Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การออกแบบตัวอักษร

การออกแบบตัวอักษร

Published by jantanuch, 2021-09-07 13:29:27

Description: การออกแบบตัวอักษร

Search

Read the Text Version

วิชาการออกแบบตัวอักษร (Lettering Design) รหัส 20302-2107 จุดประสงคร์ ายวชิ า 1. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับประวตั คิ วามเปน็ มา วิวัฒนาการของอักษรไทย ตัวอกั ษรองั กฤษ 2. มีความรู้ ความเขา้ ใจรปู แบบตวั อกั ษรประเภทตา่ งๆ หลักการออกแบบการจดั วางตวั อกั ษร 3. มีทักษะในการออกแบบตวั อกั ษร เพ่ือการจดั ทาชอ่ื หนงั สอื หัวคอลมั นแ์ ละงานปา้ ย 4. มีกจิ นสิ ยั ทดี่ ี มีระเบยี บวนิ ยั ในการปฏบิ ตั งิ าน ดูแล รักษาวสั ดุ อปุ กรณ์ เครอื่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการออกแบบ 5. สามารถประเมนิ คณุ คา่ ผลงาน สมรรถนะรายวชิ า 1. แสดงความรเู้ กยี่ วกบั ประวตั คิ วามเปน็ มา ววิ ัฒนาการตวั อกั ษรไทย อักษรอังกฤษ รูปแบบตวั อกั ษร หลักการออกแบบและการจัดวางตวั อกั ษร 2. ออกแบบตวั อกั ษรไทย-อกั ษรองั กฤษ เพื่อจดั ทาชื่อหนังสอื หัวคอลมั นแ์ ละงานปา้ ย คาอธบิ ายรายวชิ า ศกึ ษาเกี่ยวกบั ประวตั คิ วามเปน็ มา วิวัฒนาการของตวั อกั ษรไทย ั -อักษรองั กฤษ หลักการออกแบบและการจดั วางตวั อกั ษรประเภทตา่ งๆ ปฏบิ ตั กิ ารออกแบบตวั อกั ษรใหเ้ หมาะสมการการนาไปใช้งาน และการสอ่ื ความหมายการออกแบบ จัดวางตวั อักษร ให้เกดิ ความสมั พนั ธ์ ระหวางรปู แบบตวั อกั ษร เพ่ือการนาไปใช้กบั งานออกแบบ ชื่อหนงั สอื หัวคอลมั ภ์ งานปา้ ย ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ล

หน่วยที่ 1 ประวตั คิ วามเปน็ มา วิวัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ ตัวอักษรหรอื ตวั หนงั สอื เรม่ิ ตน้ จากภาพลายเสน้ ในพธิ กี รรม เพื่อความศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ ความอดุ ม สมบูรณแ์ ละการสอื่ สารกัน ภายหลงั ปรบั เปน็ ลายเส้นงา่ ย ๆ เรียกวา่ \"อักษรภาพ\" (Pictrographs) ซ่ึงใช้เขยี นคาสาคญั ๆ ที่เป็นรปู ธรรม เช่น ต้นไม้ บ้าน ไฟ สัตว์ ฯลฯ แล้วพัฒนาไปอกี ขนั้ หนงึ่ เพื่อใชเ้ ขยี นคาทเี่ ปน็ นามธรรมได้ เช่น รัก เกลียด กลัว ฯลฯ เรียกวา่ \"อักษรความคดิ \" (Idegraphs) ตัวอักษรภาพและอกั ษรความคดิ ไดใ้ ช้กนั อยา่ งกว้างขวางและมวี วิ ัฒนาการของ มันเองเปน็ ระยะเวลานบั พนั ๆ ปี

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเป็นมา วิวัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ 1. ประวตั คิ วามเปน็ มาของตวั อักษร ในสมัยอารยธรรมโบราณแบ่งตัวอักษรได้ ๓ ชนดิ คอื 1.1 อักษรอียิปตโ์ บราณหรืออักษรฮีโรกลฟิ (Hieroglyphs) เป็นอักษรภาพอย่างหน่ึงของอียปิ ตโ์ บราณ

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเปน็ มา ววิ ัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเป็นมา วิวัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ อักษรไฮโรกลฟิ ฟิกอาจจะเก่ากวา่ อักษรรูปล่ิมของชาวซูเมอร์ทศิ ทางการเขียนเป็นได้หลาย แบบ ท้งั แนวนอน ซ้ายไปขวาหรือขวาไปซ้าย แนวตั้งจากบนลงล่าง ซา้ ยไปขวาหรือขวาไปซ้าย การบอกทศิ ทาง สังเกตจากการหันหน้าของรูปคนหรือสัตว์ ซงึ่ จะหันหน้าเข้าหาจดุ เร่ิมตน้ ของ เส้น อียปิ ตย์ ุคต้นและยุคกลาง (ราว 1,457-1,057 ปีก่อนพุทธศักราช) ใช้สัญลักษณ์ 700 ตัว ในยคุ กรีก-โรมนั ใช้สญั ลักษณม์ ากกว่า 5,600 ตัว สัญลักษณ์แต่ละตัวบอกทั้งการออก เสียงและความหมาย เช่นสัญลักษณ์ของจระเข้ เป็นรูปจระเข้รวมกับสัญลักษณแ์ ทนเสียง “msh”เช่นเดียวกับคาว่าแมว “miw” จะใช้รูปแมว รวมกับสัญลักษณแ์ ทนอักษร m i และ w

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเปน็ มา ววิ ัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเปน็ มา ววิ ัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ อักษรรูปลิ่ม ชาวอียปิ ต์มีความชานาญทางศิลปหัตถกรรม งานช่าง และการทาหนงั สอื โดยเฉพาะหนังสอื ท่เี กี่ยวขอ้ งกับพิธีกรรมต่างๆ นอกจากนีย้ ังให้ ความสาคัญกับชีวติ หลังความตายและอักษร ภาพหรือภาษาตามความเชื่อท่มี อี านาจและ อทิ ธิพลต่อการดารงชวี ิตและพธิ กี รรม

หน่วยที่ 1 ประวตั คิ วามเป็นมา วิวัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ ดังนั้นตัวอักษรในยคุ แรกๆ จงึ มักจะพบถูกจารึก คู่กบั การแกะสลกั หรอื วาดภาพเทพเจ้าไม่ว่าจะ บนกาแพงวิหาร, หลมุ ฝังศพหรือโลงที่ทาจาก หินเพื่อคุ้มครองผู้ตาย นอกจากนี้ยังจารึกท่เี ป็น คาสาปแช่งผู้ที่ล่วงละเมดิ สสุ าน

หน่วยที่ 1 ประวตั คิ วามเปน็ มา วิวัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ 1.2 อักษรรปู ล่ิม (Cuneiforms) หน่ึงในตวั อักษรแรกเรม่ิ ของโลกกค็ ือ อักษรรูปล่ิม หรอื คูนิฟอรม์ (Cuniform) เป็นระบบการเขียนท่ี หลากหลาย เปน็ ได้ทัง้ อักษรพยางค์ อักษรคา และ อักษรที่มีระบบสระ – พยัญชนะ คาว่า “cuneiform”น้นั มาจากภาษาละตนิ คาว่า “cuneus” ท่แี ปลว่า ล่ิม ดังนัน้ อักษรรูปล่ิมจึงรวม อักษรที่มีรูปร่างคล้ายล่ิมท้งั หมดไว้ด้วยกัน

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเป็นมา ววิ ัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ อักษรลิ่ม เริ่มแรกนัน้ ถูกประดษิ ฐข์ ้นึ โดยชาวสุเมอเรียน เชอ่ื ว่าเขยี นข้นึ ด้วยก้านอ้อหรือไม้ที่ ตัดปลายเปน็ เหลี่ยม แล้วกดลงไปบนแผ่นดินเหนียวที่อ่อนตัว จากนน้ั ก็นาไปเผาหรอื ตาก แดดให้แห้ง แผ่นดนิ เหนยี วจะมีขนาดยาวประมาณ 6 นิ้ว กวา้ งประมาณ 3 น้ิว หนา ประมาณ 1 นว้ิ ส่วนวธิ กี ารรกั ษาให้อยู่ได้นานๆ นน้ั บางครัง้ เมอ่ื เผาหรือตากแดดจนแห้ง แล้วจะหุ้มด้วยดินเหนียวบางๆ อีกชั้น แล้วเขียนทบั ลงไปใหม่นาไปเผาซา้ อีกครัง้ เผ่ือว่าอักษรด้านนอกลบเลือนหรือกะเทาะแตก สว่ นท่อี ยู่ด้านกใ็ นยังเหลอื ให้เห็นสาหรบั แผ่นดินเหนยี วท่เี ป็นรูปทรง 3 มติ ิ มี 2 ชนิดคือ แบบแผ่นแบนและแผ่น

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเป็นมา ววิ ัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ แบบแผ่นแบน เปน็ รูปแบบโบราณ พบตัง้ แต่ 8,000 ปกี ่อนครสิ ต์ศักราช ใน ตรุ กี ซีเรีย อสิ ราเอล จอร์แดน อิหร่าน และอริ ัก เปน็ แบบที่แพร่หลาย กว่าแบบแผ่นซ้อนคาดว่าเปน็ แบบที่ใช้ ในการนบั ทางเกษตรกรรม เช่น การนับธัญพืช

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเปน็ มา ววิ ัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ แบบแผ่นซ้อน เปน็ แบบที่ตกแต่งด้วย เครื่องหมาย เร่ิมพบในช่วง 4,000 ปกี อ่ น คริสต์ศักราช ทางภาคใต้ของเมโสโปเตเมีย แผ่น แบบซ้อนจะใช้บันทกึ เกี่ยวกับสินค้าแปรรปู พบ ในบริเวณท่มี ีการขยายตัวของอุตสาหกรรม อย่างรวดเรว็ เช่น ซูเมอร์ ตัวอย่างท่เี ก่าสดุ พบ ในวิหารเทพอี ินอันนา เทพแี ห่งความรักและ ความอดุ มสมบูรณ์ของชาวซูเมอรใ์ นเมอื งอูรกุ

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเป็นมา วิวัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ สาหรับการเขียนตัวอักษรลิ่ม เขยี นเป็นสัญลักษณ์แบ่งเป็นกลุ่มๆ แทนความคิด คาและวัตถุ ต่อมาได้มกี ารปรบั ให้ละเอียดขน้ึ โดย มสี ัญลักษณแ์ ทนความหมายต่างๆ เพ่ิมขึ้นอีกมากมาย แต่วธิ ีการเขียนไมเ่ อื้ออานวยต่อการจดบันทึกหรอื การเขียนท่มี ขี นาดยาวๆ เพราะแผ่นดนิ เหนียวแผ่นหน่ึงๆ เขยี นข้อความได้ไม่มากนกั

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเปน็ มา ววิ ัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเป็นมา ววิ ัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ เน้ือเร่ืองส่วนใหญเ่ ป็นเรื่องเกยี่ วกบั พระหรอื นักบวช ซงึ่ เก่ยี วข้องกับศาสนา เชน่ คาโคลง สดดุ ีพระเจา้ เพลงสวด ซง่ึ เปน็ การแสดงความยิ่งใหญ่ของเทพเจ้าท่ตี นนบั ถือ และเพอ่ื เรียกร้องให้มนษุ ยเ์ กรงกลัวและจงรักภักดี การที่ชาวสุเมเรียนสามารถประดษิ ฐ์อักษรขน้ึ เป็นครัง้ แรกในนัน้ นบั เป็นความสาเร็จ ทางด้านสติปญั ญาของชนพื้นเมอื งในเมโสโปเตเมยี จนมีผู้กล่าวไว้วา่ “ประวัติศาสตร์เร่ิม ท่ซี ูเมอร์” เพราะยคุ ประวัตศิ าสตรค์ อื ยุคที่มีการบันทกึ เปน็ ลายลักษณ์อักษรแล้ว อักษร ลิ่ม จงึ ถอื ว่าเปน็ ภูมปิ ัญญาขั้นสูงของชาวสเุ มเรียน ท่ที าให้เราได้ทราบเรื่องราวทาง ประวัติศาสตรข์ องชนชาตโิ บราณทอี่ าศัยอยู่ในดินแดนมโสโปเตเมยี กว่า 5000 ปที ผี่ ่านมา

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเปน็ มา ววิ ัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเป็นมา ววิ ัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ 1.3. อักษรจีนหรอื อักษรพกู่ ัน นบั แต่โบราณกาลมา ผู้คนรจู้ ักใช้เส้นเชือก ภาพวาดและ เครื่องหมายเพ่ือใช้ในการจดบันทึกสง่ิ ต่าง ๆ เมื่อ ล่วงเวลานานเข้า จงึ เกิดววิ ฒั นาการกลายเป็นตัวอักษร สาหรับศลิ ปะในการเขียนตัวอักษรจีนนน้ั ได้ถือกาเนิด ข้ึนมาพร้อม ๆกับตัวอักษรจีนเลยทีเดยี ว ดังนัน้ การจะ ศกึ ษาถึงศิลปะในการเขียนตัวอักษรจีนจึงต้องทาความ เข้าใจถงึ ต้นกาเนดิ ของตัวอักษรควบคู่กันไป

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเปน็ มา ววิ ัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ การปรากฏของอักษรจีนท่เี ก่าแก่ที่สดุ มาจาก แหล่งโบราณคดีปัน้ ปอจาก เมืองซีอันมณฑล ส่านซีทางตะวันตกเฉียงเหนอื ของประเทศจนี สามารถนับย้อนหลังกลับไปได้กว่า 5,000 ปี โดยอยู่ในรูปของอักษรภาพท่สี ลักเปน็ รูป วงกลม เสีย้ วพระจนั ทร์และภูเขาห้ายอดบนเครื่องปัน้ ดินเผา จวบจนถึงเมอ่ื 3,000 ปกี อ่ น จงึ กา้ วเข้าสู่รูปแบบของอักษรจารบนกระดกู สตั ว์ ซง่ึ นบั เปน็ ยคุ ต้นของศลิ ปะการเขียนอักษร จีน อักษรภาพที่เก่าแก่ที่สดุ ในจีน

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเปน็ มา วิวัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ ค.ศ. 1899 ชาวบ้านจากหมู่บ้านแห่งหนึ่ง ทางทศิ ตะวันตกเฉียงเหนือของอาเภออนั หยาง มณฑลเหอหนนั ประเทศจีนได้ ค้นพบสิ่งทเี่ รียก กันว่า ‘กระดูกมังกร’ จงึ นามาใช้ทาเปน็ ตัวยา รักษาโรค ต่อมาเนื่องจากพ่อค้าหวงั อีห้ รง เกิดความสนใจต่อตัวอักษรบนกระดูก จึงสะสม ไว้มีจานวนกว่า 5,000 ชิ้นและส่งให้ผ้เู ชี่ยวชาญ ทาการศกึ ษาวจิ ัย จึงพบว่ากระดูกมังกรนั้น แท้ท่จี ริงคือกระดูกที่จารกึ อักขระโบราณของยคุ สมยั ซาง ทมี่ อี ายเุ ก่าแก่ถึง 1,300 ปีก่อนคริสตกาล

หน่วยที่ 1 ประวตั คิ วามเปน็ มา วิวัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ อุปกรณใ์ นการเขยี นอกั ษรจีนดว้ ยพกู่ ัน 1.พู่กัน คือสิ่งที่ใช้ลากเส้น มีลกั ษณะเป็นด้ามยาว มขี น สัตว์ผูกรวมเป็นกระจกุ อยู่ตรงปลาย ซ่ึงขนสัตว์ จะเลือกชนิดที่อ่อนนุ่มและซับนา้ ได้ดี มกั เหน็ ท่วั ไปอยู่สองประเภทคอื ขนสนุ ัขปา่ (สีเหลอื ง) และขนแพะ (สีขาว)

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเป็นมา วิวัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ อุปกรณใ์ นการเขยี นอกั ษรจีนดว้ ยพกู่ ัน 2. หมกึ ท่นี ิยมใช้ในการเขียนอักษรจีน เรียกว่าหมกึ จีน มกั เปน็ แบบแท่ง ผู้ที่นามาใช้ต้องฝนเอง ด้วย ลักษณะหมกึ แท่งที่ดีเปน็ สีดาสนิท แข็ง เนอ้ื แน่น ไม่ปรพุ รนุ ไมแ่ ตกร้าว ผวิ ด้าน เวลา จับไมเ่ ปื้อนมือ

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเปน็ มา ววิ ัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ อุปกรณใ์ นการเขยี นอกั ษรจีนดว้ ยพกู่ ัน 2. หมึก ปัจจบุ นั มีหมกึ ขวดทผี่ สมนา้ มาให้แล้ว แต่ว่าคณุ ภาพ ยังสู้หมึกฝนเองไม่ได้ และหมกึ ฝนเองกม็ ดี ีกว่าตรงที่ สามารถควบคุมความเข้มข้นของนา้ หมกึ ได้ตาม ต้องการความเข้มข้นของนา้ หมกึ มีผลต่อลายเส้นท่ี เขียน หากเข้มขน้ เกนิ ไปเส้นจะแห้งเขยี นไม่ติด หากใส เกนิ ไปหมึกจะซึมเลอะเทอะ ควรควบคมุ ให้พอเหมาะ

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเปน็ มา ววิ ัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ อปุ กรณใ์ นการเขยี นอกั ษรจีนดว้ ยพกู่ ัน 3. จานฝนหมกึ คือแท่นหินท่ใี ช้บดแท่งหมกึ ให้ออกมาเป็นนา้ มีร่อง สาหรับขังน้าหมึก ดังนั้นจานฝนหมึกจึงต้องยกขอบ สูงให้เปน็ หลุมลงไปเพื่อขังหมกึ ไว้ด้านใน

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเปน็ มา ววิ ัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ อุปกรณใ์ นการเขยี นอกั ษรจีนดว้ ยพกู่ ัน 4. กระดาษ ควรใช้แบบที่มีไว้เขียนพู่กันโดยเฉพาะ ทเี่ รียกว่า เซวียน กระดาษชนดิ นีม้ ีการดูดซับน้าได้ดี และเมื่อ ดูดซับไมท่ าให้ลายเส้นแตกกระจาย กระดาษเซวียน มขี นาดและมีความหนาต่างๆ กัน นอกจากนีย้ งั มกี าร ตกแต่งลวดลายให้สวยงาม หรอื การใส่เกล็ดทองลง ไปในเนื้อกระดาษ เพ่ือทาให้ดูมีคณุ ค่า กระดาษเซวียนมกั จะบางมาก และในเน้อื กระดาษจะมีแนว เส้นลางๆ พอเหน็ อยู่ทั่วแผ่น ราคาของกระดาษแตกต่างกันไปขนึ้ อยู่กับคณุ ภาพของเนื้อกระดาษ

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเปน็ มา ววิ ัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ อปุ กรณใ์ นการเขยี นอกั ษรจีนดว้ ยพกู่ ัน 5. ตราประทบั ตราประทับเป็นสิ่งใช้แทนตัวมาแต่สมัยโบราณแล้ว โดยมักแกะสลักจากหยก งาช้าง หรือหินมีค่าอื่นๆ โดยแกะลงไปในเนื้อดวงตราอย่างตรงๆ เวลาใช้ ตราประทัดต้องจิม้ ตราลงบนชาดก่อนจึงจะใช้ประทับได้ อักษรที่ใช้แกะสลักตราประทับมัก เป็นอักษรจ้วน ออกแบบอย่างงดงาม อักษรแบ่งได้เป็นสองแบบคอื อกั ษรแดงและอักษรขาว อักษร แดงคือตราทแี่ กะรอบๆ ตัวอักษร ให้อักษรนูนขึน้ มา เมอ่ื ใช้ประทบั จะเหน็ เป็นตัวอักษรสีแดงบน พื้นขาว อกั ษรขาวคือแกะตัวอักษรลึกลงไป เมอื่ ใช้ประทับจะเห็นเป็นตัวอักษรสีขาวบนพืน้ แดง

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเปน็ มา ววิ ัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ อปุ กรณใ์ นการเขยี นอกั ษรจีนดว้ ยพกู่ ัน 5. ตราประทบั ตราประทับเป็นสิ่งใช้แทนตัวมาแต่สมัยโบราณแล้ว โดยมักแกะสลักจากหยก งาช้าง หรือหินมีค่าอื่นๆ โดยแกะลงไปในเนื้อดวงตราอย่างตรงๆ เวลาใช้ ตราประทัดต้องจิม้ ตราลงบนชาดก่อนจึงจะใช้ประทับได้ อักษรที่ใช้แกะสลักตราประทับมัก เป็นอักษรจ้วน ออกแบบอย่างงดงาม อักษรแบ่งได้เป็นสองแบบคอื อกั ษรแดงและอักษรขาว อักษร แดงคือตราทแี่ กะรอบๆ ตัวอักษร ให้อักษรนูนขึน้ มา เมอ่ื ใช้ประทบั จะเหน็ เป็นตัวอักษรสีแดงบน พื้นขาว อกั ษรขาวคือแกะตัวอักษรลึกลงไป เมอื่ ใช้ประทับจะเห็นเป็นตัวอักษรสีขาวบนพืน้ แดง

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเป็นมา ววิ ัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ อปุ กรณใ์ นการเขยี นอกั ษรจีนดว้ ยพกู่ ัน 6. ชาด เปน็ ยางข้นสีแดงสดผสมนา้ มนั งา ใช้กับตราประทับ วธิ ีใช้คอื กดตราประทับลงบนผิวหน้าของชาด เมอ่ื ดวงตราตดิ สีแดงแล้วจงึ นาตรานั้นประทับลงกับ กระดาษ กดแรงๆ พยายามให้ทุกส่วนของผวิ หนา้ ดวงตราสัมผัสกับกระดาษ ชาดมกั จะเกบ็ ไว้ในตลบั โดยปกตแิ ล้วสามารถใช้ได้นานเปน็ ปี ถ้าเร่ิม จะแห้งและแข็งกด็ ูแลดว้ ยการหยดนา้ มนั งาลงไป ก็จะใช้ได้ดีเหมอื นเดมิ

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเปน็ มา ววิ ัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ อักษรทัง้ 3 ชนิดเจรญิ รุ่งเร่ืองอยู่ในยุคไล่เล่ยี กัน อักษรฮีโรกลิฟเจรญิ รุ่งเรื่องอยู่ในทะเลเมดิเตอร์ เรเนียน โดยเฉพาะลุ่มแม่น้าไนล์ อักษรรูปลม่ิ เจรญิ อยลู่ ุ่มแม่น้าไทกรีสและยูเฟติสรวมถึงบรเิ วณ ปากอ่าวเปอรเ์ ซีย ส่วนอักษรจีนเจรญิ รุ่งเร่ืองอยู่ในประเทศจีนปัจจบุ ัน และส่งอิทธพิ ลให้กับญ่ปี ่นุ และเกาหลใี นภายหลัง อักษรเหล่านี้ได้แพร่กระจายไปทวั่ ดนิ แดนใกล้เคียงและออกไปเรื่อย ๆ จาก ปัจจัยทางการค้าเป็นหลัก พ่อค้าสาคัญทที่ าให้อักษรลิ่มเกดิ การแพร่กระจายไปในดนิ แดนต่าง ๆ และพัฒนาเป็นของตนเองคือชาว \"ฟินิเชียน\" (ในเลบานอลปัจจบุ ัน)

หน่วยที่ 1 ประวตั คิ วามเปน็ มา วิวัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ 2. วิวัฒนาการอกั ษรไทย อักษรของไทยมีความเกยี่ วข้องโดยตรงกับอักษรอินเดีย ซึ่งถูกพัฒนามาจากอักษรของชาว ฟินเิ ชียนอกี ต่อหนงึ่ อักษรทมี่ อี ายเุ ก่าแก่ที่สุดในอินเดยี พบในศิลาจารกุ ทสี่ ร้างเมื่อพทุ ธศตวรรษ ที่ ๓ สมัยพระเจ้าอโศกมหาราชเรียกว่า “อักษรพราหมี” และในสมัยเดยี วกันได้พบอกั ษร “ขโรษฐ”ี ในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของอนิ เดีย ส่วนอักษรพราหมีเป็นอักษรที่ใช้อย่างกว้างขวาง ในสมยั หลงั ต่อมา จนพัฒนารูปสันฐานเปน็ “อักษรเทวนาครี” ทใี่ ช้ในอินเดียเหนอื และ “อักษรคฤน์” หรือทเี่ รียกว่า “ปัลลวะ” (ใช้ในสมัยราชวงศป์ ัลลวะจึงเรียกอักษรปัลลวะ) อักษร ปัลลวะได้แพร่กระจายเข้าสู่ดนิ แดนเอชียตะวันออกเฉียงใต้ ท้งั ไทย เขมร พม่า และชาตอิ ่ืน ๆ ราว พุทธศตวรรษที่ ๑๒ เป็นอย่างน้อย

หน่วยที่ 1 ประวตั คิ วามเป็นมา ววิ ัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ 2. ววิ ัฒนาการอกั ษรไทย

หน่วยที่ 1 ประวตั คิ วามเปน็ มา ววิ ัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ ววิ ัฒนาการอกั ษรไทย ราวพุธศตวรรษที่ ๑๒ พบจารึกรุ่นแรกของประเทศไทย ใน จ. อบุ ลราชธานี จ. ปราจีนบุรี คอื จารึกของเจ้าชายจิตเสน หรอื มเหนทรวรมนั แห่งอาณาจักรเจนละ ใช้ตัว “อักษรคฤนถ”์ หรือ “ปัลลวะ” ภาษาสันสกฤต เช่นจารกึ เขารัง จ.ปราจีนบรุ ี ลง พศ. ๑๑๘๒ จารึกหมาไนของเจ้าชาย จติ เสน อยู่ที่วัดสุปัฏนาราม จ.อุบลราชธานี ซ่ึงเป็นอกั ษรของฝ่ายอนิ เดียใต้ที่แพร่กระจายเข้ามา ในประเทศไทยและเอเชียอาคเนย์ และพบจารึก “เยธัมมาฯ” บนเหรียญกษาปณ์ ของอาณาจักร ทวารวดีในภาคกลางลมุ่ แม่น้าเจ้าพระยา อักษรปัลลวะพบในภาคกลาง ๓๓ หลัก

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเปน็ มา วิวัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ วิวัฒนาการอกั ษรไทย

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเปน็ มา วิวัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ วิวัฒนาการอกั ษรไทย ราวพุทธศตวรรษ ที่ ๑๒ – ๑๕ เป็นต้นมา พบอักษร “ขอมโบราณ” ท่วั บรเิ วณภาคอสิ าน อักษรขอมพัฒนามาจากอักษรปัลลวะ และอักษรยคุ หลงั จากนัน้ ในอนิ เดียใต้ ใช้ในอาณาจักรต่างๆ สองฝั่งแม่น้าโขงตัง้ แต่สมัยก่อนเมอื งพระนคร ต่อมาจงึ กลายเป็นอักษรท้องถิ่นในสมัยพระนคร และเป็นต้นแบบของอกั ษรไทยและอักษรเขมรในปัจจุบัน เอกลักษณข์ องอักษรขอมคอื เปล่ยี น บา่ อักษรของอักษรปัลลวะเปน็ ศกหรอื หนามเตย อักษรนีพ้ ัฒนาไป 2 ทิศทาง คือ เปน็ อักษรขอม ในประเทศไทย (ใช้เขียนภาษาไทย ภาษาบาลี ภาษาเขมร) และอักษรขอมในประเทศกัมพูชา (ใช้ เขียนภาษาเขมร ภาษาบาลี)

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเปน็ มา วิวัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ วิวัฒนาการอกั ษรไทย

หน่วยที่ 1 ประวตั คิ วามเปน็ มา วิวัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ อักษรขอมไทย ศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเดส์ ได้กล่าวถงึ ไว้ ในหนังสือ \"ตานานอักษรไทยของท่าน\" ซึ่งทาให้ วิเคราะหไ์ ด้ว่า อักษรขอมนั้น แท้จรงิ ก็คืออักษรแขก หรืออักษรอินเดยี ใต้ เม่ือชาวอนิ เดียใต้เป็น ผู้นาพทุ ธศาสนามาเผยแพร่นัน้ กไ็ ด้นาหนังสือของตน หรือหนงั สอื (อักษร) ปัลลวะของอินเดียใต้ มาเผยแพร่ด้วย ดังนัน้ หนังสือเหล่าน้จี ึงปรากฎว่ามีทั่วไปท้งั ในกัมพูชาในชวา และสมุ าตรา รวมทง้ั ในสยามประเทศด้วย

หน่วยที่ 1 ประวตั คิ วามเป็นมา วิวัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ อักษรขอมไทย ในประเทศไทย อักษรขอมถอื เปน็ อักษรศกั ดิ์สทิ ธิ์ ใช้ในงานด้านศาสนาเป็นส่วนใหญ่ อักษรขอมที่ ใช้เขียนภาษาบาลีเรียก อักษรขอมบาลี ส่วนที่ใช้เขียนภาษาไทยเรียก อักษรขอมไทย ซึ่งมี อักขรวิธตี ่างจากอักษรขอมกลุ่มอื่นๆ ต่อมา อักษรขอมไทยถูกแทนท่ดี ว้ ยอักษรไทย ส่วนอักษร ขอมบาลียังคงใช้เขียนภาษาบาลีเร่ือยมา แม้จะมีการพัฒนาอกั ษรไทยและอักษรอรยิ กะมาเขียน ภาษาบาลีก็ตาม อักษรขอมบาลีถูกยกเลกิ ไปในสมัย จอมพล ป. พบิ ูลสงคราม พยัญชนะมี ทั้งหมด 35 ตัว โดยแต่ละตัวมีทั้งรูปตัวเต็มกับตัวเชิงหรอื พยัญชนะซ้อน มกี ารจัดแบง่ เปน็ วรรค ตามระบบภาษาสันสกฤต

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเป็นมา ววิ ัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ อักษรขอมไทย

หน่วยที่ 1 ประวตั คิ วามเปน็ มา ววิ ัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ พยัญชนะมีท้งั หมด 35 ตัว โดยแต่ละตัวมีทัง้ รูปตัวเต็มกับตัวเชิงหรอื พยัญชนะซ้อน มกี ารจัด แบ่งเป็นวรรคตามระบบภาษาสันสกฤต รูปพยัญชนะตามผังอักษรข้างต้นถอดเปน็ พยัญชนะไทยได้ดังน้ี • วรรค กะ (แถวที่ 1 จากบน) ก ข ค ฆ ง • วรรค จะ (แถวที่ 2) จ ฉ ช ฌ ญ • วรรค ฏะ (แถวที่ 3) ฏ ฐ ฑ ฒ ณ • วรรค ตะ (แถวที่ 4) ต ถ ท ธ น • วรรค ปะ (แถวที่ 5) ป ผ พ ภ ม • เศษวรรค (แถวที่ 6) ย ร ล ว ศ (แถวที่ 7) ษ ส ห ฬ อ

หน่วยที่ 1 ประวตั คิ วามเปน็ มา ววิ ัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ ราวพทุ ธศตวรรษที่ ๑๘ “อักษรมอญโบราณ” อักษรมอญโบราณเด่นชัดในสมัยพุทธศตวรรษที่ ๑๗ ในอาณาจักรพุกามของพมา่ แล้วเพร่เข้ามาสู่ดินแดนประเทศไทยทางภาคเหนอื ปรากฏท่ี อาณาจักรหริภญุ ชัย จ.ลาพูน มีอายสุ มยั พทุ ธศตวรรษที่ ๑๘ จานวน ๗ หลกั และ ที่วัดเวียงมะ โน อ.หางดง จ. เชียงใหม่ อกี หน่ึงหลัก พ.ศ. ๑๘๒๖ พ่อขนุ รามคาแหงแห่งอาณาจกั รสโุ ขทยั นาตัวอักษร “มอญโบราณ” และ “อักษร ขอมโบราณ” (ซึ่งพัฒนามาจากอักษรปัลลวะทัง้ ค)ู่ มาจัดระบบอกั ขรวิธใี หมโ่ ดยการวางสระไว้บน บรรทัดเดียวกับพยัญชนะและดัดแปลงรูปแบบเรียกว่า “ลายสือไทย” ในปี พ.ศ. ๑๘๒๖ และสร้าง ศลิ าจารึหลักท่ี ๑ ในปี พศ ๑๘๓๕ เป็นต้นแบบของตัวอักษรไทยในปัจจบุ ัน ลายสือไทยที่พระองค์ ทรงประดิษฐข์ ึ้นน้ี ได้นามาใช้เป็นต้นแบบของการพัฒนารูปแบบตัวอกั ษรในยุคต่อๆมา

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเปน็ มา ววิ ัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเปน็ มา วิวัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ ราว พ.ศ.๑๙๐๐ พระยาลไิ ทยหรอื พระเจา้ ฦๅไทย แห่งอาณาจกั รสโุ ขทัย เมื่อประมาณปี พ.ศ. 1900 ได้เปล่ยี นเอาสระ อิ อี อึ อื ข้ึนไปเป็นร่ม และนาเอาสระ อุ อู ลงไปเปน็ รองเท้าของ พยัญชนะ (โดยเทียบเคียงจากศลิ าทัง้ สองสมยั ) ส่วนรูปแบบของตัวอักษรจะเปลี่ยนแปลงไปบา้ ง เลก็ น้อย ในปี พ.ศ. 2223 รัชสมยั ของสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราชได้พัฒนารูปแบบตัวอักษรอีก ครั้ง โดยได้เปลยี่ นแปลงจากลักษณะเส้นโค้งของตัวอักษรมาเปน็ เส้นตรงและเปน็ เหลยี่ มมากขึน้ ทาให้สามารถเขียนได้สะดวกขน้ึ การเปล่ยี นแปลงรูปแบบตัวอักษรครัง้ นี้อาจกล่าวได้ว่าเป็นก้าว สาคัญของการพัฒนาตัวอักษรไทย เพราะได้กาหนดให้เปน็ แบบอย่างของตัวอักษรไทยที่ใช้กันมา จนทกุ วันนี้

หน่วยที่ 1 ประวตั คิ วามเปน็ มา วิวัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ การเปลี่ยนแปลงในระยะหลังท่พี อจะพบเหน็ ได้เปน็ ลักษณะลีลาของการเขียน เช่น แบบอย่าง ลักษณะตัวอักษรข้อความที่เรียกว่า “แบบไทยย่อ” ในสมยั สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช ที่มีลลี า การเขียนเป็นแบบตัวเอน เส้นขนานกันเปน็ ส่วนใหญ่ และเน้นหางตัวอักษรให้มีลลี าท่อี ่อนช้อย พยัญชนะ เรียกว่า “อักษรสมัยพระยาลิไทย” จากนั้นจงึ แพร่กระจายเข้าไปในภาคเหนือ และ ปะปนกับ “อักษรยวน” กลายเป็น “อักษรธรรมลา้ นนา” บันทกึ วรรณกรรมเกี่ยวกับศาสนา และ “อักษรฝักขาม” บนั ทึกวรรณกรรมทางโลก แล้วแพร่กระจายต่อไปยังอาณาจักรล้านช้าง (ลาว) และภาคอิสาน เรียกว่า “อักษรธรรมอสิ าน” บนั ทกึ เรื่องทางธรรม และ “อักษรไทยน้อย” บันทกึ เร่ืองทางโลก อีกทั้งยังเป็นต้นแบบของ “อักษรลาวปัจจบุ ัน” อีกด้วย นับแต่นไ้ี ป วัดเป็น ศนู ย์กลางของการศกึ ษา พระสงฆม์ หี น้าที่สอนหนังสือ

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเปน็ มา วิวัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ จารกึ วัดชา้ งคา้ ๑ อักษรธรรมล้านนา ภาษาไทย

หน่วยที่ 1 ประวตั คิ วามเป็นมา วิวัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ อาณาจกั รอยธุ ยา สมัย สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช รูปสัณฐานตัวอักษรเปลี่ยนแปลงเป็นทรง เหล่ยี ม เส้นตรงหักเหลี่ยมย่อมุม เรียกว่า “อักษรไทยย่อ” ใช้ในเอกสาราชการ ลักษณะตัวอักษร คล้ายปัจจบุ ัน เกดิ หนังสอื แบบเรียน “จินดามณ”ี มสี ระครบทุกตัว วรรณยกุ ต์ ๒ รูป คอื เอก โท ในสมยั อยุธยาตอนปลาย พยัญชนะครบ ๔๔ ตัว

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเปน็ มา ววิ ัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเปน็ มา ววิ ัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ สมัยรตั นโกสนิ ทรต์ อนตน้ พบวรรณยกุ ต์ครบทั้ง ๔ รูป คือ เอก โท ตรี จัตวา ในรัชกาลที่ ๓ แหม่มจตั สนั ชาวอังกฤษออกแบบหล่อตัวอักษรไทยท่ปี ระเทศพม่า พ.ศ. ๒๓๗๑ ร้อยเอกเจมส์ โลว์ ได้นาไปพิมพ์ทเี่ มืองกัลป์กาตาประเทศอนิ เดีย รูปแบบตัวอักษรไทยท่ดี แู ล้วมรี ูปลกั ษณ์แปลกตาไปจากเดิม ยคุ ทมี่ กี ารนาเอาตัวอักษรไทยเข้ามา ใช้ในการพิมพ์ ได้มีการหลอ่ ตัวพมิ พ์อักษรไทยข้ึนเป็นครั้งแรก เอกสารทจี่ ัดพิมพข์ น้ึ นั้นเป็นตารา ไวยากรณ์ไทย ชื่อ A GRAMAR OF THE THAI ตัวอักษรเปน็ ลักษณะแบบคัดลายมอื รูปลกั ษณ์ ท่ดี แู ปลกตาไปเนอื่ งจากเปน็ การแกะตัวอักษรจากบลอ็ ก และหล่อจากแมพ่ มิ พท์ องแดง แทนการใช้ วัสดขุ ีดเขียน หรอื จารกึ ดังเช่นสมัยก่อน การพัฒนาระบบการพิมพด์ าเนนิ ไปอย่างต่อเน่ือง

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเปน็ มา วิวัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ พ.ศ. ๒๓๗๙ หมอบลัดเลย์ ซือ้ เคร่ืองพมิ พ์อักษรไทยมาพิมพท์ ี่กรงุ เทพฯ ตั้งโรงพิมพค์ รัง้ แรกในปี เดียวกันได้ทาการหล่อตัวพมิ พ์ขึ้นใช้เองในประเทศไทย รูปแบบตัวอักษรขณะนัน้ ยังคงใช้ แบบอย่างตัวอักษรของ เจมส์ โลว์ แต่ได้แก้ไขให้สวยงามและมีความประณีตมากขน้ึ จากนั้นโรง พิมพก์ ็เจรญิ รุ่งเร่ืองในเมืองไทย มกี ารปรับปรุงแบบเรียนจินดามนีอกี ครัง้

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเปน็ มา ววิ ัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ

หน่วยที่ 1 ประวตั ิความเป็นมา ววิ ัฒนาการของตัวอักษรไทย ตัวอักษรอังกฤษ พ.ศ.๒๓๘๕ ท่ไี ด้มีการปรับปรงุ รูปลกั ษณข์ อง ตัวอักษรอย่างเด่นชัด โดยออกแบบใหต้ ัวอักษร มลี ักษณะเปน็ แบบหัวกลม ตัวเหลยี่ ม ซึ่งอาจ กล่าวได้ว่า การสร้างรูปแบบตัวอักษรในครั้งนี้ ได้เปน็ แบบอย่างในการพัฒนารูปแบบตัวอกั ษรท่ี ใช้ในวงการพิมพจ์ นถึงทุกวันนี้ พ.ศ. ๒๓๙๐ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว ขณะทรงผนวชได้ประดิษฐ์ “ตัวอักษร อริยกะ” เพ่ือใช้เขียนคาบาลี แต่ไม่เปน็ ทนี่ ิยม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook