Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 5 หลักการและเทคนิคการดูแลทางเดินหายใจ

บทที่ 5 หลักการและเทคนิคการดูแลทางเดินหายใจ

Published by siriornk-ple, 2019-07-15 22:58:41

Description: บทที่ 5 หลักการและเทคนิคการดูแลทางเดินหายใจ

Search

Read the Text Version

บทที 5 หลกั การและเทคนคิ การดแู ลทางเดนิ หายใจ อ.สริ อิ ร ขอ้ ยนุ่ 1

เนือหาการเรยี นรู ้ 5.1 การบรหิ ารการหายใจ 5.2 การไออยา่ งถกู วธิ ี 5.3 การจัดทา่ และการเคาะปอด 5.4 การใหอ้ อกซเิ จนและการดแู ล ผไู ้ ดร้ ับ ออกซเิ จน 2

ระบบหายใจ 3

กระบวนการหายใจ 4

โครงสรา้ งระบบหายใจแบง่ เป็ น 2 สว่ นคอื 1. ทางเดนิ หายใจสว่ นบน(upper airway) 2. ทางเดนิ หายใจสว่ นลา่ ง(lower airway) แบง่ ตามโครงสรา้ งระบบหายใจตามการทํางาน 1.สว่ นทีมกี ารระบายอากาศ 2.สว่ นทีมกี ารแลกเปลียนกา๊ ซ 5

ทางเดนิ หายใจสว่ นบน (upper airway) ไดแ้ ก่ โพรงจมกู -> คอหอย (pharynx) -> กลอ่ งเสยี ง (larynx (glottis & epiglottis) หนา้ ที 1. เป็ นทางผา่ นของอากาศสทู่ างเดนิ หายใจสว่ นลา่ ง 2. ป้องกนั สิงแปลกปลอมเขา้ สทู่ างเดนิ หายใจสว่ นลา่ ง 3. ปรับอณุ หภมู ิ รวมทังกรองและใหค้ วามชืนแกอ่ ากาศ กอ่ นเขา้ สทู่ างเดนิ หายใจสว่ นลา่ ง 6

ทางเดนิ หายใจสว่ นลา่ ง (lower airway) เริมจากบรเิ วณหลอดลม (trachea)->แตกแขนงออกเป็ นบรองคสั ใหญ่ (main bronchus)ซา้ ยและขวา ซึงทางแยกของหลอดลม เรยี กวา่ carina -> แตกแขนงออกเป็ น lobarและ segmental bronchi -> แตกแขนงออกเป็ น bronchioles และ terminal bronchioles หนา้ ที 1. เป็ นทางผา่ นของอากาศเขา้ สถู่ งุ ลมปอด 2. สรา้ งนําเมอื กดกั จับสิงแปลกปลอม 3. สรา้ งสารเคลอื บผวิ (surfactant) ซึงบอุ ยบู่ รเิ วณ alveolar cells ของปอดเพือไมใ่ หถ้ งุ ลมแฟบขณะหายใจออก 7

แบง่ โครงสรา้ งทางเดนิ หายใจตามการทาํ งาน 1. สว่ นทีมกี ารระบายอากาศ เริมจาก โพรงจมกู -> pharynx ->larynx>Trachea -> main bronchus Rt.&Lt. -> lobar & segmental bronchi ->Bronchiole -> terminal bronchioles 2. สว่ นทีมกี ารแลกเปลียนกา๊ ซ เริมจาก terminal bronchioles -> respiratory bronchioles ->alveolar ducts ->alveolar sacs-> alveolus 8

การหายใจ (respiration) ประกอบดว้ ย * external respiration คอื การหายใจเอา O2 เขา้ ไป ในปอดผา่ นระบบเลอื ดไปยงั เนือเยือตา่ งๆ และการ เคลอื นของ CO2จากเนือเยือผา่ นระบบเลอื ดไปยังปอด * internal respiration คอื การ metabolism ของ O2 และ CO2 ในเซลล์ 9

การหายใจ (respiration) กลา้ มเนือทีเกียวขอ้ งกบั การหายใจ ไดแ้ ก่ 1. กระบงั ลม 2. External intercostal 3. Internal intercostal 4. Scaleni (กลา้ มเนือทียดึ ระหวา่ งกระดกู สนั หลงั สว่ นอกชินที 2-3 กบั กระดกู ซีโครงชินที 1-2 5. Sternocleidomastoid (กลา้ มเนือทียดึ ระหวา่ งกระดกู อก กบั mastoid process อยบู่ รเิ วณคอและสว่ นหลงั 6. กลา้ มเนือหนา้ ทอ้ ง 10

กระบวนการหายใจ การหายใจประกอบดว้ ย 4 กระบวนการคอื 1.การระบายอากาศ (ventilation) คอื การทีอากาศจาก นอกรา่ งกายเคลือนทีเขา้ สรู่ า่ งกายและกระจายไปตาม หลอดลมและแขนงหลอดลม(tracheobronchial system) ไปสถู่ งุ ลมทีมกี ารแลกเปลียนกา๊ ซ 2. การซมึ ซา่ นหรอื แพรข่ องกา๊ ซ (diffusion) คอื การที O2และCO2 ในถงุ ลมเคลือนทีผา่ น alveolar capillary membrane 11

กระบวนการหายใจ 3. การไหลเวยี นของเลอื ด (blood flow/ perfusion) คอื การทีเลอื ด ดําไหลผา่ น pulmonary arterial circulation และกระจายไปตาม capillary ของถงุ ลมทีมกี ารแลกเปลียนกา๊ ซแลว้ ไหลกลบั ทาง pulmonary vein 4. การควบคมุ การหายใจ (control of breathing) คอื การควบคมุ ใหม้ ี การระบายอากาศใหเ้ พยี งพอกบั ความตอ้ งการของรา่ งกาย *** กระบวนการทัง 4 จะทํางานรว่ มกนั ในการรักษาระดบั O2ในเลอื ด ใหอ้ ยใู่ นเกณฑป์ กติ เมือใดกต็ ามทีมคี วามผดิ ปกตขิ อง กระบวนการหนึงหรอื หลายกระบวนการจะนําไปสกู่ ารแลกเปลียน กา๊ ซทีผดิ ปกติ ถา้ ความผดิ ปกตริ นุ แรงพอกจ็ ะทําใหเ้ กดิ ภาวะการ หายใจลม้ เหลวขึน 12

5.1 การบรหิ ารการหายใจ (breathing exercise) : เป็ นวธิ กี ารฝึกใหผ้ ปู ้ ่ วยรจู ้ ักควบคมุ การหายใจ และใชก้ ลา้ มเนือ หายใจสว่ นตา่ งๆ อยา่ งถกู ตอ้ ง จดุ ประสงค์ 1. ชว่ ยใหป้ อดขยายตวั อยา่ งเต็มที รวมทังกระตนุ ้ ใหม้ กี ารระบาย อากาศและแลกเปลียนกา๊ ซไดเ้ ต็มที 2. เพิมความแข็งแรง ความสมั พันธ์ และประสทิ ธภิ าพของ กลา้ มเนือทีใชใ้ นการหายใจ 3. ลดและป้องกนั ภาวะปอดแฟบ 4. เพิมประสทิ ธภิ าพในการไอ 5. เพือชว่ ยใหผ้ ปู ้ ่ วยผอ่ นคลาย 13

5.1 การบรหิ ารการหายใจ (breathing exercise) ชนดิ ของการบรหิ ารการหายใจ 1. การควบคมุ การหายใจโดยใชก้ ระบงั ลม (diaphragmatic breathing) ประโยชน์ ชว่ ยลดงานในการหายใจ ชว่ ยลดภาวะ การหายใจ ลําบาก ทังขณะพักและขณะทํากจิ กรรม เพิมการระบายอากาศ ในสว่ นฐานปอด และเป็ นทา่ ฝึกทีเนน้ ในผปู ้ ่ วยทกุ ประเภท 14

1.diaphragmatic breathing วธิ กี าร 1. จัดใหผ้ ปู ้ ่ วยอยใู่ นทา่ ทีสบาย หรอื เริมดว้ ยทา่ นอนหงายหนุน หมอนใตเ้ ขา่ หรอื นอนศรี ษะสงู 45 องศา วางมอื ตรงบรเิ วณลิน ปี เพือใหร้ ทู ้ ศิ ทางการเคลือนไหวของกระบงั ลม หรอื วางมอื ขา้ ง หนึงบนหนา้ อก อกี ขา้ งหนึงวางบนหนา้ ทอ้ ง 2. สดู ลมหายใจเขา้ ลกึ ๆ ทางจมกู จนหนา้ ทอ้ งป่ องออก อกขยาย กลันหายใจนับ 1-2-3 3.ผอ่ นลมหายใจออกชา้ ๆ ยาวๆ ทางไรฟัน ขณะทีปากเผยอออก เพยี งเล็กนอ้ ย ใหร้ ะยะเวลาการหายใจออกเป็ น 3 เทา่ ของการ หายใจเขา้ จะสงั เกตเห็นมอื ทีวางบนหนา้ ทอ้ งจะเคลือนลง (ทอ้ งแฟบ) อกยบุ ลง 4. ฝึกทําหลายๆ ครัง จน pt. เขา้ ใจวธิ ที ีถกู ตอ้ ง 5. แนะนําให ้ pt. ฝึกทําประมาณครังละ 5-10 นาที วนั ละ 4 ครัง 15

1. diaphragmatic breathing 16

2. pursed lips breathing 2. การหายใจแบบหอ่ ปาก (pursed lips breathing) เป็ นเทคนคิ ทีใชร้ ว่ มกบั การควบคมุ การหายใจ ชว่ ยใหเ้ กดิ แรงดนั บวกในชอ่ งปากและในทางเดนิ หายใจ ตา้ นกบั แรงดนั ภายในเยือหมุ ้ ปอดขณะหายใจออก ประโยชน์ ชว่ ยชะลอการตบี แคบของทางเดนิ หายใจ ชว่ ยใหก้ าร ระบายอากาศในถงุ ลมดขี ึน ลดอตั ราการหายใจ มักใช ้ กบั pt. ทีมที างเดนิ หายใจตบี แคบงา่ ย และชว่ ยใหผ้ อ่ น คลายหลงั การไอ 17

2. pursed lips breathing วธิ กี าร หายใจเขา้ ธรรมดาทางจมกู ให ้ pt. หอ่ ปากและผอ่ นลมหายใจ ออกทางปากชา้ ๆ อยา่ งผอ่ นคลาย pt. ควรรสู ้ กึ วา่ มแี รงตา้ นอยทู่ ี รมิ ฝี ปาก อตั ราสว่ นของชว่ งเวลาหายใจเขา้ ตอ่ ออกเพิมขึนเป็ น 1:4 – 1:5 18

3. thoracic expansion breathing or deep breathing 3. การฝึกหายใจลกึ ใหท้ รวงอกขยาย (thoracic expansion breathing or deep breathing) เป็ นการกระตนุ ้ หรอื สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารหายใจเขา้ ไดล้ กึ เต็มอิม เนน้ การขยายตวั ของทรวงอกในสว่ นตา่ งๆ pt. ตอ้ งเพิมความ พยายามในการหายใจเขา้ มากขึน ดงั นันจงึ เป็ นการฝึกทีตอ้ ง เลอื กประเภท pt. การหายใจลกึ ๆ ตดิ ตอ่ กนั ไมค่ วรเกนิ 4 -5 ครัง สลบั กบั การควบคมุ การหายใจเพือป้องกนั ภาวะ การระบาย อากาศเกนิ (hyperventilation) 19

3. thoracic expansion breathing or deep breathing ประโยชน ์ ชว่ ยป้องกนั ภาวะปอดแฟบ และชว่ ยใหถ้ งุ ลมมกี ารขยายตวั หรอื เปิดใหมอ่ กี ครัง ทําใหป้ อดไดอ้ ากาศใหมๆ่ เขา้ ไป มากกวา่ การหายใจตืนๆ ชว่ ยใหเ้ สมหะในทางเดนิ หายใจ ออ่ นตวั และเคลือนออกมางา่ ยขึน ชว่ ยประทงั และเพิมชว่ ง การเคลือนไหวของทรวงอก รวมทังเพิมความแข็งแรงของ กลา้ มเนือหายใจเขา้ 20

3. thoracic expansion breathing or deep breathing วธิ กี าร จัดให ้ pt. อยใู่ นทา่ ทีสบาย วางมอื บนทรวงอกระดบั ตา่ งๆ เพือใหร้ ตู ้ ําแหน่งการขยายตวั ของทรวงอกและเป็ นการกระตนุ ้ อาจใหแ้ รงกด แรงยดื แรงตา้ น ใชก้ ารมองกระจกชว่ ยเสรมิ ควรให ้ pt. สดู ลมหายใจเขา้ ทางจมกู ลกึ ๆ และคา้ งไวส้ กั ครกู่ อ่ น ผอ่ นลมหายใจออก มกี ารฝึกในสว่ นตา่ งๆดงั นี 3.1 ฝึกหายใจขยายชายโครง (lower costal breathing) วางมอื ตรงชายโครงทัง 2 ขา้ งให ้ “หายใจเขา้ ซีโครงบาน หายใจออกซีโครงยบุ ” ทรวงอกจะขยายตวั ในแนวขวางมาก และเนน้ การทํางานของกลา้ มเนือระหวา่ งซีโครงชันนอก (external intercostal) ระดบั ลา่ งๆ 21

3. thoracic expansion breathing or deep breathing 3.1 ฝึกหายใจขยายชายโครง (lower costal breathing) วางมอื ตรงชายโครงทัง 2 ขา้ งให ้ “หายใจเขา้ ซีโครงบาน หายใจออกซีโครงยบุ ” ทรวงอกจะขยายตวั ในแนวขวางมาก และเนน้ การทํางานของกลา้ มเนือระหวา่ งซีโครงชันนอก (external intercostal) ระดบั ลา่ งๆ 22

3. thoracic expansion breathing or deep breathing 3.2 ฝึกหายใจขยายอกสว่ นบน (upper costal breathing) วางมอื ใตไ้ หปลารา้ ทัง 2 ขา้ งให ้ “หายใจเขา้ -อกยกขึน หายใจออก-อกยบุ ลง” ทรวงอกจะขยายตวั ในแนวหนา้ -หลงั มาก และเนน้ การทํางานของกลา้ มเนือระหวา่ งซีโครงชันนอก (external intercostal) ระดบั บน 23

lower costal breathing 24 upper costal breathing

การฝึกหายใจดว้ ยวธิ อี ืนๆ ** นอกจากนียงั มเี ทคนคิ อืนทีชว่ ยให ้pt. ไดม้ กี ารฝึกหายใจลกึ ๆ หลายวธิ ี และยงั สามารถประเมนิ ผลการฝึกวา่ สามารถทําไดด้ มี าก นอ้ ยเพยี งใด ไดแ้ ก่ 1. Incentive spirometer มกั ใชก้ บั pt. ทีฝึกการหายใจลกึ ๆ ตาม วธิ ขี า้ งตน้ ไมไ่ ดผ้ ล โดยการใช ้ Incentive spirometer ซึงควร กระตนุ ้ ให ้ pt. พยายามหายใจเขา้ ลกึ ๆ ครังละประมาณ 10 วนิ าที Incentive spirometer แบง่ ออกเป็ น 2 ชนดิ คอื 1.1 Flow Incentive spirometer 1.2 Volume Incentive spirometer ดงั รปู 25

Flow Incentive Volume Incentive 26 spirometer spirometer

การฝึกหายใจดว้ ยวธิ อี ืนๆ 2. การดดู นําจากขวด มกั ใชใ้ นกรณีทีไมม่ ี Incentive spirometer ใช ้ วธิ กี ารโดยเตรยี มขวดนํา 2 ใบ ขวดที 1 ตอ่ จกุ ยางทีมหี ลอดแกว้ สัน 2 หลอด ขวดที 2 ตอ่ จกุ ยางทีมี หลอดแกว้ ยาวและสันอยา่ งละ 1 หลอด เตมิ นําในขวด 2 จนเต็ม และใชส้ ายยางตอ่ ขวดทัง 2 ดงั รปู 27

การฝึกหายใจดว้ ยวธิ อี ืนๆ 3. การเป่ าลกู โป่ ง ให ้ pt. สดู หายใจเขา้ เต็มที แลว้ คอ่ ยๆ เป่ า ลกู โป่ งใหข้ ยายออกทลี ะนอ้ ย 4. การเป่ าเปลวเทยี น จดุ เทยี นไขวางบนโตะ๊ ใหอ้ ยใู่ นระดบั รมิ ฝี ปาก ให ้ pt. นังหา่ งจากเทยี นประมาณ 5 นิว เริมหายใจเขา้ ทางจมกู ชา้ ๆ ใหเ้ ต็มที แลว้ คอ่ ยๆเป่ าเทยี นใหล้ ไู่ ปตามลมทีเป่ า ไมใ่ หด้ บั และในวนั ตอ่ ๆ ไปใหเ้ ลือนเทยี นไขออกหา่ ง pt.เรือยๆ 5. การเป่ าขนนกหรอื ดนิ สอ วธิ กี ารคลา้ ยกบั ขอ้ 4 แตเ่ ป็ นการเป่ า ใหข้ นนกเคลือนไปไกลทีสดุ โดยไมเ่ ลือนศรี ษะตามไป 28

5.3 การจดั ทา่ และการเคาะปอด การจดั ทา่ ระบายเสมหะ (postural drainage) • เป็ นวธิ กี ารทีอาศยั แรงโนม้ ถว่ งของโลก ชว่ ยใหเ้ สมหะ ทีคังคา้ งในปอดสว่ นลกึ ๆ ไหลออกมาสหู่ ลอดลมได ้ งา่ ยขึน โดยการจัดทา่ ทีทําใหแ้ ขนงปอดระดบั กลบี ปอด (segmental bronchi) อยใู่ นแนวดิงมากทีสดุ 29

การจดั ทา่ ระบายเสมหะ (postural drainage) • การจดั แตล่ ะทา่ ใชเ้ วลาประมาณ 5-15 นาที เวลาทีใชท้ ังหมด ประมาณ 30-45 นาที จํานวนครังตอ่ วนั 1-4 ครัง หรอื ทกุ 2 ชม. ทังนีขึนอยกู่ บั ปรมิ าณ/ ความเหนยี วของเสมหะ จํานวนกลบี ปอดที มปี ัญหา ความทนทานของ pt. ภาวะแทรกซอ้ นตา่ งๆ • หากไมม่ ขี อ้ หา้ มควรใชเ้ ทคนคิ อืนๆ รว่ มดว้ ยเชน่ การเคาะปอด การสันปอด การหายใจลกึ ๆ การกระตนุ ้ การไอ เพือใหก้ ารระบาย เสมหะมปี ระสทิ ธภิ าพมากขึน 30

การจดั ทา่ ระบายเสมหะ (postural drainage) • ควรจัดทา่ ระบายเสมหะกอ่ นหรอื หลังรับประทานอาหาร แลว้ 1-2 ชม. • ควรสงั เกตอาการ pt. เสมอในระหวา่ งจัดทา่ ระบาย เสมหะ ซึงอาจตอ้ งวัด V/S เป็ นระยะ 31

postural drainage ปอดสว่ นบนดา้ นยอด ปอดสว่ นบนดา้ นหลงั ปอดสว่ นบนดา้ นหนา้ ปอดสว่ นบนดา้ นซา้ ย ปอดสว่ นกลางดา้ นขวา 32

postural drainage ปอดสว่ นบนดา้ นซา้ ย ปอดสว่ นบนดา้ นหนา้ ปอดสว่ นกลางดา้ นขวา ปอดสว่ นลา่ งดา้ นหนา้ ปอดส่ วนล่างด้านบน 33

ขอ้ หา้ มและขอ้ ควรระวงั ในการจดั ทา่ ระบายเสมหะบางทา่ • ปัญหาการคังคา้ งของอากาศ/ ของเหลวในชอ่ งเยือหมุ ้ ปอดที รนุ แรง • อาการทางหลอดเลอื ดและหวั ใจทีไมค่ งที เชน่ CHF, HT , AMI • หลงั ผา่ ตดั ระยะแรก เชน่ ผา่ ตดั สมอง ผา่ ตดั หลอดอาหาร ผา่ ตดั กระดกู สนั หลงั • ภาวะปอดบวมนํา เสน้ เลอื ดปอดอดุ กัน • มอี าการเหนือยหอบ หายใจลําบาก กระสบั กระสา่ ย • มปี ัญหาในชอ่ งทอ้ ง เชน่ ทอ้ งโต อว้ นมาก เพิงรับประทาน อาหาร สําลกั งา่ ย ฯลฯ 34

การเคาะปอด (percussion) • ใชอ้ งุ ้ มอื เคาะเป็ นจังหวะบนผนังทรวงอก/ บรเิ วณปอดทีมพี ยาธิ สภาพ • การสันสะเทอื นอยา่ งสมําเสมอดว้ ยความถี และระยะเวลาที เหมาะสม จะชว่ ยรอ่ นเสมหะทีตดิ อยตู่ ามผนังหลอดลมใหห้ ลดุ ออกมาสหู่ ลอดลมงา่ ยขึน 35

การเคาะปอด (percussion) • ชว่ ยกระตนุ ้ การทํางานของขนโบกพัดและกระตนุ ้ การไอ • มกั ใชก้ บั ผปู ้ ่ วยทีมเี สมหะมาก/ ไมส่ ามารถขบั เสมหะออกดว้ ยวธิ ี อืนได ้ เชน่ หมดสติ กลา้ มเนือออ่ นแรง • ความถีทีใชเ้ คาะประมาณ 3-8 ครังตอ่ วนิ าที ตรงตําแหน่งทีมี พยาธสิ ภาพ • การเคาะแตล่ ะชว่ งตดิ ตอ่ กนั นาน 3-5 นาที • ไมค่ วรเคาะทีใดทีหนึงซําเป็ นเวลานาน ใหเ้ คลือนมอื เชน่ เป็ น วงกลม ซา้ ยขวา หนา้ หลงั  ไมเ่ คาะบนป่ มุ กระดกู เตา้ นม ทอ่ ระบายทรวงอก  ไมค่ วรเคาะแรงมาก จนทําให ้ pt. เจ็บปวดหรอื เกร็งตา้ น  ระหวา่ งการเคาะปอด ควรให ้ pt. หายใจลกึ ๆ รว่ มกบั ควบคมุ การ หายใจเป็ นระยะๆ และไอกําจดั เสมหะออกไป 36

การเคาะปอด (percussion) ภาวะท ีควรระวงั  ภาวะทางหลอดเลอื ดและหวั ใจ เชน่ unstable angina, low platelet count  ภาวะทางกระดกู และขอ้ เชน่ ซีโครงหกั กระดกู บาง • ภาวะทางปอด เชน่ ไอเป็ นเลอื ด หอบเหนือยรนุ แรง วณั โรค ระยะแพรก่ ระจาย • ภาวะอืนๆ ทีผนังทรวงอก เชน่ เพิงไดร้ ับการผา่ ตดั ทรวงอก มี ลมใตผ้ วิ หนัง เพิงปลกู ผวิ หนัง (skin graft) • ภาวะของมะเร็งกระดกู และมะเร็งอืนทีแพรก่ ระจายเขา้ กระดกู 37

1.Upper lobes percussion Left lingular segment และ right middle lobe 38 Lower lobe Anterior Segment

การสนั ปอด (vibration) • เป็ นการใชแ้ รงกดบนผนังทรวงอกเป็ นระยะๆ ตามทศิ ทางการ เคลือนทีของกระดกู ซีโครงบรเิ วณทีมพี ยาธสิ ภาพขณะทีหายใจ ออก-> เกดิ การสันผา่ นจากมอื ผบู ้ ําบดั ไปยงั ปอด -> อากาศที อยสู่ ว่ นปลายตอ่ เสมหะจะเคลือนทีตามแรงอดั ->เสมหะเคลือน ออกไดเ้ ร็วขึน 39

การสนั ปอด (vibration) ประโยชน ์ ชว่ ยสง่ เสรมิ การทํางานของขนโบกพัด และชว่ ยเคลือนยา้ ยเสมหะจาก แขนงหลอดลมขนาดเล็กสแู่ ขนงหลอดลมทีมขี นาดใหญข่ ึน วธิ กี าร 1. ตรวจสอบชว่ งการเคลือนไหวของทรวงอกของ pt. แตล่ ะราย 2. บอกให ้ pt. หายใจเขา้ ลกึ ๆ ผฟู ้ ื นฟวู างมอื บนผนังทรวงอก งอขอ้ ศอก เล็กนอ้ ย 3. ออกแรงกดพรอ้ มกบั เกร็งแขนใหเ้ กดิ การสัน (การสันจะทําตลอดชว่ ง การหายใจออกเทา่ นัน) ใหแ้ รงกดไปตามทศิ ทางการเคลือนกลับของ กระดกู ซีโครง คอื * เคลือนเฉียงลงดา้ นลา่ ง-ไปดา้ นหลัง(downward – backward) ที ทรวงอกสว่ นบน * เคลือนเฉียงลงดา้ นลา่ ง- เขา้ ดา้ นใน (downward – inward) ทีทรวง อกสว่ นลา่ ง 40

การสนั ปอด (vibration)  ขอ้ ควรระวังในการสันปอด  หา้ มทําใน pt. ทีมภี าวะไอเป็ นเลอื ด อกรวน เนือปอดอกั เสบ เฉียบพลนั  pt. ทีมโี ครงสรา้ งของทรวงอกยดื หยนุ่ ไดน้ อ้ ย คอ่ นขา้ งแข็งหรอื กระดกู บาง  กระดกู ซีโครงหกั  มะเร็งทีลกุ ลามมายงั กระดกู ซีโครง  เพิงรับการผา่ ตดั เชน่ median sternotomy , spinal fusion  ภาวะลมอดั ในชอ่ งเยือหมุ ้ ปอดทียงั ไมไ่ ดร้ ับการรกั ษา 41

การออกกาํ ลงั กายเพือเพิมการเคลือนไหวของทรวงอก (chest mobilization) ประโยชน ์ ชว่ ยประทงั และเพิมชว่ งการเคลือนไหวของทรวงอก ชว่ ยให ้pt. หายใจเขา้ ไดส้ ะดวกขึน และชว่ ยใหเ้ กดิ ผลดใี นการรกั ษามากขึน วธิ กี าร ทา่ ออกกาํ ลงั กายควรเลอื กใหเ้ หมาะกบั pt. โดยเริมจากทา่ งา่ ยๆ เชน่ 1. การโนม้ ตวั ไปขา้ งหนา้ ในแนวกลาง เพือใหอ้ วยั วะในชอ่ ง ทอ้ งชว่ ยดนั กระบงั ลมใหส้ งู ขึนซึงมผี ลกระตนุ ้ การหายใจออก และ เมือยดื ตวั ยกแขนขึนเหนอื ศรี ษะก็มผี ลกระตนุ ้ การหายใจเขา้ 42

การออกกาํ ลงั กายเพือเพิมการเคลือนไหวของทรวงอก (chest mobilization) 2.การนังประสานมอื ยกขึนเหนอื ศรี ษะและหมนุ ตวั ไปขา้ งซา้ ย ทา่ นี จะชว่ ยยดื ทรวงอกดา้ นขวาและดา้ นหลงั จากนันใหห้ มนุ ตวั กลบั มาทางขวา ทําซําเชน่ เดมิ 3.มอื ประสานไวท้ ีทา้ ยทอย กม้ ตวั ลง เอาศอกชดิ กนั หายใจ ออก จากนันกางศอกออกจากกนั พรอ้ มกบั ยดื ตวั ขึน หายใจเขา้ 43

5.4การใหอ้ อกซเิ จนและการดแู ลผไู้ ดร้ บั ออกซเิ จน การใหอ้ อกซเิ จนเป็ นการชว่ ยเหลอื ผทู ้ ีรา่ งกายไดร้ ับออกซเิ จนไม่ เพยี งพอ และเกดิ ภาวะขาดออกซเิ จน ซึงเรยี กไดห้ ลายอยา่ งคอื Hypoxia Hypoxemia Anoxia ซึงมรี ายละเอยี ดทีแตกตา่ งกนั ดงั นี : Hypoxia หมายถงึ ภาวะออกซเิ จนในเซลลห์ รอื เนือเยือตํา : Hypoxemia หมายถงึ ภาวะออกซเิ จนในเลอื ดตํากวา่ 40 mmHg. : Anoxia หมายถงึ การขาดออกซเิ จนในเลอื ดอยา่ งสมบรู ณ์ 44

5.4การใหอ้ อกซเิ จนและการดแู ลผไู้ ดร้ บั ออกซเิ จน • การใหอ้ อกซเิ จนบางครังเรยี กวา่ การบําบดั ดว้ ยออกซเิ จน (Oxygen therapy) เพือเพิมระดบั ออกซเิ จนในเลอื ด เมือระดบั ออกซเิ จนในเลอื ดลดลงดว้ ยสาเหตตุ า่ ง ๆ เชน่ ระบบ การหายใจบกพรอ่ ง ภาวะการเผาผลาญของรา่ งกายผดิ ปกติ ปัญหาเกียวกบั หวั ใจหรอื ตวั นําออกซเิ จนนอ้ ยจากเสยี เลอื ดมาก หรอื มภี าวะโลหติ จาง และสมองไดร้ ับการบาดเจ็บ 45

อาการและอาการแสดงของผทู้ ีไดร้ บั ออกซเิ จนไมเ่ พยี งพอ • หายใจลําบาก(Dyspnea) หรอื หายใจเร็ว (Tachypnea/Hyperventilation) • หวั ใจเตน้ เร็ว(Tachycardia) ชพี จรเร็ว ความดนั โลหติ อาจ ลดลง(Hypotension) หรอื คงเดมิ ในระยะแรก อาจมอี าการ เจ็บหนา้ อก ตอ่ มาหวั ใจเตน้ เร็ว ชพี จรเบาเร็ว ความดนั โลหติ ตําลง ระยะทา้ ยจะมอี าการหวั ใจเตน้ ชา้ ลง (Bradycardia) หวั ใจเตน้ ไมส่ มําเสมอ ความดนั โลหติ ตําลง อกี และวดั ไมไ่ ดใ้ นทีสดุ • อาการทางสมอง ระยะแรกมอี าการปวดศรี ษะ หาวบอ่ ย กระสบั กระสา่ ย ตอ่ มาซมึ ลง มนึ งง ความรสู ้ กึ ตวั ลดลง และ หมดสตใิ นทีสดุ • อาการทางผวิ หนัง ระยะแรกซดี เย็น ระยะทา้ ยมอี าการเขยี ว คลํา(Cyanosis) ทีผวิ หนัง เล็บมอื เล็บเทา้ รมิ ฝี ปาก 46

5.4การใหอ้ อกซเิ จนและการดแู ลผไู้ ดร้ บั ออกซเิ จน วตั ถปุ ระสงคข์ องการใหอ้ อกซเิ จน 1. เพือเพิมปรมิ าณของกา๊ ซออกซเิ จนในรา่ งกาย 2. ชว่ ยใหถ้ งุ ลมยดื ขยายเต็มที 3. ลดอตั ราการหายใจ 4. ลดการทํางานของกลา้ มเนือหวั ใจ 47

การเตรยี มอปุ กรณใ์ นการใหอ้ อกซเิ จน 1. แหลง่ ของกา๊ ซออกซเิ จน แบง่ ได ้ 2 แหลง่ 1.1 จากระบบจา่ ยกลางของโรงพยาบาล (Hospital Center Pipeline) 1.2 จากถงั (Oxygen cylinder or tanks) 48

การเตรยี มอปุ กรณใ์ นการใหอ้ อกซเิ จน 2. อปุ กรณป์ รับอตั ราการไหลของกา๊ ซ (Flow Meter) เป็ นอปุ กรณ์ควบคมุ ปรมิ าณ การไหลของกา๊ ซออกซเิ จนใหต้ รงตามแผนการรักษา ประกอบดว้ ย 3. ขวดใสน่ ํากลันปลอดเชือหรอื นําสะอาดปราศจากเชือซึงมเี ครืองควบคมุ ความชืน (humidifier) ทําใหเ้ กดิ ความชืนบรเิ วณทางเดนิ หายใจ • 4. อปุ กรณพ์ รอ้ มสายใหก้ า๊ ซออกซเิ จนมหี ลายชนดิ ทังระบบความเขม้ ขน้ ตํา (low flow system) และระบบใหท้ ังความเขม้ ขน้ ตําและสงู (high flow system) 49

ชนดิ ของการใหอ้ อกซเิ จน อปุ กรณ์ใหก้ า๊ ซออกซเิ จนระบบความเขม้ ขน้ ตํา (Low flow system) 1. Nasal Cannula 2. Face Mask - Simple face mask ( Mask without bag) - Non – rebreathing mask (Mask without bag) 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook