Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Human Value Unit 5_6 Slides

Human Value Unit 5_6 Slides

Published by Nawa Tua Ae, 2021-01-13 08:05:27

Description: Human Value Unit 5_6 Slides

Search

Read the Text Version

คณุ คา มนษุ ย น.5-6 สปั ดาหท ี่ 13-17

หนว ยเรียนท่ี 5 ภูมิปญญาทองถิ่น (สอนเฉพาะนศ.กลมุ เรยี นสมทบ)

หัวขอการเรียนรู หนว ยเรยี นท่ี 5 ภูมปิ ญญาทองถิน่ 5.1ความหมายและความสําคัญของภูมปิ ญ ญา ทอ งถ่นิ 5.1.1 ความหมายและความสาํ คญั 5.1.2 ความสาํ คญั ของภูมิปญ ญาทองถน่ิ 5.2ประเภทของภูมปิ ญ ญาทองถน่ิ 5.2.1 ประเภทภมู ปิ ญญาทอ งถิ่นภาคตางๆ 5.2.2 ประเภทภูมิปญญาทองถิ่นกบั การ ดาํ เนนิ ชวี ิต

5.1ความหมายและความสาํ คัญของภูมปิ ญ ญาทอ งถ่นิ

ความหมายและระดับของภมู ปิ ญญา ภมู ิปญญา หมายถงึ ความรูท ่เี กิดจากสตปิ ญญา ความสามารถ และประสบการณ ที่ผาน การศกึ ษา สงั เกต คิด วิเคราะห จนเกิดปญ ญา และตกผลกึ มาเปน องคค วามรู เพื่อนําไปแก ปญ หาหรอื ใชในการดําเนนิ ชีวติ โดยมีการส่ังสม และถา ยทอดกนั มาเปน เวลานาน ภูมิปญญาชาวบา น เปน ความรูทีอ่ ยใู นตวั ผูร ู หรอื ชาวบา นเปน ผสู รา งสรรคขนึ้ เอง จาก ประสบการณ การลองผดิ ลองถกู จนไดว ธิ ที ด่ี ีท่ีสดุ ในการแกป ญ หา และผานการนําไปปฏิบตั ิมา แลว จนไดร ับการยอมรบั และถือเปน สวนหน่งึ ของมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญ ญาทอ งถิน่ หมายถงึ ภมู ิปญญาท่มี อี ยใู นชุมชนแตล ะพ้ืนที่ ทีอ่ าจแตกตา งกนั อนั เนื่องมาจากสภาพแวดลอ มทางธรรมชาติ ซ่งึ ทําใหก ารแกปญ หาหรือการดําเนนิ ชวี ติ มคี วาม แตกตา งกนั ภมู ิปญญา (ชาติ) ไทย เปน องคค วามรูแ ละทกั ษะของคนไทย เปนภูมิปญญาทีม่ คี วาม เหมาะสมกับการดําเนินชวี ติ หรือใชแกป ญหาในยคุ สมยั น้นั ๆ ตลอดจนเปนท่รี จู ักและไดรับการ ยอมรับจากคนในประเทศและในระดับสากล

ความสาํ คญั ของภูมปิ ญ ญาทอ งถ่ิน 1. เปนมรดกทางวัฒนธรรมท่สี บื ทอดกนั มานาน 2. เปนหลักในการดาํ เนนิ ชีวิตบนฐานความรู 3. เปนทรพั ยสินทางปญ ญาทมี่ ีคณุ คา 4. ชว ยพฒั นาเศรษฐกิจแบบพึ่งพาตนเองของชมุ ชน

ลกั ษณะของภูมปิ ญญาทองถ่ินไทย 1. ภมู ปิ ญ ญาทอ งถ่ินไทยเกดิ จากพนื้ ฐานทางการเกษตร 2. ภมู ปิ ญญาทองถิน่ ไทยสว นใหญมาจากพระพุทธศาสนา 3. ภูมปิ ญญาทอ งถิ่นไทยเกิดจากการใชชีวิตจริง 4. ภมู ิปญญาไทยมีการบอกเลาสบื ๆ ตอกันมา เม่ือสามารถสรปุ แนวปฏบิ ตั ิ ในเรอ่ื งใดไดช ัดเจนแลวก็จะมกี ารจดบันทึกไว



5.2.1ภูมปิ ญ ญาทองถ่นิ ภาคตา งๆ

ภาคกลาง ภูมปิ ญญาภาคกลางสามารถแสดงออกมาในลักษณะของประเพณีท่สี ําคญั ไดแ ก - ประเพณสี ูขวญั ขา ว-ขวัญควาย - ประเพณีตกั บาตรนาํ้ ผึง้ - ประเพณตี กั บาตรดอกไม - ประเพณีวิง่ ควาย - ประเพณีสงกรานต - ประเพณีบญุ กลางบาน - ประเพณวี ันไหล - ประเพณกี วนขาวทิพย ภูมปิ ญ ญาท่ีเก่ียวขอ งกบั การละเลนก็มีมากมาย เชน - ลิเก - ลาํ ตดั มอญซอนผา - การแสดงโขน - การแขงวา วปก เปา และจฬุ า - งูกินหาง -





ภมู ปิ ญ ญาในการดํารงชีพตามสภาพแวดลอ มทางธรรมชาตแิ ละสงั คมวฒั นธรรม ไดแ ก - ภูมปิ ญญาในวฒั นธรรมขาว เชน การสูขวญั ขา ว - ภมู ิปญ ญาในการตง้ั ถน่ิ ฐานบานเรือนและชุมชน - ภูมปิ ญญาในการปรับตวั และหลอมรวมรว มกันระหวางคนหลายชาติพันธุ เชน งานวันไหล ในประเพณี สงกรานตเปน ตน ภมู ปิ ญ ญาในการโตต อบและการปรบั ตวั กบั การเปลย่ี นแปลง เชน - การนบั ถอื พระพุทธศาสนาควบคกู นั ไปกบั การนบั ถอื ผีตามความเช่ือดัง้ เดิม ภูมิปญญาในดา นการประดษิ ฐแ ละหัตถศลิ ป เชน - การประดษิ ฐสิ่งของจากสว นตาง ๆ ของพืช เชน ตน กลวย ตน ไผ ตนจาก - การประดิษฐเ ครอ่ื งมือดกั จับสตั วก ารใชของพ้ืนบานเพือ่ การทํามาหากนิ และเครือ่ งมือการ ทาํ การเกษตร ภมู ปิ ญญาในการแสวงหาทางเลอื ก และการผลติ แบบซ้ํา ๆ เชน - ภมู ิปญ ญาทางดา นกระบวนการเรียนรแู ละการปรับตวั ของชมุ ชนในการทาํ นา - ภมู ิปญญาทางดา นการละเลนพืน้ บา นแบบ นาฏศิลป ลเิ ก ลําตดั







ภาคเหนือ ภูมปิ ญ ญาภาคเหนือหรอื ท่เี รยี กวา “ภูมิปญญาลานนา” เปนสิ่งท่ีชาวภาคเหนอื ได สรางสรรคคิดคน มาเพื่อใชใ นชีวิตประจําวนั และใหก ารดําเนินชีวติ เปน ไปอยางราบร่นื สะดวกสบาย และมีความสขุ ซง่ึ มีใหเ ห็นทั้งในลกั ษณะของสงิ่ ท่ีเปนรูปธรรม เชน เคร่ืองมือเคร่อื งใช ส่งิ กอ สราง อาคารบานเรือน สถาปต ยกรรม จิตรกรรม ดนตรี ศิลปะแขนงตา ง ๆ และภูมิปญญาที่อยู ในลักษณะของขนบธรรม เนยี มประเพณี พิธีกรรม ความเชื่อและกจิ กรรมอืน่ ๆ ที่แฝงไปดวยความคิด และกลวธิ ีอนั แยบยล 1. ภมู ิปญญาและประเพณเี กี่ยวกับวิถชี วี ิต ไดแก ประเพณกี ารเกิด การตาย การแตงงาน การ ขึ้นบานใหม สืบชะตา การบวช เปนตน 2. ภูมิปญ ญาและประเพณีเกี่ยวกบั การทาํ มาหากนิ เชน การสูขวญั ขาว - ขวัญควาย ประเพณี แรกนาขวญั การเอามือเอาแรง ทาํ นาทาํ สวน การทําเหมือง ตฝี าย (ขุดลอกลําเหมอื ง ซอ มแซม ฝาย) การเลยี้ งผขี ุนน้าํ เปนตน



3. ภมู ปิ ญญาและประเพณีท่ีเกย่ี วกบั พุทธศาสนา เชน ประเพณปี อยนอย (การบรรพชา) ปอยเปกข (การอปุ สมบท) ปอยหลวง (การทําบุญฉลองเสนาสนะ) ประเพณขี น้ึ พระธาตุหรือการไหว พระธาตุ (สรงนํา้ พระธาตุ) การถวายตานกวยสลาก (ทานสลากภตั ร) ตั้งธมั มหลวง (การฟงเทศน มหาชาติ) เขา พรรษา ออกพรรษา ทอดกฐินทอดผา ปา เปนตน 4. ภูมปิ ญ ญาและประเพณตี ามเทศกาล เชน ประเพณปี ใ หมเ มือง (สงกรานต) ประเพณี เดอื น ยีเ่ ปง (ลอยกระทง) ประเพณถี วายธรรมเดือน 12 เปน ตน 5. ภูมิปญ ญาและประเพณเี ก่ียวกบั ครอบครัวบา นเมอื ง เชน การเลีย้ งผีปูผ ยี า การฟอ นผมี ด-ผี เมง็ ประเพณสี บื ชะตาบา นชะตาเมอื ง ประเพณีอนิ ทขีล (บชู าเสาหลกั เมอื ง) ประเพณแี ปลงบา นหรือ ไหวผเี สื้อบา น (ไหวผหี มูบาน) เปน ตน









ภาคใต ภมู ปิ ญ ญาภาคใตนัน้ จะมคี วามหลากหลายและเปน เอกลักษณเ ฉพาะเนอื่ งจากภาคใตมี ประชาชนที่ นบั ถือศาสนาตา งกัน ไดแก ศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลามและศาสนาคริสตโดยผูที่นบั ถือ ศาสนา อสิ ลามและศาสนาคริสตกจ็ ะมีภมู ปิ ญญาและวฒั นธรรมเปนของตนเอง ในขณะที่กลมุ ผนู ับถือ ศาสนา พทุ ธกจ็ ะมวี ฒั นธรรมประเพณคี ลา ยกับภาคอนื่ ๆ ของไทย 1. ชาวภาคใตมภี มู ิปญ ญาในการดาํ รงชวี ิตตามสภาพแวดลอมและธรรมชาติ ชนชาวใตท ี่มีทาํ เลตัง้ ถ่ินฐานคอนขางหลากหลาย คือ มีทัง้ ทีร่ าบตามแนวชายฝง ปากอาว ทา เรอื ท่ีราบเชิงเขา หลังเขา บนเกาะแกง ประกอบกับความอดุ มสมบรู ณข องผนื แผน ดิน ทาํ ใหช าวใตไ ดเ รียนรแู ละส่ังสม ประสบการณ ความสามารถอยางมากมายในการจัดการและปรับตัวใหส ามารถดํารงอยูอ ยาง กลมกลืนกันกบั สภาพแวดลอ ม ซ่งึ มอี ยหู ลายประการ เชน ภูมปิ ญ ญาการขดุ ตระพงั บอ น้ํา การปลูก ตน ไมบริเวณบาน การปลกู สรางบานเรอื นและสิ่งกอสรา งอ่ืน ๆ ตามสภาพภูมิอากาศและภูมปิ ระเทศ คติความเช่อื และ ความรใู นการครองชีพในชวี ิตประจําวัน

พัง(ตระพงั ) หมายถึง หนองน้าํ บอ แอง หรือที่เรารูจ ักกันดีในชอ่ื ของพัง(ภาษาชาวบา น) ซ่งึ ในค พัง(ตระพงั ) หมายถึง หนองน้ํา บอ แอง หรอื ทเี่ รารูจ กั กนั ดีในชอื่ ของพงั (ภาษาชาวบา น) ซึ่งในคาบสมุทรสทิงพระ ถอื วา มพี ังเยอะทส่ี ุดกว็ า ได พงั ในคาบสมทุ รสทงิ พระเปนพงั ทีม่ นุษยส รา งขนึ้ เอง ซึง่ สรางไวเพื่อประโยชนใ ชส อยตางๆ อาทิ เพอ่ื การเกษตร เพ่อื เปน แหลง หาสตั วน า้ํ ที่สาํ คัญคอื ตระพังบางแหง ถูกขุดใหเชอื่ มตอ กบั ทางนา้ํ เกาหรือคเู มอื งโบราณเพอ่ื ใชเปน ทางผา นออกสทู ะเลหรอื อาจใชเ ปนอูต อเรือ อีกทั้งใชเ พื่อเปน นํ้าอุปโภค บรโิ ภคาบสมุทรสทิงพระ ถือวา มีพังเยอะที่สดุ กว็ าได พงั ในคาบสมทุ รสทิงพระเปนพังที่มนษุ ยสรา งขึ้นเอง ซง่ึ สรางไวเ พอ่ื ประโยชนใชสอยตา งๆ อาทิ เพอื่ การเกษตร เพ่อื เปนแหลงหาสัตวนํ้า ท่สี าํ คัญคือ ตระพงั บางแหง ถกู ขดุ ใหเชือ่ มตอกับทางน้าํ เกา หรอื คเู มอื งโบราณเพื่อใชเปน ทางผานออกสูทะเลหรอื อาจใชเ ปนอู ตอ เรอื อกี ทง้ั ใชเ พอ่ื เปนน้ําอุปโภค บรโิ ภค

2. ภูมิปญ ญาในการจัดเครอื ขายระบบความสมั พันธแ ละการพ่ึงพา เน่ืองจากสภาพ ภูมิศาสตรของ ภาคใตท ่มี อี ยูอยางหลากหลายเปน ตวั กําหนดท่สี าคัญ ทําใหมีความแตกตา งไปจาก ภาคอ่นื ๆ เชน ลกั ษณะการตั้งถ่ินฐานและการทํามาหากนิ ชุมชนตา ง ๆ ของชาวใตไ มอ าจอยูไดดวย การพง่ึ พาตน เองโดยลาํ พงั ชาวสวนผลไม สวนยางและเหมืองแรใ นปา ตองการขา ว กะป น าปลา กุง แหง จาก หมบู านพ้ืนราบหรอื ชายฝง ขณะเดยี วกันหมบู านเหลา น้ีก็ตองการของปุา เครอื่ งเทศ สมนุ ไพร ฟน จากปาุ เขา การไปมาหาสกู นั เพ่อื แลกเปลยี่ นขา วปลาอาหารของกินของใชจงึ เปน สิง่ จาํ เปน และได ทาํ ตอเนื่องกนั มาเปนเวลาชานาน กอ ใหเกิดกลไกความสมั พนั ธแ ละการพงึ่ พา ระหวางคนตา งชุมชน ซึง่ ถอื เปนแบบฉบับของชนชาวใตใ นปจ จบุ ัน ตวั อยาง เชน ธรรมเนยี มเปนเกลอกัน วันนดั วันวาง กนิ งาน เปนตน

3. ภมู ิปญ ญาในดานหตั ถกรรมพ้นื บาน เปน ภูมิปญ ญาและเปน มรดกทางวัฒนธรรมของ สงั คม เกษตรกรรมทไ่ี ดมีการสบื สานความรู ความสามารถและความชาํ นาญตาง ๆ มายงั คนรนุ ปจจบุ ัน อกี ท้งั ยังมีการสอดแทรกคุณคาทางดานศิลปะลงไปในเนอื้ งานดวย หตั ถกรรมพื้นบา นภาคใต เปนการน าเอาวตั ถุดบิ ในธรรมชาติ โดยเฉพาะพชื พรรณท่ีมอี ยอู ยา งมากมาย ทงั้ บนบกและในนํ้า เชน ไมไผ หวาย กระจูด กก มะพรา าํ วนั



4.4 ภูมปิ ญ ญาในดานยาสมนุ ไพร คนไทยพทุ ธ ไทยมุสลมิ คนไทยเช้ือสายจีน ไดเ กบ็ สะสมความรู ความเขา ใจเก่ียวกับอาหารและยาทีม่ คี ณุ คา ตอ รางกาย โดยการบอกกลาวตอ ๆ กัน หรือทดลองดว ย ตัวเองเร่มิ จากพืชใกลต ัว เชน หอม พรกิ กระเทยี ม ขงิ ขา ตะไคร จนขยายขอบเขตกวางขวางออก ไปเปนการใชพ ืชพรรณในปา นอกจากนัน้ การแลกเปลี่ยนความรแู ละประสบการณกับคนตา งชาติ พนั ธกุ ช็ วยขยายฐานความรูและเกดิ การพฒั นาปรบั ปรงุ เปน ยาขนานตาง ๆ มากขึ้น นอกจากนแี้ ลว เพอ่ื ใหเกดิ ผลในทางจติ วทิ ยาเปน กาํ ลงั ใจ ใหก บั คนปว ยอาจจะมกี ารรา ยเวทมนตคาถาประกอบ

ตือรี หรอื มะตอื รี หรือ ตือฆี หรอื มะตอื ฆี คอื การบรรเลงดนตรีประกอบการเขาทรงเพ่ือใหคนทรงกบั หมอไดส ่ือสารกบั เทพเจา สิ่งศกั ดสิ์ ทิ ธิ์หรือดวงวิญญาณเพ่อื สอบถามถึงวธิ ีการ ทจ่ี ะรักษาผูปว ยให หายจากการเจบ็ ปว ย





ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื





5.2.1ประเภทของภมู ปิ ญญาทอ งถิ่นภาคตา งๆ

5.2.2 ประเภทของภมู ปิ ญ ญาทอ งถิ่นกบั การดําเนนิ ชวี ติ https://www.menti.com/kbfmha12oj

1. ภมู ิปญ ญาดา นอาหารและเครอื่ งดื่ม 1.1 ภาคกลาง อาหารในภาคกลาง เชน นํ้าพริกปลาทู แกงเลยี ง ตมโคลง ตมสม แกงสม ตมยาํ ผัดผัก แกงเผด็ ตาง ๆ เปนตน 1.2 ภาคเหนอื เชน นํา้ พริกออ ง ขา วซอย แคบหมู ไสอ ั่ว ถว่ั เนา แกงโฮะ ขนมจนี น้ํา เงีย้ ว 1.3 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ (อีสาน) เชน สมตํา ปลารา นา้ํ ตก ลาบ กอย หมก หม่าํ ซบุ หนอ ไม แกงออ ม 1.4 ภาคใต เชน ขาวยํา แกงไตปลา แกงเหลือง ผดั สะตอ นา้ํ บูดู น้าํ พริกตา ง ๆ

2. ภูมิปญ ญาดานการแตงกาย ภมู ิปญญาจากการเรยี นรู และทดลองพัฒนาจากธรรมชาติ ชวยใหส ามารถผลิตเสนใยผา สําหรบั ถกั ทอเปนเครื่องนงุ หม เชน ผา ไหม ผาฝาย ผา ท่ีไดจากเสนใยของพชื ตาง ๆ และจากการ ประดษิ ฐอ ปุ กรณการทอผา เชน กี่ กระสวย เปนตน รวมถงึ การผลิตลวดลาย ประดษิ ฐตกแตงใหเ กดิ ความสวยงาม รวมถงึ การยอ มทีใ่ หสสี นั สวยงามจากผลิตภณั ฑธ รรมชาติ เชน สฟี าจากตนคราม สแี ดงจากข้ีครัง่ สเี หลอื ง ผา ลบั แล จากแกน ขนุน สีเทา นา้ํ ตาลและดาํ จากมะเกลือ สมี วงจากอัญชัน เปนตน ศิลปการทอผา ในแตละ ทองถ่นิ จะมีความโดดเดนและแตกตา งกันไป ดังน้ี 2.1 ภาคกลาง ผาทม่ี ลี กั ษณะเดน คอื ผาทอหาดเสย้ี ว ผาซน่ิ ตนี จก ผา ทอลบั แล ผาไหม มัดหมี่ ผา หม บา นไร

2.2 ภาคเหนอื ผาท่ีมีลกั ษณะเดน คอื ผา ตนี จกแมแจม ผาทอมอื เมอื งนาน รวมถึงผาทอ ของ ชาวเขาเผา ตา ง ๆ 2.3 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ (อสี าน) ผาทีม่ ลี ักษณะเดน คอื ผา ซิน่ มัดหม่ี ผาไหมสุรินทร ผา พระบฏ ผา ไหมหางกระรอก ผาอมั ปรม ผา โฮล เปน ตน 2.4 ภาคใต ผาทีม่ ลี กั ษณะเดน คอื ผาทอเมอื งนครฯ ผา ทอพมุ เรยี ง ผาทอเกาะยอ ผาทอจวน ปต ตานีหรือผา ลองจวน ผาทอนาหมื่นศรี เปนตน ผาพระบฏ

3. ภูมิปญญาดานทีอ่ ยูอ าศัย การกอสรางทอี่ ยูอาศยั ของไทย จะมีรปู แบบทห่ี ลากหลายตามสภาพแวดลอ มในแตละทองถน่ิ ศลิ ปะการสรา งบา นสะทอนใหเ ห็นถึงวถิ ีชีวิตของคนในทองถน่ิ สภาพสงั คม สภาพเศรษฐกิจ คติ ความเช่ือของผูปลกู สรา ง ถึงแมวาท่ีอยูอาศัยของคนไทยทั้ง 4 ภาคจะไมเ หมอื นกนั เชน ทอ่ี ยู อาศยั ของคนภาคกลาง สว นใหญเปนบา นยกพนื้ สงู ใตถนุ โลง มหี นาตา งและชอ งลมจํานวนมาก เพอื่ รบั ลม คลายความรอ น สว นหลังคาเปนรปู จ่ัว เพื่อปกปูองความรอนจากดวงอาทติ ยแ ละใหฝน ไหลลงสพู ืน้ ไดร วดเร็วข้นึ อีกทั้งใชเ กบ็ นํ้าฝนไวดมื่ กนิ 3.1.1 มักเปนชมุ ชนทีอ่ ยรู มิ นํา้ และทรี่ าบ บา นมีลกั ษณะใตถุนสงู เพอื่ ปองกันน้ําทว ม 3.1.2 หลงั คาจ่ัวสงู ชายคายน่ื ยาว สําหรบั ลมพัดผา น อากาศถา ยเทสะดวก จะชวยบรรเทา ความรอน 3.1.3 วสั ดทุ ี่ใชมุงหลงั คา มกั จะใชจากวัสดทุ ีไ่ ดจากธรรมชาติ เชน แผนไมใ บหญา คา ใบตน จาก กระเบือ้ งดนิ เผา เพอ่ื ปองกันและบรรเทาความรอ น 3.1.4 ลกั ษณะบา นจะอยูในบรเิ วณพืน้ ท่ีเดยี วกนั อยรู วมกันเปน ครอบครวั ใหญ

3.1 บา นเรือนภาคกลาง มีลักษณะสาํ คัญดงั นี้ 3.1.1 มกั เปนชมุ ชนทอี่ ยรู ิมนา้ํ และท่ีราบ บา นมลี กั ษณะใตถ ุนสูงเพอื่ ปอ งกันน้ําทวม 3.1.2 หลงั คาจัว่ สงู ชายคาย่ืนยาว สาํ หรับลมพัดผาน อากาศถายเทสะดวก จะชวยบรรเทา ความรอน 3.1.3 วัสดทุ ี่ใชม งุ หลงั คา มักจะใชจ ากวัสดทุ ี่ไดจ ากธรรมชาติ เชน แผนไมใ บหญา คา ใบตน จาก กระเบอ้ื งดนิ เผา เพอื่ ปอ งกันและบรรเทาความรอน 3.1.4 ลักษณะบานจะอยใู นบริเวณพื้นท่เี ดียวกนั อยูรวมกนั เปน ครอบครัวใหญ โดยอาจแบงประเภทของเรอื นภาคกลางไดเปน 2 ลกั ษณะ คอื - เรอื นเคร่อื งผกู เปน เรอื นท่ใี ชว ัสดุกอสรา งทีม่ าจากธรรมชาติ เชน ไมไผ ใบตนจาก ตน หญา คา ยึดโครงดว ยตอกหรือเสน หวาย ซง่ึ มอี ายใุ ชงานไมม าก - เรือนเคร่อื งสับ จะสรางดว ยวัสดไุ มเน้อื แขง็ ยดึ โครงดวยการเขาเดอื ยบางสวน บางสว น อาจยึดดวยโลหะ โดยโครงสรา งและ ส่ิงแวดลอมของการปลูกเรอื นไทยภาคกลาง มดี งั น้ี

เรอื นเครื่องสบั เรือนเคร่อื งผูก เรอื นเคร่อื งผกู





3.2 บานเรือนภาคเหนอื ดว ยสภาพภมู ิอากาศทางภาคเหนอื มลี ักษณะท่หี นาวเยน็ ดงั น้นั การปลูกบา นหรือทอ่ี ยอู าศัยจงึ ตอ งใชภูมปิ ญญาเพอ่ื ใหเ กดิ ความอบอนุ โดยมีความเช่ือ ดังน้ี 3.2.1 เพราะอากาศหนาวเยน็ การปลกู เรอื นจะวางตัวเรอื นขวางตะวนั หนั ดานกวา ง ทีเ่ ปน จว่ั ในแนวเหนอื -ใตทําใหบ า นไดร บั แสงแดดเพอื่ ความอบอนุ 3.2.2 ความเช่อื ผบี รรพบุรษุ มีการแบง พ้นื ท่เี รอื นสว นใน (หอ งนอน) การตงั้ ห้งิ บชู า ผีปยู า และ หา มไมใหบ คุ คลภายนอกเขา 3.2.3 คนภายนอกเขา-ออกไดเ ฉพาะสว นนอก เชน ชานครัว เพราะถาละเมดิ ถือวา เปนการ ผดิ ผี



3.3 บานเรอื นภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื (อีสาน) ลกั ษณะภูมปิ ระเทศของภมู ภิ าค ตะวันออกเฉียง เหนือจะมีลักษณะท่ีแตกตางกันไป เปน ตนวา เปน ทีเ่ นนิ เปน โคกสงู เปนแอง กระทะ และท่รี าบสงู การ สรา งบานเรอื นท่อี ยูอาศัยจะมลี กั ษณะของภมู ิปญญาท่ีบงบอก ดังน้ี 49 3.3.1 ท าเลท่ีตง้ั ของบานที่ แตกตางกนั เชน ทรี่ าบลมุ ทด่ี อน อยูใ กลปุาละเมาะหรือ บางแหง ใกลแ หลง น าและบางพน้ื ที่แหง แลง การปลูกเรอื นจึงมหี ลายลกั ษณะตามพนื้ ที่และประโยชน การใชสอย 3.3.2 ความเชื่อ เชน หา มถม หรือปลกู เรอื นทับบอ น าทข่ี ดุ ไวใ ชรวมกนั หา มปลูก เรือนทบั ตอไมหรอื ปลูกเรือนครอ มจอมปลวก ทบั หนองน า เพราะจะน าความลมจมมาสูเจา ของเรือน




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook