Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือหลักสูตร โรงเรียนการเรือน ปี 2563

คู่มือหลักสูตร โรงเรียนการเรือน ปี 2563

Published by Regis, 2020-07-02 05:57:54

Description: คู่มือหลักสูตร โรงเรียนการเรือน ปี 2563

Search

Read the Text Version

ท ย า ลั ย ส ว ท ย า ลั ย ส ว ม ห า ิว ม ห า ิว น ดุ ส น ดุ ส ท ย า ลั ย ส ว ม ห า ิว ม ห า ิวท ย า ลั ย ส วน ดุ สิ ต น ดุ สิ ต

2

ส า ร บั ญ 5 ประวตั ิความเป็นมาโรงเรยี นการเรอื น 10 รายนามผูบ้ รหิ ารและอาจารย์ หลักสตู รของโรงเรียนการเรือน หลกั สูตรเทคโนโลยีบณั ฑิต 15 สาขาวชิ าเทคโนโลยีอาหาร ระดับปรญิ ญาตรี 20 แผนการเรยี นตลอดหลกั สตู ร สาขาวิชาเทคโนโลยอี าหาร 23 คำ�อธิบายรายวิชา สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต 37 สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์ ระดับปริญญาตรี 42 แผนการเรยี นตลอดหลกั สตู ร สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์ 44 คำ�อธิบายรายวิชา สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ หลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑติ 60 สาขาวชิ าเทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบรกิ าร ระดบั ปริญญาตรี 65 แผนการเรียนตลอดหลักสูตร สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารประกอบอาหารและการบริการ 68 คำ�อธิบายรายวชิ า สาขาวชิ าเทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบรกิ าร 86 สาขาวชิ าการกำ�หนดและการประกอบอาหาร ระดับปริญญาตรี 90 แผนการเรยี นตลอดหลกั สูตร สาขาวิชาการก�ำ หนดและการประกอบอาหาร 93 คำ�อธิบายรายวิชา สาขาวิชาการก�ำ หนดและการประกอบอาหาร 109 สาขาวิชาอุตสาหกรรมการประกอบอาหาร ระดับปรญิ ญาตรี 113 แผนการเรยี นตลอดหลักสูตร สาขาวชิ าอุตสาหกรรมการประกอบอาหาร 116 คำ�อธบิ ายรายวชิ า สาขาวิชาอตุ สาหกรรมการประกอบอาหาร 129 สาขาวิชาโภชนาการและการประกอบอาหารเพื่อการสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพและการชะลอวัย ระดับปรญิ ญาตรี 135 แผนการเรยี นตลอดหลักสตู ร สาขาวิชาโภชนาการและการประกอบอาหารเพอื่ การสรา้ งเสริม สมรรถภาพ และการชะลอวัย 137 คำ�อธบิ ายรายวชิ า สาขาวชิ าโภชนาการและการประกอบอาหารเพอื่ การสรา้ งเสริมสมรรถภาพและ การชะลอวัย ภาคผนวก 153 หมวดวชิ าศึกษาทว่ั ไป 3

Á Ë Ò ÔÇ· Â Ò ÅÑ Â Ê Ç´Ø ÊÔ µ โรงเรียนการเรือน School of Culinary Arts Suan Dusit

ประวัตคิ วามเป็นมาโรงเรยี นการเรือน (School of Culinary Arts) มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ก่อต้ังข้ึนเมื่อปี พ.ศ. 2477 ภายใต้ชื่อ “โรงเรียนมัธยมวิสามัญการเรือน” ตามนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารทต่ี อ้ งการใหผ้ หู้ ญงิ ในขณะนนั้ ไดม้ กี ารศกึ ษาเรยี นรเู้ กยี่ วกบั การบา้ นการเรอื นทด่ี ี และเป็นโรงเรียนการเรอื นแหง่ แรกของประเทศไทย จนกระทงั่ ปี พ.ศ. 2504 โรงเรยี นการเรอื น เปลยี่ นสถานภาพเปน็ วทิ ยาลยั ครสู วนดสุ ติ เนน้ การผลติ ครทู างดา้ น คหกรรมศาสตร์เป็นหลกั จากนน้ั ในปี พ.ศ. 2538 จึงเปลี่ยนสถานภาพเปน็ สถาบันราชภัฏสวนดุสติ และในการจดั ทำ�แผนกลยุทธ์ของ สถาบนั ราชภฏั สวนดสุ ติ ไดม้ กี ารก�ำ หนดอตั ลกั ษณข์ องสถาบนั เอาไว้ 4 ดา้ นดว้ ยกนั คอื อตุ สาหกรรมอาหาร อตุ สาหกรรม บริการ การศึกษาปฐมวัย และการศกึ ษาพิเศษ ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2547 จงึ เปลยี่ นสถานภาพเปน็ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ติ ตาม พ.ร.บ.มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ติ พ.ศ. 2547 การพฒั นางานของมหาวทิ ยาลยั ยงั คงเนน้ ในดา้ นอตั ลกั ษณเ์ ดมิ ทส่ี บื เนอ่ื งมาจากการเปน็ สถาบนั ราชภัฏ ยกเว้นอัตลักษณ์ด้านการศึกษาพิเศษที่ไม่สามารถผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีเป็นครูการศึกษาพิเศษได้ จึงต้องปรับเปน็ ศูนย์การศึกษาพเิ ศษสำ�หรับเดก็ เลก็ และก�ำ หนดอตั ลักษณ์ใหมเ่ ป็นพยาบาลศาสตร์ ตลอดระยะเวลาท่ผี า่ นมามหาวิทยาลัยไดพ้ ฒั นาการจัดการเรียนการสอนและความเขม้ แขง็ ทางวชิ าการบนพน้ื ฐานความเช่ยี วชาญของมหาวิทยาลยั และไดก้ ารกำ�หนดทิศทางไวช้ ดั เจนวา่ มหาวิทยาลัยจะมงุ่ เนน้ พฒั นาอตั ลักษณ์ ส�ำ คญั ซงึ่ ประกอบไปด้วย งานด้านอุตสาหกรรมอาหาร อตุ สาหกรรมบรกิ าร การศึกษาปฐมวยั และพยาบาลศาสตร์ สภามหาวทิ ยาลัยได้อนุมตั จิ ดั ตั้งโรงเรียนการเรอื น ขึ้นในวนั ที่ 26 กมุ ภาพันธ์ 2553 มีสถานะเปน็ หนว่ ยงาน เทยี บเทา่ คณะและมขี อ้ บงั คบั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ติ วา่ ดว้ ยโรงเรยี นการเรอื น พ.ศ. 2553โรงเรยี นการเรอื น เปน็ หน่วยงานท่ีมีภารกิจหลักในการจัดการศึกษาในสาขาวิชาท่ีเกี่ยวข้องกับด้านอาหารและด้านคหกรรมศาสตร์ ระดับ ปรญิ ญาตรี การฝึกอบรม วิจัย การท�ำ นุบำ�รงุ ศิลปวฒั นธรรม และบรกิ ารทางวชิ าการ ในปีการศึกษา 2553-2554 โรงเรียนการเรือน มีการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี แบ่งตามหลักสูตร 2 หลกั สตู ร ประกอบดว้ ย 1) หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ ประกอบดว้ ย สาขาวชิ าอตุ สาหกรรมอาหารและการบรกิ าร และสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และ 2) หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต ประกอบด้วยสาขาวิชา คหกรรมศาสตร์ และสาขาวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและการบริการแขนงการจัดการภัตตาคารและร้านอาหารแบบ เร่งด่วน รวมท้ังมีการเปิดรับนักศึกษาใหม่ สาขาวิชาอุตสาหกรรมอาหารและการบริการ สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ ณ ศูนย์การศึกษานอกท่ตี งั้ สุพรรณบุรี และสาขาวชิ าอุตสาหกรรมอาหารและ การบรกิ าร ณ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกท่ีตง้ั ตรงั และศูนยก์ ารศึกษานอกทีต่ ง้ั ล�ำ ปาง ในปีการศึกษา พ.ศ. 2556-2559 มีการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี แบ่งตามหลักสูตร 2 หลักสูตร ประกอบด้วย หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต ประกอบด้วย สาขาวิชาเทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ (ในมหาวิทยาลัย วิทยาเขตสุพรรณบุรี ศูนย์การศึกษานอกที่ต้ังตรัง และศูนย์การศึกษานอกท่ีต้ังลำ�ปาง) สาขาวิชา เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร และสาขาวิชาโภชนาการและการประกอบอาหาร และหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์ (ในมหาวิทยาลัย วิทยาเขตสพุ รรณบรุ )ี ในปีการศึกษา 2558 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ได้เปล่ียนสถานะเป็นมหาวิทยาลัยในกำ�กับของรัฐตาม พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสวนดุสิต พ.ศ. 2558 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันท่ี 17 กรกฎาคม 2557 มีผลบังคบั ใชต้ ้งั แตว่ นั ที่ 18 กรกฎาคม 2558 จงึ ใชช้ ่ือวา่ “มหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ติ ” ในปีการศึกษา 2560-2562 โรงเรียนการเรือน มีการจัดการศึกษาในระดับปริญญาตรี แบ่งตามหลักสูตร 3 หลักสูตร ดังน้ี 1) หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต ประกอบด้วย สาขาวิชาเทคโนโลยีการประกอบอาหารและ การบริการ สาขาวิชาเทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร สาขาวิชาโภชนาการและการประกอบอาหาร และสาขาวิชาการ ก�ำ หนดและการประกอบอาหาร 2) หลกั สูตรศิลปศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ 3) หลกั สูตรเทคโนโลยี บัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร ในปีการศกึ ษา 2563 โรงเรียนการเรอื น มีการจดั การศึกษาในระดบั ปรญิ ญาตรี แบง่ ตามหลักสูตร 3 หลักสตู ร ดังน้ี 1) หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต ประกอบด้วย สาขาวิชาเทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ สาขา วิชาการกำ�หนดและการประกอบอาหาร สาขาวิชาอุตสาหกรรมการประกอบอาหาร และสาขาวิชาโภชนาการและ 5

การประกอบอาหารเพ่ือการเสริมสร้างสมรรถภาพและการชะลอวัย 2) หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา คหกรรมศาสตร์ และ 3) หลกั สูตรเทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยอี าหาร ภารกิจด้านการสนับสนุนการจัดการศึกษาและฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ปัจจุบันมีหน่วยงานศูนย์ฝึกปฏิบัติ การอาหารนานาชาติ มีภารกิจดูแลห้องปฏิบัติการอาหารให้พร้อมในการจัดการเรียนการสอน จัดหลักสูตรฝึกอบรม ด้านอาหารให้กับบุคคลภายนอก จำ�หน่าย เบเกอร่ีในช่ือของโรงเรียนการอาหารนานาชาติ รวมท้ังเป็นสถานที่ฝึก ประสบการณว์ ิชาชพี ให้กบั นกั ศึกษาด้านอาหารและบคุ คลทส่ี นใจ เปา้ หมาย โรงเรยี นการเรอื น คือ ผู้นำ�ดา้ นอาหาร วสิ ัยทัศน์ โรงเรียนการเรอื นเป็นหน่วยงานที่มีความเปน็ เลิศดา้ นการประกอบอาหารไทย และการจัดตกแตง่ ในปี 2020 พนั ธกจิ โรงเรยี นการเรอื นเปน็ หนว่ ยงานผลติ บณั ฑติ ใหม้ คี ณุ ภาพทางวชิ าชพี ขน้ั สงู ดา้ นการประกอบอาหาร และการจดั ตกแตง่ การสร้างและพัฒนาองค์ความรู้ และนวัตกรรมเพ่อื เผยแพรแ่ ละเปน็ แหลง่ อ้างองิ แกส่ งั คมและทำ�นบุ ำ�รงุ ศิลปะ และวัฒนธรรม ประเด็นยทุ ธศาสตร์ ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 การเสรมิ สร้างความเขม้ แขง็ ของหลกั สตู รเพื่อขีดความสามารถในการแขง่ ขัน เปา้ ประสงค์ : บณั ฑิตมีสมรรถนะตามคณุ วุฒวิ ชิ าชีพทั้งในระดับชาตแิ ละนานาชาติ กลยทุ ธท์ ี่ 1 พฒั นาหลกั สตู รทส่ี อดคล้องกบั แนวทางการพัฒนากำ�ลงั คนของประเทศ กลยทุ ธท์ ่ี 2 ส่งเสรมิ หลกั สูตรอตั ลักษณ์สคู่ วามเป็นเลศิ กลยทุ ธท์ ่ี 3 พัฒนาหลักสตู รระยะสัน้ ท่สี ะทอ้ นภาพลักษณค์ วามเชีย่ วชาญทางวิชาการของมหาวทิ ยาลัย ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 การผลติ บัณฑติ พันธใ์ุ หมท่ มี่ ีทักษะสนองต่อโลกอนาคต และเปน็ พลเมืองทีด่ ี เป้าประสงค์ : บณั ฑติ มคี ณุ ภาพและมคี วามส�ำ เร็จในการทำ�งานและดำ�รงชวี ิต กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาระบบการคัดเลอื กนักศกึ ษาเขา้ ศกึ ษาต่อ กลยุทธท์ ี่ 2 ปรับปรงุ รปู แบบและกระบวนการจดั การเรยี นร้ทู ส่ี อดคล้องกับยุคดจิ ิทัล กลยุทธท์ ี่ 3 ยกระดบั ทกั ษะและความพรอ้ มในการทำ�งานของบณั ฑิต กลยุทธ์ท่ี 4 เสริมสร้างการเป็นพลเมอื งท่ดี ีและอย่รู อดในสงั คมอยา่ งมคี วามสุข ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 การพฒั นางานวจิ ยั และนวัตกรรมทม่ี ีคณุ ภาพ สามารถนำ�ไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชนอ์ ยา่ งเปน็ รูปธรรม เป้าประสงค์ : ผลงานวิจัยและนวัตกรรมมีคุณภาพก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนามหาวิทยาลัย เศรษฐกิจ ชมุ ชน สังคมและการตอ่ ยอดองคค์ วามรูเ้ ชิงวชิ าการอยา่ งเป็นรูปธรรม กลยุทธท์ ่ี 1 พัฒนาศักยภาพนกั วจิ ัยพน้ื ฐานอตั ลกั ษณแ์ ละความเช่ยี วชาญของมหาวิทยาลัย กลยทุ ธท์ ี่ 2 เผยแพร่องคค์ วามรจู้ ากงานวจิ ยั สสู่ าธารณะเพื่อการน�ำ ไปตอ่ ยอดทางวิชาการ กลยทุ ธท์ ่ี 3 นำ�องคค์ วามรู้ เทคโนโลยี และนวตั กรรมจากการวจิ ัยไปขยายตอ่ ยอดเชงิ พาณิชย์ กลยุทธท์ ่ี 4 น�ำ องคค์ วามรู้ เทคโนโลยี และนวตั กรรมจากงานวจิ ยั ไปถา่ ยทอดสมู่ หาวทิ ยาลยั ชมุ ชนและสงั คม ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 การบรกิ ารวิชาการบนพื้นฐานความตระหนกั ในความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม เป้าประสงค์ : ชุมชนและสังคมได้รับการพัฒนาจากการให้บริการวิชาการบนฐานความเช่ียวชาญของ มหาวทิ ยาลยั กลยทุ ธ์ท่ี 1 สง่ เสรมิ การบรกิ ารวชิ าการเพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ชมุ ชนและสงั คมใหเ้ กดิ ความเขม้ แขง็ อยา่ งยงั่ ยนื กลยุทธท์ ่ี 2 สนบั สนนุ การมีส่วนรว่ มของผ้มู สี ว่ นได้ส่วนเสยี ในการใหบ้ รกิ ารวชิ าการ 6

ยทุ ธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากรอย่างเป็นระบบ เป้าประสงค์ : บุคลากรทีม่ ีคุณภาพ ท�ำ งานอย่างมคี วามสขุ มีความมั่นคงในอาชีพ และมุ่งมัน่ สร้างผลงานที่ม ี คุณค่าแกม่ หาวิทยาลยั กลยุทธ์ท่ี 1 พัฒนาระบบบรหิ ารบุคลากรทส่ี นบั สนนุ ต่อทิศทางการพัฒนามหาวทิ ยาลัย กลยทุ ธท์ ี่ 2 พฒั นาสมรรถนะบุคลากรให้พรอ้ มสำ�หรบั โลกอนาคต กลยทุ ธ์ท่ี 3 ส่งเสรมิ ความรกั และผกู พนั ตอ่ องค์กรเพอ่ื รกั ษาบุคลากรคณุ ภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาประสทิ ธภิ าพระบบบรหิ ารจดั การ เปา้ ประสงค์ : การบรหิ ารจัดการทม่ี ปี ระสิทธภิ าพภายใต้หลักธรรมาภิบาล กลยทุ ธท์ ี่ 1 พัฒนาระบบกลไกการบรหิ ารจดั การและระบบธรรมาภบิ าลทสี่ อดคลอ้ งกบั บริบทมหาวิทยาลัย ในกำ�กับของรฐั กลยทุ ธท์ ี่ 2 พฒั นาระบบ ICT เพอ่ื การสอื่ สารและการตดั สนิ ใจทม่ี ีประสทิ ธิภาพ กลยทุ ธ์ที่ 3 ปรับปรงุ ส่ิงแวดลอ้ มเพ่อื สนบั สนนุ การเรยี นรู้อยา่ งสรา้ งสรรค์ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 7 การเสรมิ สร้างความเข้มแขง็ และอย่รู อดอยา่ งยัง่ ยืนด้วยการแสวงหารายได้ เปา้ ประสงค์ : มหาวทิ ยาลยั มที รพั ยากรทีเ่ พียงพอต่อการพัฒนาเพอื่ บรรลตุ ามแผนที่กำ�หนด กลยุทธท์ ี่ 1 บรหิ ารจดั การการใช้ทรัพยากรอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล กลยุทธ์ที่ 2 ยกระดับความเขม้ แขง็ ของกจิ การพิเศษเพื่อเป็นแหล่งเรยี นร้แู ละจัดหารายได้ กลยทุ ธ์ท่ี 3 จดั หารายไดจ้ ากความเชยี่ วชาญของมหาวิทยาลัยและทรพั ยากรท่มี อี ยู่ 7

โครงสรา้ งโรงเรยี นการเรอื น (Structure of School of Culinary Arts) คณบดี รองคณบดี ส�ำ นกั งาน หลักสูตร หน่วยงานสนับสนนุ เลขานกุ าร •หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์ •ศนู ยฝ์ ึกปฏิบัตกิ ารอาหารนานาชาติ • หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารประกอบอาหาร และการบริการ • หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าการกำ�หนดและการประกอบ อาหาร • หลกั สูตรเทคโนโลยีบณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร • หลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าอุตสาหกรรมการประกอบ อาหาร • หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าโภชนาการและการประกอบ อาหารเพื่อการสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพและการชะลอวยั • หลกั สูตรศิลปศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ วทิ ยาเขตสุพรรณบรุ ี • หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารประกอบอาหาร และการบรกิ าร วิทยาเขตสพุ รรณบุรี • หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารประกอบอาหาร และการบรกิ าร ศนู ย์การศึกษานอกท่ตี ัง้ ล�ำ ปาง • หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารประกอบอาหาร และการบรกิ าร ศนู ย์การศึกษานอกท่ีตงั้ ตรัง บคุ ลากร จำ�นวนบุคลากรโรงเรยี นการเรอื น ประกอบดว้ ย บุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนนุ วชิ าการ โดยแบง่ เปน็ บคุ ลากรสายวชิ าการ บคุ ลากรสายสนบั สนนุ วชิ าการ - ขา้ ราชการ 5 คน - พนักงานมหาวิทยาลัย 54 คน - อาจารย์ประจ�ำ ตามสญั ญาจ้าง 8 คน - เจา้ หน้าท่ปี ระจำ�ตามสัญญาจ้าง 9 คน - พนักงานมหาวิทยาลัย 38 คน บุคลากรสายบรกิ าร - เจ้าหนา้ ทีป่ ระจ�ำ ตามสัญญาจา้ ง 33 คน 8

Á Ë Ò ÔÇ· Â Ò ÅÑ Â Ê Ç´Ø ÊÔ µ รายนามผู้บริหารและอาจารย์ โรงเรยี นการเรอื น Suan Dusit

School of Culinary Arts รายนามผู้บรหิ ารและอาจารย์ โรงเรียนการเรือน ผู้บรหิ ารโรงเรียน อาจารย์ทพิ ย์พิกา ธรฤทธิ์ ปคศศศระ..มบธ..า((นคอหหาหกลารกั รรสแมูตลศระาวโสิทภตชยรนาเ์ ศพากาือ่ สาพรตัฒ)รนบาณั ชฑุมชิตน) ปว่าร.ทด.่ีร(อ้ รฐัยปตรระีศดารส.นธศนาพสตฒั ร์)น์ แสงรุ่งเรือง กสาาขรบาวรชิกิ าาเรทศคูนโนยโก์ ลายรีกศากึ รษปารนะกออกบทอีต่ า้งั หตารรังและ อวบทาธห..บมา..ร(()วกิทารยจาัดศกาสารตธรุรแ์ กลจิ ะอเทาหคาโนรแโลลยะกีภาตั รตาคาร) ผศ.ฉตั รชนก บุญไชย คณบดีโรงเรียนการเรอื น ปววททระ..บมธ..า((นสคาหหธกลารกั รรสณมูตสศรขุาวสศทิ ตายสรา์ทตศรัว่ า์ไส(ปโตภ) รชบนัณวทิ ฑยติ า)) อMา.Sจcา. ร(Fยoธ์ oิตdิมMาaแnaกg้วeมmณenี t) สอาาหขาาวรชิ าการกำ�หนดและการประกอบ วรอทง.บค.ณ(เบทดคฝีโน่าโยลวยชิ ีชาีวกภาารพ) อาจารย์ ดร.วรี ะ พ่มุ เกิด ผศ.ดร.ณัชนก นกุ จิ ปศวปสท.ารรม.ขะ.ดบ.าธ.(.วาเ((ศิชนกเทราาหษเครทลวฐโคกันจิศโสัยโานลสแตู ยโลตรลกี เะรยทา)์สีอรคถอาโิตหานทิหาโาลารงรยว)บี ิทัณยาฑกติ ารปัญญา) ววปททร...ดบม... (((วพวทิิทฒั ยยนาาศาศผาาสลสตติตรภร์กก์ัณาาฑรรออ์อาาตุ หหสาาารรห)แกลระรมเกษตร) ผศ.ดร.นราธิป ปุณเกษม โรภอชงนคาณกบารด)ฝี ่ายกิจการนกั ศึกษา วววปวิชทททราะ...ดบมอธ...ตุา(((นสเเเทททาหคคคหลโโโกนนักนรโสโโรลลลูตมยยยรกีทีทที วาาาาิทรงงงยปอออาราาาศะหหหากาาาสรอรรต)))บรอบาณั หฑารติ สาขา ผศ.ดร.นุจริ า รศั มไี พบลู ย์ ผศ.ดร.ฐิตา ฟูเผา่ คคปศศร...ดบม... (((เผผกา้า้ ษแแตลลระะเเเขคคตรรร่อือื่ ้องงนแแ)ตตง่่งกกาายย)) PBMBวทhii.ooE..มDttnee..gcc((.hhวA(nnทิ dAooยvdllาooavศnggaาcyynส))ecdตeรdSส์ cSง่ิ iแceวineดcnลecอ้ eaมna)dnd ปสารขะาธวาิชนาหคลหักกสรูตรมรศศลิ าปสตศรา์สตรบัณฑติ วปสทารขะ.บาธ.วา(ชิ นเทาหโคภลโักชนนสโลาูตยกรีอวาุติทรแสยลาาหะศกกาารสรรตปมรเรบกะณั ษกตอฑรบิต)อาหาร อาจารยอ์ คั รพล ไวเชยี งค้า กเพา่ือรชกะาลรสอรวา้ ัยงเสริมสมรรถภาพและ คปคศศระ..บมธ..า((นกกหาารรลบบักรรสิหหิ ูตาารรรศธธรุุรลิ กกปจิจิ ศคคาหหสกกตรรรรรบมมณั ศศาาฑสสติ ตตรร์))์ สวิทาขยาาวเขิชตาคสหพุ กรรรณรมบศุราี สตร์ อาจารย์ ดร.จันทร์จนา ศริ ิพันธว์ ฒั นา วกวททาร..ดมน..ว((ัตธเทกรุ คกรรโิจนมเทโ)ลคยโนีทโาลงยอีแาหละารก)ารจัด สวปทารขะ.บาธ.วา(ิชนจาลุหเทชลีวคกั วโสทินูตยโรลาว)ยิทกี ยาารศปารสะตกรอบบณั อฑาหิตารและ การบริการ ศผศศ.ม.บ. ุญ(คญหการพรมรศเาชสอื่ ตมรศสกึ มษพา)งษ์ สปค.ารบขะ.าธ(วาคิชนหาหกเทลรรคักมโสนศตู าโรลสวยติทกีรย์)าารศปารสะตกรอบบณั อฑาหติ าร และการบริการ วทิ ยาเขตสพุ รรณบุรี วอทา.จมา. ร(โยภ์สชนุรศียา์พสรตรธ์ศัญึกษญาะ) กิจ ปโศภษรชะ.บนธ.าาก(นคาหหรล)กักรรสมูตศราวสทิ ตยรา์ ศ–าอสาตหราบรัณแลฑะิต สกศนูาาขรยบาก์ วราิชกิ ราาศเรทกึ คษโานนโอลกยทีกี่ตาร้งั ปลรำ�ะปกาองบอาหารและ 10

อาจารยผ์ ูร้ บั ผิดชอบ ผศ.ดร.ณชั นก นกุ ิจ อศาาจสาตรรยบ์ผัณรู้ ฑบั ิตผิดสชาอขบาหวชิลาักเสทตูครโนวโทิลยยาี หสลาขกั าสวตู ชิ ราศคลิ หปกศรารสมตศราบสณั ตรฑ์ติ ปวทร..ดม.. ((วพทิ ัฒยนาศาผาสลตติ รภ์กัณาฑรออ์ าุตหสาารห)กรรมเกษตร) วกทิารยปาเรขะตกสอพุบอรารหณาบรรุแีละการบริการ โวภทช.บน.า(กวาทิ รย)าศาสตร์การอาหารและ ผศ.ดร.นุจริ า รัศมไี พบลู ย์ อาจารยณ์ ัจยา เมฆราวี ศผศศ.ม.บ. ุญ(คญหการพรมรศเาชสอื่ ตมรศสึกมษพา)งษ์ คปศร..ดม.. ((เผก้าษแตลระเเขคตรร่ือ้องนแ)ต่งกาย) วคทศ..มบ.. ((เอทาคหโานรโแลลยะกี โาภรชจนัดาแกลาะรบ-ธรุริกกาิจรออาาหหาารร)) ค.บ. (คหกรรมศาสตร์) คศ.บ. (ผา้ และเครอื่ งแตง่ กาย) อวอวททาาห..จบมาา..รร(()พวยิทฒั ธ์ ยนญัาาศลผาลกัสิตตษภรณ์แณั ล์ฑะอ์อเ่นุทตุ คสสโุขานหโกลรยรีกมาเรกษตร) วอวผททาศห..บม.พา..รร(()วอททิตุ วยสีาาธศหนากสสรตรัมมรบแ์ เกลัณษะเตณทรค์)โนโลยกี าร ศผศศ.ด.ด. ร(อ.พาชริ ีวมศาึกลษยา)์ บุญธรรม วผทศ.ม.ม. น(วฤทิ ทยายั ศาศสรตที ร์กอางรเอกาดิ หาร) ศคศ.บ.ม. (.ค(คหหกกรรรมรมศศาสาสตตร)์รศ์ ึกษา) อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบ อวทาห.บา.ร()วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี าร วอศทษา..จมบา.. ร((คศยหึกป์ กษวราริตศมารศสาาตสภรต-์าครสห์)ุรกกรรุลมศาสตร์) แหสลลาขะักกาสาวตู ริชรบาวรเททิ กิ คยาโารนศโลาสยตีกรารบปณั รฑะกิตอบอาหาร อาจารย์ ดร.ณัชฌา พันธว์ุ งษ์ วอทา.จมา. ร(คยห์จการรรุณมศี าวสิเตทรศ์) ศูนย์การศึกษานอกที่ตง้ั ล�ำ ปาง ปววททร...ดมบ... (((Fคอuหตุ nสกcารtหรioมกnศรaราlมสFตเoกรoษ์)dตaร)nd Nutrition) วท.บ. (คหกรรมศาสตร์ทั่วไป) อาจารย์ ดร.สุธาสนิ ี ช้ินทอง อวทา.จมา. ร(คยหเ์ กบรญรมจศราัตสนตร์ )์ประพฤทธ์ติ ระกลู ศโอวภทษาช..จมบนา..าร(ก(โคยภาหรส์ช)กนุรรศียราม์พสศรตารสธ์ศตัญึกรษ์ญ–าะ)อกาจิ หารและ ปปรระ.ดม. ง()วิทยาศาตรแ์ ละเทคโนโลยผี ลิตภัณฑ์ อวทาห.บา.ร()วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีการ ผศ.อรรถ ขันสี ววทท..มบ.. ((วปิทระยมาศง)าสตร์การอาหาร) วคท.บ.ม. (.อ(เาทหคาโรนแโลละยโีกภาชรนจาดั กแาลระ)บริการอาหาร) อหสาลาจขักาาสวรตู ชิยรา์ผศครู้ิลหับปกผศริดารสชมอตศบราบสัณตรฑ์ิต อาจารยฐ์ ิตวิ รฎา ใยสำ�ลี อหสาลาจขกั าาสวรตู ิชยรา์ผวกูร้ทิ าับยรผากศดิ ำ�าชหสอนตบดรแบลณั ะ ฑิต วิทยาเขตสุพรรณบรุ ี วอวททาห..บมา..ร(()เวทิทคยโานศโาลสยตที ราแ์ งลอะาเหทาครโ)นโลยกี าร การประกอบอาหาร อาจารยจ์ รรยา โทะ๊ นาบุตร อคศา.จมา. ร(กยาอ์ รบัครริหพาลรธรุไวกจิเชคยีหงกครรา้ มศาสตร์) อวทาห.มา.ร()วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีการ ผวทศ.ม.ฉ. ตั(สราชธานรกณสบขุ ุญศาไสชตยร์ (โภชนวทิ ยา)) คศ.บ. (การบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์) วอทาห.บา.ร()วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการ วท.บ. (คหกรรมศาสตรท์ ว่ั ไป) อคศา.จมา. ร(อยาน์ หุชารนแาลฎะโภกชลุ นวาิทกายร์ ) อาจารยอ์ านง ใจแน่น ปผรศ.ด.ด. (รโ.ภยชศนพาศราสพตลรา)์ ยโถ คศ.บ. (คหกรรมศาสตร์ศึกษา) ววทท..มบ.. ((โเทภคชนโนศโาลสยตกี ราศ์ รึกอษาหา)าร) ววทท..บม.. ((พสาิษธวาิทรยณาสทขุ าศงอาสาหตรา)์รและโภชนาการ) ผคค..ศมบ...ร((กคาาตหรกรบรี รเริหมมาศฆรากวสาิลตรยัรศ)์ กึ ษา) อปววททรา...จดบม.า.. (ร((วจวยทิทิุล์ยชยดาวีารศวศ.ทิาาพสสยรตตารปรรณก์แ์ราะลรรยะอพุกเทาตี หคเ)์ อาโนร่ยี )โมลยทกี วาเี รจรญิ อาจารยอ์ ทิ ธิพล อเนกธนทรพั ย์ อาจารย์ผูร้ บั ผดิ ชอบหลักสูตรวทิ ยา อาหาร) คคศศ..มบ.. ((กกาารรบบรรหิหิ าารรธธุรุรกกิจิจคคหหกกรรรรมมศศาาสสตตรร)์์) ปกศราารสะกศตอึกรบษบอาณั านหฑอาิตกรทแส่ตี ลาั้งะขกาตาวรริชงับารเทกิ คาโรนโศลูนยยีก์าร ววปอททรา...จดมบ.า.. (ร((วจอยิทลุุต์ยชสดาีวารศวห.ทิาภกสยราตารคปรม์กภรเกาะมู รษยิอุกตคาตรหูป)์)ารระ)เสรฐิ ย่งิ อาจารยก์ นกวรรณ สทั ธรรม อวทา.จมา. ร(คยหจ์ กนั รรทมรศกาาสนตรต)์ ์ ทรงเดช คคศศ..บม.. ((ออาาหหาารรแแลละะโโภภชชนนาากกาารร)) อศศา.จมา. ร(คยห์ทกพิ รรยมพ์ ศิกาสาตธรเ์รพฤ่ือทพธฒั ิ์ นาชุมชน) วท.บ. (คหกรรมศาสตร)์ คศ.บ. (อาหารและโภชนาการ) อหสาลาจขักาาสวรตู ิชยรา์ผวเรู้ททิ บัคยผโานศิดโลาชสยอตกีบรารบปัณรฑะกิตอบอาหาร วอวททา..จมบา.. ร((ววยทิิศ์สวยกภุาศราราวมสดแตีปรน์กรราาปูรคออบาารหหราารพร))์ และการบริการ อาจารย์สาวิตรี ณวุ งศ์ศรี วเกทษ.มต.ร()การจดั การเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม อาจารย์ ดร.จันทรจ์ นา ศิรพิ ันธว์ ัฒนา วโภทช.บน.า(กวาิทรย)าศาสตรก์ ารอาหารและ วนวททวัต..ดมก.. ร((รธเทมุรคก) โิจนเทโลคยโนีทโาลงยอีแาหละารก)ารจัดการ อาจารยด์ ุษฎี ทรัพย์บวั วท.บ. (จลุ ชวี วทิ ยา) ววทท..มบ.. ((เเททคคโโนนโโลลยยีหกี าลรงั อกาาหรเากรบ็) เกีย่ ว) ปผรศ.ด.ด. (รเ.กธษรี ตนรุชเขตฉราอ้ ยนศ(อริ าิโหชาตรแิ ละ อาจารยส์ ิรนิ ทร์ทิพย์ สุตตาพงค์ คโโภภศชช.มนน.าา(กกคาาหรรก))))รรมศาสตร์ (อาหารและ คผวทลศ.ิต.มบภ.. ัณ((คอฑหา)์หการรรแมลศะาโสภตชรน)์ าการ-พฒั นา คศศศ..บบ.. ((ศโภกึ ชษนาาศกาาสรตชรมุ ์-ชคนห)กรรมศาสตร์) 11

อเสทาาคจขโาานวรโลชิยยาผ์ ีบเรู้ทัณบัคผโฑนิดติ โลชยออีบาหหลาักรสูตร อMา.Sจcา. ร(Fยoธ์ oิตdิมMาaแnaกgว้ eมmณenี t) อาจารยเ์ สาวลักษณ์ กนั จนิ ะ Th วท.บ.(เทคโนโลยชี วี ภาพ) วอทาห.มา.ร()วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีการ C ปอรา.จด.า(รกยา์รดวจิรัย.วแีรละะสพถมุ่ิตทิเกางดิ วทิ ยาการปัญญา) วอทา.จมา. ร(วยทิ ป์ ยยิาศวารสรตณร์แลอะยเท่ดู คี โนโลยกี าร วท.บ. (อุตสาหกรรมเกษตร) C วศท.ม.บ. (.เ(ศเทรษคฐโนศโาลสยตีกรา์)รอาหาร) วอทาห.บา.ร()ชีววิทยา) วอทา.จมา. ร(วยทิ ์อยศัาศพางสษตร์ อ์แลุปะรเทะวครโนรโณลยากี าร Le ผศ.ดร.ปญั ญภสั ก์ ป่ินแกว้ อาจารย์ยศสนิ ี หัวดง วอทาห.บา.ร()เทคโนโลยอี าหาร) C ปววททร...ดบม... (((วววิทิททิ ยยยาาาศศศาาาสสสตตตรรรก์ก์แ์ าลารระออเทาาหหคาโานรร)โ)ลยกี าร ควทศ..มบ.. ((สอาาธหาารรณแลสะุขโศภาชสนตารก์ า(โรภ)ชนวทิ ยา)) อาจารย์เสาวพรรณ ปาละสวุ รรณ อาหาร) วMPผทhศ.S..บD..ด..(รE((พF.nชoัฒgุตoiนndิปeาeผaภrnลาindติ gสภNุวัณMuรtฑarรniอ์tณiaoุตgnสกeaานmlหSษิeกcnรฐitรe์)มncเกeษs)ตร) ววทท..บม.. ((สพุขฒั านภาิบผาลลติอภาหณั าฑร์อ) ตุ สาหกรรมเกษตร) ผปรศ.ด.ด. (รว.ิทสยุวารศราณสตารก์พาชิ รัยอายหงาคร์ว(งหศล์ดักสี ตู ร ควอทศา..จมบา.. ร((คอยหา์ปหกทัารรรมแมาลศะากโสภาตชญรน)์ จากนารรกั ) ษ์ นววททาน..บมา..ช((าววติทิทิ)ยย)าาศศาาสสตตรรก์แ์ ลาระอเทาหคโานรโ)ลยี อาจารย์ประจำ�คณะ วอทา.จมา. ร(คยหณ์ กรัฐรธมิดศาาสกตรจิ ์)เนตร การอาหาร) วท.บ. (คหกรรมศาสตร์) ผวศศ.ด.ด. (รว.ศิภวทั กรรารมทกิพายรอ์ ราอหาดรส) ำ�ราญ ววPผททhศ...มบD.ด... ร(((ออF.กตุoุตoนสสdาากหหSกกกcารรiนeรรมมnตcเเกก์eวษษaีรตตnะรรdก)) ุลBiotechnology) ผปรศ.ด.ด. (รว.ัฒโสนรธัจรจรม์ วศิสาสทุ ตธรแิ ์) พทย์ กววศทาร..มบอ..า((หววาิศิทรวย)การศรามสกตารรแ์ อลาะหเทารค)โนโลยี ผศ.ดร.พรยพุ รรณ พรสุขสวัสด์ิ ศคศ.บ.ม. (.ค(คหหกกรรรมรมศศาสาสตตร์)รศ์ ึกษา) อาจารย์กันต์กนิษฐ์ จงรตั นวทิ ย์ คศปศ.รบ..ดม. .(.ค((วกหัฒากรนรบรธรมรหิ ศรามารสศงตาาสรน์)ตวรัฒ)์ นธรรม) ผศ.วรี ะพงศ์ วิรฬุ หธ์ นกฤษณ์ ววทท..บม.. ((ววทิทิ ยยาาศศาาสสตตรรก์์แลาระอเทาหคโานรโ)ลยกี าร ผศ.ดร.สายบงั อร ปานพรม ววทท..บม.. ((วเทิทคยโานศโาลสยตกี รา์กราหรมอกั า)หาร) อาหาร) คป.รม.ด. .(ก(วาฒัรบนรธหิ รารรมกศาารสศตกึ รษ์)า) อววอศทาาห..จมบา.า.ร(ร()ววยิศิท์กวยกิตารศตรามิศสเตกักรษดแ์ ติ์ลวระ)สเทันคตโนิวโงลศย์ ีการ ค.บ. (คหกรรมศาสตร)์ ผศ.พทั ธนันท์ ศรมี ว่ ง สหอาลาจขกั าาสวรตู ชิยราผ์ วอ้รูิทุตบัยสผาาศิดหาชกสอรตบรรมบณั ฑิต คอศา.จมา. ร(อยาป์ หรารมแะละรโอภดชนมาว่ กงาร) ววคอททาศห...มบบา...ร((()สคค)าหหธกการรรรรณมมสศศขุาาสศสตาตสรร์ทตบร่ัวณั ์ไ(ฑปโภ)ติ ช(นธวรุ ิทกยจิ า)) การประกอบอาหาร คศ.บ. (คหกรรมศาสตร์) อวทา.จมา. ร(พยษิ ์หวททิ ัยยาชทนากงอาศหราปี รแรละะไพโภชนาการ) คอ.ามจ. า(หรลยักก์ สาตู ญรแจลนะากาเรฟส่อือนงศ) รี วท.บ. (พัฒนาผลติ ภัณฑอ์ ุตสาหกรรมเกษตร) ผศ.ดร.นราธปิ ปณุ เกษม วท.บ. (คหกรรมศาสตรท์ ่วั ไป) อวทา.จมา. ร(อยาส์หนุาริทแรลาะโภชชยั นภาัยการเพอื่ การพัฒนา) ววทท..มด.. ((เเททคคโโนนโโลลยยีทีทาางงออาาหหาารร)) คอคศศา..จมบา.. ร((คคยหหป์ กกภรรรรสั มมมศศนาาสสเตตวรรช์์)(กอจิาหารและโภชนา)) วท.บ. (วทิ ยาศาสตร์การแพทย)์ วท.บ. (เทคโนโลยที างอาหาร) อาจารย์ธนิกานต์ นับวันดี ผปรศ.ด.ด. (รพ.วัฒรนาาภผรลณิตภ์ วณั ทิ ฑย์อาุตภสารหณก์รรมเกษตร) อปรา.จด.า(รเทยค์ ดโนรโ.ลศยวีทรารงญอาาหาปร่นั) ดลสุข คผลศิต.บภ. ัณ(อฑา)์หารและโภชนาการ-พฒั นา ววทท..มบ.. ((พอุตัฒสนาาหผกลรติ รภมณัเกฑษ์อตุตร)สาหกรรมเกษตร) ววทท..มบ.. ((วเทิทคยโานศโาลสยตกี ราก์ ราอราอหาาหรา)ร) คศ.ม. (อาหารและโภชนาการ) ผปศคศศรศ...ดมบ.ด... (ร((วคอ.ฒัอหาหรนกอารธรรรนแมรงลมศคะศาโส์าภทสตชอตรน์ศรงา์)กึมกษาี าร)) วMอทา.M.จบ.า. (ร(Mเยทa์ปคnโัญaนgโจeลมmยาชี eวี nปภt)ารพะภ) าพันธศักด์ิ อวทา.จบา. ร(อยตุ ์นสนัาหทกพรรรมรเกุจษขิ ตจรร) คอศา.จมา. ร(คยหจ์ การรรึกมศศาสรตีอรร)์ ณุ วท.ม. (พฒั นาผลิตภัณฑ์อุตสหกรรมเกษตร) ผู้เชย่ี วชาญดา้ นอาหาร ศศ.บ. (มณั ฑนศลิ ป์) ผEdศ.D.ด. ร(I.nนdฤuมstrลiaนlEันdทucรaักtiษon์ Management) วอทา.จมา. ร(คยหน์ กครรรมศแาซส่สตี ร)์ Mศศ.H.บE..((คHหoกmรรeมEศcาoสnตoรm)์ ics) วปบวอทาา่ธรห...ทดบมา.รี่..ร(((อ้)รวกัฐยทิาปรตยรจาระัดศีศกาดาสารสรต.นธธรรุศแ์นกาลจิพสะอตเฒั ทารหค์)นาโ์นรแแโสลลยงะีกรภาุ่งัตรเตราอื คงาร) วท.บ. (อตุ สาหกรรมอาหารและการบรกิ าร) อวอวททาาห..จบมาา..รร(()ควยทิหบ์ ยกุษารศรรมาาสศคตามัสรแ์ตลสระ)์ดี เทาเคหโนลโอืลงยกี าร คนศา.งบส. (าอวานหวารลแเลพะ็ญโภชธนรารกมารษ)า อาจารยท์ รงพล วิธานวัฒนา นายพงศอ์ นนั ต์ ศริ ิแสงไพรวลั ย์ หอาลจกั าสรูตยร์ผวรู้ทิ ับยผาศดิ าชสอตบรบณั ฑิต บบธธ..มบ.. ((กกาารรเจปัด็นกผาปู้รครระัวกแอลบะกภาตั รต) าคาร) โศรศง.แบร.ม(อ) ตุ สาหกรรมการทอ่ งเที่ยวและการ อสแลาาหขะกาาาวรรชิเพชาะือ่โลภกอชาวนรยัาสกรา้ารงแเสลระกิมาสรมปรรระถกภอบาพ อาจารยเ์ ปน็ เอก ทรพั ยส์ นิ นายทศั เทพ อังกุราภนิ นั ท์ วคทศ..มบ.. ((เอทาคหโานรโแลลยะีกโาภรชจนดั าแกลาะรบ) รกิ ารอาหาร) โศรศง.แบร.ม(อ) ตุ สาหกรรมการทอ่ งเทยี่ วและการ ผศ.ดร.ฐติ า ฟเู ผ่า อาจารย์สังวาลย์ ชมภูจา PBhio.Dte.c(hAndovloangcy)ed Science and ศวทศ..มบ.. ((โคภหชกนรศรามสศตารส์ศตึกรษ์) า) วBMทi.oE.มtne.gc(.hว(nิทAoยdlาovศgaาynส)cตeรdส์ S่งิ แcวieดnลcอ้ eมa)nd วท.บ. (เทคโนโลยีอตุ สาหกรรมเกษตร) 12

นายนพสิทธิ์ ภู่ทอง วท.บ. (โภชนาการและการประกอบอาหาร) ศBMนษ.าaB.nยม.Aaน..g(คิ(พeInmมัฒteศeนrnมศntaึก)tอษioักาn)ษalรHปoรteะlดaิษndฐ์ Resort 13

ÁÁ ËË ÒÒ ÔÔÇÇ· · Ò ÅÒÑ ÅÂÑ ÂÊ ÇÊ Ç´´ØØ ÊÊÔÔ µµ หลักสูตรเทคโนโลยีบณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยอี าหาร Bachelor of Technology Program in Food Technology SS uu aa nn DD uu ss ii tt

หลกั สูตรเทคโนโลยีบณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร ระดบั ปริญญาตรี 1. ชอ่ื หลกั สตู ร ภาษาไทย : หลกั สตู รเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีอาหาร ภาษาองั กฤษ : Bachelor of Technology Program in Food Technology 2. ช่ือปริญญา ช่ือเต็ม เทคโนโลยีบณั ฑิต (เทคโนโลยีอาหาร) ภาษาไทย ช่ือย่อ ทล.บ. (เทคโนโลยอี าหาร) ภาษาอังกฤษ ช่ือเตม็ Bachelor of Technology (Food Technology) ชอื่ ยอ่ B.Tech. (Food Technology) 3. วัตถปุ ระสงคข์ องหลักสตู ร 3.1) เพอื่ ผลติ นกั เทคโนโลยอี าหารทม่ี คี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณ มคี วามรบั ผดิ ชอบ ความสามารถในการปรบั ตวั ภาวะผู้นำ� และมเี จตคติทดี่ ีตอ่ วชิ าชีพ 3.2) เพื่อผลิตบณั ฑิตท่ีมีความรู้ ความเข้าใจ มที ักษะการปฏบิ ัตงิ าน และมคี วามชำ�นาญดา้ นการประกอบอาหาร เทคโนโลยีการแปรรปู อาหาร และการผลิตอาหารฮาลาล 3.3) เพื่อผลติ บัณฑิตทมี่ ีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ บูรณาการ และประยกุ ตใ์ ช้ความรู้ทงั้ ในทางทฤษฎแี ละ การปฏิบัติในการบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีศักยภาพในการทำ�งานทันทีเมื่อจบการศึกษา และสามารถนำ� ความรทู้ ่ีไดจ้ ากการศกึ ษาค้นคว้าไปประยุกต์ใช้ได้อยา่ งเหมาะสม 4. อาชพี ทีส่ ามารถประกอบได้หลังส�ำ เรจ็ การศึกษา 4.1) นักเทคโนโลยีอาหารท่ีปฏิบัติงานในสถานประกอบการอุตสาหกรรมอาหาร โดยทำ�หน้าที่ในฝ่ายการผลิต อาหาร ฝา่ ยควบคุมและประกนั คุณภาพ ฝา่ ยวจิ ัยและพฒั นาผลติ ภัณฑ์ 4.2) ผจู้ ดั การ/หัวหน้างาน ในธรุ กจิ ร้านอาหาร ธรุ กจิ ค้าปลกี 4.3) ผปู้ ฏิบัติงานในหน่วยงานราชการ รฐั วสิ าหกจิ หรือเอกชน โดยทำ�หน้าทเี่ ป็นนักวิทยาศาสตรน์ ักวิชาการ คร/ู อาจารย์ เจ้าหนา้ ท่ีหอ้ งปฏิบัติการอาหาร หรอื นกั วิจัย 4.4) ผปู้ ระกอบอาชพี อสิ ระทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั เทคโนโลยอี าหาร เช่น เจา้ ของกิจการดา้ นอาหาร หรือการจดั การธรุ กิจ อาหาร 15

โครงสรา้ งหลกั สตู ร จ�ำ นวนหนว่ ยกติ รวมตลอดหลกั สตู รไมน่ อ้ ยกวา่ 147 หนว่ ยกติ มสี ดั สว่ นจ�ำ นวนหนว่ ยกติ แยกตามหมวดวชิ าและ กล่มุ วิชา ดังนี้ จำ�นวนหนว่ ยกติ รวมตลอดหลักสูตร 147 หน่วยกิต 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 33 หน่วยกติ 2. หมวดวชิ าเฉพาะ ไมน่ อ้ ยกว่า 108 หนว่ ยกติ 2.1 วชิ าเฉพาะพ้นื ฐาน 36 หน่วยกิต 1) กลมุ่ วิชาพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ 18 หน่วยกิต 2) กลุ่มวิชาพน้ื ฐานทางเทคโนโลยี 18 หนว่ ยกิต 2.2 วชิ าเฉพาะด้าน ไม่นอ้ ยกวา่ 66 หนว่ ยกติ 1) กล่มุ วชิ าเทคโนโลยีเฉพาะสาขา 63 หน่วยกติ - กลุ่มวิชาบงั คับ 54 หนว่ ยกิต - กล่มุ วิชาเลอื ก ไม่นอ้ ยกว่า 9 หนว่ ยกิต 2) กลมุ่ วชิ าโครงงาน 3 หนว่ ยกิต 2.3 วิชาฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพ 6 หน่วยกติ 3. หมวดวชิ าเลอื กเสรี ไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หนว่ ยกิต การจดั การเรยี นการสอน 33 หนว่ ยกิต หมวดวิชาศึกษาทวั่ ไป 6(6-0-12) 1500119 ภาษาไทยเพอ่ื พฒั นาความเปน็ ผู้รอบร ู้ 4(4-0-8) Thai for Being Scholars 4(4-0-8) 4(2-4-6) 1500120 ภาษาอังกฤษเพือ่ การนำ�ตน 4(2-4-6) English for Self-direction 4(2-4-6) 4(2-4-6) 1500121 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสะทอ้ นคิด 3(2-2-5) English for Reflective Thinking 1500201 ความเปน็ สวนดสุ ติ Suan Dusit Spirit 2500116 สังคมอารยชน Civilized People Societies 2500117 พลเมืองไทยและพลโลกที่ดี Smart Thai and Global Citizens 4000112 วทิ ยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ในชีวติ ประจำ�วนั Science and Mathematics in Daily Life 4000113 ความเข้าใจและการใช้ดจิ ทิ ัล Digital Literacy หมวดวิชาเฉพาะ 108 หน่วยกติ วชิ าเฉพาะพน้ื ฐาน เรียน 36 หน่วยกติ - กลมุ่ วิชาพน้ื ฐานทางคณติ ศาสตร์และวิทยาศาสตร์ 18 หนว่ ยกิต 5071203 จลุ ชีววิทยาอาหารและสขุ าภบิ าล 3(2-2-5) Food Microbiology and Sanitation 3(3-0-6) 3(0-6-3) 5071307 เรขาคณติ วิเคราะห์และแคลคูลสั Analytic Geometry and Calculus 5071703 เคมวี ิเคราะห์ Analytical Chemistry 16

5072501 ฟิสกิ ส์วิศวกรรมอาหาร 3(3-0-6) Food Engineering Physics 3(3-0-6) 3(3-0-6) 5072702 เคมีอาหาร Food Chemistry 18 หน่วยกติ 3(3-0-6) 5074320 สถิติและการวางแผนการทดลองในการวจิ ัยด้านอาหาร 3(2-2-5) Statistics and Experimental Design for Food Research 3(3-0-6) - กลมุ่ วชิ าพืน้ ฐานทางเทคโนโลยี 3(2-2-5) 3(2-2-5) 5071308 ความปลอดภยั และอาชวี อนามัยในอุตสาหกรรมอาหาร 3(0-6-3) Safety and Occupational Health in Food Industry 66 หนว่ ยกติ 5071310 ทกั ษะงานครัวในระดบั อตุ สาหกรรม 63 หน่วยกติ Industrial Kitchen Skill 54 หนว่ ยกติ 5072107 การจดั การอตุ สาหกรรมอาหาร 1(1-0-2) Food Industrial Management 3(2-2-5) 3(2-2-5) 5072320 วัตถุดิบทางการเกษตร 3(2-2-5) Agricultural Materials 2(2-0-4) 3(3-0-6) 5072321 คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศสำ�หรับนกั เทคโนโลยีอาหาร 3(0-6-3) Computer and Information Technology for Food Technologist 3(0-6-3) 3(3-0-6) 5073363 การพฒั นาบุคลากรและการฝกึ อบรมดา้ นเทคโนโลยีอาหาร 3(0-6-3) Human Resource Development and Training in Food Technology 4(4-0-8) วชิ าเฉพาะด้าน ไม่น้อยกว่า กลุ่มวชิ าเทคโนโลยีเฉพาะสาขา ไม่นอ้ ยกวา่ 17 1) กลมุ่ วชิ าบงั คับ 5071314 กฎหมายและมาตรฐานอาหาร Food Law and Regulations 5072105 การประกอบอาหารไทย Thai Culinary 5072106 ทักษะพืน้ ฐานการประกอบอาหารยุโรป Fundamentals of European Culinary 5072108 การประกอบอาหารเอเชยี ตะวันออก East Asia Culinary 5072323 การออกแบบและการวางผังสถานทผ่ี ลติ อาหาร Food Plant Layout and Design 5072334 ภาษาอังกฤษสำ�หรบั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี English for Science and Technology 5072420 เทคโนโลยกี ารผลติ อาหารเชิงอุตสาหกรรม 1 Industrial Food Processing Technology I 5072421 เทคโนโลยขี า้ ว Rice Technology 5072502 วศิ วกรรมอาหารพนื้ ฐาน Fundamental Food Engineering 5073108 การประกอบอาหารโมเลกลู าร์ Molecular Gastronomy 5073343 ทกั ษะภาษาองั กฤษสำ�หรับการน�ำ เสนองานดา้ นเทคโนโลยอี าหาร English Presentation Skills in Food Technoloy

5073362 อตุ สาหกรรมการผลติ อาหารฮาลาล 3(2-2-5) Halal Food Production Industry 3(3-0-6) 2(1-2-3) 5073364 ทักษะภาษาอังกฤษสำ�หรับการเขียนเชงิ วชิ าการดา้ นเทคโนโลยีอาหาร 3(0-6-3) English Academic Writing Skills in Food Technoloy 2(0-4-2) 3(0-6-3) 5073415 เทคโนโลยีการผลติ ผลติ ภัณฑน์ ม 3(0-6-3) Dairy Products Processing Technology 1(0-2-0) 3(3-0-6) 5073416 เทคโนโลยีการผลิตอาหารเชิงอตุ สาหกรรม 2 Industrial Food Processing Technology II 9 หน่วยกติ 2(1-2-3) 5073417 เทคโนโลยเี บเกอรี่และเพสตร ี้ 2(1-2-3) Bakery and Pastry Technology 2(1-2-3) 3(2-2-5) 5073418 การประเมนิ คณุ ภาพวัตถุดิบ และผลติ ภณั ฑ์อาหาร 3(2-2-5) Raw Material and Food Product Quality Evaluation 3(2-2-5) 3(2-2-5) 5073503 วิศวกรรมการแปรรปู อาหาร 3(2-2-5) Food Process Engineering 3(2-2-5) 2(1-2-3) 5073802 การเตรยี มความพร้อมฝึกประสบการณ์วชิ าชีพ/สหกจิ ศกึ ษาทางเทคโนโลยีอาหาร 2(1-2-3) Preparation for Field Experience/ Co-operative Education in Food Technology 3(3-0-6) 3(3-0-6) 5074321 ธรุ กิจอาหารฮาลาล Halal Food Business วิชาเลือก (เลอื กเรียน) 5073104 เทคโนโลยกี ารผลติ ผลติ ภัณฑ์ผกั และผลไม้ Fruit and Vegetable Products Processing Technology 5073105 เทคโนโลยีการผลติ ผลติ ภณั ฑเ์ นื้อสัตว์และสตั ว์ปีก Meat and Poultry Products Processing Technology 5073106 เทคโนโลยีบรรจุภณั ฑ์และระบบการเกบ็ รักษา Packaging Technology and Storage System 5073208 ขนมไทยพื้นบ้านและขนมไทยร่วมสมยั Local and Contemporary Thai Desserts 5073209 อาหารวา่ ง Snacks 5073210 เครอื่ งดื่ม Beverage 5073211 อาหารภมู ภิ าคอาเซยี น ASEAN Cuisine 5073419 ผลิตภัณฑ์อาหารกึ่งส�ำ เร็จรูป Instant Food Products 5073420 ผลติ ภัณฑข์ นมหวานจากน้ำ�ตาลและขนมขบเค้ียว Confectionary and Snack Products 5073421 เทคโนโลยกี ารผลิตอาหารหมกั Fermented Food Processing Technology 5073422 เทคโนโลยกี ารผลติ ผลิตภัณฑ์ประมง Fishery Products Processing Technology 5073614 อาหารสุขภาพ Health Food 5073615 อาหารสำ�หรับผสู้ ูงอายุ Food for Elderly 18

5074413 นวัตกรรมทางเทคโนโลยอี าหาร 3(3-0-6) Food Technology Innovation 3(2-2-5) 3(3-0-6) 5074415 การพัฒนาผลติ ภณั ฑ์อาหาร Food Product Development 5074601 การประเมนิ ทางประสาทสมั ผสั และวิทยาการผู้บริโภค Sensory Evaluation and Consumer Science กลุ่มวชิ าโครงงาน 3 หน่วยกิต 5074910 โครงงานทางเทคโนโลยอี าหารในสถานประกอบการ 3(0-9-0) Senior Project of Food Technology in Food Industry วิชาฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพ 6 หน่วยกติ โดยเลอื กเรยี นจากกลุ่มตอ่ ไปนี้ 6 หน่วยกติ กลุ่มสหกิจศกึ ษา 6(0-40-0) 5074808 สหกจิ ศึกษาในอตุ สาหกรรมอาหาร Co-operative Education in Food Industry กลุม่ การฝกึ ปฏบิ ัตงิ านในสถานประกอบการ 6 หนว่ ยกติ 5074809 ฝกึ ปฏบิ ัติงานในสถานประกอบการอุตสาหกรรมอาหาร 6(0-30-0) Field Experience in Food Industry หมวดวิชาเลอื กเสรีไม่น้อยกวา่ 6 หนว่ ยกิต ใหเ้ ลอื กเรยี นรายวชิ าใดๆ ในหลกั สตู รระดบั ปรญิ ญาตรมี หาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ โดยไมซ่ �้ำ กบั รายวชิ าทเี่ คยเรยี น มาแลว้ 19

แผนการเรียนตลอดหลักสตู ร นักศึกษารหสั 63 สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร ระดับปรญิ ญาตรี จำ�นวนหนว่ ยกิตรวม 147 หนว่ ยกิต ปีท่ี 1 ภาคการศกึ ษาที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 ปีที่ 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 หมวดวชิ าศึกษาท่วั ไป หมวดวิชาศึกษาทว่ั ไป 1500119 ภาษาไทยเพอื่ พัฒนาความเปน็ 6(6-0-12) 1500120 ภาษาอังกฤษเพือ่ การนำ�ตน 4(4-0-8) ผ้รู อบร ู้ 2500117 พลเมืองไทยและพลโลกทีด่ ี 4(2-4-6) 1500201 ความเปน็ สวนดสุ ิต 4(2-4-6) 4000112 วิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร ์ 4(2-4-6) 2500116 สงั คมอารยชน 4(2-4-6) ในชีวิตประจำ�วัน หมวดวชิ าเฉพาะ หมวดวชิ าเฉพาะ 5071307 เรขาคณิตวเิ คราะหแ์ ละแคลคลู สั 3(3-0-6) 5071203 จุลชวี วทิ ยาอาหารและสุขาภิบาล 3(2-2-5) 5071308 ความปลอดภยั และอาชีวอนามัย 3(3-0-6) 5071310 ทักษะงานครัวในระดับอตุ สาหกรรม 3(2-2-5) ในอุตสาหกรรมอาหาร 5071314 กฎหมายและมาตรฐานอาหาร 1(1-0-2) 5072702 เคมอี าหาร 3(3-0-6) รวม 20 หนว่ ยกิต รวม 22 หนว่ ยกติ ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 ปที ่ี 2 ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 หมวดวิชาศกึ ษาท่วั ไป หมวดวชิ าเฉพาะ 1500121 ภาษาองั กฤษเพือ่ การสะทอ้ นคิด 4(4-0-8) 5072108 การประกอบอาหารเอเชยี ตะวนั ออก 3(2-2-5) 4000113 ความเข้าใจและการใชด้ ิจิทัล 3(2-2-5) 5072323 การออกแบบและการวางผังสถานที่ 2(2-0-4) หมวดวชิ าเฉพาะ ผลิตอาหาร 5071703 เคมวี ิเคราะห ์ 3(0-6-3) 5072321 คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี 3(2-2-5) 5072105 การประกอบอาหารไทย 3(2-2-5) สารสนเทศสำ�หรบั นกั เทคโนโลยอี าหาร 5072106 ทกั ษะพน้ื ฐานการประกอบ 3(2-2-5) 5072334 ภาษาอังกฤษส�ำ หรับวิทยาศาสตร์ 3(3-0-6) อาหารยโุ รป และเทคโนโลยี 5072320 วัตถุดิบทางการเกษตร 3(2-2-5) 5072420 เทคโนโลยกี ารผลิตอาหาร 3(0-6-3) 5072501 ฟสิ กิ สว์ ิศวกรรมอาหาร 3(3-0-6) เชิงอุตสาหกรรม 1 5072421 เทคโนโลยีขา้ ว 3(0-6-3) 5072502 วศิ วกรรมอาหารพ้ืนฐาน 3(3-0-6) 5073415 เทคโนโลยกี ารผลติ ผลติ ภัณฑน์ ม 2(1-2-3) รวม 22 หน่วยกติ รวม 22 หนว่ ยกิต 20

ปีที่ 2 ภาคการศึกษาฤดูร้อน ปีการศึกษา 2564 กลุ่มวชิ าเฉพาะ 3(3-0-6) 5072107 การจดั การอตุ สาหกรรมอาหาร 3(3-0-6) 5074321 ธุรกจิ อาหารฮาลาล รวม 6 หนว่ ยกิต ปที ี่ 3 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565 ปที ี่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 ปกี ารศึกษา 2565 หมวดวชิ าเฉพาะ 4(4-0-8) กลุ่มวชิ าเฉพาะ 3(0-6-3) 5073343 ทกั ษะภาษาองั กฤษสำ�หรับ 5073108 การประกอบอาหารโมเลกลู าร์ 3(0-6-3) การนำ�เสนองานด้านเทคโนโลยีอาหาร 5073363 การพฒั นาบุคลากรและ 3(0-6-3) 5073362 อตุ สาหกรรมการผลิตอาหารฮาลาล 3(2-2-5) 1(0-2-0) 5073416 เทคโนโลยกี ารผลติ อาหาร 3(0-6-3) การฝึกอบรมดา้ นเทคโนโลยีอาหาร เชิงอตุ สาหกรรม 2 5073418 การประเมนิ คณุ ภาพวตั ถุดิบ 6 นก. 5073417 เทคโนโลยีเบเกอรีแ่ ละเพสตร้ี 2(0-4-2) 3 นก. 5073503 วศิ วกรรมการแปรรปู อาหาร 3(0-6-3) และผลิตภัณฑ์อาหาร 5074320 สถติ ิและการวางแผนการทดลอง 3(3-0-6) 5073802 การเตรียมความพร้อม ในการวจิ ยั ดา้ นอาหาร - กล่มุ วิชาเลอื ก ฝึกประสบการณว์ ิชาชีพ/ xxxxxxx วิชาเลอื ก 3 นก. สหกิจศึกษาทางเทคโนโลยีอาหาร - กลุม่ วิชาเลอื ก xxxxxxx วิชาเลือก หมวดวชิ าเลอื กเสรี xxxxxxx วิชาเลือกเสรี รวม 21 หน่วยกติ รวม 19 หนว่ ยกิต 21

ปีท่ี 3 ภาคการศกึ ษาฤดูรอ้ น ปกี ารศกึ ษา 2565 หมวดวชิ าเฉพาะ 3(3-0-6) 5073364 ทกั ษะภาษาองั กฤษส�ำ หรบั การเขยี นเชิงวชิ าการด้านเทคโนโลยอี าหาร หมวดวชิ าเลือกเสรี xxxxxxx วชิ าเลอื กเสรี 3 นก. รวม 6 หนว่ ยกติ ปีที่ 4 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปีการศึกษา 2566 ปีท่ี 4 ภาคการศกึ ษาที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2566 (กรณเี ลอื กเรยี นสหกจิ ศกึ ษา) หมวดวชิ าเฉพาะ (กรณีเลอื กเรียนสหกิจศึกษา) หมวดวชิ าเฉพาะ 5074808 สหกิจศกึ ษาในอุตสาหกรรมอาหาร 6(0-40-0) 5074910 โครงงานทางเทคโนโลยอี าหาร 3(0-9-0) ในสถานประกอบการ หมายเหตุ : ฝกึ ปฏบิ ตั ิงานเตม็ เวลาในสถานประกอบการ หมายเหตุ : นักศึกษาต้องได้รับการมอบหมายงานจากสถาน ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั อุตสาหกรรมอาหาร โดยไม่ลงทะเบียนเรยี น ประกอบการ ในการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา เพื่อกำ�หนดหัวข้อ รายวชิ าอ่ืนในช่วงปฏิบัติสหกจิ ศึกษา เปน็ เวลาตอ่ เนอื่ งไม่นอ้ ย โครงงานทางเทคโนโลยีอาหาร สืบค้นข้อมูล รวบรวมข้อมูล กวา่ 16 สปั ดาห์ ตามข้อกำ�หนดของมาตรฐานสหกจิ ศึกษา วางแผนการทดลอง วิเคราะห์ข้อมูล สรุปและอภิปรายผลการ รวมระยะเวลาฝึกปฏบิ ตั ไิ มน่ อ้ ยกว่า 640 ช่ัวโมง และระยะ ดำ�เนินการ นำ�เสนอผลการดำ�เนินการท้ังในรูปแบบการนำ� เวลาปฏบิ ัติงานเป็นไปตามข้อกำ�หนดของสถานประกอบการ เสนอแบบปากเปล่าและรายงานฉบับสมบูรณ์ โดยนักศึกษา ทงั้ นนี้ กั ศกึ ษาต้องไดร้ บั มอบหมายหน้าทีแ่ ละความรับผดิ ชอบ ตอ้ งด�ำ เนนิ การแกป้ ญั หา หรอื ปฏบิ ตั งิ านตามทไี่ ดร้ บั มอบหมาย ทช่ี ดั เจนจากหวั หนา้ สถานประกอบการ ภายในสถานประกอบการ เป็นเวลาต่อเน่ืองไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ (กรณไี ม่เลือกเรียนสหกิจศกึ ษา) (กรณไี มเ่ ลอื กเรียนสหกจิ ศกึ ษา) หมวดวชิ าเฉพาะ หมวดวชิ าเฉพาะ 5074809 ฝึกปฏบิ ัติงานในสถาน 6(0-30-0) 5074910 โครงงานทางเทคโนโลยอี าหาร 3(0-9-0) ประกอบการอุตสาหกรรมอาหาร ในสถานประกอบการ หมายเหตุ : ฝึกปฏบิ ัติงานจรงิ ในสถานประกอบการที่ หมายเหตุ: นักศึกษาต้องได้รับการมอบหมายงานจากสถาน เกี่ยวขอ้ งกับอตุ สาหกรรมอาหาร เปน็ เวลาตอ่ เนื่องไมน่ อ้ ยกว่า ประกอบการ ในการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา เพื่อกำ�หนดหัวข้อ 15 สัปดาห์ รวมระยะเวลาฝึกปฏบิ ตั ิไมน่ ้อยกวา่ 480 ชั่วโมง โครงงานทางเทคโนโลยีอาหาร สืบค้นข้อมูล รวบรวมข้อมูล โดยระยะเวลาปฏิบัตงิ านเป็นไปตามข้อก�ำ หนดของสถาน วางแผนการทดลอง วิเคราะห์ข้อมูล สรุปและอภิปรายผลการ ประกอบการ ท้ังนนี้ ักศึกษาต้องไดร้ บั การฝึกประสบการณ์ ดำ�เนินการ นำ�เสนอผลการดำ�เนินการท้ังในรูปแบบการนำ� ในทุกหนว่ ยงานของสถานประกอบการท่ีเกย่ี วขอ้ งกับสาขาวชิ า เสนอแบบปากเปล่าและรายงานฉบับสมบูรณ์ โดยนักศึกษา ตอ้ งด�ำ เนนิ การแกป้ ญั หา หรอื ปฏบิ ตั งิ านตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ภายในสถานประกอบการ เป็นเวลาต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ รวม 6 หนว่ ยกติ รวม 3 หน่วยกิต 22

คำ�อธบิ ายรายวชิ า หลกั สูตรเทคโนโลยีบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยอี าหาร 5071203 จลุ ชวี วิทยาอาหารและสุขาภิบาล 3(2-2-5) Food Microbiology and Sanitation ศึกษาความรู้พื้นฐานทางจุลชีววิทยา ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญของจุลินทรีย์ในอาหาร จุลินทรีย์ที่ใช้ ประโยชน์ในการแปรรูป การเส่ือมคุณภาพ และการเน่าเสียของอาหาร โรคอาหารเป็นพิษ อันตรายของอาหาร ปฏบิ ตั กิ ารตรวจสอบจลุ นิ ทรยี ใ์ นอาหาร การออกแบบสถานทแ่ี ละอปุ กรณ์ การท�ำ ความสะอาดและการบ�ำ รงุ รกั ษา การควบคุมกระบวนการผลติ ปลอดภยั การกำ�จัดสัตว์รบกวน การกำ�จัดขยะ และการจดั การสขุ วิทยาสว่ นบุคคล รวมถึงกฎหมายทเ่ี กี่ยวขอ้ ง Study fundamental knowledge of microbiology, affected factors of micro-organism growth in food, microorganisms used in processing, food deterioration and spoilage, food poisoning, food hardzards, laboratory practices in food microorganism, food plant and facilities design, food processing control, cleaning and maintenance, pest control, disposal and personnal hygiene management including of law and regulations 5071307 เรขาคณติ วิเคราะหแ์ ละแคลคูลสั 3(3-0-6) Analytical Geometry and Calculus ศกึ ษาเรขาคณติ วเิ คราะห์ กราฟ ฟงั กช์ นั ลมิ ติ และความตอ่ เนอ่ื งของฟงั กช์ นั การหาอนพุ นั ธข์ องฟงั กช์ นั พชี คณติ และฟังก์ชนั อดศิ ัย การหาปรพิ นั ธข์ องฟงั กช์ นั และการประยุกตใ์ ชส้ �ำ หรับงานดา้ นเทคโนโลยอี าหาร Study analytical geometry, graph drawing, function, limit and continuation of function, differentiation of algebraic function and transcendental function, basic integral of function, and application for food technology 5071703 เคมีวเิ คราะห ์ 3(0-6-3) Analytical Chemistry ศกึ ษาวธิ กี ารและเทคโนโลยที ใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะหท์ างเคมที เี่ กย่ี วขอ้ งกบั สารละลาย ความเขม้ ขน้ ปรมิ าณ สารสมั พนั ธ์ สมดลุ เคมี ปฏกิ ริ ยิ ากรด-เบส ปฏกิ ริ ยิ ารดี อกซ์ ปฏกิ ริ ยิ าของสารเชงิ ซอ้ น ปฏบิ ตั กิ ารวเิ คราะหเ์ ชงิ ปรมิ าณ และเชงิ คุณภาพทางเคมีอนินทรีย์ และเคมอี ินทรีย์ โดยใชเ้ ครอ่ื งมือพ้ืนฐานและข้นั สงู Study methodology and technology for analytical chemistry of solution, concentration, stoichiometry and chemical equilibrium, acid-base reaction, redox reaction, compound reaction, quantitative and qualitative analysis of inorganic and organic chemistry using laboratory and advance analytical equipments 5072501 ฟิสิกสว์ ิศวกรรมอาหาร 3(3-0-6) Food Engineering Physics ศึกษาหน่วยและมติ ทิ างวศิ วกรรมอาหาร ความหนาแนน่ ความเขม้ ขน้ อณุ หภูมิ ความดัน เอนทาลปี การเปลีย่ นแปลงสถานะของน้ำ� สมดุลมวลสาร พลังงานและก�ำ ลงั Study units and dimensions of food engineering, density, concentration, temperature, pressure, enthalpy, phase diagram of water, mass balance, energy and power 23

5072702 เคมีอาหาร 3(3-0-6) Food Chemistry ศึกษาประเภทของสารอาหาร ความสำ�คัญของโภชนาการตอ่ สุขภาพ แหลง่ ท่มี า ประโยชน์ การน�ำ สารอาหารไปใช้ในรา่ งกาย การเกิดปฏิกริ ยิ าทางเคมแี ละชีวเคมที ่ีมีผลตอ่ คณุ ภาพอาหาร บทบาทของนำ�้ ในอาหาร หน้าที่ของเอนไซม์ในอาหาร ผลของกระบวนการประกอบอาหารและการแปรรูปอาหารที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง สมบตั ิทางเคมขี องอาหาร และการใชว้ ัตถเุ จอื ปนในผลติ ภณั ฑ์อาหาร Study food nutritional, importance of nutrition and its effect on health and living quality sources, benefits ways the body uses nutrients, chemical reaction and biochemistry that affect food quality, roles of water in food, functions of enzymes in food, effects of culinary preparation and food processing on chemical properties of food, and utilization of food additives for food products 5074320 สถิตแิ ละการวางแผนการทดลองในการวจิ ัยดา้ นอาหาร 3(3-0-6) Statistics and Experimental Design for Food Research ศกึ ษาหลกั การพนื้ ฐานทางสถติ ิ ความนา่ จะเปน็ การสมุ่ ตวั อยา่ ง การทดสอบสมมตฐิ าน การวเิ คราะห์ ความแปรปรวน การเปรยี บเทยี บความแตกตา่ งของคา่ เฉลย่ี การวางแผนการทดลองดา้ นอาหาร การวเิ คราะหข์ อ้ มลู และประมวลผลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำ�เรจ็ รปู Study fundamental principles of statistics, probability, random sampling, hypothesis testing, analyses of variance, comparison of mean difference, planning of food experimental plan, data analysis and data processing through computer program 5071308 ความปลอดภยั และอาชวี อนามัยในอุตสาหกรรมอาหาร 3(3-0-6) Safety and Occupational Health in Food Industry ศึกษาหลักการจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในอุตสาหกรรมอาหาร ระเบียบปฏิบัติ และกฎหมายด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในอุตสาหกรรมอาหารของประเทศไทย ระบบมาตรฐานสากล ที่เกยี่ วขอ้ งอาชวี อนามยั และความปลอดภัยในอตุ สาหกรรมอาหาร รวมท้งั การจัดทำ�ระบบด้าน อาชีวอนามยั และ ความปลอดภัยในสถานประกอบการ Study principle management of safety and occupational health in food industry, regulations and law of safety and occupational health in food industry, inter-national standard system of safety and occupational health in food industry as well as manufacturing system practice for safety and occupational health in food establishment 5071310 ทักษะงานครวั ในระดับอตุ สาหกรรม 3(2-2-5) Industrial Kitchen Skill ศกึ ษาความหมายของครวั ในระดบั อตุ สาหกรรม ประเภทของครวั ระบบงานครวั การออกแบบ การจดั พนื้ ที่ การจดั วางอปุ กรณ์ วธิ กี ารใชง้ าน การบ�ำ รงุ รกั ษาอปุ กรณแ์ ละครภุ ณั ฑ์ การท�ำ ความสะอาดโดยวธิ ตี า่ งๆ ความปลอดภยั ในการปฏิบัติงานและการใช้พลังงาน ฝึกทักษะในการใช้เครื่องมือครัวในระดับอุตสาหกรรมอย่างถูกต้อง และปลอดภัย การฝกึ ปฏิบัติตามกฎระเบียบของการท�ำ งานตามหลักสากล Study definitions of the kitchen industry, type of kitchen, kitchen system, kitchen and work space designs, deployment device, how to use equipment, equipment maintenance and cleaning methods, working safety, energy useage, training in the use of kitchen tools in the industry, practice rules of international operation 24

5072107 การจัดการอตุ สาหกรรมอาหาร 3(3-0-6) Food Industrial Management ศกึ ษารปู แบบของธรุ กจิ และอตุ สาหกรรมอาหาร หลกั การพนื้ ฐานและปจั จยั ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การบรหิ าร จัดการอุตสาหกรรมอาหาร เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม การวางแผนและบริหารจัดการด้านทรัพยากร การผลิต งบประมาณ การเงนิ การบญั ชี การลงทนุ และการตลาด การจดั การคณุ ภาพ การวางแผนควบคมุ ตดิ ตามและประเมนิ ผล ในอุตสาหกรรมอาหาร จิตวิทยาอุตสาหกรรม การจัดการโลจิสติกส์ และการบริหารความเสี่ยงในธุรกิจและ อตุ สาหกรรมอาหาร Study patterns of food business and industry, the basic principles and factors related to the management of food industry, industrial economic, planning and management of resources, production, budget, finance, accounting, investment, and marketing, quality management, planning of monitoring and evaluation in the food industry, industrial psychology and logistics management, and risk management in business and food industry 5072320 วัตถดุ ิบทางการเกษตร 3(2-2-5) Agricultural Materials ศกึ ษาประเภทและแหลง่ ทม่ี าของวตั ถดุ บิ ทางการเกษตรเพอ่ื การผลติ อาหาร สมบตั แิ ละการเปลยี่ นแปลง ทางกายภาพ เคมี และเคมกี ายภาพของวตั ถดุ บิ ทางการเกษตร เทคโนโลยหี ลงั การเกบ็ เกย่ี ว การเสอื่ มเสยี และการเกบ็ รกั ษาของวตั ถดุ บิ ทางการเกษตร หลกั การเลอื กวตั ถดุ บิ ทางการเกษตรใหเ้ หมาะสมกบั กระบวนการผลติ อาหาร หลกั การเตรียมวัตถดุ บิ ทางการเกษตรเพอ่ื การแปรรูปและเครอ่ื งมือท่เี ก่ียวข้อง วตั ถดุ ิบทางการเกษตรชนดิ ใหม่ รวมทั้ง ผลกระทบของวัตถุดิบทางการเกษตรต่อสิง่ แวดล้อม Study types and sources of agricultural materials for food processing, characteristics, and physical, chemical and physicochemical changes of agricultural materials, postharvest technology, deterioration and storage agricultural materials, principle of agricultural materials selection for food processing, principle and instruments of agricultural materials preparation, new sources of agricultural materials as well as the effect of agricultural materials on environmental problems 5072321 คอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศส�ำ หรบั นกั เทคโนโลยีอาหาร 3(2-2-5) Computer and Information Technology for Food Technologist ศึกษาหลักการพ้ืนฐานด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศสำ�หรับอุตสาหกรรมอาหาร การส่ือสารสมัยใหม่ การประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำ�เร็จรูป การจัดการเอกสาร การจัดการฐานข้อมูล การวเิ คราะหข์ ้อมลู การน�ำ เสนอผลงานดว้ ยคอมพวิ เตอร์ การใชอ้ ินเตอร์เนต็ เพื่อการสืบคน้ ขอ้ มูลสารสนเทศ และ การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารจดั การ Study principles of computer and information technology for food industry, modern communications, application of computer program package, document and database management, data analysis, presentation using a computer program, utilization of internet for information searching, and application of information technology for management 5073363 การพัฒนาบคุ ลากรและการฝึกอบรมดา้ นเทคโนโลยอี าหาร 3(0-6-3) Human Resource Development and Training in Food Technology ศกึ ษาวธิ ีการพฒั นาบุคลากรในองค์กร การวางแผนและการบรหิ ารการฝึกอบรม การพฒั นาตามสาย อาชพี ดา้ นเทคโนโลยอี าหาร การส�ำ รวจความจ�ำ เปน็ ในการฝกึ อบรม การก�ำ หนดวตั ถปุ ระสงคใ์ นการอบรม การจดั ท�ำ แผนการฝกึ อบรม เทคนคิ การน�ำ เสนอและการสอนงานอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ การจดั ท�ำ สอื่ การฝกึ อบรม การวดั และประเมนิ ผล การจดั ท�ำ เอกสารในการฝกึ อบรม การเปน็ วทิ ยากรหรือผู้สอนงานดา้ นเทคโนโลยีอาหาร Study methodology for human resource development, planning and training management, developing a career in food technology, exploring the need for training, setting the objectives of the training, preparation of training plans, technical presentations and teaching, media training assessment, measurement and evaluation, documentation of training, trained as trainers or coaches in food technology 25

5071314 กฎหมายและมาตรฐานอาหาร 1(1-0-2) Food Law and Regulations ศึกษาพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 กฎกระทรวงและประกาศกระทรวงที่เก่ียวข้องกับอาหาร กฎหมายและขอ บังคับท่เี ก่ียวกบั การผลิตอาหารเพือ่ ความปลอดภยั ของผูบ ริโภค การกําหนดมาตรฐาน การแสดง ฉลากและการโฆษณาอาหาร ระบบการควบคุมอาหารและมาตรฐานอาหารของประเทศไทย และประเทศต่างๆ ตลอดจนหวั ขอ้ ของกฎหมายอาหารท่สี อดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบนั Study the Food Act B.E. 2522, regulations and notifications of the Ministry related to food, law and regulation of food production for consumer safety, the definition of food standard, food label and food advertisement, food quality control and food standard of Thailand and other countries, as well as the topic of food law consistent with current situation 5072105 การประกอบอาหารไทย 3(2-2-5) Thai Culinary ศกึ ษาความหมายและความสำ�คัญของตำ�รบั อาหารไทยร่วมสมยั ที่นยิ มทัง้ ในประเทศและตา่ งประเทศ สว่ นประกอบ วธิ กี ารปรุง การประยกุ ต์ใช้วัตถดุ บิ อาหารทดแทน และการจัดเสิรฟ์ Study definitions and importance of modern Thai cuisine, locally and globally famous of Thai dishes, knowledge of the typical ingredients and how to cook the dishes, alternative materials, and methods of presentation and serving contemporary Thai cuisine 5072106 ทกั ษะพ้ืนฐานการประกอบอาหารยุโรป 3(2-2-5) Fundamentals of European Culinary ศกึ ษาหลกั การพนื้ ฐานทงั้ ดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละศลิ ปะการประกอบอาหารยโุ รป วตั ถดุ บิ ในการประกอบ อาหารยโุ รป การใชอ้ ปุ กรณแ์ ละเครอ่ื งมอื ในครวั ยโุ รป ทกั ษะพนื้ ฐานในการประกอบอาหารทใี่ ชค้ วามรอ้ นแหง้ และ ความรอ้ นช้นื การใชเ้ ครือ่ งปรุงรส กลนิ่ รส เครื่องเทศ น�้ำ สต๊อก สารให้ความหนดื แมซ่ อสทง้ั 5 การเตรียมอาหาร มอื้ เช้า กลางวนั และอาหารคำ่�แบบยุโรป Study basic principles of European culinary arts and science, raw material of European culinary, the technique function of tools and equipment using in European kitchen, basic cooking including moist and dry heat methods, utilization of seasonings, flavorings, aromatics, herbs, stocks, and thickening agents, the five mother sauces, food preparation and cooking techniques for breakfast, lunch and dinner of European cuisine 5072108 การประกอบอาหารเอเชยี ตะวนั ออก 3(2-2-5) East Asia Culinary ศึกษาความหมายและความสำ�คัญของตำ�รับอาหารเอเชียตะวันออก ส่วนประกอบวิธีการปรุง การประยุกตใ์ ชว้ ตั ถดุ บิ อาหารทดแทน และการจัดเสริ ์ฟ Study definitions and importance of East Asia cuisine, knowledge of the typical ingredients and how to cook the dishes, alternative materials, and methods of presentation and serving East Asia cuisine 5072323 การออกแบบและการวางผงั สถานทีผ่ ลติ อาหาร 2(2-0-4) Food Plant Layout and Design ศกึ ษาความรเู้ กย่ี วกบั กฎระเบยี บขอ้ บงั คบั ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั สถานทผี่ ลติ อาหาร หลกั การออกแบบและวางผงั อุปกรณ์ เครื่องมือ และเครือ่ งจกั ร ในสถานท่ผี ลติ อาหาร การเขียนแบบและการอา่ นแบบทางวศิ วกรรม Study knowledge of regulations related to food production areas, principles of design and layout of equipments, tools and machines in an industrial food plant, sketching and drawing in engineering 26

5072334 ภาษาองั กฤษสำ�หรับวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 3(3-0-6) English for Science and Technology ศึกษาภาษาอังกฤษเชิงวิชาการในบริบททางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ เพอ่ื การเรยี นรทู้ างวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โดยเนน้ เกย่ี วกบั ค�ำ ศพั ทเ์ ฉพาะดา้ น โครงสรา้ งและส�ำ นวนทใี่ ชใ้ นคมู่ อื และส่ือการเรียนรตู้ ่างๆ การอ่านและการฟังเพ่ือวเิ คราะห์และสรุปความในประเด็นส�ำ คัญ Study academic English in the context of science and technology, English skills for learning in science and technology development, technical vocabulary, structures and expressions used in the manual and learning media, reading and listening to analyze and summarize the key points 5072420 เทคโนโลยีการผลติ อาหารเชิงอุตสาหกรรม 1 3(0-6-3) Industrial Food Processing Technology I ศกึ ษาวธิ กี าร กระบวนการ และเทคโนโลยที ใี่ ชใ้ นการผลติ อาหารเชงิ อตุ สาหกรรมทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การหนั่ ตดั สบั ซอย ปอก การตม้ การทอด การผดั การปง้ิ ยา่ ง การอบ การนงึ่ การลวก การพาสเจอไรซ์ และการสเตอรไิ ลซ์ Study methodology, process and technology for industrial food production including slicing, cutting, chopping, peeling, boiling, frying, stirred-frying, grilling, baking, steaming, blanching, pasteurizing and sterilizing 5072421 เทคโนโลยขี า้ ว 3(0-6-3) Rice Technology ศึกษาวธิ ีการ กระบวนการ และเทคโนโลยีทใ่ี ชใ้ นการเพาะปลกู ข้าวและการจดั การหลงั การ เก็บเกย่ี ว การสขี า้ ว การแปรสภาพและการเกบ็ รกั ษา คณุ ภาพและมาตรฐานขา้ วไทย หว่ งโซอ่ ปุ ทานการคา้ ขา้ วของประเทศไทย เทคโนโลยีการแปรรูปข้าวและผลิตภัณฑ์ การผลิตและการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากข้าว และผลพลอยได้ การใช้ ประโยชน์จากวัสดเุ หลอื ท้ิงจากการเพาะปลกู และการแปรสภาพ Study methodology process and technology for rice plantation and postharvest management, milling, processing and storage, quality and standard of Thai rice, trade goods in the supply chain, rice and products processing technology, production and product development from rice and by- product, utilization of waste from plantation and processing 5072502 วศิ วกรรมอาหารพ้ืนฐาน 3(3-0-6) Fundamental Food Engineering ศึกษาการถ่ายเทมวลสาร การถา่ ยโอนความรอ้ น กลศาสตรข์ องไหล หลักวศิ วกรรมพ้ืนฐานของการ แยกทางกล การกรอง การสกดั การกลั่น การลดขนาดและการผสม หลักวศิ วกรรมของกระบวนการแปรรปู อาหาร ด้วยความร้อน ระบบการท�ำ ความเย็นและการแชเ่ ยือกแขง็ การระเหย และการท�ำ แหง้ Study mass and heat transfers, fluid flow in food processing, engineering fundamental of mechanical separation, filtration, extraction, size reduction and mixing, engineering principle of thermal processing, refrigeration system and freezing process, evaporation and drying process 27

5073108 การประกอบอาหารโมเลกูลาร์ 3(0-6-3) Molecular Gastronomy ศกึ ษาวิธีการประกอบอาหารโมเลกลู าร์ท่สี อดคลอ้ งกบั แนวคิด และทฤษฎี การประกอบอาหารโดยใช้ เทคโนโลยี และนวตั กรรมทเ่ี กย่ี วขอ้ ง การใชส้ ว่ นผสมอาหาร เครอื่ งมอื และอปุ กรณ์ เพอ่ื ผลติ และพฒั นาอาหารใหม้ ี ลกั ษณะปรากฏ สี กลนิ่ รสชาติ และเนอื้ สัมผสั ทต่ี อบสนองความต้องการของผู้บรโิ ภค สรา้ งสรรค์รายการอาหาร ใหมเ่ พอ่ื สง่ เสรมิ แนวคดิ ในการพัฒนารายการอาหาร Study methodology for molecular gastronomy including concept and theory, cooking using relevant technology and innovation, using food ingredients and equipments to produce and develop food appearance, color, odor, taste and texture in order to meet the needs of consumers, creating new recipe to promote the development of new food items 5073343 ทกั ษะภาษาอังกฤษสำ�หรบั การน�ำ เสนองานด้านเทคโนโลยีอาหาร 4(4-0-8) English Presentation Skills in Food Technology ศึกษาเทคนิควิธีการนำ�เสนองานด้วยภาษาอังกฤษที่ถูกต้องเหมาะสมกับบริบททางเทคโนโลยีอาหาร การเลอื กใชค้ �ำ ศพั ทแ์ ละโครงสรา้ งประโยคทเ่ี หมาะสมในการน�ำ เสนอ การเชอื่ มโยงและเรยี บเรยี งล�ำ ดบั การตงั้ ค�ำ ถาม และการตอบคำ�ถาม การอภิปรายแสดงความคิดเห็น Study English presentation techniques in the context of food technology, word and sentence structures for presentation, sentences rearrangement, questions, answers discussions and debates 5073362 อตุ สาหกรรมการผลติ อาหารฮาลาล 3(2-2-5) Halal Food Production Industry ศึกษาความหมาย ข้อกำ�หนด และหลักการพื้นฐานของการผลิตอาหารฮาลาล การจัดการวัตถุดิบ กระบวนการผลติ และการฝกึ ปฏบิ ตั ทิ เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การผลติ อาหารฮาลาล การเกบ็ รกั ษา มาตรฐานอาหาร กฎหมาย ข้อบังคับท่ีเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล และหน่วยงานท่ีควบคุมและกำ�กับมาตรฐานอาหารฮาลาลใน ระดบั ชาติและนานาชาติ Study definitions, regulations and fundamental principles of Halal food production, raw material management, production processes and practices for Halal food production, preservation and storage, food standards, laws and regulations related to Halal food industry as well as relevant domestic and international Halal food regulatory agencies 5073364 ทกั ษะภาษาอังกฤษสำ�หรบั การเขยี นเชิงวิชาการดา้ นเทคโนโลยอี าหาร 3(3-0-6) English Academic Writing Skills in Food Technology ศกึ ษาเทคนคิ วธิ กี ารเขยี นงานเชงิ วชิ าการดว้ ยภาษาองั กฤษทถี่ กู ตอ้ งเหมาะสมกบั บรบิ ททางเทคโนโลยี อาหาร การจดบนั ทกึ ยอ่ การเขยี นค�ำ นยิ าม การเขยี นบทคดั ยอ่ การเขยี นรายงาน การเขยี นสรปุ และอภปิ ราย การเขยี น อธิบายกระบวนการ การเขยี นเชิงเปรียบเทียบ การเขียนแสดงเหตุและผล Study academic English writing techniques with the correct context of food technology, taking notes, writing definitions, abstract, report, summary and discussion, writing process, comparison as well as cause and effect 28

5073415 เทคโนโลยกี ารผลติ ผลิตภณั ฑ์นม 2(1-2-3) Dairy Products Processing Technology ศกึ ษาองคป์ ระกอบและคณุ สมบตั ขิ องน�ำ้ นมดบิ การตรวจสอบคณุ ภาพของน�้ำ นมดบิ การเตรยี มน�้ำ นม ดบิ ก่อนกระบวนการแปรรูป เครอ่ื งจกั รและอุปกรณ์ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง หลกั การและฝกึ ปฏิบัติการทางเทคโนโลยกี ารผลิต นมพาสเจอร์ไรซ์ นมสเตอริไลซ์ โยเกิร์ต ไอศกรีม เนย และเนยแข็ง การใชว้ ัตถุเจือปนอาหาร การเก็บรกั ษา และ การเส่อื มเสยี Study composition and properties of raw milk, measurement the quality of raw milk, preparation of raw milk before processing, machinery and related equipments, principle and practices of production technology for pasteurization and sterilization of milk, yogurt, ice cream, butter and cheese, utilization of food additives, storage and deterioration 5073416 เทคโนโลยกี ารผลิตอาหารเชิงอุตสาหกรรม 2 3(0-6-3) Industrial Food Processing Technology II ศกึ ษาวธิ กี าร กระบวนการ และเทคโนโลยที ใ่ี ชใ้ นการผลติ อาหารเชงิ อตุ สาหกรรมทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การท�ำ แห้ง การรมควนั การแช่เยน็ การแชเ่ ยอื กแข็ง การทำ�ใหเ้ ข้มขน้ การหมกั และการใชเ้ ทคโนโลยีข้ันสงู Study methodology, process and technology for industrial food production including drying, smoking, chilling, freezing, concentrating, fermenting and using advanced technology 5073417 เทคโนโลยเี บเกอรี่และเพสตร ้ี 2(0-4-2) Bakery and Pastry Technology ศึกษาวิธกี าร และเทคโนโลยที ่ใี ช้เพอ่ื การผลิตเบเกอร่ี และเพสตร้ีประเภท เคก้ คุกกี้ พาย และขนมปัง ระบบการผลิตเบเกอรี่ และเพสตรเ้ี ชิงอตุ สาหกรรม การควบคมุ คุณภาพ การเสอ่ื มเสยี การบรรจุ การเกบ็ รกั ษา Study methodology and technology for bakery and pastry production including cakes, cookies, pies and bread, industrial production system of bakery and pastry, quality control, deterioration, packing, storage 5073418 การประเมนิ คุณภาพวตั ถดุ ิบและผลติ ภณั ฑอ์ าหาร 3(0-6-3) Raw Material and Food Product Quality Evaluation ศกึ ษาวธิ กี าร และกระบวนการทใี่ ชเ้ พอื่ การควบคมุ และการประกนั คณุ ภาพอาหาร และวธิ กี ารทางสถติ ิ เทคนคิ การตรวจวดั คณุ ภาพอาหารดา้ นกายภาพ เคมี และประสาทสมั ผสั การประเมนิ และวธิ กี ารทดสอบลกั ษณะ ทางประสาทสมั ผสั ทผี่ ้บู รโิ ภคใชเ้ ปน็ เกณฑต์ ดั สินคณุ ภาพของวตั ถดุ ิบและผลิตภณั ฑ์อาหาร Study methodology and process for food quality control and assurance, and statistical methods for quality control, food quality testing technique through physical, chemistry and sensory, sensory evaluation and methods for sensory characteristics of raw material and food product for consumer decision 29

5073503 วิศวกรรมการแปรรปู อาหาร 3(0-6-3) Food Processing Engineering ศกึ ษาวธิ กี าร กระบวนการแปรรปู อาหารและเครอ่ื งมอื ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง การใชเ้ ทคโนโลยกี ารแปรรปู อาหารและ ผลของกระบวนการทม่ี ตี อ่ คณุ ภาพอาหาร กระบวนการแปรรปู โดยใชค้ วามรอ้ นและอณุ หภมู ปิ กติ กระบวนการแปรรปู โดยใชค้ วามเยน็ การใชพ้ ลงั งานและการควบคมุ เครอื่ งจกั รในกระบวนการแปรรปู อาหาร การใชพ้ ลงั งานหมนุ เวยี น การควบคุมเครื่องจักรโดยใช้ไมโครโปรเซสเซอร์ เทคโนโลยีการลดข้ันตอนกระบวนการผลิต เทคโนโลยบี รรจุภณั ฑ์ แบบแอคทีฟ และบรรจภุ ณั ฑอ์ จั ฉริยะ และการเกบ็ รกั ษา เทคโนโลยกี ารลดต้นทุน การก�ำ จัดของเสียและนำ้�เสีย และการรกั ษาสิง่ แวดลอ้ ม Study methodology, food manufacturing technologies and instruments, food processing technology and its effect on food qualities, thermal and non-thermal processing, cold processing, energy and process control of food processing, renewable energy utilization, microprocessor control equipment for food processing, minimally processing technologies, active or intelligent packaging technologies and storage, manufacturing cost reduction techniques, waste and wastewater management, and environmental protection 5073802 การเตรยี มความพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชพี /สหกจิ ศกึ ษาทางเทคโนโลยีอาหาร 1(0-2-0) Preparation for Field Experience/ Co-operative Education in Food Technology ศกึ ษาความรเู้ บอ้ื งตน้ เกยี่ วกบั รปู แบบและกระบวนการฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี ความส�ำ คญั ของการฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพ การเลือกสถานประกอบการ การสัมภาษณ์งาน วัฒนธรรมองค์กร การพัฒนาบุคลิกภาพ จรรยาบรรณวชิ าชพี คณุ ธรรมจริยธรรม กฎหมายแรงงาน การประกนั สงั คม ระบบมาตรฐานการประกันคณุ ภาพ และความปลอดภัยในการทำ�งาน การใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร และการนำ�เสนองาน ทักษะการสื่อสาร ระหวา่ งบุคคล การแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหน้าและการตัดสินใจ Study principle of format and process of field experience, importance of field experience, establishment selection, job interview, organisational culture, personality development, professional ethics, labor law, social security, quality assurance standard and safety in the workplace, English for communication and presentations, interpersonal communication skills, unexpected troubleshooting and decision making 5074321 ธรุ กจิ อาหารฮาลาล 3(3-0-6) Halal Food Business ศึกษาเกี่ยวกับสภาพตลาดอาหารฮาลาลในปัจจุบันทั้งในประเทศไทย และต่างประเทศ ข้ันตอนการ ขอรับรองมาตรฐานอาหารฮาลาล มาตรฐานและกฎหมายที่เก่ียวข้องกับการนำ�เข้าและส่งออกอาหารฮาลาลของ ไทยและประเทศทเ่ี ก่ียวขอ้ ง รวมท้ังกรณีศกึ ษาการผลติ ผลิตภัณฑอ์ าหารฮาลาลและธรุ กิจทเ่ี กยี่ วข้อง Study current market of Halal food in Thailand and international, procedure of Halal food standard system, import and export law and regulations of Halal food of Thailand and other counties, as well as case study of process and business for Halal food product 30

5073104 เทคโนโลยีการผลติ ผลิตภณั ฑ์ผักและผลไม ้ 2(1-2-3) Fruit and Vegetable Products Processing Technology ศกึ ษาชนดิ ของผกั และผลไม้ การจดั การภายหลงั การเกบ็ เกยี่ วและคณุ ภาพของผกั และผลไม้ องคป์ ระกอบ ทางเคมีของผักและผลไม้ การเปล่ียนแปลงของผักและผลไม้จากกระบวนการแปรรูป เครื่องจักรและอุปกรณ์ ที่เกี่ยวข้องกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ผักและผลไม้แปรรูป เทคโนโลยีการผลิตและฝึกปฏิบัติการผลิตผักผลไม้ หมักดอง เช่ือม แช่อิ่ม แยมผลไม้ เครื่องดื่มจากผักและผลไม้ การใช้วัตถุเจือปนอาหาร การเก็บรักษา และ การเสือ่ มเสีย Study types of vegetables and fruits, management of postharvest and quality of vegetables and fruits, as well as chemical compositions of the vegetables and fruits, changes of vegetables and fruits from processing methods, machines and equipment related to the production of processed vegetables and fruits, production technology and laboratory practices of fermented, preserved, sweetened, compoted vegetables and fruits, fruit jams, vegetable and fruit drinks, utilization of food additives, storage and deterioration 5073105 เทคโนโลยกี ารผลติ ผลิตภณั ฑ์เน้ือสัตวแ์ ละสัตวป์ กี 2(1-2-3) Meat and Poultry Products Processing Technology ศกึ ษาหลกั การและประเภทของผลติ ภณั ฑเ์ นอื้ สตั วแ์ ละสตั วป์ กี โครงสรา้ งและองคป์ ระกอบของเนอื้ สตั ว์ และสตั วป์ กี การเตรยี มเพอื่ การประกอบอาหารและการแปรรปู การฆา่ ตามหลกั สากล การตดั แตง่ ซาก เทคโนโลยกี าร ผลติ และฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารผลติ ผลติ ภณั ฑเ์ นอื้ สตั วแ์ ละสตั วป์ กี ลกู ชน้ิ ไสก้ รอก แฮม เบคอน แหนม และกนุ เชยี ง เครอ่ื งจกั ร และอปุ กรณ์การผลติ การใชว้ ตั ถเุ จือปนอาหาร การเกบ็ รักษา และการเสื่อมเสีย Study principles and types of meat and poultry products, structures and elements of meat and poultry, preparation for food preparation and processing; international slaughtering standards, decoration of carcasses, production technology and laboratory practices of meat and poultry, meatballs, sausages, hams, bacons, fermented pork and Chinese sausages, production machines and equipments, utilization of food additives, storage and deterioration 5073106 เทคโนโลยบี รรจุภัณฑ์และระบบการเก็บรกั ษา 2(1-2-3) Packaging Technology and Storage System ศกึ ษาความส�ำ คญั บทบาทหนา้ ท่ี ประเภทของวสั ดบุ รรจภุ ณั ฑ์ และการเลอื กใชบ้ รรจภุ ณั ฑใ์ หเ้ หมาะสม กบั อาหาร ฉลากอาหาร เทคโนโลยีการบรรจแุ ละเก็บรกั ษา การบรรจุแบบสุญญากาศ การดดั แปลงบรรยากาศใน บรรจุภัณฑ์ บรรจุภัณฑแ์ อคทฟี และอายุการเก็บรกั ษาผลิตภณั ฑ์อาหาร ฝกึ ปฏบิ ัติการตรวจสอบคณุ ภาพของวสั ดุ บรรจภุ ณั ฑ์ และบรรจภุ ณั ฑ์ส�ำ หรบั อาหาร Study importance, roles and duties, types of packaging materials as well as selection of suitable packaging for food, food label, technology of packaging and preservation, vacuum packaging, modified atmosphere packaging, active packaging and shelf life of food products, laboratory practices for quality measurement of packaging materials and food packaging 5073208 ขนมไทยพน้ื บ้านและขนมไทยรว่ มสมัย 3(2-2-5) Local and Contemporary Thai Desserts ศกึ ษาความหมายและความส�ำ คญั ของขนมไทยพนื้ บา้ นและขนมไทยรว่ มสมยั ทน่ี ยิ มในปจั จบุ นั ประเภท วตั ถดุ ิบ อปุ กรณ์ในการเตรียมและประกอบขนมไทย การจัดตกแตง่ และการจดั เสริ ์ฟ Study definitions and importance of Thai traditional and contemporary desserts, types, ingredients, prepared and cooked equipments of Thai desserts, decorated and served 31

5073209 อาหารว่าง 3(2-2-5) Snacks ศกึ ษาความหมายและความส�ำ คญั ของอาหารวา่ งประเภทตา่ งๆ วตั ถดุ บิ วธิ กี ารปรงุ อปุ กรณใ์ นการผลติ อาหาร การจดั ตกแต่งและการจัดเสิร์ฟ ในโอกาสต่างๆ Study definitions and importance of various Thai snacks and appetizers, ingredients, cooking methods and equipments, decoration and common serving practices 5073210 เครือ่ งด่ืม 3(2-2-5) Beverage ศึกษาความหมายและความสำ�คัญของเครื่องด่ืมประเภทต่างๆ วัตถุดิบ วิธีการผสม และอุปกรณ์ มาตรฐานทใี่ ชใ้ นการผลิตเคร่ืองด่ืม การจดั ตกแตง่ และการจัดเสริ ์ฟเครื่องดมื่ กบั อาหารในวาระตา่ งๆ Study definitions and importance of various Thai beverages, ingredients, mixing and standard equipment for beverage process, decoration and serving practices with food 5073211 อาหารภมู ภิ าคอาเซียน 3(2-2-5) ASEAN Cuisine ศกึ ษาประวตั แิ ละความเปน็ มาของวฒั นธรรมอาหารในภมู ภิ าคอาเซยี น หลกั การประกอบอาหารพนื้ ฐาน ของประเทศอาเซียน วัตถุดิบ และวิธีการประกอบอาหารประจำ�ชาติในภูมิภาคอาเซียน ได้แก่ ประเทศสิงคโปร์ มาเลเซีย อนิ โดนีเซยี เวยี ดนาม ฟิลปิ ปนิ ส์ ลาว เมียนมา บรูไน และกมั พชู า Study history and culture of food in the Association of South East Asian Nations (ASEAN), principle of basic cooking of ASEAN cuisine, ingredients and cooking methods for ASEAN cuisine including of Singapore, Malaysia, Indonesia, Vietnam, Philippines, Laos, Myanmar, Brunei, and Cambodia 5073419 ผลติ ภัณฑ์อาหารกึ่งส�ำ เร็จรูป 3(2-2-5) Instant Food Products ศกึ ษาความหมาย คณุ ภาพและมาตรฐานของผลติ ภณั ฑอ์ าหารกง่ึ ส�ำ เรจ็ รปู เทคโนโลยกี ารผลติ และฝกึ ปฏิบัติการผลติ อาหารกึง่ สำ�เร็จรปู บะหม่กี ง่ึ สำ�เร็จรูป ข้าวต้มก่งึ ส�ำ เรจ็ รูป โจก๊ ปรงุ แต่งก่ึงส�ำ เร็จรูปแกงจดื ซุปชนดิ เขม้ ข้น แกง และนำ�้ พรกิ แกงก่งึ สำ�เร็จรปู การใช้วัตถเุ จอื ปนอาหาร การเก็บรักษา และการเส่ือมเสีย Study definitions, quality and standards of instant food products, production technology and laboratory practices of instant food production, instant noodles, instant boiled rice, instant rice porridge, clear soup, concentrated soup, curry and instant curry paste, utilization of food additives, storage and deterioration 5073420 ผลิตภณั ฑข์ นมหวานจากน้�ำ ตาลและขนมขบเค้ยี ว 3(2-2-5) Confectionary and Snack Products ศกึ ษาหลกั การ เทคโนโลยกี ารผลติ และฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารผลติ ผลติ ภณั ฑข์ นมหวานจากน�้ำ ตาล ลกู อม ลกู กวาด เยลล่ี และขนมขบเคยี้ ว ขา้ วเกรยี บ ขนมขบเคย้ี วชนิดแทง่ ขา้ วพอง การใช้วัตถุเจือปนอาหาร การเกบ็ รักษา และ การเสื่อมเสยี Study principles production technology and laboratory practices of con-fectionary, sweets, candies, jellies, snacks, crisp rice, snack bars, rice krispies, utilization of food additives, storage and deterioration 32

5073421 เทคโนโลยกี ารผลิตอาหารหมกั 2(1-2-3) Fermented Food Processing Technology ศกึ ษาหลกั การและประเภทของกระบวนการหมกั จลุ นิ ทรยี ท์ ใี่ ชใ้ นอตุ สาหกรรมอาหารหมกั อปุ กรณท์ ่ี เก่ียวข้องในกระบวนการผลติ เทคโนโลยีการผลติ และฝึกปฏิบตั ิการผลติ อาหารหมกั น�้ำ ปลา ซีอ๊วิ เตา้ เจี้ยว เทมเป้ น�้ำ ส้มสายชู ไวน์ เบยี ร์ และสุรา การใชว้ ัตถุเจือปนอาหาร การเกบ็ รักษา และการเสอ่ื มเสยี Study principles and types of fermentation process, microorganisms used in the fermented food industry, relevant equipment used in production process, production technology and laboratory practices of fermented foods, fish sauce, soy bean sauce, soy sauce, temphe, vinegar, wine, beer and liquor, utilization of food additives, storage and deterioration 5073422 เทคโนโลยกี ารผลิตผลติ ภณั ฑป์ ระมง 2(1-2-3) Fishery Products Processing Technology ศกึ ษาประเภทของพชื และสตั วน์ �้ำ ทใ่ี ชใ้ นการบรโิ ภค เทคโนโลยกี ารผลติ และฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารผลติ ผลติ ภณั ฑ์ ประมง ปลากระปอ๋ ง เทคโนโลยกี ารผลติ ผลติ ภณั ฑป์ ระมงแชแ่ ขง็ ซรู มิ แิ ละผลติ ภณั ฑจ์ ากซรู มิ ิ สาหรา่ ยและผลติ ภณั ฑ์ จากสาหร่าย การใช้วัตถเุ จือปนอาหาร การเก็บรักษา และการเสือ่ มเสยี Study types of plants and marine animals used for consumption, production technology and laboratory practices of fishery products, canned fish, frozen fishery products, surimi and surimi products, seaweed and seaweed products, utilization of food additives, storage and deterioration 5073614 อาหารสขุ ภาพ 3(3-0-6) Health Food ศึกษาความหมายของอาหารเพ่ือสุขภาพ และคำ�ท่ีมีความหมายใกล้เคียงกัน ได้แก่ อาหารฟังก์ช่ัน นวิ ตราซตู คิ อล ผลติ ภณั ฑเ์ สรมิ อาหาร สารอาหารหลกั ทจ่ี �ำ เปน็ แกร่ า่ งกายและสารออกฤทธทิ์ างชวี ภาพ เสน้ ใยอาหาร น้ำ�ตาลโอลิโกแซคคาไรด์ พรไี บโอติก โพรไบโอติก และกรดไขมนั ไมอ่ ่ิมตวั เชิงซ้อนในกล่มุ โอเมก้า 3 Study definitions of health food and terminologies with similar definitions including function food, neutraceuticals, dietary supplements, essential nutrients, bioactive compounds, food fibres, oligosaccharides, prebiotics, probiotics, omega-3 polyunsaturated fat 5073615 อาหารส�ำ หรบั ผูส้ ูงอายุ 3(3-0-6) Food for Elderly ศึกษาความสำ�คัญของอาหารต่อสุขภาพของผู้สูงอายุ การเปลี่ยนแปลงทางสรีระ ความต้องการสาร อาหารทจี่ �ำ เปน็ ส�ำ หรบั ผสู้ งู อายุ การยอ่ ยและการดดู ซมึ ปญั หาโภชนาการทส่ี �ำ คญั ของผสู้ งู อายุ การจดั รายการอาหาร อาหารเฉพาะโรคส�ำ หรบั ผ้สู ูงอายุ การดแู ลและสง่ เสริมสขุ ภาพสำ�หรับผสู้ งู อายุ Study importance of food for the elderly health, physical changes, needs for necessary nutrients of the elderly, digestion and absorption, important nutritional problems for the elderly, menu planning for elderly diseases, health care and support for the elderly 33

5074413 นวตั กรรมทางเทคโนโลยอี าหาร 3(3-0-6) Food Technology Innovation ศกึ ษาความหมายของนวตั กรรมอาหาร หลกั การ และแนวทางในการสรา้ งนวตั กรรมอาหาร นวตั กรรม การผลิตอาหารในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต การบูรณาการระหว่างความรู้ด้านนวัตกรรมอาหาร การตลาด และการจดั การ ส�ำ หรับนวัตกรรมผลติ ภณั ฑ์อาหารประเภทตา่ งๆ Study definitions of food innovation, principles and guidelines for creation of food innovations, innovation of food production for the present days and trends in the future, integration between knowledge of food innovation, marketing and management for innovative products of various foods 5074415 การพัฒนาผลติ ภณั ฑอ์ าหาร 3(2-2-5) Food Product Development ศึกษาความสำ�คัญของการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ประเภทของผลิตภัณฑ์ใหม่ การตลาดผลิตภัณฑ์ อาหาร ความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภค กระบวนการพฒั นาผลติ ภณั ฑอ์ าหาร เทคนคิ ทางสถติ ทิ ใ่ี ชใ้ นการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ การทดสอบคณุ ภาพผลติ ภณั ฑ์ การทดสอบผ้บู ริโภค และการน�ำ ผลิตภณั ฑ์ออกสูต่ ลาด Study importance of food product development, types of new products, food product marketing, consumer needs, food product development processes, statistical techniques used in food product development, product quality assessment, consumer testing, and launching products to the market 5074601 การประเมนิ ทางประสาทสัมผสั และวทิ ยาการผบู้ รโิ ภค 3(3-0-6) Sensory Evaluation and Consumer Science ศกึ ษาพนื้ ฐานทางจติ วทิ ยาและสรรี วทิ ยาของประสาทสมั ผสั หลกั การปฏบิ ตั ทิ เี่ กย่ี วขอ้ งกบั การประเมนิ ทางประสาทสมั ผสั การทดสอบความแตกตา่ ง การทดสอบเชงิ พรรณนา การคดั เลอื กและฝกึ ฝนผทู้ ดสอบ การทดสอบ ความชอบและการยอมรบั การออกแบบสอบถาม การทดสอบผู้บริโภค ความรเู้ กีย่ วกบั พฤตกิ รรมการบริโภคด้าน อาหาร ปัจจัยทีม่ ีผลต่อความต้องการและการตดั สนิ ใจซื้อผลิตภณั ฑ์อาหาร แนวโนม้ การบรโิ ภคอาหาร Study basic psychology and physiology of senses, practices related to assessment of senses, difference testing, descriptive testing, selection and training of testers, satisfaction and acceptance testing, creating questionnaires, consumer testing, knowledge of food consumption behaviours, factors affecting needs and decision-making related to purchase of food products, trends in food consumption 5074910 โครงงานทางเทคโนโลยีอาหารในสถานประกอบการ 3(0-9-0) Senior Project of Food Technology in Food Industry ศกึ ษาการวเิ คราะหโ์ จทยป์ ญั หาจากสถานประกอบการ เพอื่ ก�ำ หนดหวั ขอ้ โครงงานทางเทคโนโลยอี าหาร สบื คน้ ขอ้ มลู รวบรวมขอ้ มลู วางแผนการทดลอง วเิ คราะหข์ อ้ มลู สรปุ และอภปิ รายผลการด�ำ เนนิ การ ทง้ั นน้ี กั ศกึ ษา ตอ้ งด�ำ เนนิ การแกป้ ญั หา หรอื ปฏบิ ตั งิ านตามทไี่ ดร้ บั มอบหมายภายในสถานประกอบการ น�ำ เสนอผลการด�ำ เนนิ การ ทง้ั ในรปู แบบการน�ำ เสนอแบบปากเปลา่ และรายงานฉบบั สมบรู ณ์ ในสปั ดาหส์ ดุ ทา้ ยของภาคการศกึ ษา โดยมอี าจารย์ ประจำ�หลักสูตรเป็นผู้ประเมนิ Study and analysis problem from food establishments in order to assign the senior project in food technology, data searching and collection, experimental design, data analysis and discussion, acting and working this project only in food industries, as well as final presentation in both oral and report in the last week of semester, evaluated by the academic instructor 34

5074808 สหกจิ ศึกษาในอุตสาหกรรมอาหาร 6(0-40-0) Co-operative Education in Food Industry ปฏบิ ตั งิ านในสถานประกอบการทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั อตุ สาหกรรมอาหาร เสมอื นหนงึ่ เปน็ พนกั งานของสถาน ประกอบการ ในต�ำ แหนง่ ทต่ี รงกบั สาขาวชิ า และเหมาะสมกบั ความรคู้ วามสามารถเปน็ ระยะเวลาตอ่ เนอ่ื งไมน่ อ้ ยกวา่ 16 สปั ดาห์ มหี นา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบและงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายจากสถานประกอบการ มอี าจารยน์ เิ ทศงาน ตดิ ตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบร่วมกับสถานประกอบการตลอดระยะเวลาปฏิบัติงานของนักศึกษา ท�ำ ใหเ้ กดิ การพัฒนาตนเองอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ และมีประสบการณ์จากการปฏบิ ตั งิ านในสถานประกอบการก่อน สำ�เรจ็ การศึกษา Practice in food industries as a full time employee with a field of study for at least 16 weeks, assigned job descriptions from food industry, the training will be supervised, followed up and evaluated by lecturer and industrial staff in order to achieve experience self-skill development before graduation 5074809 ฝึกปฏบิ ตั ิงานในสถานประกอบการอุตสาหกรรมอาหาร 6(0-30-0) Field Experience in Food Industry ฝกึ ปฏบิ ตั งิ านจรงิ ในสถานประกอบการอตุ สาหกรรมอาหารทง้ั ภาครฐั เอกชน หรอื รฐั วสิ าหกจิ เปน็ ระยะ เวลาไมน่ อ้ ยกวา่ 15 สปั ดาห์ ท�ำ ใหเ้ กดิ ประสบการณจ์ รงิ ในการท�ำ งานกอ่ นส�ำ เรจ็ การศกึ ษา ทงั้ นี้ ในการฝกึ งานจะ มอี าจารย์ผูร้ บั ผิดชอบการฝึกงานตดิ ตามการฝึกงานและประเมินผล Field experience in the real situation at government, private sector and state enterprise of food establishments, working in the placement at least 15 weeks in order to learn the method of work before graduation, following and consulting approved by the ins0tructor through the field experience 35

ÁÁËËÒÒ ÔÇ ÔÇ· · Ò ÅÒÑ ÅÂÑ ÂÊ ÇÊ Ç´´Ø ÊØ ÊÔ µÔ µ หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ Bachelor of Arts Program in Home Economics SS uu aa nn DD uu ss ii tt

หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ ระดับปริญญาตรี 1. ชือ่ หลกั สูตร หลกั สตู รศิลปศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ ภาษาไทย : Bachelor of Arts Program in Home Economics ภาษาอังกฤษ : 2. ชอื่ ปรญิ ญา ภาษาไทย ชอ่ื เต็ม ศลิ ปศาสตรบณั ฑติ (คหกรรมศาสตร)์ ช่อื ยอ่ ศศ.บ. (คหกรรมศาสตร)์ ภาษาองั กฤษ ช่ือเตม็ Bachelor of Arts (Home Economics) ชอ่ื ยอ่ B.A. (Home Economics) 3. วัตถปุ ระสงคข์ องหลักสูตร เพอ่ื ผลติ บณั ฑติ ทม่ี คี ณุ ลกั ษณะสอดคลอ้ งกบั ลกั ษณะของสาขาวชิ า ตรงกบั ความตอ้ งการของสงั คมและตลาดแรงงาน ดงั น้ี 3.1) มคี ณุ ธรรมจริยธรรม มีจติ บรกิ าร ส�ำ นึกในความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเอง ครอบครัวและสงั คม 3.2) มีบคุ ลกิ ภาพทีด่ ี อ่อนนอ้ มถอ่ มตน มีสมั มาคารวะ รู้จักกาลเทศะ 3.3) มีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ มีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาตนเองและวิชาชีพดำ�รงไว้ซึ่งวัฒนธรรม ภูมิปัญญาอนั ดีงามของไทย 3.4) มคี วามรแู้ ละทกั ษะวชิ าชพี ดา้ นคหกรรมศาสตร์ สามารถประยกุ ตใ์ ชอ้ งคค์ วามรใู้ นการปฏบิ ตั งิ านไดอ้ ยา่ งเหมาะสม รวมถงึ มคี วามคดิ สร้างสรรค์ คดิ วเิ คราะห์อย่างเปน็ ระบบสามารถตัดสนิ ใจและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม 3.5) มคี วามสามารถในการสื่อสารทัง้ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ สามารถใชเ้ ทคโนโลยไี ดอ้ ย่างเหมาะสม 3.6) มคี วามสามารถในการวางแผน บรหิ ารจดั การ และการพฒั นางาน รวมทง้ั สามารถท�ำ งานรว่ มกบั ผอู้ น่ื ไดอ้ ยา่ ง มีประสทิ ธิภาพ 4. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลงั สำ�เรจ็ การศึกษา 4.1) นักบริหารจัดการหรือผู้ปฏิบัติงานในการผลิตอาหาร ตลอดจนการวางแผนและควบคุมคุณภาพอาหาร ใน โรงเรยี น โรงพยาบาล หรอื สถานประกอบการดา้ นอาหาร 4.2) นกั บรหิ ารจดั การหรอื ผ้ปู ฏิบัติงานในธุรกจิ บรกิ ารตา่ งๆ เช่น นติ บิ ุคคลของอพาร์ตเม้นต/์ คอนโดมเิ นยี ม/บา้ น จัดสรร เป็นตน้ 4.3) นกั บรหิ ารจดั การหรอื ผปู้ ฏบิ ัตงิ านในสถานดูแลผู้สงู อายุ หรือสถานเลย้ี งเด็ก 4.4) นักบริหารจัดการหรอื ผูป้ ฏบิ ตั งิ านในอุตสาหกรรมธุรกิจเส้อื ผ้าและสิง่ ทอ รวมทัง้ ศลิ ปะประดษิ ฐต์ า่ งๆ 4.5) ผ้ปู ระกอบการดา้ นคหกรรมศาสตร์ เชน่ ผ้ปู ระกอบการร้านอาหาร ผปู้ ระกอบการรา้ นดอกไมผ้ ูป้ ระกอบการ สถานเล้ียงเด็กและผู้สงู อายุ เปน็ ต้น 37

โครงสรา้ งหลกั สตู ร จ�ำ นวนหนว่ ยกติ รวมตลอดหลกั สตู รไมน่ อ้ ยกวา่ 129 หนว่ ยกติ มสี ดั สว่ นจ�ำ นวนหนว่ ยกติ แยกตามหมวดวชิ าและ กลุม่ วิชา ดังนี้ จ�ำ นวนหนว่ ยกิต รวมตลอดหลักสูตร 129 หน่วยกติ 1. หมวดวิชาศึกษาท่วั ไป 30 หนว่ ยกิต 2. หมวดวชิ าเฉพาะ 93 หนว่ ยกิต 2.1 กลุ่มวชิ าพืน้ ฐานวชิ าชพี 21 หน่วยกติ 2.2 กลุ่มวิชาเฉพาะ 66 หน่วยกติ - วชิ าบังคบั 30 หนว่ ยกิต - วชิ าเลอื ก 36 หนว่ ยกิต 2.3 กลมุ่ วชิ าฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี 6 หนว่ ยกิต 6 หน่วยกติ 3. หมวดวชิ าเลอื กเสรไี มน่ อ้ ยกว่า การจดั การเรยี นการสอน 30 หนว่ ยกติ หมวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป 6(6-0-12) 1500119 ภาษาไทยเพอ่ื พฒั นาความเป็นผรู้ อบรู้ 4(4-0-8) Thai for Being Scholars 4(4-0-8) 1500120 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การนำ�ตน 4(2-4-6) English for Self-direction 4(2-4-6) 1500121 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสะทอ้ นคดิ 4(2-4-6) English for Reflective Thinking 4(2-4-6) 1500201 ความเป็นสวนดุสติ Suan Dusit Spirit 2500116 สังคมอารยชน Civilized People Societies 2500117 พลเมอื งไทยและพลโลกท่ีด ี Smart Thai and Global Citizens 4000112 วทิ ยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ในชีวิตประจำ�วนั Science and Mathematics in Daily Life หมวดวชิ าเฉพาะ ให้เรยี นไมน่ อ้ ยกวา่ 93 หน่วยกติ กลมุ่ วิชาพื้นฐานวชิ าชพี เรียนไมน่ ้อยกวา่ 21 หนว่ ยกิต 4501111 หลกั คหกรรมศาสตร ์ 3(3-0-6) Principles of Home Economics 4501112 หลกั เศรษฐศาสตร ์ 3(3-0-6) Principles of Economics 4501113 ธรุ กจิ เบื้องต้น 3(3-0-6) Introduction to Business 4502106 การจัดการธรุ กิจขนาดกลางและขนาดย่อม 3(3-0-6) Small and Medium Enterprises Management 4503901 การสัมมนาคหกรรมศาสตร ์ 3(3-0-6) Seminar in Home Economics 4503902 การวจิ ยั ทางคหกรรมศาสตร ์ 3(2-2-5) Research in Home Economics 38

4502107 เทคโนโลยีสารสนเทศส�ำ หรับงานอาชพี คหกรรมศาสตร์ 3(2-2-5) Information Technology for Home Economics Profession กลมุ่ วิชาเฉพาะ เรียนไมน่ อ้ ยกวา่ 66 หนว่ ยกิต วชิ าบังคบั เรยี นไม่นอ้ ยกวา่ 30 หน่วยกติ 4511107 โภชนาการ 3(3-0-6) Nutrition 4512224 อาหารไทยและขนมไทย 3(2-2-5) Thai Cusine and Thai Dessert 4523207 ความรเู้ ร่ืองผา้ และการออกแบบตกแตง่ 3(2-2-5) Knowledge of Fabric and Design 4541105 มนุษยแ์ ละครอบครวั 3(3-0-6) Human and Family 4502506 ศิลปะสร้างสรรค์กบั งานคหกรรมศาสตร ์ 3(2-2-5) Creative Arts and Crafts of Home Economics 4531102 การจัดการบา้ นเรือนและส่งิ แวดล้อม 3(3-0-6) Home and Environmental Management 5071304 ขา้ ว 3(2-2-5) Rice 5073307 ความปลอดภัยของอาหาร และการสุขาภบิ าล 3(3-0-6) Food Safety and Sanitation 5073316 เบเกอรีแ่ ละเพสตร ้ี 3(2-2-5) Bakery and Pastry 4502108 การสื่อสารภาษาอังกฤษเพือ่ งานบริการ 3(2-2-5) English for Communication Services วชิ าเลอื ก เลือกเรยี นไม่นอ้ ยกวา่ 36 หนว่ ยกิต กลุ่มวิชาอาหารและโภชนาการ 3(2-2-5) 4513245 การประกอบอาหารจานเดียว One-dish Cooking 3(2-2-5) 4514220 อาหารเพือ่ สุขภาพ 3(2-2-5) Health Cuisine 4511205 หลักและทฤษฎีการประกอบอาหาร 3(2-2-5) Cooking Principles and Theories 3(2-2-5) 4511206 อาหารไทยรว่ มสมยั 3(2-2-5) Contemporary Thai Cuisine 3(2-2-5) 4511108 โภชนาการในวัยต่างๆ Nutrition throughout Life Cycle 3(2-2-5) 4512225 ขนมไทยพืน้ บา้ นและขนมไทยรว่ มสมัย 3(2-2-5) Local and Contemporary Thai Desserts 4512226 อาหารว่าง Snacks 4513246 เครื่องด่มื Beverage 4513247 การจัดจานอาหารแบบสร้างสรรค ์ Creative Food Stylist 39

4513248 อาหารภมู ิภาคอาเซียน 3(2-2-5) Asian Food 4513249 อาหารฮาลาล 3(2-2-5) Halal Food 5073310 เทคโนโลยีการถนอมอาหาร 3(2-2-5) Food Preservation Technology 5073340 พ้ืนฐานการประกอบอาหารยุโรป 3(2-2-5) Fundamentals of European Culinary กล่มุ วิชาสิง่ ทอและเครือ่ งนุ่งห่ม 4523202 การออกแบบและการเลอื กเสื้อผา้ 3(2-2-5) Garment Selection and Design 4523205 เสื้อผา้ บรุ ุษ 3(2-2-5) Men’s Apparels 4523206 เสอื้ ผ้าสตรี 3(2-2-5) Women’s Apparels 4523404 งานผา้ เพ่ืองานบริการ 3(2-2-5) Textile Product Serviceability 4564102 สิ่งทอพ้ืนเมืองและผลิตภัณฑ์ 3(2-2-5) Native Textile and Products 4521305 เยบ็ ปัก ถกั ทอ และผลิตภณั ฑใ์ นครวั เรอื น 3(2-2-5) Needlework and Housing Products 4523101 หลกั การเบอ้ื งต้นและการซอ่ มแซมเสอ้ื ผ้า 3(2-2-5) Introduction and Clothing Repair 4523208 การออกแบบเพอ่ื การตดั เยบ็ 3(2-2-5) Sewing Design กลมุ่ วิชาการจัดการบ้านและที่อยอู่ าศัย 3(2-2-5) 4533205 งานแมบ่ า้ น Housekeeping 4533206 เครอ่ื งมือเครอ่ื งใชภ้ ายในบา้ น 3(2-2-5) Home Appliances 4533305 งานคหกรรมศาสตร์ในบ้าน 3(2-2-5) Home Economics Housework 4533401 การจัดสวน 3(2-2-5) Gardening 4533308 การออกแบบจดั ตกแต่งบ้านและที่อยอู่ าศัย 3(2-2-5) Housing Design and Decoration กลุม่ วชิ าพัฒนาการมนุษย์และครอบครวั 4543208 การดูแลผู้สูงอายุและผ้ปู ่วยในครอบครวั 3(2-2-5) Elderly and Patient Health Care 4543301 การปฐมพยาบาล 3(2-2-5) First Aid 4543302 มาตุเวท 3(2-2-5) Maternity Science 40

4544103 อนามยั การเจริญพันธุ์ครอบครัว 3(2-2-5) Family Reproductive Hygiene 4544102 การเสริมสร้างความสัมพนั ธ์ในครอบครวั 3(2-2-5) Family Relationship Reinforcement 4544204 การจัดการสถานบริการดูแลเด็กเล็กและผสู้ ูงอายุ 3(2-2-5) Child and Elderly Care Center Management 4542102 การจดั การครอบครัว 3(2-2-5) Family Resource Management 4543207 พัฒนาการเด็กและการเลือกใช้ของเล่น 3(2-2-5) Child Development and Selection of Toys กลุ่มวชิ าศิลปะประดษิ ฐ์และงานสร้างสรรค์ 4552110 การจดั ดอกไม้ 3(2-2-5) Flowers Arrangement 4553116 การแกะสลักผกั และผลไม ้ 3(2-2-5) Fruit and Vegetable Craving 4553117 การจดั ดอกไม้ในงานพิธมี งคล 3(2-2-5) Flowers Arrangement for Auspicious Ceremonies 4553118 เครอื่ งแขวนไทย 3(2-2-5) Thai Flowers Mobiles 4553123 การจดั ดอกไม้แบบประยกุ ต์ศลิ ป ์ 3(2-2-5) Arts Applied Flowers Arrangement 4553121 การร้อยมาลยั 3(2-2-5) Fresh Flower Garland 4553122 การจดั ดอกไม้ในงานพิธอี ปุ สมบท 3(2-2-5) Floral Arrangement for Buddhist Ordinations 4553423 ดอกไมป้ ระดิษฐ์ Imitated Flowers 3(2-2-5) 4553424 ศลิ ปะงานใบตอง Arts of Banana Leaves 3(2-2-5) 4553425 งานใบตองวจิ ติ รศลิ ป์ Advanced Banana-leaf Craft 3(2-2-5) 4554122 การจัดพาน Flower Pedestal Tray Arrangement 3(2-2-5) 4553520 ศิลปะการจัดตกแต่งของขวัญ และเครื่องหอมไทย Gifts Decoration and Thai Incense 3(2-2-5) กลุ่มวชิ าฝึกประสบการณ์วชิ าชีพ 6 หนว่ ยกิต 4504805 การฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี ทางคหกรรมศาสตร์ Apprenticeship in Home Economics 6(1,200) หมวดวชิ าเลือกเสรไี ม่น้อยกวา่ 6 หน่วยกติ ใหเ้ ลอื กเรยี นรายวชิ าใดๆ ในหลกั สตู รระดบั ปรญิ ญาตรมี หาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ โดยไมซ่ �ำ้ กบั รายวชิ าทเี่ คยเรยี น มาแลว้ และจะต้องไม่เปน็ รายวชิ าท่กี ำ�หนดให้เรียนโดยไม่นับหนว่ ยกติ รวมในเกณฑ์การส�ำ เรจ็ หลกั สูตรฯ 41

แผนการเรยี นตลอดหลักสูตร นกั ศึกษารหสั 63 สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์ ระดับปริญญาตรี จำ�นวนหน่วยกิตรวม 129 หนว่ ยกิต ปีท่ี 1 ภาคการศกึ ษาที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2563 หมวดวิชาศกึ ษาทวั่ ไป หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป 1500201 ความเปน็ สวนดสุ ิต 4(2-4-6) 1500119 ภาษาไทยเพื่อการพัฒนา 6(6-0-12) 2500117 พลเมอื งไทยและพลโลกท่ีด ี 4(2-4-6) ความเปน็ ผรู้ อบรู้ กลมุ่ วชิ าพืน้ ฐานวชิ าชพี กลุ่มวิชาพ้ืนฐานวชิ าชีพ 4501111 หลักคหกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) 4501113 ธรุ กิจเบอื้ งต้น 3(3-0-6) 4501112 หลักเศรษฐศาสตร ์ 3(3-0-6) กลุ่มวิชาเฉพาะ กลมุ่ วชิ าเฉพาะ วิชาบงั คับ วิชาเฉพาะบังคบั 4531102 การจดั การบา้ นเรอื นและสงิ่ แวดลอ้ ม 3(3-0-6) 5073307 ความปลอดภัยของอาหาร 3(3-0-6) 4541105 มนุษย์และครอบครวั 3(3-0-6) และการสุขาภบิ าล 4502506 ศิลปะสรา้ งสรรค์กบั 3(2-2-5) 4511107 โภชนาการ 3(3-0-6) งานคหกรรมศาสตร์ วชิ าเลอื ก (3 นก.) xxxxxxx วิชาเลือก 3 นก. รวม 20 หน่วยกติ รวม 21 หน่วยกติ ปที ี่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ปที ่ี 2 ภาคการศึกษาท 2 ปีการศกึ ษา 2564 หมวดวิชาศึกษาท่วั ไป หมวดวชิ าศกึ ษาท่วั ไป 1500120 ภาษาอังกฤษเพื่อการนำ�ตน 4(4-0-8) 1500121 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสะท้อนคดิ 4(4-0-8) กลมุ่ วชิ าพนื้ ฐานวชิ าชพี 3(3-0-6) 4000112 วทิ ยาศาสตร์และคณติ ศาสตร ์ 4(2-4-6) 4502106 การจัดการธรุ กจิ ขนาดกลาง 3(2-2-5) ในชีวติ ประจำ�วนั และขนาดย่อม กลมุ่ วชิ าเฉพาะ 4502107 เทคโนโลยีสารสนเทศสำ�หรบั 3(2-2-5) วิชาบงั คบั งานอาชพี คหกรรมศาสตร ์ 3(2-2-5) 4512224 อาหารไทยและขนมไทย 3(2-2-5) กล่มุ วชิ าเฉพาะ 3(2-2-5) วชิ าเลอื ก (9 นก.) วชิ าบงั คับ xxxxxxx วชิ าเลอื ก 3 นก. 4523207 ความร้เู ร่ืองผ้าและการออกแบบ xxxxxxx วิชาเลือก 3 นก. ตกแตง่ xxxxxxx วิชาเลอื ก 3 นก. 4502108 การส่ือสารภาษาองั กฤษ เพอื่ งานบรกิ าร 5071304 ข้าว รวม 19 หนว่ ยกิต รวม 20 หน่วยกิต 42

ปที ี่ 3 ภาคการศึกษาท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565 ปีท่ี 3 ภาคการศึกษาท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2565 หมวดวิชาศกึ ษาท่ัวไป กลมุ่ วชิ าพ้นื ฐานวชิ าชพี 2500116 สงั คมอารยชน 4(2-4-6) 4503902 การวจิ ยั ทางคหกรรมศาสตร ์ 3(2-2-5) กลุ่มวชิ าเฉพาะ 4503901 การสัมมนาคหกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) วชิ าบังคบั กลมุ่ วชิ าเฉพาะ 5073316 เบเกอร่แี ละเพสตรี ้ 3(2-2-5) วชิ าเลอื ก (15 นก.) วิชาเลอื ก (9 นก.) xxxxxxx วิชาเลอื ก 3 นก. xxxxxxx วชิ าเลอื ก 3 นก. xxxxxxx วชิ าเลือก 3 นก. xxxxxxx วชิ าเลือก 3 นก. xxxxxxx วชิ าเลือก 3 นก. xxxxxxx วชิ าเลือก 3 นก. xxxxxxx วิชาเลอื ก 3 นก. หมวดวิชาเลอื กเสรี (6 นก.) xxxxxxx วิชาเลอื ก 3 นก. 4000113 ความเข้าใจและการใช้ดิจิทลั 3(2-2-5) xxxxxxx วิชาเลอื กเสร ี 3 นก. รวม 22 หนว่ ยกิต รวม 21 หน่วยกิต ปีท่ี 4 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2566 กล่มุ วชิ าฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี 6(1,200) 4504805 การฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพ ทางคหกรรมศาสตร ์ หมายเหต:ุ นักศึกษาลงทะเบยี นในภาคการศกึ ษาที่ 1 โดยฝึกปฏบิ ตั เิ ปน็ ระยะเวลา 1 ปกี ารศกึ ษา (ไม่ตำ่�กว่า 30 สัปดาห์) รวม 6 หน่วยกติ 43

คำ�อธบิ ายรายวชิ า หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ 4501111 หลักคหกรรมศาสตร ์ 3(3-0-6) Principles of Home Economics ศกึ ษาความเปน็ มา ปรชั ญา และความหมายของคหรรมศาสตร์ ความส�ำ คญั ของคหกรรมศาสตรต์ อ่ ชวี ติ บทบาทของนักคหกรรมศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง ชุมชน และสังคม ขอบข่ายของวิชาชีพ ดา้ นคหกรรมศาสตร์ หนว่ ยงานและองคก์ รท่เี ก่ียวขอ้ งกบั วิชาชีพ ตลอดจนจรรยาบรรณในการประกอบวชิ าชีพ Study the history, philosophy and importance of home economics in daily life. It includes the roles home economists in improving the quality of life of personal communities and societies. The course goes over the broad scope of home economics, which includes home economics organizations, and professional ethics 4501112 หลักเศรษฐศาสตร ์ 3(3-0-6) Principles of Economics ศึกษาความหมายและหลกั การท่วั ไปของเศรษฐศาสตร์ อปุ สงค์ และอปุ ทาน มลู คา่ และราคา วฏั จักร เศรษฐกิจ การจดั การทรพั ยากร พฤตกิ รรมการบริโภค การผลติ ต้นทุน การภาษอี ากร และหลกั การตลาดเบอื้ งตน้ Study the basic principles of economics including supply and demand, value and price, the economic cycle, resources allocation management, consumer behavior, production costs, taxation, and the principles of marketing 4501113 ธรุ กิจเบอื้ งตน้ 3(3-0-6) Introduction to Business ศกึ ษาหลกั ของการบรหิ ารจดั การและการน�ำ ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นงานดา้ นคหกรรมศาสตรก์ ารวางแผนและ การบรหิ ารจดั การดา้ นงบประมาณ การเงนิ การบญั ชที เี่ กยี่ วขอ้ งในวชิ าชพี การจดั การองคก์ รและการบรหิ ารงานบคุ คล Study the basic principles of administration and their application to home economic professions. It goes over business concepts such as finance, budgeting, account planning, as well as organizational and human resource management 4502106 การจัดการธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ม 3(3-0-6) Small and Medium Enterprises Management ศกึ ษาความหมาย และรปู แบบของธรุ กจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม หลกั การพนื้ ฐานและปจั จยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง กับการบริหารจัดการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม การบริหารทรัพยากรที่เกี่ยวข้องกับองค์กร การวิเคราะห์ สภาพแวดลอ้ มทางธรุ กจิ การวางแผนและบรหิ ารจดั การดา้ นการผลติ การเงนิ การลงทนุ การตลาด และการวเิ คราะห์ ประเด็นท่ีเกย่ี วขอ้ งกับการจดั การธรุ กจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม Study the different types of small and medium enterprises. Basic principles and factors in managing small and medium enterprises are discussed. This includes organizational and resource management, business environmental analysis, planning and production management, finance, investments, marketing, and the analysis of the topics relating to small and medium enterprises management 44

4503901 การสัมมนาคหกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) Seminar in Home Economics ศกึ ษาการพฒั นาแนวคดิ เกยี่ วกบั ประเดน็ ทางวชิ าการดา้ นคหกรรมศาสตร์ การคน้ ควา้ ทกั ษะการเขยี น งานดา้ นวิชาการและการนำ�เสนอ และการตอบค�ำ ถามประเดน็ ท่เี กยี่ วขอ้ งกับคหกรรม-ศาสตร์ Study the development of academic concepts in home economics. It includes development of academic skills such as research, writing and giving presentations. It also addresses common questions and answers relating to home economics 4503902 การวิจยั ทางคหกรรมศาสตร ์ 3(2-2-5) Research in Home Economics ศกึ ษาเทคนคิ การคน้ ควา้ งานวจิ ยั และงานสรา้ งสรรค์ สบื คน้ ขอ้ มลู ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั งานดา้ นคหกรรมศาสตร์ การเขียนเค้าโครงงานวิจัย การวางแผนการวิจัย การเก็บและรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปและ อภิปรายผลการวจิ ยั และการเขยี นรายงานวจิ ยั Study of develop and create research skills. Students learn proper research methods and techniques that include searching for information on home economics, proposal writing, research planning, collecting data, analyzing data and report writing 4502107 เทคโนโลยสี ารสนเทศส�ำ หรับงานอาชพี คหกรรมศาสตร์ 3(2-2-5) Information Technology for Home Economics Profession ศึกษาโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ท่ีจำ�เป็นต่อการทำ�งานด้านคหกรรมศาสตร์ โปรแกรมประมวลผล ค�ำ โปรแกรมด้านคำ�นวณ โปรแกรมน�ำ เสนองาน โปรแกรมฐานขอ้ มูล ฝีกปฏิบัติการใช้งานบรกิ ารตา่ งๆ ในระบบ อินเตอร์เนต็ รวมถงึ เทคนคิ การสบื ค้นขอ้ มูลสารสนเทศ Study applications of necessary programmed software in home economics field, word processor, calculating presentation, database and multi-purposes programs. Practice using Internet sevices: web search and information retrieval. 4511107 โภชนาการ Nutrition 3(3-0-6) ศกึ ษาความหมายและความส�ำ คญั ของโภชนาการทม่ี ตี อ่ สขุ ภาพและคณุ ภาพชวี ติ สารอาหาร แหลง่ ทมี่ า ความตอ้ งการสารอาหารและพลงั งานของบุคคลวยั ต่างๆ และการประเมินภาวะโภชนาการ Study the meaning and importance terms in the field of nutrition. It teaches the importance of nutrition and its influence on one’s in health and quality of life. It discusses nutrients and their sources, nutrient requirements for different age levels and nutritional assessment 4512224 อาหารไทยและขนมไทย 3(2-2-5) Thai Cuisine and Thai Dessert ศกึ ษาความหมายและความส�ำ คญั ของอาหารไทย และขนมไทย ความเปน็ มาของอาหารไทย และขนมไทย ส่วนประกอบตา่ งๆ ของอาหารไทย และขนมไทย ประเภทของอาหารไทยและขนมไทย การจดั สำ�รับอาหารไทย คาวหวาน ในงานพธิ ีต่างๆ การฝึกปฏิบตั กิ ารประกอบอาหารไทย และขนมไทย Study the meaning and importance the history of Thai cuisine and desserts. It gives the origins and cultural importance of Thai cuisine and how it is prepared and served in traditional ceremonies. It includes discussion of traditional foods, desserts and ingredients. 45

4523207 ความรเู้ ร่อื งผา้ และการออกแบบตกแต่ง 3(2-2-5) Knowledge of Fabric and Design ศึกษาความหมาย และความส�ำ คัญของสิ่งทอ โครงสรา้ งและคณุ สมบัตขิ องเสน้ ใย การผลติ เส้นใยและ เสน้ ดา้ ย ประเภทเสน้ ดา้ ย การยอ้ มสี การพมิ พผ์ า้ และการตกแตง่ การน�ำ ผา้ ไปใชส้ �ำ หรบั เสอื้ ผา้ เครอื่ งแตง่ กาย และ เคหะส่งิ ทอ การตดั เยบ็ และตกแต่งผา้ ในครัวเรือน Study the meaning and importance of textiles, structure and fiber properties, production of fibers and yarns/threads, categories, dying, printing, and decoration, fabric for costume and home furnishings, home sewing and embroidery 4541105 มนุษยแ์ ละครอบครวั 3(3-0-6) Human and Family ศกึ ษาแนวคดิ และทฤษฎที เี่ กย่ี วขอ้ งกบั พฒั นาการมนษุ ยแ์ ละครอบครวั การวางแผนครอบครวั อนามยั การเจริญพนั ธ์ุ ความสัมพนั ธใ์ นครอบครัว ปญั หาครอบครวั และแนวทางแก้ไข Study the concepts and theories relating to human and familial development, family planning, reproductive hygiene, family relationships, problems and solutions 4502506 ศิลปะสรา้ งสรรคก์ บั งานคหกรรมศาสตร ์ 3(2-2-5) Creative Arts and Crafts of Home Economics ศึกษาความส�ำ คัญของศลิ ปะ หลักการและแนวคดิ การสรา้ งสรรค์งานศลิ ปะ การประยุกต์ใช้ศิลปะเพ่ือ การสรา้ งสรรคง์ านด้านคหกรรมศาสตร์ ศิลปะงานใบตอง การจดั ดอกไม้ การแกะ สลักผกั และผลไม้ Study the importance of the arts. Basic principles and concepts of artistic creation are taught with a home economics focus. This includes, banana leaf artwork, flower arrangement, and vegetable and fruit carving 4531102 การจัดการบ้านเรือนและสงิ่ แวดล้อม 3(3-0-6) Home and Environmental Management ศึกษาความสำ�คัญของที่อยู่อาศัย การวางแผนงานบ้าน การดูแลรักษาเคร่ืองใช้ต่างๆ ตลอดจน การซ่อมแซม การจดั การทรัพยากรในครอบครวั การเลือกท่ีอยอู่ าศยั ความสมั พันธร์ ะหวา่ งวถิ กี ารด�ำ รงชวี ติ ของ มนษุ ยก์ บั สง่ิ แวดลอ้ ม คณุ ภาพชวี ติ ในชนบท และชมุ ชนเมอื ง การจดั การทรพั ยากรในชมุ ชน และการแกป้ ญั หาคณุ ภาพ สง่ิ แวดล้อมเพือ่ การพัฒนาอยา่ งยัง่ ยนื Study on managing the home and community. It includes such topics as housing, housework planning, home maintenance, household equipment repair, family resource management, and how to choose a residence. The relationships between humans and the environment will be looked into in regards to how it affects the quality of life in remote and urban areas. In terms of community management, community resource management is discussed and involves the participation of community members to solve environmental problems to promote sustainable development 46

5071304 ข้าว 3(2-2-5) Rice ศกึ ษาการแบง่ ประเภทของขา้ วไทยในการบรโิ ภค คณุ สมบตั ทิ างกายภาพและเคมขี องขา้ วสารทมี่ ตี อ่ การ หุงตม้ คณุ ภาพและมาตรฐานขา้ วไทย การเพาะปลูกและการจัดการหลงั การเก็บเกี่ยว การสี การแปรสภาพ และ การเกบ็ รกั ษา หว่ งโซอ่ ปุ ทานการคา้ ขา้ วของประเทศไทย ความส�ำ คญั ของขา้ วตอ่ สงั คม และเศรษฐกจิ ไทย การหงุ ขา้ ว ดว้ ยน้ำ� ไขมันพืช และไขมนั สตั ว์ การต้มขา้ วต้ม โจ๊ก และขา้ วแช่ การน่งึ และต้มขา้ วเหนียว Study on Thai rice, its special categorization and its physical and chemical properties. It includes instruction on the cultivation and manufacturing procedure of rice (milling, processing, and preservation). There is discussion of the chain supply and the price of rice in Thailand. The course also focuses on the importance of rice in Thai society and economy. It teaches the different cooking methods of rice and what dishes they produce making sure to include traditional and modern methods of cooking and serving rice 5073307 ความปลอดภัยของอาหารและการสุขาภบิ าล 3(3-0-6) Food Safety and Sanitation ศกึ ษาความส�ำ คญั ของความปลอดภยั ของอาหารและการสขุ าภบิ าลตอ่ สขุ ภาพของผบู้ รโิ ภค อนั ตรายของ อาหาร และสารก่อภูมิแพ้ การเสอื่ มเสยี ของอาหาร การปนเป้อื นของอาหารและน�ำ้ การจัดการสุขาภิบาลอาหาร การผลติ อาหารปลอดภัย การควบคุมคุณภาพอาหาร กฎหมาย และมาตรฐานท่ีเกยี่ วข้องกบั อาหาร Study the significance of food safety and sanitation through the consumer health, food hazard and food allergens, Food spoilage, food and water contamination, food sanitation management, safe food production, food quality control , food related laws and standards. 5073316 เบเกอร่ี และเพสตร้ ี 3(2-2-5) Bakery and Pastry ศึกษาค�ำ จำ�กัดความของเบเกอร่ี และเพสตรี้ ประเภท วัตถุดบิ เคร่อื งมอื และอปุ กรณ์ กรรมวธิ ีในการ ผลติ เคก้ คกุ กี้ พาย และขนมปงั ชนดิ ตา่ ง ๆ การตกแตง่ บรรจภุ ณั ฑ์ รปู แบบการจดั เสริ ฟ์ การจดั ท�ำ ต�ำ รบั มาตรฐาน และฝึกปฏบิ ตั ิ ได้แก่ คกุ กเ้ี นย เค้กเนย ซฟิ ฟอนเคก้ พายชั้น พายและทาร์ต ชูวส์เพสตร้ี ขนมปังเนยสด ขนมปัง ไส้ต่าง ๆ โดนทั โรลเคก้ และการแตง่ หน้าเค้กเบ้ืองต้น Study the definitions of bakery and pastry, categories, raw material and equipment, production processes of various cakes, cookies, pies and breads, decorating, packaging, serving, bakery and pastry menu development ; practicum, i.e. Butter Cookies, Butter Cake, Rolled Cake, Chiffon, Puff Pastry, Pie and Tart, Choux Pastry, Butter Bread, Stuff Bread, Doughnut and basic Cake Decoration. 4502108 การสือ่ สารภาษาองั กฤษเพือ่ งานบริการ 3(2-2-5) English for Communication Services ศกึ ษาการใชภ้ าษาองั กฤษแบบบรู ณาการในดา้ นการฟงั การพดู การอา่ นการเขยี นในงานบรกิ าร ฝกึ ทกั ษะ การใช้ภาษาในสถานการณ์จำ�ลอง บทบาทสมมุติ เพื่อการส่ือสาร โดยเฉพาะการส่ือสารด้านการฟังและการพูด Study of English in integrated four skills : listening, speaking, reading, and writing in hospitality services. Simulation and role plays are used for students to practice skill for communication, particularly listening and speaking. 47

4513245 การประกอบอาหารจานเดยี ว 3(2-2-5) One-dish Cooking ศึกษาความหมายและความสำ�คัญของอาหารหารจานเดียว ลักษณะของอาหารจานเดียว เทคนิค การประกอบอาหารจานเดยี ว การจดั ตกแตง่ และการท�ำ ต�ำ รบั มาตรฐานการจดั รายการอาหารจานเดยี วและเครอ่ื งเคยี ง Study the meaning and importance of the characteristics and main concept of One- Dish meal, menu setting for one-dish meal along with conventional Thai style and fusion style, Slide-dish types of One- Dish meal, cooking techniques, serving arrangement and standard recipes planning 4514220 อาหารเพื่อสขุ ภาพ 3(2-2-5) Health Cuisine ศกึ ษาอาหารส�ำ หรบั สขุ ภาพ พฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารในประเทศไทย ปญั หาสขุ ภาพ อาหารสมดลุ อาหารทางเลือก สมุนไพรที่ใช้ในการประกอบอาหาร หลักการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ การฝึกปฏิบัติในการ ประกอบอาหารเพื่อสุขภาพ Study menu design and development of health food, raw materials selection, raw materials replacer for health food recipes, cost control, cost-base pricing and nutrition value 4511205 หลกั และทฤษฎีการประกอบอาหาร 3(2-2-5) Cooking Principles and Theories ศกึ ษาหลกั การเลอื กซอ้ื วตั ถดุ บิ เครอ่ื งมอื เครอ่ื งใช้ และอปุ กรณภ์ ายในครวั การชงั่ ตวงวดั และการเปลยี่ น หน่วยวัด การเตรียมอาหาร ปัจจยั ที่มีผลต่อการเปลย่ี นแปลงของอาหาร หลกั การ วธิ ี เทคนิคการประกอบอาหาร และฝึกปฏิบตั ิ Study of the principle of food purchasing, practice skills in kitchen appliances, measurement, calculation and unit exchange, food preparation, factors which influence the changes of food. Principle, method, techniques of cooking and practiced in the classroom. 4511206 อาหารไทยรว่ มสมยั 3(2-2-5) Contemporary Thai Cuisine ศึกษาตำ�รับอาหารไทยรว่ มสมยั ที่นยิ มท้งั ในประเทศและต่างประเทศ ส่วนประกอบ วิธีการปรงุ การ ประยกุ ตใ์ ชว้ ตั ถดุ บิ อาหารทดแทน การจดั เสริ ฟ์ ฝกึ ปฏบิ ตั อิ าหารไทยรว่ มสมยั ไดแ้ ก ่ ตม้ ย�ำ กงุ้ แกงกะหรี่ ตม้ ขา่ ไก่ ฉฉู่ ่ี ผดั ไทย ผดั กะเพราไก่ ผดั ขเ้ี มา ไกผ่ ดั เมด็ มะมว่ งหมิ พานต์ ย�ำ เนอื้ ยา่ งย�ำ วนุ้ เสน้ ย�ำ ถว่ั พู ปลาสามรส ทะเลผดั ผงกะหรี่ หอ่ หมก ขา้ วอบสบั ปะรด ผดั เปรย้ี วหวาน ไกห่ อ่ ใบเตย ทอดมนั ปลากราย ปจู า๋ ปกี ไกส่ อดไส ้ หมแู ดดเดยี ว สะเตะ๊ ปอเป๊ยี ะทอดพระรามลงสรง และหม่กี ะทิ Study the contemporary Thai cuisine that popular in domestic and aboard, recipes, ingredients and components, cooking methods, the application of using alternative raw materials, menu setting and serving and practical session on following contemporary menus includes Tom Yum Kung (spicy hot and sour shrimp soup), Keang Kari (yellow curry), Keang Musmun (Mussamun), Tom Kha Kai (chicken galangal in coconut milk), ChuChee (stir-fried red curry with fish), Phad Thai (Thai style stir-fried noodles), Phad Kra Phrow Kai (spicy stir-fried chicken with basil), Phad Kee Mow (spicy stir-fried with wild galangal and sweet basil), Kai Phad Med Ma Moung Him Ma Phan (stir fried chicken with catshew nuts), Yum Nuer Yang (spicy beef salad), Yum Woon Sen (vermicilli spicy salad), Yum Thou Phoo (winged bean spicy salad), Pla Sam Rod (fried fish topped with sweet sour and hot sauce), Ta Lea Phad Phong Kari (spicy stir-fried yellow curry), Hor Mok (steamed curried fish cake in banana leaf), Khow Obb Subparod (Baked rice with pineapple), Phad Preaw Wan (sweet and sour stir-fried), Kai Hor Baiteuy (fried chicken wrapped with pandan leaf), Thod Mun (deep-fried curried fish cake), Poo Cha(deep fried crab meat minced pork in the shell), Peek Kai Sod Sai (stuffed chicken wing), Moo Dad Diew (deep-fried sun-dried marinated pork), Satay (skewer of marinated meat), Porpie Tord (deep-fried spring rolls), Phra Ram Long Song (cooked rice topped with morning glory red curry) and Mee Ka Ti (coconut noodle). 48

4511108 โภชนาการในวัยตา่ งๆ 3(2-2-5) Nutrition throughout Life Cycle ศกึ ษาความหมายและความส�ำ คญั โภชนาการในวยั ตา่ งๆ บทบาท และหนา้ ทข่ี องอาหาร การเปลย่ี นแปลง ความต้องการสารอาหารในแต่ละชว่ งวัย ไดแ้ ก่ หญงิ ตั้งครรภ์ หญงิ ใหน้ มบุตร เด็กทารก เดก็ วยั ก่อนเรียน วัยรุ่น ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ การกำ�หนดและการจัดอาหาร การฝึกปฏิบัติการประกอบอาหารท่ีเหมาะสมแก่วัยต่างๆ Study the meaning and importance of nutrition for people of different ages. The course reviews the functions of food and the changes in nutrition requirements for people of different age groups. Topics such as pregnancy, lactation, development, maturation and aging are discussed. Diet preparation, and cooking practices for different age groups is also included 4512225 ขนมไทยพนื้ บา้ นและขนมไทยร่วมสมัย 3(2-2-5) Local and Contemporary Thai Desserts ศกึ ษาความหมายและความส�ำ คญั ของขนมไทยพนื้ บา้ นและขนมไทยรว่ มสมยั ทน่ี ยิ มในปจั จบุ นั ประเภท วตั ถุดบิ อุปกรณใ์ นการเตรยี มและประกอบขนมไทย การจดั ตกแตง่ และการจัดเสริ ฟ์ Study the meaning and importance of Thai traditional and contemporary desserts. The course discusses the different types of Thai desserts, what they consist of, how they are cooked, decorated and served 4512226 อาหารว่าง 3(2-2-5) Snacks ศกึ ษาความหมายและความส�ำ คัญของอาหารวา่ งประเภทตา่ งๆ วตั ถุดิบ วธิ ีการปรงุ อุปกรณ์ในการ ผลิตอาหาร การจัดตกแตง่ และการจดั เสิรฟ์ ในโอกาสตา่ งๆ Study the meaning and importance of Thai snacks and appetizers. Different types of snacks will be discussed including their ingredients, how they are made and with what materials. Decoration and common serving practices are also included 4513246 เครือ่ งดืม่ 3(2-2-5) Beverage ศกึ ษาความหมายและความส�ำ คญั ของเครอื่ งดมื่ ประเภท วตั ถดุ บิ ตา่ งๆ วธิ กี ารผสม อปุ กรณม์ าตรฐาน ทีใ่ ชใ้ นการผลติ เคร่อื งดื่ม การจัดตกแตง่ และการจัดเสริ ์ฟเครอื่ งดืม่ กบั อาหารในวาระตา่ งๆ Study the meaning and importance the history of Thai beverages. A review of the different types of beverages, and how to make them will be discussed along with their presentation, pairing with food and serving style 4513247 การจัดจานอาหารแบบสรา้ งสรรค์ 3(2-2-5) Creative Food Stylist ศกึ ษารูปแบบการจัดจานอาหารแบบสรา้ งสรรค์ ในรูปแบบนานาชาติ รจู้ กั ใช้วัตถุดิบ พืช ผกั ผลไม้ และดอกไม้ ใบตองน�ำ มาจัดแต่งบนจานอาหาร ฝกึ ปฏิบตั กิ ารจัดจานอาหารแบบสร้างสรรค์ ตามรูปแบบตา่ งๆ Study forms the creative dishes in Thailand, known as international ingredients, vegetables, flowers and banana leaves were arranged on the plate. Operating the dishes creative By various 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook