Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือนักศึกษา 2561

คู่มือนักศึกษา 2561

Published by Regis, 2019-08-01 06:13:38

Description: คู่มือนักศึกษา 2561

Search

Read the Text Version

ท ย า ลั ย ส ว ท ย า ลั ย ส ว ม ห า ิว ม ห า ิว น ดุ สิ ต น ดุ สิ ต ท ย า ลั ย ส ว ม ห า ิว ม ห า ิวท ย า ลั ย ส วน ดุ สิ ต น ดุ สิ ต

ส า ร จ า ก อ ธิ ก า ร บ ดี มหาวิทยาลัยสวนดุสิตเป็นมหาวิทยาลัยใน กำ�กับของรัฐ กว่าแปดทศวรรษท่ีสั่งสมองค์ความรู้มา เป็นระยะเวลานานส่งผลให้มีความเชี่ยวชาญด้าน อัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย และเป็นแหล่งรวบรวม องค์ความรู้ การวิจัย การบริการวิชาการ และการทำ�นุ บำ�รุงศิลปวัฒนธรรมนำ�ไปสู่การพัฒนากระบวนการ เรียนรู้ของนักศึกษา กำ�หนดวิสัยทัศน์มุ่งสู่ “การเป็น มหาวทิ ยาลยั เฉพาะทางทม่ี อี ตั ลกั ษณโ์ ดดเดน่ ดา้ นอาหาร การศกึ ษาปฐมวยั อตุ สาหกรรมการบรกิ าร และการพยาบาล และสุขภาวะ ภายใต้กระบวนการพัฒนาเพื่อความเป็น เลิศ บนพ้ืนฐานของการจัดการคุณภาพ” มีความ พร้อมท่ีจะขับเคล่ือนพันธกิจในการส่งเสริมวิชาการและ วิชาชีพข้ันสูง โดยจัดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย วิทยาเขตและศูนย์การศึกษานอกท่ีต้ัง ได้แก่ วิทยาเขตสุพรรณบุรี ศูนยก์ ารศึกษานอกทตี่ ้ัง นครนายก ศูนยก์ ารศกึ ษานอกที่ต้งั ล�ำ ปาง ศนู ย์การศกึ ษา นอกทตี่ งั้ หัวหนิ และศนู ยก์ ารศกึ ษานอกทตี่ ง้ั ตรัง เพ่ือกระจายโอกาสทางการศึกษาไปสภู่ ูมิภาค   ในปี พ.ศ.  ๒๕๖๑ มหาวิทยาลัยสวนดุสิตมีความมุ่งมั่นในการมุ่งผลิตบัณฑิตท่ีมีคุณธรรมกำ�กับ ความรู้ เพียบพร้อมด้วยสติปัญญาและจริยธรรม เป็นผู้ใฝ่รู้ มีวิจารญาณ มีจิตใจเสียสละ มีบุคลิกภาพ เหมาะสม และมีความสำ�นึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และยกระดับคุณภาพการศึกษาโดยเร่งสนับสนุน การคิดค้น ริเร่ิม วิจัย และดำ�เนินกิจกรรมความร่วมมือทางวิชาการต่าง ๆ ระหว่างองค์กรภาครัฐและ ภาคเอกชน ตลอดจนส่งเสริมความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ สำ�หรับด้านความ รับผิดชอบต่อสังคมนั้นได้ดำ�เนินการสร้างและนำ�ความรู้สู่สังคมในการให้บริการวิชาการและแนวทาง ในการแก้ไขปัญหาสังคม การเผยแพร่ผลการวจิ ยั สมั มนา การประชุมทางวิชาการและปฏบิ ัตกิ าร รวมถงึ การมีส่วนรว่ มรับผิดชอบตอ่ สังคมในประเดน็ เปน็ ทสี่ นใจ ขอต้อนรับนักศึกษาสู่รั้วเฟื้องฟ้าขจร ขอให้ทุกคนมีความภาคภูมิใจในเกียรติประวัติของ มหาวทิ ยาลยั ตงั้ ใจศกึ ษาดว้ ยความขยนั หมนั่ เพยี ร สรา้ งศกั ยภาพของตนเองบนพนื้ ฐานวฒั นธรรมสวนดสุ ติ ที่มีวินัย ความดีงามในการประพฤติ ปฏิบัติ มีความรู้และทักษะทางสังคมหลอมรวมอยู่ในตนเอง โดย แสดงออกมาเป็นวัฏปฏบิ ัติที่ดงี าม สามารถใช้เวลาในการศึกษาและเพิม่ พูนประสบการณด์ ้วยสิ่งอำ�นวย ความสะดวกและอปุ กรณข์ องมหาวทิ ยาลยั ทหี่ ลอ่ หลอมใหน้ กั ศกึ ษามคี ณุ ลกั ษณะบณั ฑติ ทพ่ี งึ ประสงคข์ อง สงั คมและประเทศชาตติ อ่ ไป (รองศาสตราจารย์ ดร.ศิโรจน​์ ผลพนั ธิน) อธิการบดีมหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ิต 2

ส า ร บั ญ 4 เก่ยี วกับมหาวทิ ยาลยั สวนดุสิต 25 ส�ำ นกั ส่งเสรมิ วชิ าการและงานทะเบียน 28 ประกาศมหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ เรือ่ ง ก�ำ หนดวันเปิดและการปดิ ภาคการศกึ ษาของนกั ศึกษาภาคปกติ ประจำ�ปีการศึกษา 2561 30 รหสั ประจ�ำ ตัวนักศกึ ษา 33 บทบาทและหน้าท่คี ณะอาจารยท์ ่ีปรึกษาและขนั้ ตอนการปฏบิ ัติที่เกย่ี วขอ้ งกับนักศึกษา 35 ส�ำ นักวทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ 47 กองทนุ เงินใหก้ ู้ยมื เพอ่ื การศึกษา (กยศ.) 48 หลักเกณฑ์การให้กู้ยมื เงนิ ของกองทุนให้กยู้ ืมเพ่ือการศึกษา 53 การช�ำ ระหนก้ี องทนุ เงนิ ให้กู้ยมื เพ่อื การศกึ ษา 59 ประกาศคณะกรรมการกองทุนใหก้ ูย้ ืมเพือ่ การศกึ ษา เร่ือง กำ�หนดขอบเขตการให้กยู้ ืมเงินเพ่อื การศึกษา ประจำ�ปกี ารศกึ ษา 2561 64 การบริการสวัสดิการและการพฒั นานกั ศกึ ษา 65 กระบวนการสงั เกตพฤติกรรมนักศึกษาเพ่อื น�ำ ไปสกู่ ารปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่พงึ ประสงคข์ องนักศึกษา กิจกรรมนักศึกษา 68 การประกันอบุ ัติเหตุ 70 งานบรกิ ารด้านสขุ อนามัย 71 การผ่อนผนั การตรวจเลอื กเข้ารับราชการทหารกองประจำ�การ 72 งานวชิ าทหาร 74 การขอใบรบั รองความประพฤติ/งานประชาสัมพันธ์ กองพฒั นานกั ศกึ ษา 75 สถาบันภาษา ศลิ ปะและวฒั นธรรม 76 กิจกรรมการใหบ้ ริการของสถาบนั ภาษา ศลิ ปะและวฒั นธรรม ส�ำ หรบั นกั ศึกษา บคุ ลากร อาจารยข์ องมหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ 77 ประกาศมหาวทิ ยาลัย เรือ่ งการทดสอบความรู้ความสามารถด้านภาษาอังกฤษของนักศกึ ษา พ.ศ. 2560 81 การให้บรกิ ารดา้ นภาษาตา่ งประเทศ 88 กจิ กรรมการใหบ้ รกิ ารของสถาบนั ภาษา ศิลปะและวัฒนธรรมส�ำ หรับนกั ศึกษา บคุ ลากร อาจารย์ของมหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต 98 ขอ้ บังคบั มหาวทิ ยาลยั สวนดุสิต 99 ข้อบังคับมหาวิทยาลยั สวนดุสติ วา่ ด้วย การจัดการศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี พ.ศ. 2559 113 ขอ้ บังคบั มหาวิทยาลยั สวนดุสติ ว่าดว้ ย เครอื่ งแบบและเคร่ืองแต่งกายของนกั ศึกษา พ.ศ. 2558 115 เคร่ืองแบบและเคร่อื งแตง่ กายของนกั ศึกษา พ.ศ. 2558 เครือ่ งแบบปกติ 117 เครอ่ื งแบบและเครือ่ งแตง่ กายของนกั ศึกษา พ.ศ. 2558 เครือ่ งแบบพิธีการ 119 ระเบียบมหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ 120 ระเบียบมหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ ว่าด้วย เรอื่ ง การเกบ็ เงนิ ค่าธรรมเนยี ม นักศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี ภาคปกติ พ.ศ. 2559 123 ประกาศมหาวทิ ยาลัยสวนดุสติ เร่ือง อตั ราคา่ ธรรมเนยี มการศกึ ษา นกั ศึกษาระดับปรญิ ญาตรี ภาคปกติ พ.ศ. 2560 129 ประกาศมหาวิทยาลัยสวนดุสติ เรอ่ื ง อตั ราคา่ ธรรมเนยี มของมหาวทิ ยาลยั พ.ศ. 2559 3

เกย่ี วกับ มหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ติ Suan Dusit

ประวัตมิ หาวทิ ยาลัยสวนดุสิต มหาวิทยาลัยสวนดุสิตจัดตั้งข้ึนเพ่ือเป็นโรงเรียนการเรือนแห่งแรกของประเทศไทย ช่ือ “โรงเรียนมัธยมวิสามัญ การเรือน” สังกัดกองอาชีวศึกษา กรมวิชาการ กระทรวงธรรมการ (กระทรวงศึกษาธิการ) เปิดดำ� เนินการเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2477 ทว่ี งั กรมหลวงชมุ พรเขตตอ์ ดุ มศกั ด์ิ (ปจั จบุ นั เปน็ ทตี่ งั้ ของมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร วิทยาเขตพณชิ ยการพระนคร) มีจุดมุ่งหมาย เพ่ือฝกึ อบรมการบา้ นการเรือนส�ำหรับสตรีหลักสูตร 4 ปี และได้เริ่มเปดิ สอนหลักสตู รอบรมครกู ารเรอื นขึ้นเปน็ ครั้งแรก มีความมุง่ หมายเพอื่ เตรียมผ้ทู ี่จะออกไปมอี าชพี ครูในแขนงนี้ ตอ่ มาในปี พ.ศ.2480 ไดย้ า้ ยมาอยทู่ วี่ งั จนั ทรเกษม (กระทรวงศกึ ษาธกิ ารในปจั จบุ นั ) และเปลยี่ นชอื่ จากโรงเรยี นมธั ยมวสิ ามญั การเรอื น มาเป็น “โรงเรียนการเรอื นวงั จันทรเกษม” สังกัดกองและกรมเดมิ โดยเปิดสอนหลักสูตรมัธยมการเรอื น (หลกั สตู ร 3 ป)ี และหลักสตู รการเรือนช้ันสูง (หลักสตู ร 3 ป)ี เพิ่มเตมิ ในปี พ.ศ. 2484 ไดย้ า้ ยจากวงั จนั ทรเกษมมาตง้ั อยใู่ นบรเิ วณสวนสนุ นั ทา3 บนพน้ื ทปี่ ระมาณ 37 ไร่ ซงึ่ เปน็ บรเิ วณ ท่ีต้ังมหาวิทยาลัยในปัจจุบันและเปลี่ยนช่ือเป็น “โรงเรียนการเรือนพระนคร” ย้ายสังกัดจากกองอาชีวศึกษาไปสังกัดกอง ฝึกหดั ครู กรมสามัญศกึ ษา4 ในขณะเดียวกนั กระทรวงศึกษาธิการก็ได้จดั ตงั้ “โรงเรยี นอนบุ าลละอออุทิศ” ข้นึ 5 ในบริเวณ พน้ื ทเี่ ดยี วกนั กบั โรงเรยี นการเรอื นพระนคร สงั กดั กองฝกึ หดั ครู กรมสามญั ศกึ ษาแตแ่ ยกสว่ นการบรหิ ารจดั การออกจากกนั 6 เมอื่ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารได้ประกาศตั้งกรมการฝกึ หัดครขู ึ้นตามพระราชบัญญัตปิ รบั ปรงุ กระทรวง ทบวง กรม ฉบับ พ.ศ. 2497 และรวมการฝกึ หดั ครทู จี่ ดั ขน้ึ ในกรมตา่ งๆ เขา้ ดว้ ยกนั เพอ่ื เปน็ การประหยดั และเพม่ิ พนู ประสทิ ธภิ าพในการปรบั ปรงุ การผลติ ครทู งั้ ดา้ นปรมิ าณและคณุ ภาพ โรงเรยี นการเรอื นพระนครจงึ ยา้ ยมาสงั กดั กรมการฝกึ หดั ครู ในปี พ.ศ. 2498 และ ไดโ้ อนแผนกฝึกหัดครูอนบุ าลจากโรงเรยี นอนุบาลละอออุทศิ มาสงั กดั โรงเรยี นการเรือนพระนคร 1หลกั สตู รมธั ยมวสิ ามญั การเรอื น รายวชิ าในหลกั สตู รจะประกอบไปดว้ ย (1) อาหารและโภชนาการ (2) ศลิ ปะประดษิ ฐ์ (3) การตดั เยบ็ เสือ้ ผา้ (4) การเลย้ี งดูเด็ก และ (5) การจดั และตกแตง่ บา้ น 2โรงเรยี นมัธยมวสิ ามัญการเรอื นเปดิ รับนกั เรียน 2 ประเภท ประเภทแรกรับนักเรียนที่จบมธั ยมต้นมาเรียนหลกั สูตร 4 ปี และประเภท ที่สองรับครูนอ้ ยหรอื ครูใหญจ่ ากจังหวัดต่าง ๆ ท่ีส่งมาอบรมหลักสูตรพเิ ศษ 1 ปี คณุ หญิงเพชรดา ณ ปอ้ มเพชร์ (ม.ล. จติ รกลุ กญุ ชร) รับหนา้ ทีเ่ ปน็ ครใู หญ่คนแรก ในปีแรกมนี ักเรียนทีอ่ ยู่ในประเภทท่ี 1 จำ�นวน 18 คน และนักเรยี นที่อยู่ในประเภทที่ 2 จำ�นวน 48 คน และมนี กั เรยี นท่ีโอนมาจากโรงเรยี นศกึ ษานารีอีก 9 คน มาอบรมดว้ ย (ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ รญั จวน ประวตั เิ มอื ง, การสรา้ งเสรมิ วฒั นธรรมองคก์ ารเพอื่ เพม่ิ ศกั ยภาพแหง่ ความสำ�เรจ็ กรณศี กึ ษามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ติ , ดุษฎนี ิพนธ์, บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสติ , พ.ศ. 2550 หน้า 73) 3สวนสนุ ันทาเดมิ เปน็ พระราชอทุ ยาน ท่พี ระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ร้างขึ้นทางด้านหลงั ของพระที่นัง่ อัมพรสถาน มีลกั ษณะเปน็ สวนป่า ใชเ้ ป็นพ้ืนทพี่ ักผ่อนพระราชอิรยิ าบท และต่อมาทรงมพี ระราชดำ�รทิ จี่ ะสรา้ งเปน็ ทป่ี ระทบั ถาวรสำ�หรบั เจา้ นายฝา่ ยในบางพระองค์ ในกรณที พี่ ระองค์ไดเ้ สดจ็ สวรรคตไปแล้ว พระราชอุทยานนี้ได้รบั พระราชทานนามวา่ “สวนสุนันทา” 4การยา้ ยสงั กัดจากกองอาชวี ศึกษา กรมวิชาการ ไปสงั กดั กองฝึกหดั ครู กรมสามัญศึกษา ตงั้ แต่ พ.ศ. 2483 5ในปี พ.ศ. 2483 กระทรวงศึกษาธิการได้รับเงินบริจาคของนางสาวละออ หลิมเซ่งไถ่ จำ�นวนแปดหม่ืนบาท จึงได้นำ�เงินจำ�นวน ดงั กลา่ วสรา้ งตกึ อนบุ าลขน้ึ ในบรเิ วณโรงเรยี นการเรอื นพระนคร ใหช้ อ่ื ตกึ หลงั นวี้ า่ “ตกึ ละอออทุ ศิ ” ใชเ้ ปน็ โรงเรยี นอนบุ าลชอ่ื วา่ “โรงเรยี นอนบุ าล ละอออทุ ศิ ” สงั กดั กองฝกึ หดั ครู กรมสามญั ศกึ ษา ซงึ่ ถอื วา่ เปน็ โรงเรยี นอนบุ าลแหง่ แรกของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร และเปดิ ทำ�การสอน เมอื่ วนั ท่ี 2 กันยายน พ.ศ. 2483 โดยมคี ณุ หญิงจติ รา ทองแถม ณ อยธุ ยา เป็นครูใหญค่ นแรก จดุ มงุ่ หมายในการจดั ตงั้ โรงเรยี นอนุบาลละอออุทศิ เพือ่ ทดลองและทดสอบดูว่าประชาชนมีความสนใจและเขา้ ใจเร่อื งการอนบุ าลศกึ ษา อนั เปน็ รากฐานการเรียนรูข้ องเดก็ มากนอ้ ยเพียงใด การดำ�เนนิ งานของโรงเรยี นอนบุ าลละอออทุ ศิ ประสบกบั ความสำ�เรจ็ เปน็ ทนี่ า่ พอใจ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารจงึ มอบหมายใหก้ องฝกึ หดั ครู โดย ม.ล. มานจิ ชมุ สาย หวั หนา้ กองฝกึ หดั ครดู ำ�เนนิ การใหโ้ รงเรยี นอนบุ าลละอออทุ ศิ เปดิ รบั นกั เรยี นฝกึ หดั ครทู สี่ ำ�เรจ็ การศกึ ษาประกาศนยี บตั ร ประโยคครูประถม เข้ารับการอบรมหลักสูตร 1 ปี เพือ่ เปน็ ครอู นบุ าล ซงึ่ เป็นการเปดิ แผนกฝกึ หดั ครูอนุบาลขึ้นเปน็ ปีแรกในปีการศกึ ษา 2484 และให้คณุ หญงิ จิตรา ทองแถม ณ อยุธยา เป็นหวั หน้าแผนกอบรมครอู นบุ าลอีกตำ�แหน่งหนง่ึ ด้วย (รองศาสตราจารย์ ดร. ศโิ รจน์ ผลพนั ธนิ , กวา่ จะมาเปน็ โรงเรยี นสาธติ ละออทุ ศิ , เอกสารประกอบการนำ�เสนอโครงการยกฐานะโรงเรยี น ละอออุทศิ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดสุ ติ เป็นหนว่ ยงานเทยี บเท่าคณะ, พ.ศ. 2551, หน้า 9-10 ภาคผนวก 1) 6โรงเรยี นการเรอื นพระนครและโรงเรยี นอนบุ าลละอออทุ ศิ มกั จะไปเปดิ ดว้ ยกนั เสมอ โดยเฉพาะในชว่ งสงครามโลกครง้ั ท่ี 2 (2486-2489) กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไปเปดิ โรงเรยี นอนบุ าลขนึ้ ทจี่ งั หวดั ใด กจ็ ะตอ้ งมโี รงเรยี นการเรอื นเปดิ ตามมาดว้ ย เพอื่ รองรบั ผทู้ อี่ พยพหลบหนภี ยั สงคราม ไปจากกรุงเทพฯ เมอื่ ส้นิ สดุ สงครามโลกครงั้ ที่ 2 โรงเรียนการเรือนทไ่ี ปเปิดสอนชั้นเฉพาะกิจในตา่ งจังหวัดรวม 10 จงั หวดั ก็ถูกยุบลงเหลอื แต่เพยี งโรงเรยี นอนบุ าล 5

ปี พ.ศ. 2499 โรงเรียนการเรอื นพระนครได้เปิดสอนหลกั สตู ร ป.กศ.7 (คหศาสตร)์ เป็นปแี รกและเปน็ แหง่ แรกของ ประเทศไทย ในขณะเดียวกนั ก็เปดิ สอนหลักสูตรประโยคครกู ารเรือน ประโยคครูอนุบาล ระดับ ป.ป. (หลักสูตรครูประถม) และประโยคครูมธั ยมการเรือนควบคู่กันไปดว้ ย8 ปี พ.ศ. 2501 เปดิ สอนหลกั สูตร ป.กศ. และ ป.กศ. (ชั้นสงู ) เร่อื ยมาจนถงึ พ.ศ. 2504 กระทรวง ศึกษาธกิ าร ประกาศยกฐานะโรงเรยี นการเรือนพระนครเปน็ วทิ ยาลยั ครู ชื่อ “วิทยาลัยครูสวนดุสิต” สงั กดั กองการฝกึ หัดครู กรมการ ฝึกหดั ครู9 ปี พ.ศ. 2518 พระราชบญั ญตั วิ ิทยาลัยครู (ฉบบั ท่ี 1) พ.ศ. 2518 มผี ลบงั คบั ใช้ กรมการฝึกหดั ครูได้ปรบั ปรงุ หลกั สตู รขน้ึ ใหม่ เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ เปน็ หลกั สตู รการฝกึ หดั ครขู องสภาการฝกึ หดั ครู พ.ศ. 2519 ทำ� ใหว้ ทิ ยาลยั ครสู ามารถเปดิ สอนไดถ้ งึ ระดบั ปรญิ ญาตรี นอกจากนยี้ งั ไดม้ กี ารรวมโรงเรยี นอนบุ าลละอออทุ ศิ กบั การฝกึ หดั ครอู นบุ าลเขา้ ดว้ ยกนั เปน็ ภาควชิ าการอนบุ าลศกึ ษา สงั กดั คณะครศุ าสตร์ วทิ ยาลยั ครสู วนดสุ ติ และไดเ้ ปลย่ี น ช่ือโรงเรียนอนุบาลละอออุทิศเป็น “โรงเรียนสาธิตอนุบาลละอออุทิศ”10 และเปิดสอนระดับปริญญาตรี หลักสูตรสภา การฝึกหัดครูวชิ าเอกการอนุบาลศกึ ษาเปน็ ครง้ั แรก จากพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู (ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2518 ท�ำให้วิทยาลัยครูมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างท้ังระบบ บริหารและวิชาการ ต�ำแหน่งหัวหน้าสถานศึกษาของวิทยาลัยครูได้เปลี่ยนไปเป็น “อธิการวิทยาลัย” พร้อมๆ กับการ เปลยี่ นแปลงตำ� แหนง่ ผบู้ รหิ ารสว่ นราชการอนื่ ๆ กต็ อ้ งเปลยี่ นแปลงไปจากเดมิ คอื เปน็ สว่ นราชการทปี่ ระกอบดว้ ยอธกิ าร รองอธิการฝา่ ยบริหาร รองอธกิ ารฝา่ ยวิชาการ และรองอธกิ ารฝ่ายกจิ การนกั ศกึ ษา สำ� นกั งานอธิการ ประกอบดว้ ยแผนก ต่าง ๆ 12 แผนกดา้ นงานวิชาการไดจ้ ดั ตงั้ ใหม้ คี ณะวชิ า 3 คณะ คอื คณะวิชามนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ (มีภาควชิ า ในสังกัด 11 ภาควิชา) คณะวิชาครุศาสตร์ (มภี าควชิ าในสงั กัด 7 ภาควิชา) และคณะวชิ าวิทยาศาสตร์ (มีภาควิชาในสงั กดั 9 ภาควิชา) การเปล่ียนแปลงดังกล่าวเป็นผลให้วิทยาลัยมีการก่อสร้างและปรับปรุงอาคารสถานที่ เพื่อใช้เป็นส�ำนักงานและ ห้องเรียนเพิ่มข้ึนเป็นจ�ำนวนมากแม้ว่าจะมีการปรับปรุงโครงสร้าง ระบบบริหารและระบบวิชาการใหม่ แต่วิทยาลัยครู สวนดสุ ิตยงั คงมกี ารจดั การศึกษาในสาขาเดยี ว คอื สาขาวชิ าการศกึ ษา ตามหลักสูตรสภาการฝกึ หัดครู ซง่ึ แบ่งออกเปน็ 3 ระดบั คอื ระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าการศกึ ษา (ป.กศ.) ระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าการศกึ ษาชน้ั สงู (ป.กศ. ชน้ั สงู ) และระดบั ปริญญาตรี4 ปี และ 2 ปี ต่อเน่ือง (ครุศาสตรบัณฑิต) จ�ำนวน 11 วิชาเอก (ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ท่วั ไป คหกรรมศาสตร์ ศลิ ปศกึ ษา การศกึ ษาพิเศษ การอนุบาลศึกษา การประถมศึกษา อตุ สาหกรรมศลิ ป์ และคณติ ศาสตร์) ปี พ.ศ. 2528 หลงั จากทีไ่ ดม้ กี ารปรับปรงุ แก้ไขพระราชบญั ญัติวทิ ยาลยั ครู (ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2518 เป็น พระราช บญั ญตั วิ ทิ ยาลยั ครู (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2527 ทำ� ใหว้ ทิ ยาลยั ครสู ามารถเปดิ สอนสายวชิ าการอนื่ ได้ นอกเหนอื จากสายวชิ าชพี ครู วิทยาลยั ครูสวนดุสติ จงึ เรม่ิ เปิดสอนสายวิชาการอืน่ โดยเริม่ จากหลักสูตรระดบั อนปุ ริญญา คือ อนปุ ริญญาศลิ ปศาสตร์ (อ.ศศ.) 3 วิชาเอก (วารสารและการประชาสมั พันธ์ ภาษาอังกฤษ และออกแบบนิเทศศิลป์) และอนปุ รญิ ญาวิทยาศาสตร์ (อ.วท.) 3 วชิ าเอก (การอาหาร ผา้ และเครอ่ื งแตง่ กาย และศลิ ปประดิษฐ)์ และได้มกี ารเปิดรับสมคั รนักศกึ ษาชายเข้าเรยี น เปน็ สหศกึ ษาเปน็ ปีแรก พ.ศ. 2529 – 2534 วทิ ยาลยั ครสู วนดุสิตไดข้ ยายการเปิดรบั นักศกึ ษาระดับปริญญาตรี สายวชิ าการอื่นเพมิ่ ขึ้น หลายวชิ าเอก ในสาขาวทิ ยาศาสตรแ์ ละศลิ ปศาสตร์ ท้ังใน ระดบั ปรญิ ญาตรี 4 ปี และปริญญาตรีตอ่ เนอื่ ง มีการเปิดสอน นกั ศกึ ษาภาคสมทบ (สำ� หรบั ผทู้ ม่ี งี านทำ� อยแู่ ลว้ ) ตามโครงการจดั การศกึ ษาสำ� หรบั บคุ ลากรประจำ� การ (กศ.บป.) รนุ่ แรก ในปี พ.ศ. 2529 โดยเปิดสอนทง้ั สายวิชาชีพครูและสายวชิ าการอนื่ ในระดับอนปุ รญิ ญาและระดบั ปริญญาตรี 7หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาการศกึ ษา 8หลักสูตรทัง้ 3 เปน็ หลกั สูตรทสี่ อนมากอ่ น และเลิกสอนท้ังหมดในปี พ.ศ. 2506 9แตเ่ ดมิ การฝกึ หดั ครจู ะแยกเปน็ โรงเรยี นชายและโรงเรยี นหญงิ จงั หวดั เดยี วกนั จะมที งั้ โรงเรยี นชายและโรงเรยี นหญงิ กรมการฝกึ หดั ครู จงึ ไดร้ วมโรงเรยี นชายและโรงเรยี นหญงิ เปน็ โรงเรยี นฝกึ หดั ครปู ระเภทสหศกึ ษาทลี ะแหง่ สองแหง่ จนถงึ พ.ศ. 2514 โรงเรยี นตา่ ง ๆ ถกู รวมเปน็ สหศึกษาหมดมีแตว่ ทิ ยาลยั ครสู วนดสุ ติ เพยี งแหง่ เดียวเท่านัน้ ทยี่ ังคงเปน็ วทิ ยาลัยครูสำ�หรบั สตรี 10เปล่ียนชอื่ “โรงเรียนอนบุ าลละอออทุ ศิ ” เป็น “โรงเรียนสาธติ อนบุ าลละอออุทศิ ” วิทยาลัยครสู วนดุสิต ในปี พ.ศ. 2520 11กอ่ นปี พ.ศ. 2529 การเปดิ สอนจะเรยี กเปน็ โครงการอบรมครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาประจำ�การ (อคป.) เปน็ การจดั การศกึ ษาให้ กบั บุคคลทีม่ ีงานทำ�อยูแ่ ล้วได้มีโอกาสศกึ ษาเพ่มิ เติม เฉพาะสายวิชาชีพครู เม่ือมีพระราชบญั ญัตวิ ทิ ยาลัยครู (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2528 จงึ มีการ จดั การศกึ ษาสายวชิ าการอนื่ เพมิ่ ขนึ้ และเปลยี่ นชอ่ื เรยี กโครงการใหมว่ า่ โครงการจดั การศกึ ษาสำ�หรบั บคุ ลากรประจำ�การ (กศ.บป.) จดั การศกึ ษา ในตอนเยน็ และวนั หยดุ พฒั นามาจากการจัดการศกึ ษาภาคสมทบ 6

พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานชื่อ “สถาบัน ราชภัฏ” แก่วทิ ยาลยั ครูทว่ั ประเทศ พ.ศ. 2538 ได้มีการประกาศใช้พระราชบญั ญตั ิสถาบนั ราชภฏั พ.ศ. 2538 ส่งผลให้วทิ ยาลยั ครูสวนดุสติ เปลีย่ นชื่อ เปน็ “สถาบนั ราชภฏั สวนดสุ ิต” สังกัดสำ� นกั งานสภาสถาบนั ราชภฏั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร จากพระราชบัญญัติฉบับน้ี ท�ำให้สวนดุสิตสามารถขยายการจัดการศึกษาได้อย่างกว้างขวางและหลากหลายรูปแบบมาก ขึ้น มกี ารเปดิ สอนตามหลกั สตู ร สาขาวชิ าการศึกษา สาขาวชิ าศิลปศาสตร์ และสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ มีผสู้ นใจสมัครเข้า เรยี นเปน็ จำ� นวนมากทัง้ ภาคปกติและภาคสมทบ นอกจากนี้ ยังไดร้ ่วมมอื กบั องค์กรภายนอก เพอื่ กระจายโอกาสทางการ ศึกษาดว้ ยการจัดตัง้ ศูนย์การศึกษานอกสถาบนั จ�ำนวน 3 ศูนย์ ได้แก่ ศนู ยซ์ ุปเปอรเ์ ซฟ ศูนยอ์ งค์การเภสัชกรรม และศนู ย์ อรรถวทิ ย์ โดยเปิดสอนระดับอนปุ รญิ ญาและปริญญาตรี รับนกั ศึกษาภาคสมทบ พ.ศ. 2540 จดั ตง้ั บัณฑติ วิทยาลัยขนึ้ และเร่ิมเปิดสอนระดับปรญิ ญาโท หลกั สตู รบรหิ ารธุรกิจ (Master of Busi- ness Administration) โดยร่วมมือกบั Victoria University ประเทศแคนาดา และเปิดศนู ยก์ ารศึกษานอกสถาบนั เพิม่ ขึน้ ในเขตกรงุ เทพมหานคร (ศนู ย์จรญั สนิทวงศ์ ศนู ย์พงษ์สวัสด์ิ และศนู ย์สุโขทัย) เป็นปีทส่ี ถาบันทุ่มงบประมาณเปน็ จ�ำนวน มากในการพฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพอื่ ใชใ้ นการเรยี นการสอนและเปน็ ฐานขอ้ มลู ระบบการสอนทางไกล (Video – conference) และระบบห้องสมุดเสมือน (Virtual Library) ท่ีสมบูรณ์แบบได้ถูกพัฒนาขึ้นมาเป็นครั้งแรกในสถาบัน อดุ มศกึ ษาของประเทศไทย พ.ศ. 2541 – 2546 เปน็ ชว่ งระยะเวลาทสี่ ถาบนั ราชภฏั สวนดสุ ติ ไดข้ ยายการจดั การศกึ ษาออกไป อยา่ งกวา้ งขวาง ทง้ั การเปดิ สอนในหลกั สตู รใหม่ ๆ เพมิ่ เตมิ และการขยายศนู ยก์ ารศกึ ษาออกไปยงั เขตปรมิ ณฑลและตา่ งจงั หวดั (ศนู ยด์ สุ ติ พณชิ ยการ ศูนยเ์ ซน็ ทรัลปิ่นเกลา้ ศูนย์อิมพีเรียล-บางนา ศูนย์นครนายก ศนู ยป์ ราจนี บุรี ศนู ยธ์ นาลงกรณ์ ศูนยบ์ ษุ ยมาส ศนู ยพ์ ณชิ ยการสยาม ศูนยน์ ครปฐม ศูนยช์ ลบรุ ี ศนู ยพ์ ัทยา ศูนยส์ ระบุรี ศูนยพ์ ะเยา ศูนยล์ ำ� ปาง ศูนย์ระนอง 2 ศูนย์ พิษณโุ ลก ศูนย์ตรงั ศูนยล์ มุ พนิ ี และศนู ย์หัวหนิ ) เนอ่ื งจากมผี ูส้ นใจเข้าเรียนเปน็ จ�ำนวนมาก ประกอบกับพนื้ ที่เรียนภายใน สถาบันอย่ใู นระหว่างการก่อสร้างและปรับปรุงใหม่ ทางดา้ นการจัดการศกึ ษาระดับบัณฑติ ศกึ ษากไ็ ด้มีการจัดการศึกษาทง้ั ในระดับปริญญาโท (ครศุ าสตรมหาบัณฑติ รฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ บรหิ ารธรุ กจิ มหาบณั ฑติ และนเิ ทศศาสตรมหาบณั ฑติ ) และเปดิ สอนในระดบั ปรญิ ญาเอก เป็นครัง้ แรก (พ.ศ. 2545) หลกั สูตรการจดั การดษุ ฎบี ัณฑิต (Doctor of Management) พ.ศ. 2547 สถาบันราชภฏั สวนดุสิตได้ปรับเปลย่ี นสถานภาพจาก “สถาบนั ” เป็น “มหาวิทยาลยั ” ตาม พระราช บญั ญตั ิมหาวิทยาลัยราชภฏั พ.ศ. 2547 เมือ่ วนั ท่ี 15 มิถุนายน พ.ศ. 2547 ช่ือว่า “มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนดสุ ิต” สังกดั สำ� นักงานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2548 – 2551 จากพระราชบญั ญตั มิ หาวิทยาลยั ราชภฏั พ.ศ. 2547 ทำ� ใหส้ วนดสุ ติ มกี ารปรับเปลี่ยนในด้าน ตา่ งๆ ทง้ั โครงสรา้ งของระบบบรหิ ารและการบรหิ ารจดั การทาง ดา้ นวชิ าการ รวมทงั้ จากการปฏริ ปู การศกึ ษาและการปฏริ ปู ระบบราชการท�ำใหม้ หาวทิ ยาลยั ต้องก�ำหนดแผนกลยุทธใ์ นการดำ� เนนิ งานของมหาวิทยาลัย12 มหาวิทยาลัยสวนดุสิตจัดอยู่ในกลุ่มมหาวิทยาลัยที่เน้นการผลิตบัณฑิตและพัฒนาสังคมจัดการเรียนการสอนและ ภารกิจอ่ืนทั้งในมหาวิทยาลัย และศูนย์การศึกษานอกมหาวิทยาลัยที่กระจายอยู่ในกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่างๆ ทกุ ภมู ิภาคของประเทศ ตลอดระยะเวลากว่า 80 ปี จากโรงเรียนมัธยมวิสามัญการเรือน จนมาเป็นมหาวิทยาลัยสวนดุสิต การพัฒนา ความเข้มแข็งของมหาวิทยาลัยตั้งอยู่บนพ้ืนฐานความเข้มแข็งของความสามารถทางวิชาการที่มีมาอยู่เดิม และปรับปรุง พัฒนาให้สอดคล้องต่อการเปลี่ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลาการสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ การน�ำเทคโนโลยที เ่ี หมาะสมมาประยุกต์ ใชต้ ลอดจนการบรหิ ารการจดั การทเ่ี ปน็ รปู แบบของสวนดสุ ติ จากภาวะผนู้ ำ� ขององคก์ ร ไดห้ ลอ่ หลอมและสรา้ งเปน็ วฒั นธรรม ของสวนดสุ ติ ทมี่ คี วามโดดเดน่ และสามารถอยรู่ อดไดภ้ ายใตส้ ถานการณข์ องการแขง่ ขนั และสง่ิ แวดลอ้ มทางสงั คม เศรษฐกจิ และการเมืองท่เี ปล่ียนแปลงไปอยา่ งรวดเร็วความเขม้ แข็งในวัฒนธรรมของสวนดสุ ติ อยู่ในรปู แบบของ 12รายละเอียดของแผนกลยุทธ์หาดูได้จาก มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต, “แผนกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตประจำ�ปี งบประมาณ พ.ศ. 2549 – 2551”, เอกสารเผยแพร,่ 2549. 7

1. การมบี คุ ลิกภาพทด่ี ี 2. การศึกษาหาความรู้ และพฒั นานวตั กรรมใหมๆ่ อย่เู สมอ 3. ความมวี ินัยและการรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของคนอื่น 4. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีใหเ้ ปน็ ประโยชน์ 5. ความมีระเบยี บและประณตี ในงานทท่ี �ำ 6. มีความรจู้ ริงในสิ่งท่ีท�ำ อันนำ� มาซึ่งความเป็นตัวตนของ “สวนดุสติ ” ในวันน้ี และเป็นรากฐานทส่ี �ำคญั ในการพัฒนาตอ่ ไปในอนาคต พ.ศ. 2552 – 2556 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนดุสิตได้ก�ำหนดแนวทางในการพัฒนาเอาไว้ ดงั น1ี้ 3 1. เพอ่ื ให้สอดคล้องกับแผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 15 ปี ฉบบั ที่ 2 (พ.ศ. 2551 – 2565) และ แนวนโยบายของ มหาวิทยาลัยในการท่ีจะพัฒนาโครงสร้างของหน่วยงานหลักในมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับพันธกิจและประสิทธิผลของ การบริหารจัดการ มหาวิทยาลัยจึงได้ก�ำหนดให้มีหน่วยงานใหม่เพ่ิมข้ึนตามประกาศสภามหาวิทยาลัย นอกเหนือไปจาก โครงสรา้ งเดมิ ตามกฎกระทรวงในการแบ่งส่วนราชการของมหาวิทยาลัยราชภฏั สวนดสุ ิต 2. การดำ� เนินงานของแต่ละหน่วยงานจะต้องด�ำเนนิ การโดยมุ่งเน้นคุณภาพของงานเป็นสำ� คญั และจะต้องดำ� เนิน การใหส้ อดคล้องกบั แผนกลยทุ ธข์ องมหาวิทยาลยั ในภาพรวมได้ 3. การก�ำหนดอตั ลกั ษณข์ องมหาวทิ ยาลยั ออกเป็น 4 ด้าน (เป็นสถาบันเฉพาะทาง ลกั ษณะที่เป็นสถาบนั ที่เนน้ ระดบั ปรญิ ญาตรี) - อาหาร - การศกึ ษาปฐมวยั - อตุ สาหกรรมการบรกิ าร - การพยาบาลและสุขภาวะ 4. การพฒั นาคณุ ภาพของการจดั การศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั ใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ มาตรฐาน การอดุ มศึกษาและกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดับอดุ มศึกษา 5. การเปลี่ยนแปลงปรัชญาและกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัยจากการเป็นมหาวิทยาลัยท่ีตระหนักถึงความอยู่รอดของ องคก์ ร (Survival) ไปสู่การเป็นมหาวทิ ยาลัยที่มคี วามสามารถในการสรา้ งความเขม้ แขง็ ในการอยูร่ อด (Survivability)14 พ.ศ. 2557 มหาวทิ ยาลยั สวนดุสติ ไดท้ บทวนแนวทางในการพัฒนางานของมหาวทิ ยาลยั โดย 1. ค�ำนึงถึงความสอดคลอ้ งกับสภาพแวดลอ้ มทเี่ ปล่ียนแปลงท้ังนโยบายและแนวทางในระดบั มหภาคทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั พนั ธกจิ ของมหาวทิ ยาลยั ความตอ้ งการของนกั ศกึ ษา บคุ ลากร ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี และการใชป้ ระโยชน์ จากสมรรถนะหลกั (Core Competencies) ของมหาวทิ ยาลยั 2. กำ� หนดใหก้ ารดำ� เนนิ งานทง้ั มหาวทิ ยาลยั มงุ่ ไปสทู่ ศิ ทางเดยี วกนั ในรปู แบบการบรหิ ารจดั การทหี่ ลากหลายตาม ความเหมาะสมของหน่วยงานเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายที่มหาวิทยาลัยตั้งไว้ และปรับปรัชญาของมหาวิทยาลัยจากการเป็น มหาวทิ ยาลยั ทม่ี คี วามสามารถในการสรา้ งความเขม้ แขง็ ในการอยรู่ อด (Survivability) ไปสกู่ ารเปน็ มหาวทิ ยาลยั ทส่ี ามารถ สร้างความเขม้ แขง็ ในการอยรู่ อดได้อย่างย่งั ยนื (Sustainable Survivability) 3. ยงั คงพัฒนาอตั ลกั ษณ์ 4 ด้านอยา่ งต่อเนื่อง 4. กำ� หนดจดุ เนน้ การด�ำเนนิ งานของมหาวทิ ยาลัย โดยปี 2558 เน้นการส่งเสริมให้เกิดพฒั นานวตั กรรม ปี 2559 เนน้ การเชือ่ มโยงระหว่างนวตั กรรมและการจดั การทรพั ยากร และปี 2560 เน้นการตอ่ ยอดนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาอยา่ ง ย่ังยนื 13รองศาสตราจารย์ ดร. ศิโรจน์ ผลพันธิน, “แนวทางการพัฒนาแผนกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต พ.ศ. 2552-2556, เอกสาร เผยแพร,่ 2551. 14Survivability ความหมายทวั่ ไปจาก Oxford Dictionary หมายถงึ ความสามารถในการอยรู่ อด ความสามารถในการมชี วี ติ อยู่ (Able to be survived) ในชีวติ ไมว่ า่ จะเกดิ เรื่องรา้ ยอะไรขึ้นในชีวิตกต็ าม ความสามารถในการอยู่รอดน้ีเปน็ ระบบการคดิ ท่ีอยู่บนพนื้ ฐานของความเปน็ ทพี่ ึ่งแห่งตน และการรับมือกบั ความตกใจ และความเจ็บปวด (Survivability, quite simple, is the ability to survive and thrive, no matter what life throws at you. It is mindset, a way of thinking based on self-reliance and resilience.) ( available on http//www.surviv- ability.net/what-is/index.htm) 8

พ.ศ. 2558 มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนดุสติ ตามพระราชบญั ญัตมิ หาวิทยาลยั ราชภัฏ พ.ศ. 2547 เปล่ียนสถานะเปน็ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ ตามพระราชบญั ญตั มิ หาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ พ.ศ. 2558 ซง่ึ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาในวนั ที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 และมผี ลบงั คบั ใชเ้ มอ่ื วันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 มีฐานะเป็นหนว่ ยงานในกำ� กับของรัฐ ภายใน การก�ำกับดแู ลของรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร โดยทีพ่ ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ไดท้ รง ลงพระปรมาภไิ ธยในวนั ที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 อนั ถอื เปน็ สริ มิ งคลยง่ิ แกม่ หาวทิ ยาลยั สภามหาวทิ ยาลยั ในการประชมุ ครงั้ ที่ 1/2558 เมอื่ วนั ที่ 24 กรกฎาคม 2558 จงึ ก�ำหนดใหว้ ันดังกล่าว คอื วนั ที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 เป็นวนั เกดิ ของมหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ติ ส�ำหรบั การเปล่ยี นแปลงสถานะในคร้ังนี้ มหาวิทยาลัยสวนดุสิตไมถ่ ือเป็นส่วนราชการ และไม่ เปน็ รัฐวิสาหกิจ แต่เปน็ หนว่ ยงานของรัฐ ท่ีอยู่ภายใตก้ ารก�ำกับของรัฐ ทำ� ให้มหาวทิ ยาลยั สามารถกำ� หนดหรอื ออกรูปแบบ การบริหารจัดการด้วยตนเองได้อย่างมีอิสระและความคล่องตัวในการบริหารจัดการมากยิ่งข้ึน ทั้งการบริหารงานท่ัวไป การบรหิ ารจดั การงบประมาณ การบรหิ ารงานบคุ คล และการบรหิ ารงานวชิ าการ โดยมหาวทิ ยาลยั ยงั คงมภี ารกจิ ของสถาบนั อุดมศกึ ษาตามเดิม นอกจากน้ี ยังได้มีการขยายพ้ืนท่ีในการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยเพิ่มเติมข้ึน เพ่ือรองรับความพร้อมในการ จัดการศึกษา โดยบัณฑิตวิทยาลัยย้ายไปอยู่บนพื้นที่ของมหาวิทยาลัยบริเวณส่ีแยกสุโขทัย (ถนนสุโขทัยตัดกับถนน นครราชสีมา) คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะพยาบาลศาสตร์และโรงเรยี นการเรือน ยา้ ยไปอยทู่ ี่ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์ (ถนนสิรินธร) มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ พฒั นาอยตู่ ลอดเวลา เพอื่ ใหท้ นั กบั การเปลยี่ นแปลงของสงั คม และความเจรญิ ทางเทคโนโลยี และยังได้น�ำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ประกอบการเรียนการสอน อาทิ พัฒนาระบบ SDIB (Suan Dusit Internet Broadcasting) มาใช้ร่วมกับระบบ Virtual Library ในการพัฒนาเพื่อให้การเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นต้น อนึ่งการจัดการศึกษาในระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา รวมท้ังการจัดการศึกษาโครงการพิเศษต่างๆ ของ มหาวทิ ยาลัยมศี กั ยภาพการด�ำเนินการ ซง่ึ ประกอบดว้ ย • คณาจารย์ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ • ศูนย์การศกึ ษานอกทต่ี ้งั และศนู ย์การเรยี น • อาคารเรียนและห้องปฏบิ ัติการ • การสนบั สนนุ ดา้ นการศึกษา วิจัย ต�ำรา และ บทความทางวชิ าการ • การจัดฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ในรปู แบบของ Work-based Learning จากการปรับปรุงโครงสร้างการบริหารของมหาวิทยาลัย เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัยที่ต้องการ พฒั นาการจดั การศกึ ษาใหม้ คี ณุ ภาพเพมิ่ ความโดดเดน่ ในสาขาวชิ าทเ่ี ปน็ อตั ลกั ษณข์ องมหาวทิ ยาลยั การดำ� เนนิ การดงั กลา่ ว ส่งผลให้นักศึกษา มีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ สามารถเข้าสู่ตลาดแรงงานด้วยความเชื่อม่ันในวิชาชีพที่ศึกษา ซง่ึ หลักสูตรตา่ งๆ นั้นอยู่ในความรับผดิ ชอบการจดั การศึกษาของหนว่ ยงานระดับคณะหรือเทียบเท่าดังน้ี คณะวทิ ยาการจดั การ จดั การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาวชิ าการจดั การ สาขาวชิ าการตลาด สาขาวชิ าเลขานกุ าร ทางการแพทย์ สาขาวชิ าการบรกิ ารลูกคา้ สาขาวิชาคอมพิวเตอรธ์ รุ กจิ สาขาวิชาการเงิน สาขาวชิ าการจัดการทรัพยากร มนษุ ย์ สาขาวิชาการจดั การธรุ กิจค้าปลกี สาขาวชิ านเิ ทศศาสตร์ และสาขาวิชาบัญชี คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ จดั การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ ธรุ กจิ สาขาวิชาภาษาไทย สาขาวชิ าภาษาและการสื่อสาร สาขาวชิ าจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ สาขาวิชาภาษาจนี สาขาวชิ าบรรณารักษศาสตรแ์ ละสารสนเทศศาสตร์ และระดบั ปริญญาโท สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี จดั การศึกษาระดบั ปริญญาตรี สาขาวชิ าเทคโนโลยเี คมี สาขาวิชาอาชีวอนามยั และความปลอดภัย สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรเ์ คร่ืองส�ำอาง สาขาวิชาวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ และสาขาวชิ าสง่ิ แวดลอ้ มเมอื งและอุตสาหกรรม สาขาวิชาคณิตศาสตร์ สาขาวิชาฟสิ กิ ส์ คณะครุศาสตร์ จัดการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย สาขาวิชาการประถมศึกษา โดยมี โรงเรยี นสาธติ ละอออทุ ศิ เปน็ สถานฝึกประสบการณ์วชิ าชพี และระดบั ปริญญาโท สาขาวชิ าการศกึ ษาพเิ ศษ คณะพยาบาลศาสตร์ จัดการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวชิ าพยาบาลศาสตร์ โรงเรยี นการเรอื น จัดการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารแปรรูปอาหาร สาขาวิชาเทคโนโลยีการ ประกอบอาหารและการบริการ สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์ และสาขาวิชาโภชนาการและการประกอบอาหาร โรงเรยี นกฎหมายและการเมอื ง จดั การศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาวชิ านติ ิศาสตร์ สาขาวชิ ารัฐศาสตร์ และสาขา วชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์ 9

โรงเรียนการท่องเท่ียวและการบริการ จัดการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการท่องเท่ียว สาขาวิชาธุรกิจ โรงแรม สาขาวชิ าธรุ กิจการบนิ สาขาวิชาออกแบบนิทรรศการและการจดั แสดง และสาขาวิชา Hospitality Management (International Programme) บัณฑิตวทิ ยาลัย จดั การศึกษาในระดบั บัณฑิตศึกษา ระดบั ปรญิ ญาโท สาขาวิชาการจัดการบรกิ าร สาขาวชิ าการ บริหารงานส่วนทอ้ งถน่ิ สาขาวิชาการส่อื สารธรุ กิจบรกิ าร และระดบั ปริญญาเอก สาขาวชิ าอาชญาวิทยา การบรหิ ารงาน ยุติธรรมและสงั คม สาขาวิชาการวจิ ัยและประเมินทางการศกึ ษา และสาขาวชิ าภาวะผู้นำ� ทางการศกึ ษา วทิ ยาเขตและศนู ยก์ ารศึกษานอกสถานทต่ี ้งั วทิ ยาเขตและศนู ย์การศึกษานอกสถานทต่ี ัง้ เปน็ สถานท่นี อกมหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ิต ทมี่ หาวทิ ยาลัยไปด�ำเนินการ จัดการศึกษาให้กับนักศึกษามีการจัดการเรียนการสอน ระบบปกติ อาจารย์สอนตรง โดยอาศัยส่ือเทคโนโลยีที่ทันสมัย สนับสนุนการเรยี นรใู้ ห้กับนักศึกษาท่อี ยู่วทิ ยาเขต ศูนยก์ ารศึกษานอกทต่ี ้งั และศนู ย์เครอื ขา่ ยในมหาวทิ ยาลยั วิทยาเขตสุพรรณบุรี (จังหวัดสุพรรณบุรี) จัดการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ สาขาวิชา เทคโนโลยกี ารประกอบอาหารและการบริการ และสาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวัย ศูนย์การศึกษานอกที่ตั้งนครนายก (จังหวัดนครนายก) จัดการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการศึกษา ปฐมวยั ศูนยก์ ารศึกษานอกที่ต้งั ลำ� ปาง (จงั หวัดลำ� ปาง) จดั การศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวยั สาขา วิชาเทคโนโลยกี ารประกอบอาหารและการบรกิ ารและสาขาวิชาธรุ กิจการบิน ศนู ยก์ ารศึกษานอกทีต่ ้งั ตรัง (จงั หวดั ตรัง) จัดการศึกษาระดบั ปริญญาตรี สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ สาขาวิชา เทคโนโลยกี ารประกอบอาหารและการบรกิ าร และสาขาวชิ าการทอ่ งเทย่ี ว ศูนย์การศึกษานอกท่ีตั้งหัวหิน (จังหวัดประจวบคีรีขันธ์) จัดการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาธุรกิจโรงแรม และสาขาวิชาธุรกิจการบิน อตั ลักษณ์ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ ไดก้ ำ� หนดอตั ลกั ษณข์ องมหาวทิ ยาลยั ซงึ่ เปน็ ความเชย่ี วชาญดงั้ เดมิ และโดดเดน่ เปน็ ทย่ี อมรบั ท้ังในและต่างประเทศ รวมทั้งสาขาวิชาที่มีความพร้อมสามารถตอบสนองความต้องการของสังคมและท้องถ่ิน มีท้ังหมด 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ 1. ด้านอาหาร 2. ด้านการศึกษาปฐมวยั 3. ด้านอตุ สาหกรรมการบริการ 4. ด้านการพยาบาลและสุขภาวะ เอกลักษณ์ ผลการดำ� เนนิ งานและผลสำ� เรจ็ ของการดำ� เนนิ งานทสี่ ะทอ้ นใหเ้ หน็ เปน็ คณุ ลกั ษณะทโี่ ดดเดน่ ของนกั ศกึ ษา และถอื เป็นเอกลกั ษณ์ของมหาวทิ ยาลัย คอื “บคุ ลกิ ภาพทีด่ ขี องนกั ศกึ ษา” “We must remember that intelligence is not enough. Intelligence plus Character-that is the goal of true Education.” 10

ลำ�ดับความเปน็ มหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ิต ปี พ.ศ. ชื่อสถานศกึ ษา สงั กดั ตำ�แหนง่ /ผู้บริหาร พ.ศ. รายช่ือผู้บริหาร 2477 – 2480 โรงเรยี นมธั ยมวสิ ามญั กองอาชีวศกึ ษา 2477 ครใู หญ่ การเรือน (วังกรม กรมวิชาการ หลวงชุมพรเขตอุดม กระทรวงธรรมการ คณุ หญงิ เพชรดา ณ ป้อมเพชร์ ศักด)์ิ กองอาชวี ศกึ ษา (ม.ล. จิตรกลุ กญุ ชร) 2477 รกั ษาการครใู หญ่ 2480 – 2484 โรงเรียนการเรือนวัง กรมวชิ าการ นางนลิ รัตน์ บรรณสทิ ธ์ิวรสาสน์ จันทรเกษม(วังจันทร กระทรวงธรรมการ 2477 – 2484 ครูใหญ่ เกษม) คณุ หญงิ ไสววงศ์ ทองเจือ 2484 – 2504 โรงเรยี นการเรอื นพระ กองโรงเรยี นฝกึ หดั ครู 2484 – 2489 อาจารยใ์ หญ่ นคร (สวนสนุ ันทา) กรมสามญั ศกึ ษา นางบุญเกล้อื กรลกั ษณ์ กระทรวงธรรมการ 2489 - 2504 อาจารยใ์ หญ่ คณุ หญงิ กระจา่ งศรี รักตะกนษิ ฐ 2504 – 2538 วิทยาลยั ครสู วนดุสิต กองโรงเรียนฝึกหัดครู 2504 - 2518 ผู้อำ�นวยการ (กองการฝกึ หดั ครู) 2518 – 2528 คุณหญงิ กระจ่างศรี รักตะกนษิ ฐ กรมการฝึกหดั ครู อธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 2528 – 2537 ศาสตราจารยเ์ รวดี วงศพ์ รหมเมฆ (พ.ร.บ. วิทยาลัยครู ฉบับท่ี 1, 2537 – 2538 2518) อธิการ รองศาสตราจารยล์ ำ�พอง บญุ ชว่ ย (พ.ร.บ. วิทยาลัยครู ฉบับท่ี 2, 2527) อธกิ าร รองศาสตราจารยธ์ ง รญุ เจริญ 2538 – 2547 สถาบนั ราชภฏั สำ�นักงานสภา 2538 – 2546 อธิการบดี สวนดุสติ สถาบันราชภฏั รองศาสตราจารย์ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ดร. ศโิ รจน์ ผลพันธนิ 2547-2558 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ สำ�นักงาน (พ.ร.บ. สถาบันราชภัฏ, 2538) สวนดุสติ คณะกรรมการ การอดุ มศึกษา 2546 – 2547 อธิการบดี กระทรวงศกึ ษาธิการ รองศาสตราจารย์ ดร. สขุ ุม เฉลยทรัพย์ 2547 – 2556 อธิการบดี รองศาสตราจารย์ ดร. ศิโรจน์ ผลพันธิน (พ.ร.บ. มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ, 2547) 2556 – 2558 อธิการบดี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พิทกั ษ์ จนั ทร์เจริญ 11

ปี พ.ศ. ช่ือสถานศึกษา สงั กัด ตำ�แหนง่ /ผบู้ รหิ าร 2558 – พ.ศ. รายชอ่ื ผู้บรหิ าร ปัจจบุ ัน 2558 – ปจั จุบนั กระทรวงศกึ ษาธิการ 2558 – 2559 อธกิ ารบดี มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. พทิ ักษ์ จนั ทร์เจริญ (พ.ร.บ.มหาวิทยาลัยสวนดุสิต, 2558) 2559 – ปจั จบุ นั อธกิ ารบดี รองศาสตราจารย์ ดร.ศิโรจน์ ผลพันธนิ ผบู้ รหิ าร 1. คุณหญิงเพชรดา ณ ปอ้ มเพชร์ พ.ศ. 2477 2. นางนลิ รัตน์ บรรณสิทธว์ิ รสาสน์ พ.ศ. 2477 3. คณุ หญงิ ไสววงศ์ ทองเจือ พ.ศ. 2477 – 2484 4. นางบุญเกลือ้ กรลักษณ์ พ.ศ. 2484 – 2489 5. คณุ หญิงกระจา่ งศรี รักตะกนิษฐ พ.ศ. 2489 – 2518 6. ศาสตราจารย์เรวดี วงศพ์ รหมเมฆ พ.ศ. 2518 – 2528 7. รองศาสตราจารยล์ ำ�พอง บุญช่วย พ.ศ. 2528 – 2537 8. รองศาสตราจารยธ์ ง รุญเจรญิ พ.ศ. 2537 – 2538 9. รองศาสตราจารย์ ดร.ศโิ รจน์ ผลพนั ธิน พ.ศ. 2538 – 2546 10. รองศาสตราจารย์ ดร.สขุ ุม เฉลยทรัพย์ พ.ศ. 2546 – 2547 11. รองศาสตราจารย์ ดร.ศโิ รจน์ ผลพันธนิ พ.ศ. 2547 – 2556 12. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ จันทร์เจริญ พ.ศ. 2556 – 2559 13. รองศาสตราจารย์ ดร.ศโิ รจน์ ผลพนั ธนิ พ.ศ. 2559 – ปจั จุบัน คา่ นยิ มร่วม (Shared Value) Specialization ความเช่ียวชาญเฉพาะทางของมหาวทิ ยาลยั Uniqueness การมเี อกลกั ษณ์ทพี่ ัฒนาการมาจากรากฐานทมี่ มี าแต่เดมิ Relationship สัมพันธภาพภายในและความรว่ มมอื กบั ภายนอก Value ความมีคุณคา่ ในความรูส้ ึกของประชาคมและสงั คม Identity อตั ลกั ษณข์ องมหาวทิ ยาลยั ประกอบดว้ ย อตุ สาหกรรมอาหาร การศกึ ษาปฐมวยั อตุ สาหกรรมการบรกิ าร และการพยาบาลและสขุ ภาวะ Variation การผันแปร การเปลี่ยนแปลงทม่ี หาวิทยาลยั ต้องพรอ้ มรบั Attraction ความมีเสนห่ ์จากบคุ ลกิ เฉพาะทงั้ ด้านวิชาการและความมีสนุ ทรียศาสตรข์ องบคุ ลากรและนักศึกษา Balance ความสมดุลระหวา่ งชีวิตงานและชีวิตส่วนตวั ของบคุ ลากร Innovation นวตั กรรม Learning การเรียนรู้ขององค์กรและบคุ ลากร Initiation การเร่มิ ตน้ Total Quality คณุ ภาพองคร์ วม Young Blood คนร่นุ ใหม่ 12

ปรัชญา มหาวิทยาลัยที่สามารถสร้างความเข้มแข็งในการอยู่รอดได้อย่างยั่งยืน บนพ้ืนฐานของการจัดการคุณภาพ (Sustainable Survivability Based on Quality Management) วิสยั ทศั น์ มหาวทิ ยาลยั เฉพาะทางทมี่ อี ตั ลกั ษณโ์ ดดเดน่ ดา้ นอาหาร การศกึ ษาปฐมวยั อตุ สาหกรรมการบรกิ าร และการพยาบาล และสขุ ภาวะ ภายใตก้ ระบวนการพฒั นาเพื่อความเป็นเลศิ บนพน้ื ฐานของการจดั การคุณภาพ พันธกจิ มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันการศึกษาทางวิชาการ และวิชาชีพขั้นสูงมีวัตถุประสงค์ให้การศึกษาส่งเสริมวิชาการและ วชิ าชีพขัน้ สงู สรา้ งบัณฑติ วิจัย บรกิ ารทางวิชาการแก่สังคมและทอ้ งถน่ิ ริเร่ิม ปรบั ปรงุ ถา่ ยทอด และพฒั นาองค์ความรูใ้ น ดา้ นท่ีมีความเชี่ยวชาญและทำ�นบุ ำ�รงุ ศลิ ปะและวฒั นธรรม เจตจำ�นง มหาวิทยาลัยมุ่งหวังให้บัณฑิตและบุคลากรของมหาวิทยาลัยมีคุณธรรมกำ�กับความรู้ เพียบพร้อมด้วยสติปัญญา และจรยิ ธรรม เป็นผูใ้ ฝ่รู้ มวี จิ ารณญาณ มีจติ ใจเสยี สละ มบี คุ ลิกภาพดเี หมาะสม และมคี วามสำ�นึกรบั ผดิ ชอบตอ่ สว่ นรวม เป้าประสงค์ในภาพรวมของมหาวทิ ยาลยั มี 3 ด้าน ประกอบด้วย 1. ด้านการผลิตบณั ฑติ ที่มคี ณุ ภาพและยกระดบั คุณภาพการศกึ ษา - สร้างอตั ลกั ษณ์ทโี่ ดดเด่นบนพน้ื ฐานความเปน็ เลิศ - มาตรฐานและคุณภาพทางวชิ าการบนพน้ื ฐานคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรับผิดชอบต่อสงั คม - ความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษา - สร้างและการนำ�ความร้สู ู่สงั คมเพ่ือใหบ้ รกิ ารวชิ าการและเป็นแนวทางในการพฒั นา และแก้ไขปญั หาสังคม - ทำ�นบุ ำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรมไทยให้ดำ�รงอยู่ทา่ มกลางวฒั นธรรมที่หลากหลาย 3. ด้านการบรหิ ารจัดการองค์การ - การบริหารงานโดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาล มีประสทิ ธิภาพและประสิทธิผล - การบริหารแบบมสี ว่ นร่วมของบคุ ลากร - การใชท้ รัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสดุ และสนบั สนนุ ให้มีการใช้ทรัพยากรรว่ มกัน 13

การจัดการศกึ ษาของวิทยาเขต และศูนยก์ ารศกึ ษานอกทต่ี ้ังมหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต การจัดการศึกษาของวิทยาเขตและศูนย์การศึกษานอกท่ีตั้งของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ได้พัฒนาทั้งรูปแบบ การจดั การศกึ ษาและระบบการบรหิ ารจดั การ โดยไมไ่ ดม้ งุ่ เนน้ การจดั การศกึ ษาแตเ่ พยี งอยา่ งเดยี วหากแตเ่ ปน็ การพฒั นาธรุ กจิ วชิ าการ ของมหาวทิ ยาลยั ใหม้ ีความเข้มแขง็ ข้นึ และช่วยสนับสนุนการพฒั นาชุมชนและสงั คมทีศ่ ูนย์การศึกษาตง้ั อยู่ ทง้ั ใน ดา้ นความรทู้ างวชิ าชพี และความรทู้ างวชิ าการ ในการพฒั นาศนู ยก์ ารศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั ในอนาคต จงึ ไดม้ กี ารกำ� หนด แนวทางการพัฒนาให้สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัยในช่วง 4 ปี ข้างหน้า (พ.ศ. 2557 - 2560) และให้ สอดคลอ้ งกบั ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ดว้ ยการจดั การศกึ ษานอกสถานทต่ี งั้ ของสถาบนั อดุ มศกึ ษาของรฐั พ.ศ. 2552 โดยมีภารกิจหลักตามที่ก�ำหนดไว้ในแผนกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2557 - 2560 ศูนย์การศึกษานอกท่ีตั้งของ มหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ติ จะประกอบไปด้วย 1. วทิ ยาเขตสุพรรณบุรี 2. ศนู ย์การศกึ ษานอกทีต่ งั้ ล�ำปาง 3. ศนู ยก์ ารศึกษานอกทต่ี ัง้ นครนายก 4. ศูนยก์ ารศกึ ษานอกทตี่ ั้ง ตรัง 5. ศูนย์การศกึ ษานอกท่ตี ง้ั หัวหนิ ในการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยสวนดุสิตท่ีวิทยาเขตและศูนย์การศึกษานอกท่ีตั้ง โครงสร้างพื้นฐาน (Infra - structure) จะต้องมปี ระกอบด้วย 1. อาคารเรียน หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารและพนื้ ท่ีจัดกจิ กรรมของนกั ศกึ ษาทีเ่ ปน็ สดั สว่ นโดยเฉพาะเหมาะสมกบั หลักสตู รท่ี จัดการเรียนการสอน หากเป็นพนื้ ที่เชา่ ท่ใี ชร้ ่วมกนั กบั สถานศกึ ษาอน่ื กจ็ ะตอ้ งมกี ารแยกพ้นื ท่ีออกจากกันอยา่ งชัดเจน 2. อาคารหอพัก เป็นส่วนที่มหาวิทยาลัยจัดสร้างขึ้นหรือเช่าด�ำเนินการท้ังหมดเพ่ืออ�ำนวยความสะดวกให้กับ นกั ศึกษา 3. ระบบอินเทอร์เนต็ ไร้สาย (Wireless Internet) ในทกุ พนื้ ท่ขี องศูนย์การศึกษานอกท่ตี ง้ั สว่ นทีเ่ ปน็ อาคารเรยี น อาคารหอพกั และพน้ื ทที่ ำ� กจิ กรรมของนกั ศกึ ษาสามารถใชร้ ะบบนไี้ ดท้ ว่ั ถงึ นอกจากนย้ี งั ไดจ้ ดั เตรยี มเตา้ เสยี บกระแสไฟฟา้ ไวบ้ ริการให้กบั นักศึกษาด้วย 4. ระบบการสืบคน้ ขอ้ มูลผา่ นศูนย์ มหาวทิ ยาลัยได้พฒั นาส�ำนักวทิ ยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้อยใู่ นรปู แบบ ของห้องสมุดเสมอื น (Virtual Library) มีลักษณะเปน็ ห้องสมดุ อิเล็กทรอนิกส์ (e-Library) ทนี่ ักศกึ ษาสามารถสบื ค้น ขอ้ มลู ผ่านศูนยโ์ ดยใชค้ อมพวิ เตอร์ Note-book ของนักศกึ ษา 5. ระบบ Internet Broadcasting มหาวทิ ยาลัยไดจ้ ัดท�ำระบบ Internet Broadcasting ขน้ึ เพอ่ื การศึกษาค้นคว้า ในสาขาวชิ าต่างๆ จ�ำนวน 4 ช่องรายการ ซ่ึงนกั ศึกษาสามารถดไู ดจ้ ากคอมพิวเตอร์ Note-book ของนกั ศกึ ษาเอง หรอื อาจารย์ ผู้สอนอาจใช้จดั การเรียนการสอนแบบ e-Learning ได้ นอกจากน้ี วทิ ยาเขตและศนู ยก์ ารศกึ ษานอกทต่ี งั้ ของมหาวทิ ยาลยั ทกุ ศนู ยก์ ารศกึ ษาจะตอ้ งดำ�เนนิ การควบคมุ ตรวจสอบ และประเมนิ คุณภาพการจดั การศกึ ษาของตนเอง โดยการ 1. จดั ทำ�ปฏทิ นิ ปฏบิ ตั กิ ารของศนู ยก์ ารศกึ ษา ในเรอื่ งการวางแผนการดำ�เนนิ งานของฝา่ ยงาน/คณะกรรมการ ฝ่ายตา่ งๆ การติดตาม และรายงานความกา้ วหนา้ ของการดำ�เนินงาน/โครงการในแผนปฏิบตั ิการ และรายงานผล การดำ�เนินงานของตวั ชว้ี ดั 2. จดั ทำ�รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) 3. ประชมุ คณะกรรมการบรหิ ารและกำ�หนดแผนการดำ�เนนิ งานของศนู ยก์ ารศกึ ษา และคณะกรรมการดำ�เนนิ งานด้านประกันคุณภาพ รวมทัง้ ซกั ซ้อมและเตรยี มการตรวจประเมินคุณภาพภายใน 4. รบั ตรวจประเมินคณุ ภาพภายใน 5. จดั ทำ�คำ�รบั รองปฏบิ ัตริ าชการกับมหาวทิ ยาลยั 14

วิทยาเขตและศูนยก์ ารศึกษานอกท่ีตั้ง มหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต ในปัจจบุ นั วทิ ยาเขตและศนู ย์การศึกษานอกท่ีตงั้ ของมหาวทิ ยาลัยสวนดุสติ ประกอบ ไปดว้ ย 1. วิทยาเขตสุพรรณบรุ ี ต้ังอยู่ท่ี 57 ถนนป่าโมกข์-สพุ รรณบรุ ี ต.โคกโคเฒ่า อ.เมือง จ.สพุ รรณบรุ ี 72000 2. ศนู ย์การศกึ ษานอกที่ตง้ั ลำ�ปาง ตัง้ อยทู่ ี่ 113 ถนนพหลโยธิน ต.สวนดอก อ.เมือง จ.ลำ�ปาง 52100 3. ศนู ย์การศึกษานอกทตี่ ั้งนครนายก ตงั้ อยทู่ ่ี ข/4-389 ถนนสวุ รรณศร อ.เมือง จ.นครนายก 26000 4. ศูนยก์ ารศกึ ษานอกท่ตี ง้ั ตรัง ต้ังอย่ทู ่ี 111 หมู่ 3 ต.ห้วยยอด อ.หว้ ยยอด จ.ตรงั 92130 5. ศูนยก์ ารศกึ ษานอกทตี่ ง้ั หวั หิน ตงั้ อยทู่ ่ี ต.บ่อฝา้ ย อ.หวั หนิ จ.ประจวบครี ีขันธ์ 77110 • วิทยาเขตสพุ รรณบุรี ( ขนาดอา10ค.า0ร0โรXง1อ5.า0ห0ารม.) แผนผงั มหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ิต ศูนยส์ ุพรรณบุรี 15

• ศนู ย์การศกึ ษานอกท่ตี ั้งนครนายก TL.-4 16 TL.-4

• ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกท่ตี งั้ หัวหิน 17

• ศูนยก์ ารศกึ ษานอกทต่ี ั้งลำ�ปาง ถังเก็บ บ่อกรอง แท้งคน์ ้ำ ลง ลง เครอื่ งchiller ส่วนอดาาคดาฟรแอทล้าาาะคงโเราชงรื่ออหมาอหปารระชมุ ต่อเตมิ สำนกั งาน ยาม โรงเแอรผยีานคนากสรปาสธรำะิตนถลักมะงอาอนอใหุทญิศ ่ ถนนนนต ีร ทางเ ้ขา สวนสขุ ภาพ โรงยิม ถนนสเุ รนทร์ บ้าน ัพกเรือน ัรบรอง 1 ้บานพักเ ืรอน ัรบรอง 2 สวนครัว ทางเข้า ถนนนนต ีร ยาม ศาลพระพรหม ยาม เรือนเพาะชำ เสาธง ขยะ ถนนสเุ รนทร์ ยาม SITE PLAN 1:1000 มหาวิทยาลยั สวนดุสติ ศนู ย์การศกึ ษานอกทต่ี ้ง่ั จังหวัดลำปาง 140 ถนนสุเรนทร์ ตำบลสบตุ๋ย อำเภอเมอื ง จังหวดั ลำปาง 52000 18

• ศูนย์การศึกษานอกทต่ี งั้ ตรัง สถานีแ ๊กส สถานแี ก๊ส ห้องอาหาร ศาลาพักผอ่ น 19

แผนที่ มหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ Suan Dusit 20

ส่แี ยกการเรอื นแผนทเี่ ส้นทาง มหาวิทยาลยั สวนดุสิต 21

แผนผงั บริเวณโดยรอบมหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต อาคาร 2/1 อาคาร 9 สวนดโรุสงิตแรเพมลส 1 สวนดโรุสงิตแรเพมลส 2 ถนนนครราชสีมา ครัว 1 คณอะาคคราุศราส4ตร อาคาร 7/1 สลาสธะำอิตนออักอนงุทาุบนิศาล วิจิตอราคอาารคาร (ศอาาลคาาดรรุณ6 ) อนอุบาาคลาวริทยา แผนผังบรเิ วณ มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ 22

แผนผงั มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนยว ิทยาศาสตร อาคารโกดังและอาคารหอพัก อาคารหอพกั 2 สวน หองน้ำ ศาลาพกั ผอน ปอมยาม อาคารปฏบิ ัติการ ศาลาพักผอน ซุมขายของ อาหารนานาชาติ บานพัก คลองบางบำห ุร อาคารสำนกั งาน อาคารเฉลิมพระเกยี รติ 50 พรรษา คณะวิทย 23

แผนทีอ่ าคารเฉลมิ พระเกียรติ 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ (บณั ฑิตวทิ ยาลัย) อาคารเฉลมิ พระเกยี รติ 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ มหาวทิ ยาลยั สวนดุสิต กฤษดานคร ถนนสโุ ขทัย ถนนนครราชสมี า ไป อนุสาวรียช ัยสมรภูมิ  ถนนสามเสน MCC สวนออ ย ถนนราชวถิ ี แมน ำ้ เจา พระยา ร.พ.วชิระ มหาวทิ ยาลัยสวนดุสิต สะพานกรุงธน ไป เทเวศน  N 24

ส�ำ นักสง่ เสริมวชิ าการ และงานทะเบยี น Suan Dusit 25

สำ�นักสง่ เสริมวิชาการและงานทะเบียน ส�ำ นักส่งเสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี น ประกอบด้วย 2 จดุ บรกิ าร ดงั นี้ 1. งานบรกิ ารนักศึกษา ณ จดุ บริการ อาคาร 2 ชน้ั 1 ส�ำ นักสง่ เสรมิ วิชาการและงานทะเบียน 2. งานบรกิ ารอาจารย์ ณ สำ�นกั งานอำ�นวยการส�ำ นักส่งเสรมิ วิชาการและงานทะเบยี น อาคารส�ำ นักงานมหาวิทยาลัย ชน้ั 2 มหี น้าทร่ี บั ผดิ ชอบงานและดำ�เนนิ การในเร่อื งตา่ งๆ ดงั นี้ 1. งานบริการนกั ศกึ ษา ณ จดุ บริการ อาคาร 2 ชนั้ 1 สำ�นกั ส่งเสรมิ วิชาการและงานทะเบียน เวลาทำ�การ วันจันทร์ – ศกุ ร์ เวลา 08.30 – 16.30 น. 1.1 ใบรับรองการเป็นนักศึกษาเพื่อแสดงว่ามีสภาพเป็นนักศึกษาจริง การขอใบรับรองทำ�ได้โดยย่ืนคำ�ร้อง ณ จดุ บรกิ าร พรอ้ มรปู ถา่ ยขนาด 3 x 4 เซนตเิ มตร จำ�นวน 1 รปู นกั ศึกษาภาคปกตสิ วมเครือ่ งแบบนักศึกษาตามระเบยี บ ขอ้ บงั คับมหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ติ และชำ�ระค่าธรรมเนียมฉบบั ละ 100 บาท นัดรับ 3 วันทำ�การ 1.2 ใบรับรองคณุ วฒุ แิ ละในรายงานผลการศกึ ษา (Transcript) เมอื่ สำ�เร็จการศกึ ษาแลว้ นกั ศกึ ษาจะตอ้ งนำ� สำ�เนาบัตรประจำ�ตัวประชาชน สำ�เนาใบเปล่ียนช่ือสกุล (ถ้ามี) พร้อมส่งใบคำ�ร้องขอใบรับรองคุณวุฒิหรือใบรายงาน ผลการศกึ ษา (Transcript) ที่กรอกข้อความอย่างถูกตอ้ ง สมบรู ณ์ พร้อมรปู ถา่ ยชดุ ครยุ ขนาด 3 x 4 เซนตเิ มตร และชำ�ระ ค่าธรรมเนยี ม ฉบับละ 100 บาท นดั รบั 3 วันทำ�การ 1.3 เมื่อใบรับรองคุณวุฒิสูญหายหรือชำ�รุด นักศึกษาต้องการท่ีจะขอใบแทนเอกสาร สามารถดำ�เนินการได้ ดังน้ี ติดต่อจดุ บรกิ าร ใชส้ ำ�เนาบัตรประชาชน สำ�เนาใบเปลยี่ น ชอ่ื สกุล (ถา้ ม)ี พร้อมท้งั รปู ถ่ายสวมชดุ ครุย ขนาด 3 x 4 เซนตเิ มตร จำ�นวน 1 รปู ค่าธรรมเนียม ฉบบั ละ 100 บาท นดั รับ 3 วันทำ�การ 1.4 การขอรับปริญญาบัตรในกรณีที่ไม่ได้เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร ให้มาติดต่อขอรับภายใน 2 ปี หากลา่ ช้ากวา่ 2 ปี นับจากวันทีส่ ภามหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ิตอนุมตั ิ ต้องชำ�ระค่าธรรมเนยี มรกั ษาปริญญาบตั ร 500 บาท เมอ่ื เขียนคำ�ร้องเรียบร้อย สามารถยน่ื คำ�ร้องและรอรับไดท้ นั ที 1.5 การขอลาออกของนักศึกษาย่ืนคำ�ร้องพร้อมท้ังแนบสำ�เนาบัตรประจำ�ตัวนักศึกษาหรือบัตรประจำ�ตัว ประชาชน 1 ฉบบั 1.6 การขอลงทะเบยี นและแก้ไขขอ้ มูลลงทะเบยี น 1.6.1 ถา้ ไมล่ งทะเบยี นภายในระยะเวลาที่กำ�หนดในประกาศมหาวทิ ยาลยั ฯ และประสงค์จะลงทะเบยี น เรยี นลา่ ชา้ ตอ้ งยน่ื คำ�รอ้ งขอลงทะเบยี นเรยี นลา่ ชา้ และชำ�ระเงนิ คา่ ธรรมเนยี มลา่ ชา้ 500 บาท ตามวนั ทกี่ ำ�หนดในประกาศ มหาวทิ ยาลยั ฯ 1.6.2 การแก้ไขขอ้ มลู ลงทะเบยี นเรยี น นกั ศึกษาสามารถดำ�เนนิ การผา่ นระบบบริหารการศกึ ษา (http:// academic.dusit.ac.th) ได้ตามทกี่ ำ�หนดในประกาศมหาวทิ ยาลยั ฯ 1.7 การขอแก้ไขข้อมูลประวัติของนักศึกษาให้นักศึกษานำ�บัตรประจำ�ตัวนักศึกษาและเอกสารสำ�คัญแสดง รายละเอยี ดท่ีตอ้ งการแก้ไขมายื่นคำ�รอ้ งขอแก้ไขขอ้ มลู เจ้าหน้าท่จี ะดำ�เนนิ การให้ภายใน 5 นาที 1.8 บริการใหค้ ำ�ปรึกษาเกี่ยวกับการจดั การเรียนการสอน หลกั สตู ร หรอื อ่นื ๆ ที่เก่ียวขอ้ ง 1.9 คา่ ธรรมเนียมการบริการจัดสง่ เอกสารสำ�คญั ทางการศึกษาทางไปรษณยี ์ มีบริการดงั นี้ (อา้ งองิ มาจาก ประกาศมหาวทิ ยาลยั สวนดุสติ เร่ืองอัตราค่าธรรมเนยี มของมหาวทิ ยาลัย พ.ศ. 2559) 1.9.1 คา่ บรกิ ารจัดสง่ เอกสารสำ�คัญทางการศึกษาทางไปรษณียล์ งทะเบยี น - ภายในประเทศ ครัง้ ละ 50 บาท - ต่างประเทศ ครั้งละ 500 บาท 1.9.2 คา่ บริการจดั ส่งเอกสารสำ�คัญทางการศึกษาทางไปรษณียล์ งทะเบยี นแบบดว่ นพิเศษ - ภายในประเทศ ครั้งละ 100 บาท - ต่างประเทศ ครง้ั ละ 1,000 บาท 1.9.3 คา่ บรกิ ารจดั สง่ ปรญิ ญาบัตรพรอ้ มปกทางไปรษณียล์ งทะเบียน - ภายในประเทศ ครั้งละ 100 บาท - ต่างประเทศ คร้งั ละ 1,000 บาท 1.9.4 ค่าบริการจดั สง่ ปรญิ ญาบัตรพรอ้ มปกทางไปรษณยี ล์ งทะเบียนแบบด่วนพเิ ศษ - ภายในประเทศ ครั้งละ 300 บาท - ต่างประเทศ ครั้งละ 4,000 บาท 26

2. งานลงทะเบยี นนักศกึ ษาและฐานขอ้ มูล 2.1 นกั ศกึ ษาทเี่ ขา้ เรยี นในมหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ ทกุ คนตอ้ งบนั ทกึ ขอ้ มลู ประวตั สิ ว่ นตวั ลงในระบบบรหิ ารการ ศกึ ษา (http://academic.dusit.ac.th) และพมิ พใ์ นรายงานตวั พรอ้ มทง้ั นำ�เอกสารตวั จรงิ และถา่ ยสำ�เนาเอกสารทเ่ี ปน็ หลกั ฐานสำ�คญั มาแสดงและมอบไวก้ ับสำ�นกั ส่งเสรมิ วิชาการและงานทะเบียนในวนั รายงานตวั 2.2 นกั ศกึ ษาทร่ี ายงานตวั เขา้ เปน็ นกั ศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั แลว้ สำ�นกั สง่ เสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี นจะออก รหสั ประจำ�ตัวนกั ศึกษาเปน็ ตวั เลข 13 หลักเรียงตดิ ต่อกนั ซงึ่ จะนำ�ไปใชเ้ ป็นหลกั ฐานควบคู่กันไป ช่อื – สกลุ ในกิจกรรม ต่างๆ ตั้งแต่เรม่ิ เขา้ เรยี นจนสำ�เร็จการศกึ ษา 2.3 การออกบัตรประจำ�ตัวนักศึกษา นักศึกษาจะต้องมีบัตรประจำ�ตัวนักศึกษา การขอทำ�บัตรประจำ�ตัว นักศึกษากระทำ�ได้ดงั น้ี 2.3.1 นกั ศึกษาทเี่ ขา้ เรยี นใหมจ่ ะตอ้ งทำ�บตั รประจำ�ตวั นักศึกษาเป็นบตั ร ATM ของธนาคารกรงุ เทพ 2.3.2 ในกรณที ี่บตั รหายตอ้ งแจ้งความทสี่ ถานตี ำ�รวจ แลว้ นำ�ใบแจง้ ความมาเขยี นคำ�ร้องขอมบี ตั รประจำ� ตัวซ่งึ เป็นบตั ร ATM ณ จดุ บริการ สำ�นักสง่ เสรมิ วชิ าการและงานทะเบียนแล้วจึงไปตดิ ตอ่ ขอทำ�บตั ร ณ ธนาคารกรงุ เทพ พร้อมชำ�ระคา่ ธรรมเนยี มทำ�บตั รใหม่ สมุดบญั ชเี ดิม + บตั รประชาชน 2.4 การประมวลผลการเรียนของนักศึกษาเป็นรายภาคการศึกษา ซ่ึงนักศึกษาสามารถตรวจสอบผ่านระบบ บรหิ ารการศึกษา (http://academic.dusit.ac.th) 2.5 ให้บรกิ ารข้อมูลขา่ วสาร สนับสนนุ กิจกรรมการเรียนการสอนของมหาวิทยาลยั เชน่ ผา่ น Intranet และ Internet ทางเวบ็ ไซต์ของสำ�นักสง่ เสรมิ วชิ าการและงานทะเบียน (http://regis.dusit.ac.th) 2.6 การตรวจสอบการสำ�เร็จการศึกษา นักศึกษาดำ�เนินการยื่นคำ�ร้องขอสำ�เร็จการศึกษาในภาคการศึกษา สดุ ทา้ ยทสี่ ำ�เรจ็ การศกึ ษา ใหน้ กั ศกึ ษายน่ื คำ�รอ้ งขอสำ�เรจ็ การศกึ ษา ผา่ นระบบบรหิ ารการศกึ ษา (http://academic.dusit. ac.th) พร้อมแนบ เอกสารประกอบตามทป่ี ระกาศมหาวิทยาลยั ฯ กำ�หนด และตรวจสอบข้อมูลดังตอ่ ไปน้ี 2.6.1 ตรวจสอบชือ่ -สกุล ยศ (ถา้ มี) วนั เดือน ปเี กดิ และวุฒกิ ารศึกษาเดมิ ใหถ้ กู ตอ้ งตรงตามหลกั ฐาน ทใ่ี ห้ไวก้ บั มหาวทิ ยาลยั เมอื่ เขา้ เรียน 2.6.2 แนบรูปถ่ายขนาด 3 x 4 เซนติเมตร สวมชุดครุยวิทยฐานะจำ�นวน 2 รูป สำ�หรับสำ�นักส่งเสริม วชิ าการและงานทะเบียนใชต้ ดิ ใบรับรองคุณวฒุ ิและใบรายงานผลการศึกษา 2.6.3 ตรวจสอบขอ้ ความบนใบปะหนา้ แบบคำ�รอ้ งทพ่ี มิ พอ์ อกมาจากระบบบรหิ ารการศกึ ษาเมอ่ื ยนื่ คำ�รอ้ ง เรยี บรอ้ ยแล้ว นำ�ส่งอาจารย์ทีป่ รกึ ษาตามเวลาทก่ี ำ�หนดในประกาศมหาวทิ ยาลัยฯ 3. งานจัดการเรยี นการสอนและสง่ เสริมวชิ าการ 3.1 การจัดรายวิชาหลักสูตรหมวดวิชาศึกษาท่ัวไปให้เป็นไปตามแผนการเปิดรายวิชาของหลักสูตร เพื่อให้ นกั ศกึ ษาลงทะเบยี นให้ครบตามโครงสร้างของหลกั สูตรแต่ละหลักสตู ร 3.2 การจดั สรรหอ้ งเรยี น และการอนญุ าตใหใ้ ชห้ อ้ งเรยี นเพอ่ื ใหก้ ารใชห้ อ้ งเรยี นเปน็ ไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ยและ เกดิ ประสิทธิภาพ 3.3 การแก้ไขข้อมูลตารางเรียนตารางสอนและชื่ออาจารย์ผู้สอนท่ีหลักสูตรต่างๆ ทำ�บันทึกข้อความมาแก้ไข ผ่านระบบบริหารการศกึ ษา (http://academic.dusit.ac.th) 3.4 นกั ศกึ ษาชน้ั ปที ่ี 1 ลงทะเบยี นใหค้ รบตามจำ�นวนหนว่ ยกติ ตามทหี่ ลกั สตู รของแตล่ ะหลกั สตู รกำ�หนดไวใ้ น แต่ละภาคการศึกษา นักศึกษาชน้ั ปที ี่ 2 เป็นต้นไป ลงทะเบียนเรียนได้ 9 - 22 หน่วยกิต สำ�หรับภาคการศกึ ษาปกตแิ ละ ไมเ่ กิน 9 หน่วยกติ สำ�หรับภาคการศึกษาฤดรู ้อน นกั ศกึ ษาตอ้ งลงทะเบียนใหเ้ สร็จส้ิน ภายใน 14 วัน นับจากวันเปดิ ภาค การศกึ ษาปกติ หรือ ภายใน 7 วัน นบั จากวันเปดิ ภาคการศึกษาฤดูร้อน 3.5 การลงทะเบียนล่าชา้ กว่ากำ�หนดตามประกาศมหาวิทยาลัยฯ นักศึกษา ย่ืนคำ�รอ้ งขอลงทะเบียนล่าชา้ โดย ผา่ นความเหน็ ชอบจากอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา และอาจารยผ์ สู้ อนสง่ มายงั สำ�นกั สง่ เสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี น ระยะเวลาตาม ปฏทิ นิ มหาวิทยาลยั ฯ กำ�หนด และต้องชำ�ระเงนิ ค่าธรรมเนยี ม 500 บาท 3.6 การขอสอบเนอ่ื งจากขาดสอบปลายภาค นกั ศกึ ษายนื่ ขาดสอบในรายวชิ าทต่ี นเองขาดสอบปลายภาคผา่ น ระบบบริหารการศกึ ษา (http://academic.dusit.ac.th) ตามระยะเวลาท่ีกำ�หนดไวใ้ นประกาศมหาวทิ ยาลยั ฯ พร้อมชำ�ระ เงนิ คา่ ขาดสอบ สำ�เนาคำ�รอ้ งพรอ้ มใบเสรจ็ สง่ มายงั สำ�นกั สง่ เสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี น และรบั ทราบกำ�หนดวนั ประกาศ ตารางสอบเพอ่ื มาสอบตามวนั และเวลาทก่ี ำ�หนด หากไมม่ าตามวนั และเวลาทกี่ ำ�หนดตารางสอบ ขาดสอบถอื วา่ นกั ศกึ ษา สละสิทธิ์ ทางมหาวทิ ยาลัยจะไมด่ ำ�เนนิ การจัดสอบใหอ้ ีกในภาคการศึกษาดังกลา่ ว 27

28

29

รหัสประจ�ำ ตวั นักศึกษา รหัสประจำ�ตัวนนกั ศึกษาเปน็ ตวั เลข 13 หลัก ปที ่ีเขา้ ศกึ ษา รหัสแทนค่าระดบั ,ประเภท,ระบบ,ศนู ย์ ลำ�ดับท่ี 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 ภาคท่ีเข้าศึกษา สาขาวชิ า หลักที่ 1-2 หมายถึง ปกี ารศึกษาทม่ี ารายงานตัวเข้าเปน็ นกั ศกึ ษา หลักท่ี 3 หมายถงึ ภาคทเี่ ข้าศกึ ษา หลักที่ 4-7 หมายถึง รหัสแทนค่าระดับการศกึ ษา, ประเภทนักศกึ ษา, เวลาเรยี น, ระบบการเรียน, ศูนย์การศกึ ษา หลกั ท่ี 8-10 หมายถงึ สาขาวชิ า หลักที่ 11-13 หมายถงึ ลำ�ดับที่ ปกี ารศึกษา (หลกั ท่ี 1-2) ใช้เลข 2 หลักทา้ ยของปีการศึกษาทม่ี ารายงานตวั เป็นนักศึกษา เชน่ เขา้ มา รายงานตวั ปกี ารศึกษา 2557 จะมรี หสั หลักท่ี 1-2 เป็น 57 ภาคที่เขา้ ศึกษา (หลกั ท่ี 3) ใช้เลข 1 หลกั เชน่ รายงานตวั ภาคการศกึ ษาที่ 1 จะมีรหสั หลักที่ 3 เป็น 1 รหสั แทนคา่ (หลกั ท่ี 4-7) ใช้เลข 4 หลกั เชน่ 1011 ภาคปกติ, ศนู ยก์ ารเรียน ในมหาวิทยาลยั ฯ 1056 ภาคปกติ อาคารเฉลิมพระเกียรติ ถ.สริ นิ ธร 1050 ภาคปกติ ศูนยก์ ารศึกษานอกที่ตั้ง สพุ รรณบุรี 1029 ภาคปกติ ศูนย์การศกึ ษานอกทีต่ ง้ั ตรัง 1011 ภาคปกติ ในมหาวิทยาลัยฯ 1080 ภาคปกติ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกทต่ี งั้ นครนายก 1022 ภาคปกติ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกที่ตั้ง หัวหนิ 1081 ภาคปกติ ศูนย์การศึกษานอกทต่ี ง้ั ลำ�ปาง สาขาวิชา (หลักท่ี 8-10) ใช้เลข 3 หลัก เชน่ 320 สาขาวิชาการศกึ ษาปฐมวัย ลำ�ดับท่ี (หลกั ที่ 11-13) ใช้เลข 3 หลกั ท้าย จำ�นวนนกั ศึกษาในสาขาวชิ า 30

ประเภทของปรญิ ญา แบง่ เป็น 13 ปริญญา 1. ศึกษาศาสตรบัณฑติ ศษ.บ. ปริญญาตรี หมายถงึ ปรญิ ญาศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ รบั จากผสู้ ำ�เรจ็ การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา ตอนปลายหรือเทียบเทา่ 2. วิทยาศาสตรบัณฑิต วท.บ. ปรญิ ญาตรี หมายถึง ปรญิ ญาวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ รบั จากผสู้ ำ�เรจ็ การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา ตอนปลายหรอื เทยี บเทา่ 3. ศลิ ปศาสตรบณั ฑติ ศศ.บ. ปรญิ ญาตรี หมายถงึ ปรญิ ญาศลิ ปศาสตรบัณฑติ รับจากผู้สำ�เรจ็ การศกึ ษามธั ยมศึกษา ตอนปลายหรือเทยี บเท่า 4. นิติศาสตรบณั ฑิต น.บ. ปรญิ ญาตรี หมายถึง ปริญญานิตศิ าสตรบณั ฑติ รบั จากผสู้ ำ�เรจ็ การศึกษามัธยมศกึ ษา ตอนปลายหรือเทยี บเท่า 5. บริหารธรุ กจิ บณั ฑติ บธ.บ. ปริญญาตรี หมายถงึ ปรญิ ญาบรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑติ รบั จากผสู้ ำ�เรจ็ การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา ตอนปลายหรอื เทยี บเท่า 6. บัญชีบณั ฑิต บช.บ. ปริญญาตรี หมายถงึ ปริญญาการบัญชีบัณฑิต รับผู้สำ�เร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอน ปลายหรือเทียบเทา่ 7. พยาบาลศาสตรบณั ฑติ พย.บ. ปริญญาตรี หมายถงึ ปรญิ ญาพยาบาลศาสตรบณั ฑติ รบั ผู้สำ�เร็จการศกึ ษามัธยมศกึ ษา ตอนปลายหรอื เทยี บเทา่ 8. นเิ ทศศาสตรบัณฑิต นศ.บ. ปรญิ ญาตรี หมายถงึ ปริญญานเิ ทศศาสตรบณั ฑิต รับผ้สู ำ�เรจ็ การศึกษามธั ยมศกึ ษา ตอนปลายหรอื เทยี บเท่า 9. รัฐศาสตรบัณฑติ ร.บ. ปรญิ ญาตรี หมายถงึ ปรญิ ญารัฐศาสตรบัณฑติ รบั ผ้สู ำ�เรจ็ การศกึ ษามัธยมศกึ ษา ตอนปลายหรอื เทยี บเทา่ 10. รฐั ประศาสนศาสตรบัณฑติ รป.บ. ปริญญาตรี หมายถงึ ปรญิ ญารฐั ประศาสนศาสตรบณั ฑติ รบั ผสู้ ำ�เรจ็ การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา ตอนปลายหรือเทียบเท่า 11. เทคโนโลยีบณั ฑิต ทล.บ. ปริญญาตรี หมายถึง ปริญญาเทคโนโลยีบัณฑิต รบั ผ้สู ำ�เรจ็ การศกึ ษามัธยมศกึ ษา ตอนปลายหรือเทยี บเทา่ 12. การจดั การบัณฑติ กจ.บ. ปริญญาตรี หมายถึง ปริญญาการจดั การบัณฑิต รบั ผ้สู ำ�เร็จการศึกษามัธยมศกึ ษา ตอนปลายหรอื เทยี บเทา่ 13. เศรษฐศาสตรบณั ฑิต ศ.บ. ปริญญาตรี หมายถงึ ปรญิ ญาเศรษฐศาสตรบัณฑติ รับผูส้ ำ�เรจ็ การศึกษามธั ยมศึกษา ตอนปลายหรอื เทยี บเทา่ 31

สาขาวิชา (หลกั ท่ี 8 - 10) หลกั สูตรพยาบาลศาสตรบณั ฑิต ใช้เลข 3 หลกั กำ�หนดดังนี้ 990 พยาบาลศาสตร์ หลกั สูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต หลกั สตู รบญั ชีบณั ฑิต 030 ศลิ ปศกึ ษา 820 การบัญชี 150 ฟสิ ิกส์ หลกั สูตรนติ ิศาสตรบณั ฑติ 180 คณติ ศาสตร์ 540 นิตศิ าสตร์ 320 การศกึ ษาปฐมวัย หลักสูตรนิเทศศาสตรบณั ฑิต 340 การประถมศึกษา 840 นเิ ทศศาสตร์ หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบัณฑติ หลักสตู รรฐั ศาสตรบัณฑิต 160 คหกรรมศาสตร์ 573 รัฐศาสตร์ 431 ออกแบบนทิ รรศการและการจัดแสดง หลักสตู รรัฐประศาสนศาสตรบัณฑติ 445 ธรุ กิจการโรงแรม 510 รฐั ประศาสนศาสตร์ 446 ธุรกิจการบิน หลกั สตู รการจัดการบัณฑิต 447 การจดั การงานบรกิ าร 803 การจดั การ (หลักสูตรนานาชาต)ิ หลักสูตรเศรษฐศาสตรบณั ฑิต 448 การท่องเท่ียว 815 เศรษฐศาสตรก์ ารวิเคราะห์และการประเมินสมัยใหม่ 460 ภาษาองั กฤษ หลกั สูตรเทคโนโลยีบัณฑติ 470 ภาษาองั กฤษธรุ กจิ 940 เทคโนโลยสี ารสนเทศ 490 บรรณารกั ษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ 724 เทคโนโลยอี าหาร 553 จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ ล�ำ ดับทขี่ องนกั ศกึ ษาในหลกั สูตร (หลกั ที่ 11 - 13) 732 ภาษาจนี ใช้เลข 3 หลักทา้ ย หมายถึง ลำ�ดบั จำ�นวนนักศึกษาในแตล่ ะ 480 ภาษาและการสื่อสาร หลักสูตร ยกเวน้ หลกั สตู รที่ระบุ หลักสตู รบรหิ ารธรุ กจิ บัณฑติ แขนงจะใชต้ วั เลขหลกั ที่ 8 เปน็ ตัว 796 การตลาด แยกแขนง 802 คอมพวิ เตอร์ธุรกิจ 804 การเงนิ 805 การจดั การทรพั ยากรมนษุ ย์ 806 ธรุ กิจระหวา่ งประเทศ 809 เลขานกุ ารทางการแพทย์ 814 การบริการลูกค้า 836 การจดั การธรุ กิจค้าปลีก หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ 601 วทิ ยาศาสตรเ์ ครอ่ื งสำ�อาง 604 สง่ิ แวดล้อมเมอื งและอุตสาหกรรม 605 อาชวี อนามยั และความปลอดภยั 660 วิทยาการคอมพวิ เตอร์ 721 เทคโนโลยกี ารประกอบอาหารและการบรกิ าร 731 เทคโนโลยีเคมี 606 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยสี ิ่งแวดลอ้ ม 661 วิทยาการข้อมูลและการวเิ คราะห์ 725 การกำ�หนดและการประกอบอาหาร 32

บทบาทและหน้าท่ีคณะอาจารยท์ ีป่ รกึ ษา และขนั้ ตอนการปฏิบตั ิทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั นกั ศกึ ษา บทบาทและหน้าที่ 1. หนา้ ท่ีด้านวชิ าการ 1.1 การลงทะเบียนและชำ�ระเงิน   (ก) ศกึ ษาหลักสตู รและแผนการเรียนเพื่อให้คำ�ปรึกษาได้อยา่ งถกู ตอ้ ง (ข) ให้คำ�แนะนำ�นักศึกษาในด้านท่ีเก่ียวข้องกับทางวิชาการ รวมทั้ง วิธีการลงทะเบียน การเพิ่ม-ถอน รายวชิ า การยกเลกิ รายวิชา การเทยี บโอนยกเวน้ รายวิชาและการชำ�ระเงนิ (ค) ใหค้ ำ�ปรกึ ษาและแนะนำ�เกีย่ วกบั ระเบียบ ข้อบงั คับตา่ งๆ ของมหาวทิ ยาลยั (ง) ใหแ้ นะนำ�ในการย่ืนขอสำ�เรจ็ การศึกษา 1.2 การเรยี นการสอน (ก) แนะนำ�วิชาเรียน การประพฤติปฏิบัติของนกั ศึกษาในระหว่างเรียน (ข) ใหค้ ำ�ปรึกษาเกี่ยวกบั การใช้ชวี ิตในรว้ั ของมหาวทิ ยาลัย (ค) แนะนำ�แหล่งวิทยาการ นวัตกรรมต่าง ๆ ท่ีช่วยให้นักศึกษาได้มีความรู้และติดตามความก้าวหน้า ในการเรยี นของนกั ศกึ ษา (ง) ประสานงานกับคณะและหลักสูตรในการจัดการเรียน อบรม หรือ สัมมนาเพ่ือส่งเสริมสมรรถนะ ในการปฏบิ ตั ิงานวิชาชีพของนกั ศึกษา 1.3 การประเมินผล (ก) ประเมินผลความกา้ วหน้าของการศกึ ษาของนกั ศกึ ษาจากการลงทะเบียนเรียนและผลการเรียน (ข) ตรวจสอบหลักฐานการชำ�ระเงินและรายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตรก่อนนักศึกษาย่ืนขอสำ�เร็จ การศกึ ษา 2. หน้าทีแ่ นะแนว 2.1 การรบั รายงานตัวนกั ศึกษาและการปฐมนเิ ทศ (ก) ใหค้ วามรว่ มมอื ในการรบั รายงานตวั นกั ศกึ ษาและการปฐมนเิ ทศนกั ศกึ ษา รวมทง้ั ปฐมนเิ ทศนกั ศกึ ษา ในกลมุ่ ทท่ี ำ�หนา้ ทเี่ ปน็ อาจารยท์ ีป่ รกึ ษา (ข) แนะนำ�การบริการและหนว่ ยงานต่าง ๆ ของมหาวทิ ยาลยั ใหน้ ักศึกษาทราบ 2.2 การให้คำ�ปรกึ ษาและชว่ ยเหลือระหวา่ งเรียน (ก) กำ�หนดเวลาและสถานทนี่ กั ศกึ ษาทจ่ี ะพบไดเ้ สมอ หรอื นดั หมายผา่ นระบบบรหิ ารการศกึ ษาสว่ นงาน ระบบอาจารยท์ ป่ี รึกษา (ข) ให้คำ�ปรกึ ษา แนะนำ�และช่วยเหลอื ตามสมควรแกก่ รณสี ำ�หรับนักศกึ ษาทีม่ ปี ญั หาส่วนตวั (ค) ส่งเสริม สนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมเพ่ือสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักศึกษา มหาวิทยาลัย และชุมชน (ง) ใชร้ ะบบบรหิ ารการศกึ ษาสว่ นงานอาจารยท์ ปี่ รกึ ษานดั หมายใหค้ ำ�ปรกึ ษา ตรวจสอบผลการเรยี นของ นักศกึ ษา 33

3. การให้ค�ำ ปรกึ ษาก่อนส�ำ เร็จการศึกษา 3.1 เข้าร่วมปจั ฉิมนิเทศนกั ศึกษา 3.2 ให้ความคิดเห็นหรือขอ้ เสนอแนะแนวทางในการประกอบอาชีพของนักศกึ ษา 3.3 ตรวจสอบโครงสรา้ งหลักสูตรและให้ค�ำ ปรึกษาแก่นกั ศกึ ษาในการยื่นขอส�ำ เร็จการศกึ ษา 3.4 ส่งเสรมิ ความผกู พนั ระหว่างนักศึกษากบั มหาวทิ ยาลัย 4. หน้าที่ดา้ นการบริหารงาน 4.1 เป็นตวั แทนของมหาวทิ ยาลัยในการพบปะและให้คำ�ปรึกษาแกน่ กั ศกึ ษาเพอ่ื ความเข้าใจในเรื่องต่างๆ เช่น (ก) ปรัชญา วิสัยทศั น์ พนั ธกจิ และนโยบายต่างๆ ของมหาวิทยาลัย (ข) ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ของมหาวิทยาลยั และขอ้ กำ�หนดของหลักสูตรท่ีนักศึกษาควรทราบและปฏิบัติ 4.2 มีส่วนร่วมกับนักศกึ ษาในการด�ำ เนินกิจกรรมต่างๆ 5. อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาจะตอ้ งรายงานผลการใหค้ �ำ ปรกึ ษารายภาคการศกึ ษา ประกอบการขอเบกิ คา่ ตอบแทน โดยพมิ พ์รายงานการใหค้ �ำ ปรกึ ษาจากระบบบรหิ ารการศึกษา (ระบบอาจารยท์ ่ีปรกึ ษา) 34

ส�ำ นักวิทยบริการ และเทคโนโลยสี ารสนเทศ Suan Dusit 35

ประกาศมหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ิต เรอ่ื ง การใชง านระบบเครือขายอินเทอรเน็ต พ.ศ. ๒๕๖๑ ------------------------------------------------- โดยทเ่ี ปน การสมควรออกประกาศเก่ียวกับการใชง านระบบเครือขา ยอินเทอรเนต็ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๓๑ (๑) แหงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสวนดุสิต พ.ศ. ๒๕๕๘ จึงออกประกาศไว ดงั ตอไปนี้ ขอ ๑ ประกาศน้ีเรียกวา “ประกาศมหาวิทยาลัยสวนดุสิต เร่ือง การใชงานระบบเครือขาย อนิ เทอรเ นต็ ” ขอ ๒ ประกาศน้ใี หใชบ ังคบั ตั้งแตวันประกาศเปนตนไป ขอ ๓ ในประกาศน้ี “มหาวิทยาลัย” หมายถงึ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต “เครอื ขายคอมพิวเตอร” หมายถงึ เครอื ขา ยคอมพวิ เตอรของมหาวิทยาลยั สวนดุสิต “ผูใช” หมายถึง บุคลากรของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต นักศึกษาของมหาวิทยาลัยสวนดุสิตหรือ บุคคลภายนอก ทีไ่ ดรับอนญุ าตใหใชระบบเครือขา ยของมหาวิทยาลัยได ขอ ๔ การใชง านระบบเครอื ขายอินเทอรเนต็ (๑) ผูใชจ ะตองกาํ หนดรหสั ผา นตามรูปแบบท่ีมหาวิทยาลัยกาํ หนดและจะตองเก็บรักษารหัสผา นเปน ความลับไมใหผ ูอ่ืนนาํ ไปใชได (๒) ผูใชตองไมนําสิทธิ์ของตัวเองไปใหผูอ่ืนและไมนําสิทธิ์ของผูอื่นมาใชในการเขาใชงานระบบ เครือขายของมหาวิทยาลัยและผูใชมีหนาที่ระมดั ระวังความปลอดภัยในการใชระบบเครือขาย ผานบัญชีผูใช ของตนเองและของไมอนุญาตใหผูอื่นใชงานผานบัญชีผูใชของตน โดยเด็ดขาด หากเกิดปญหาใด ๆ เจาของ บญั ชีตอ งเปนผรู ับผิดชอบทุกกรณี (๓) ผูใชตองไมเขาถึงขอมูลและระบบคอมพวิ เตอรท่ีมีมาตรการปองกันการเขาถึงโดยเฉพาะและ มาตรการนนั้ ไมไดมีไวส ําหรับตน (๔) ผูใชตอ งรับผิดชอบสําหรับเคร่ืองคอมพิวเตอรหรืออุปกรณของตนเองที่ใชเช่ือมตอกับระบบ เครือขายของมหาวิทยาลัย ใหปลอดภัยจากไวรัส/เวริ ม/โทรจัน/ฯลฯ โดยไมกอใหเกิดความเสียหายตอขอมูล และระบบเครือขา ยของมหาวิทยาลัย (๕) ผูใชจะตองไมกระทําการดักรับไวซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรของผูอ่ืนที่อยูระหวางการสงในระบบ คอมพวิ เตอร (๖) ผใู ชต อ งไมต ิดตั้ง เปลยี่ นแปลง แกไ ข ทําลาย ตอเติมขอ มลู และโปรแกรมโดยไมไดรบั อนุญาต (๗) ผูใชจะตอ งปฏิบัติตามกรอบแหงศลี ธรรม จรรยา อยางเครงครดั 36

(๘) ผูใชทุกคนจะตองรับผิดชอบในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยบนระบบเครือขายของ มหาวิทยาลัยโดยปฏิบัตติ ามประกาศของมหาวทิ ยาลยั อยา งเครง ครดั ขอ ๕ แนวทางในการปฏิบัติสาํ หรบั ผูใชง าน (๑) ผูใชทุกคนจะตองเก็บรักษารหัสผานไวเปนความลับและเปล่ียนรหัสผานอยางนอยทุก ๆ ๖ เดอื น ซง่ึ สามารถเปลยี่ นรหัสผา นดวยตนเองไดต ามชองทางที่มหาวิทยาลัยไดจ ัดบริการไวให หรอื หากประสงค จะใหสํานักวิทยบริการฯ อํานวยความสะดวกในการเปลี่ยนแปลงระหัสผานได ตองเสียคาบริการตามท่ี มหาวทิ ยาลัยกาํ หนด (๒) บคุ ลากรของมหาวิทยาลัย ควรตระหนักถงึ ความสําคญั ของ พรบ.วา ดวยการกระทาํ ผิดเก่ียวกับ คอมพิวเตอร พ.ศ.๒๕๕๐ และควรหลกี เลยี่ งท่ีจะไมเปดโอกาส ใหบ ุคคลอ่ืนมากระทาํ ความผิดในชื่อของตนเอง ดว ยการไมแบง ปน/ ใหย มื Username และ Password ใหผูอ ืน่ ใชง าน ควรเกบ็ เปน ความลับ เพอื่ ไมใหเ กิดการ กระทาํ ความผิดโดยรเู ทาไมถึงการณ หรือโดยไมเจตนา (๓) เครื่องคอมพวิ เตอรสวนบุคคลของผูใชควรติดต้งั โปรแกรมแอนตี้ไวรัส (Antivirus) และปรบั ปรุง โปรแกรมฐานขอมูลการปองกันไวรัสใหเปนปจจุบัน (Update database virus signature) และควรสแกน ไวรสั อยา งสม่าํ เสมอ (๔) เคร่ืองคอมพิวเตอรสวนบุคคลของผูใชควรปรับปรุงระบบปฏิบัติการใหเปนปจจุบันอยูเสมอ (Update Patch) เพ่ือไมใหเกิดความเสี่ยงในการถูกโจมตีจากผูไมประสงคดี ท่ีมาตามชองโหวของ ระบบปฏบิ ัติการที่ไมเปนปจจุบัน (๕) ตรวจสอบไฟลข อมูลจากส่ือขอมูลทุกประเภทที่ไดรับ หรอื ท่ีนาํ มาจากแหลง อ่ืนภายนอกทุกครั้ง กอนนาํ มาใชง านและกาํ จัดไวรัส หากตรวจพบไวรัสคอมพวิ เตอรอยูในขอมูลสวนหนง่ึ สว นใด จะตอ งรีบจัดการ ทาํ ลายไวรสั คอมพวิ เตอรหรือขอมูลนั้นทันที (๖) ในกรณที ี่ผูใชไดรบั จดหมายอิเล็กทรอนิกส ควรพจิ ารณาวา มาจากบคุ คลเชื่อถือไดหรือไม หรือที่ หวั เรอ่ื งของจดหมาย (Subject) หากไมแ นใจไมค วรเปด ไฟลอา น และควรลบทงิ้ ทันทีเพราะบางครงั้ ไฟลที่แนบ มาจะแอบแฝงไวรสั มาดว ย เม่ือเปดไฟลโดยรูเทาไมถึงการณจ ะทําใหค อมพวิ เตอรต ิดไวรัสได (๗) ผูใชพงึ ใชข อความสุภาพและถูกตองตามธรรมเนียมปฏิบตั ิในการใชระบบเครือขา ยโดยไมละเมิด สทิ ธผิ อู ่นื (๘) ผใู ชตอ งใชร ะบบเครือขายคอมพิวเตอรโดยไมม วี ัตถปุ ระสงคดังตอ ไปนี้ (ก) กระทําท่ีขดั ตอความสงบเรยี บรอย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน และความม่ันคงของ ชาติ (ข) เพอ่ื แสวงหาผลประโยชนที่ไมควรไดโ ดยชอบหรือการพาณิชยใด (ค) เพ่ือขดั ขวางการทํางานระบบเครือขายคอมพิวเตอรของมหาวิทยาลัย หรือเพื่อใหระบบ เครอื ขา ยคอมพิวเตอรของมหาวิทยาลยั ไมสามารถใชงานไดปกติ (๙) ผูใชพึงใชทรัพยากรเครือขายอยางมีประสิทธิภาพ เชน ไม download ไฟลท่ีมีขนาดใหญ ให หลีกเล่ียงการเลนเกมส ดูหนัง ฟงเพลง ออนไลน เพราะจะทําใหเกิดการจราจรทางคอมพิวเตอรสูงโดยไม จําเปน (๑๐) ทกุ คร้ังทีเ่ ลกิ ใชระบบเครือขา ยคอมพิวเตอร ผูใชจะตอ งออกจากระบบ (Log off) ทกุ คร้งั 37

ขอ ๖ ขอ หา ม (๑) หามมิใหผูใดใช จดหมายอิเล็กทรอนิกสของมหาวิทยาลัยไปในทางท่ีผิดกฎระเบียบหรือผิด กฎหมายที่กอใหเ กดิ ความเสยี หายแกบุคคลอ่นื (๒) หามมิใหผูใดพยายามเขาถึงจดหมายอิเล็กทรอนิกสของบุคคลอ่ืนโดยไมรับอนุญาตจากผูเปน เจาของหรือผูมีสิทธิในจดหมายอิเล็กทรอนิกสดังกลาว มิฉะน้ันจะถูกพิจารณาดําเนินการลงโทษตามระเบียบ ของมหาวิทยาลยั (๓) หามมิใหผูใดสงขอมูลหรือจดหมายอิเล็กทรอนิกสโดยปกปด หรือปลอมแปลงแหลงท่ีมาของการ สงขอมูล (๔) หา มมใิ หผูใดมีการสงหรือใชจดหมายอิเล็กทรอนิกสท่ีเปน สแปมเมล จดหมายลูกโซ ขม ขู ลามก อนาจารหรือไมสภุ าพ มหาวิทยาลัยขอสงวนสิทธ์ิในการไมรับและลบจดหมายอิเล็กทรอนิกส แบบกระจายหรือเชิงพาณิชย หรือที่มี ไวรัส/เวริ ม/จากภายนอกที่ผา นระบบเครอื ขา ยอินเทอรเน็ตของมหาวิทยาลัย ขอ ๗ ผูใดกระทําการฝาฝนประกาศฉบับนี้ โดยการท่ีนาจะเกิดความเสียหายแกมหาวิทยาลัย สาํ นกั วิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศจะพิจารณาระงับสิทธิ์การใชงานและผูกระทําตองถูกดําเนินการ ทางวนิ ัย รวมทงั้ จรรยาบรรณตามกฎระเบยี บของมหาวิทยาลยั ประกาศ ณ วันที่ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๖๑ (รองศาสตราจารยศิโรจน ผลพันธิน) อธิการบดีมหาวิทยาลัยสวนดุสิต 38

39

(๕) IT Academy บริการ e-learning สําหรับผลิตภัณฑใ นกลุม Microsoft Microsoft IT Academy (ITA) Program เปนการเรียนแบบ e-Learning จะเปนการเสริม ทกั ษะการเรียนรดู านเทคโนโลยี ซึง่ เปน พ้ืนฐานใหมีโอกาสประสบความสําเร็จในการประกอบอาชีพในโลกยุค เทคโนโลยีในปจจุบัน หากเม่ือนําความรูที่ไดจากการเรียน e-learning ของ ITA ไปสอบ Certification หาก สอบผานจะไดใบรับรองดิจิทอล (Ccertification) ซึ่งเปนเอกสารยืนยันถึงความชํานาญเฉพาะดานของ นักศกึ ษาในเร่ืองน้ัน ๆ ไดอ ีกดว ย วิธกี ารใชงานไดท่ี www.network.dusit.ac.th เลือก banner เรยี กใชงานท่ี www.ms.dusit.ac.th/itacademy (๖) Dream Spark บริการดาวนโหลดโปรแกรมกลุมผลติ ภัณฑ Microsoft ฟรี (๗) บบรริกกิ าารรดดาาววนนโ์ โหหลลดดAApppplilcicaatitoionnขขอองงMMicicrorossooftftออาาททิเชิเช่นนดดาาววนโโ์หหลลดดWWininddoowwss88//wwininddoowwss 1100//MMSSAAccecesss/ /ViVsisoi/oW/WininddoowwssSeSrevrevre2r 0210212/ S/QSLQSLerSveerrveฟrรีฟไรมี มไมีค่มาคีใชา่ จใชาจ้ยา่ ยแลแะลไะดไสดิท้สธทิ ์ิกธา์กิ ราใรชใชง้งาานน แแบบบบถถูกู ต้องตตาามมกกฎฎหหมามยายผ่านผโาปนรแโปกรมแกDรrมeamDreSapmarSkpเaปr็นkโปเปรแนกโรปมรสแ�ำ กหรบัมนสกัําศหึกรษับานในักรศะึกดษบั มาหใานวริทะยดาลับยั มทห่อี ายวูใ่ ิทนคยณาละัยวิททยี่าอศยาูใสนตครณ์ หะวลิทกั สยตู ารศเทาสคโตนรโลคยณสี าะรเสทนคเทโศนโลหยลีสกั าสรตู สรนคณเทติ ศศาสคตณร์ะวเพิศือ่วทก่ีนรักรศมึกศษาาสจตะรได คใ้ ชณ้งาะน คเณทิตคศโนาสโลตยรีด ้าเนพสอ่ื ทารนี่ สักนศเึกทษศา  จเพะ่ือไดกใาชรงพาันฒเนทาคคโนวาโลมยสีดามานารสถาแรสลนะทเทักศษะเพในือ่ การพสัฒร้านงสาครวรคาม์เทสคามโนาโรลถยแีไลดะ้อทยัก่าษงไะรใ้ขนีด กจาำ�รกสดัราจงสะรไดร้มคีโเอทกคาโสนใโชล้เยคีไรดื่อองยมาืองในไรกขาีดรจพําัฒกนัดาทจีห่ ะลไาดกมหีโอลกายาสตใชรเงคกรับื่อคงวมาือมใคนิดกสารร้าพงสัฒรนรคาท์ ดี่หงั ลนา้ันกทหาลงายMiตcrรoงsกoับft คจวึงาเมปคดิ ิดโสอรกา งสสใรหรน้ คกั  ศดกึังนษั้นาเทขา้ งถึงMเทicคrโoนsโoลfยtีจไดึงเโ้ ปดดยโไอมกเ่ สาสยี คให่านใชักจ้ ศา่ ึกยษใดาๆเขาทถั้งึงสเ้นิ ทคโนโลยี ไดโดยไมเสยี คาใชจายใด ๆ ท้ังสนิ้ ววิธิธกี ีกาารรใชใชง้งาานนไดไดท้ที่ w่ี wwwww.n.neettwwoorkrk.d.duussitit.a.acc.t.thh เลเอืลกือกbabnanenrer เรเรียยีกกใชใชง ้งาานนทที่ ี่ www.ms.dusit.ac.th/dreamspark 40

ประกาศมหาวทิ ยาลัยสวนดุสิต เร่ือง การใชเว็บไซตที่อยูภ ายใตการดาํ เนินงานของมหาวิทยาลัย โดยทีเ่ ปนการสมควรออกประกาศเก่ียวกบั การใชเว็บไซต (Website) ทอ่ี ยภู ายใตก ารดําเนินงานของ มหาวิทยาลัยอาศัยอํานาจตามความกฎหมายมาตรา ๓๑(๑) แหงพระราชบัญญัติมหาวทิ ยาลัยสวนดุสิต พ.ศ. ๒๕๔๘ จึงออกประกาศไว ดังตอไปน้ี ขอ ๑ ประกาศน้ีเรียกวา “ประกาศมหาวิทยาลัยสวนดุสิต เรื่อง การใชเว็บไซตท่ีอยูภายใตการ ดําเนนิ งานของมหาวิทยาลัย” ขอ ๒ ประกาศนใี้ หใชบ งั คบั ต้งั แตวันประกาศเปนตนไป ขอ ๓ เว็บไซตตาง ๆ จะตองไมเช่ือมโยงเน้ือหาในเว็บไซตหรือไมนําขอมูลท่ีไมเหมาะสมใสไวใน โฮมเพจ อาทเิ ชน (๑) ขอ ความท่ไี มส ุภาพ (๒) ตอ งเปนขอ มูลที่ไมข ดั ตอพระราชบญั ญตั ิลิขสทิ ธิแ์ ละทรัพยสินทางปญญา (๓) ไมน าํ เสนอภาพลามก อนาจาร (๔) ไมล งโฆษณาหรอื ขอมูลทางดา นการคา (๕) ไมน ําเสนอภาพท่ีไมเหมาะสม หรือขัดตอ ศีลธรรมประเพณีอันดงี ามของไทย (๖) จะตอ งไมล วงละเมิดสิทธิของผูอื่น ขอ ๔ เว็บไซตท่ีเปนของ อาจารย เจาหนาที่ และนักศึกษา ท่ีใชโฮสตของมหาวิทยาลัย ตองหม่ัน ตรวจสอบ Virus, Trojan Horse และ Malware บนเครอ่ื งคอมพิวเตอรท่ีใชในการพัฒนาเว็บไซตของตนเอง ใหเรียบรอยกอนทําการ Upload ขอมูล ท้ังนเี้ พื่อไมใหไวรัสแพรกระจายจากเคร่ืองแมขายเว็บโฮสต้ิงไปยัง เครอ่ื งคอมพิวเตอรผูเรยี กใชเวบ็ ไซตข องทา น ขอ ๕ หากพัฒนาเว็บไซต ดวย CMS ตาง ๆ (CMS: Content Management System ไดแก Mambo, Joomla, WordPress, Drupal เปนตน) ตองหมั่น Upload Patch ของโปรแกรม CMS ใหเปน ปจจุบัน เพ่ือไมใหเว็บไซตของทานมีชองโหว ทําใหผไู มประสงคดีเขามาทําลายเว็บไซตของทาน หรือเขามา แอบแฝงแทรก Code ในเว็บไซตข องทานใหมีการเชอ่ื มโยงไปท่ีที่มกี ารเผยแพรไวรัส ขอ ๖ ตองไม Save รหัสผานไวในโปรแกรมที่ใชในการ Upload File (FTP Client) เพราะจะเปน ชอ งทางใหผ ูไมประสงคดี สามารถเขาถงึ ขอ มลู เวบ็ ไซตข องทานได ขอ ๗ หากทางมหาวิทยาลัยตรวจพบวาเว็บไซตของทานเปนผูแพรกระจายไวรัส กระทําความ เสียหายแกชื่อเสียงและภาพลักษณของมหาวิทยาลัยไมวาทางใดก็ตาม อาทิเชน เม่ือมีการคนหาหนวยงาน มหาวิทยาลัย ผาน Web Search Engine (www.google.com) จะมีขอความเตือน “เว็บไซตน้ีอาจเปน 41

อนั ตรายตอคอมพิวเตอรของคุณ” แทรกอยูตามลิงคเว็บไซตตาง ๆ ของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยจะทําการ ปดเวบ็ ไซตข องทานโดยไมตองแจง ลว งหนา ประกาศ ณ วันที่ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๖๑ (รองศาสตราจารยศ ิโรจน ผลพันธิน) อธิการบดีมหาวทิ ยาลัยสวนดุสติ 42

ประกาศมหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต เรอ่ื ง การลงช่ือผูใชง านกอ นเขา ใชคอมพวิ เตอรและระบบเครือขาย ตามที่ พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๒๖ ผูใหบริการตองเก็บรักษาขอมูลของผูใชบริการเทาท่ีจําเปนเพ่ือใหสามารถระบุตัวผูใชบริการนับตั้งแตเริ่มใช บรกิ ารและตองเก็บรักษาไวเปนเวลาไมนอยกวาเกา สบิ วันตัง้ แตการใชบริการส้ินสุดลง นั้น เพื่อใหผูดูแลระบบสามารถจัดเก็บรักษาขอมูลของผูใชงานคอมพิวเตอรและระบบเครือขายไดตาม ขอกําหนดในพระราชบัญญัติดังกลาวขางตน มหาวิทยาลัยฯ จึงไดปรับเปล่ียนระบบการใชคอมพิวเตอรและ ระบบเครือขาย โดยผูใชบริการตองลงชื่อผูใชงาน (Log in) โดยปอนรหัสประจําตัว (Username) และ รหสั ผาน (Password) กอนใชงานทกุ ครัง้ ประกาศ ณ วันท่ี กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๖๑ (รองศาสตราจารยศ ิโรจน ผลพันธิน) อธิการบดีมหาวิทยาลยั สวนดุสติ 43

ประกาศมหาวทิ ยาลัยสวนดุสิต เร่อื ง ระเบียบการเขาใชบ ริการหองสมุดสํานักวทิ ยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงประกาศมหาวิทยาลัยสวนดุสิตวาดวยการใชบริหารหองสมุดสํานัก วิทยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพอื่ ใหเปนไปอยา งเหมาะสม อาศัยอํานาจตามความกฎหมายมาตรา ๓๑(๑) แหงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสวนดุสิต พ.ศ. ๒๕๔๘ อธิการบดจี ึงออกระเบยี บไว ดงั ตอไปนี้ ขอ ๑ ประกาศน้ีเรียกวา “ประกาศมหาวิทยาลัยสวนดุสิต วาดวย ระเบียบการเขาใชบริการ หองสมุดสาํ นกั วิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ พ.ศ.๒๕๖๐” ขอ ๒ ประกาศน้ใี หใชบงั คับตั้งแตวันประกาศเปนตนไป ขอ ๓ ใหยกเลิก ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต วาดวย การเขาใชบริการหองสมุดสํานักวิทยบริการ และเทคโนโลยีสารสนเทศ พ.ศ.๒๕๕๐ ขอ ๔ ในประกาศน้ี “มหาวทิ ยาลัย” หมายความวา มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ “อธิการบด”ี หมายความวา อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลัยสวนดุสติ “หองสมุด” หมายความวา หองสมุดท่ีสังกัดสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต “ผูอํานวยการ” หมายความวา ผูอาํ นวยการสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยสี ารสนเทศ “หวั หนาหองสมุด” หมายความวา ผทู ่ไี ดร บั การแตงตงั้ ใหดาํ รงตําแหนงหัวหนาฝา ยหองสมดุ “นกั ศึกษา” หมายความวา นกั ศกึ ษาของมหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ ทุกระดับการศึกษา “ศษิ ยเกา” หมายความวา ผสู าํ เรจ็ การศึกษาจากมหาวิทยาลัยสวนดุสิต “บุคคลเกษียณอายุราชการ” หมายความวา บุคคลสังกัดมหาวิทยาลัยสวนดุสิตท่ีเกษียณอายุ ราชการ หรือลาออกจากราชการ ณ มหาวทิ ยาลัยสวนดุสิต โดยไดรบั บําเหน็จ / บํานาญ “บุคคลภายใน” หมายความวา นักศกึ ษา บุคลากร มหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ติ “บคุ คลภายนอก” หมายความวา ผมู ไิ ดเปน นักศึกษา บคุ ลากร มหาวิทยาลยั สวนดสุ ิต “ทรพั ยากรสารสนเทศ” หมายความวา หนังสอื และทรัพยากรสารสนเทศอื่นทุกชนิดที่จัดใหบ ริการ ในหอ งสมุด ไมวาจะปรากฏในรูปของวัตถุ แผนที่ แผนผัง แผนภูมิ แถบ หรอื วสั ดุบันทึกภาพ เสียง หรอื ขอมูล ใด ๆ “คาบริการอื่น ๆ ” หมายความวา คาบริการที่ผูใชบริการตองจายเงินตามเง่ือนไขของแตละการ ใหบริการ 44

ขอ ๕ การใชบริการหองสมดุ (๑) นักศึกษา บุคลากรของมหาวิทยาลัย ตอ งแสดงบัตรประจําตัวตอเจาหนาที่ทุกคร้ังกอนเขาใช บริการ (๒) เคารพตอสถานที่ รักษามารยาท ความสงบเรียบรอย ไมสงเสียงดัง หรือกระทําการใด ๆ อัน เปน ทร่ี ําคาญแกผอู ่ืน (๓) หามขีดเขียน ฉีก ตัด พับ หรือทําใหเกิดความเสียหายดวยประการใด ๆ แกทรัพยากร สารสนเทศ (๔) ใหด แู ลทรพั ยสินและของมคี าของตนเอง หอ งสมดุ จะไมรับผิดชอบตอกรณสี ญู หายหรือเสยี หาย ทรพั ยสนิ นนั้ ขอ ๖ ผูใชบริการหองสมุดตองปฏิบัติตาม ประกาศ กฎ ระเบียบ หรือคําส่ังของหองสมุด โดย เครง ครดั หากฝา ฝน หรือไมปฏิบัติตาม ผอู ํานวยการ หัวหนาหองสมุด บรรณรักษ เจา หนา ทปี่ ระจาํ หองสมุด มี อาํ นาจพิจารณาดําเนนิ การ ดังตอ ไปน้ี (๑) ตกั เตือน (๒) เชญิ ใหอ อกนอกหองสมุด (๓) ตดั สทิ ธกิ ารใชห อ งสมุด หรือตดั สทิ ธกิ ารยมื (๔) ดําเนินการตามขั้นตอนเพ่ือใหมกี ารพิจารณาโทษทางวินัย หรือทางอาญา หรือใหมีการรับผิด ตามกฎหมายตอไป ขอ ๗ ผูใชบริการที่เปนนักศึกษาตองแตงกายใหถูกตองตามระเบียบของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต กาํ หนด บุคคลภายนอกแตงกายสุภาพ โดยหา มสวมกางกางขาส้ัน และหามสวมเส้ือไมม ีแขน ขอ ๘ หากผูใชบริการเปนบุคคลภายนอกตองลงทะเบียนขอเขาใชบริการทุกคร้ังกับเจาหนาที่ผู ใหบ รกิ ารโดยมีอตั ราคาบริการตา ง ๆ ดงั น้ี (๑) เขาใชบริการอานหนังสือ และอานวารสาร คิดเปนเงิน ๒๐ บาทตอครั้ง หรือสมัครสมาชิก ชาํ ระคาสมาชิกเปนรายเดือน เปน เงิน ๒๐๐ บาทตอเดอื น (๒) ใชง านเครอื่ งคอมพวิ เตอรพรอ มอนิ เทอรเ นต็ เปนเงิน ๒๐ บาท ตอ วัน (๓) บริการสมาชกิ เขาใชบรกิ ารระบบเครือขายคอมพวิ เตอรของมหาวทิ ยาลยั เปนรายเดือน เปน เงิน ๓๕๐ บาทตอ เดอื น ขอ ๙ ไมอนุญาตใหผูใชบริการนําหนังสือทุกชนิดออกนอกอาคารกอนผานขั้นตอนการยืมหนังสือ หากเจา หนาทพี่ บเห็นวา ไมปฏิบตั ติ ามจะปรับทันทีเปนจาํ นวนเงนิ ๑๐ เทาของราคาหนังสอื ขอ ๑๐ หามสงเสียงดังและควรสํารวมกิริยามารยาทในการเขาใชบริการอาคารสํานักวิทยบริการ และเทคโนโลยีสารสนเทศ 45

ขอ ๑๑ หามนําอาหาร และเครื่องด่ืมทุกประเภทเขามาในสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยี สารสนเทศ หากผใู ชบริการตองการอาหารวา งและเคร่ืองด่ืมสามารถใชบริการไดทห่ี อง Cafeteria อาคารวิทย บริการ ชน้ั ๒ ขอ ๑๒ หามผูใชบริการเลนเกมทุกชนิดบนเคร่ืองคอมพิวเตอรภายในอาคารสํานักวิทยบริการ หาก เจาหนา ท่ีพบเห็นมีโทษปรับทันทเี ปนเงินไมเกิน ๕๐๐ บาท ไมวา กรณใี ด ๆ ทงั้ สนิ้ ขอ ๑๓ หามติดตั้งโปรแกรมใด ๆ ทั้งสนิ้ ลงในเครื่องคอมพวิ เตอรภายในอาคารสาํ นักวิทยบริการและ เทคโนโลยสี ารสนเทศ หากเจาหนา ท่ีพบเห็น มโี ทษปรับทันทีเปนเงินไมเกิน ๕๐๐ บาท ไมว า กรณใี ด ๆ ทงั้ สิน้ ขอ ๑๔ หามใชสถานที่ภายในสาํ นกั วทิ ยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศในการสอนพเิ ศษ ประกาศ ณ วันที่ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๖๑ (รองศาสตราจารยศ ิโรจน ผลพันธิน) อธิการบดีมหาวทิ ยาลยั สวนดุสิต 46

กองทุนเงินให้ก้ยู ืม เพื่อการศกึ ษา (กยศ.) Suan Dusit 47

หลกั เกณฑ์การให้กูย้ ืมเงนิ ของกองทุนให้กู้ยมื เพ่อื การศกึ ษา (กยศ.) คุณลักษณะที่ 1 ประกาศคณะกรรมการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพ่ือการศึกษาเร่ือง คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของนักเรียนหรือ นกั ศกึ ษาท่ีขาดแคลนทนุ ทรพั ยซ์ ึง่ จะขอกู้ยืมเงนิ กองทุนเงินให้กยู้ ืมเพอ่ื การศึกษา ผขู้ อกูย้ มื เงนิ คณุ ลักษณะที่ 1 จะต้องอยู่ ในหลกั เกณฑแ์ ละคุณสมบตั ิดังต่อไปนี้ 1. เป็นนักเรยี นหรือนักศึกษาที่ขาดแคลนทนุ ทรพั ย์ ซง่ึ จะขอกู้ยืมเงินเพ่อื การศึกษา นอกจากจะตอ้ งศกึ ษาอยใู่ น สถานศกึ ษาท่รี ่วมด�ำเนนิ งานกองทุน และต้องมีสัญชาติไทยตามที่กำ� หนดไวใ้ นมาตร 39 แห่งพระราชบัญญัติกองทนุ เงิน ให้กยู้ มื เพ่ือการศึกษา พ.ศ. 2560 แลว้ จะต้องมีคณุ สมบตั แิ ละไมม่ ีลักษณะตอ้ งหา้ ม ดงั นี้ 1.1 เปน็ ผทู้ ม่ี อี ายุในขณะท่ขี อกู้ยืมเงินกองทนุ โดยเม่อื นบั รวมกับระยะเวลาปลอดหนี้ 2 ปีและระยะเวลาผอ่ น ชำ� ระอกี 15 ปี รวมกนั แล้วตอ้ งไมเ่ กิน 60 ปี 1.2 เป็นผู้ที่เข้าศึกษาในระดับการศึกษามัธยมปลาย (สายสามัญและสายอาชีพ) ระดับอาชีวศึกษา (ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชนั้ สูง อนุปรญิ ญา/ปริญญาตรี) หรอื ระดบั อดุ มศกึ ษา (อนปุ ริญญา/ปริญญาตรี) ท้งั ภาคปกติ และ ภาคพเิ ศษ 1.3 เป็นผู้ที่มีรายได้ต่อครอบครัว ไม่เกิน 200,000 บาทต่อปี ทั้งน้ี รายได้ต่อครอบครัวให้พิจารณาจาก หลกั เกณฑข์ อ้ ใดข้อหนงึ่ ดังน้ี (1) รายได้รวมของนกั เรียนหรือนกั ศกึ ษาผูข้ อกยู้ มื รวมกับรายไดข้ องบดิ ามารดาในกรณที ีบ่ ิดามารดาเปน็ ผ้ใู ชอ้ �ำนาจปกครอง (2) รายไดร้ วมของนกั เรยี นหรอื นกั ศกึ ษาผขู้ อกยู้ มื รวมกบั รายไดข้ องผปู้ กครองในกรณที ผี่ ใู้ ชอ้ ำ� นาจปกครอง มใิ ช่บิดามารดา (3) รายได้รวมของนักเรียนหรือนักศึกษาผู้ขอกู้ยืม รวมกับรายได้ของคู่สมรสในกรณีผู้ขอกู้ยืมได้ท�ำการ สมรสแล้ว ในการพจิ ารณารายไดค้ รอบครวั ดงั กลา่ ว ใหน้ กั เรยี นหรอื นกั ศกึ ษาผขู้ อกยู้ มื แนบหลกั ฐาน ใบสรปุ ยอดเงนิ เดอื น ทไ่ี ดร้ บั ทงั้ เดอื น (สลปิ เงนิ เดอื น) เวน้ แตค่ รอบครวั ทไ่ี มม่ รี ายไดป้ ระจำ� ใหจ้ ดั หาเจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั เจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ผรู้ บั บำ� เหนจ็ บ�ำนาญ สมาชิกสภาเขต สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร หรือหัวหน้าสถานศึกษาท่ีนักเรียน หรือนกั ศกึ ษาผูข้ อกยู้ มื ศึกษาอยู่ เป็นผรู้ ับรองรายได้ 1.4 เป็นผูท้ มี่ ีคณุ สมบัติครบถว้ นตามระเบยี บหรอื ประกาศการสอบคัดเลอื กบคุ คลเขา้ ศกึ ษาในสถานศกึ ษา 1.5 เป็นผู้มผี ลการเรยี นดีหรือผา่ นเกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผลของสถานศึกษา 1.6 เป็นผู้มีความประพฤติดี ไม่ฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับของสถานศึกษาข้ันร้ายแรง หรือไม่เป็นผู้ที่มีความ ประพฤติเสอื่ มเสีย เช่น หมกมุน่ ในการพนัน เสพยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ ดม่ื สุราเปน็ อาจณิ หรอื เที่ยวเตร่ในสถานบันเทิงเรงิ รมย์ เปน็ อาจณิ เป็นต้น 1.7 เป็นผทู้ ท่ี �ำประโยชนต์ อ่ สงั คมหรือสาธารณะในระหวา่ งปกี ารศึกษาก่อนหนา้ ปีการศกึ ษาที่จะขอกู้ยมื โดย มหี ลกั ฐานการเขา้ รว่ มโครงการ/กจิ กรรมทมี่ ปี ระโยชนต์ อ่ สงั คมหรอื สาธารณะทนี่ า่ เชอื่ ถอื ตามจำ� นวนชว่ั โมงทกี่ ำ� หนดสำ� หรบั ผ้ขู อกยู้ มื เงนิ แต่ละกล่มุ ดังต่อไปน้ี (1) กรณีเป็นผู้กู้ยืมเงินรายใหม่ หรือเป็นผู้กู้ยืมเงินรายเก่าเปลี่ยนระดับการศึกษาที่ศึกษาในระดับ อนุปรญิ ญาหรอื ปริญญาตรี ไม่ก�ำหนดจ�ำนวนช่ัวโมง (2) กรณเี ป็นผู้ก้ยู ืมเงนิ รายเก่าเลื่อนช้นั ปีทุกระดบั การศึกษา ไม่นอ้ ยกวา่ 36 ชั่วโมง 48

การทำ� ประโยชนต์ อ่ สงั คมหรอื สาธารณะตามวรรคหนง่ึ หมายถงึ การบำ� เพญ็ ตนใหเ้ ปน็ ประโยชนต์ อ่ ชมุ ชน สงั คม หรือประเทศชาติในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อช่วยขัดเกลาจิตใจให้มีความเมตตากรุณามีความเสียสละและมีจิตสาธารณะ เพ่อื ชว่ ยสรา้ งสรรค์สังคมหรอื สาธารณะให้อยรู่ ว่ มกนั อย่างมคี วามสุข ซง่ึ จะตอ้ งไม่เปน็ สว่ นหน่งึ ของการเรียนการสอนและ ไมไ่ ด้รับคา่ ตอบแทนในลกั ษณะการจา้ ง 1.8 ไมเ่ คยเปน็ ผู้ส�ำเรจ็ การศึกษาระดบั ปริญญาตรีในสาขาใดๆ มาก่อน 1.9 ไมเ่ ปน็ ผ้ปู ฏิบตั ิงานและรับเงนิ เดือนหรอื ค่าจา้ งประจำ� ในหน่วยงานของรฐั หรือเอกชนในลกั ษณะเตม็ เวลา 1.10 ไม่เป็นบคุ คลล้มละลาย 1.11 ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ได้รับโทษจ�ำคุกโดยค�ำพิพากษาถึงที่สุดให้จ�ำคุก เว้นแต่เป็นโทษส�ำหรับ ความผิดทีไ่ ด้กระท�ำโดยประมาทหรอื ความผดิ ลหโุ ทษ 1.12 ไม่เคยเปน็ ผทู้ ่ีผิดนดั ช�ำระหนก้ี ับกองทนุ เวน้ แต่จะไดช้ �ำระหนด้ี งั กลา่ วครบถว้ นแลว้ 2. ในกรณที ม่ี ปี ญั หาในการปฏบิ ตั ติ ามประกาศน้ี ใหผ้ จู้ ดั การกองทนุ เงนิ ใหก้ ยู้ มื เพอื่ การศกึ ษามอี ำ� นาจในการตคี วาม และวนิ จิ ฉยั ชีข้ าด และรายงานผลใหค้ ณะกรรมการทราบ 3. ประกาศน้ใี หใ้ ช้บังคับกบั การดำ� เนินงานกองทนุ ตัง้ แต่ปกี ารศกึ ษา 2561 เป็นตน้ ไป คณุ ลักษณะท่ี 2 ตามประกาศคณะกรรมการกองทนุ เงนิ ใหก้ ยู้ มื เพอ่ื การศกึ ษาเรอื่ ง คณุ สมบตั แิ ละลกั ษณะตอ้ งหา้ มของนกั เรยี นหรอื นกั ศกึ ษาทศี่ กึ ษาในสาขาวชิ าทเ่ี ปน็ ความตอ้ งการหลกั ซง่ึ มคี วามชดั เจนของการผลติ กำ� ลงั คนและมคี วามจำ� เปน็ ตอ่ การพฒั นา ประเทศซึ่งจะขอกู้ยืมเงินกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา ผู้ขอกู้ยืมเงินคุณลักษณะท่ี 2 จะต้องอยู่ในหลักเกณฑ์และ คุณสมบตั ิดังต่อไปนี้ 1. นกั เรยี นหรอื นกั ศกึ ษาทศ่ี กึ ษาในสาขาวชิ าทเี่ ปน็ ความตอ้ งการหลกั ซง่ึ มคี วามชดั เจนของการผลติ กำ� ลงั คนและมี ความจำ� เปน็ ตอ่ การพฒั นาประเทศ ซงึ่ จะขอกยู้ มื เงนิ คา่ เลา่ เรยี น คา่ ใชจ้ า่ ยทเี่ กย่ี วเนอื่ งกบั การศกึ ษา นอกจากจะตอ้ งศกึ ษา อยใู่ นสถานศกึ ษาทรี่ ว่ มดำ� เนนิ งานกองทนุ และตอ้ งมสี ญั ชาตไิ ทยตามทก่ี ำ� หนดไวใ้ นมาตรา 39 แหง่ พระราชบญั ญตั กิ องทนุ เงินให้กู้ยืมเพอื่ การศึกษา พ.ศ. 2560 แลว้ จะต้องมีคุณสมบัตแิ ละไมม่ ีลกั ษณะตอ้ งหา้ ม ดงั น้ี 1.1 เป็นผูท้ ่มี ีอายุไม่เกิน 30 ปี ในปีการศึกษาทีย่ ืน่ ค�ำขอกยู้ มื เงนิ กองทุน 1.2 เปน็ ผูท้ ีเ่ ขา้ ศกึ ษาในระดบั การศกึ ษาและหลักสตู ร/ประเภทวชิ าและสาขาวิชา ดงั นี้ (1) ระดบั การศกึ ษาอนปุ รญิ ญา ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชนั้ สงู (ปวส.) หรอื เทยี บเทา่ ระดบั ปรญิ ญาตรหี รอื เทยี บเทา่ (2) หลกั สตู ร/ประเภทวิชาและสาขาวชิ าเปน็ ไปตามประกาศท่ีคณะกรรมการก�ำหนด 1.3 เปน็ ผทู้ มี่ คี ณุ สมบตั คิ รบถว้ นตามระเบยี บหรอื ประกาศการสอบคดั เลอื กบคุ คลเขา้ ศกึ ษาในสถาน ศกึ ษา 1.4 เป็นผู้มีผลการเรยี นดหี รอื ผ่านเกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผลของสถานศึกษา 1.5 เปน็ ผมู้ คี วามประพฤตดิ ี ไมฝ่ ่าฝืนระเบยี บขอ้ บังคบั ของสถานศกึ ษาข้ันรา้ ยแรง หรือไมเ่ ปน็ ผูท้ มี่ ี ความประพฤตเิ สอื่ มเสยี เชน่ หมกมนุ่ ในการพนนั เสพยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ ดม่ื สรุ าเปน็ อาจณิ หรอื เทยี่ วเตรใ่ นสถานบนั เทงิ เรงิ รมย์เปน็ อาจณิ เป็นตน้ 1.6 เป็นผู้ที่ท�ำประโยชน์ต่อสังคมหรือสาธารณะในระหว่างปีการศึกษาก่อนหน้าปีการศึกษาท่ีจะขอ กู้ยืม โดยมีหลักฐานการเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมท่ีมีประโยชน์ต่อสังคมหรือสาธารณะท่ีน่าเชื่อถือตามจ�ำนวนชั่วโมงที่ ก�ำหนดส�ำหรบั ผู้ขอก้ยู ืมเงนิ แต่ละกลมุ่ ดงั ต่อไปน้ี (1) กรณเี ปน็ ผกู้ ยู้ มื เงนิ รายใหม่ หรอื เปน็ ผกู้ ยู้ มื เงนิ รายเกา่ เปลย่ี นระดบั การศกึ ษาทศ่ี กึ ษาในระดบั 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook