 ดำ้ นกำรจัดกำรศกึ ษำเพื่อควำมม่นั คงของมนุษย์และของชำติ บทนำ นโยบำยด้ำนกำรจดั กำรศึกษำเพื่อควำมมัน่ คงของมนุษย์และของชำติ เป็นกำรจดั กำรศกึ ษำเพื่อมงุ่ เนน้ กำรพัฒนำผู้เรียนทุกคน ใหม้ คี วำมรกั ในสถำบันหลกั ของชำติ ยดึ มนั่ ในกำรปกครอง ระบอบประชำธิปไตยอนั มีพระมหำกษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข มีทัศนคติทด่ี ตี ่อบ้ำนเมือง มหี ลักคดิ ที่ถกู ต้อง เป็นพลเมืองดีของชำติ และพลเมอื งโลกทีด่ ี มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีคณุ ธรรมอัตลักษณ์ มจี ติ สำธำรณะมี จติ อำสำ รับผดิ ชอบต่อครอบครัว ชมุ ชน สงั คมและประเทศชำติ ซ่ือสัตย์ สจุ ริต มธั ยัสถ์ อดออม โอบ อ้อมอำรี มวี นิ ัย และรักษำศีลธรรม เป็นผู้เรยี นที่มคี วำมพร้อมสำมำรถรบั มือกบั ภัยคุกคำม รปู แบบใหม่ ทกุ รปู แบบ ทีม่ ีผลกระทบต่อควำมม่ันคง เชน่ ภยั จำกยำเสพตดิ ควำมรุนแรง กำรคุกคำมในชวี ิตและ ทรัพยส์ ิน กำรค้ำมนุษย์ อำชญำกรรมไซเบอร์ และภยั พบิ ตั ิต่ำง ๆ เป็นตน้ ควบคู่ไปกบั กำรป้องกันและ แกไ้ ขปัญหำท่ีมีอยู่ในปัจจุบันและที่อำจจะเกิดข้ึนในอนำคต และเนน้ กำรจดั กำรศึกษำให้เหมำะสม สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของพ้ืนฐำน สภำพทำงภูมศิ ำสตร์ ด้ำนเศรษฐกจิ และสังคม ซง่ึ มีควำมแตกตำ่ ง ทำงด้ำนสงั คม วฒั นธรรม เชือ้ ชำติ เช่น กำรจดั กำรศึกษำเขตพัฒนำพิเศษเฉพำะกจิ จงั หวัดชำยแดน ภำคใตก้ ำรจดั กำรศึกษำในเขตพ้ืนทเ่ี ฉพำะ กลมุ่ ชำตพิ นั ธุ์ กลมุ่ ผดู้ ้อยโอกำส และกลมุ่ ท่อี ยใู่ นพ้ืนท่ี หำ่ งไกลทุรกันดำร พ้นื ท่สี ูง ชำยแดน ชำยฝ่ังทะเล และเกำะแก่ง เปน็ ตน้ เพ่ือใหผ้ เู้ รียนได้มโี อกำสได้รับ กำรพัฒนำสอดคล้องกบั บรบิ ทของพ้ืนท่ี ได้รับกำรบริกำรด้ำนกำรศึกษำขนั้ พ้นื ฐำนที่มคี ุณภำพ และ เหมำะสมตรงตำมควำมตอ้ งกำร เปน็ ตน้

27 เปำ้ ประสงค์ 1. ผู้เรียนทกุ คนท่ีมีพฤตกิ รรมท่แี สดงออกถงึ ควำมรกั ในสถำบันหลักของชำตยิ ึดมั่น กำรปกครองระบอบประชำธิปไตยอนั มพี ระมหำกษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข 2. ผเู้ รียนทุกคนมที ัศนคติทด่ี ีตอ่ บำ้ นเมือง มหี ลกั คดิ ท่ีถกู ต้อง เปน็ พลเมอื งดีของชำติ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม มีคำ่ นยิ มที่พึงประสงค์ มีจติ สำธำรณะ มจี ติ อำสำ รบั ผดิ ชอบตอ่ ครอบครัวผอู้ ื่น และสงั คมโดยรวม ซ่ือสัตย์ สุจรติ มัธยสั ถ์ อดออม โอบออ้ มอำรี มวี นิ ยั และรกั ษำศีลธรรม 3. ผเู้ รียนทกุ คนมคี วำมรู้ ควำมเข้ำใจ และมีควำมพร้อมสำมำรถรับมือกับภัยคุกคำม ทุกรปู แบบทมี่ ผี ลกระทบต่อควำมม่นั คง เชน่ ภัยจำกยำเสพตดิ ควำมรุนแรง กำรคกุ คำมในชวี ติ และ ทรัพย์สิน กำรค้ำมนษุ ย์ อำชญำกรรมไซเบอร์ และภยั พบิ ตั ิตำ่ ง ๆ เปน็ ตน้ 4. ผเู้ รยี นในเขตพ้นื ทีเ่ ขตพฒั นำพิเศษเฉพำะกิจจังหวัดชำยแดนภำคใต้ได้รบั โอกำสและ กำรพัฒนำอยำ่ งเต็มศักยภำพ และมคี ุณภำพสอดคล้องกับบริบทของพ้ืนท่ี 5. ผูเ้ รียนในเขตพื้นทีเ่ ฉพำะ กลมุ่ ชำติพนั ธุ์ กลมุ่ ผดู้ ้อยโอกำส และกลุ่มท่ีอย่ใู นพนื้ ท่ี ห่ำงไกลทุรกันดำร เชน่ พื้นท่ีสูง ชำยแดน ชำยฝง่ั ทะเล และเกำะแก่ง เป็นต้น ได้รบั กำรบรกิ ำร ด้ำนกำรศึกษำข้ันพื้นฐำนท่ีมีคุณภำพ และเหมำะสมตรงตำมควำมตอ้ งกำร ตัวชี้วัด 1. รอ้ ยละของผู้เรียนทม่ี ีพฤติกรรมทแี่ สดงออกถงึ ควำมรักในสถำบนั หลักของชำติ ยึดมน่ั กำรปกครองระบอบประชำธปิ ไตยอนั มีพระมหำกษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ 2. รอ้ ยละของผ้เู รียนที่มีพฤติกรรมทแ่ี สดงออกถงึ กำรมีทศั นคตทิ ี่ดตี ่อบ้ำนเมืองมีหลกั คดิ ท่ีถูกต้องเป็นพลเมืองดขี องชำติ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มคี ่ำนยิ มที่พึงประสงค์ มีคณุ ธรรมอตั ลักษณ์ มีจติ สำธำรณะ มจี ติ อำสำ รบั ผดิ ชอบต่อครอบครัว ผูอ้ น่ื และสงั คมโดยรวม ซื่อสตั ย์ สจุ ริต มธั ยสั ถ์ อดออม โอบอ้อมอำรี มีวนิ ยั และรักษำศลี ธรรม 3. รอ้ ยละของผู้เรียนมีควำมรู้ ควำมเข้ำใจ และมีควำมพร้อมสำมำรถรับมือกับภัย คกุ คำมทุกรปู แบบท่ีมผี ลกระทบตอ่ ควำมมนั่ คง เช่น ภัยจำกยำเสพตดิ ควำมรนุ แรง กำรคกุ คำมในชวี ติ และทรัพยส์ ิน กำรคำ้ มนุษย์ อำชญำกรรมไซเบอร์ และภยั พิบัติต่ำง ๆ เปน็ ต้น 4. ร้อยละของผูเ้ รียนในเขตพัฒนำพเิ ศษเฉพำะกิจจงั หวัดชำยแดนภำคใต้ไดร้ ับโอกำส และกำรพัฒนำอย่ำงเตม็ ศักยภำพ และมีคณุ ภำพสอดคล้องกับบริบทของพน้ื ท่ี 5. รอ้ ยละของผูเ้ รียนในเขตพื้นทเ่ี ฉพำะกลุ่มชำติพนั ธุ์ กลุ่มผู้ดอ้ ยโอกำส และกลมุ่ ทอ่ี ยู่ ในพน้ื ท่ีหำ่ งไกลทรุ กันดำร เช่น พนื้ ทส่ี ูง ชำยแดน ชำยฝั่งทะเล และเกำะแกง่ ไดร้ ับกำรบริกำรดำ้ น กำรศึกษำขัน้ พื้นฐำนที่มคี ุณภำพ และเหมำะสมตรงตำมควำมต้องกำร สอดคล้องกับบริบทของพืน้ ที่ 6. จำนวนสถำนศึกษำท่ีนอ้ มนำพระบรมรำโชบำยด้ำนกำรศึกษำของ พระบำทสมเด็จ พระปรเมนทรรำมำธิบดีศรสี นิ ทร มหำวชิรำลงกรณฯ พระวชริ เกล้ำเจำ้ อยู่หัว และหลกั ปรัชญำของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ไปพัฒนำผู้เรียนให้มคี ณุ ลักษณะอันพึงประสงคต์ ำมท่กี ำหนดได้อย่ำงมีประสิทธภิ ำพ 7. จำนวนสถำนศกึ ษำทจี่ ัดบรรยำกำศส่งิ แวดล้อม และจัดกิจกรรมกำรเรยี นรู้ให้ผเู้ รยี น แสดงออกถึงควำมรักในสถำบันหลักของชำติ ยดึ มนั่ กำรปกครองระบอบประชำธิปไตยอันมี พระมหำกษัตริยท์ รงเป็นประมุข มีทศั นคติท่ีดตี อ่ บ้ำนเมือง มหี ลักคดิ ท่ีถูกต้อง เป็นพลเมืองดขี องชำติ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม

28 มำตรกำรและแนวทำงกำรดำเนินกำร 1. พัฒนำผู้เรยี นให้เป็นพลเมืองดีของชำตแิ ละเป็นพลโลกท่ีดี เปน็ มำตรกำรในกำรพฒั นำผเู้ รยี นใหม้ ีควำมรักในสถำบันหลักของชำติ ยดึ มนั่ ในกำรปกครองระบอบประชำธปิ ไตยอนั มีพระมหำกษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุข มที ัศนคตทิ ่ีดตี ่อบ้ำนเมือง มีหลักคดิ ท่ีถกู ต้อง เป็นพลเมืองดขี องชำติ และพลเมืองโลกทดี่ ี มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีค่ำนยิ ม ที่พึงประสงคม์ ีคณุ ธรรมอัตลักษณ์ มจี ิตสำธำรณะ มจี ิตอำสำ รับผดิ ชอบตอ่ ครอบครวั ชุมชน และสงั คม และประเทศชำตซิ ่ือสตั ย์ สจุ รติ มธั ยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอำรี มวี นิ ัย และรักษำศลี ธรรม โดยมแี นวทำงกำรดำเนนิ กำร ดงั นี้ 1.1 สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน และสำนกั งำนเขตพืน้ ที่ กำรศกึ ษำ ส่งเสรมิ สนับสนุน กำกบั ตดิ ตำม และประเมินสถำนศกึ ษำตำมมำตรกำรทกี่ ำหนด 1.2 สถำนศกึ ษำ (1) พฒั นำหลกั สตู รของสถำนศกึ ษำ โดยนำพระบรมรำโชบำยด้ำนกำรศกึ ษำของ พระบำทสมเดจ็ พระปรเมนทรรำมำธิบดศี รีสินทร มหำวชิรำลงกรณฯ พระวชริ เกล้ำเจำ้ อยหู่ วั และหลัก ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพยี งไปบรู ณำกำรจัดกจิ กรรมกำรเรยี นรเู้ พ่ือพฒั นำผ้เู รยี นมีคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ตำมท่ีกำหนด (2) จดั บรรยำกำศสิ่งแวดลอ้ ม และจดั กจิ กรรมกำรเรียนร้ใู ห้ผ้เู รียนแสดงออกถึง ควำมรกั ในสถำบันหลกั ของชำติ ยดึ มนั่ กำรปกครองระบอบประชำธิปไตยอันมพี ระมหำกษตั รยิ ท์ รงเป็น ประมุขมที ัศนคติท่ีดีต่อบ้ำนเมอื ง มหี ลกั คดิ ที่ถูกต้อง เป็นพลเมืองดีของชำติ และพลเมืองโลกทด่ี ี มคี ุณธรรม จริยธรรม มีคำ่ นยิ มที่พงึ ประสงค์ มคี ุณธรรมอตั ลกั ษณ์ มจี ิตสำธำรณะ มจี ิตอำสำรบั ผดิ ชอบ ต่อครอบครัว ชุมชน สงั คม และประเทศชำติ ซอ่ื สัตย์ สจุ รติ มธั ยสั ถ์ อดออม โอบอ้อมอำรี มวี นิ ยั และ รกั ษำศีลธรรม 2. พฒั นำผเู้ รยี นมคี วำมให้มีควำมพร้อมสำมำรถรบั มือกับภยั คกุ คำมทุกรปู แบบ ทุกระดบั ควำมรนุ แรง ทม่ี ีผลกระทบต่อควำมมัน่ คงของประเทศ เปน็ มำตรกำรในกำรพัฒนำผเู้ รยี นให้มีควำมรู้ ควำมสำมำรถในกำรรบั มือกับภัย คุกคำม รูปแบบใหมท่ กุ รูปแบบ ทุกระดบั ควำมรนุ แรง เช่น ภยั จำกยำเสพตดิ ภยั จำกควำมรุนแรง กำร คกุ คำมในชีวิตและทรพั ย์สิน กำรค้ำมนุษย์ อำชญำกรรมไซเบอร์ และภัยพิบตั ิต่ำง ๆ เปน็ ต้น ควบคูไ่ ป กับกำรป้องกนั และแกไ้ ขปัญหำทม่ี ีอยู่ในปจั จุบัน และทอ่ี ำจจะเกิดข้ึนในอนำคต โดยมีแนวทำงกำร ดำเนินกำร ดงั น้ี 2.1 สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขั้นพนื้ ฐำน และสำนกั งำนเขตพืน้ ท่ี กำรศกึ ษำสง่ เสริม สนับสนุน กำกับ ตดิ ตำม และประเมนิ สถำนศกึ ษำตำมมำตรกำรท่ีกำหนด 2.2 สถำนศึกษำ (1) พฒั นำหลักสตู รสถำนศึกษำ และจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ให้ผ้เู รยี นมีควำมรู้ ควำมเข้ำใจเกยี่ วกับภัยคุกคำมทม่ี ผี ลกระทบต่อควำมม่นั คง ภัยจำกยำเสพติด ควำมรุนแรงกำรคุกคำมใน ชีวติ และทรัพยส์ ิน กำรค้ำมนุษย์ อำชญำกรรม ไซเบอร์ ภัยพบิ ัตแิ ละภำวะฉกุ เฉนิ และภัยคุกคำมรูปแบบ ใหม่ ตลอดจนรู้จกั วิธีกำรป้องกนั และแกไ้ ขหำกได้รบั ผลกระทบจำกภัยดงั กลำ่ ว (2) มีมำตรกำรและแนวทำงกำรปอ้ งกนั ยำเสพติดในสถำนศึกษำและชมุ ชน (3) จดั สภำพแวดลอ้ มภำยในสถำนศึกษำใหม้ ีควำมมนั่ คงปลอดภัย

29 (4) มีระบบกำรดูแล ตดิ ตำม และชว่ ยเหลือผู้เรยี น ในกำรแก้ปญั หำตำ่ ง ๆ ไดร้ ับคำปรึกษำช้ีแนะและควำมช่วยเหลืออย่ำงทนั กำรณ์ ทันเวลำ รวมท้ังกำรอบรมบม่ นิสัย 3. กำรจดั กำรศึกษำในเขตพัฒนำพเิ ศษเฉพำะกจิ จังหวดั ชำยแดนภำคใต้ สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พนื้ ฐำน ดำเนนิ แผนงำน โครงกำรตำม ยทุ ธศำสตรก์ ำรศึกษำเขตพัฒนำพเิ ศษเฉพำะกิจจงั หวัดชำยแดนภำคใต้ (พ.ศ. 2560 - 2579) กระทรวงศึกษำธิกำร ตำมยุทธศำสตร์ 6 ขอ้ คอื 1. กำรศึกษำเพ่ือเสริมสร้ำงควำมม่ันคง 2. กำรผลติ และพัฒนำกำลังคนให้มีสมรรถนะในกำรแข่งขัน 3. กำรพฒั นำศักยภำพคนทกุ ช่วงวยั และกำรสร้ำงสังคมแห่งกำรเรียนรู้ 4. กำรสรำ้ งโอกำสควำมเสมอภำคและเทำ่ เทยี มกันทำงกำรศกึ ษำ 5. กำรศึกษำเพื่อเสรมิ สรำ้ งคุณภำพชีวิตท่ีเปน็ มิตรกบั ส่งิ แวดล้อม 6. กำรพฒั นำระบบกำรบริหำรจัดกำรศึกษำ โดยมีแนวทำงกำรดำเนนิ กำร ดงั น้ี (1) สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้ันพน้ื ฐำน ดำเนนิ กำรจัดกำรศึกษำ ขัน้ พ้นื ฐำนในพ้ืนท่จี ังหวดั ชำยแดนภำคใต้อย่ำงมีคณุ ภำพตำมมำตรฐำนบนพื้นฐำนควำมหลำกหลำย ในวัฒนธรรมทสี่ อดคลอ้ งกับอัตลกั ษณ์วถิ ีชีวติ และควำมต้องกำรของชุมชน (2) สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พนื้ ฐำน ส่งเสรมิ และสรำ้ งโอกำสให้ ผูเ้ รยี นในพนื้ ท่ีจังหวัดชำยแดนภำคใตไ้ ด้รบั กำรศึกษำขนั้ พ้ืนฐำนอย่ำงทัว่ ถึง (3) สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขั้นพืน้ ฐำน สง่ เสริมมำตรกำรกำรรกั ษำควำม ปลอดภยั ของสถำนศึกษำ ครู และบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำในพืน้ ท่จี งั หวดั ชำยแดนภำคใตใ้ หม้ คี วำม ปลอดภยั ในชีวติ และทรัพย์สนิ (4) สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพ้นื ฐำน เสรมิ สร้ำงสวัสดกิ ำรใหค้ รูและ บุคลำกรทำงกำรศึกษำใหม้ ีขวัญและกำลงั ใจในกำรปฏบิ ัติงำนในพนื้ ท่เี สยี่ งภยั 4. กำรพฒั นำคุณภำพผเู้ รยี นในเขตพ้นื ท่เี ฉพำะ เปน็ มำตรกำรกำรจดั กำรศึกษำใหแ้ กผ่ ูเ้ รียนท่ีอยใู่ นเขตพื้นท่เี ฉพำะ กล่มุ ชำตพิ ันธุ์ กลมุ่ ผดู้ ้อยโอกำส และกลมุ่ ที่อยู่ในพ้ืนที่หำ่ งไกลทรุ กนั ดำร เช่น พ้ืนทส่ี ูง ชำยแดน ชำยฝงั่ ทะเล และเกำะ แก่ง ได้รบั กำรบรกิ ำรด้ำนกำรศกึ ษำขนั้ พื้นฐำนท่มี ีคุณภำพ และเหมำะสมตรงตำมควำมต้องกำร โดยมแี นวทำงกำรดำเนินกำร ดังน้ี 4.1 สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขน้ั พน้ื ฐำน และสำนักงำนเขตพื้นที่ กำรศกึ ษำ (1) สนบั สนนุ งบประมำณในกำรพฒั นำครูและบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำในพืน้ ที่สงู ในถิน่ ทุรกันดำร ชำยแดน ชำยฝงั่ ทะเล และเกำะแก่ง และท่ีดูแลหอพักนอนตำมควำมจำเป็นและ เหมำะสมกบั บริบท (2) จดั สรรงบประมำณเพิ่มเติมให้สถำนศึกษำในกลมุ่ โรงเรยี นพนื้ ท่สี งู ในถิน่ ทุรกนั ดำร ชำยแดน ชำยฝง่ั ทะเล และเกำะแก่ง ใหจ้ ัดกำรเรียนรู้ท่ีมคี ณุ ภำพ และเกดิ จติ สำนึกรกั ใน สถำบนั ชำติ ศำสนำ พระมหำกษตั รยิ ์

30 (3) สรำ้ งเวทีกำรแลกเปล่ียนเรียนรใู้ นประเดน็ “กำรพัฒนำกำรจัดกำรศกึ ษำ ทีเ่ หมำะสมกับสภำพบรบิ ทของพ้ืนท่ีสงู ในถิ่นทรุ กันดำร ชำยแดน ชำยฝั่งทะเล และเกำะแกง่ ”ในรปู แบบ ตำ่ ง ๆ เช่น จดั เวทีเสวนำ กำรแสดงนทิ รรศกำร กำรตดิ ต่อสื่อสำรผำ่ นชอ่ งทำงออนไลน์ 4.2 สถำนศกึ ษำ (1) พัฒนำรปู แบบและวิธกี ำรจัดกำรเรยี นรู้ สอ่ื กำรเรียนรู้ และกำรวัดและ ประเมินผลทีเ่ หมำะสมสำหรับกำรพัฒนำศักยภำพสงู สดุ ผูเ้ รียนกลุม่ ชำตพิ นั ธุ์ กลมุ่ ผดู้ ้อยโอกำสและ กลุ่มที่อยูใ่ นพ้ืนท่ีหำ่ งไกลทุรกันดำร (2) พฒั นำครูให้มีทักษะกำรสอนภำษำไทยสำหรับเด็กท่ีไม่ไดใ้ ช้ภำษำไทยใน ชีวิตประจำวัน (4) สง่ เสริมกำรจัดกำรเรียนรู้โดยใชช้ มุ ชนเปน็ ฐำน ในกำรพัฒนำทกั ษะวชิ ำกำร ทกั ษะชีวิต ทักษะอำชพี และภำษำที่ ๓ ที่สอดคล้องและเหมำะสมกับสงั คมพหุวฒั นธรรม นโยบำยท่ี 2 ด้ำนกำรจดั กำรศกึ ษำเพอ่ื เพ่มิ ควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขนั ของประเทศ บทนำ ยทุ ธศำสตรช์ ำตดิ ำ้ นกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน ใหค้ วำมสำคญั กับศักยภำพ และคณุ ภำพของทรัพยำกรมนุษย์เปน็ สำคญั เนื่องจำก “ทรัพยำกรมนษุ ยเ์ ปน็ ปจั จัยขบั เคลื่อนสำคัญ ในกำรยกระดบั กำรพฒั นำประเทศในทุกมติ ิไปสเู่ ปำ้ หมำยกำรเป็นประเทศท่ีพฒั นำแล้วมีขดี ควำมสำมำรถในกำรแข่งขันกับนำนำประเทศ” ดังน้นั กำรพฒั นำศักยภำพและคณุ ภำพผเู้ รียนใหม้ ีควำม เป็นเลศิ ทำงวิชำกำรจึงมคี วำมจำเปน็ อยำ่ งย่งิ ท่ีจะต้องดำเนินกำรให้สอดคลอ้ งกันโดยเนน้ ปรบั เปลีย่ น กระบวนกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนของสถำนศึกษำท่จี ัดกำรศกึ ษำระดับมัธยมศึกษำใหเ้ ป็นสถำนศกึ ษำ ที่จัดกำรเรยี นรู้ใหแ้ ก่ผู้เรยี นเชิงสมรรถนะรำยบุคคล ตำมควำมสนใจ และควำมถนดั อย่ำงเตม็ ศกั ยภำพ มคี วำมเป็นเลศิ ทำงด้ำนวชิ ำกำร มีทกั ษะทีจ่ ำเป็นในศตวรรษท่ี 21 มีควำมเป็นเลศิ ดำ้ นทักษะสื่อสำร ภำษำไทย ภำษำอังกฤษ และภำษำท่ี ๓ มที กั ษะควำมรู้ดำ้ นดจิ ทิ ัล (Digital Literacy) เพื่อใช้เป็น เครอื่ งมอื ในกำรเรยี นรู้ได้อยำ่ งมปี ระสิทธภิ ำพ มนี สิ ัยรกั กำรเรยี นรู้และกำรพฒั นำตนเองอย่ำงตอ่ เนื่อง ตลอดชีวิต สกู่ ำรเปน็ คนไทย ท่ีมที ักษะวิชำชพี ชัน้ สูง เป็นนักคดิ เปน็ ผู้สร้ำงนวตั กรรมเป็นนวัตกร เป็น ผู้ประกอบกำร เปน็ เกษตรกรยคุ ใหม่ และอนื่ ๆ สอดคลอ้ งกับควำมต้องกำรของประเทศมคี วำมยดื หยุ่น ทำงด้ำนควำมคิด สำมำรถทำงำนรว่ มกับผอู้ น่ื ได้ภำยใตส้ งั คมที่เปน็ พหวุ ัฒนธรรมและมีควำมสำมำรถ ในกำรจดั กำรสุขภำวะของตนเองให้มสี ุขภำวะทด่ี ี สำมำรถดำรงชีวติ อยำ่ งมีควำมสขุ ทงั้ ด้ำนรำ่ งกำยและ จิตใจ เป้ำประสงค์ 1. ผเู้ รียนทุกระดบั ให้มคี วำมเปน็ เลิศ มีทกั ษะทจี่ ำเป็นในศตวรรษท่ี 21 2. ผ้เู รยี นมคี วำมเปน็ เลศิ ตำมควำมถนดั และควำมสนใจ นำไปสู่กำรพัฒนำ ทกั ษะ วิชำชีพ เป็นนกั คิด เปน็ ผู้สร้ำงนวตั กรรม เป็นนวตั กร 3. ผู้เรยี นไดร้ บั โอกำสเขำ้ สู่เวทีกำรแข่งขนั ระดบั นำนำชำติ ตวั ช้วี ัด 1. จำนวนผู้เรยี นมีควำมเป็นเลิศทำงด้ำนวิชำกำร มที ักษะควำมร้ทู ีส่ อดคล้องกับทักษะ ทจี่ ำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21

31 2. ผู้เรยี นระดับมัธยมศึกษำผ่ำนกำรประเมนิ สมรรถนะทีจ่ ำเปน็ ดำ้ นกำรรเู้ รอ่ื งกำรอำ่ น (Reading Literacy) ด้ำนกำรรู้เร่อื งคณิตศำสตร์ (Mathematical Literacy) และดำ้ นกำรรเู้ ร่อื ง วทิ ยำศำสตร์ (Scientific Literacy) ตำมแนวทำงกำรประเมิน PISA 3. ร้อยละของผู้เรียนท่ีมีศักยภำพไดร้ ับโอกำสเขำ้ สเู่ วทีกำรแขง่ ขันระดบั นำนำชำติ มำตรกำรและแนวทำงกำรดำเนนิ กำร พฒั นำคุณภำพผู้เรยี นเต็มตำมศกั ยภำพ นำไปสู่ควำมเปน็ เลิศดำ้ นวชิ ำกำรตำม ควำมสำมำรถ ควำมสนใจ มที ักษะท่จี ำเป็นในศตวรรษที่ 21 สรำ้ งขดี ควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขันของ ประเทศ โดยมีแนวทำงดำเนินกำร ดังน้ี 1. สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขนั้ พน้ื ฐำน และสำนักงำนเขตพน้ื ทกี่ ำรศึกษำ 1.1 ศกึ ษำวิเครำะห์ วิจยั และพฒั นำเคร่อื งมือวัดแวว และรวบรวมเครื่องมอื วดั แวว จำกหนว่ ยงำนต่ำง ๆ ท่เี กีย่ วข้องท้งั ภำครัฐและเอกชน 1.2 ส่งเสรมิ สนับสนุน ให้สำนกั งำนเขตพืน้ ทกี่ ำรศึกษำ ดำเนินกำรวัดแววควำมถนัด ทำงกำรเรียนของนักเรยี นระดับมัธยมศกึ ษำตอนตน้ ของโรงเรียนในเขตพน้ื ท่กี ำรศึกษำจดั กจิ กรรม แนะแนวให้ผูเ้ รยี นค้นหำตนเอง นำไปสู่กำรพฒั นำผูเ้ รียนให้มีควำมพร้อมทจ่ี ะพัฒนำต่อยอดไปสู่ควำม เปน็ เลศิ ดำ้ นทกั ษะอำชีพทีต่ รงตำมควำมต้องกำรและควำมถนดั ของผูเ้ รยี น 1.3 ศึกษำ วเิ ครำะห์ควำมเหมำะสมของวธิ ีและกระบวนกำรงบประมำณต้ังแต่ จำนวนงบประมำณในกำรสนับสนุนสถำนศึกษำและผเู้ รียนอย่ำงเพยี งพอ และเหมำะสมวธิ ีกำรจัดสรร วธิ ีกำรด้ำนระบบบญั ชี กำรเบิกจ่ำย และกำรตดิ ตำม ตรวจสอบ เปน็ ต้น เพ่ือกระจำยอำนำจให้ สถำนศึกษำ มคี วำมเป็นอสิ ระในกำรจดั กำรศึกษำเพือ่ พัฒนำผู้เรยี นอย่ำงเต็มศกั ยภำพ 1.4 ส่งเสริมสนับสนุนให้ สำนักงำนเขตพื้นท่กี ำรศึกษำ และสถำนศึกษำจัดทำ แผนงำนโครงกำรและกจิ กรรมเพ่ิมศักยภำพผ้เู รียนตำมควำมถนัดควำมสนใจและควำมต้องกำรพัฒนำ ทั้งด้ำนวิชำกำร ดำ้ นอำชพี และกจิ กรรมเสริมหลักสตู ร ตั้งแต่ระดับสถำนศกึ ษำ เขตพน้ื ทก่ี ำรศึกษำ จงั หวดั ภมู ิภำค ระดบั ประเทศ และระดับนำนำชำติ 1.5 กำกับ ตดิ ตำม และให้ควำมช่วยเหลือสถำนศึกษำ พร้อมทั้งรำยงำนผลกำร ดำเนินงำนต่อกระทรวงศึกษำธกิ ำรและหน่วยงำนทเ่ี กยี่ วขอ้ ง 2. สถำนศกึ ษำ 2.1 ดำเนนิ กำรวดั แววผ้เู รยี น และพัฒนำขดี ควำมสำมำรถของผ้เู รยี นตำมศักยภำพ และควำมถนดั โดยจดั กำรเรยี นรผู้ ำ่ นกิจกรรมกำรปฏบิ ตั จิ รงิ ( Active Learning) เช่น กำรจดั กำร เรียนร้ตู ำมกระบวนกำร 5 ขั้นตอนหรือบันได 5 ขน้ั ( Independent Study : IS) กำรเรียนรเู้ ชิงบูรณำ กำรแบบสหวทิ ยำกำร เช่น สะเตม็ ศกึ ษำ ( Science Technology Engineering and Mathematics Education : STEM Education) เป็นต้น โดยสง่ เสรมิ ใหค้ รูจดั กจิ กรรมกำรเรียนรู้ เพื่อพัฒนำผเู้ รยี นให้ ผเู้ รยี นเรยี นรูด้ ้วยตนเองผำ่ นระบบดิจทิ ัล (Digital Learning Platform) 2.2 ปรบั เปลี่ยนอัตลักษณ์ของสถำนศกึ ษำให้มุง่ เนน้ กำรจัดกำรเรียนรใู้ ห้ผเู้ รยี นมี ควำมเป็นเลิศทำงวชิ ำกำรตำมควำมถนัด ควำมสำมำรถ ควำมสนใจของผู้เรยี น และจดั กิจกรรมเพื่อ พัฒนำสุขพลำนำมัย ใหเ้ ป็นคนทีส่ มบรู ณ์แขง็ แรงท้ังร่ำงกำยและจิตใจ

32 2.3 สถำนศึกษำ พัฒนำหลักสูตรและกำรจดั กจิ กรรมกระบวนกำรเรียนรู้เพ่ือพฒั นำ ผเู้ รียนให้มคี วำมเปน็ เลิศทำงวิชำกำรตำมควำมสนใจ และควำมถนัดเต็มตำมศักยภำพ 2.4 ส่งเสริม สนบั สนนุ ใหค้ รูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ ได้รับกำรพฒั นำเพื่อ ปรับเปลีย่ นกระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ให้แกผ่ เู้ รยี นโดยเน้นกำรจดั กำรเรยี นรู้ให้แกผ่ เู้ รียนเปน็ รำยบคุ คล ตำมควำมต้องกำร และควำมถนัดของผูเ้ รียน 2.5 จัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ ให้ผูเ้ รยี นมีควำมเป็นเลิศในทักษะส่ือสำรภำษำไทย ภำษำองั กฤษ และภำษำท่ี ๓ เพม่ิ เติมอยำ่ งน้อย 1 ภำษำ 2.6 ปรับเปลย่ี นวธิ กี ำรวดั ประเมิน ผลกำรเรียนของผเู้ รียน โดยม่งุ เน้นกำรวัด ประเมินตำมสมรรถนะรำยบคุ คล โดยกำรจัดให้มีกำรวัดประเมินจำกสว่ นกลำงในช้นั มธั ยมศกึ ษำปที ่ี 3 และชน้ั มัธยมศึกษำปีที่ 6 2.7 สรุปและรำยงำนผลกำรดำเนนิ งำนต่อสำนกั งำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำและ หนว่ ยงำนท่เี ก่ียวข้อง นโยบำยท่ี 3 ดำ้ นกำรพฒั นำและสร้ำงเสรมิ ศักยภำพของทรัพยำกรมนษุ ย์ บทนำ นโยบำยด้ำนกำรพฒั นำและสร้ำงเสรมิ ศักยภำพของทรัพยำกรมนุษย์ มุ่งเนน้ กำร พฒั นำทรัพยำกรมนุษยเ์ ร่ิมตั้งแตป่ ระชำกรวัยเรียนทุกชว่ งวยั ตลอดจนกำรพฒั นำ ครู และบุคลำกร ทำงกำรศึกษำ ดังนี้ พฒั นำประชำกรวัยเรียนทุกคน ทกุ ชว่ งวัย ต้ังแต่ช่วงปฐมวัย ประถมศึกษำและ มัธยมศึกษำ ผ้เู รยี นทีม่ คี วำมต้องกำรดูแลเปน็ พเิ ศษ ใหม้ คี วำมพร้อมทง้ั ทำงด้ำนร่ำงกำยจิตใจ อำรมณ์ สงั คม และสติปญั ญำ มศี กั ยภำพ มีทักษะควำมรู้ เป็นคนดี มีวินยั เรียนรู้ไดด้ ้วยตนเองมีควำมสำมำรถใน กำรวำงแผนชวี ติ และกำรวำงแผนทำงกำรเงินทเ่ี หมำะสม สำมำรถดำรงชวี ติ อย่ำงมีคุณคำ่ โดยกำรพัฒนำ ระบบกำรเรียนรู้ทต่ี อบสนองตอ่ กำรเปลยี่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21 มกี ำรออกแบบระบบกำรเรยี นรูใ้ หม่ พัฒนำระบบกำรเรยี นร้ตู ลอดชวี ติ ผเู้ รียนสำมำรถกำกับกำรเรยี นรทู้ ี่เหมำะสมกบั ตนเองได้อยำ่ งต่อเนื่อง แม้จะออกจำกระบบกำรศกึ ษำแล้ว รวมถึงควำมตระหนักถึงพหุปญั ญำของมนุษย์ทหี่ ลำกหลำย และกำร พัฒนำและรักษำกลุ่มผู้มีควำมสำมำรถพเิ ศษของพหุปัญญำแต่ละประเภท เสริมสรำ้ งให้ผ้เู รยี นมลี ักษณะ นิสยั มคี วำมรักในสขุ ภำพและพลำนำมยั และพฒั นำทักษะดำ้ นกีฬำสู่ควำมเป็นเลิศ และกฬี ำเพือ่ กำร อำชีพ ครู และบุคลำกรทำงกำรศึกษำ เปน็ ผูท้ ่ีมบี ทบำทสำคัญในกำรพฒั นำทรัพยำกรมนษุ ย์ ให้คนไทยเป็นคนดี คนเกง่ มคี ณุ ภำพ พรอ้ มสำหรับ วิถีชีวิตในศตวรรษท่ี 21 ครู และบคุ ลำกรทำงกำร ศกึ ษำต้องตระหนกั ถึงควำมสำคญั ในอำชพี และหนำ้ ที่ของตน โดย ครตู ้องมจี ติ วิญญำณของควำมเปน็ ครู มีควำมรู้ควำมสำมำรถอย่ำงแทจ้ รงิ และเปน็ ตน้ แบบดำ้ นคุณธรรมและจริยธรรมพฒั นำตนเองทำง วชิ ำชพี อย่ำงตอ่ เนอ่ื ง เพอ่ื ประโยชนใ์ นกำรพฒั นำผ้เู รยี น เปลยี่ นโฉมบทบำท “คร”ู ให้เปน็ ครยู คุ ใหม่ โดย ปรับบทบำทจำก “ครูผสู้ อน” เป็น “Coach” หรือ ผูอ้ ำนวยกำรกำรเรยี นรู้ทำหน้ำทกี่ ระต้นุ สร้ำงแรง บนั ดำลใจ แนะนำวธิ ีเรียนร้แู ละวธิ จี ดั ระเบยี บกำรสร้ำงควำมรู้ ออกแบบกิจกรรมและสร้ำงนวตั กรรมกำร เรยี นร้ใู ห้ผูเ้ รียน และมีบทบำทเปน็ นักวิจยั พฒั นำกระบวนกำรเรยี นร้เู พื่อผลสมั ฤทธ์ขิ องผู้เรียน

33 เป้ำประสงค์ 1. หลกั สูตรปฐมวัยและหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน มกี ำรพัฒนำท่ี สอดคลอ้ งกบั แนวโนม้ กำรพัฒนำของประเทศ 2. ผู้เรยี นไดร้ บั กำรพฒั นำตำมจุดมงุ่ หมำยของหลกั สตู ร และมที กั ษะควำมสำมำรถ ท่ีสอดคล้องกับทกั ษะท่ีจำเป็นในศตวรรษที่ 21 มคี วำมยืดหยุน่ ทำงดำ้ นควำมคิด สำมำรถทำงำนร่วมกบั ผ้อู ่นื ได้ ภำยใตส้ งั คมทเี่ ป็นพหุวฒั นธรรม รวมถงึ กำรวำงพ้ืนฐำนกำรเรยี นรเู้ พื่อกำรวำงแผนชวี ติ ท่ี เหมำะสมในแตล่ ะช่วงวยั และนำไปปฏิบตั ไิ ด้ 3. ผเู้ รียนได้รบั กำรพฒั นำใหม้ ีควำมรู้และทักษะนำไปสกู่ ำรพัฒนำนวัตกรรม 4. ผเู้ รยี นไดร้ บั กำรพัฒนำเตม็ ตำม ศกั ยภำพ เชื่อมโยงสอู่ ำชพี และกำรมีงำนทำมีทกั ษะ อำชีพท่ีสอดคล้องกับควำมต้องกำรของประเทศ 5. ผู้เรยี นได้รบั กำรพัฒนำให้มีศกั ยภำพในกำรจัดกำรสขุ ภำวะของตนเองใหม้ สี ุขภำวะ ทดี่ สี ำมำรถดำรงชีวติ อย่ำงมีควำมสุขทงั้ ดำ้ นรำ่ งกำยและจิตใจ 6. ครู เปล่ียนบทบำทจำก “ครูผสู้ อน” เป็น “Coach” ผู้ให้คำปรกึ ษำข้อเสนอแนะ กำรเรยี นรู้หรอื ผอู้ ำนวยกำรกำรเรยี นรู้ 7. ครู มีควำมรคู้ วำมสำมำรถในกำรจดั กำรเรยี นกำรสอน และเปน็ แบบอยำ่ งดำ้ น คณุ ธรรมและจริยธรรม ตัวชวี้ ัด 1 ผู้เรียนทุกระดับมีสมรรถนะสำคัญตำมหลักสตู รมีทกั ษะกำรเรียนร้ใู นศตวรรษท่ี 21 (3R8C) 2. รอ้ ยละของผ้เู รียนชัน้ ประถมศึกษำปที ี่ 3 ทีม่ คี ะแนนผลกำรทดสอบควำมสำมำรถ พ้ืนฐำนระดับชำติ (NT) ผ่ำนเกณฑ์ท่ีกำหนด 3. รอ้ ยละของผู้เรยี นที่มีคะแนนผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติขน้ั พนื้ ฐำน (O-NET) มำกกว่ำร้อยละ 50 ในแตล่ ะวชิ ำเพ่ิมขึน้ จำกปีกำรศกึ ษำท่ีผำ่ นมำ 4. ร้อยละผูเ้ รยี นที่จบกำรศึกษำช้ันประถมศกึ ษำปีที่ 6 ช้นั มัธยมศกึ ษำปีท่ี 3 ชั้นมธั ยมศึกษำปีท่ี 6 มีทักษะกำรเรียนร้ทู เี่ ชอ่ื มโยงสู่อำชีพและกำรมงี ำนทำ ตำมควำมถนัดและควำม ต้องกำรของตนเองมีทักษะอำชีพทส่ี อดคล้องกับควำมต้องกำรของประเทศ วำงแผนชีวติ และวำงแผน ทำงกำรเงนิ ทเ่ี หมำะสมและนำไปปฏบิ ตั ิได้ 5. ผเู้ รียนทกุ คนมีทักษะพื้นฐำนในกำรดำรงชีวติ สำมำรถดำรงชวี ติ อยู่ในสงั คมได้อย่ำง มคี วำมสขุ มคี วำมยืดหยนุ่ ทำงด้ำนควำมคิด สำมำรถทำงำนร่วมกบั ผู้อนื่ ได้ ภำยใต้สงั คมทเ่ี ป็นพหุ วฒั นธรรม 6. ผเู้ รยี นทกุ คนมศี ักยภำพในกำรจัดกำรสุขภำวะของตนเองให้มีสขุ ภำวะที่ดี สำมำรถ ดำรงชวี ิตอยำ่ งมีควำมสุขทั้งด้ำนร่ำงกำยและจิตใจ. ครู มีกำรเปล่ยี นบทบำทจำก “ครผู ้สู อน” เป็น “ Coach” ผูใ้ ห้คำปรึกษำ ข้อเสนอแนะกำรเรียนรู้หรอื ผู้อำนวยกำรกำรเรียนรู้

34 มำตรกำรและแนวทำงกำรดำเนินกำร 1. พัฒนำหลักสูตรทกุ ระดับกำรศึกษำ เป็นมำตรกำรสนบั สนุนให้มกี ำรพฒั นำหลักสตู รแกนกลำงให้เปน็ หลักสูตรเชิง สมรรถนะ สอดคล้องกับทักษะท่จี ำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 เอื้อตอ่ กำรพัฒนำสมรรถนะผเู้ รียนเป็น รำยบคุ คลอยำ่ งเหมำะสมทุกด้ำนท้งั ทำงด้ำนรำ่ งกำย จติ ใจ อำรมณ์ สังคม และสตปิ ญั ญำ มที กั ษะ ส่อื สำรภำษำไทย มีแนวทำงดำเนนิ กำร ดงั นี้ 1.1 สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้ันพื้นฐำน และสำนักงำนเขตพื้นท่ี กำรศกึ ษำ (1) พัฒนำหลักสูตรทุกระดับเพื่อใหผ้ ู้เรียนได้รับกำรพัฒนำทง้ั 4 ดำ้ น (ร่ำงกำย จติ ใจ อำรมณ์ และสติปญั ญำ) สอดคลอ้ งกบั ทักษะทจ่ี ำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 (2) สง่ เสริมให้ครปู รับเปลยี่ นกำรจัดกำรเรียนรู้ “ครผู ู้สอน” เป็น “ Coach” ผอู้ ำนวยกำรกำรเรยี นรู้ ผใู้ ห้คำปรกึ ษำ หรือใหข้ ้อเสนอแนะกำรเรยี นรู้ และปรบั ระบบกำรวดั ประเมิน ผลสมั ฤทธิผ์ ู้เรียนใหส้ อดคล้องกับหลักสูตร 1.2 สถำนศึกษำ พัฒนำหลกั สูตรสถำนศกึ ษำ ให้สอดคล้องกับหลกั สตู รแกนกลำงเนน้ กำรพฒั นำผเู้ รียนเป็นรำยบุคคล (หลักสตู รเชิงสมรรถนะ) และปรับเปลย่ี นกำรจดั กำรเรียนรูใ้ ห้ตอบสนอง ต่อควำมต้องกำรของผ้เู รียนและบริบทของพ้นื ที่ 2. กำรพฒั นำศกั ยภำพ และคณุ ภำพของผเู้ รียน 2.1 กำรพฒั นำศกั ยภำพและคณุ ภำพของผเู้ รยี นระดับปฐมวัย เด็กปฐมวยั ได้รับกำรพฒั นำเหมำะสมกับวยั ในทุกดำ้ น ทั้งทำงดำ้ นร่ำงกำย จติ ใจ อำรมณ์ สงั คม และสติปญั ญำ มวี นิ ัย มีทกั ษะสื่อสำรภำษำไทย และมที ักษะสื่อสำรภำษำองั กฤษ (ฟัง พดู ) และทกั ษะด้ำนดิจิทัล พร้อมท่ีจะไดร้ ับกำรพัฒนำในระดับกำรศึกษำท่ีสงู ขน้ึ โดยมีแนวทำงดำเนินกำร ดังน้ี 2.1.1 สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพื้นฐำน และสำนกั งำนเขต พ้นื ทกี่ ำรศึกษำ (1) จัดทำเครอื่ งมือประเมนิ พัฒนำกำรเดก็ ปฐมวยั และประเมนิ พฒั นำกำรเด็กปฐมวยั ปเี วน้ ปี สรุปและรำยงำนผลต่อกระทรวงศกึ ษำธกิ ำรและหนว่ ยงำนที่เกย่ี วขอ้ ง (2) สง่ เสริมสนับสนุนกำรดำเนินงำนของสำนกั งำนเขตพ้ืนท่ี กำรศกึ ษำ และสถำนศึกษำเพื่อประเมินพัฒนำกำรเด็กปฐมวัย และดำเนนิ กำรพัฒนำกำรจัดกำรศึกษำ ปฐมวัยทั้งผูบ้ รหิ ำรสถำนศึกษำ ครแู ละบคุ ลำกรปฐมวัย รวมทัง้ ผู้ปกครอง ใหม้ ีควำมรู้ควำมเขำ้ ใจกำรจัด กำรศกึ ษำปฐมวยั (3) สนับสนนุ ให้สถำนศึกษำมีครูหรือครผู ้ชู ่วยดำ้ นปฐมวยั ตำม มำตรฐำนทก่ี ำหนด (4) ศกึ ษำ วิเครำะห์ วิจัย กำรจัดกำรศึกษำปฐมวัย แนวคิด ทฤษฎี และองคค์ วำมรู้ใหม่ ๆ เก่ยี วกับกำรจัดกำรศึกษำปฐมวยั เพ่ือบรกิ ำรแกโ่ รงเรียนและผสู้ นใจ

35 (5) กำกบั ตดิ ตำม และให้ควำมช่วยเหลือสถำนศึกษำ รวมทัง้ สรปุ และรำยงำนผลกำรดำเนินงำนต่อกระทรวงศึกษำธกิ ำร และหน่วยงำนท่เี กีย่ วขอ้ ง 2.1.2 สถำนศึกษำ (1) จัดกจิ กรรมพฒั นำเด็กปฐมวยั ในรปู แบบทห่ี ลำกหลำยจัด สภำพแวดล้อมทั้งในและนอกหอ้ งเรยี นใหเ้ อ้ือต่อกำรพฒั นำกำรเรียนรู้ (2) จดั กำรเรยี นรู้ สรำ้ งประสบกำรณ์ เน้นกำรเรยี นเป็นเลน่ เรียนรู้ อยำ่ งมีควำมสุข (3) ปรับปรงุ อำคำรสถำนที่ ส่งิ อำนวยควำมสะดวก สนำมเด็กเล่นให้ ได้มำตรฐำน มคี วำมปลอดภัย สำมำรถจดั กิจกรรมพฒั นำผู้เรียนได้อย่ำงมปี ระสทิ ธภิ ำพ (4) จัดหำสอ่ื อุปกรณ์ ท่มี ีคุณภำพเหมำะสม มีมำตรฐำน และ ควำมปลอดภัย (5) อภบิ ำลเด็กปฐมวยั ใหม้ สี ขุ ภำวะทด่ี ี ร่ำงกำยสมบูรณ์ แขง็ แรง ปรำศจำกโรค ภยั ไข้ เจ็บ (6) สรำ้ งควำมรู้ควำมเขำ้ ใจแก่ผปู้ กครองในกำรจัดกำรศึกษำปฐมวยั เพอ่ื กำรมีส่วนร่วมและกำรสนับสนุนกำรดำเนนิ งำนของสถำนศกึ ษำ (7) สรุปและรำยงำนผลกำรดำเนินงำนต่อสำนักงำนเขตพื้นที่ กำรศกึ ษำและหน่วยงำนท่ีเก่ียวข้อง 2.2 กำรพฒั นำศักยภำพ และคุณภำพผู้เรียนระดบั ประถมศึกษำ ผเู้ รียนระดับประถมศึกษำได้รับกำรพัฒนำทำงด้ำนร่ำงกำย จิตใจ อำรมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญำ มีวินัย มีทกั ษะทจ่ี ำเป็นในศตวรรษที่ 21 โดยมแี นวทำงดำเนินกำร ดังนี้ 2.2.1 สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขนั้ พ้ืนฐำน และสำนกั งำนเขต พ้นื ทก่ี ำรศึกษำ (1) ส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้สำนกั งำนเขตพ้ืนที่กำรศึกษำและ สถำนศกึ ษำจัดกำรศึกษำพฒั นำผเู้ รยี นใหม้ ีพัฒนำกำรที่สมวยั ในทกุ ดำ้ นท้ังทำงด้ำนรำ่ งกำย จิตใจ อำรมณ์ สังคม และสตปิ ญั ญำ ให้มีคุณลกั ษณะ - เป็นไปตำมหลกั สูตร - มที กั ษะกำรเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ - มีทักษะกำรเรียนรู้ทเ่ี ชอื่ มโยงสู่อำชพี และกำรมีงำนทำ สอดคลอ้ ง กับควำมต้องกำรของประเทศ - มคี วำมรู้ และทักษะดำ้ นวิทยำศำสตรน์ ำไปสู่กำรพฒั นำนวตั กรรม - มคี วำมร้คู วำมสำมำรถดำ้ นดิจิทัล (Digital) และใช้ดิจทิ ัลเป็น เครื่องมอื ในกำรเรยี นรู้ได้อย่ำงมีประสทิ ธภิ ำพ - มที กั ษะทำงด้ำนภำษำไทย เพอ่ื ใชเ้ ป็นเครื่องมือในกำรเรยี นรู้ มนี สิ ยั รกั กำรอ่ำน มีทักษะสอื่ สำรภำษำอังกฤษ และภำษำท่ี 3

36 (2) จัดทำเคร่อื งมอื ประเมินควำมสำมำรถพ้ืนฐำนระดบั ชำติ (NT) นักเรียนช้นั ประถมศกึ ษำปีที่ 3 และดำเนินกำรประเมิน รวมทั้งประสำนกำรดำเนินงำน เพือ่ ทดสอบทำง กำรศกึ ษำระดบั ชำติข้ันพื้นฐำน (O-NET) นักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษำปที ี่ 6 วิเครำะหผ์ ลกำรประเมินเพื่อ เป็นฐำนกำรพัฒนำนักเรียนทุกระดับชนั้ (3) สง่ เสริม สนับสนนุ ให้สำนักงำนเขตพน้ื ที่กำรศึกษำและ สถำนศกึ ษำจดั กจิ กรรมพัฒนำผู้เรยี นเต็มตำมศักยภำพสอดคลอ้ งกับควำมสำมำรถ ควำมถนัดและควำม สนใจ รวมถงึ กำรวำงพ้ืนฐำนกำรเรียนรเู้ พื่อกำรวำงแผนชวี ิต และวำงแผนทำงกำรเงินท่เี หมำะสมและ นำไปปฏบิ ัติได้ (4) สร้ำงกลไกของระบบแนะแนวทำงกำรศึกษำเพ่ือสง่ เสริม กระบวนกำรเรียนรู้ตำมสมรรถนะรำยบุคคลและเตรยี มควำมพร้อมสู่กำรประกอบสัมมำอำชีพ (5) ดำเนินกำรตดิ ตำมและตรวจสอบใหผ้ ู้เรยี นได้รับประทำนอำหำร อย่ำงครบถ้วนถูกต้องตำมหลักโภชนำกำร (6) กำกบั ตดิ ตำม และให้ควำมช่วยเหลอื สถำนศกึ ษำในกำรจดั กำรศกึ ษำภำพรวม รวมทัง้ สรุปและรำยงำนผลกำรดำเนนิ งำนตอ่ กระทรวงศึกษำธิกำรและหนว่ ยงำนที่ เก่ยี วขอ้ ง 2.2.2 สถำนศึกษำ (Active Learning) (1) จดั กำรเรียนรู้ท่ีใหผ้ ู้เรียนได้เรยี นรูผ้ ่ำนกิจกรรมกำรปฏบิ ัตจิ รงิ (2) จดั กำรเรียนรู้อย่ำงเปน็ ระบบม่งุ เนน้ กำรใชฐ้ ำนควำมรู้และระบบ ควำมคดิ ในลักษณะสหวิทยำกำร (STEAM Education) เช่น - ควำมร้ทู ำงวิทยำศำสตร์และกำรต้งั คำถำม - ควำมเขำ้ ใจและควำมสำมำรถในกำรใชเ้ ทคโนโลยี - ควำมรูท้ ำงวศิ วกรรม และกำรคิดเพ่ือหำทำงแกป้ ัญหำ - ควำมรู้และทักษะในดำ้ นศิลปะ - ควำมรู้ด้ำนคณติ ศำสตร์และระบบคดิ ของเหตุผลและกำร หำควำมสมั พันธ์ (3) จัดกิจกรรมพฒั นำผเู้ รยี นเต็มตำมศักยภำพสอดคล้องกับ ควำมสำมำรถ ควำมถนดั และควำมสนใจ รวมถึงกจิ กรรมกำรแนะแนวทง้ั ดำ้ นศึกษำต่อและดำ้ นอำชีพ เปน็ กำรวำงพืน้ ฐำนกำรเรยี นรู้ กำรวำงแผนชวี ิต และวำงแผนทำงกำรเงินท่ีเหมำะสมและนำไปปฏิบตั ิได้ (4) จดั กจิ กรรมกำรเรียนรเู้ พื่อส่งเสรมิ สนับสนนุ ใหผ้ ู้เรียนมที ักษะ พน้ื ฐำนในกำรดำรงชวี ติ มีสขุ ภำวะท่ีดี สำมำรถดำรงชีวติ อยำ่ งมคี วำมสุข (5) จดั กิจกรรมกำรเรียนรู้และพฒั นำด้ำนอำรมณ์และสังคม (Social and Emotional Learning : SEL) ขัน้ ตอน (Coding) (6) จัดกำรเรยี นกำรสอนเพ่ือเพ่ิมทักษะกำรคิดแบบมเี หตผุ ลและเป็น

37 (7) ดำเนินกำรใหผ้ ้เู รยี นได้รับประทำนอำหำรอย่ำงครบถ้วน ถกู ต้องตำมหลักโภชนำกำร เปน็ ไปด้วยควำมถูกต้องตำมระเบยี บและวนิ ยั กำรคลัง (8) สรุปและรำยงำนผลกำรดำเนินงำนต่อสำนักงำนเขตพ้ืนที่ กำรศกึ ษำและหนว่ ยงำนทเี่ กย่ี วขอ้ ง 2.3 กำรพฒั นำศกั ยภำพ และคุณภำพผ้เู รียนระดับมัธยมศึกษำ ผู้เรียนระดบั มัธยมศึกษำ ได้รับกำรพัฒนำทำงดำ้ นร่ำงกำย จิตใจ อำรมณ์ สงั คม และสตปิ ญั ญำ มีวินยั มีทักษะท่จี ำเปน็ ในศตวรรษที่ 21 มที กั ษะด้ำนกำรคดิ วเิ ครำะห์ สงั เครำะห์มี ทกั ษะด้ำนภำษำไทยเพ่ือใช้ในกำรเรยี นรู้ มที กั ษะส่ือสำรภำษำอังกฤษ และภำษำท่ี ๓ มีควำมสำมำรถใน กำรใชเ้ ทคโนโลยี ได้รับกำรพัฒนำทักษะกำรเรียนรู้ทเี่ ช่ือมโยงสูอ่ ำชพี และกำรมีงำนทำ นำไปสกู่ ำรมี ทักษะอำชีพท่สี อดคล้องกบั ควำมตอ้ งกำรของประเทศ มคี วำมยดื หยุน่ ทำงด้ำนควำมคิดสำมำรถทำงำน ร่วมกบั ผอู้ ่ืนได้ ภำยใต้สังคมท่ีเปน็ พหุวฒั นธรรม มีทกั ษะพ้ืนฐำนในกำรดำรงชีวติ มสี ขุ ภำวะท่ีดี สำมำรถ ดำรงชีวติ อย่ำงมีควำมสุข โดยมแี นวทำงดำเนนิ กำร ดังนี้ 2.3.1 สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขั้นพ้ืนฐำน และสำนกั งำนเขต พืน้ ท่ีกำรศกึ ษำ (1) ส่งเสริม สนบั สนุนให้สำนักงำนเขตพนื้ ท่ีกำรศึกษำและ สถำนศกึ ษำจดั กำรศึกษำเพื่อพฒั นำผู้เรียนใหม้ ีพัฒนำกำรที่สมวยั ในทกุ ดำ้ นทั้งทำงด้ำนร่ำงกำยจติ ใจ อำรมณ์ สังคม และสติปญั ญำ มีควำมยดื หยุน่ ทำงดำ้ นควำมคดิ สำมำรถทำงำนรว่ มกับผู้อื่นได้ภำยใต้ สงั คมทีเ่ ปน็ พหวุ ัฒนธรรมใหม้ ีคุณลกั ษณะ - เปน็ ไปตำมหลักสูตร - มที ักษะกำรเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 - มที ักษะทำงด้ำนภำษำไทย มที ักษะส่ือสำรภำษำอังกฤษและภำษำ ที่ 3 เพอ่ื ใชเ้ ป็นเคร่ืองมือในกำรประกอบอำชพี - มคี วำมรู้ และทักษะด้ำนวทิ ยำศำสตรน์ ำไปสู่กำรพฒั นำนวตั กรรม - มคี วำมสำมำรถด้ำนดิจิทัล (Digital) และใช้ดิจิทลั เป็นเครอ่ื งมือ ในกำรเรียนรู้ได้อยำ่ งมปี ระสทิ ธภิ ำพ - มีทกั ษะทำงดำ้ นภำษำไทย เพอ่ื ใชเ้ ป็นเครอื่ งมอื ในกำรเรียนรู้ มนี ิสัยรกั กำรอำ่ น มที ักษะสือ่ สำรภำษำองั กฤษ และภำษำที่ ๓ (2) ประสำนกำรดำเนินงำนเพ่ือทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติ ขนั้ พ้นื ฐำน (O-NET) ชน้ั มัธยมศึกษำปที ี่ ๓ และชัน้ มัธยมศึกษำปที ี่ 6 วิเครำะห์ผลกำรประเมนิ เพอ่ื เปน็ ฐำนกำรพัฒนำนักเรยี นทกุ ระดับช้ัน (3) ส่งเสริม สนับสนุน สำนักงำนเขตพืน้ ทีก่ ำรศึกษำและสถำนศึกษำ จดั กจิ กรรมพฒั นำผู้เรียนเตม็ ตำมศกั ยภำพสอดคลอ้ งกบั ควำมสำมำรถ ควำมถนดั และควำมสนใจ รวมถึง กำรวำงพน้ื ฐำนกำรเรยี นร้เู พ่ือกำรวำงแผนชีวติ และ วำงแผนทำงกำรเงนิ ทีเ่ หมำะสมและนำไปปฏิบตั ิได้ (4) สร้ำงกลไกของระบบแนะแนวทำงกำรศึกษำ เพ่ือสง่ เสริม กระบวนกำรเรียนรู้ตำมสมรรถนะรำยบุคคลและเตรยี มควำมพร้อมสู่กำรประกอบสัมมำอำชพี

38 (5) จัดทำแผนงำน โครงกำร และกจิ กรรมเพิ่มศักยภำพผู้เรียนที่มี ควำมรูแ้ ละทักษะด้ำนวิทยำศำสตร์ เป็นนักคดิ นกั ปฏิบัติ นกั ประดิษฐ์ เป็นนวตั กร นำไปสู่กำรพฒั นำ นวัตกรรมในอนำคต รวมทงั้ จดั กิจกรรมกีฬำ กำรออกกำลังกำย และสนบั สนุนให้ผ้เู รียนมีศกั ยภำพใน กำรจัดกำรสุขภำวะของตนเองใหม้ สี ขุ ภำวะที่ดี สำมำรถดำรงชีวติ อยำ่ งมีควำมสุข ท้งั ด้ำนร่ำงกำยและจิตใจ (6) กำกับ ตดิ ตำม และให้ควำมชว่ ยเหลือสถำนศกึ ษำ 2.3.2 สถำนศกึ ษำ (1) ส่งเสรมิ ครใู ห้จัดกำรเรยี นรทู้ ใี่ หผ้ เู้ รยี นได้เรียนรผู้ ่ำนกจิ กรรมกำร ปฏิบัตจิ ริง (Active Learning) (2) ส่งเสรมิ ครูให้จัดกำรเรยี นรู้ตำมกระบวนกำร 5 ขั้นตอน หรอื บันได 5 ขั้น (Independent Study : IS) (3) สง่ เสริม สนบั สนุนครใู ห้จดั กำรเรยี นร้อู ย่ำงเปน็ ระบบมุ่งเนน้ กำร ใช้ฐำนควำมรแู้ ละระบบควำมคิดในลักษณะสหวิทยำกำร (STEAM Education) เช่น - ควำมร้ทู ำงวิทยำศำสตร์และกำรต้ังคำถำม - ควำมเข้ำใจและควำมสำมำรถในกำรใชเ้ ทคโนโลยี - ควำมรทู้ ำงวิศวกรรม และกำรคดิ เพื่อหำทำงแก้ปัญหำ - ควำมรู้และทักษะในดำ้ นศิลปะ - ควำมรู้ด้ำนคณติ ศำสตร์และระบบคดิ ของเหตุผลและกำรหำ ควำมสัมพันธ์ (4) จัดกิจกรรมพัฒนำผู้เรยี นที่มคี วำมร้แู ละทักษะด้ำนวทิ ยำศำสตร์ เปน็ นักคดิ นักปฏิบตั ิ นกั ประดษิ ฐ์ เปน็ นวัตกร นำไปสู่กำรพฒั นำนวัตกรรมในอนำคตรวมทั้งจดั กจิ กรรม กฬี ำกำรออกกำลงั กำย และสนับสนุนใหผ้ ู้เรยี น มีศกั ยภำพในกำรจดั กำรสุขภำวะของตนเองใหม้ สี ุข ภำวะทีด่ ี สำมำรถดำรงชีวติ อย่ำงมคี วำมสุขทั้งด้ำนร่ำงกำยและจติ ใจเม่ือถึงชน้ั มธั ยมศึกษำตอนปลำย สำมำรถวำงแผนกำรศกึ ษำต่อหรือกำรประกอบอำชพี ได้ตำมควำมถนัด ควำมต้องกำร และควำมสนใจ ของตนเอง (5) สง่ เสริมกำรเรียนรู้และพัฒนำดำ้ นอำรมณ์และสังคม (Social and Emotional Learning : SEL) (6) สรุปและรำยงำนผลกำรดำเนนิ งำนตอ่ สำนักงำนเขตพนื้ ท่ี กำรศกึ ษำและหนว่ ยงำนท่ีเก่ียวข้อง 2.4 พัฒนำคุณภำพผเู้ รียนท่ีมีควำมต้องกำรดแู ลเป็นพิเศษ เป็นกำรจดั กำรศึกษำและพฒั นำสมรรถภำพสำหรบั เด็กพิกำรและเด็กดอ้ ย โอกำสในรูปแบบทหี่ ลำกหลำย เหมำะสมกับบริบท และควำมตอ้ งกำรจำเปน็ พเิ ศษเฉพำะบุคคล โดยแนวทำงกำรดำเนินกำร (1) สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พื้นฐำน พัฒนำระบบกำรวัดและ ประเมนิ ผลตำมสภำพจริงสำหรับเด็กพิกำรและเด็กด้อยโอกำส

39 (2) สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้นั พ้นื ฐำน สง่ เสริม สนับสนุน กำรจัดกำรศกึ ษำ รวมท้ังกำรพัฒนำหลกั สตู ร และสื่อกำรเรียนกำรสอนท่ีเหมำะสมสำหรบั เด็กพิกำร และเด็กด้อยโอกำสในรปู แบบท่หี ลำกหลำยเหมำะสมกบั บริบท และควำมต้องกำรจำเป็นพิเศษเฉพำะ บคุ คล (3) สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพนื้ ฐำน สง่ เสริม สนับสนนุ กำร ใหบ้ รกิ ำรชว่ ยเหลือระยะแรกเร่ิม (Early Intervention : EI) (4) สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขั้นพื้นฐำน สนับสนนุ ทรัพยำกรและ จัดสรรงบประมำณดำ้ นกำรศึกษำท่ีเหมำะสมกับบริบทและควำมตอ้ งกำรจำเปน็ พเิ ศษ (5) สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้ันพ้ืนฐำน ส่งเสริมใหส้ ถำนศกึ ษำนำ ระบบเทคโนโลยดี ิจิทลั (Digital Technology) มำใชใ้ นกำรบริหำรจดั กำร กำรให้บริกำร และกำรเรยี นรู้ (6) สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พื้นฐำน ปรบั ปรุงเกณฑ์อัตรำกำลัง ครูและบคุ ลำกรใหม้ ีควำมเหมำะสมกับภำรงำนในกำรจดั กำรศกึ ษำพิเศษ และเดก็ ด้อยโอกำส (7) สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขัน้ พนื้ ฐำน สง่ เสริม สนบั สนนุ ให้มีกำร พฒั นำผบู้ ริหำร ครูและบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ ใหม้ คี วำมรู้ทกั ษะ ประสบกำรณ์ มีเจตคติทีด่ ตี ่อกำรจัด กำรศึกษำสำหรบั เด็กพิกำรและเดก็ ด้อยโอกำส (8) สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขน้ั พื้นฐำน พฒั นำระบบกำรใหบ้ ริกำร เทคโนโลยี สิ่งอำนวยควำมสะดวก สื่อ บรกิ ำร และควำมชว่ ยเหลอื อื่นใดทำงกำรศึกษำท่สี อดคล้องกับ ควำมตอ้ งกำรจำเป็นพเิ ศษ (9) สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้นั พน้ื ฐำน สนับสนุนกำรพฒั นำภำคี เครอื ข่ำย (Education Partnership) ให้ทุกภำคสว่ นมสี ่วนร่วมในกำรจดั กำรศึกษำสำหรับเด็กพิกำรและ เดก็ ด้อยโอกำส 3. นำเทคโนโลยีดิจทิ ัล (Digital Technology) มำใชส้ นบั สนุนกำรเรยี นรูใ้ หแ้ ก่ ผเู้ รยี นทกุ ระดบั กำรจัดกำรศึกษำ เปน็ มำตรกำรในกำรประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัล ในกำรสง่ เสรมิ สนับสนุนให้ผู้เรยี น พฒั นำวิธกี ำรเรยี นรขู้ องตนเอง ตำมควำมต้องกำร และควำมถนัด ของผเู้ รยี นสำมำรถสร้ำงสงั คม ฐำนควำมรู้ (Knowledge - Based Society) ของตนเอง เพอื่ ใหเ้ กิดกำรเรยี นรอู้ ยำ่ งต่อเน่ืองตลอดชีวิต โดยแนวทำงกำรดำเนินกำร ดังน้ี 3.1 สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพนื้ ฐำน และสำนกั งำนเขตพืน้ ท่ี กำรศกึ ษำ (1) จัดหำ พฒั นำ ขอ้ มลู องคค์ วำมรู้ สอื่ วดิ โี อ และองคค์ วำมรปู้ ระเภทต่ำง ๆ หนงั สอื แบบเรยี นในรูปแบบของดจิ ทิ ลั เทคบคุ๊ (Digital Textbook) ตำมเน้อื หำหลักสูตรท่ีกำหนด (2) พัฒนำรูปแบบกำรเรยี นรู้ผ่ำนระบบดจิ ิทลั (Digital Learning Platform) เพ่ือตอบสนองต่อกำรพฒั นำกำรเรียนรู้ของผูเ้ รียนเป็นรำยบุคคล (3) สง่ เสรมิ สนับสนนุ ใหผ้ ู้เรียนมีอปุ กรณ์ดิจทิ ลั (Digital device) เพือ่ เปน็ เครอ่ื งมือในกำรเข้ำถงึ องค์ควำมรู้ และกำรเรียนรู้ผ่ำนระบบดิจทิ ัล อย่ำงเหมำะสมตำมวัย (4) สง่ เสริม สนับสนนุ ใหส้ ถำนศกึ ษำจัดกจิ กรรมกำรเรยี นรู้เพ่ือพัฒนำผเู้ รยี น ใหผ้ เู้ รียนเรยี นรู้ด้วยตนเองผ่ำนกำรเรยี นรูผ้ ำ่ นระบบดิจิทลั

40 3.2 สถำนศึกษำ (1) ประยุกตใ์ ชข้ ้อมูลองค์ควำมรู้ สอ่ื วิดโี อ และองค์ควำมรู้ประเภทตำ่ ง ๆ หนังสอื แบบเรยี นในรปู แบบของดจิ ทิ ลั เทคบุ๊ค (Digital Textbook) ตำมเน้ือหำหลกั สูตรที่กำหนด (2) จัดกำรเรียนรผู้ ่ำนระบบดิจทิ ัล ( Digital Learning Platform) เพ่ือ ตอบสนองต่อกำรพฒั นำกำรเรียนรขู้ องผเู้ รยี นเปน็ รำยบุคคล (3) จัดกิจกรรมกำรเรียนรูเ้ พ่ือพัฒนำผเู้ รียน ใหผ้ ู้เรยี นเรยี นรูด้ ว้ ยตนเองผ่ำน กำรเรยี นรผู้ ่ำนระบบดิจิทัล 4. กำรพัฒนำคณุ ภำพครู และบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ กำรพัฒนำคุณภำพครู จงึ ตอ้ งดำเนินกำรตัง้ แตก่ ำรผลติ และกำรพฒั นำครูอย่ำง ตอ่ เน่อื ง โดยสำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้นั พ้ืนฐำนตอ้ งร่วมมือกับสถำบันกำรผลิตครใู นกำรผลติ และพัฒนำครูให้เป็นไปตำมเป้ำประสงค์ มีกำรดึงดดู คัดสรร ผ้มู คี วำมสำมำรถสงู ใหเ้ ข้ำมำเปน็ ครู คณุ ภำพ มีระบบกำรพฒั นำ ศักยภำพและสมรรถนะครูอย่ำงต่อเนื่องครอบคลมุ ทงั้ เงนิ เดือนเสน้ ทำงสำย อำชพี กำรสนบั สนนุ ส่ือกำรสอน และสรำ้ งเครือขำ่ ยพัฒนำครูให้มกี ำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่ำงกนั รวมถึงกำรพฒั นำครทู ี่มีควำม เชย่ี วชำญดำ้ นกำรสอนมำเปน็ ผสู้ ร้ำงครรู ุ่นใหมอ่ ยำ่ งเปน็ ระบบและ ประเมินครูจำกกำรวัดผลงำนกำรพัฒนำผ้เู รียนโดยตรง 4.1 กำรผลิตครทู ีม่ ีคุณภำพ กำรผลติ ครทู ่ีมีคุณภำพ เปน็ มำตรกำรกำรสร้ำงควำมรว่ มมือกบั สถำบันกำร ผลติ ครู ใหผ้ ลิตครทู ี่มีจิตวญิ ญำณของควำมเป็นครู มีควำมรคู้ วำมสำมำรถอย่ำงแท้จริงและเปน็ ต้นแบบ ดำ้ นคุณธรรมและจรยิ ธรรม โดยมีแนวทำงกำรดำเนนิ กำร ดงั น้ี (1) สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขั้นพน้ื ฐำน สร้ำงควำมรว่ มมือกับ สถำบันกำรผลติ ครู วิเครำะห์ควำมขำดแคลน ควำมตอ้ งกำรครขู องสถำนศึกษำ (2) สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขั้นพ้นื ฐำน ร่วมมือกับสถำบันกำรผลติ ครูวำงแผนวเิ ครำะห์หลกั สตู รใหส้ อดคล้องกับแผนควำมต้องกำร (3) สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พ้ืนฐำน สนับสนนุ ทุนกำรศึกษำให้ นักเรียนระดับมธั ยมศกึ ษำ ท่มี ที ัศนคตทิ ด่ี ีต่ออำชพี ครเู ข้ำรับกำรศึกษำกับสถำบันกำรผลิตครู (4) สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้นื ฐำน ติดตำมและประเมนิ ผล กำรผลิตครอู ยำ่ งเป็นระบบ 4.2 พัฒนำครู และบุคลำกรทำงกำรศึกษำ กำรพฒั นำครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ เปน็ มำตรกำรทส่ี ำนกั งำน คณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขัน้ พ้ืนฐำน จะต้องดำเนนิ กำรเพ่อื ใหค้ รแู ละบุคลำกรทำงกำรศึกษำตระหนักถงึ ควำมสำคัญในอำชพี และหน้ำทข่ี องตน โดยพฒั นำให้เปน็ ครู เป็นครูยุคใหม่ ปรับบทบำทจำก “ครผู ู้สอน”เป็น “Coach” หรือ “ผอู้ ำนวยกำรกำรเรยี นรู้” ปรบั วิธีสอน ใหเ้ ด็กสำมำรถแสดงควำม คดิ เหน็ แลกเปลีย่ นเรียนรู้ และทำกจิ กรรมในช้ันเรียน ทำหนำ้ ท่กี ระตุ้นสรำ้ งแรงบนั ดำลใจ แนะนำวิธี เรียนร้แู ละวิธจี ัดระเบียบกำรสรำ้ งควำมรู้ ออกแบบกจิ กรรม และสร้ำงนวตั กรรมกำรเรยี นร้ใู ห้ผเู้ รียน มี บทบำทเป็นนักวจิ ยั พัฒนำกระบวนกำรเรยี นรู้เพอ่ื ผลสัมฤทธข์ิ องผ้เู รียน

41 โดยมีแนวทำงกำรดำเนินกำร ดงั นี้ (1) สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้ันพ้นื ฐำน และสำนักงำนเขตพ้ืนท่ี กำรศึกษำ สง่ เสริม สนบั สนนุ ให้ครู ศึกษำวเิ ครำะห์ ควำมต้องกำรจำเป็นในกำรพฒั นำตนเอง (Need Assessment) เพ่ือวำงแผนกำรพฒั นำอยำ่ งเปน็ ระบบและครบวงจร (2) สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้นั พ้นื ฐำน และสำนักงำนเขตพน้ื ท่ี กำรศกึ ษำ จดั ใหม้ ีหลกั สูตรและกรอบแนวทำงในกำรพฒั นำครู ที่เชอื่ มโยงกับควำมก้ำวหนำ้ ในวิชำชพี (Career Path) (3) สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขั้นพ้ืนฐำน และสำนักงำนเขตพนื้ ท่ี กำรศึกษำ ประสำนควำมรว่ มมือกับสถำบันกำรศกึ ษำ สถำบันคุรุพัฒนำ หรือหนว่ ยงำนอื่น ๆ จัดทำ หลักสตู รกำรพฒั นำครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำให้ตรงตำมควำมต้องกำรและควำมขำดแคลน (4) สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้ันพ้ืนฐำน และสำนักงำนเขตพ้นื ที่ กำรศกึ ษำ สนับสนุนใหค้ รูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำวำงแผนและเข้ำรับกำรพัฒนำตำมหลกั สตู รท่ี กำหนดท่เี ช่ือมโยงควำมก้ำวหนำ้ ในวชิ ำชีพ (Career Path) (5) สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พื้นฐำน และสำนักงำนเขตพ้นื ที่ กำรศึกษำ ส่งเสริมและพฒั นำครแู ละบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำในรูปแบบชมุ ชนแห่งกำรเรียนรทู้ ำงวิชำชีพ (Professional Learning Community: PLC) (6) สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพน้ื ฐำน และสำนักงำนเขตพน้ื ที่ กำรศึกษำ สง่ เสริม และพัฒนำครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ ให้มคี วำมรทู้ ักษะด้ำนกำรรู้ดิจิทัล (Digital Literacy) กำรสอนดิจิทัล (Digital Pedagogy) ทกั ษะสื่อสำรภำษำองั กฤษ ทกั ษะส่ือสำร ภำษำที่ ๓ สอดคลอ้ งกบั ภำรกิจและหนำ้ ทข่ี องตน (7) สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพ้นื ฐำน และสำนักงำนเขตพื้นที่ กำรศึกษำ ส่งเสรมิ พัฒนำ และยกระดบั ควำมรู้ภำษำอังกฤษของครูทส่ี อนภำษำองั กฤษ โดยใชร้ ะดับกำร พัฒนำทำงด้ำนภำษำ (Common European Framework of Reference for Languages : CEFR) ตำมเกณฑท์ ่ีกำหนด (8) สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้นั พนื้ ฐำน และสำนักงำนเขตพนื้ ท่ี กำรศึกษำ สง่ เสรมิ และพฒั นำครใู ห้สำมำรถออกแบบกำรเรียนรู้ กำรจัดกำรเรยี นรู้ให้สอดคล้องกับกำร วัดประเมนิ ผลทีเ่ น้นทักษะกำรคดิ ขน้ั สงู (Higher Order Thinking) ผ่ำนกิจกรรมกำรปฏิบัติจรงิ (Active Learning) (9) สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขน้ั พ้นื ฐำน และสำนักงำนเขตพนื้ ที่ กำรศกึ ษำ ส่งเสรมิ และพัฒนำครใู ห้มีควำมรู้และทักษะในกำรจดั กำรเรยี นรสู้ ำหรบั ผู้เรยี นทม่ี คี วำม แตกตำ่ ง (Differentiated Instruction) (10) สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขั้นพื้นฐำน และสำนักงำนเขตพื้นท่ี กำรศกึ ษำ ส่งเสรมิ และพัฒนำครใู หม้ ีควำมรู้และทักษะในกำรสรำ้ งเครือ่ งมอื กำรวดั และประเมินผลกำร เรียนรูด้ ้ำนทักษะกำรคดิ ขัน้ สูง (Higher Order Thinking) (11) สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขั้นพนื้ ฐำน และสำนักงำนเขตพื้นท่ี กำรศกึ ษำ ส่งเสริมและพัฒนำครู ให้มีควำมรู้ควำมสำมำรถจัดกำรเรยี นรูใ้ นโรงเรียนขนำดเลก็ ได้อยำ่ งมี ประสทิ ธภิ ำพ

42 (12) สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพื้นฐำน และสำนกั งำนเขตพ้ืนที่ กำรศึกษำ ส่งเสรมิ และพัฒนำครูในกำรจดั กำรเรียนรู้สำหรับผู้เรยี นทม่ี ีควำมต้องกำรจำเปน็ พเิ ศษตำม ศักยภำพของผเู้ รยี นแต่ละบุคคล และตำมสภำพและประเภทของควำมพิกำร (13) สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขนั้ พน้ื ฐำน และสำนกั งำนเขตพ้นื ที่ กำรศึกษำ สง่ เสริมสนับสนนุ ให้ครแู ละบุคลำกรทำงกำรศึกษำพัฒนำตนเองผ่ำนระบบ Online และแบบ Face - to - Face Training (14) สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขน้ั พ้ืนฐำน และสำนักงำนเขตพนื้ ที่ กำรศึกษำ ปรบั ปรงุ ระบบตรวจสอบ ตดิ ตำม และประเมนิ ประสิทธิภำพและประเมินประสทิ ธิผลครูและ บุคลำกรทำงกำรศึกษำ ให้สอดคล้องกบั ควำมมุง่ หมำย และหลกั กำรจดั กำรศึกษำข้อกำหนดดำ้ น คณุ ภำพ และแผนกำรศกึ ษำแห่งชำติ (15) สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพนื้ ฐำน และสำนักงำนเขตพ้ืนที่ กำรศึกษำ นำเทคโนโลยดี จิ ิทลั (Digital Technology) มำเป็นเครอ่ื งมอื ในกำรบรหิ ำรจดั กำรครูและ บคุ ลำกรทำงกำรศึกษำทงั้ ระบบ ตงั้ แตก่ ำรจดั ทำฐำนข้อมูลครแู ละบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำจนถึงกำร พัฒนำครู และบุคลำกรทำงกำรศึกษำ โดยมีแนวทำงกำรดำเนนิ กำร ดงั นี้ 1) พฒั นำรูปแบบกำรพัฒนำครูผำ่ นระบบดจิ ิทัล เพ่ือใชใ้ นกำรพัฒนำ ผู้บริหำร ครแู ละบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำทุกประเภทท้ังระบบ 2) พัฒนำหลกั สูตร เน้ือหำดจิ ิทลั (Digital Content) ในสำขำทขี่ ำด แคลนเชน่ กำรพัฒนำทักษะกำรคิดข้ันสูง กำรจดั กำรศึกษำสำหรบั ผูเ้ รียน ที่มีควำมตอ้ งกำรจำเปน็ พิเศษ และผ้เู รียนที่มีควำมแตกต่ำง เป็นต้น 3) สง่ เสรมิ สนับสนนุ ใหผ้ บู้ รหิ ำร ครแู ละบุคลำกรทำงกำรศึกษำ ทกุ ประเภทพฒั นำตนเองอยำ่ งตอ่ เนื่องผำ่ นระบบดจิ ิทลั 4) พัฒนำแพลตฟอรม์ ดิจทิ ัลระบบบริหำรจัดกำรผู้บริหำรครแู ละ บคุ ลำกรทำงกำรศึกษำทกุ ประเภททั้งระบบ 5) พฒั นำครูใหม้ คี วำมชำนำญในกำรสอนภำษำองั กฤษ และภำษำ คอมพิวเตอร์ (Coding) นโยบำยท่ี 4 ด้ำนกำรสรำ้ งโอกำสในกำรเข้ำถึงบริกำรกำรศึกษำทีม่ ีคณุ ภำพ มีมำตรฐำน และกำรลดควำมเหล่อื มล้ำทำงกำรศึกษำ บทนำ นโยบำยกำรสร้ำงโอกำสในกำรเขำ้ ถงึ บริกำรกำรศึกษำท่มี ีคุณภำพและมีมำตรฐำนและ กำรลดควำมเหลื่อมลำ้ ทำงกำรศึกษำ เนน้ กำร สร้ำงโอกำสให้เดก็ วยั เรียน และผู้เรยี นทุกคนเขำ้ ถึงบรกิ ำร กำรศึกษำท่ีมคี ุณภำพ ท่เี ปน็ มำตรฐำนเสมอกนั ไมว่ ำ่ ผเู้ รียนจะยำก ดี มี จน จะอยใู่ นพ้ืนท่ีใดของ ประเทศ อย่ใู นชุมชนเมือง พ้ืนทีห่ ำ่ งไกลทุรกนั ดำร หรอื กลุ่มเป้ำหมำยทตี่ ้องกำรกำรดแู ลเปน็ พเิ ศษเพ่ือ ลดควำมเหลอ่ื มล้ำทำงกำรศกึ ษำของประเทศ โดย สนับสนนุ ให้สถำนศกึ ษำจดั กำรศกึ ษำเพอ่ื ให้บรรลุ เป้ำหมำยโลกเพ่ือกำรพัฒนำอยำ่ งย่งั ยืน ( Global Goals for Sustainable Development) สร้ำง กลไกควำมรว่ มมือของภำคสว่ นตำ่ ง ๆ ในทกุ ระดับ ต้งั แต่ระดับองค์กรปกครองท้องถิ่นหรือตำบล ระดับอำเภอ ระดับจงั หวดั ระดับภูมิภำค และส่วนกลำง สร้ำงมำตรฐำนสถำนศกึ ษำตำมบรบิ ทของพ้นื ท่ี

43 จัดสรรงบประมำณแผ่นดนิ เพื่อสนบั สนนุ ใหเ้ ด็กวยั เรยี นทุกคนตงั้ แต่ระดบั ปฐมวัย ประถมศกึ ษำและ มัธยมศึกษำอย่ำงเพยี งพอ และเหมำะสม สอดคล้องกับสภำพข้อเทจ็ จรงิ โดยคำนึงถึงควำมจำเปน็ ตำมสภำพพน้ื ทีภ่ มู ศิ ำสตร์ สภำพทำงเศรษฐกจิ และทตี่ ้ังของสถำนศกึ ษำ จดั หำ ทนุ กำรศึกษำเพิ่มเติม เพอื่ ช่วยเหลอื ผขู้ ำดแคลนทนุ ทรพั ย์ เพือ่ ลดควำมเหลือ่ มลำ้ ทำงกำรศึกษำ จดั สรรงบประมำณและ ทรพั ยำกรทำงกำรศึกษำอื่นเป็นพิเศษให้เหมำะสม สอดคลอ้ งกบั ควำมต้องกำรจำเปน็ ในกำรจัด กำรศึกษำสำหรบั ผเู้ รียนที่มีควำมตอ้ งกำรจำเปน็ พิเศษ และจดั สรรงบประมำณเป็นค่ำใช้จำ่ ยในกำร ดำเนนิ กำรและงบลงทนุ ใหส้ ถำนศกึ ษำตำมควำมจำเปน็ ตลอดจนนำเทคโนโลยีดจิ ิทัล (Digital Technology)มำใชเ้ ป็นเครื่องมือในกำรเรยี นรู้ของผูเ้ รียน เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนสำมำรถใช้เป็นเครื่องมือในกำร พฒั นำตนเองอยำ่ งต่อเนื่องตลอดชวี ติ รวมถงึ พัฒนำระบบกำรตดิ ตำม สนับสนนุ และประเมินผลเพอื่ สรำ้ งหลกั ประกนั สิทธกิ ำรได้รับกำรศึกษำที่มีคุณภำพของประชำชน เปำ้ ประสงค์ 1. สถำนศึกษำจัดกำรศึกษำเพื่อใหบ้ รรลุเปำ้ หมำยโลกเพ่ือ กำรพัฒนำอยำ่ งยั่งยนื (Global Goals for Sustainable Development) 2. สถำนศกึ ษำกับองค์กรปกครองท้องถนิ่ ภำคเอกชน และหน่วยงำนที่เกยี่ วข้องใน ระดบั พืน้ ท่ี ร่วมมอื ในกำรจดั กำรศกึ ษำ 3. สถำนศกึ ษำมีคุณภำพ และมมี ำตรฐำนตำมบรบิ ทของพื้นที่ 4. งบประมำณ และทรัพยำกรทำงกำรศกึ ษำมีเพียงพอ และเหมำะสม สอดคลอ้ งกับ สภำพขอ้ เท็จจริง โดยคำนึงถึงควำมจำเปน็ ตำมสภำพพ้ืนท่ภี ูมิศำสตร์ สภำพทำงเศรษฐกิจ และทีต่ ั้งของ สถำนศกึ ษำ 5. งบประมำณเพื่อเป็นค่ำใชจ้ ำ่ ย และงบลงทุนแกส่ ถำนศึกษำอย่ำงเหมำะสมเพื่อให้ สถำนศกึ ษำบรหิ ำรงำนจดั กำรศกึ ษำอยำ่ งมปี ระสทิ ธิภำพ 6. นำเทคโนโลยดี ิจิทลั (Digital Technology) มำเป็นเครื่องมือใหผ้ ู้เรยี นได้มโี อกำส เข้ำถงึ บริกำรดำ้ นกำรศกึ ษำได้อย่ำงมีประสทิ ธภิ ำพ 7. พัฒนำระบบกำรติดตำม สนับสนุนและประเมนิ ผลเพ่อื สรำ้ งหลักประกนั สทิ ธกิ ำร ได้รับกำรศึกษำทมี่ ีคุณภำพของประชำชน ตวั ชว้ี ัด 1. ผเู้ รียนทุกคนสำมำรถเข้ำเรียนในสถำนศึกษำที่มคี ุณภำพเปน็ มำตรฐำนเสมอกัน 2. ผเู้ รียนทกุ คนไดร้ ับจัดสรรงบประมำณอดุ หนุน อย่ำงเพยี งพอ และเหมำะสม สอดคลอ้ งกบั สภำพขอ้ เท็จจริง โดยคำนึงถงึ ควำมจำเปน็ ตำมสภำพพน้ื ท่ภี ูมิศำสตร์ สภำพทำงเศรษฐกิจ และที่ตั้งของสถำนศึกษำ และควำมตอ้ งกำรจำเป็นพิเศษสำหรบั ผพู้ กิ ำร 3. ผ้เู รยี นไดร้ ับกำรสนับสนนุ วัสดุ อุปกรณ์ และอุปกรณ์ดจิ ิทัล (Digital Device) เพื่อใช้เป็นเครอื่ งมือในกำรเรียนรูอ้ ยำ่ งเหมำะสม เพียงพอ 4. ครไู ดร้ บั กำรสนับสนุน วสั ดุ อุปกรณ์ และอุปกรณด์ ิจิทลั (Digital Device) เพื่อใช้เปน็ เคร่อื งมือในกำรจดั กิจกรรมกำรเรียนร้ใู หแ้ กผ่ ูเ้ รยี น

44 5. สถำนศึกษำไดร้ บั กำรพฒั นำใหม้ มี ำตรฐำนอย่ำงเหมำะสมตำมบรบิ ท ด้ำนประเภท ขนำด และพื้นที่ 6. สถำนศกึ ษำนำเทคโนโลยีดิจิทลั (Digital Technology) มำใชเ้ ปน็ เคร่ืองมือในกำร จัดกิจกรรมกำรเรยี นรู้ใหแ้ ก่ผูเ้ รียนไดอ้ ยำ่ งมปี ระสทิ ธภิ ำพ 7. สถำนศึกษำมรี ะบบกำรดแู ลช่วยเหลอื และคุม้ ครองนักเรียนและกำรแนะแนวที่มี ประสิทธภิ ำพ 8. สถำนศกึ ษำทีม่ ีระบบฐำนข้อมลู ประชำกรวัยเรยี นและสำมำรถนำมำใชใ้ นกำร วำงแผนจดั กำรเรยี นรู้ใหแ้ ก่ผูเ้ รยี นได้อยำ่ งมปี ระสทิ ธิภำพ มำตรกำรและแนวทำงกำรดำเนนิ กำร 1. สรำ้ งควำมร่วมมือกับองค์กรปกครองระดับท้องถ่ิน ภำคเอกชน หนว่ ยงำน ทีเ่ กีย่ วข้องในกำรจัดกำรศึกษำให้สอดคล้องกับบรบิ ทของพน้ื ที่ โดยมีแนวทำงกำรดำเนนิ กำร ดงั น้ี 1.1 สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พนื้ ฐำน และสำนักงำนเขตพ้ืนที่ กำรศึกษำ (1) ส่งเสรมิ สนับสนุนใหม้ คี วำมรว่ มมือกับองคก์ รปกครองระดบั ทอ้ งถน่ิ ภำคเอกชน หน่วยงำนท่ีเกยี่ วข้องในกำรจัดกำรศึกษำให้สอดคล้องกบั บรบิ ทของพน้ื ท่ี ตลอดจนกำร กำกับตดิ ตำม และประเมินผล (2) จัดทำฐำนขอ้ มูลประชำกรวัยเรยี น เพ่ือเกบ็ รวบรวม เชอ่ื มโยงข้อมูลศึกษำ วเิ ครำะห์ เพ่ือวำงแผนกำรจดั บริกำรกำรเรยี นรใู้ ห้แก่ผู้เรยี น 1.2 สถำนศกึ ษำ (1) รว่ มกับองค์กรปกครองระดับพน้ื ที่ หน่วยงำนที่เกีย่ วข้อง และภำคเอกชน วำงแผนกำรจัดกำรศกึ ษำใหส้ อดคล้องเหมำะสมกับบรบิ ทของพน้ื ท่รี ับผิดชอบ (2) ร่วมมือกบั องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ ชุมชน เอกชน และหน่วยงำนที่ เกย่ี วข้องระดับพ้ืนท่ี จัดทำแผนกำรรับนกั เรยี นทุกระดับ ตง้ั แต่ระดับปฐมวัย ประถมศกึ ษำและ มัธยมศึกษำ (3) รว่ มกบั องค์กรปกครองระดับพนื้ ที่ จดั ทำสำมะโนประชำกรวยั เรยี น (อำยุ 0 - 6 ป)ี เพอ่ื นำไปใชใ้ นกำรวำงแผนกำรจดั กำรศึกษำ (4) รว่ มกับองค์กรปกครองระดับพนื้ ท่ี ตดิ ตำม ตรวจสอบ เด็กวัยเรยี นไดเ้ ข้ำถึง บริกำรกำรเรียนรู้ได้อย่ำงทวั่ ถึงครบถ้วน (5) ร่วมมอื กับองค์กรปกครองระดับพื้นท่ี ชุมชน ภำคเอกชน และทกุ ภำคส่วน บรหิ ำรจัดกำรทรัพยำกรในชมุ ชนใหส้ ำมำรถใช้รว่ มกันไดอ้ ย่ำงมปี ระสทิ ธิภำพ (6) รว่ มมือกับองค์กรปกครองระดับพ้นื ท่ี จัดอำหำร อำหำรเสริม (นม) ใหผ้ ู้เรยี น อย่ำงเพยี งพอ มีคณุ ภำพ (7) รว่ มมอื กับองค์กรปกครองระดับพื้นที่ สนับสนุนใหผ้ ู้เรียนทีอ่ ยู่หำ่ งไกลได้ เดนิ ทำงไปเรียนอย่ำงปลอดภัยทั้งไปและกลบั

45 2. กำรยกระดบั สถำนศึกษำในสังกัดทุกระดับและทกุ ประเภท ให้มีคณุ ภำพและ มำตรฐำนตำมบรบิ ทของพ้นื ที่ โดยมแี นวทำงกำรดำเนนิ กำร ดังน้ี (1) สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพนื้ ฐำน และสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ จัดทำมำตรฐำนสถำนศกึ ษำใหม้ คี ุณภำพในด้ำนต่ำง ๆ เช่น 1) มำตรฐำนดำ้ นโครงสร้ำงพื้นฐำนและส่ิง อำนวยควำมสะดวก 2) มำตรฐำนด้ำนครแู ละบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ 3) มำตรฐำนดำ้ นระบบควำม ปลอดภัยของสถำนศึกษำ 4) มำตรฐำนดำ้ นเทคโนโลยดี จิ ิทลั Digital Technology เป็นต้น กำรกำหนด มำตรฐำนสถำนศึกษำด้ำนต่ำง ๆ ดังกลำ่ วให้พิจำรณำตำมบรบิ ทของสภำพทำงภูมิศำสตร์ ประเภท และ ขนำดของสถำนศึกษำ เป็นสำคญั (2) สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขัน้ พน้ื ฐำน และสำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำ สง่ เสริม สนับสนนุ พัฒนำสถำนศกึ ษำระดบั ตำบล ระดบั อำเภอ ระดบั จงั หวัด โรงเรยี นขนำดเล็ก และ สถำนศกึ ษำประเภทอืน่ ให้มีคุณภำพ และตำมมำตรฐำนที่กำหนด โดยเนน้ สถำนศึกษำระดับตำบล โรงเรียนขนำดเล็กในพ้ืนท่ีห่ำงไกล และโรงเรียนขนำดเลก็ ตำมโครงกำรพิเศษ (3) สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขนั้ พนื้ ฐำน และสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ ส่งเสรมิ สนับสนุน สำนกั งำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำ ในกำรติดตำม ตรวจสอบ ประเมนิ สถำนศึกษำในทกุ มิติ 3. จัดสรรงบประมำณสนับสนุนผู้เรยี น ทุกกลุม่ และสถำนศกึ ษำทกุ ประเภท อยำ่ งเหมำะสม และเพียงพอ เปน็ มำตรกำรเพื่อกำรลดควำมเหลือ่ มล้ำ และสร้ำงโอกำสใหผ้ เู้ รยี นเขำ้ ถึงกำร บริกำรกำรศึกษำทม่ี ีคุณภำพ โดยกำรจดั สรรงบประมำณแผ่นดินเพือ่ ให้เดก็ วัยเรยี นทุกคนต้ังแต่ระดบั ปฐมวยั ประถมศกึ ษำ และมธั ยมศึกษำ อยำ่ งเพียงพอ และเหมำะสม สอดคลอ้ งกับสภำพขอ้ เท็จจรงิ โดย คำนงึ ถงึ ควำมจำเป็นตำมสภำพพืน้ ท่ภี ูมศิ ำสตร์ สภำพทำงเศรษฐกิจ และทต่ี ั้งของสถำนศึกษำ จดั หำ ทุนกำรศึกษำเพิม่ เติม เพ่ือช่วยเหลือผูข้ ำดแคลนทนุ ทรัพย์ จดั สรรงบประมำณและทรัพยำกรทำงกำร ศึกษำอื่นเปน็ พิเศษใหเ้ หมำะสมสอดคล้องกบั ควำมต้องกำรจำเปน็ ในกำรจดั กำรศึกษำสำหรบั ผู้เรียนทีม่ ี ควำมตอ้ งกำรจำเป็นพเิ ศษ และจดั สรรงบประมำณเปน็ ค่ำใชจ้ ำ่ ยในกำรดำเนนิ กำร และงบลงทุนให้ สถำนศกึ ษำอย่ำงเหมำะสมและเพียงพอ โดยมแี นวทำงกำรดำเนนิ กำร ดงั นี้ (1) สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้ันพนื้ ฐำน และสำนักงำนเขตพนื้ ที่กำรศึกษำ ศึกษำ วเิ ครำะห์ ควำมเหมำะสมของงบประมำณในกำรสนับสนุนใหก้ ับผเู้ รยี น และสถำนศกึ ษำ อยำ่ ง เหมำะสม และเพียงพอ สอดคลอ้ งกับสถำนภำพและพ้ืนที่ (2) สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้นั พ้นื ฐำน และสำนักงำนเขตพน้ื ท่ีกำรศึกษำ ส่งเสริม สนับสนนุ ใหส้ ถำนศึกษำจดั ทำแผนงบประมำณกำรศกึ ษำอย่ำงอิสระ โดยรบั ฟังควำมคิดเห็นของ ผู้เกย่ี วข้องในพน้ื ที่ประกอบกำรจัดทำแผนงบประมำณก่อนเสนอหน่วยงำนต้นสังกัด (3) สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้นื ฐำน และสำนักงำนเขตพ้ืนที่กำรศึกษำ ประสำนควำมร่วมมือกับกองทุนควำมเสมอภำคทำงกำรศึกษำ เพ่ือจดั สรรงบประมำณให้เดก็ วยั เรียน กลมุ่ ขำดแคลนทนุ ทรัพย์ เพื่อลดควำมเหลื่อมลำ้ ทำงกำรศกึ ษำ

46 (4) สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน และสำนักงำนเขตพน้ื ที่กำรศึกษำ ส่งเสริม สนบั สนนุ สำนกั งำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำ สนบั สนุนกระบวนกำร จดั ทำแผนงบประมำณ และ ตดิ ตำม กำกบั กำรใช้จ่ำยงบประมำณของสถำนศึกษำใหม้ ีประสทิ ธิภำพและมคี วำมโปร่งใส 4. กำรประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทลั (Digital Technology) เปน็ เครือ่ งมอื ในกำร พฒั นำคุณภำพของผู้เรยี น โดยมีแนวทำงกำรดำเนนิ กำร ดังน้ี (1) สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขนั้ พ้ืนฐำน และสำนักงำนเขตพน้ื ท่ีกำรศึกษำ สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้สถำนศกึ ษำมรี ะบบโครงขำ่ ยส่ือสำรโทรคมนำคมท่ีมีประสิทธภิ ำพและมีควำม ปลอดภยั สูง (2) สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขน้ั พน้ื ฐำน และสำนักงำนเขตพน้ื ที่กำรศึกษำ สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้สถำนศึกษำมีระบบคอมพิวเตอร์ และอปุ กรณ์ทีใ่ ชเ้ ป็นเครื่องมือในกำรพฒั นำ ทักษะดำ้ นกำรรู้ดจิ ทิ ัล (Digital Literacy) แกผ่ ู้เรยี น (3) สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขนั้ พน้ื ฐำน และสำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำ ส่งเสรมิ สนบั สนุน ใหส้ ถำนศึกษำปรับปรงุ พฒั นำห้องเรยี นใหเ้ ปน็ หอ้ งเรยี น ท่ีประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยี ดจิ ิทัล (Digital Technology) ในกำรจัดกำรเรียนรแู้ กผ่ ู้เรยี น (4) สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้ันพ้นื ฐำน และสำนักงำนเขตพ้นื ท่ีกำรศึกษำ สง่ เสรมิ สนับสนนุ อุปกรณ์ดิจทิ ัล (Digital Device) สำหรบั ผู้เรียนทกุ ระดบั ตง้ั แต่ระดบั ปฐมวัย ประถมศึกษำ และมัธยมศึกษำ อย่ำงเหมำะสม เพอื่ เปน็ เคร่ืองมือในกำรพัฒนำกำรเรยี นรู้ของตนเอง นำไปสกู่ ำรสร้ำงกำรเรียนรอู้ ย่ำงตอ่ เน่ืองตลอดชีวิต (5) สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพืน้ ฐำน และสำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำ ส่งเสรมิ สนบั สนนุ อุปกรณด์ จิ ิทลั (Digital Device) และพัฒนำกำรสอนทักษะดิจิทลั (Digital Pedagogy) สำหรบั ครูอย่ำงเหมำะสม เพ่ือเปน็ เครื่องมือในกำรจดั กระบวนกำรเรยี นรู้ เพื่อพัฒนำผู้เรยี น ได้อย่ำงมปี ระสิทธิภำพ (6) สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้นั พืน้ ฐำน และสำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำ สง่ เสรมิ สนบั สนุน ใหส้ ถำนศึกษำใช้เทคโนโลยกี ำรเรยี นกำรสอนทำงไกล เพื่อพัฒนำคุณภำพผเู้ รยี น (Distance Learning Technology: DLT) นโยบำยท่ี 5 ด้ำนกำรจัดกำรศึกษำเพือ่ พฒั นำคุณภำพชีวิตทีเ่ ป็นมติ รกบั ส่ิงแวดลอ้ ม บทนำ ยทุ ธศำสตรช์ ำตดิ ำ้ นกำรสรำ้ งกำรเติบโตบนคุณภำพชีวติ ทเ่ี ป็นมติ รต่อส่ิงแวดล้อม ไดน้ ้อมนำศำสตร์ของพระรำชำสกู่ ำรพฒั นำท่ียง่ั ยนื โดยยึดหลกั 3 ประกำรคือ “มคี วำมพอประมำณ มีเหตผุ ลมีภมู ิค้มุ กนั ” มำเปน็ หลักในกำรจดั ทำยุทธศำสตร์ชำตคิ วบคู่กบั กำรนำเปำ้ หมำยของกำรพัฒนำ ทีย่ ่งั ยืนท้ัง 17 เป้ำหมำย มำเปน็ กรอบแนวคิดทจี่ ะผลกั ดันดำเนินกำรเพ่อื นำไปสกู่ ำรบรรลเุ ป้ำหมำย กำรพัฒนำทยี่ ั่งยนื ในทุกมติ ิ ทง้ั มติ ดิ ำ้ นสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ธรรมำภิบำล และควำมเป็นห้นุ สว่ น ควำมร่วมมือระหวำ่ งกันทงั้ ภำยในและภำยนอกประเทศอย่ำงบูรณำกำร โดยมวี สิ ยั ทัศน์เพ่ือให้ประเทศ ไทย“เปน็ ประเทศพฒั นำแล้วมคี ณุ ภำพชวี ิตและส่ิงแวดล้อมทดี่ ีทสี่ ดุ ในอำเซียนภำยในปี พ.ศ. 2580”

47 ดังน้ัน นโยบำยด้ำนกำรจดั กำรศกึ ษำข้นั พน้ื ฐำนเพื่อรองรบั วสิ ัยทศั นด์ งั กลำ่ ว จึงไดน้ ้อมนำศำสตร์ พระรำชำ หลกั ปรัชญำเศรษฐกจิ พอเพียง และเปำ้ หมำยของกำรพัฒนำทย่ี งั่ ยนื ทั้ง ๑๗ เป้ำหมำยมำเปน็ หลกั ในกำรปรับปรุงหลักสตู ร กำรจดั กิจกรรมกำรเรียนรู้ และกำรจัดสภำพแวดล้อมของสถำนศกึ ษำให้ สอดคลอ้ งกบั หลกั กำรดังกลำ่ ว บนพ้ืนฐำนควำมเชือ่ ในกำรเติบโตรว่ มกัน ไมว่ ่ำจะเปน็ ทำงเศรษฐกิจ ส่ิงแวดลอ้ ม และคุณภำพชีวติ โดยให้ควำมสำคัญกบั กำรสร้ำงสมดุลทงั้ 3 ดำ้ น ไมใ่ หม้ ำกหรอื นอ้ ย จนเกินไปอนั จะนำไปสู่ควำมยั่งยืนเพอ่ื คนรนุ่ ต่อไปอยำ่ งแท้จริง เป้ำประสงค์ 1. สถำนศึกษำ นกั เรยี นไดร้ ับกำรสง่ เสริมด้ำนควำมรู้ กำรสร้ำงจิตสำนึกดำ้ นกำรผลติ และบรโิ ภค ทีเ่ ปน็ มิตรกับสิง่ แวดล้อม 2. สถำนศึกษำสำมำรถนำเทคโนโลยมี ำจดั ทำระบบสำรสนเทศกำรเกบ็ ข้อมลู ดำ้ น ควำมรู้ เร่ือง ฉลำกสีเขียวเพ่ือส่งิ แวดล้อม ฯลฯ และสำมำรถนำมำประยุกต์ใชใ้ นทกุ โรงเรียนตำม แนวทำง Thailand ๔.๐ 3. สถำนศกึ ษำมีกำรจัดทำนโยบำยจดั ซอื้ จดั จำ้ งท่ีเป็นมิตรกับสงิ่ แวดล้อม 4. สถำนศกึ ษำมกี ำรบรู ณำกำรหลักสตู ร กิจกรรมเร่ืองวงจรชวี ติ ของผลติ ภณั ฑก์ ำรผลิต และบรโิ ภค สกู่ ำรลดปริมำณคำรบ์ อนในโรงเรียนคำร์บอนต่ำสู่ชุมชนคำร์บอนต่ำ 5. สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พนื้ ฐำน และสำนักงำนเขตพน้ื ท่ีกำรศึกษำ โรงเรียน ทกุ โรงเรียนในสังกัดมีกำรปรบั ปรุงและพฒั นำเป็นหนว่ ยงำนตน้ แบบสำนกั งำนสีเขียว (GREEN OFFICE) เพือ่ ให้มีบริบททีเ่ ป็นแบบอย่ำงเอ้ือหรอื สนบั สนนุ กำรเรียนรูข้ องนกั เรียนและชุมชน 6. สถำนศกึ ษำในสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขนั้ พน้ื ฐำน จำก 225 เขต มนี โยบำยส่งเสริมควำมรู้และสร้ำงจิตสำนกึ และจดั กำรเรียนรกู้ ำรผลติ และบริโภคท่เี ปน็ มิตรกบั สิง่ แวดล้อม 7. สถำนศกึ ษำตน้ แบบนำขยะมำใชป้ ระโยชนเ์ พ่ือลดปริมำณขยะ จำนวน 15,000 โรงเรียน 8. มีสถำนศึกษำ นวตั กรรมต้นแบบในกำรนำ 3RS มำประยกุ ต์ใช้ในกำรผลิตและ บรโิ ภคทีเ่ ป็นมิตรกบั ส่ิงแวดล้อม จำนวน 6,000 โรงเรยี น 9. สำนักงำนเขตพื้นทีก่ ำรศกึ ษำ 225 เขต มีกำรทำนโยบำยกำรจดั ซื้อจดั จ้ำงทเ่ี ป็นมติ ร กบั สิง่ แวดล้อม ตวั ช้วี ดั 1. สถำนศึกษำในสังกดั มีนโยบำยและจัดกิจกรรมให้ควำมรู้ ทถ่ี กู ต้องและสร้ำง จิตสำนกึ ดำ้ นกำรผลิตและบรโิ ภคทเี่ ปน็ มิตรกับสิ่งแวดล้อมนำไปปฏิบัตใิ ช้ท่ีบำ้ นและชมุ ชน เชน่ กำร ส่งเสรมิ อำชีพท่ีเปน็ มิตรกับสงิ่ แวดล้อม กำรลดใชส้ ำรเคมีจำกปยุ๋ และยำฆำ่ แมลง ฯลฯ 2. สถำนศึกษำมกี ำรนำขยะมำใช้ประโยชนใ์ นรูปผลิตภัณฑ์และพลังงำนเพื่อลดปรมิ ำณ ขยะและมกี ำรส่งเสรมิ กำรคดั แยกขยะในชุมชนเพ่ือลดปรมิ ำณคำรบ์ อนท่ีโรงเรียนและชมุ ชน 3. สถำนศกึ ษำมีกำรบูรณำกำรเรอื่ งกำรจดั กำรขยะแบบมสี ่วนรว่ มและกำรนำขยะมำ ใชป้ ระโยชน์รวมท้งั สอดแทรกในสำระกำรเรยี นรู้ท่ีเกี่ยวข้อง

48 4. นกั เรยี นเรยี นรู้จำกแหลง่ เรียนรู้ มกี ำรขยำยผลแหลง่ เรยี นรู้ นกั เรยี น โรงเรียนชมุ ชน เรยี นร้ดู ้ำนกำรลดใชพ้ ลังงำน กำรจดั กำรขยะและอนุรักษ์สงิ่ แวดล้อมเพื่อเปน็ แหล่งเรียนรู้และตวั อย่ำง รปู แบบผลิตภัณฑ์ที่เปน็ มิตรกับส่ิงแวดลอ้ ม เช่น โรงงำนอุตสำหกรรมสเี ขียว ฯลฯ 5. นกั เรียน สถำนศกึ ษำมีกำรเก็บข้อมลู เปรยี บเทียบกำรลดปริมำณคำรบ์ อนไดออก ไซต์ในกำรดำเนนิ กจิ กรรมประจำวันในสถำนศึกษำและท่ีบ้ำน และข้อมูลของ Carbon Footprint ใน รูปแบบ QR CODE และ Paper less 6. ครู มคี วำมคดิ สรำ้ งสรรค์ สำมำรถพัฒนำส่ือ นวตั กรรม และดำเนินกำรจัดทำ งำนวจิ ัยดำ้ นกำรสรำ้ งสำนึกด้ำนกำรผลิตและบรโิ ภคทีเ่ ป็นมิตรกบั สิง่ แวดล้อมได้ 7. ครู และนักเรยี นสำมำรถนำส่อื นวัตกรรมท่ีผ่ำนกระบวนกำรคิดมำประยุกต์ใชใ้ น โรงเรียนกำรจดั กำรเรียนรู้ และประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจำวันและชุมชนไดต้ ำมแนวทำงThailand 4.0 8. สำนกั งำนเขตพน้ื ทกี่ ำรศึกษำ สถำนศึกษำมีกำรปรบั ปรงุ และพฒั นำบุคลำกรและ สถำนที่ใหเ้ ป็นสำนกั งำนสีเขียวตน้ แบบมนี โยบำยกำรจัดซื้อจัดจ้ำงท่เี ปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อมทีเ่ อ้ือตอ่ กำร เรียนรู้ของนักเรยี นและชุมชน มำตรกำรและแนวทำงกำรดำเนินกำร 1 จดั ทำ Road Map และแผนปฏบิ ัติกำรเพ่ือจดั แนวทำงกำรดำเนนิ ทำงกำรใหอ้ งค์ ควำมร้แู ละสรำ้ งจิตสำนึกด้ำนกำรผลิตและบรโิ ภคทีเ่ ปน็ มิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ ม 2 จดั ทำคูม่ ือและพฒั นำสื่อนวัตกรรมในรปู แบบ QR CODE และสื่อระบบ Multimedia และอ่นื ๆ 3. จดั ทำเกณฑ์กำรประกวดโรงเรยี นคำร์บอนต่ำและชมุ ชนคำร์บอนตำ่ และพัฒนำ วทิ ยำกรใหค้ วำมรเู้ รื่องวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ (LCA) สู่สงั คมคำรบ์ อนต่ำ 4. พัฒนำวเิ ครำะห์แผนกำรจัดกำรเรียนและจดั ทำหนว่ ยกำรเรยี นรู้ในเรอื่ งกำรผลิต และบริโภคทเี่ ป็นมติ รกับสง่ิ แวดลอ้ มตอ่ กำรเปลย่ี นแปลงสภำพภูมอิ ำกำศ ตงั้ แตร่ ะดับ ปฐมวัยจนถงึ ระดบั มัธยมศึกษำ และพัฒนำระบบข้อมูลสำรสนเทศกำรเก็บขอ้ มลู กำรลดกำ๊ ซที่มีผลต่อปรำกฏกำรณ์ ภำวะเรอื นกระจก เชน่ คำร์บอนไดออกไซด์ ในรปู แบบกำรเปรยี บเทยี บและกำรลดกำรปลอ่ ย คำร์บอนไดออกไซด์ในกำรดำเนนิ ชวี ติ ประจำวนั Carbon emission /Carbon Footprint ใน สถำนศกึ ษำส่ชู มุ ชน 5. จัดจ้ำงผเู้ ชีย่ วชำญในกำรจดั ทำ Road Map เปน็ ทป่ี รกึ ษำในกำรดำเนนิ กำรตำม แผนปฏบิ ตั กิ ำรโรงเรยี นคำรบ์ อนตำ่ ส่ชู มุ ชนคำร์บอนต่ำ 6. พฒั นำต่อยอดและขยำยผลศูนยก์ ำรเรียนรู้ลดใช้พลงั งำน กำรจดั กำรขยะและ อนรุ กั ษส์ ิง่ แวดล้อมใน 6 ศนู ย์ 4 ภมู ภิ ำค 7. พัฒนำเครอ่ื งมือ และ กระบวนกำรใหค้ วำมรูแ้ ละแนวทำงกำรจดั กำรเรียนรู้กิจกรรม เร่ืองกำรผลิตและบรโิ ภคท่เี ป็นมิตรกับสง่ิ แวดล้อมใน 6 ภมู ภิ ำค 8 จัดสรรงบประมำณดำเนนิ กำรตำม Road map และแผนปฏบิ ัติกำร 255 เขต เพือ่ ดำเนนิ กำรต่อยอดขยำยควำมรู้และสรำ้ งเครือข่ำยโรงเรียน ชมุ ชน และเชื่อมตอ่ หนว่ ยงำนทงั้ ภำครัฐ และเอกชน

49 9. สนบั สนุน ส่งเสรมิ พัฒนำกระบวนกำรรณรงคใ์ ห้มีกำรจัดซ้อื จดั จำ้ งทีเ่ ปน็ มติ รกับ สิง่ แวดล้อมและยกระดบั สำนักงำนเขตพ้นื ทต่ี ้นแบบ 225 เขต และสถำนศึกษำดำ้ นกำรบริหำรจดั กำร สำนกั งำนสีเขียวและสถำนศึกษำทีเ่ ปน็ มติ รกบั ส่ิงแวดลอ้ ม (Green office) 10 พัฒนำยกระดับสถำนศกึ ษำนำร่องขยำยผลสง่ สถำนศึกษำต้นแบบด้ำนกำรพัฒนำ ดำ้ นกำรผลิต และบริโภค ท่ีเปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อมท้งั ระบบ เชน่ กำรเลือกซ้ือผลติ ภณั ฑ์เบอร์ 5 และ ผลติ ภัณฑ์ทม่ี ฉี ลำกและสัญลักษณเ์ บอร์ 5 เพื่อลดกำรใช้ทรัพยำกรธรรมชำตแิ ละลดปรมิ ำณขยะใน สำนกั งำนและสถำนศึกษำ 11. ส่งเสริมกำรพัฒนำส่ือนวัตกรรม และบรู ณำกำรสำระกำรเรียนรู้และแผนกำร จดั กำรเรยี นรูเ้ ร่ืองกำรผลติ และบรโิ ภคทเี่ ป็นมิตรกบั สง่ิ แวดล้อมต่อกำรเปล่ียนแปลงภมู ิอำกำศ 12. ขยำยผลผำ่ นระบบ DLTV ส่งเสริมควำมร้เู ร่ือง กำรผลติ และบริโภคทเ่ี ปน็ มิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ มต่อควำมปลอดภยั และสุขภำพท่ีดสี ู่สังคมเมืองเชิงนเิ วศและกำรจดั กำรมลพษิ และ สิง่ แวดล้อมท่ดี ีและกำรเลือกผลิตภณั ฑ์ บรรจภุ ณั ฑ์ท่ีเปน็ มติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ มและฉลำกท่ีแสดงสญั ลักษณ์ ทเ่ี ปน็ มติ รกับสิง่ แวดลอ้ ม 13. พัฒนำนวัตกรรมโดยใช้กระบวนกำร BBL/PLC และ Decision – Making กำรนำ ขยะมำใชป้ ระโยชน์ในรปู แบบผลิตภัณฑแ์ ละพลังงำนและลดประมำณขยะ กำรบำบัดน้ำเสยี ลดกำรใช้ เผำและลดใช้สำรเคมี สโู่ รงเรยี นปลอดภยั และเปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อม 14. ขยำยผลจำกโรงเรียนคำร์บอนต่ำสูช่ ุมชนเชงิ นิเวศและกำรจดั กำรมลพิษและ ส่ิงแวดลอ้ มดี Green city ดำ้ นพลังงำน กำรจดั กำรขยะและน้ำเสยี ชุมชนผลิตและบรโิ ภค ท่เี ปน็ มิตรกบั สิง่ แวดล้อม 15. ส่งเสรมิ สนับสนนุ และพัฒนำใหน้ ักเรยี น โรงเรียนได้ศกึ ษำ เรียนรู้จำกแหลง่ เรยี นรู้ โรงงำนอตุ สำหกรรม กำรผลติ ท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดลอ้ ม ชุมชนเมอื งนเิ วศ และหน่วยงำนสง่ เสริมกำร บริโภคที่เป็นมิตรกบั สงิ่ แวดล้อมเพอ่ื นำควำมรมู้ ำประยุกตใ์ ชแ้ ละจดั ทำโครงงำนด้ำนกำรอนุรักษ์ สิง่ แวดล้อม 16. ส่งเสริมแนวทำงกำรจัดกำรเรียนรอู้ ำชีพท่ีเปน็ มติ รกบั สิ่งแวดล้อมในสถำนศึกษำจัด ค่ำยเยำวชนวยั ซนลดคำรบ์ อนเพอื่ โลก ประกวดชุมชนต้นแบบทีน่ ำควำมร้จู ำกโรงเรยี นต่อยอดสู่ชุมชน นิเวศ ปลอดขยะ ปลอดสำรพิษเป็นมติ รกบั สิ่งแวดล้อม อยำ่ งน้อย 2,000 ชมุ ชน 17. จัดทำระบบนเิ ทศ ติดตำมผลกำรดำเนินงำนในสถำนศึกษำทั้งในระบบออนไลน์ และนเิ ทศเชงิ คุณภำพพฒั นำกำรกรอกข้อมูลระบบกำรนเิ ทศตดิ ตำม แลกเปล่ียนนำเสนอผลงำนและ มอบรำงวลั เกยี รติยศ ประชำสัมพันธแ์ ละจดั พิมพ์ เว็บไซต์ ผลงำนเพ่อื เผยแพร่และเปน็ ต้นแบบ สรปุ ผล รำยงำน นโยบำยท่ี 6 ดำ้ นกำรปรับสมดุลและพัฒนำระบบกำรบรหิ ำรจดั กำรศกึ ษำ บทนำ นโยบำยด้ำนกำรปรับสมดุลและพัฒนำระบบบรหิ ำรจดั กำรศึกษำ เปน็ นโยบำยจดุ เนน้ ท่ีสำคัญเน่ืองจำกเปน็ นโยบำยท่ีกระจำยอำนำจกำรจัดกำรศึกษำให้สถำนศกึ ษำ หรอื กลมุ่ สถำนศึกษำมี ควำมเปน็ อสิ ระในกำรบรหิ ำรและจัดกำรศึกษำ ครอบคลุมท้งั ดำ้ นกำรบริหำรวิชำกำร ด้ำนกำรบรหิ ำร งบประมำณ ดำ้ นกำรบรหิ ำรงำนบุคคล และด้ำนกำรบริหำรงำนทั่วไป และปรับบทบำทภำรกิจของ หนว่ ยงำนทั้งระดบั สำนักงำนทั้งสว่ นกลำง และระดบั ภมู ิภำค โดยปรบั โครงสร้ำงของหนว่ ยงำนทกุ ระดับ

50 ตงั้ แตส่ ถำนศึกษำ สำนกั งำนเขตพ้นื ที่กำรศึกษำ และสำนักงำนสว่ นกลำง ใหม้ คี วำมทันสมยั พร้อมที่จะ ปรับตวั ใหท้ นั ต่อกำรเปลีย่ นแปลงของโลกอยตู่ ลอดเวลำ หนว่ ยงำนสำนกั งำนเปน็ หน่วยงำนท่มี ีหนำ้ ที่ สนบั สนนุ สง่ เสรมิ ตรวจสอบ ตดิ ตำม เพื่อใหส้ ถำนศกึ ษำสำมำรถจดั กำรศกึ ษำได้อยำ่ งมีประสทิ ธภิ ำพ นำเทคโนโลยดี ิจิทลั Digital Technology เช่น Cloud Technology Big Data Technology และ Communication Technology เป็นต้น มำใช้ในกำรเพิ่มประสทิ ธิภำพกำรบรหิ ำรงำนทั้งระบบ มคี วำม โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ พรอ้ มท้ังปลูกฝังค่ำนิยมควำมซ่ือสัตย์สุจรติ ควำมมัธยสั ถแ์ ละเปดิ โอกำสให้ทกุ ภำค สว่ นเข้ำมำมีสว่ นร่วมเพ่ือตอบสนองควำมต้องกำรของประชำชนไดอ้ ย่ำงสะดวก รวดเร็ว เปำ้ ประสงค์ 1. สถำนศึกษำ หรอื กลุ่มสถำนศกึ ษำ มีควำมเปน็ อิสระในกำรบรหิ ำรและจัดกำรศกึ ษำ ครอบคลุม ด้ำนกำรบรหิ ำรวชิ ำกำร ด้ำนกำรบรหิ ำรงบประมำณ ดำ้ นกำรบรหิ ำรงำนบคุ คลและด้ำนกำร บริหำรงำนท่ัวไป 2. หน่วยงำนสว่ นกลำง และสำนกั งำนเขตพื้นทีก่ ำรศึกษำ ตอ้ งปรบั เปลีย่ นใหเ้ ปน็ หนว่ ยงำนใหม้ ีควำมทันสมยั พรอ้ มทีจ่ ะปรับตวั ให้ทันต่อกำรเปล่ยี นแปลงของโลกอยูต่ ลอดเวลำเป็น หนว่ ยงำนทีม่ ีหนำ้ ทีส่ นบั สนนุ ส่งเสรมิ ตรวจสอบ ตดิ ตำม เพอ่ื ใหส้ ถำนศึกษำสำมำรถจดั กำรศึกษำได้ อยำ่ งมีประสทิ ธภิ ำพ 3. หน่วยงำนทุกระดับ มีควำมโปรง่ ใส ปลอดกำรทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ บรหิ ำร จดั กำรตำมหลกั ธรรมำภิบำล 4. หน่วยงำนทกุ ระดับมกี ระบวนกำร และกำรวธิ งี บประมำณดำ้ นกำรศึกษำ เพื่อเพ่ิม คณุ ภำพและประสิทธภิ ำพกำรจัดกำรศกึ ษำ โดยกำรจัดสรรงบประมำณตรงสู่ผเู้ รยี น 5. หน่วยงำนทกุ ระดับ พัฒนำนวัตกรรม และเทคโนโลยีดจิ ิทลั (Digital Technology) มำใช้ในกำรเพม่ิ ประสิทธิภำพกำรบริหำรและกำรจดั กำรเรียนกำรสอนอย่ำงเป็นระบบ ตัวช้วี ัด 1. สถำนศกึ ษำไดร้ บั กำรกระจำยอำนำจกำรบรหิ ำรจดั กำรศึกษำอยำ่ งเป็นอสิ ระ 2 สถำนศึกษำ สำนกั งำนเขตพ้นื ทกี่ ำรศกึ ษำและสำนักงำนสว่ นกลำงได้รบั กำรพฒั นำ ใหเ้ ป็นหนว่ ยงำนทม่ี ีควำมทันสมัย ยดื หย่นุ คล่องตวั สงู พร้อมที่จะปรบั ตัวให้ทนั ต่อกำรเปลีย่ นแปลงของ โลกอยูต่ ลอดเวลำ เป็นหน่วยงำนท่ีมหี น้ำท่สี นับสนุน ส่งเสริม ตรวจสอบ ตดิ ตำม เพอ่ื ใหส้ ถำนศึกษำ สำมำรถจดั กำรศกึ ษำได้อย่ำงมีประสทิ ธิภำพครอบคลุมทุกตำบล 3. สถำนศึกษำ สำนกั งำนเขตพนื้ ทก่ี ำรศึกษำ และสำนกั งำนสว่ นกลำง นำนวัตกรรม และเทคโนโลยดี ิจิทลั (Digital Technology) มำใช้ในกำรบรหิ ำรจัดกำรและตัดสินใจ ท้งั ระบบ 4. สถำนศึกษำ และหนว่ ยงำนในสงั กดั ทุกระดบั มคี วำมโปร่งใส ปลอดกำรทจุ ริตและ ประพฤตมิ ิชอบ บริหำรจดั กำรตำมหลักธรรมำภิบำล 5. สถำนศึกษำ หนว่ ยงำนในสงั กดั ทกุ ระดับ ผ่ำนกำรประเมินคุณธรรมและควำม โปร่งใสในกำรดำเนนิ งำนของหน่วยงำนภำครฐั (Integrity & Transparency Assessment : ITA) 6. สถำนศึกษำทุกแห่งและหน่วยงำนในสังกดั มีระบบฐำนข้อมลู สำรสนเทศวชิ ำกำร ผูเ้ รยี น ครู บคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ สถำนศึกษำ หน่วยงำนในสังกัด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook