Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยในชั้นเรียนรวมเล่ม

วิจัยในชั้นเรียนรวมเล่ม

Published by Worakhittiya Pholsanong, 2021-06-25 02:44:54

Description: วิจัยในชั้นเรียนรวมเล่ม

Search

Read the Text Version

วิจัยในชั้นเรยี น การแกไ้ ขปญั หาพฤตกิ รรมการใชโ้ ทรศัพท/์ สมารท์ โฟนในช้นั เรยี น โดยผ่านรปู แบบการเรยี นรูโ้ ดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็นฐาน (Google for Education) ของ นักเรียนระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 5/8 โรงเรยี นคาแสนวิทยาสรรค์ ตาบลนากลาง อาเภอนากลาง จังหวดั หนองบวั ลาภู นายวรกฤตยิ ะ พลสนอง สาขาวชิ า สังคมศึกษา คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เลย

ช่ืองานวจิ ัย การแก้ไขปญั หาพฤติกรรมการใชโ้ ทรศพั ท์/สมารท์ โฟนในชัน้ เรยี นโดยผา่ นรูปแบบ การเรียนรโู้ ดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็นฐาน (Google for Education) ของนักเรียนระดบั ช้ัน มธั ยมศึกษาปที ่ี 5/8 โรงเรียนคาแสนวทิ ยาสรรคต์ าบลนากลาง อาเภอนากลาง จงั หวัดหนองบัวลาภู ชื่อผู้วิจัย นายวรกฤติยะ พลสนอง นกั ศึกษาฝึกประสบการณว์ ิชาชพี ครู สาขาวชิ าสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏเลย อาจารยท์ ี่ปรกึ ษางานวจิ ัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยิง่ ศักด์ิ คชโคตร คุณครูทีป่ รกึ ษาร่วม 1. คุณครูสมจิตต์ ดาก่า หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม โรงเรียน คาแสนวิทยาสรรค์ 2. คณุ ครสู นุ ทร ผวิ จนั ทร์ ตุณครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม โรงเรียน คาแสนวทิ ยาสรรค์ บทคัดย่อ วิจัยในช้ันเรียนเร่ือง การแก้ไขปัญหาพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์/สมาร์ทโฟนในช้ันเรียนโดยผ่าน รูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน (Google for Education) ของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 โรงเรยี นคาแสนวทิ ยาสรรคต์ าบลนากลาง อาเภอนากลาง จงั หวัดหนองบวั ลาภูครัง้ นี้มวี ตั ถุประสงค์ 1)เพื่อ ศึกษาพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์/สมาร์ทโฟนในชั้นเรียนของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 โรงเรียนคา แสนวิทยาสรรค์ 2)เพอ่ื ส่งเสรมิ พฤติกรรมการใช้โทรศัพท/์ สมาร์ทโฟนของนักเรียนระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 5/8 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ ให้เกิดประโยชน์ตอ่ การเรยี นรู้ 3)เพื่อศึกษาความสัมพันธร์ ะหวา่ งพฤติกรรมการใช้ โทรศัพท์/สมาร์ทโฟนในชั้นเรียนและผลการเรียนของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 โรงเรียนคาแสน วิทยาสรรค์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 ของโรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ จานวน 25 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบสอบถาม พฤติกรรมมการใช้โทรศัพท์ในช้ันเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5/8 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ 2) แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนโดยผ่านรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีเป็น ฐ า น ( Google for Education) ข อ ง นั ก เ รี ย น ร ะ ดั บ ช้ั น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 5 / 8 โ ร ง เ รี ย น คาแสนวิทยาสรรค์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) ความถี่และร้อยละ และ ทดสอบไคสแควร์ (Chi-Square)

ผลการวิจัยสรปุ ไดด้ งั น้ี กลมุ่ ตัวอย่างเคยแอบใชโ้ ทรศัพท/์ สมาร์ทโฟนในชน้ั เรียนทั้งหมดโดยพฤติกรรม โดยส่วนใหญแ่ อบใชโ้ ทรศพั ท์/สมารท์ โฟนนอ้ ยกว่าครึ่งหนง่ึ ของคาบเรยี น และวัตถปุ ระสงค์หลกั ในการแอบเล่น โทรศัพท์/สมาร์ทโฟนคือ การใช้ส่ือสังคมออนไลน์ (เฟซบุ๊ก, ไลน์,ไอจี) และในชั้นเรียน นักเรียนใช้สมาร์ทโฟน เพ่ือค้นคว้าข้อมูลเพื่อทากิจกรรมท่ีครูมอบหมาย และกลุ่มตัวอย่างใช้สมาร์ทโฟนเพื่อค้นหาเนื้อหาท่ีไม่เข้าใจ เพิ่มเติม กลุ่มตัวอย่างใช้สมาร์ทโฟนถ่ายรูป PowerPoint ของครูแทนการจดบันทึก และภายหลังเรียนรู้ผ่าน ผ่านรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน (Google for Education) พบว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 มีระดบั ความพึงพอใจตอ่ การจัดการเรียนการสอนโดยภาพรวมท้ัง 3 ดา้ น ในภาพรวมอยใู่ นระดับ มาก จากศึกษาวิจัย และส่งเสริมพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์/สมาร์ทโฟนในหางที่ถูกต้อง และเหมาะสมใน ชัน้ เรยี น ส่งผลใหผ้ ลสมั ฤทธ์ิทางการศึกษาในรายวชิ าสังคมศึกษา 1 ของระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5/8 นี้ สงู ขึ้น ดังผลการศึกษาที่แสดงให้เห็นว่า พฤติกรรมการใช้โทรศัพท์/สมาร์ทโฟนในชั้นเรียน มีความสัมพันธ์กับผลการ เรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ท่ี 0.05

กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยในช้ันเรียนฉบับนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยการให้ความช่วยเหลือแนะนาของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยิ่งศักดิ์ คชโคตร ซึ่งเป็นอาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัย คุณครูสมจิตต์ ดาก่า และคุณครูสุนทร ผิวจันทร์ คุณครูท่ี ปรึกษาร่วมท่ีได้กรุณาท่ีให้คาแนะนาข้อคิดเห็นตรวจสอบ และแก้ไขร่างงานวิจัยมาโดยตลอด ผู้เขียนจึงขอกราบ ขอบพระคุณไว้ ณ โอกาสน้ี ผู้เขียนขอขอบพระคุณ ท่านผู้อานวยการสถานศึกษา ดร.ธารา พิลาแสง ผู้อานวยการโรงเรียนคาแสน วิทยาสรรค์ ท่านรองอดิศักด์ิ เอกตาแสง รองผู้อานวยการโรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์กลุ่มงานวิชาการ คุณครูอุไร ทัพทะมาตร หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการโรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ ท่ีได้กรุณาอานวยความสะดวกในการดาเนินการ เก็บข้อมูลเพื่อท่ีจะนามาใช้ในการศึกษาวิจัย และให้คาแนะนาข้อคิดเห็นตรวจสอบ และแก้ไขร่างงานวิจัยมาโดย ตลอด ผเู้ ขียนจึงขอขอบพระคุณไว้ ณ โอกาสนี้ ผู้เขียนขอขอบพระคุณคุณครูสมจิตต์ ดาก่า หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ คุณครูสุนทรี ผิวจันทร์ คุณครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ และคุณครูปาลรวี พึ่งตาแสง คุณครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ ท่ีได้กรุณารับเป็นผู้เชี่ยวชาญในการตรวจสอบเครื่องมือ และให้คาแนะนาข้อคิดเห็นเกี่ยวกับเคร่ืองมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลในการวิจัยในคร้ังน้ี ผู้เขียนจึงขอขอบพระคุณไว้ ณ โอกาสน้ี ผู้เขียนขอขอบใจนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5/8 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ ทุกคนท่ีให้ความร่วมมือในการจัดการเรียนการสอน และการเก็บรวบรวมข้อมูลเพ่ือนามาใช้ในงานวิจัยในชั้นเรียน จนงานวจิ ัยฉบบั นส้ี าเร็จลลุ ว่ งไปได้ด้วยดี ผูเ้ ขยี นจึงขอขอบใจไว้ ณ โอกาสน้ี ท้ายน้ีผู้เขียนขอน้อมราลึกถึงอานาจบารมีของคุณพระศรีรัตนตรัย และส่ิงศักด์ิสิทธ์ิท้ังหลายที่อยู่ใน สากลโลก อันเป็นที่พึ่งให้ผู้เขียนมีสติปัญญาในการจัดทางานวิจัยในชั้นเรียนให้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ผู้เขียนขอให้ เป็นกตเวทิตาแด่บิดา มารดา ครอบครัวของผู้เขียน ตลอดจนผู้เขียนหนังสือ และบทความต่าง ๆ ท่ีให้ความรู้แก่ ผู้เขยี นจนสามารถให้งานวิจยั ในช้ันเรียนฉบบั น้ีสาเร็จไดด้ ว้ ยดี วรกฤติยะ พลสนอง

บทท่ี 1 บทนา 1. ความเปน็ มาและความสาคัญของการวจิ ัย ความก้าวหน้าของอปุ กรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นไปอย่างรวดเรว็ โลกของเราพัฒนา ไปอย่างกา้ วกระโดดและกว้างไกล มนษุ ย์สามารถสร้างเครื่องจกั รและเคร่ืองจักรก็สามารถทาได้ทุกสิ่งอย่าง ไม่ ว่าจะเป็นการพัฒนาด้านการคมนาคม การค้า การศึกษาหรือการสื่อสารเพื่อสนองความต้องการด้านต่าง ๆ ของผู้ใช้ในปัจจุบัน ซ่ึงมีผู้ใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารท่ัวโลกประมาณพันล้านคน และเพิ่มข้ึน เรื่อย ๆ ทกุ ปี ผใู้ ช้สามารถใช้งานอปุ กรณด์ ังกล่าวได้ทุกท่ี ทุกเวลา จึงทาใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงด้านตา่ ง ๆ ทงั้ ท่ีเกิดประโยชน์และโทษ (ยงยุทธ ชมไชย : ออนไลน์) ทาให้ผู้คนใช้ประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยีเหมือนดาบ สองคม มที ัง้ ดแี ละไม่ดี โดยเฉพาะการใชเ้ ทคโนโลยกี ารติดตอ่ ส่อื สาร เราจะเห็นได้ว่าขอ้ ดมี มี ากมาย แตบ่ างครั้ง กม็ ีคนเอาไปใช้ในทางไมด่ ี ไม่ถูกต้อง หรือไมค่ ุ้มคา่ ปัจจุบันเรามีเทคโนโลยีการสื่อสารที่ทันสมัยคือ โทรศัพท์มือถือ หรือโทรศัพท์พกพาหรือที่เรามัก เรียกว่า “ สมาร์ทโฟน ” โทรศัพท์มือถือที่ขณะน้ีได้เข้ามามีบทบาทสาคัญกับการดารงชีวิตในสังคม ท้ังช่วยให้ ติดต่อส่ือสารกันได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว รูปลักษณ์ท่ีสวยงามและฟังก์ชันท่ีให้ความบันเทิงอีกมากมาย จึง ทาให้กลายเป็นทนี่ า่ สนใจของคนในสังคมหลายกลุ่ม โดยเฉพาะกลุม่ วยั รนุ่ ซง่ึ เป็นกลมุ่ ท่ีตกอยู่ในวตั ถุนยิ ม ตาม แฟชัน่ และรักความสะดวกสบายแต่อย่างไรก็ตามโทรศัพท์มือถือก็มีท้ังประโยชนแ์ ละโทษ แม้ว่าโทรศัพท์มือถือ จะช่วยให้สะดวกต่อการติดต่อสื่อสาร แต่หากใช้ไปในทางที่ผิด หรือใช้ผิดท่ีผิดเวลา ผิดวัตถุประสงค์ ก็จะ ก่อใหเ้ กิดผลเสียตา่ ง ๆ ตามมาได้ ประกอบกับ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 ได้กาหนดไว้ในหมวด 4 มาตรา 22 ว่า การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมี ความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้มี ประสทิ ธิภาพ ตามแนวปฏิรูปการศกึ ษาเพ่ือให้คนในสงั คมมีความรคู้ ู่คณุ ธรรม จงึ นับว่าเป็นหัวใจสาคญั ของการ พัฒนาการศึกษา และเป็นความจาเป็นเร่งด่วนที่จะต้องดาเนินการ และมาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ ข้อ 5กล่าวว่า ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม ส่ือการเรียน และอานวยความสะดวก เพอื่ ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ทงั้ นผ้ี สู้ อนและผเู้ รยี นอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรยี นการ สอน และแหล่งวิทยากรประเภทต่าง ๆ ดังนั้น สื่อการสอนจึงมีความสาคัญในกระบวนการเรียนการสอน โดย ทาหน้าที่เป็นตัวนาความต้องการของผู้สอนไปสู่ผู้เรียนอย่างถูกต้องรวดเร็ว สื่อการสอนจึงมีความสาคัญใน กระบวนการเรียนการสอน(สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ 2545 : 12-14) ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่รุดหน้าไปอย่างรวดเร็ว แสดงให้เห็นถึงข้อจากัดของการจัดการ เรยี นรู้ทเ่ี น้นการสอ่ื สารภายในห้องเรียนเพียงอ่ย่างเดียว ทาใหโ้ อกาสในการส่ือสารระหว่างผู้สอนและผเู้ รียนใน สภาพการณ์ท่ีต่างกัน ลดน้อยลงและเป็นอุปสรรค่ต่อการจัดการเรียนรู้ ดังนนั้ การใช้เทคโนโลยีเพื่อลดข้อจากัด ดงั กล่าวจึงมีความสาคัญอย่างย่ิง โดยความคาดหวังท่ีจะนาเทคโนโลยี Google for Education มาประยุกต์ใช้ เป็นเครื่องมือท่ีนามาใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน สามารถสร้างความปฏิสมั พันธ์ระหว่างผูส้ อนกับผู้เรียน อีก ทั้ง การใช้นวัตกรรมด้วยเทคโนโลยีจะทาให้เกิดความทันสมัยความน่าสนใจแก่นักเรียน การลดระยะเวลาใน การทางาน ทาให้เกิดระบบใหม่ในการจัดส่งและจัดเก็บผลงานต่าง ๆ ของผู้เรียนด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างคงทนและคงอยู่ของช้ินงานได้ในระยะเวลายาวนาน Google Apps for Education (Google Inc, 2014) ถอื ได้วา่ เป็นนวตั กรรมทางการศึกษา เพราะมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผลสาหรับการจัดการเรียนการ

สอนในยุคดิจิทัลได้เป็นอย่างดี สร้างการเรียนรู้แบบทางานร่วมกันได้ทุกที่ทุกเวลาและทุกรูปแบบของ เทคโนโลยีท่ีสามารถเชื่อมต่อระบบอินเทอรเ์ น็ตได้ภายใตก้ ารจัดเก็บ รวบรวม และบันทึกข้อมูลบนคลาวด์ด้วย Google Drive มีการติดต่อส่ือสารผ่านทาง Gmail สามารถกาหนดเวลาเรียน ตารางนัดหมายร่วมกันทา กจิ กรรมกลุ่มได้ในเวลาเดยี วกันบนแฟ้มเอกสารที่ทางานเดียวกนั ไดด้ ว้ ย Google Docs สรา้ งเว็บไซต์ อีกท้ังครูยังสามารถเพ่ิมประสิทธิภาพในการบริหารชั้นเรียนได้ด้วยการใช้งาน Google Classroom บริการอย่างหน่ึงของกูเกิล (Google) ท่ีหลายสถานศึกษาได้รับความอนุญาตจากกูเกิลให้สถานศึกษานา แอพพลิเคชั่นของกูเกิลมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ปัจจุบันกูเกิลได้นาเสนอ บรกิ ารเพื่อให้สถานศึกษาไดใ้ ช้งาน สาหรบั อีเมล ปฏิทิน และการแชทผา่ นกูเกิล ฟอร์ เอด็ ดเู คช่นั (Google for Education) ซ่ึงเป็นโซลูชันการส่ือสารและการทางานร่วมกันแบบบูรณาการ การจัดการเรียนการสอนให้กับ ครูผู้สอนในสถานศกึ ษาอย่างหน่ึงก็คือ กูเกลิ คลาสรมู (Google Classroom) ซึ่งรวมเอาบริการของกเู กลิ ท่ีมีอยู่ แล้ว เช่น Drive, Docs, Gmail หรือSheet ฯลฯ เข้ามารวมไว้ด้วยกัน และสามารถนาเสนอออกมาเป็นระบบ เดียวแบบครบวงจร เพอ่ื ใช้เปน็ เครอ่ื งมอื ให้ครูผู้สอนสามารถใช้ประโยชน์ ในการสั่งงานและเก็บรวบรวมผลงาน ต่าง ๆ ของนักเรียน นักศึกษา อีกท้ังยังจะช่วยให้นักศึกษาสามารถส่งงานได้ทันทีผ่านทางออนไลน์ ในขณะที่ ผู้สอนเองก็สามารถตรวจงานที่มอบหมายพร้อมให้ข้อเสนอแนะแบบเรียลไทม์ได้อีกด้วย โดยผู้สอนสามารถ สร้างหน้าห้องเรียนข้ึนมา และสามารถเพิ่ม-ลด นักเรียนของตนเข้าไปได้หรือจะใช้วิธีการส่งรหัสเพ่ือให้ นกั ศึกษาสามารถเข้าส่หู ้องเรียนได้ดว้ ยตัวเองก็ได้ ด้วยเหตุน้ีผู้วิจัยจึงต้องการที่จะศึกษาและแก้ไขปัญหาน้ีเพราะนักเรียนส่วนใหญ่ใช้โทรศัพท์/ สมาร์ท โฟนในระหว่างท่ีคุณครูทาการจัดการเรียนการสอน ด้วยปัญหาน้ีเองผู้วิจัยจึงได้นาเอานวัตกรรมเทคโนโลยีมา ใช้กับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ โดยการใช้บริการของ Google for Education ผ่านแอพพลิเคช่ันท่ีเรียกว่า “ Google Classroom” มาเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการในช้ัน เรียน เพ่ือท่ีจะทาให้นักเรียนใช้สมาร์ทโฟนท่ีมีให้เกิดประโยชน์ต่อการค้นคว้าและการเรียนรู้ให้ได้มากท่ีสุด นอกเหนือจากการเลน่ โซเชยี ลและเกม และยงั ทาให้นักเรียนได้เรยี นรเู้ นือ้ หาเกยี่ วกบั วิชาสงั คมศึกษามากขึ้นอีก ดว้ ย 2. วัตถปุ ระสงค์ 1.2.1 เพ่ือศึกษาพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์/สมาร์ทโฟนในชั้นเรียนของนกั เรยี นระดับช้นั มัธยมศึกษาปี ที่ 5/8 โรงเรียนคาแสนวทิ ยาสรรค์ 1.2.2 เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์/สมาร์ทโฟนของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษา ปีที่ 5/8 โรงเรียนคาแสนวทิ ยาสรรค์ ให้เกดิ ประโยชนต์ อ่ การเรียนรู้ 1.2.3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์/สมาร์ทโฟนในช้ันเรียนและผลการ เรยี นของนักเรยี นระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 5/8 โรงเรยี นคาแสนวิทยาสรรค์ 3. สมมตฐิ านการวจิ ัย นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5/8 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ ท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้โดย รูปแบบการเรียนรู้ โดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน มีระดับความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ เทคโนโลยเี ปน็ ฐาน ในภาพรวมอยใู่ นระดับ มาก

4. ขอบเขตของการวจิ ัย ในการศึกษาครั้งน้ีมีจุดมุ่งหมายแก้ไขพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์/สมาร์ทโฟนในชั้นเรียนผ่านการ ส่งเสริมพฤติกรรมการใช้โทรศัพท/์ สมาร์ทโฟนของนักเรยี นระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 โรงเรียนคาแสนวิทยา สรรค์ ให้เกดิ ประโยชน์ตอ่ การเรยี นรู้ 4.1 ประชากร นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 จานวน 1 ห้องเรยี น โดยมนี กั เรยี นจานวน 27 คน 4.2 กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จานวน 1 ห้องเรียน โดยมีนักเรียนจานวน 25 คน 5. ประโยชน์ทค่ี าดว่าได้รับจากการวจิ ัย 1.5.1. ทราบถึงพฤติกรรมการใชโ้ ทรศัพท/์ สมาร์ทโฟนของนักเรียนระดับชน้ั มัธยมศึกษา ปีที่ 5/8 โรงเรยี นคาแสนวทิ ยาสรรค์ 1.5.2. ชว่ ยให้นักเรยี นมพี ฤติกรรมการใช้โทรศัพท์/ สมารท์ โฟนภายในช้นั เรียนให้ประโยชนใ์ น การศกึ ษาค้นควา้ เน้อื หาสาระท่ีใชใ้ นการเรียน 1.5.3. ทราบความสมั พันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้โทรศัพท/์ สมาร์ทโฟนในช้ันเรียน และผลการเรียนของนักเรียนระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5/8 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ 6. นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ แอพพลิเคชัน่ (Application) หมายถึง โปรแกรมต่าง ๆ ท่ตี ิดตงั้ มาพร้อมกับตวั โทรศพั ท์มอื ถอื รวมถึงการที่ผู้บริโภคสามารถดาวน์โหลดจากผ้ทู ใ่ี ห้บริการ ทง้ั ท่ีมีค่าใช้จา่ ยและไม่มคี า่ ใช้จ่าย สมาร์ทโฟน (Smartphone) หมายถึง โทรศัพท์ทีร่ องรบั ระบบปฏบิ ัติการต่าง ๆ ได้เสมือนนา คณุ สมบัตทิ ี่ PDA และคอมพิวเตอร์มาไว้ในโทรศพั ท์ เชน่ iOS (ทล่ี งในมือถือรุน่ Iphone) BlackBerry 5 OS, Android OS Windows phone 7 และ Symbian Os (Nokia) เปน็ ต้น ซ่ึงทาให้สมาร์ทโฟน สามารถลงโปแก รมเพมิ่ เติม (Application) ได้ รูปแบบการเรยี นรู้ (Learning style) หมายถงึ ลกั ษณะท่ีบุคคลใช้ในการรับรู้ ตอบสนอง และมปี ฎิ สมั พันธก์ บั สภาพแวดล้อมทางการเรียน เทคโนโลยี หมายถงึ สิง่ ที่มนุษย์พฒั นาขึ้น เพื่อช่วยในการทางานหรือแกป้ ัญหาตา่ ง ๆ เชน่ อปุ กรณ์, เครื่องมือ, เคร่ืองจักร, วัสดุ หรือ แม้กระทงั่ ทไ่ี มไ่ ด้เป็นสิ่งของท่ีจบั ต้องได้ เช่น กระบวนการต่าง ๆ Google For Education หมายถงึ คือชดุ ของฟรีอีเมลลจ์ าก Google และเคร่ืองมือตา่ ง ๆ เปน็ แบบ ระบบเปดิ ในการทางานร่วมกัน เปดิ กว้างสาหรบั คุณครู นักเรยี นนักศึกษา ชน้ั เรียน และสมาชกิ ในครอบครัวทั่ว โลก ตัวอยา่ งเคร่อื งมือท่เี ป็นที่นิยมใช้ทท่ี ่านรู้จกั ดี เช่น อเี มล (Gmail), เอกสาร (Docs), ปฏิทนิ (Calendar) และ Groups เปน็ ตน้ แต่เครื่องมือเหล่านีจ้ ะใช้สาหรบั ในการเรยี นการศกึ ษา

Google Classroom หมายถึง Google for Education ซึง่ เป็นชุดเครื่องมือท่มี ีประสทิ ธิภาพ ได้รบั การออกแบบมาเพือ่ ช่วยใหผ้ ู้สอนสามารถสร้างและเก็บงานได้โดยไมต่ ้องสิ้นเปลืองกระดาษ มีคุณลกั ษณะท่ี ชว่ ยประหยดั เวลา เช่น สามารถทาสาเนาของ Google เอกสารสาหรบั ผเู้ รียนแตล่ ะคนได้โดยอตั โนมตั ิ โดย ระบบจะสร้างโฟลเดอรข์ องไดรส์ าหรบั แต่ละงานและผู้เรียนแต่ละคนเพ่ือช่วยจัดระเบยี บใหผ้ เู้ รียนสามารถ ติดตามวา่ มีอะไรครบกาหนดบ้างในหนา้ งาน และเร่ิมท างานได้ด้วยการคลิกเพียงครง้ั เดียว ผสู้ อนสามารถดูได้ อยา่ งรวดเร็ววา่ ใครท างานเสรจ็ หรือไม่เสร็จบ้าง ตลอดจนสามารถแสดงความคดิ เหน็ และใหค้ ะแนนโดยตรงได้ แบบเรยี ลไทม์ใน Google Classroom ความพงึ พอใจ (Satisfaction) หมายถงึ ภาวะของอารมณ์ ความร้สู กึ รว่ ม ของบคุ คลท่ีมีต่อการ เรียนรู้ประสบการณ์ท่ีเกิดจากแรงจงู ใจซ่งึ เป็นพลังภายในของแตล่ ะบคุ คล อนั เป็นความสัมพนั ธร์ ะหว่าง เป้าหมายท่ีคาดหวังและความต้องการด้านจิตใจ นาไปสู่การคน้ หาส่งิ ที่ต้องการ มาตอบสนอง เมื่อได้รับการ ตอบสนองความต้องการแลว้ จะเกิดความรู้สึกมีความสุข กระตอื รือรน้ มงุ่ มั่น เกดิ ขวญั กาลงั ใจ กอ่ ใหเ้ กิด ประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผลของการกระทากิจกรรมทน่ี าไปส่เู ป้าหมายนั้นสาเร็จตามท่ีกาหนดไว้

บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ กี่ยวข้อง ง า น วิ จั ย ท่ี เ ก่ี ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร ด า เ นิ น ง า น เ พ่ื อ ก า ร แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร ใ ช้ โ ท ร ศั พ ท์ ในชั้นเรียน โดยผ่านรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐานของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษา ปีท่ี 5/8โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ ผู้วิจัยได้นาเสนอข้อมูลการศึกษาค้นคว้าเอกสาร และงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง ตามลาดบั หัวข้อตอ่ ไปน้ี 1. ความรู้เก่ยี วกับสมาร์ทโฟน 1.1 ความหมายของสมาร์ทโฟน 1.2 ความสาคัญของสมารท์ โฟน 1.3 ประโยชน์และโทษของสมาร์ทโฟน 2. ความรู้เกย่ี วกบั ปัญหาพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟน ท่ีไม่เหมาะสม 2.1 ความหมายของพฤติกรรม 2.2 พฤติกรรมที่ไมเ่ หมาะสมขณะการใชส้ มารท์ โฟน 3. ความร้เู กย่ี วกบั การเรียนการสอนแบบลงมือปฏิบัติ 3.1 ความหมายของการเรียนการสอนแบบลงมือปฏบิ ตั ิ 3.2 ลักษณะของการเรยี นการสอนแบบลงมือปฏบิ ตั ิ 3.3 บทบาทของครู กับ การเรียนการสอนแบบลงมือปฏบิ ัติ 3.4 วิธีการจัดการเรยี นการสอนแบบลงมือปฏิบตั ิ 4. การวิจัยปฏิบตั ิการ 5. งานวิจัยที่เก่ียวขอ้ ง 5.1 งานวิจัยในประเทศ 5.2 งานวิจัยตา่ งประเทศ 1. ความรเู้ ก่ียวกับสมารท์ โฟน (Smart phone) 1.1 ความหมายของสมาร์ทโฟน เนื่องจากในพจนานุกรมราชบัณฑิตสยถานไม่ได้มีการให้ความหมายของสมาร์ทโฟนไว้ ผู้เขียนจึงนา แนวคิดเกย่ี วกบั ความหมายของสมารท์ โฟนทมี่ ีผู้กลา่ วไว้ในงานวิจัยตา่ ง ๆ มาอธบิ ายดังนี้ พัชนา สุวรรณแสน, วิวรรณ กาญจนวจี และกนกภรณ์ อ่วมพราหมณ์ (2557) อธิบายว่า สมาร์ท โฟน หมายถึง โทรศัพท์เคลื่อนที่ที่เกิดจากการพัฒนาเทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย ใช้ในการติดต่อส่ือสารและ สะดวกในการพกพาเคลื่อนท่ีไปได้ทุกท่ีและมีบริการเสริม มีความสามารถคล้ายคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กและ สามารถเชือ่ มตอ่ อินเทอร์เน็ตได้ ธัญธัช วิภัติภูมิประเทศ (2559) ท่ีอธิบายว่า สมาร์ทโฟน หมายถึงโทรศัพท์พกพาซึ่งมีความสามารถ คล้ายคอมพิวเตอร์และสามารถเช่ือมต่ออินเทอร์เน็ตได้ หรืออาจกล่าวได้ว่าสมาร์ทโฟน คือการผสมผสาน ระหว่างเครื่องช่วยงานส่วนบุคคลแบบดิจิทัล ( Personal Digital Assistants) หรือเครื่อง PDA กับ โทรศัพท์เคล่ือนที่โดยสมาร์ทโฟนมีระบบปฏิบัติการ (Operating System) ท่ีสามารถพัฒนาให้รองรับ โปรแกรมประยุกต์ (Applications) อื่นได้ด้วย Wang Xiang & Fesenmaier (2016) ท่กี ล่าวว่า สมาร์ทโฟน หมายถงึ โทรศัพทก์ ง่ึ คอมพวิ เตอร์ขนาด เล็กท่ีรวบรวมอุปกรณ์ดิจิทัลหลายอย่าง มีระบบปฏิบัติการที่มีประสิทธิภาพเพื่อสนับสนุนการทางานของ

สมาร์ทโฟนข้ึนอยู่กับฟังก์ชนั เฉพาะและการประยกุ ต์ใช้ดังนัน้ สมาร์ทโฟน หมายถึง โทรศัพท์มือถือ ที่สามารถ เชื่อมต่อด้วยเทคโนโลยีการสื่อสารเครือข่ายแบบไร้สาย พร้อมฟังก์ชันการทางานที่นอกเหนือ จาก โทรศัพทม์ ือถือทัว่ ไปโดยอาศยั ระบบปฏบิ ัติการทม่ี ีประสทิ ธิภาพเปรยี บเสมือนคอมพวิ เตอรข์ นาดพกพา มีความ ยืดหยุ่นและความคล่องตัวในการใช้งานสูง สามารถติดตั้งโปรแกรมประยกุ ต์ (Applications) ที่หลากหลายทา ให้สมาร์ทโฟนมีความสมบูรณ์และช่วยอานวยความสะดวกในการดาเนินกิจกรรมหรือธุรกรรมออนไลน์ ผ่าน ระบบเทคโนโลยกี ารสอื่ สารเครือขา่ ยแบบไรส้ าย 1.2 ความสาคัญของสมาร์ทโฟน ความกา้ วหน้าของเทคโนโลยีในสมารท์ โฟนน้นั เตบิ โตตลอดเวลา มไิ ดห้ ยุดอยู่เพียงแคท่ ก่ี ารสนทนา โตต้ อบและส่งขอ้ ความ เทา่ นั้น แตย่ งั สามารถทาหน้าท่ีได้หลากหลาย เพอ่ื ตอบสนองต่อความต้องการของ ผู้ใชง้ านในการดาเนนิ กิจกรรมตา่ ง ๆ ผ่านโปรแกรมประยุกต์ที่ติดต้งั ในเคร่ือง Alson & Misagal (2016) ได้กล่าวถึงความสาคัญของสมาร์ทโฟนไว้ว่า สมาร์ทโฟน (Smartphone) ทาให้ผู้ใช้สามารถดาเนินการกิจกรรมต่าง ๆ เชน่ การส่งข้อความ การโทร การเปิดเอกสาร หรอื การตรวจสอบ อีเมล ( E-mail) การเรียกใช้งานอินเทอร์เน็ต และดาวน์โหลดไฟล์ได้อย่างสะดวกสบาย เทคโนโลยีสมาร์ทโฟน ให้ประโยชน์สาหรับผ้ใู ช้งานอยา่ งมากในการเขา้ ถงึ และเผยแพร่ข้อมลู อยา่ งรวดเรว็ และพัชนา สุวรรณแสนและคณะ (2557) กล่าวว่า สมาร์ทโฟน เป็นอีกปัจจัยหน่ึงในชีวิตประจาวัน ของบุคคลในสังคมด้วยความสามารถในการติดต่อส่ือสารและความสะดวกในการพกพาไปได้ทุกท่ีทาให้ สามารถลดข้อจากัดในเรื่องของเวลาและสถานที่ในการติดต่อสื่อสารได้อย่างแท้จริงและสมาร์ทโฟนได้กลาย เป็นที่นิยมท่ัวโลก และเป็นสิ่งท่ีจาเป็นในชีวิตประจาวันของคนสมัยใหม่เนื่องจากสามารถอานวยความสะดวก ในด้านการสื่อสารเช่นเดียวกับคอมพิวเตอร์ สามารถดาวน์โหลดแอพพลิเคชันต่าง ๆ ได้ และเปน็ โทรศัพท์มือถือที่ มีระบบปฏิบัติการ (Operating System) ท่ีสามารถประมวลผลขั้นสูงเพื่อควบคุมการทางานพ้ืนฐานและ รองรับการทางานของโปรแกรมประยุกต์ (Applications) โดยอาศัยการเช่ือมต่อท่ีหลากหลายสามารถใช้ อินเทอร์เน็ตไว้ค้นหาข่าวสารท่ีทันสมัยหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลต่าง ๆ เพราะว่าโทรศัพท์สมาร์ทโฟนน้ันสามารถ รองรบั เกีย่ วกบั การใช้งานบน เครือขา่ ยสังคมออนไลน์ ยกตวั อย่างการใช้งาน เช่น เฟซบ๊กุ (Facebook),อนิ สต ราแกร ม (Instagram) และยังมีโ ปรแกรม ประยุกต์เกมต่าง ๆ ทาให้เป็นที่นิยมในกลุ่มวัยรุ่น (Alfawareh&Jusoh, 2014 และ พชิ ญ์ เพชรคา และ พรทิพย์ เยน็ จะบก, 2557) Wang etal (2016) กล่าวว่า สมาร์ทโฟนได้กลายมาเป็นสว่ นหน่งึ ในชีวิตประจาวันสาหรับนักเดนิ ทาง เนือ่ งจากต้องใชใ้ นการอานวยความสะดวกในเร่อื งค้นหาสถานทที่ ่องเทยี่ วรถประจาทางในแต่ละสถานที่ ดังนั้น สมารท์ โฟนจงึ มคี วามสาคัญมากในชีวติ ประจาวันของมนุษยใ์ นยคุ ปจั จบุ ัน เนอื่ งจากสงั คมมีการ พัฒนาและเปลี่ยนแปลงไป ทาให้มนุษย์ต้องการความรวดเร็ว พร้อมก้าวทันสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนอยู่ เสมอซึ่งสมาร์ทโฟนเป็นเคร่ืองมือสาคัญ ท่ีสามารถตอบสนองความต้องการของมนุษย์ได้เป็นอย่างดี พร้อมท้ัง ช่วยให้ลดข้อจากัดในเรื่องของเวลาและสถานที่ในการใช้งานได้เป็นอย่างมาก สามารถอานวยความสะดวก ให้แก่ชีวิตในทุก ๆ ด้าน อาทิ ด้านการติดต่อสื่อสาร ด้านการศึกษา ด้านความบันเทิง และทาให้สามารถรับรู้ เรอ่ื งราวขา่ วสารไดอ้ ย่างรวดเรว็

1.3 ประโยชนแ์ ละโทษของสมาร์ทโฟน ศิวรุณ รัตนรุ่งชัย (2556 : ออนไลน์) กล่าวถึงประโยชน์และโทษของการใช้โทรศัพท์/สมาร์ทโฟนไว้ ดังน้ี 1.3.1 ประโยชนข์ องโทรศัพท์ ไดแ้ ก่ 1) ใช้ส่อื สารทางไกลได้ 2) สามารถถา่ ยภาพตดิ ตามข่าวสาร ท่องอนิ เตอรเ์ นต็ ได้รวดเร็ว 3) ชว่ ยให้ทางานง่ายขึ้น 4) พกพาสะดวก 5) สามารถขอความช่วยเหลือได้ทนั ที 6) ชว่ ยเตอื นความจาได้ 1.3.2 โทษของสมารท์ โฟน ได้แก่ 1) ทาให้เกดิ อารมณ์โกรธ 2) อาจทาให้เกิดอาการประสาทหลอน เชน่ ได้ยินเสยี งโทรศัพท์ซา้ 3) ทาให้เกดิ อาชญากรรม 4) ทาให้เป็นภาระทางการเงิน 5) ทาให้สมองฝ่อลง 6) เป็นภาระ เชน่ กลวั ว่าจะหาย 7) อาจตดิ โทรศัพท์ 8) อาจโดนล่อลวงได้ 2. ความรู้เกยี่ วกบั ปัญหาพฤตกิ รรมการใชส้ มาร์ทโฟนทไ่ี มเ่ หมาะสม 2.1 ความหมายของพฤตกิ รรม พฤติกรรม หมายถึง กริยาอาการหรือปฏิกิริยาที่แสดงออกหรือเกิดขึ้น เมื่อเผชิญกับสิ่งเร้า ซึ่งจะมาจากภายในร่างกายหรือภายนอกร่างกายก็ได และปฏิกิริยาท่ีแสดงออกน้ีมิได เป็น พฤติกรรมทางกายเท่านั้น แต่รวมถึงพฤติกรรมท่ีเกี่ยวกับจิตใจด้วย คาว่า Behavior ใช้แทนกันไดกับคาว่า Action นักจิตวิทยาถือว่าการเคล่ือนไหวของอินทรีย์ ทุกชนิด ที่ปรากฏออกมาเป็นพฤติกรรม ตองมี หรอื กลา่ วอีกนัยหนง่ึ พฤตกิ รรมจะเกิดข้ึนไดตองมีมูลเหตุอย่างใดอย่างหนง่ึ (อุทยั หริ ญั โต, 2526: 14) พฤติกรรม คือ อาการ บทบาท ลีลา ท่าที การประพฤติ การปฏิบัติ การกระทาท่ีแสดงออกให้ปรากฏ สัมผัสด้วยประสาทสัมผัสทางใดทางหนึ่ง คือ โสตสัมผัส ชิวหาสัมผัส และทางผิวหนัง หรือ มิฉะน้ันก็สามารถ วดั ไดโดยเคร่ืองมือ (กนั ยา สุวรรณแสง, 2538:92) พฤติกรรม หมายถึง การแสดงออกในลักษณะต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตซึ่งอาจจะเกิดข้ึนไดทั้งมนุษย์และ สัตว์ พืช จุลินทรีย ซึ่งเป็นการตอบสนองสิ่งเร้าที่เกิดขึ้นภายในร่างกายหรือภายนอกร่างกาย พฤติกรรมนี้ สามารถสังเกตได้โดยตรงหรือใช้เครื่องมือวัดได หรืออาจสังเกตไดในทางออม เช่น การพูด การเคล่ือนไหวการ ทางานของระบบตา่ ง ๆ ภายในรา่ งกาย การจา การคิด ตลอดจนความรูสกึ ทศั นคติ (เฉลิมพล ตนั สกลุ ,2541: 2) พฤติกรรมในมนุษย์ หมายถึง อาการกระทาหรือกิริยาท่ีแสดงออกมาทางร่างกายกล้ามเน้ือสมอง ในทางอารมณ์ ความคิด และความรูสึก พฤติกรรมเป็นผลจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้าเมื่อมีส่ิงกระตุ้นมาจะมี การตอบสนองทนั ที (ลักขณา สรวัฒน,2544: 17)

จากความหมายต่าง ๆ ดังท่ีผู้เขียนได้รวบรวมมานั้น สรุปได้วา พฤติกรรม หมายถึงการกระทาซึ่งเป็น การแสดงออกถงึ ออกถึงความรูสกึ นึกคิด ความต้องการของจิตใจท่ตี อบสนองต่อสงิ่ เร้าซึ่งอาจสังเกตเห็นได้โดย ทางตรงหรอื ทางออม บางลกั ษณะอาจสังเกตได้โดยไม่ใช้เคร่ืองมือชว่ ยหรอื ต้องใช้เครื่องมือช่วย 2.2 พฤติกรรมท่ไี ม่เหมาะสมขณะการใช้สมาร์ทโฟน โดยพฤตกิ รรมเลยี่ งขณะการใช้โทรศพั ทม์ ือถือ (สุชาติ สภุ าพ, 2559: 46) มีดังนี้ 2.2.1 ใช้โทรศัพท์ขณะขน้ึ –ลงรถโดยสาร 2.2.2 ใชโ้ ทรศพั ทข์ ณะฝนตก ฝ้ารอ้ ง ฟา้ ผา่ 2.2.3 ใช้โทรศัพทค์ ุยตอ่ เนื่องเป็นเวลานาน ๆ 2.2.4 ใช้โทรศพั ทข์ ณะขบั รถ 2.2.5 ใช้โทรศัพท์ขณะชารจ์ แบตเตอรี่ 2.2.6 ใช้โทรศัพท์ขณะเดินหรอื ข้ามถนน 2.2.7 ใชโ้ ทรศัพท์ในโรงพยาบาล 2.2.8 ใชโ้ ทรศัพทใ์ กล้แหล่งไฟฟา้ แรงสูง 2.2.9 ใช้ขณะท่ีกาลังเรียน หรือทางานอยู่ เป็นการรบกวนสมาธิทาให้ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน ตา่ ลง หรืองานไม่ประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย เปน็ ตน้ 3. ความรูเ้ กี่ยวกบั การเรยี นการสอนแบบลงมอื ปฏิบตั ิ 3.1 ความหมายของการเรยี นการสอนแบบลงมอื ปฏิบตั ิ การเรียนการสอนแบบลงมือปฏิบัติ คือกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนได้ลงมือกระทาและได้ใช้ กระบวนการคิดเก่ียวกับส่ิงท่ีเขาได้กระทาลงไป (Bonwell, 1991) เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภายใต้ สมมติฐานพื้นฐาน 2 ประการคือ 1) การเรียนรู้เป็นความพยายามโดยธรรมชาติของมนุษย์, และ 2) แต่ละ บคุ คลมีแนวทางในการเรียนรู้ท่ีแตกต่างกัน (Meyers and Jones, 1993) โดยผเู้ รียนจะถูกเปลยี่ นบทบาทจาก ผรู้ บั ความรู้ (Receive) ไปสู่การมีสว่ นรว่ มในการสร้างความรู้ (Co-creators) (Fedler and Brent, 1996) Active Learning เป็นกระบวนการเรยี นการสอนอยา่ งหน่ึง แปลตามตัวกค็ ือเป็นการเรียนรผู้ า่ นการ ปฏิบตั ิ หรือ “การลงมือทา” ซ่งึ ความรูท้ เี่ กดิ ขนึ้ ก็เปน็ ความรู้ที่ไดจ้ ากประสบการณ์ กระบวนการในการจัด กิจกรรมการเรยี นรทู้ ผี่ ูเ้ รียนต้องได้มีโอกาสลงมือกระทามากกว่าการฟงั เพียงอยา่ งเดียว ต้องจดั กจิ กรรมให้ ผู้เรยี นได้การเรียนรู้โดยการอ่าน, การเขยี น, การโต้ตอบ, และการวิเคราะหป์ ัญหา อีกทั้งใหผ้ ูเ้ รียนได้ใช้ กระบวนการคิดขัน้ สงู ไดแ้ ก่ การวเิ คราะห์, การสังเคราะห์, และการประเมินค่า Active Learning คือ กระบวนการจดั การเรยี นรทู้ ผ่ี ู้เรียนได้ลงมือกระทา และไดใ้ ช้กระบวนการคดิ เกี่ยวกบั ส่งิ ท่เี ขาได้กระทาลงไป เปน็ การจัดกิจกรรมเรยี นรู้ภายใตส้ มมติฐาน 2 ประการ คือ 3.1.1 การเรยี นร้เู ป็นความพยายามโดยธรรมชาตขิ องมนษุ ย์ 3.1.2 แตล่ ะคนมีแนวทางในการเรยี นรทู้ แี่ ตกต่างกัน (Meyers and Jones, 1993) โดย ผู้เรียนจะถกู เปล่ียนบทบาทจากผรู้ ับความรู้ ไปสู่การมีส่วนรว่ มในการสร้างความรู้ (Fedler and Brent, 1996

ภาพท่ี 1 กรวยแหง่ การเรยี นรู้ (ที่มา Fedler and Brent, 1996: ) จากรูปจะเหน็ ได้วา่ กรวยแหง่ การเรียนรูน้ ีไ้ ดแ้ บ่งเป็น 2 กระบวนการ คือ 1) กระบวนการเรียนรู้ Passive Learning (1) กระบวนการเรียนรูโ้ ดยการอา่ นท่องจาผ้เู รียนจะจาไดใ้ นสิ่งท่เี รียนไดเ้ พียง 10% (2) การเรียนรู้โดยการฟังบรรยายเพียงอย่างเดียว โดยท่ีผู้เรียนไม่มีโอกาสได้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ด้วยกจิ กรรมอื่นในขณะทอ่ี าจารย์สอนเม่ือเวลาผ่านไปผู้เรียนจะจาได้เพยี ง 20% (3) หากในการเรียนการสอนผู้เรียนมีโอกาสได้เห็นภาพประกอบด้วยก็จะทาให้ผลการเรียนรู้คงอยู่ได้ เพิม่ ขนึ้ เป็น 30% (4) กระบวนการเรียนรู้ที่ผู้สอนจัดประสบการณ์ให้กับผู้เรียนเพ่ิมข้ึน เช่น การให้ดูภาพยนตร์ การสาธิต จัดนิทรรศการให้ผู้เรียนได้ดู รวมท้ังการนาผู้เรียนไปทัศนศึกษา หรือดูงาน ก็ทาให้ผลการเรียนรู้ เพิ่มขึน้ เป็น 50% 2) กระบวนการเรียนรู้ Active Learning (1) การให้ผู้เรียนมีบทบาทในการแสวงหาความรู้และเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์จนเกิดความรู้ ความเข้าใจนาไปประยุกต์ใช้สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่าหรือ สร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ และพัฒนา ตนเองเต็มความสามารถ รวมถึงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เขาได้มีโอกาสร่วมอภิปรายให้มีโอกาสฝึก ทักษะการสอ่ื สาร ทาใหผ้ ลการเรียนร้เู พิ่มข้ึน 70% (2) การนาเสนองานทางวิชาการ เรียนรู้ในสถานการณ์จาลอง ท้ังมีการฝึกปฏิบัติในสภาพจริง มีการ เชอื่ มโยงกับสถานการณต์ า่ ง ๆ ซ่ึงจะทาให้ผลการเรยี นรเู้ กดิ ขนึ้ ถงึ 90% 3.2 ลกั ษณะของการเรยี นร้แู บบลงมอื ปฏิบัติ (ไชยยศ เรืองสวุ รรณ, 2553) 3.2.1 เป็นการเรียนการสอนที่พัฒนาศักยภาพทางสมอง ได้แก่ การคิด การแกป้ ัญหา การนา ความรไู้ ปประยุกตใ์ ช้ 3.2.2 เป็นการเรยี นการสอนท่ีเปิดโอกาสใหผ้ เู้ รยี นมีส่วนร่วมในการเรยี นรู้ 3.2.3 ผู้เรียนสร้างองค์ความรแู้ ละจัดระบบการเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง 3.2.4 ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน มีการสร้างองค์ความรู้ การสร้างปฏิสัมพันธ์ ร่วมกัน และรว่ มมอื กนั มากกว่าการแข่งขัน

3.2.5 ผู้เรียนได้เรียนรู้ความรับผิดชอบร่วมกัน การมีวินัยในการทางาน และการแบ่งหน้าที่ ความรับผดิ ชอบ เปน็ กระบวนการสรา้ งสถานการณใ์ หผ้ ูเ้ รียนอ่าน พดู ฟงั คดิ 3.2.6 เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนเน้นทักษะการคิดข้ันสูง เป็นกิจกรรมท่ีเปิดโอกาสให้ ผู้เรียนบูรณาการข้อมูล ข่าวสาร สารสนเทศ และหลกั การสู่การสรา้ งความคิดรวบยอด 3.2.7 ผู้สอนจะเป็นผู้อานวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ เพ่ือให้ผู้เรียนเป็นผปู้ ฏบิ ัติดว้ ย ตนเอง ความรู้เกดิ จากประสบการณ์ การสร้างองคค์ วามรู้ และการสรปุ ทบทวนของผเู้ รียน 3.3 บทบาทของครู กบั Active Learning ณัชนัน แก้วชัยเจริญกิจ (2550) ได้กล่าวถึงบทบาทของครูผู้สอนในการจัดกิจกรรม การเรียนร้ตู ามแนวทางของการเรยี นรู้แบบลงมือปฏบิ ตั ิดังนี้ 3.3.1 จัดให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนการสอน กิจกรรมต้องสะท้อน ความต้องการ ในการพัฒนาผู้เรียนและเน้นการนาไปใชป้ ระโยชน์ในชีวติ จรงิ ของผเู้ รียน 3.3.2 สร้างบรรยากาศของการมีส่วนร่วม และการเจรจาโต้ตอบท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนมี ปฏิสัมพันธ์ท่ดี กี บั ผสู้ อนและเพื่อนในช้นั เรยี น 3.3.3 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นพลวัต ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในทุกกิจกรรม รวมทงั้ กระตนุ้ ให้ผูเ้ รียนประสบความสาเร็จในการเรยี นรู้ 3.3.4 จดั สภาพการเรียนรแู้ บบรว่ มมอื ส่งเสริมใหเ้ กดิ การร่วมมอื ในกล่มุ ผ้เู รียน 3.3.5 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ท้าทาย และให้โอกาสผู้เรียนได้รับวิธีการสอนท่ี หลากหลาย 3.3.6 วางแผนเกี่ยวกับเวลาในจัดการเรียนการสอนอย่างชัดเจน ท้ังในส่วนของเนื้อหาและ กิจกรรมครผู สู้ อนตอ้ งใจกวา้ ง ยอมรบั ในความสามารถในการแสดงออก และความคิดของผเู้ รยี น 3.4 วิธกี ารจดั การเรียนการสอนแบบลงมือปฏบิ ตั ิ วิธีการจัดการเรียนการสอนแบบลงมือปฏิบัติ คณะเทคโนโลยีส่ือสารมวลชน มีการจัดการเรียนการ สอนด้วยลงมือปฏิบัติ ในบางหน่วยการเรียนรู้หรือเฉพาะบท และ จัดการเรียนการสอนด้วย ลงมือปฏิบัติ ท้ัง รายวิชา ซึ่งการจัดการเรียนการสอนแบบลงมือปฏิบัติ จะนาเอาวิธีการสอนหลากหลายวิธีมาผสมผสานโดย อาจารย์ผู้สอนจะวางแผนคัดเลือกเทคนิคการสอนท่ีเหมาะสมกับธรรมชาติรายวิชาวัตถุประสงค์การเรียนรู้ ลกั ษณะผูเ้ รยี น รวมไปถึงออกแบบสดั สว่ นของเทคนิคหลักเทคนิครองในการสอนแต่ละครั้ง ทั้งน้ีได้จัดเป็นกลุ่ม วิธีการสอนท่ใี ช้ แบง่ ออกเป็น 4 กลุ่ม ดงั ต่อไปนี้ 3.4.1 การจัดการเรยี นรู้แบบเน้นประสบการณ์ (Experiential Learning) เป็นการสอนท่ีส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นเกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ทเ่ี ป็นรูปธรรมเพื่อนาไปสคู่ วามรู้ความ เข้าใจเชิงนามธรรม เหมาะกับรายวิชาท่ีเน้นปฏิบัติ หรือเน้นการฝึกทักษะ สามารถใช้จัดการเรียนการสอนได้ ทง้ั เปน็ กลมุ่ และเป็นรายบคุ คล หลักการสอนคือ ผู้สอนวางแผนจดั สถานการณ์ให้ผเู้ รียนมีประสบการณจ์ าเป็น ตอ่ การเรียนรู้กระต้นุ ใหผ้ ้เู รียนสะท้อนความคิด อภปิ ราย ส่งิ ที่ไดร้ ับจากสถานการณ์ ตวั อยา่ งเทคนิคการสอนท่ี ใช้ในการจัดการเรียนรู้แบบเน้นประสบการณ์ ได้แก่ เทคนิคการสาธิต และเทคนิคเน้นการฝึกปฏิบัติ ขั้นตอน ดังน้ี

1. เทคนิคการสอนแบบการสาธติ ผู้สอนวางแผนการสอนและออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ โดยแบง่ สัดส่วนเวลาสาหรบั การบรรยายเนือ้ และการสาธิต พรอ้ มกับคดั เลือกวิธกี ารท่ีจะลงมือปฏบิ ตั ิใหผ้ ู้เรยี นไดเ้ รียนรู้ โดยถ้าเป็นกิจกรรมกลุ่มจะต้องมีการวางโครงสร้างการทางานกลุ่ม การแบ่งหน้าท่ีและมีการสลับหมุนเวียนกัน ทุกครั้ง จากนั้นดาเนินการบรรยายเน้ือหาและสาธิต โดยขณะสาธิตจะเปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถาม ผู้สอบ แนะนาเทคนิคปลีกย่อย จากนั้นให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติและผู้สอนประเมินผู้เรียนโดยการสังเกตพร้อมกับให้ คาแนะนา ในจุดที่บกพร่องเป็นรายบุคคลหรือเป็นรายกลุ่ม เม่ือเสร็จสิ้นการปฏิบัติกิจกรรม ผู้สอนและผู้เรียน รว่ มกันอภปิ ราย สรุปผลสิง่ ทีไ่ ด้เรียนรจู้ ากการลงมอื ปฏิบตั ิ 2. เทคนิคการสอนแบบเน้นฝึกปฏิบัติ ผู้สอนวางแผนและออกแบบกิจกรรมที่เน้นการฝึกทักษะ เช่น การฝึกทักษะทางภาษา โดยจัดกิจกรรมท่ีกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะซ้า ๆ อาจเป็นในลักษณะใช้โปรแกรม ช่วยสอน สาหรับการฝึก โดยผู้สอนมีบทบาทให้คาแนะนา อานวยความสะดวก กระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมใน ชน้ั เรียน 3. การสอนแบบโครงงาน (Project Based Learning) โดยการสอนแบบโครงงานสามารถจัดเป็น กิจกรรมกลุ่มหรือกิจกรรมเดี่ยวก็ได้ให้พิจารณาจากความยาก–ง่าย และความเหมาะสมของโจทย์งาน และ คุณลักษณะท่ีต้องการพัฒนา วางแผนและกาหนดเกณฑ์อย่างกว้าง ๆ แล้วให้นักศึกษาวางแผนดาเนินการ ศึกษาค้นคว้าข้อมูลด้วยตนเองโดยผู้สอนมีบทบาทเป็นผู้ให้คาปรึกษา จากนั้นให้นักศึกษานาเสนอแนวคิดการ ออกแบบช้ินงาน พร้อมให้เหตุผลประกอบจาการค้นคว้า ให้ผู้สอนพิจารณาร่วมกับการอภิปรายในชั้นเรียน จากนั้นผู้เรียนลงมือปฏิบัติทาชื้นงาน และส่งความคืบหน้าตามกาหนด การประเมินผลจะประเมินตามสภาพ จริง โดยมีเกณฑ์การประเมินกาหนดไว้ล่วงหน้าและแจ้งให้ผู้เรียนทราบก่อนลงมือทาโครงการและมีการเชิญ ผ้ทู รงคุณวฒุ ิรว่ มประเมินผล 4. การสอนแบบใชป้ ัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning) เป็นการสอนท่ีส่งเสรมิ ให้ผู้เรียน เกิดจากเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด ด้วยการศึกษาปัญหาที่สมมุติข้ึนจากความจริง แล้วผู้สอนกับผู้เรียน ร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาเสนอวิธีแก้ปัญหา หลักของการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐานคือการเลือกปัญหาที่ สอดคล้องกับเนื้อหาการสอนและกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดคาถาม วิเคราะห์ วางแผนกาหนดวิธีแก้ปัญหาด้วย ตนเอง โดยผู้สอนมีบทบาทให้คาแนะนาแก่ผู้เรียนขณะลงมือแก้ปัญหา สุดท้ายเมื่อเสร็จสิ้นกระบวนการ แก้ปัญหาผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปผลการแก้ปัญหา และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ถึงสิ่งที่ได้จากการลงมือ แก้ปัญหา 5. การสอนท่ีเน้นทักษะกระบวนการคิด (Thinking Based Learning) เป็นกระบวนการสอนที่ ผสู้ อนใช้เทคนิค วิธีการกระตุ้นให้ผเู้ รยี น คิดเป็นลาดบั ข้นั แล้วขยายความคดิ ตอ่ เน่ืองจากความคิดเดมิ พจิ ารณา แยกแยะอย่างรอบด้าน ด้วยให้เหตุผลและเชื่อมโยงกับความรู้เดิมท่ีมี จนสามารถสร้างสิ่งใหม่หรือตัดสิน ประเมินหาข้อสรุปแล้วนาไปแก้ปัญหาอย่างมีหลักการ โดยการสอนท่ีเน้นกระบวนการคิดของอาจารย์ มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทมุ แบง่ ออกเป็นการสอนทีเ่ น้นทกั ษะกระบวนการคิดคานวนและการสอนทีเ่ น้นกระบวนการ คดิ อย่างมีวิจารณญาณ มขี ้นั ตอนดังนี้ 5.1. การสอนที่เนน้ กระบวนการคดิ คานวณ เร่มิ จากผสู้ อนทบทวนเน้อื หาเดิมโดยแสดงวธิ ีการคิด คานวณเป็นลาดับข้ัน จากน้ันกาหนดโจทย์ให้ผู้เรียนฝึกคิด วิเคราะห์ เป็นลาดับข้ัน เน้นการฝึกคานวณซ้ากับ โจทย์ใหม่ และสุดท้ายผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปขั้นตอนการคิด การประเมินผลการเรียนรู้ประเมินจาก ขั้นตอนกระบวนการคดิ เปน็ ลาดับข้นั ท่ีนักศกึ ษาแสดงไว้ในการแกโ้ จทย์คานวณ 5.2. การสอนท่ีเน้นกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จากอภิปรายและแสดงความคิดเห็น เป็นหัวใจสาคัญของการสอนที่เน้นกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยเร่ิมจากผู้สอนกระตุ้นผู้เรียนเกิด

คาถามหรอื ตัง้ คาถาม จากนัน้ ผู้สอนโน้มน้าว สรา้ งสถานการณใ์ ห้ผู้เรยี นขยายความคดิ และเชอื่ มโยงองคค์ วามรู้ จากน้ันเปิดโอกาสให้ผู้เรยี นร่วมกันแสดงความคิดเห็น อภิปรายในชั้นเรียน โดยผู้สอนมีบทบาทช่วยช้ีแนะและ สรปุ ความคิดตามหลักการ สุดทา้ ยใหผ้ เู้ รยี นพัฒนาชิน้ งาน หรอื ทาแบบฝกึ หดั เพ่อื ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 4. การวิจัยเชิงปฏิบัตกิ าร 4.1 ความหมายและพัฒนาการของการวิจัยเชิงปฏิบตั ิการ ในปัจจบุ ันนก้ี ารวิจัยเชิงปฏิบัตกิ ารเปน็ ที่รู้จักและได้รบั การกลา่ วถึงกนั อย่าง กว้างขวาง และย่ิงไปกว่า นั้นยังได้ถูกนาไปใช้เป็นเคร่ืองมือสาหรับการพัฒนาในชุมชน สถานศึกษา สถาบัน หรือองค์กรต่าง ๆ ทั้งใน ภาครัฐและเอกชนของประเทศไทยมากย่ิงข้ึน เป็นลาดับ ซ่ึงได้มีนักวิชาการให้ความหมายของการวิจัยเชิง ปฏิบตั ิการไว้ดังต่อไปน้ี Johnson (Johnson, 2008 : 28) ให้ความหมายการวิจัยเชิงปฏิบัติการว่า เป็นการวิจัยระหว่างการ ปฏิบัติงานเพ่ือแก้ปัญหาที่ผู้ปฏิบัติงานกาลังเผชิญอยู่ โดยเป็น กระบวนการศึกษาสภาพหรือสถานการณ์ที่เปน็ จริงของสถานศึกษาเพื่อทาความเข้าใจ และพัฒนา ปรับปรุงคุณภาพของการปฏิบัติงาน Kemmis & Mc Taggart (Kemmis & Mc Taggart, 1988 : 10) กล่าวว่า การวิจัยเชิงปฏิบัติการเป็นรูปแบบหน่ึงของการวิจัย ท่ีไม่ได้แตกต่างไปจากการวิจัยอื่น ๆ ใน เชิงเทคนิค แต่แตกต่างในด้านวิธีการ ซึ่งวิธีการของการวิจัยเชิง ปฏิบัติการ คือ การทางาน ท่ีเป็นการสะท้อนผลการปฏิบัติงานของตนเองท่ีเป็นวงจรแบบขดลวด (Spiral of Self-Reflecting) โดยเริ่มต้นท่ีข้ันตอนการวางแผน (planning) การปฏิบัติ (action) การสังเกต (observing) และการสะท้อนกลับ (reflecting) เป็นการวิจัยท่ีจาเป็นต้อง อาศัยผู้มีส่วนร่วมในกระบวนการสะท้อนกลับ เกย่ี วกับการปฏบิ ตั ิเพือ่ ใหเ้ กดิ การพฒั นา ปรับปรงุ การทางานให้ดีขึ้น องอาจ นัยพัฒน์ (2548: 338) กล่าวว่า การวิจัยเชิงปฏบิ ัติการเปน็ การวิจยั ท่ีทาโดยนักวิจัยและคณะ บุคคลที่เป็นผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงาน องค์กร หรือชุมชน โดยมีจุดมุ่งหมายหลักเพ่ือนาผลการศึกษาวิจัยที่ ค้นพบหรือสรรค์สร้างขึ้นไปใช้ปรับปรุงแก้ ปัญหา หรือพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงานได้อย่างทันต่อเหตุการณ์ สอดคล้องกับสภาพ ปัญหาที่ต้องการแก้ไข รวมท้ังกลมกลืนกับโครงสร้างการบริหารงาน ตลอดจนบริบททาง ดา้ นสังคมและวัฒนธรรมและด้านอน่ื ๆ ที่แวดล้อมหรือเกดิ ขึน้ ในสถานที่เหล่านน้ั จากท่ีกล่าวมาสามารถสรุปได้ว่า การวิจัยเชิงปฏิบัติการเป็นการศึกษารวบรวม หรือการแสวงหา ข้อเทจ็ จริงโดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อสรุป อนั จะนาไปสูก่ ารแกป้ ญั หาทเ่ี ผชญิ อยู่ ทั้ง ในด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานในขอบข่ายที่รับผิดชอบ โดยผู้วิจัยสามารถดาเนินการได้หลาย ๆ ครั้ง จนกระท่ังผลการปฏิบัติงานนั้นบรรลุวัตถุประสงค์หรือแก้ไขปัญหาที่ประสบอยู่ได้สาเร็จ โดยกาหนด ข้ันตอนของการวิจัยประกอบด้วยการวางแผน (plan) การปฏิบัติ (action) การสังเกต (observation) และ การสะทอ้ นกลบั (reflection) ก า ร วิ จั ย เ ชิ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร มี จุ ด ก า เ นิ ด ม า จ า ก ก า ร แ ส ว ง ห า แ น ว ท า ง แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า สั ง ค ม ของ Kurt Lewin นักจิตวิทยาสังคมชาวอเมริกา ที่ต้องการจะศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างมนุษย์ และเพ่ือ ปรับปรุงคุณภาพของความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์โดยอาศัยแนว ความคิดสาคัญ 2 ประการ คือ การร่วมกัน ตดั สนิ ใจของกลุ่ม และความตั้งใจท่ีจะทาการปรับปรงุ ในสว่ นของวงการศึกษานนั้ อาจกล่าวไดว้ ่า Stephen M. Corey จากมหาวิทยาลัย Columbia สหรัฐอเมริกา เป็นผู้นาการวิจัยเชิงปฏิบัติการมาใช้กับการจัดการ การศึกษาเป็นบุคคลแรกในลักษณะของการปรบั ปรุงหลกั สตู รและการจดั การเรยี นการสอน

ค.ศ. 1967-1972 Lawrence Stenhouse แห่งมหาวิทยาลัย East Anglia ซ่ึงเป็นผู้อานวยการ โครงการ Humanities Curriculum Project ได้กระตุ้น ให้ครูผู้สอนนาวิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการมาใช้กับการ จัดการศกึ ษา มุ่งเปลีย่ นสภาพของครู จากการเป็นผู้สอนตามปกตใิ หเ้ ป็นครูในฐานะนกั วิจัย ค.ศ. 1973-1975 John Elliott & Clem Adelman ได้นาวิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการมาใช้ในโครงการ Ford Teaching Project โดยให้ครูได้พัฒนาการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรยี น แล้วนาผลการปฏิบัติงานมา แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับคนอื่น ๆ โดยใช้วิธีการติดตามผลการกระทาท่ีเกิดจากช่องว่างระหว่าง ความ คาดหวังกับการปฏิบัติงานจริงของครู สาหรับเป็นแนวทางช่วยเหลือครูให้ได้ทาการ พัฒนาการเรียนการสอน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และสืบสวนสอบสวนในชั้นเรียนและเน้น การปฏิบัติงานด้วยการควบคุมตนเองหรือด้วย กลุ่มมากกวา่ การใช้ผู้ควบคมุ คุณภาพที่มา จากภายนอก ค.ศ. 1982 Stephen Kemmis, Wilf Carr & Robin McTaggart ได้เสนอกระบวนการวิจัยเชิง ปฏบิ ตั ิการท่สี มบูรณแ์ บบมากย่งิ ขึน้ และเป็นที่ยอมรับกันอยา่ งแพรห่ ลายในรูปของวงจรการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (The Action Research Spiral) ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ การวางแผน (Plan) การปฏิบัติ (Action) การ สังเกต (Observe) และการสะท้อนผลการปฏิบัติ (Reflect) ซึ่งเมื่อครบวงจรหน่ึง ๆ จะพิจารณาปรับปรุงแผน (Re-planning) เพอ่ื นาไปปฏิบัตใิ นวงจรตอ่ ไปจนกว่าจะบรรลุ ความสาเร็จตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการปฏบิ ตั งิ าน องอาจ นัยพัฒน์ (2548 : 334) ได้ช้ีให้เห็นถึงสาเหตุท่ีทาให้การวิจัยเชิง ปฏิบัติการได้รับความสนใจ มากขึน้ ในปัจจุบันน้ีน่าจะมาจากปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ ดังต่อไปนี้ 1) กระแสเรียกร้องจากบุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ีเป็นผู้ปฏิบัติอยู่ในชุมชนหรือองค์กรระดับท้องถ่ิน ต้องการมบี ทบาทในการทาวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วข้องกับประเด็นปญั หาทเี่ กดิ ขึ้น ในชมุ ชนของตนเองมากขนึ้ 2) ผลของการศึกษาวิจัยตามรูปแบบด้ังเดิมท่ีมีลักษณะมุ่งเน้นวิชาการดาเนินการโดยนักวิจัยจาก ภายนอกแต่เพียงฝ่ายเดียว มีความสอดคล้องกลมกลืนกับบริบทและสภาพปัญหาท่ีเกิดขึ้นในชุมชนน้อยยิ่งไป กว่าน้ันยังมีลักษณะท่ียากต่อการทาความเข้าใจ และการนาไปใช้ในการแก้ปญั หาของผู้ปฏิบตั ิงานในระดับลา่ ง ไดน้ ้อย 3) ความเคล่อื นไหวเก่ยี วกับแนวคิดในการพัฒนานวตั กรรมหรือการปฏิรปู ใด ๆ โดยองคก์ รหรือชุมชน เป็นรากฐานสาคัญ ซ่ึงเน้นหนักในการบูรณาการเชื่อมโยงระหว่าง แนวคิดเชิงทฤษฎีและการปฏิบัติได้จริงใน ชีวิตประจาวันของนักเรียน ครู และผู้บริหาร การศึกษาในโรงเรียน หรือประชาชนในชุมชนซ่ึงในปัจจุบัน แนวคดิ ดงั กล่าวนีก้ าลงั ไดร้ บั ความสนใจจากนกั วิชาการและสาธารณชนมากขนึ้ 4) การตอบสนองต่อกระแสเรียกร้องของสาธารณชนที่ต้องการให้มีการตรวจสอบผลการปฏิบัติงาน ตามพันธ์ภาระรับผิดชอบ (Accountability) ของผู้ปฏิบัติงาน แต่ละระดับของหน่วยงานหรือองค์กรต่าง ๆ ว่า มีคุณภาพมากน้อยเพียงใด กระแสเรียกร้องดังกล่าวเป็นแรงผลักดันสาคัญท่ีทาให้ผู้ปฏิบัติงานแต่ละคนหรือ กลมุ่ จะตอ้ งมบี ทบาทใน การตดิ ตาม ตรวจสอบคณุ ภาพ ผลการปฏบิ ัติงานท่ีรบั ผิดชอบอย่างต่อเนอ่ื งในลักษณะ การใครค่ รวญ ตรวจสอบ หรือสะท้อนผลการปฏบิ ัตงิ านด้วยตนเอง อย่างสมา่ เสมอเพ่ือ แก้ไขปัญหาท่ีเกดิ ข้ึน 5) การเกิดข้ึนของวิธีวทิ ยาการแสวงหาความรู้ ความจริงตามแนวคิดที่เปน็ คลื่น ลกู ใหม่ (new wave) ที่นามาใช้ในวงการวิจัยและการประเมิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งวิธีการพัฒนามาจากฐานคติเชิงปรัชญาตาม กระบวนทัศน์แบบตีความ/สร้างสรรค์นิยม(Interpretivist/Constructivist) ท่ีมุ่งเน้นการตีความหมายข้อ คน้ พบ ซง่ึ ได้รบั จาก การแสวงหาเพอ่ื ให้เกดิ ความเข้าใจปรากฏการณ์ใด ๆ ที่นักวิจัยมคี วามสนใจใครร่ ู้

4.2 ความเชอ่ื พนื้ ฐานของการวิจัยเชงิ ปฏิบตั ิการ การวจิ ัยเชงิ ปฏบิ ัติการมคี วามเชือ่ พื้นฐาน (Basic Assumptions) อยู่ 4 ประการ คอื 1) วิธีการแก้ปัญหาท่ีได้มาจากการศึกษาค้นคว้าจะมีประสิทธิภาพและเชื่อถือได้ มากกว่าวิธีแก้ปัญหา ที่ได้มาจากการสั่งการของผู้มีอานาจหรือผู้บริหาร โดยการแก้ปัญหา แบบสั่งการน้ัน มักเกิดมาจากการส่ังสม ประสบการณแ์ ละการใช้สามญั สานกึ เปน็ หลกั ซ่งึ มกั จะขาดข้อมูลและหลักฐานที่จะใช้ประกอบการตัดสนิ ใจ 2) การวิจัยเพ่ือการแก้ไขปัญหาของผู้ปฏิบัติงานท่ีดาเนินการเองโดยผู้ปฏิบัติงานจะมีโอกาสแก้ปัญหา ของเขาได้สาเร็จมากกวา่ การวิจัยเพือ่ การการแก้ปญั หาทีบ่ ุคคลอื่น 3) การวิจัยเป็นเรื่องของการวิเคราะห์ปัญหา การค้นหาแนวทางแก้ไขปัญหาการทดสอบและการ ประเมินผลวิธีการแก้ปัญหา การวิจัยเป็นทักษะท่ีสามารถเรียนรู้และพัฒนาได้โดยผู้ปฏิบัติงานทุกคน การวิจัย ไมไ่ ด้เปน็ สทิ ธพิ เิ ศษของผเู้ ชีย่ วชาญคนใดคนหนึง่ หรือกลุ่มใดกล่มุ หนงึ่ 4) การพัฒนาความสามารถของบุคคลโดยการฝึกหดั ถือวา่ เป็นรากฐานของการพัฒนาการปฏิบัตงิ าน 4.3 ลักษณะของการวจิ ัยเชิงปฏิบัติการทางการศึกษา ยาใจ พงษบ์ รบิ ูรณ์ (2537 : 12) ได้เสนอกรอบลกั ษณะของการวิจยั เชิง ปฏิบตั ิการทางการศึกษา (Action Research in Education) ไวอ้ ยา่ งน่าสนใจ ดังต่อไปนี้ 1) เป็นการวิจัยแบบมีส่วนร่วมและมีการร่วมมือ (Participation and Collaboration) ใช้การทางาน เป็นกล่มุ ผู้ร่วมวิจัยทุกคนมีบทบาทเท่าเทียมกันในทกุ กระบวนการของการวจิ ยั ทง้ั การเสนอความคิดเชิงทฤษฎี การปฏบิ ตั ิ ตลอดจน การวางนโยบายการวจิ ัย 2) เน้นการปฏิบัติการ (Action Orientation) การวิจัยชนิดน้ีใช้การปฏิบัติเป็นสิ่งทาให้เกิดการ เปลี่ยนแปลง และศกึ ษาผลของการปฏบิ ตั เิ พือ่ มุ่งให้เกิดการพฒั นา 3) ใช้การวิเคราะหว์ จิ ารณ์ (Critical Function) กิจกรรมการวิเคราะห์ การปฏิบัตอิ ย่างลึกซึง้ จากส่ิงที่ สงั เกตได้ จะนาไปส่กู ารตดั สินใจท่สี มเหตสุ มผลเพอ่ื การปรับแผนการปฏบิ ัตกิ าร 4) ใช้วงจรการปฏิบัติการ (The Action Research Spiral) ตามแนวคิดของ Kimmis & McTaggart คือ การวางแผน (planning) ตลอดจน การปรับปรุงผล (Re-planning) เพื่อนาไปปฏิบัติในวงจรต่อไปจนกว่า จะไดร้ ปู แบบของ การปฏบิ ัตงิ านทีเ่ ป็นท่พี ึงพอใจ และได้เสนอเชงิ ทฤษฎีเพ่ือเผยแพร่ต่อไป องอาจ นัยพัฒน์ (2548: 335) ได้อธิบายเก่ียวกับลักษณะสาคัญของการวิจัยเชิงปฏิบัติการไว้ 8 ประการ ดังต่อไปน้ี 1) เกี่ยวข้องกับปัญหาทางด้านการปฏิบัติงาน (Practical Problem) ที่ผู้ปฏิบัติงานระดับล่างมักจะ ประสบในขณะทางานอยู่ประจาหรือปฏิบัติหน้าท่ีอื่น ๆ ทีเ่ กยี่ วขอ้ งในแตล่ ะวันมากกวา่ การเกี่ยวข้องกับปัญหา ทางด้านทฤษฎี (Theoretical Problem) ซ่ึงได้รับการนิยามหรือกล่าวถึงโดยนักวิจัยบริสุทธิ์ในสาขาวิชา ความรูใ้ ด ๆ โดยเฉพาะ 2) มีจุดมุ่งหมายหลักเพ่ือการทาความเข้าใจ (Understanding) ต่อสภาพปัญหา ท่ีเก่ียวกับการ ปฏิบัติงานของครู ผู้บริหารการศึกษาอย่างลุ่มลึกและกระจ่างชัด ภายใต้กระบวนการใคร่ครวญตรวจสอบใน ลักษณะสะท้อนกลับของยุทธวิธีปฏิบัติท่ีนักวิจัยเชิง ปฏิบัติการได้ลงมือกระทาลงไปอย่างวิพากษ์วิจารณ์ (Critically) อันจะนาไปสู่การได้ แนวทางปฏิบัติการสาหรับใช้แก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับ บริบทแวดล้อม มากย่ิงขึ้น สาหรับการดาเนินงานในลาดับต่อไป นอกจากน้ันยังมีจุดมุ่งหมายเพื่อการปรับปรงุ วิธีการปฏิบัติงานรวมท้ังสภาวการณ์เงอ่ื นไขต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับการปฏิบัตงิ านมากกวา่ การมีจุดมุ่งหมายเพือ่ การสร้างสรรคอ์ งค์ความรู้เชิงวิชาการอย่างใดอยา่ งหน่ึง

3) มุ่งเนน้ การตคี วามหมายเหตกุ ารณ์ หรือสภาวการณ์ของปญั หาทีเ่ กิดขน้ึ ตามความคิดเห็นหรอื ทัศนะ ของผู้ปฏิบัติงานหรือผู้มีส่วนเก่ียวข้องโดยตรงกับเหตุการณ์หรือสภาวการณ์ของปัญหาดังกล่าว มากกว่าการ อาศัยแนวคิดทฤษฎี กฎหรือหลักการของ วิทยาศาสตร์ธรรมชาติท้ังนี้ เพราะเชื่อว่าท่าทาง การกระทาการ ติดต่อสื่อสารหรือพฤติกรรมใด ๆ ของมนุษย์ ท้ังที่ปรากฏให้เห็นเด่นชัดหรือไม่เห็นเด่นชัดในเหตุการณ์หรือ สภาวการณ์ ของปัญหาหนึ่ง ๆ สามารถตีความหมายได้โดยการสรุปอ้างอิง (Inference) จากแรงจูงใจ ความ เช่ือ เจตนา หรือจุดมุ่งหมายของผู้แสดงพฤติกรรมประกอบเข้ากับบริบทแวดล้อมที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมหรือ การกระทาเหล่านั้นข้ึน เช่น บรรทัดฐาน ค่านิยม และกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ทางสังคมเป็นสาคัญ โดยนัยดังกล่าวนี้ แสดงว่านักวิจัยไม่สามารถตีความหมายพฤติกรรมหรือการกระทาของบุคคลใด ๆ ได้เลย ถ้าปราศจากการ พิจารณาบรบิ ทแวดล้อม พฤตกิ รรมน้ัน ๆ มาประกอบด้วย 4) เสนอผลการวิจัยในรูปแบบเรียบง่าย การเสนอรายงานผลการศึกษาวิจัยในรูปแบบการเลือกใช้ ถ้อยคา สานวนในระดับเดียวกันกับผู้ปฏิบัติงาน โดยพยายามหลีกเล่ียงคาศัพท์เฉพาะสาขาวิชา (technical term) และภาษาที่มีลักษณะค่อนข้างเป็นนามธรรม เพ่ือทาให้ง่ายต่อการติดตาม ทาความเข้าใจของ ผ้ปู ฏิบัติงาน นอกจากนค้ี าอธิบายเกยี่ วกบั ผลการวิจัยตลอดจนกระบวนการวิจยั อน่ื ๆ สามารถตรวจสอบความ ตรง (validity) ได้จากการสนทนาแบบเป็นกนั เองกับผู้ปฏบิ ัติงานหรือผมู้ สี ว่ นร่วมหรือเกย่ี วข้องในทุกระยะของ กระบวนการวิจยั 5) ผอ่ นคลายความเข้มงวดเกี่ยวกับระเบียบวิธีการศกึ ษาวิจัย การดาเนินงาน วิจัยเชิงปฏบิ ตั ิการไม่ยึด ติดอยู่ภายใต้กรอบการจดั กระทาทางการทดลองและการตัวแปลแทรกซ้อนอย่างเครง่ คัดแบบตายตัวด้วยแบบ แผนการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research Design) หรือวิธีการทางสถิติ (Statistical Control) แนวคิดพื้นฐาน ดังกล่าวน้ีไม่ได้หมายความว่า การวิจัยเชิงปฏิบัติการละเลยหรือมองข้ามความสาคัญของ การศกึ ษาค้นควา้ ด้วยการอาศยั วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ หากแต่ปรบั วธิ ีการศึกษาค้นคว้า ดว้ ยวธิ กี ารดงั กลา่ วให้ กลมกลืนหรือสอดคล้องกับลักษณะของปัญหา สภาวการณ์ต่าง ๆ รวมท้ังบริบททางสังคมและวัฒนธรรมที่ แวดล้อมปัญหาท่ีต้องการแสวงหาความรู้ความจริง ด้วยเหตุน้ีการวิจัยเชิงปฏิบัติการโดยท่ัวไปอาจเลือกใช้ รูปแบบการวิจัยเชิงปริมาณท่ีอาศัย แบบการวิจัยก่ึงทดลอง (Quasi Experimental Design) หรือการวิจัยเชิง คณุ ภาพ 6) มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมในกระบวนการวิจัย การดาเนินงานวิจัยเชิงปฏิบัติการ ในทุกข้ันตอนจะต้อง อาศัยอยู่ภายใต้บรรยากาศการมีส่วนร่วม การร่วมมือร่วมใจ การเช่ือถือและไว้วางใจ การเป็นมิตร รวมทั้ง ความเปน็ อสิ ระและความเสมอภาคในการแสดงความคิดเห็น 7) ไม่เน้นการสรุปอ้างอิงผลการศึกษาวิจยั ข้ามไปยังบริบทอ่ืน การสรุปอ้างผล การวิจัยหรือการขยาย ผลการวจิ ัยใหค้ รอบคลมุ ไปยังห้องเรียน หรอื โรงเรยี นที่มีทาเลทีต่ ง้ั หรอื บริบทอน่ื ๆ แตกตา่ งไปจากทาเลหรือบ ริบทท่ีทาการวิจัยจริง มีลักษณะค่อนข้างจากัด กว่าการวิจัยเชิงทดลองทางวิทยาศาสตร์ ท้ังนี้ การสรุปอ้างอิง ผลของการวิจัยท่ีได้จากการวิจัยเชิงปฏบิ ัติการ ไม่สามารถอาศัยกฎของความครอบคลุม (Covering law) ตาม หลักการทางวิทยาศาสตร์ที่ตั้งอยู่บนพ้ืนฐานของความสัมพันธ์ หรือการอ้างอิงเชิ งสาเหตุ (Causal Relationships) ดังน้ันในทางปฏิบัติโดยท่ัวไป การสรุปอ้างอิงผลของการวิจัยท่ีได้จากการวิจัยเชิงปฏิบัติการ จึงมีแนวโน้มกระทาได้เฉพาะในขอบเขตของสถานท่ี บุคคล และเวลาที่ทาการศึกษาวิจัย อย่างไรก็ตามถ้า ต้องการขยายผลของการวิจัยให้ครอบคลุม ข้ามไปยังขอบเขตอ่ืนที่นอกเหนือก็สามารถกระทาได้ ถ้าปัจจัยที่ เกี่ยวข้องในบริบทเหล่านั้นมีลักษณะคล้ายคลึงหรืออยู่ในสภาวการณ์ที่ใกล้เคียงกัน รวมทั้งได้รับการยืนยัน จากผล การศกึ ษาวิจยั ทีเ่ กยี่ วข้องอ่ืน ๆ ประกอบดว้ ย

8) สร้างดุลยภาพและความเสมอภาคระหว่างทัศนะของบุคคลภายในและภายนอก นักวิจัยเชิง ปฏิบัติการทุกคนท่ีเป็นบุคคลภายใน (Insider) และบุคคลภายนอก (Outsider) ของสถานที่ทาการศึกษาวิจัย มีบทบาทสาคัญ 2 ประการ คือ บุคคลภายในมีบทบาทเป็นท้ังผู้ปฏิบัติงานตามหน้าที่ปกติและเป็นนักวิจัย ปฏิบัติการในสถานที่ทางานของตนเอง ในขณะที่บุคคลภายนอกมีบทบาทเป็นผู้เช่ียวชาญ/ผู้ให้คาปรึกษาทาง วิชาการให้กับ บุคคลภายในและเปน็ นกั วิจัยเชงิ ปฏิบตั ิการเชน่ เดียวกับบุคคลภายใน นักวิจัยเชิงปฏิบตั ิ การท้ัง ที่เป็นบุคคลภายในและบุคคลภายนอกจะต้องปรับบทบาทของตนเองให้มีดุลยภาพ ทางแนวความคิด ความ เชือ่ และการปฏิบัตอิ ยเู่ สมอในแต่ละสภาวการณ์ นอกจากนจี้ ะต้องสร้างความเสมอภาคทางความคิดเหน็ ตา่ ง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการดาเนินกิจกรรมการวิจัย เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความขัดแย้งทางความคิด หรือความสับสน ระหว่างบทบาทเหล่านนั้ ในขณะปฏบิ ัตงิ านวจิ ัย จากท่ีกล่าวมาจะเห็นได้ว่า การวิจัยเชิงปฏิบัติการพัฒนาข้ึนมาจากฐานคติความเช่ือ (Assumption) สาคัญที่ว่า การสร้างสรรค์และการใช้ความรู้เชิงปฏิบัติการ (Action or Practical Knowledge) สาหรับการ แก้ไขปัญหาหรือการพัฒนาใด ๆ ใน องค์กร ชุมชน หรือสังคมหนึ่ง ๆ จะต้องอาศัยอยู่บนฐานของความเป็น ประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความสันติสุข และความสอดคล้องกลมกลืนกับบริบททางด้านวัฒนธรรมและ สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ รวมทั้งอยู่ใต้บรรยากาศของความเอื้ออาทร หรือเป็นแบบกัลยาณมิตรที่นักวิจัย และผู้มีส่วนเก่ียวข้องกับกระบวนการวิจัยมีการเรียนรู้ร่วมกัน รวมทั้งยอมรับฟังความคิดเห็นและให้เกียรติซึ่ง กันและกัน ความรู้เชิงปฏิบัติการท่ีเป็นผลผลิตอันเกิดจากความร่วมมือ ร่วมใจระหว่างนักวิจัยกับผู้มีส่วน เกยี่ วขอ้ งหรอื ผู้มีส่วน ได้สว่ นเสีย (Stakeholders) โดยผู้ปฏบิ ตั งิ านซง่ึ มีความใกล้ชิดกบั ปัญหาได้เกิดความรู้สึก ในการเป็นเจ้าของความรู้ จึงเป็นปัจจัยผลักดันสาคัญสาหรับแนวโน้มชุมชน หรือสังคมให้ดีย่ิง ๆ ข้ึนไป ซึ่ง ลักษณะของการวิจัยเชิงปฏิบัติการโดยท่ัวไปจะมีการนาความรู้น้ัน ๆ ไปใช้ประโยชน์ในการแก้ปัญหา หรือ ปรับปรุงเปล่ยี นแปลงใด ๆ ในองค์กรความแตกตา่ งจากการวิจยั เชิงวชิ าการ (Academic research) 4.4 จุดมงุ่ หมายของการวจิ ยั เชงิ ปฏิบัตกิ าร เพื่อจะปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการปฏิบัติงานประจาให้ดีขึ้น โดยนาเอางานท่ี ปฏิบัติอยู่มาวิเคราะห์สภาพ ปัญหาอันเป็นเหตุให้งานน้ันไม่ประสบผลสาเร็จเท่าท่ีควร นอกจากนั้นต้องใช้ แนวคิด ทางทฤษฎีและประสบการณ์จากการปฏิบัติงานที่ผ่านมา เสาะหาข้อมูลท่ีคาดว่าจะแก้ปัญหาดังกล่าว ได้ แล้วสะท้อนวธิ กี ารดังกลา่ วไปทดลองใช้กบั กลมุ่ ทเี่ กยี่ วข้องกบั ปัญหานั้น ๆ 4.5 ข้นั ตอนของการวจิ ัยเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร กระบวนการวิจัยน้ี เม่ือกล่าวในเชิงการนาไปใช้เพ่ือพัฒนาและปรับปรุง การปฏิบัติงานในโรงเรียน สามารถอธบิ ายวธิ กี ารดาเนินการตามวงจรของการวจิ ยั เชงิ ปฏิบัติการไดด้ ังนี้ 1) การจาแนกหรือพิจารณาปัญหาที่ประสงค์จะศึกษา ผู้วิจัยและกลุ่มที่ทาการวิจัยจะต้องศึกษา รายละเอียดของปัญหาท่ีจะศึกษาอย่างชัดแจ้ง ปัญหาที่เกิดขึ้นใน โรงเรียนที่จะทาการวิจัยเชิงปฏิบัติการ จะตอ้ งศึกษาค้นคว้า แสวงหาหลกั การและทฤษฎที ี่เก่ียวข้องกบั ปัญหานัน้ ๆ ให้กวา้ งขวางพอสมควร 2) เลือกปัญหาสาคัญท่ีเป็นสาระควรแก่การศึกษาวิจัย โดยอาศัยพื้นฐานจาก หลักการและทฤษฎีมา ใช้ในการวิเคราะห์ลักษณะของปัญหา แล้วสร้างวัตถุประสงค์และ สมมุติฐานของการวิจัย ในรูปแบบของ ข้อความท่ีแสดงให้เห็นความสมั พันธข์ องปัญหากบั หลกั การหรอื ทฤษฎีทเี่ กยี่ วขอ้ ง 3) เลือกเคร่ืองมือดาเนินการวิจยั ท่ีจะช่วยให้ได้คาตอบของปัญหาตามสมมติฐาน ท่ีตั้งไว้โดยเคร่ืองมือ ท่ีจะใช้ในการวิจัยมีอยู่ 2 ลักษณะ คือ เครื่องมือท่ีใช้ในการทดลอง ปฏิบัติหรือการฝึกหัดตามวิธีการและ เคร่ืองมือท่ีใช้สาหรับการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เป็นผล จากการปฏิบัติการ เช่น แบบทดสอบ แบบสังเกต พฤตกิ รรม เปน็ ต้น

4) บันทึกเหตุการณ์อย่างละเอียดในแต่ละข้ันตอนของการวิจัย ท้ังส่วนที่เป็นความก้าวหน้าและท่ีเป็น อุปสรรคตามวงจรของการปฏิบัติการท้ัง 4 ข้ันตอน โดยจะต้องเก็บสะสมข้อบันทึกต่าง ๆ ไว้เพ่ือใช้ในการ ปรบั ปรุงวงจรปฏบิ ตั ิในรอบต่อไป และเพอ่ื เป็นการรวบรวมข้อมลู สาหรับใช้วิเคราะหห์ าคาตอบของสมมติฐาน 4.1 ขั้นวางแผน (Planning) เริ่มดว้ ยการสารวจปญั หารว่ มกันระหว่างบุคลากรภายในโรงเรยี น เพ่อื ให้ ได้ปัญหาที่สาคัญท่ีต้องการให้แก้ไข ตลอดจนการแยกแยะรายละเอียดปัญหา เก่ียวกับลักษณะปัญหาของใคร เก่ยี วข้องกบั ใคร แนวทางแกอ้ ยา่ งไร และจะตอ้ งปฏิบตั ิอย่างไร 4.2 ขั้นปฏิบัติการ (Action) เป็นการนาแนวคิดที่กาหนดเป็นกิจกรรมในข้ันวางแผนมาดาเนินการโดย วิเคราะห์วิจารณ์ปัญหาอุปสรรคที่เกิดข้ึนร่วมกันของทีมงาน ประกอบไปด้วย เพื่อทาการแก้ไขปรับปรุงแผน ฉะน้ันแผนที่กาหนดควรจะมคี วามยดื หยุ่นปรบั ได้ 4.3 ขั้นสังเกตการณ์ (Observation) เป็นการศึกษาความเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึน ด้วยความรอบคอบ ซ่ึงอาจเป็นสิ่งท่ีเกิดข้ึนทั้งท่ีคาดหวังและไม่คาดหวัง โดยต้องอาศัย เคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ เข้าชว่ ย 4.4 ขั้นสะท้อนผลการปฏิบัติการ (Reflection) ซ่ึงเป็นขั้นสุดท้ายของวงจร การทาการวิจัยเชิง ปฏิบัติการ โดยทาการประเมินหรือตรวจสอบกระบวนการแก้ปัญหาหรือสิ่งที่เป็นข้อจากัดอันเป็นอุปสรรคต่อ การปฏิบัตกิ าร ผวู้ จิ ยั ร่วมกบั กล่มุ ผเู้ กี่ยวขอ้ งจะต้องตรวจสอบปญั หาทีเ่ กดิ ข้ึนในแง่มุมต่าง ๆ ที่สมั พันธ์กับสภาพ สังคม ส่ิงแวดลอ้ มและระบบการศึกษาของโรงเรียนทีป่ ระกอบกันอยู่ โดยผ่านการร่วมอภิปรายปัญหาและ การ ประเมินโดยกลุ่ม ซ่ึงจะทาให้ได้แนวทางของการพัฒนาและข้ันตอนการดาเนินกิจกรรม เพ่ือจะได้ใช้เป็นข้อมูล พืน้ ฐานท่นี าไปส่กู ารปรับปรงุ และวางแผนการปฏบิ ตั ิตอ่ ไป (5) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ในด้านต่าง ๆ ของข้อมูลที่ได้รวบรวมไว้ ซึ่งส่วนใหญ่ จะเป็นข้อมูลเชิง คุณภาพ ทาการตรวจสอบรายละเอียดของข้อมูลเพื่อให้มั่นใจในความถูกต้อง แสดงรายละเอียดในการอธิบาย เหตุการณ์ต่าง ๆ จัดหมวดหมู่และแยกประเภทของกลุ่มข้อมูลตามหัวข้อที่เหมาะสม เปรียบเทียบข้อแตกต่าง และความคลา้ ยคลงึ ของขอ้ มูลแตล่ ะประเภทโดยการวิเคราะหอ์ ย่างลกึ ซึง้ รว่ มกบั กลุ่มผวู้ จิ ัย (6) ตรวจสอบข้อมูลที่กลุ่มวิจัยได้ร่วมกันพิจารณาไว้แล้วอีกครั้งหน่ึง เพ่ือสรุปหาคาตอบที่เป็นสาเหตุ วิธีการแก้ปัญหา และผลที่ได้รับ ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยท่ีได้กาหนดไว้ ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากผู้วิจัยสามารถทาการประมวลและสรุปเป็นหลักการ (Principle) รูปแบบ (Model) ของการปฏิบัติ ข้อเสนอแนะเชิงทฤษฎี (Proposition) หรือทฤษฎี (Theory) ของปฏิบัติการแก้ปัญหานั้น ได้ ทั้งน้ีต้องอาศัย หลักตรรกวทิ ยา โดยวธิ อี ปุ นยั (Induction) และความรูเ้ ชิงทฤษฎีของผวู้ ิจยั เป็นสาคญั 4.6 การเกบ็ รวบรวมข้อมูลของการวิจัยเชิงปฏิบตั ิการ หลักการสาคัญของการวิจัยเชิงปฏิบัติการท่ีต้องตระหนักอยู่เสมอ คือ กลุ่มบุคคลท่ีเกี่ยวข้องมี ความสาคัญต่อกระบวนการดาเนินการวิจัย นั่นคือการวิจัยชนิดน้ีไม่ควรจะทาตามลาพังและควรใช้วงจรของ กระบวนการวิจยั ซึ่งประกอบด้วยการวางแผน การปฏิบัติการสงั เกต และการสะท้อนผลการปฏบิ ัติ เพ่ือนามา ปรับปรุงแผนงานแล้ว ดาเนินกิจกรรมท่ีปรับปรุงใหม่ ซ่ึงวงจรของท้ัง 4 ขั้นตอนดังกล่าวจะมีลักษณะการ ดาเนิน การเป็นบันไดเวียน (spiral) กระทาซ้าตามวงจร จนกว่าจะได้ผลปฏิบัติการให้เกิด การเปล่ียนแปลง พรอ้ มกับตอ้ งบันทกึ ผลในทุก ๆ ขน้ั ตอนท่ีสาคญั นั่นคือ 1) บนั ทกึ ผลของการเปลย่ี นแปลงกจิ กรรมและการฝกึ ปฏิบัติ 2) บันทึกผลของการเปลี่ยนแปลงการใช้ภาษาและการสื่อสารในห้องเรียน หรือหน่วยงานและกับ บุคคลทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับปัญหาทตี่ ้องการแก้ไข

3) บันทึกผลของการเปลี่ยนแปลงการสัมพันธภาพทางสังคมและการจัดระบบองค์กรท่ีช่วยลด อปุ สรรคตอ่ การฝึกปฏิบตั ิ 4) บันทกึ ผลของการพัฒนาการทเี่ ปน็ ข้อคน้ พบท่ีสาคัญของการวจิ ัย 4.7 การวเิ คราะห์ข้อมูลของการวิจยั เชงิ ปฏบิ ัตกิ าร การวิเคราะห์ข้อมูลของการวิจัยเชงิ ปฏิบัตกิ ารจะใช้วิธกี ารของการวิจัยเชงิ คุณภาพ หรือการแจกแจง ข้อคน้ พบท่สี าคญั เชงิ อธิบายความ ซงึ่ จะนาไปสู่การสรุปเป็น ผลงานวิจยั และแสดงให้เห็นแนวทางหรือรูปแบบ ท่มี ีประสิทธภิ าพ เพื่อการแก้ไขปัญหาของสง่ิ ท่ศี ึกษาน้ัน 5. งานวิจยั ท่ีเกี่ยวข้อง 5.1 งานวจิ ัยภายในประเทศ รุจนี เหมือนเงิน (2558 : บทคัดย่อ) ได้ทาการศึกษาผลกระทบของพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ส่ือสาร ในช้ันเรียนต่อผลการเรียน ของนักศึกษา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน การวิจัย ครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษา ผลกระทบของพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ส่ือสารในช้ันเรียนต่อผลการเรียนของ นักศึกษา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาที่กาลังศึกษา อยู่ในระดับปริญญาตรีช้ันปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2557 คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลอสี าน จานวน 275 คน ใช้วธิ ีสุ่มตวั อยา่ งแบบช้นั ภูมิ เคร่อื งมือท่ีใชใ้ นการเก็บขอ้ มูล เปน็ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติทดสอบความเป็น อิสระต่อกันของสองประชากร (Chi-square test) ท่ีระดับความเชื่อม่ัน ร้อยละ 95 ผลการวิจัยพบว่า กลุ่ม ตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 78.20 สาขาวิชาที่นักศึกษาเรียนมากที่สุดได้แก่ สาขาวิชาการ จดั การ รองลงมาเป็นสาขาวชิ าการบัญชี สาขาวชิ าการเงิน สาขาวิชาระบบสารสนเทศ และสาขาวิชาการตลาด ตามลาดับ อุปกรณ์สื่อสารที่นักศึกษาใช้งานมากท่ีสุดคือโทรศัพท์มือถือ ระยะเวลาที่นักศึกษาใช้งานอุปกรณ์ สอ่ื สารในคาบเรยี นมากทส่ี ุดคือ น้อยกวา่ 15 นาที และฟงั ก์ชนั การใช้งานอุปกรณ์สื่อสารที่นกั ศึกษาใช้งานมาก ที่สุดคือ Social Media โดยนักศึกษามีความเห็นต่อผลกระทบของการใช้อุปกรณ์สื่อสารในช้ันเรียนต่อผลการ เรียนในระดับปานกลาง และจากการศึกษาพบว่าการใช้โทรศัพท์มือถือในช้ันเรียนมีผลกระทบต่อผลคะแนน เฉล่ยี ของกลุ่มตวั อยา่ ง อย่างมีนยั สาคัญทางสถิตท่ีระดบั 0.05 ธญั ธชั วิภัตภิ ูมิประเทศ (2559 : บทคดั ย่อ) ทาการศึกษาพฤติกรรมการใชส้ มาร์ทโฟนในชั้นเรยี นของ นักศึกษามหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนในชน้ั เรียนของ นักศกึ ษา และ 2) เพอ่ื ศกึ ษาความสัมพันธ์ระหวา่ งพฤติกรรมการใชส้ มาร์ทโฟนในชั้นเรียนและผลการเรียนของ นักศึกษาโดยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากนักศึกษาระดับปริญญาตรี จากมหาวิทยาลัยธุรกิจ บัณฑิตจานวน 323 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการทดสอบไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า 1) นักศึกษาส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนในชั้นเรียนเพื่อค้นคว้าหาข้อมูลในขณะทากิจกรรมที่ อาจารย์มอบหมาย (ร้อยละ 50.5) และในบางคร้ังได้นาสมาร์ทโฟนมาใช้เพ่ือค้นหา เน้ือหาท่ีไม่เข้าใจเพ่ิมเติม ในระหวา่ งเรยี น(รอ้ ยละ 46.8) นอกจากนี้ นกั ศกึ ษานาสมารท์ โฟนมาใช้ถา่ ยรปู PowerPoint ของอาจารยแ์ ทน การจดบันทึกในบางครั้ง (ร้อยละ 47.7) และนามาใช้เพ่ือติดต่อ/ตามเพ่ือน ให้มาเข้าเรียนบางคร้ัง (ร้อยละ 56.7) อย่างไรก็ดี พบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่ใช้ระยะเวลาน้อยกว่าครึ่งหน่ึงของคาบเรียนในการแอบใช้สมาร์ท โฟนโดยไมเ่ ก่ยี วขอ้ งกับการเรียน (รอ้ ยละ 47.7) โดยมีวตั ถปุ ระสงค์ ในดา้ นส่อื สงั คมออนไลน์ เชน่ เฟซบุ๊ก ไลน์ และอินสตาแกรม (ร้อยละ 59.1) ทั้งนี้ ช่วงเวลาที่นักศึกษา ส่วนใหญ่แอบใช้สมาร์ทโฟนในช้ันเรียน คือ ช่วงท่ี

อาจารย์เน้นสอนแบบบรรยาย (ร้อยละ 39.6) และ 2) พฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนในชั้นเรียนมีความสัมพนั ธ์ กับผลการเรียนของนกั ศึกษาอยา่ งมนี ัยสาคัญ ทางสถติ ทิ รี่ ะดบั 0.05 ข้อเสนอแนะ คือ 1) อาจารย์ผู้สอนควรตกลงกฎหรือข้อบังคับเก่ียวกับการใช้สมาร์ทโฟนในชั้นเรียน ร่วมกับนักศึกษาอย่างชัดเจน 2) อาจารย์ผู้สอนควรปรับเปล่ียนวิธีการสอนโดยลดการบรรยาย และเน้น กิจกรรมการเรียนรู้ในช้ันเรียนโดยให้นักศึกษาได้ค้นคว้าหรือเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านสมาร์ทโฟน และ 3) อาจารย์ ผสู้ อนอาจปรับแผนการสอนรายคาบโดยเพิ่มช่วง “Technology Breaks” กล่าวคอื เปน็ การอนุญาตให้นักศึกษาใช้ สมาร์ทโฟนได้ในระหว่างการพักช่วงระยะเวลาสั้น ๆ ระหว่างเรียนประมาณ 1-2 นาที เพ่ือให้นักศึกษาได้เช็ค ข้อมูลในสื่อสังคมออนไลน์ และหลังจากนั้นจึงกลับมาเข้าสู่เนื้อหาของบทเรียนต่อ ทั้งน้ีเพ่ือป้องกันไม่ให้ นกั ศกึ ษาแอบใชส้ มารท์ โฟนและจะช่วยให้นกั ศึกษามีสมาธิระหวา่ งเรียนมากขึน้ อุณนดาทร มูลเพ็ญ และ จุฑารัตน จิตตถนอม (2559 : บทคัดย่อ) ได้ทาการศึกษาพฤติกรรมการใช้ มือถือสมาร์ทโฟนในด้านการศึกษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด การวิจัยคร้ังนี้มีความมุ่งหมาย เพ่ือ 1) ศึกษาพฤติกรรมการใช้งานมือถือสมาร์ทโฟนในด้านการศึกษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏรอย เอ็ด 2) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการใช้งานมือถือสมาร์ทโฟนท่ีมีการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตในด้าน การศกึ ษาของนักศึกษามหาวทิ ยาลยั ราชภัฏรอยเอ็ด3) เปรียบเทียบพฤติกรรมการใช้งาน มอื มอื สมารทโฟนท่ีมี ต่อเพศและสังกัดการศึกษาแตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษา คือ นักศึกษามหาวิทยาลัย ราชภัฏรอย เอ็ด จานวน 370 คน เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน คา F-test และวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบจาแนกทางเดียว One-way ANOVA ผลการวิจัย พบว่า นักศึกษามีความคิดต่อการใช้งานมือถือสมาร์ทโฟนทั้งโดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับ มากท่ีสุด เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า การใช้งานด้านเครือข่ายสังคมมากที่สุด รองลงมาคือด้านการศึกษา และด้านเทคโนโลยี ตามลาดับ เมื่อเปรียบเทียบปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการใช้มือถือสมาร์ทโฟนในด้านการศึกษา กับสังกัดการศึกษา พบว่า นักศึกษาที่สังกัดคณะท่ีแตกต่าง มีความคิดเห็นที่แตกต่าง ทั้งโดยรวมและรายด้าน อยา่ งมีนยั สาคัญที่ระดับ 0.05 และ 0.01 ดวงรัตน์ โกยกิจเจริญ (2560 : บทคัดย่อ) การศึกษาวิจัยเรื่อง พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคม ออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในจังหวัดภูเก็ต มีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือศึกษาลักษณะของนักเรียน มัธยมศึกษาตอนต้นในจังหวัดภูเก็ต ที่ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ 2) ศึกษาพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคม ออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในจังหวัดภูเก็ต3) เพ่ือศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ของนักเรียนกับพฤติกรรมการใชเ้ ครือข่ายสังคมออนไลน์เคร่ืองมอื ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม โดยมีค่าความเชื่อม่ันเท่ากับ 0.983 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และ Pearson Chi Square ลักษณะ ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในจังหวัดภูเก็ตที่ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ พบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง กาลังศึกษาระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 2 อาศัยอยู่กับบิดา มารดา ได้รับรายได้จากผู้ปกครองเฉล่ีย เดือนละ 2,001-3,000 บาท และใช้โทรศัพท์มือถือเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ของ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในจังหวัดภูเก็ต พบว่า นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในจังหวัดภูเก็ต ส่วนใหญ่ใช้ อินเทอรเ์ นต็ มากกวา่ วนั ละ 3 ชวั่ โมง และใชเ้ ครือข่าย สงั คมออนไลนม์ าแล้ว 3-5 ปี ส่วนใหญม่ เี พื่อนแนะนาให้ ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์และนิยมใช้ Facebook เหตุผลของการใช้เครือข่ายสงั คมออนไลน์ เพ่ือคุยกับเพื่อน ปัจจุบันและเพื่อนเก่า นักเรียนส่วนใหญ่มีการใช้ เครือข่ายสังคมออนไลน์ทุกวันใช้มากกว่า 4 ชั่วโมงต่อวัน ถ้า เป็นวันจันทร์–วันศุกร์ จะใช้ช่วงเวลา 18.01-22.00 น. ถ้าเป็นวันเสาร์–วันอาทิตย์ ส่วนใหญ่จะใช้ในช่วงเวลา 10.01-14.00 น. และจะใช้โทรศัพท์มอื ถือเป็นอปุ กรณ์ใน การใช้เครือขา่ ยสงั คมออนไลน์ ชว่ งเวลาทน่ี ยิ มใช้ คือ ก่อนเข้านอน และใช้สถานท่ีที่ใช้งานเครือข่ายสังคมออนไลน์ ส่วนใหญ่เป็นบ้าน มีการเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวที่

เป็นจริงบางส่วนในเครือข่ายสังคมออนไลน์ท่ีเผยแพร่ ให้บุคคลอื่นได้เห็นข้อมูลของตน มีการปรับแต่งข้อมูล (Upload) ทุกวัน นักเรียนส่วนใหญ่ไม่เคยนัดเจอเพ่ือนที่คุยกันผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ ผู้ปกครองมีส่วน ร่วมในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์โดยดูแลและให้ความรู้ในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์สม่าเสมอ ส่วน เพื่อนมีสว่ นรว่ มในการใช้เครอื ขา่ ยสงั คมออนไลน์ โดยมแี นะนาให้ไปปฏบิ ตั เิ อง และช่วยเหลอื หากมปี ญั หา สร้อยสุวรรณ เตชะธิ (2562 : บทคัดย่อ) การศึกษาวิจัยเร่ือง ความพึงพอใจในการจัดการเรียนการ สอนโดยใช้สื่อออนไลน์ Google Classroom ของนักศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2562 กศน.ตาบลหนองหล่ม การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการจัดการ เรียนการสอนผ่านสอ่ื ออนไลน์ Google Classroom ของนักศกึ ษา กศน.ตาบลหนองหลม่ ระดับช้ันมัธยมศึกษา ตอนปลาย จานวน 4 ด้าน ได้แก่ 1) การจัดการเรียนการสอนผ่าน Google Classroom 2) ความปลอดภัยใน การใช้งานระบบ 3) ข้อดีของ Google Classroom และ 4) ข้อเสียของ Google Classroom กลุ่มตัวอย่างท่ี ใช้คือนักศึกษาระดับชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2562 กศน.ตาบลหนองหลม่ จานวน 10 คน เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามความพึงพอใจ ผลการวิจัยพบว่า ด้านการจัดการเรียนการ สอนผ่าน Google Classroom ช่วยให้ประหยัดเวลาในการเรียนมีค่าเฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ 4.60 ส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐานเท่ากับ 0.52 ถือว่านักศึกษามีความพึงพอใจมากท่ีสุด ด้านความปลอดภัยในการใช้งานระบบในส่วน ของการกาหนดความเป็นตัวตน มีค่าเฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ 4.40 ถือว่ามีความพึงพอใจมาก ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 0.52 ข้อดีของการใช้Google Classroom หัวข้อสะดวกและประหยัดเวลามีค่าเฉลี่ยสูงสุด เท่ากัน 4.60 ถือว่ามีความพึงพอใจมากที่สุด ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.52 ข้อเสียของการใช้Google Classroom หัวข้อทาให้นักศึกษาแยกตัวออกจากกลุ่มเพื่อน 90 และทาให้ไม่มีอิสระต้องอาศัยเทคโนโลยีมา ช่วยเท่านั้นมีค่าเฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ 3.90 ถือว่ามีความพึงพอใจระดับมาก ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.99 และคา่ เฉล่ยี รวม 4 ด้านมีคา่ เฉลี่ยเทา่ กบั 4.13 ถอื วา่ มีความพึงพอใจมาก สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากบั 0.26 5.2 งานวจิ ยั ตา่ งประเทศ Jena, R. K. (2014 : Abstract) การศึกษาน้ี“ ความง่ายและระดับการใช้สมาร์ทโฟนเพื่อการเรียนรู้ ระหว่างวิทยาลัยการศึกษาก่อนการให้บริการครูในภาคตะวันตกเฉียงเหนือประเทศไนจีเรีย” ได้รับคาแนะนา จากวัตถุประสงค์ 2 ประการคือคาถามวิจัย 2 ข้อ นักวิจัยใช้การออกแบบการวิจัยเชิงสารวจเชิงพรรณนาใน การศึกษา นักวิจัยใช้วิธีผสม (เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ) ในการรวบรวมข้อมูล ประชากรของการศึกษาคือ 113,030 คน ใช้เทคนคิ การสุ่มตัวอยา่ งในการเลือกกล่มุ ตัวอยา่ ง ประชากรทั้งหมดของกลุม่ ตวั อยา่ งคอื 32,300 คน ตัวอย่างท้ังหมดที่เลือกคือ 371 สาหรับเชิงปริมาณซ่ึงสอดคล้องกับขนาดตัวอย่างของ Raosoft และ 6 สาหรับเชิงคุณภาพ เคร่ืองมือท่ีใช้ในการรวบรวมข้อมูลได้นามาใช้ในแบบสอบถามทานายการยอมรับของผู้ใช้ และการนาสมาร์ทโฟนมาใช้เพื่อการเรียนรู้ด้วยแบบสอบถามโมเดลการยอมรับเทคโนโลยี (PUAASLTAMQ) โดย Sek, et al, (2010) และข้อมูลว่างเปล่า ความถี่และเปอร์เซ็นต์ถูกใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประชากรของ ผตู้ อบแบบสอบถาม เพ่อื ตอบคาถามวจิ ัยข้อหน่ึง (1) ใชส้ ถติ เิ ชงิ พรรณนา (ความถแ่ี ละเปอร์เซน็ ต์) ในการตอบ คาถามวิจัยใช้ t-test สองตัว ผลสรุปของการค้นพบท่ีสาคัญระบุว่าสมาร์ทโฟนน้ันใช้งานง่ายมากสาหรับการ เรียนรโู้ ดยครผู ูส้ อนก่อนการบริการในวิทยาลัยการศึกษาทางตะวันตกเฉยี งเหนือไนจีเรยี และครบู รกิ ารลว่ งหน้า ชายใน Colleges of Education ทางตะวันตกเฉยี งเหนือของไนจเี รียใช้สมารท์ โฟน สาหรับการเรยี นรู้มากกว่า ผู้หญิงของพวกเขา ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าสมาร์ทโฟนอาจได้รับการยอมรับให้เป็นเคร่ืองมือการเรียนการ สอนในอนาคตเนือ่ งจากโหมดการทางานของสมาร์ทโฟนนนั้ ไม่ยาก Al-Menayes, J. J. (2014 : Abstract) การศึกษาน้ีตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างการใช้โซเชียล มเี ดียและผลการเรียน บรหิ ารดว้ ยตนเองมีการแจกแบบสอบถามให้กบั กลุ่มตัวอย่างของนักศึกษามหาวิทยาลัย

ในคูเวต ผลปรากฏว่าการใช้มือถือหนักในการใช้โซเชียลมีเดียมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับเกรดเฉลี่ยที่ลดลง ความสัมพนั ธ์เชิงเสน้ ที่แข็งแกร่งช้ใี ห้เห็นว่านักเรียนจานวนมากข้นึ ใช้โซเชียลมีเดยี กจ็ ะย่ิงเกรดตา่ ลง ผลลพั ธ์ยัง แสดงให้ผู้เข้าร่วมตระหนักถึงการใชง้ านโซเชยี ลมีเดยี ลดเกรดของพวกเขา แต่พวกเขายงั คงใช้มันอย่างหนักโดย ไม่คานึงถึง การวิจัยในอนาคตควรพิจารณาบริบทท่ีใช้โซเชียลมีเดีย นอกจากน้ียังควรสารวจวิธีอื่น ๆ ในการ วัดผลการใช้โซเชยี ลมเี ดียนอกเหนอื จากรายงานตนเอง Lepp, A., Barkley, J. E., & Karpinski, A. C. (2015 : Abstract) โทรศัพท์มือถือมีอยู่ในวิทยาเขต ของวิทยาลัยและมักใช้ในการต้ังค่าท่ีเกิดการเรียนรู้ การศึกษานี้ประเมินความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ โทรศัพท์มือถือกับเกรดเฉลี่ยของวิทยาลัย (GPA) จริงหลังจากควบคุมตัวทานายท่ีทราบแล้ว ดังน้ันนักศึกษา ระดับปริญญาตรี 536 คนจาก 82 สาขาวิชาท่ีรายงานด้วยตนเองในมหาวิทยาลัยของรัฐขนาดใหญ่จึงถูกสุ่ม ตัวอย่าง การถดถอยตามลาดับชัน้ (R2 = .449) แสดงให้เห็นว่าการใช้โทรศัพท์มือถือมีความสาคัญ (p <.001) และเชิงลบ (β = −.164) ท่ีเกี่ยวข้องกับเกรดเฉล่ียของวิทยาลัยหลังจากควบคุมตัวแปรทางประชากรแลว้ การ รับรู้ความสามารถของตนเองในการเรียนรู้ด้วยตนเอง ,การรับรู้ความสามารถของตนเองสาหรับผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนและเกรดเฉลยี่ ของโรงเรียนมธั ยมปลายซึ่งเป็นตัวทานายทสี่ าคัญทงั้ หมด (p <.05) ดังนนั้ หลังจาก ควบคุมตัวทานายอื่น ๆ แล้วการใช้โทรศัพท์มือถือที่เพ่ิมขึ้นจึงสัมพันธ์กับผลการเรียนที่ลดลง แม้ว่าจะต้องมี การวิจัยเพ่ิมเติมเพื่อระบุกลไกพ้ืนฐาน แต่ผลการวิจัยช้ีให้เห็นว่าจาเป็นต้องสร้างความอ่อนไหวให้กับนักเรียน และนกั การศกึ ษาเก่ียวกบั ความเส่ยี งทางวิชาการท่ีอาจเกิดขึ้นจากการใช้โทรศัพท์มอื ถือความถี่สงู Jumoke Soyemi (2015 : Abstract) การวิเคราะห์ผลกระทบต่อโทรศัพท์มือถือต่อผลการเรียนของ นักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาการใช้งานโทรศัพท์มือถือท่ีเปิดใชอ้ ินเทอร์เน็ตคือประสบการณ์ในศตวรรษที่ 21 ซึ่งครอบคลุมการดาเนินการต่าง ๆ งานวิจัยนี้จะตรวจสอบการใช้โทรศัพท์และระบุลักษณะพิเศษ โทรศพั ท์มอื ถือท่ีเปดิ ใช้งานอินเทอรเ์ น็ตมีในด้านวชิ าการ ผลการดาเนินงานของนกั ศึกษาสถาบนั อุดมศึกษาท่ีใช้ นักศึกษาวิทยาลัยสารพัดแห่งชาติของ Ilaro, Ogun State ในประเทศไนจีเรียเป็นกรณีศึกษา งานวิจัยได้ ดาเนินการไปแล้วเข้าใจและยังพบความสัมพันธ์ระหว่างนักวิชาการประสิทธิภาพของนักเรียนและการใช้ โทรศัพท์มือถือในช่วงชั้นเรียนซ่ึงโดยทั่วไปเช่ือว่าเป็นการรบกวนนักเรียน ข้อมูลจากงานน้ีได้ดาเนินการโดยใช้ แบบสอบถามกลุ่มตัวอย่าง 45 คน เพ่ือให้ได้มุมมองของแต่ละบุคคล นอกจากน้ี การสัมภาษณ์ท่ีกว้างขวางได้ ทาควบคู่ไปกับการมีความรู้พน้ื ฐานของนักเรยี นด้วยการรวบรวมข้อมูล ในระหวา่ งการศึกษาน้ี ผลการวิจัยของ เราพบว่า นักเรียนได้รับอิทธิพลในทางลบโดยโทรศัพท์มือถือ เนื่องจากความสนใจเน้นการใช้สังคมออนไลน์ ฟังเพลง และอื่น ๆ ในขณะท่ีกิจกรรมทางวิชาการ นักเรียนไม่ได้ให้ความสนใจในบทเรียน นอกจากน้ี การศึกษาคร้งั น้พี บว่าการใชโ้ ทรศัพทม์ ือถือโทรศพั ท์ไม่สามารถควบคุมไดใ้ นหมู่นักเรยี นทเี่ ปน็ ผู้นา Muhammad Anshari (2017 : Abstract) ทาการศึกษาการใช้สมาร์ทโฟนในห้องเรียนการเรียนรู้ หรือการแทรกแซง สถาบันการศึกษาหลายแห่งโดยเฉพาะสถาบนั อุดมศึกษา กาลังพจิ ารณาทจี่ ะใช้สมาร์ทโฟน เป็นส่วนหนึ่งในการช่วยการเรียนรู้ในชั้นเรียน นักเรียนส่วนใหญ่มีสมาร์ทโฟน เป็นของตนเองลังพกติดตัวอยู่ เสมอ การใช้สมาร์ทโฟนในช้ันเรียนเป็นการช่วยใหผ้ ู้เรียนเกิดการเรียนรู้หรือเป็นการเทรกแซงการเรยี น วิจัยนี้ เป็นการนาเสนอผลการวิจัยการใชส้ มารท์ โฟนในการสอนในชน้ั เรียน วธิ ีการดาเนนิ การ คือ การสารวจและการ สัมภาษณ์ การสนทนากับกลุ่มเป้าหมายของนักเรียน จากการศึกษาพบว่าการใช้สมาร์ทโฟนเพ่ือเข้าถึงข้อมูล หรือการใช้หาข้อมูลเพื่อสนับสนนุ การศึกษา ซึ่งปกติจะเข้าถึงได้ผ่านระบบอินเตอรเ์ น็ต นักเรียนใช้สมาร์ทโฟน เป็นอุปกรณ์ช่วยการเรียนรู้ ด้วยเหตุผลหลายประการ เช่น ให้ความสะดวกพกพาการเรียนรู้ที่คร อบคลุม

ประสบการณ์หลายแหล่งและเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม พวกเขายังใช้สมาร์ทโฟนเพ่ือโต้ตอบกับครูนอกชั้นเรียน และใช้สมาร์ทโฟนเพื่อจัดการการมอบหมายกลุ่มของพวกเขา อย่างไรก็ตามการรวมสมาร์ทโฟน เข้ากับการ สอนในห้องเรยี นสง่ิ แวดล้อมเปน็ งานที่ท้าทาย วิทยากรอาจตอ้ งใช้สมาร์ทโฟนเข้ารว่ มการสอนและการเรียนรู้ท่ี จะสรา้ งการเรยี นการสอนท่ีนา่ สนใจและปฏิสัมพันธ์ทเี่ หมาะสมกบั นักเรียนในช้นั เรยี น ของความทา้ ทายเป็นส่ิง ท่ีทาให้ไขว้เขว พ่ึงพา ขาดทักษะในการใช้ทักษะ และลดคุณภาพของการปฏิสัมพันธ์แบบตัวต่อตัว เพ่ือไม่ให้ เกิดความวุ่นวายในการใช้สมาร์ทโฟน ภายในสภาพแวดล้อมในห้องเรียนกฎท่ีเหมาะสมในการใช้สมาร์ทโฟน เข้าชัน้ ควรไดร้ บั การยอมรบั ก่อนการสอนและนักเรียนต้องปฏิบัตติ ามกฎ บทที่ 3 วิธีดาเนินการวจิ ยั

การวิจัยในชั้นเรียนเร่ือง การแก้ไขปัญหาพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์/สมาร์ทโฟนในช้ันเรียนโดยผ่าน รูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน (Google for Education) ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5/8 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ ตาบลนากลาง อาเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลาภู มีวัตถุประสงค์ 1). เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์/สมาร์ทโฟนในช้ันเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ 2). เพ่ือส่งเสริมพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์/สมาร์ทโฟนของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 5/8 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ ให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ และ 3) เพ่ือศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์/สมาร์ทโฟนในช้ันเรียนและผลการเรียนของนักเรียนระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 5/8 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ โดยกาหนดให้เป็นงานวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน (Classroom Action Research :CAR) ซึ่งมีรายละเอียดแนวทางการดาเนนิ การวจิ ัย ดังน้ี 1. วิธีการวิจัย 2. กลุม่ เป้าหมายในการวิจัย 3. ขั้นตอนการดาเนนิ การวจิ ัย 4. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 5. เคร่อื งมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลการวจิ ยั 6. ขัน้ ตอนการใช้เครื่องมือทใ่ี ช้ในการเก็บข้อมูลการวจิ ยั 7. การประมวลผลข้อมลู และการวเิ คราะห์ข้อมูล 8. แผนการดาเนนิ การวจิ ัย 1. วิธกี ารวจิ ัย การวิจัยในช้ันเรียนเชิงปฏิบัติการเรื่อง การแก้ไขปัญหาพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์/สมาร์ทโฟนในชั้น เรียนโดยผ่านรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน (Google for Education) ของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 5/8 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ ตาบลนากลาง อาเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลาภู ผู้วิจัยได้ ดาเนินการศึกษาบนพ้ืนฐานของแนวคิดเร่ืองการจัดการในช้ันเรียนโดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางแนวคิด เก่ียวกับเรื่องพฤติกรรมของนักเรียนที่ส่งผลถึงกระทบต่อพฤติกรรมการเรียนรขู้ องนักเรียนแนวคิดการวจิ ัยเชิง ปฏิบัติการในช้ันเรียน (Classroom Action Research : CAR) หรือการวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ท่ีมุ่งเน้น กระบวนการวิจยั เพื่อแก้ปัญหานกั เรยี นในช้นั เรียน โดยการวิจัยเชิงปฏิบัติการในช้ันเรียนน้ีเริม่ จากการสารวจข้อมูลปัญหาท่ีเกิดภายในช้ันเรยี น แสวงหา ข้อมูลเชิงลึกและรอบด้านเป็นฐานข้อมูลสาคัญ ด้วยการรวบรวมข้อมูลท้ังในเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ กาหนดกลุ่มเป้าหมาย เพื่อนาไปสู่การเข้าใจในสภาพการจัดการเรียนรู้ อันนาไปสู่พฤติกรรมการเรียนรู้ของ นักเรียนภายในชั้นเรียน ในขณะเดียวกันรูปแบบและวิธีการการวิจัยเชิงปฏิบัตินี้ได้ผ่านความเห็นชอบของ อาจารย์ทปี่ รึกษางานวจิ ยั ครปู ระจารายวชิ าสงั คมศกึ ษา โรงเรยี นคาแสนวทิ ยาสรรค์ 2. กลุ่มเป้าหมายในการวจิ ยั

การวจิ ัยนี้เป็นการวจิ ยั เชงิ ปฏิบัตกิ ารในชน้ั เรยี น ได้กาหนดให้มีกลมุ่ เปา้ หมายในการเข้าร่วม กระบวนการวิจัย โดยใช้วธิ กี ารกาหนดกลุม่ ตวั อย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) มรี ายละเอยี ดมดี งั น้ี 2.1. ประชากร ท่ีใชใ้ นการทาวจิ ยั คร้ังนีเ้ ป็นนกั เรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5/8 โรงเรียน คาแสนวทิ ยาสรรค์ ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 จานวน 27 คน 2.2. กล่มุ ตวั อย่าง ที่ใช้ในการวิจยั ครง้ั นเ้ี ป็นนกั เรยี นระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 5/8 โรงเรียน คาแสนวิทยาสรรค์ ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 จานวน 25 คน 3. ข้ันตอนการดาเนินการวจิ ัย การดาเนินการวิจัย ผู้วิจัยได้ออกแบบการวิจัยออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ การเตรียมการก่อนปฏิบัติการ วิจัย และการปฏิบัติการวิจัย โดยการปฏิบัติการวิจัยมี 4 ข้ันตอน ได้แก่ การวางแผนการปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อนผล ซงึ่ มีรายละเอยี ดดงั น้ี 3.1 การเตรยี ยมการก่อนปฏบิ ตั ิการวจิ ัย 3.1.1 การเตรียมข้อมูล ศึกษาเอกสารท่ีเกี่ยวข้องกับเรื่องที่ทาการวิจัย เพ่ือใช้เป็นกรอบความรู้ใน การวิจัย และนาไปสู่การออกแบบการวิจัย (Research Design) เพ่ือระบุคาถามวิจัยวัตถุประสงค์การวิจัย ขอบเขตการวิจัย วธิ กี ารในการวิจัย พร้อมเครื่องมือในการวจิ ยั ทช่ี ัดเจน 3.1.2 การเตรียมโรงเรียน การขออนุญาตผู้บริหารโรงเรียน เพ่ือแจงวัตถุประสงค์ในการทาการวิจัย เพื่องสร้างความเข้าใจและเห็นความสาคัญของการดาเนินการวิจัย อันนาไปสู่การสร้างความร่วมดาเนินการ วิจัยร่วมกับผู้วิจัย และกาหนดกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เพ่ือระบุกลุ่มเป้าหมายท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องและมี ความสาคญั ต่อการเขา้ มีสว่ นร่วมการวจิ ยั 3.1.3 การเตรียมคน ช้ีแจงทาความเข้าใจนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5/8 ได้มีส่วนร่วมในการ เก็บข้อมูล เพ่ืองสร้างความเข้าใจให้ตรงกันตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยการทาความเข้าใจข้อคาถามจาก ตลอดจนเทคนิคการสัมภาษณ์ 4. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 4.1 การวิจัยเอกสาร เป็นการศึกษาข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) เพ่ือทาความเข้าใจแนวคิด ทฤษฎแี ละผลงานวิจยั ท่ีเกยี่ วข้องกบั พฤติกรรมของนักเรยี น รปู แบบการจัดการเรียนการสอนโดยใชเ้ ทคโนโลยี เป็นฐาน และการวิจัยเชิงปฏิบัติการตามกระบวนการ PAOR นามาประมวลความรู้สู่การสร้างกรอบแนวคิด การกาหนดแนวทางการดาเนินงานวิจัย การสร้างเครื่องมือรวมถึงการใช้วิเคราะห์วิพากษ์ เช่ืองโยงข้อเท็จจริง จากการศึกษาในพื้นท่ี เพือ่ ใหผ้ ลการศกึ ษามหี ลักการทางวิชาการสนบั สนุนผลการศกึ ษาและมีความน่าเชอื่ ถอื 4.2 การวิจัยภาคสนาม ด้วยการสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participant Observation) การสังเกตแบบ ไม่มีส่วนร่วม (Non- Participant Observation) และการใช้แบบสอบถามในการรวบรวมข้อมูล (Questionnaire) ซ่ึงเป็นการศึกษาทั้งข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) และทุตอยภูมิ (Secondary Data) โดย มวี ิธีการรวบรวมขอ้ มลู แบ่งเป็น 4 สว่ น ดังนี้ 4.2.1 การศึกษาสภาพปญั หาในหอ้ งเรียน เป็นการสารวจข้อมูลสภาพปัญหาที่เกิดขน้ึ ภายในห้องเรยี น และการกาหนดกลุ่มหมายจากการสังเกต การสงั เกตแบบมีสว่ นรว่ ม การสงั เกตแบบไมม่ สี ว่ นรว่ ม

4.2.2 การศึกษาพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์/สมาร์ทโฟนของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5/8 โรงเรยี นคาแสนวิทยาสรรค์ เป็นศึกษาและรวบรวมเชิงลึก โดยผู้วิจัยทาการรวบรวมข้อมูลพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์/สมาร์ทโฟ นภ ายในช้ันเรียน ข อง นั กเ รียน ร ะดั บชั้น มัธ ยม ศึ ก ษ าปี ที่ 5/8 โ รงเรียนคาแส นวิท ยา ส ร ร ค์ โดยการใช้แบบสอบถามพฤติกรรมมการใช้โทรศัพท์ในชั้นเรียนของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5/8 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ 4.2.3 การศึกษาพฤติกรรมการใชโ้ ทรศัพท์/สมาร์ทโฟนในช้นั เรียนของนักเรยี นระดับชนั้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5/8 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ เป็นศกึ ษาและรวบรวมเชิงลึก โดยผู้วจิ ยั ทาการรวบรวมข้อมลู พฤติกรรมการใชโ้ ทรศัพท์/สมาร์ทโฟนข องนักเรียนระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5/8 โรงเรียนคาแสนวทิ ยาสรรค์ โดยการใช้แบบสอบถามพฤตกิ รรมการใช้ โทรศัพท์/สมาร์ทโฟนของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ อีกท้ังการสังเกต แบบมีส่วนรว่ ม การสงั เกตแบบไมม่ ีสว่ นร่วม 4.2.4 การศึกษาระดับความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนโดยผ่านรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้ เทคโนโลยีเป็นฐาน (Google for Education) ของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5/8 โรงเรียนคาแสน วทิ ยาสรรค์ เป็นศึกษาและรวบรวม โดยผู้วิจัยทาการรวบรวมข้อมูลระดับความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการ สอนโดยผ่านรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน (Google for Education) ของนักเรียนระดับช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 5/8 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ โดยการใช้แบบสอบถามวัดระดับความพึงพอใจต่อ การ จัดการเรียนการสอนโดยผ่านรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน (Google for Education) ของ นกั เรียนระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5/8 โรงเรยี นคาแสนวทิ ยาสรรค์ 5. เครื่องมือทใ่ี ช้ในการเก็บข้อมูลการวิจัย เคร่ืองมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลการวิจัยเรอ่ื ง การแก้ไขปัญหาพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ในช้ันเรียนโดย รูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน (Google classroom) ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรยี นคาแสนวทิ ยาสรรค์แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท 1. แบบสอบถามพฤติกรรมมการใช้โทรศัพท์ในชั้นเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5/8 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ โดยแบบสอบถามพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์/สมาร์ทโฟนของนักเรียนระดับช้ัน มธั ยมศึกษาปีที่ 5/8 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ โดยเกบ็ ขอ้ มลู ในประเดน็ ดงั น้ี 1.1. ข้อมูลทว่ั ไป ได้แก่ เพศ อายุ 1.2. ข้อมูลเก่ียวกับการใช้โทรศัพท์/สมาร์ทโฟน ได้แก่ ระยะเวลาการใช้งานโทรศัพท์/สมาร์ทโฟ นของนักเรียน ความสาคัญของโทรศัพท์/สมาร์ทโฟนของนักเรียน วัตถุประสงค์การใช้งาน โทรศัพท์/สมาร์ทโฟนของนักเรียน และอาการของนักเรียนหากนักเรียนขาดโทรศัพท์/ สมาร์ทโฟนในระยะเวลา 1 วนั 1.3. ขอ้ มลู พฤติกรรมการใชโ้ ทรศัพท์/สมารท์ โฟนภายในชน้ั เรียน ไดแ้ ก่ พฤติกรรมตา่ ง ๆ ทมี่ กั พบ เหน็ ในหอ้ งเรียน

2. แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนโดยผ่านรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยี เป็นฐาน (Google for Education) ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ โดยแบบแบบสอบถามระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยี ประกอบการเรียนรู้ โดยเกบ็ ขอ้ มูลในประเด็นดงั นี้ 2.1. ระดับความพึงพอใจของนกั เรียนต่อด้านการจดั การเรยี นการสอนผ่าน Google Classroom 2.2. ระดับความพึงพอใจของนกั เรยี นต่อด้านกิจกรรมการเรยี น 2.3. ระดบั ความพงึ พอใจของนกั เรียนต่อด้านประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั โ ด ย ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่ อ ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น โ ด ย ผ่ า น รู ป แ บ บ ก า ร เ รี ย น รู้ โ ด ย ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี เป็นฐาน (Google for Education) ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ 3 ดา้ น จานวน 20 ขอ้ ด้วยการวัดและแปรผลแบบคา่ เฉล่ีย 5 ระดับตามหลกั ของ Likert Scale คอื ค่าเฉลย่ี 4.51 - 5.00 ระดับความพึงพอใจ มากท่ีสดุ ค่าเฉลีย่ 3.51 - 4.50 ระดบั ความพึงพอใจ มาก คา่ เฉล่ีย 2.51 - 3.50 ระดบั ความพงึ พอใจ ปานกลาง คา่ เฉลี่ย 1.51 - 2.50 ระดับความพงึ พอใจ น้อย ค่าเฉลี่ย 1.01 - 1.50 ระดับความพงึ พอใจ น้อยท่สี ดุ 6. ขน้ั ตอนการสรา้ งและการใชเ้ คร่ืองมอื ทีใ่ ช้ในการเกบ็ ขอ้ มลู การวจิ ยั ในการวิจัยครั้งน้ี ทางผู้วิจัยได้ทาการสร้างเคร่ืองมือ 2 ชิ้นคือ พฤติกรรมมการใช้โทรศัพท์ในชั้นเรียน ของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5/8 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ โดยแบบสอบถามพฤติกรรมการใช้ โทรศพั ท์/สมาร์ทโฟนของนักเรียนระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 5/8 โรงเรยี นคาแสนวิทยาสรรค์ และแบบสอบถาม ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมการจัดการเรียนรู้โดยรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน (Google for Education) โดยมขี ้ันตอนการสรา้ ง ดงั น้ี 6.1. ศกึ ษาคน้ ควา้ ขอ้ มลู ทเี่ กย่ี วขอ้ งกับเรอ่ื งที่จะวิจัย 6.2. สร้างแบบสอบถามในการวิจัยโดยพิจารณาถึงแนวคิดให้ครอบคลมุ ถึงวัตถุประสงค์ของการศึกษา ในลักษณะคาถามปลายปิด (Close-ended Questions) และคาถามปลายเปิด (Open-ended Questions) โดยมเี กณฑก์ ารให้คะแนนคาตอบจานวน 5 ระดับ ตามมาตราสว่ นประเมนิ ค่า (Rating Scale) 6.1.2. นาแบบสอบถามดังกลา่ ว ไปให้ผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ทรงคุณวุฒิช่วยตรวจสอบ และใหข้ อ้ เสนอแนะ 6.1.3. ปรับปรุงแก้ไขตามขอ้ เสนอแนะ 6.1.4. นาแบบสอบถามดังกลา่ ว ไปให้ผู้เชี่ยวชาญหรือผทู้ รงคณุ วฒุ ิช่วยตรวจสอบ กอ่ นนาไปใชจ้ ริง 6.1.5 นาไปเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู กบั กลมุ่ ตวั อยา่ งท้ังหมด 7. การประมวลผลข้อมลู และการวเิ คราะหข์ ้อมลู การศกึ ษา ประมวลผล และการวิเคราะห์ข้อมูลในงานวจิ ยั เรื่อง การแก้ไขปญั หาพฤตกิ รรมการใช้โทรศัพท์/ สมาร์ทโฟนในช้ันเรียนโดยผ่านรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน (Google for Education) ของ นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ ตาบลนากลาง อาเภอนากลาง จังหวัด หนองบวั ลาภู แบ่งออกเปน็ 2 ส่วน ดงั นี้

1.1 การได้มาซง่ึ กลุ่มตวั อย่างในการศกึ ษา ประมวลผล และวิเคราะหข์ อ้ มูล จากกลุ่มประชากรคือ นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ จานวน 1 ห้องเรียน ซ่ึงภายในห้องเรียนน้ีมีจานวนนักเรียน 27 คน ดังนั้น นักเรียนจานวน 27 คนคือกลุ่มประชากรของ งานวิจยั ในช้ันเรยี นน้ี จากจานวนประชากร 27 คน นามาหาขนาดกลุ่มตัวอย่างท่ีเหมาะสมตามแนวคิดของสูตรของเครซี่ และมอรแกน (ธรี วุฒิ เอกะกุล,2549) ดังสมการตอ่ ไปน้ี n= x2Nρ(1-ρ) e2(N-1)+x2p(1-ρ) เม่อื n = ขนาดของกลุ่มตัวอยา่ งที่เหมาะสม N = ขนาดประชากร e = ระดับความคลาดเคล่ือนของการสุ่มตวั อย่างทย่ี อมรับได้ x2 = ค่าไคสแควร์ที่ df เท่ากบั 1 และระดับความเชื่อมั่น 95% (x2= 3.841) P = สัดสว่ นของลักษณะที่สนใจในประชากร (ถ้าไมท่ ราบให้กาหนด p = 0.5) จากสมการข้างต้นสามารถแสดงวิธีทาการคานวณกลุ่มตัวอย่างที่เหมาะสมในงานวิ จัยครั้งน้ี ดงั รายละเอยี ดตอ่ ไปนี้ วธิ ีทา จากข้อมลู ท่ีลงพ้นื ทสี่ ารวจและเกบ็ ขอ้ มลู พบว่า เมือ่ n = ขนาดของกลุ่มตัวอย่างทเ่ี หมาะสม e = 0.05 x2 = 3.841 N = 27 P = 0.5 แทนคา่ ลงในสตู รของเครซ่แี ละมอรแกน 3.841×27×0.5×(1-0.5) = ((0.05×0.05)×(27-1))+(3.841×0.5×(1-0.5) = 3.841×27×0.5×0.5 (0.0025×26)+(3.841×0.5×0.5) = 25.93 0.07 ±0.96 = 25.93 1.03 ∴n= 25.1747572815534 ปรบั ทศนิยมใหเ้ หลือ 2 ตาแหนง่ ดงั น้ี n ≈ 25.17 สรปุ จากจานวนประชากรนักเรียนจานวน 27 คน ขนาดกลุ่มตวั อยา่ งทีเ่ หมาะกค็ ือ 25 คน

1.2 การศึกษา ประมวลผล และวิเคราะหข์ อ้ มลู 1. ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามพฤติกรรมมการใช้โทรศัพท์ในช้ันเรียนของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 5/8 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ นามาแยกแยะเนื้อหาสาระเป็นกลุ่มข้อมูล(Content Analysis) ตามโครงสร้างเน้ือหาที่ได้กาหนดไว้ และนามาพรรณนาความบรรยายสรุปอย่างเป็นระเบียบ โดยใช้ ค่าความถ่ี(Frequency) และร้อยละ(Percentage) ประมวลผลข้อมูลด้วยโปรแกรม IBM SPSS Statistics Base 24 โดยมรี ายละเอยี ดการใชส้ ถิตพิ รรณนา (Descriptive Statistics) 2. ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนโดยผ่านรูปแบบการ เรียนรโู้ ดยใช้เทคโนโลยีเปน็ ฐาน (Google for Education) ของนกั เรยี นระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 5/8 โรงเรยี น คาแสนวิทยาสรรค์ นาข้อมูลมาตรวจสอบความสมบูรณ์และความครบถ้วนของข้อมูล ตรวจให้คะแนน และทา การบันทกึ ขอ้ มูลลงในเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ ประมวลผลขอ้ มลู ดว้ ยโปรแกรม IBM SPSS Statistics Base 24 โดย มีรายละเอยี ดการใชส้ ถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) ระดับความพึงพอใจของนักเรยี นการจัดการเรียน การสอนในช้ันเรียน ได้แก่ ระดับความพึงพอใจของนักเรียนต่อวิทยากร/ผู้สอน ระดับความพึงพอใจของ นักเรยี นต่อสถานทแ่ี ละระยะเวลา และระดับความพงึ พอใจของนักเรียนต่อสื่อการเรียนการสอน โดยใช้ความถี่ (Frequency) ร้อยละ(Percentage) ค่าเฉลี่ย(Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) สาหรับเกณฑ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ ด้วยการวัดเจตคติตามเทคนิคของของลิเคิร์ท (Likert technique) หรือ แบบสอบถามมาตราสว่ นประมาณค่า 5 ระดับของลเิ คริ ท์ สเกล(Likert type scale) 3. ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามพฤติกรรมมการใช้โทรศัพท์ในช้ันเรียนของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5/8 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ และแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการจัดการเรยี นการสอน โดยผ่านรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน (Google for Education) ของนักเรียนระดับช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 5/8 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ นามาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใชส้ มาร์ท โฟนในชน้ั เรยี นและผลการเรียนของนกั เรียนใช้การทดสอบไคสแควร์ (Chi-Square) และทาการบนั ทกึ ข้อมูลลง ในเคร่อื งคอมพิวเตอร์ ประมวลผลขอ้ มูลด้วยโปรแกรม IBM SPSS Statistics Base 24 8. แผนการดาเนินการวิจัย การวิจยั นม้ี แี ผนการดาเนินการวิจยั ตงั้ แต่เดือน ตุลาคม 2563 – เมษายน 2564 รวมเปน็ ระยะเวลา 6 เดือน สรุประยะเวลาแต่ละขั้นตอนการทางานออกเป็นชว่ งเวลา 3 ช่วง ดงั น้ี ชว่ งท่ี 1 หมายถึง ช่วงกอ่ นการลงมือปฏิบตั ิดาเนินการวิจยั ตั้งแต่เดือนพฤศจกิ ายน 2563 ช่วงที่ 2 หมายถึง ช่วงลงพืน้ ทเี่ ก็บขอ้ มลู การวิจยั ตง้ั แต่เดือนธันวาคม 2563 – มกราคม 2564 ช่วงที่ 3 หมายถงึ ช่วงการเกบ็ รวบรวมข้อมลู วเิ คราะหข์ ้อมูล จัดทารปู เล่ม นาเสนอ ตง้ั แตม่ กราคม – มีนาคม 2564

ตารางที่ 1 ตารางแสดงแผนการดาเนินการการทาวจิ ยั ลาดบั ที่ รายการปฏิบัตงิ าน ระยะเวลาการดาเนินงาน(เดอื น) พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. ชว่ งท่ี 1 ชว่ งก่อนการลงมือปฏิบัตดิ าเนนิ การวิจัย 1 สารวจปัญหาพฤตกิ รรมของนักเรียนภายในชนั้ เรยี น จากการรวี วิ ชวี ิตนักเรียนของผูว้ ิจยั 2 ออกแบบงานวิจยั และศึกษาเอกสารและงานวจิ ัย ทเ่ี กีย่ วข้อง 3 นาเสนอหัวขอ้ งานวจิ ยั และเสนอรา่ งงานวจิ ยั กบั อาจารย์ที่ปรึกษางานวิจยั 4 จัดทาหนังสือราชการและติดต่อประสานงาน กับสถานศึกษา 5 วางแผนการจดั การเรียนการสอนในช้ันเรียน ระหว่างผู้วิจยั และคุณครทู ่ีปรึกษางานวิจยั รว่ ม ช่วงที่ 2 ช่วงลงพ้นื ท่เี ก็บขอ้ มูลการวจิ ยั 6 จดั ทาส่ือการเรยี นการสอน และทาเคร่ืองมือที่ใช้ ในการเกบ็ ขอ้ มลู วจิ ัย 7 ลงพน้ื ท่ีเก็บข้อมูลสารวจพฤติกรรมาการใช้ โทรศพั ท/์ สมาร์ทโฟนของนักเรียน นาขอ้ มลู ท่ไี ด้จากการเกบ็ ข้อมูล มาวิเคราะห์ 8 และหาแนวทางการจดั การเรียนการสอนในชั้น เรียน

ตารางท่ี 1 ตารางแสดงแผนการดาเนินการการทาวิจยั (ต่อ) ลาดับท่ี รายการปฏบิ ตั งิ าน ระยะเวลาการดาเนนิ งาน(เดอื น) พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. จัดการเรยี นการสอนในรายวิชา สงั คมศึกษา 9 ในระดับช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 และสงั เกต พฤติกรรมของผู้เรียน ระหว่างการจัดการเรียน การสอน นาข้อมลู ทไี่ ด้จากการเกบ็ ข้อมูล สังเกตแบบมี 10 สว่ นรวม และไม่มีส่วนร่วม มาวเิ คราะห์ และ สะท้อนปัญหา อีกทัง้ หาแนวทางการแก้ไขปัญหา จัดการเรียนการสอนในรายวิชา สงั คมศึกษา ในระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 5 และสังเกต 11 พฤติกรรมของผเู้ รยี น ระหวา่ งการจัดการเรียน การสอน รวมทั้งให้ผู้เรียนตอบแบบสอบถามวดั ระดบั ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ในช้นั เรียนดว้ ย ช่วงที่ 3 ช่วงการเก็บรวบรวมขอ้ มูล วเิ คราะห์ข้อมูล จดั ทารูปเล่ม นาเสนอ นาขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากการเก็บข้อมูล สังเกตแบบมี สว่ นรวม และไม่มสี ว่ นรว่ ม การสัมภาษณแ์ บบ เดยี่ ว และแบบกลุ่ม รวมท้ังข้อมูลจาก 7 แบบสอบถามวัดระดับความพึงพอใจตอ่ การ จัดการเรียนรูใ้ นชนั้ เรยี นมาวิเคราะห์ และ สะทอ้ นปัญหา อีกท้ังหาแนวทางการแกไ้ ขปัญหา รวมทัง้ จดั ทารปู เลม่ 8 สง่ รปู เล่มอาจารย์ท่ีปรึกษางานวจิ ัย เพอ่ื ตรวจสอบความถูกต้อง 9 ปรับปรงุ แก้ไขรปู เล่มงานวจิ ัย ตามคาแนะนาและ คาชี้แนะของอาจารยท์ ี่ปรึกษางานวิจัย

บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล การวิจัยในชั้นเรียนเชิงปฏิบัติการเร่ือง การแก้ไขปัญหาพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์/สมาร์ทโฟนในช้ัน เรียนโดยผ่านรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน (Google for Education) ของนักเรียนระดับช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 5/8 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ ตาบลนากลาง อาเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลาภู ผู้วิจัยได้ จาแนกผลการศกึ ษาและวิเคราะหข์ อ้ มูลตามลาดับ ดงั นี้ 1. ผลการศกึ ษาและการวิเคราะห์ขอ้ มูล 1.1. ผลการศึกษาด้านพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์/สมาร์ทโฟนภายในช้ันเรียนของนักเรียน ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 5/8 โรงเรยี นคาแสนวิทยาสรรค์ 1.2. ผลความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนโดยผ่านรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้ เทคโนโลยเี ปน็ ฐาน (Google for Education) ของนักเรียนระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 โรงเรียน คาแสนวทิ ยาสรรค์ 1.3. ผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์/สมาร์ทโฟนในชั้นเรียน และผลการเรยี นของนกั เรยี นระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 5/8 โรงเรยี นคาแสนวทิ ยาสรรค์ 1. ผลการศึกษาและการวิเคราะหข์ ้อมูล 1.1.1. ผลการศึกษาดา้ นพฤตกิ รรมการใชโ้ ทรศัพท/์ สมารท์ โฟนของนักเรียนระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษา ปที ่ี 5/8 โรงเรียนคาแสนวทิ ยาสรรค์ จากการลงพ้ืนที่ภาคสนาม ผู้วิจัยได้ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลพฤติกรรมการภายในชั้นเรียน ของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ จากกลุ่มตัวอย่างจานวน 25 คน รายละเลยี ดดงั นี้ ตารางที่ 2 ตารางแสดงขอ้ มูลทวั่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม (เพศ) จากกลุ่มตัวอย่างจานวน 25 คน ลาดับที่ เพศ ความถี่ (F) รอ้ ยละ (%) 1 เพศชาย 8 32 2 เพศหญงิ 17 68 รวม 25 100 จากตารางท่ี 2 แสดงว่า กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามจานาน 25 คน เป็นเพศชาย จานวน 8 คน คิดเปน็ ร้อยละ 32 เปน็ เพศหญงิ จานวน 17 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 68 ตารางท่ี 3 ตารางแสดงข้อมูลทว่ั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม (อายุ) จากกลุ่มตัวอย่างจานวน 25 คน ลาดับที่ อายุ ความถี่ (F) รอ้ ยละ (%) 1 อายุ 16 ปี 6 24 2 อายุ 17 ปี 19 76 รวม 25 100 จากตารางท่ี 3 แสดงวา่ กลุ่มตวั อยา่ งทตี่ อบแบบสอบถามจานาน 25 คน เปน็ อายุ 16 ปีจานวน 6 คน คดิ เป็นร้อยละ 24 เป็นอายุ 16 ปี จานวน 19 คนคิดเปน็ รอ้ ยละ 76

ตารางท่ี 4 ตารางแสดงข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม (นักเรียนใช้โทรศัพท์มือถือช่วงเวลาใด มากทีส่ ุด) ของกลุ่มตัวอย่างจานวน 25 คน ลาดับที่ ชว่ งเวลาท่ใี ช้ ความถ่ี (F) ร้อยละ(%) 1 กอ่ นไปเรียน 00 2 เวลาเรยี น 00 3 เวลาพกั เท่ยี ง 4 16 4 เวลาเลิกเรียน 3 12 5 เวลากลางคนื 12 48 6 ตลอดเวลา 6 24 7 ไม่แนน่ อน 00 รวม 25 100.0 จากตารางท่ี 4 แสดงวา่ กลมุ่ ตวั อย่างใช้โทรศพั ท์มอื ถือมากที่สุดช่วงเวลากลางคืนเป็นอนั ดบั 1 จานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 48 และใช้โทรศพั ทม์ ือถอื ตลอดเวลาเปน็ อันดบั 2 จานวน 6 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 24 และ ใช้โทรศัพท์มือถือช่วงเวลาพักเท่ียงเป็นอันดับ 3 จานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 16 และใช้โทรศัพท์มือถือ ช่วงเวลาเลิกเรยี นเปน็ อนั ดับ 4 จานวน 3 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 12 ตารางที่ 5 ตารางแสดงข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม (นักเรียนใช้โทรศัพท์มือถือนานเท่าใดใน หนง่ึ วัน) ของกลุม่ ตัวอยา่ งจานวน 25 คน ลาดับที่ ระยะเวลาการใช้งาน ความถ่ี (F) รอ้ ยละ (%) 1 นอ้ ยกว่า 1 ชัว่ โมง 14 2 1 - 2 ชั่วโมง 00 3 2 - 3 ชัว่ โมง 6 24 4 4 - 5 ชว่ั โมง 00 5 6 - 7 ชวั่ โมง 9 36 6 มากกวา่ 7 ช่วั โมง 9 36 รวม 25 100 จากตารางที่ 5 พบวา่ กลมุ่ ตัวอย่างใชโ้ ทรศัพท์มือถือนาน 6 - 7 ชว่ั โมงในหนงึ่ วันจานวน 9 คน คดิ เป็น ร้อยละ 36 และมากกว่า 7 ชั่วโมงในหนึ่งวัน จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 36 เป็นอันดับ 1 และใช้ 2 - 3 ชั่วโมงในหนึ่งวัน จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 24 เป็นอันดับ 2 และใช้ 2 - 3 ชั่วโมงในหนึ่งวัน จานวน 6 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 24 เป็นอนั ดบั 3

ตารางท่ี 6 ตารางแสดงข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม (โทรศัพท์มือถือสาคัญในชีวิตประจาวัน อย่างไร) ของกลุม่ ตัวอยา่ งจานวน 25 คน ลาดับท่ี ระดบั ความสาคญั ความถ่ี (F) คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1 สาคญั มาก 19 76 2 ปานกลาง 6 24 3 ไมส่ าคัญ 00 รวม 25 100 จากตารางท่ี 6 พบว่า กลุ่มตัวอย่างให้ความสาคัญกับโทรศัพท์มือถือในชีวิตประจาวันในระดับมาก จานวน 19 คน คิดเปน็ ร้อยละ 76 และให้ความสาคญั ในระดบั ปานกลาง จานวน 6 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 24 ตารางที่ 7 ตารางแสดงข้อมูลทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม (นักเรยี นเคยแอบเลน่ โทรศัพท์ในชั้นเรียน ระหวา่ งท่ีครจู ดั การเรยี นการสอนหรือไม)่ ของกลมุ่ ตัวอยา่ งจานวน 25 คน ลาดบั ที่ พฤติกรรม ความถ่ี (F) คิดเปน็ ร้อยละ 1 เคยแอบเล่น 25 100 2 ไม่เคยแอบเล่น 00 รวม 25 100 จากตารางที่ 7 พบว่า กลุ่มตัวอย่างเคยแอบเล่นโทรศัพท์ในช้ันเรียนระหว่างท่ีครูจัดการเรยี นการสอน จานวน 25 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100 ตารางที่ 8 ตารางแสดงข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม (ระยะเวลาการแอบใช้สมาร์ทโฟนในช้ัน เรยี น) ของกลมุ่ ตวั อย่างจานวน 25 คน ลาดับท่ี พฤตกิ รรม ความถี่ (F) คดิ เป็นร้อยละ 1 มากกว่าคร่ึงหน่งึ ของคาบเรียน 9 36 2 คร่งึ หนงึ่ ของคาบเรยี น 28 3 นอ้ ยกว่าครึง่ หน่ึงของคาบเรียน 14 56 รวม 25 100 จากตารางที่ 8 พบวา่ กลุ่มตัวอย่าง 14 คนทเ่ี คยแอบเลน่ โทรศัพทใ์ นชัน้ เรยี นระหวา่ งทีค่ รูจดั การเรียน การสอนน้อยกว่าครึ่งหนึ่งของคาบเรียนคิดเป็นร้อยละ 56 กลุ่มตัวอย่าง 9 คน ใช้เวลามากกว่าคร่ึงหน่ึงของ คาบเรียนแอบเลน่ โทรศัพท์ในชน้ั เรยี นคิดเป็นรอ้ ยละ 36 และกลมุ่ ตวั อย่าง 2 คน ใช้เวลาคร่งึ หนึ่งของคาบเรยี น แอบเลน่ โทรศัพท์ในชัน้ เรียนคิดเป็นร้อยละ 8

ตารางที่ 9 ตารางแสดงขอ้ มูลทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม (วัตถปุ ระสงคห์ ลกั ท่แี อบใชส้ มารท์ โฟนใน ชั้นเรยี น) ของกลุม่ ตวั อยา่ งจานวน 25 คน ลาดับที่ พฤติกรรม ความถี่ (F) คดิ เปน็ ร้อยละ 1 โทรเขา้ -ออก 5 20 2 รบั - ส่งอเี มล์ 28 3 ใช้ส่ือสงั คมออนไลน์ (เฟซบุ๊ก, ไลน์, ไอจ)ี 11 44 4 เล่นอินเทอร์เน็ต 6 24 5 ฟงั เพลง/ชมภาพยนตร์หรอื โทรทศั น์ 0 0 6 เลน่ เกม 14 รวม 25 100 จากตารางท่ี 9 พบว่า จากกลุ่มตัวอย่าง 25 คน ใช้โทรศัพท์/สมาร์โฟนเพ่ือใช้ส่ือโซเซียล จานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 44 เป็นอันดับ 1 ต่อมากลุ่มตัวอย่าง 6 คน ใช้โทรศัพท์/สมาร์โฟน เพื่อใช้เล่น อินเทอร์เน็ต จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 24 เป็นอับดับ 2 และกลุ่มตัวอย่าง 5 คน ใช้โทรศัพท์/สมาร์โฟน เพื่อใช้โทรเข้า-ออก คดิ เป็นรอ้ ยละ 20 เป็นอนั ดับ 3 สรุปผลการสารวจวัตถุประสงค์การใช้โทรศัพท์/สมาร์ทโฟน จากจานวนกลุ่มเป้าหมาย จานวน 25 คน วัตถุประสงค์ของการใชโ้ ทรศัพท์/สมาร์ทของนักเรยี นระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5/8โรงเรียนคา แสวทิ ยาสรรค์ คอื ใช้เลน่ สอื่ โซเซียล (มีจานวน 11 คน คิดเปน็ ร้อยละ 44 จากกลมุ่ ตัวอย่างทั้งหมด) ตารางท่ี 10 ตารางแสดงข้อมลู พฤตกิ รรมการใช้โทรศัพท์มือถือ (การใชโ้ ทรศัพท์มือถือนัดหมายบุคคล หรือนัดหมายวัน เวลา สถานท่ี ที่แน่ชัดดาเนิน กิจธุระ หรือการใช้ โทรศัพท์มือถือพูดคุยทักทายเพ่ือนฝูงญาติ สนทิ ) ของกลมุ่ ตวั อยา่ งจานวน 25 คน ลาดับท่ี พฤติกรรม ความถ่ี (F) คิดเป็นร้อยละ 1 บ่อยมาก 5 20 2 บ่อย 9 36 3 บางครง้ั 11 44 4 ไมเ่ คย 00 รวม 25 100 จากตารางท่ี 10 แสดงว่า กลุ่มตัวอย่างใช้โทรศัพท์มือถือนัดหมายบุคคล หรือนัดหมายวัน เวลา สถานที่ ที่แน่ชัดดาเนิน กิจธุระ หรือการใช้ โทรศัพท์มือถือพูดคุยทักทายเพื่อนฝูงญาติสนิทบางครั้งเป็นอันดับ 1 จานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 44 และบ่อยเป็นอันดับ 2 จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 36 และบ่อยมาก จานวน 5 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 20

ตารางท่ี 11 ตารางแสดงข้อมูลพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือ (การใช้โทรศัพท์มือถือเพื่อถา่ ยรูปถ่าย คลปิ วดิ ีโอ อดั เสยี ง) ของกลมุ่ ตัวอยา่ งจานวน 25 คน ลาดับท่ี พฤติกรรม ความถ่ี (F) คิดเป็นร้อยละ 1 บอ่ ยมาก 7 28 2 บ่อย 13 52 3 บางครง้ั 3 12 4 ไมเ่ คย 28 รวม 25 100 จากตารางที่ 11 แสดงว่า กลุ่มตัวอย่างใช้โทรศัพท์มือถือเพ่ือถ่ายรูปถ่ายคลิปวิดีโอ อัดเสียงบ่อย จานวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 52 และใชโ้ ทรศพั ท์มอื ถือเพ่ือถ่ายรปู ถา่ ยคลิปวิดโี อ อัดเสียงบ่อยมากเปน็ อันดับ 2 จานวน 7 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 28 และบางครง้ั จานวน 3 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 12 ตารางที่ 12 ตารางแสดงข้อมูลพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือ (การใช้โทรศัพท์เก่ียวกับการศึกษาหา ความร้ตู า่ ง ๆ เชน่ แปลคาศัพทภ์ าษาอังกฤษหรอื คดิ เลข) ของกล่มุ ตัวอยา่ งจานวน 25 คน ลาดบั ที่ พฤติกรรม ความถ่ี (F) คิดเป็นร้อยละ 1 บ่อยมาก 12 48 2 บอ่ ย 7 28 3 บางคร้ัง 6 24 4 ไม่เคย 00 รวม 25 100 จากตารางท่ี 12 แสดงว่า กลุ่มตัวอย่างใช้โทรศัพท์เกี่ยวกับการศึกษาหาความรู้ต่าง ๆ เช่น แปล คาศพั ทภ์ าษาองั กฤษหรอื คดิ เลขบอ่ ยมาก จานวน 13 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 48 และใช้โทรศพั ทเ์ ก่ยี วกบั การศึกษา หาความรูต้ ่าง ๆ บอ่ ยเป็นอนั ดับ 2 จานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 28 และบางครัง้ จานวน 6 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 24

ตารางท่ี 13 ตารางแสดงข้อมลู พฤติกรรมการใชโ้ ทรศัพท์มือถือ (การใช้โทรศพั ท์มือถือเพื่อเลน่ Social network เชน่ Facebook, twitter, Instagram, line, what’s app ฯลฯ) ของกลมุ่ ตัวอย่างจานวน 25 คน ลาดับท่ี พฤติกรรม ความถี่ (F) คิดเปน็ ร้อยละ 1 บ่อยมาก 11 44 2 บ่อย 11 44 3 บางครงั้ 28 4 ไมเ่ คย 14 รวม 25 100 จ า ก ต า ร า ง ที่ 1 3 แ ส ด ง ว่ า ก ลุ่ ม ตั ว อ ย่ า ง ใ ช้ โ ท ร ศั พ ท์ มื อ ถื อ เ พื่ อ เ ล่ น Social network เช่น Facebook, twitter, Instagram, line, what’s app ฯลฯบ่อยมาก และบ่อยเป็นอันดับ 1 จานวน 11 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 44 และบางครง้ั เปน็ อนั ดบั 3 จานวน 2 คน คดิ เป็นร้อยละ 8 ตารางที่ 14 ตารางแสดงข้อมูลพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือ (การใช้โทรศัพท์มือถือเพื่อ Chat พูดคยุ กบั เพ่ือน แฟน ฯลฯ) ของกลมุ่ ตัวอยา่ งจานวน 25 คน ลาดบั ท่ี พฤตกิ รรม ความถี่ (F) คิดเป็นรอ้ ยละ 1 บอ่ ยมาก 5 20 2 บ่อย 14 56 3 บางคร้งั 5 20 4 ไม่เคย 14 รวม 25 100 จากตารางท่ี 14 แสดงว่า กลุ่มตัวอย่างใช้โทรศัพท์มือถือเพื่อ Chat พูดคุยกับเพ่ือน แฟน ฯลฯ บ่อย เปน็ อันดบั 1 จานวน 14 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 56 บอ่ ยมากและบางครง้ั เปน็ อันดับ 2 จานวน 10 คน คดิ เปน็ รอ้ ย ละ 20 ตารางท่ี 15 ตารางแสดงขอ้ มลู พฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือ (การใช้โทรศพั ท์มือถือเพ่ือเช่ือมต่อกับ อนิ เทอร์เนต็ ) ของกลมุ่ ตวั อย่างจานวน 25 คน ลาดบั ท่ี พฤตกิ รรม ความถ่ี (F) คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1 บ่อยมาก 11 44 2 บอ่ ย 8 32 3 บางคร้ัง 6 24 4 ไม่เคย 00 รวม 25 100 จากตารางที่ 15 แสดงว่า กลุ่มตัวอย่างใช้โทรศัพท์มือถือเพื่อเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตบ่อยมากเป็น อันดับ 1 จานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 44 และบ่อยเป็นอันดับ 2 จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 32 และ บางครั้ง จานวน 6 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 24

ตารางท่ี 16 ตารางแสดงข้อมลู พฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือ (การใช้โทรศัพท์มือถือในการรับ – สง่ Email) ของกลมุ่ ตัวอยา่ งจานวน 25 คน ลาดบั ที่ พฤติกรรม ความถี่ (F) คิดเปน็ ร้อยละ 1 บ่อยมาก 4 16 2 บ่อย 9 36 3 บางครง้ั 11 44 4 ไม่เคย 14 รวม 25 100 จากตารางที่ 16 แสดงว่า กลุ่มตัวอย่างใช้โทรศัพท์มือถือในการรับ – ส่ง Emailบางคร้ังเป็นอันดับ 1 จานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 44 และบ่อยเป็นอันดับ 2 จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 36 และบ่อยมาก จานวน 4 คน คิดเปน็ ร้อยละ 16 ตารางท่ี 17 ตารางแสดงข้อมูลพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือ (การใช้แอพพลิเคชั่นในโทรศัพท์ใน การโทรฟรี & VDO Call) ของกลมุ่ ตวั อย่างจานวน 25 คน ลาดับที่ พฤติกรรม ความถี่ (F) คิดเป็นร้อยละ 1 บ่อยมาก 6 24 2 บ่อย 6 24 3 บางคร้งั 11 44 4 ไม่เคย 28 รวม 25 100 จากตารางท่ี 17 แสดงว่า กลุ่มตัวอย่างใช้แอพพลิเคชั่นในโทรศัพท์ในการโทรฟรี & VDO Call บางครงั้ เป็นอันดับ 1 จานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 44 และบ่อย และบอ่ ยมากเป็นอนั ดบั 2 จานวน 6 คน คดิ เป็นร้อยละ 24

ตารางที่ 18 ตารางแสดงข้อมูลพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือ (การใช้โทรศัพท์มือถือในการเก็บ ไฟล์ขอ้ มลู สาคญั ตา่ ง ๆ) ของกลมุ่ ตวั อยา่ งจานวน 25 คน ลาดบั ท่ี พฤตกิ รรม ความถี่ (F) คิดเป็นร้อยละ 1 บ่อยมาก 9 36 2 บ่อย 7 28 3 บางครัง้ 9 36 4 ไมเ่ คย 00 รวม 25 100 จากตารางท่ี 18 แสดงว่า กลุ่มตัวอย่างใช้โทรศัพท์มือถือในการเก็บไฟล์ข้อมูลสาคัญต่าง ๆบ่อยมาก และบ่อยเป็นอันดับ 1 จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 36 และบ่อยเป็นอันดับ 2 จานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 28 ตารางที่ 19 ตารางแสดงข้อมูลพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือ (การใช้โทรศัพท์มือถือเพ่ือโหลด แอพพลิเคช่ันมาเล่น คลายเครียด) ของกล่มุ ตัวอยา่ งจานวน 25 คน ลาดบั ท่ี พฤติกรรม ความถี่ (F) คดิ เปน็ ร้อยละ 1 บอ่ ยมาก 6 24 2 บ่อย 9 36 3 บางครง้ั 9 36 4 ไมเ่ คย 14 รวม 25 100 จากตารางท่ี 19 แสดงว่า กลุ่มตัวอย่างใช้โทรศัพท์มือถือเพ่ือโหลดแอพพลิเคช่ันมาเล่น คลายเครียด บ่อย และบางครั้งเป็นอันดับ 1 จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 36 และบ่อยมากเป็นอันดับ 2 จานวน 6 คน คิด เปน็ ร้อยละ 24 ตารางที่ 20 ตารางแสดงข้อมูลพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือในช้ันเรียน (การใช้สมาร์ทโฟนเพื่อ ค้นควา้ ขอ้ มูลเพอ่ื ทากิจกรรมที่ครูมอบหมาย) ของกลมุ่ ตวั อยา่ งจานวน 25 คน ลาดับที่ พฤติกรรม ความถี่ (F) คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1 บอ่ ยมาก 9 36 2 บ่อย 12 48 3 บางครง้ั 4 16 4 ไมเ่ คย 00 รวม 25 100 จากตารางท่ี 20 แสดงวา่ กลมุ่ ตวั อย่างใชส้ มาร์ทโฟนเพ่ือค้นควา้ ข้อมลู เพ่ือทากจิ กรรมท่ีครูมอบหมาย บ่อยเป็นอันดับ 1 จานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 48 และบ่อยมากเป็นอันดับ 2 จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 36 และบางครง้ั จานวน 4 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 16

ตารางที่ 21 ตารางแสดงข้อมูลพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือในชั้นเรียน (การใช้สมาร์ทโฟนเพ่ือ คน้ หาเน้ือหาที่ไมเ่ ข้าใจเพม่ิ เติม) ของกลุ่มตวั อยา่ งจานวน 25 คน ลาดับท่ี พฤตกิ รรม ความถ่ี (F) คิดเป็นรอ้ ยละ 1 บอ่ ยมาก 8 32 2 บ่อย 12 48 3 บางครง้ั 5 20 4 ไมเ่ คย 00 รวม 25 100 จากตารางท่ี 21 แสดงว่า กลุ่มตัวอย่างใช้สมาร์ทโฟนเพื่อค้นหาเนื้อหาท่ีไม่เข้าใจเพิ่มเติมบ่อยเป็น อันดับ 1 จานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 48 และบ่อยเป็นอันดับ 2 จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 32 และ บางครง้ั จานวน 5 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 20 ตารางที่ 22 ตารางแสดงข้อมูลพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือในช้ันเรียน (การใช้สมาร์ทโฟนถ่ายรูป PowerPoint ของครแู ทนการจดบนั ทกึ ) ของกลุ่มตัวอยา่ งจานวน 25 คน ลาดบั ที่ พฤติกรรม ความถ่ี (F) คิดเปน็ รอ้ ยละ 1 บ่อยมาก 3 12 2 บ่อย 13 52 3 บางครงั้ 8 32 4 ไม่เคย 14 รวม 25 100 จากตารางที่ 22 แสดงว่า กลุ่มตัวอย่างใช้สมาร์ทโฟนถ่ายรูป PowerPoint ของครูแทน การจดบนั ทึกบ่อยเป็นอันดบั 1 จานวน 13 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 52 และบางครง้ั เป็นอันดับ 2 จานวน 8 คน คดิ เป็นร้อยละ 32 และบ่อยจานวน 3 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 12 ตารางที่ 23 ตารางแสดงข้อมูลพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือในชั้นเรียน (การใช้สมาร์ทโฟนเพื่อ ตดิ ตอ่ /ตามเพือ่ นใหม้ าเข้าเรยี น) ของกลมุ่ ตัวอย่างจานวน 25 คน ลาดับท่ี พฤติกรรม ความถี่ (F) คิดเปน็ รอ้ ยละ 1 บ่อยมาก 11 44 2 บอ่ ย 6 24 3 บางครั้ง 8 32 4 ไมเ่ คย 00 รวม 25 100

จากตารางที่ 23 แสดงว่า กลุ่มตัวอยา่ งใช้สมาร์ทโฟนเพื่อตดิ ต่อ/ตามเพื่อนให้มาเขา้ เรียนบ่อยมากเป็น อันดับ 1 จานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 44 และบางคร้ังเป็นอันดับ 2 จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 32 และ บ่อยจานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 24 1.2 ผลการศึกษาแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนโดยผ่านรูปแบบการ เรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน (Google for Education) ของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5/8 โรงเรยี นคาแสนวิทยาสรรค์ จากการลงพ้ืนท่ีภาคสนาม ผู้วิจัยได้ทาการเก็บรวบรวมข้อมูล ความพึงพอใจต่อการจัด การเรยี นการสอนโดยผ่านรปู แบบการเรียนรู้โดยใชเ้ ทคโนโลยีเปน็ ฐาน (Google for Education) ของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ จากกลุ่มตัวอย่าง จานวน 25 คน รายละเลียดดังน้ี ตารางที่ 24 ตารางแสดงข้อมูลผลการประเมินความพงึ พอใจของนักเรยี นดา้ นการจดั การเรียนการ สอนผา่ น Google Classroom รายการประเมนิ ระดบั ประสิทธภิ าพ คา่ เฉล่ีย S.D. ระดับ 1 ช่วยใหบ้ รรลเุ ป้าหมายของการเรียน 4.52 0.653 มากทส่ี ดุ 2 ช่วยสง่ เสริมทกั ษะการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง 4.36 0.810 มาก 3 แบบฝึกหัดหลากหลายและสอดคล้องกับบทเรียน 4.24 0.779 มาก 4 ช่วยให้มีความกระตือรือรน้ ในการเรียนมากขึน้ 3.48 0.714 นอ้ ย 5 ชว่ ยใหป้ ระหยัดเวลาในการเรียน 4.04 0.841 มาก ผลการประเมนิ โดยรวม 4.13 0.759 มาก จากตารางที่ 24 แสดงผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียน ด้านท่ี 1 ดา้ นการจัดการเรยี นการ สอนผา่ น Google Classroom ในภาพรวมพบว่านักเรยี นมีความพึงพอใจอยู่ในระดบั มาก มีค่าเฉลยี่ 4.13 และเม่ือพจิ ารณาเป็นรายข้อ พบว่า นกั เรยี นมีความพงึ พอใจในระดบั มากท่ีสดุ 1 ข้อ ได้แก่ ชว่ ยให้บรรลุ เป้าหมายของการเรยี น มคี ่าเฉล่ีย 4.52 สว่ นขอ้ อน่ื ๆ อยใู่ นระดับมาก ได้แก่ ชว่ ยสง่ เสริมทกั ษะการเรียนรู้ด้วย ตนเอง มีค่าเฉลย่ี 4.36 แบบฝึกหดั หลากหลายและสอดคล้องกับบทเรยี น มีค่าเฉลย่ี 4.24 ชว่ ยใหป้ ระหยัด เวลาในการเรียน มคี า่ เฉลีย่ 4.04 และอยูใ่ นระดับน้อย คือ ช่วยให้มคี วามกระตือรือรน้ ในการเรยี นมากขึ้น มีคา่ เฉล่ีย 3.48

ตารางท่ี 25 ตารางแสดงข้อมูลผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนด้านกจิ กรรมการเรยี น รายการประเมิน ระดบั ประสิทธภิ าพ ค่าเฉลย่ี S.D. ระดบั 1 กิจกรรมการเรียนรมู้ ีความเหมาะสมกบั เน้อื หา 4.24 0.779 มาก 2 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสรมิ ให้นักเรียนได้แลกเปลี่ยนความรู้ 4.20 0.816 มาก ความคดิ 3 กิจกรรมการเรยี นรู้ส่งเสรมิ การคดิ และตดั สินใจ 4.16 0.800 มาก 4 กจิ กรรมการเรียนรทู้ าให้นักเรียนกล้าคิดกล้าตอบ 3.40 1.000 นอ้ ย 5 กจิ กรรมการเรยี นรทู้ าใหน้ ักเรียนมีโอกาสแสดงความคิดเห็น 4.28 0.792 มาก 6 กิจกรรมการเรยี นรู้ทาใหน้ ักเรียนเขา้ ใจในเนื้อหามากข้ึน 3.68 1.030 มาก 7 กจิ กรรมการเรียนรสู้ ง่ เสริมการเรียนร้รู ่วมกนั 4.16 0.800 มาก ผลการประเมินโดยรวม 4.02 0.860 มาก จากตารางท่ี 25 แสดงผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียน ด้านที่ 2 ด้านกิจกรรมการเรียน ใน ภาพรวมพบว่านักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย 4.02 และเม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจในระดับมาก 6 ข้อ ได้แก่ กิจกรรมการเรียนรู้มีความเหมาะสมกับเน้ือหา มีค่าเฉลี่ย 4.24 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมให้นักเรียนได้แลกเปล่ยี นความรคู้ วามคิด มีค่าเฉล่ีย 4.20 กิจกรรมการเรียนรู้ ส่งเสริมการคิดและตัดสินใจ มีค่าเฉลี่ย 4.16 กิจกรรมการเรียนรู้ทาให้นักเรียนมีโอกาสแสดงความคิดเห็น มี ค่าเฉลี่ย 4.28 กิจกรรมการเรียนรู้ทาให้นักเรียนเข้าใจในเนื้อหามากขึ้น มีค่าเฉลี่ย 3.68 กิจกรรมการเรียนรู้ ส่งเสริมการเรียนรู้ร่วมกัน มีค่าเฉล่ีย 4.16 และอยู่ในระดับน้อย คือ กิจกรรมการเรียนรู้ทาให้นักเรียนกล้าคิด กลา้ ตอบ มคี ่าเฉลย่ี 3.40 ตารางที่ 26 ตารางแสดงข้อมูลผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของนักเรยี นดา้ นประโยชน์ท่ีไดร้ บั รายการประเมิน ระดบั ประสิทธภิ าพ คา่ เฉลีย่ S.D. ระดับ 1 การจดั การเรียนร้ทู าใหเ้ ขา้ ใจเนอ้ื หาได้งา่ ย 4.24 0.831 มาก 2 การจดั การเรียนรู้ทาให้จาเน้ือหาได้นาน 3.60 0.913 มาก 3 การจัดการเรียนรูช้ ว่ ยให้นกั เรียนสรา้ งความรู้ ความเข้าใจด้วย 4.32 0.690 มาก ตนเองได้ 4 การจดั การเรยี นรู้ทาให้นกั เรยี นนาวิธกี ารเรียนรูไ้ ปใชใ้ นวิชาอ่ืน ๆ 4.56 0.507 มากทีส่ ุด 5 การจัดการเรียนรทู้ าใหน้ กั เรียนพัฒนาทักษะการคิดที่สูงขนึ้ 4.20 0.707 มาก 6 การจัดการเรียนรู้โดยใหน้ ักเรียนใช้สมารท์ โฟนเพื่อค้นหาเนื้อหาท่ี 4.20 0.707 มาก ไม่เข้าใจเพิ่มเติม 7 การจดั การเรียนรู้โดยใหน้ ักเรียนใช้สมารท์ โฟนถา่ ยรปู 4.40 0.707 มาก PowerPoint ของครูแทนการจดบันทึก

8 การจดั การเรยี นรู้โดยให้นักเรียนใชส้ มาร์ทโฟนเพ่ือค้นคว้าข้อมูล 4.44 0.583 มาก เพ่อื ทากิจกรรมที่ครมู อบหมาย 4.25 0.706 มาก ผลการประเมนิ โดยรวม จากตารางท่ี 26 แสดงผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียน ด้านที่ 3 ด้านประโยชน์ ที่ได้รับ ในภาพรวมพบว่านักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.25 และเม่ือพิจารณาเป็นราย ข้อ พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจในระดับมากท่ีสุด 1 ข้อ ได้แก่ การจัดการเรียนรู้ทาให้นักเรียนนาวิธีการ เรียนรู้ไปใช้ในวิชาอื่น ๆ มีค่าเฉลี่ย 4.56 ส่วนข้ออ่ืน ๆ อยู่ในระดับมาก ได้แก่ การจัดการเรียนรู้ทาให้เข้าใจ เนือ้ หาได้ง่าย มีค่าเฉลีย่ 4.24 การจัดการเรียนร้ทู าให้จาเนอื้ หาได้นานมีคา่ เฉล่ยี 3.60 การจดั การเรยี นรชู้ ่วยให้ นักเรียนสร้างความรู้ ความเข้าใจด้วยตนเองได้ มีค่าเฉล่ีย 4.32 การจัดการเรียนรู้ทาให้นักเรียนพัฒนาทักษะ การคิดท่ีสูงข้ึน มีค่าเฉล่ีย 4.20 การจัดการเรียนรู้ช่วยให้นักเรียนตัดสินใจโดยใช้เหตุผล มีค่าเฉล่ีย 4.40 การ จัดการเรียนรู้ทาให้เข้าใจและรู้จักเพื่อนมากข้ึน(4.28) กิจกรรมการเรียนการสอนนี้ทาให้ได้ทางานรว่ มกับผู้อ่นื 4.44 ตารางที่ 27 ตารางแสดงข้อมูลผลการประเมินความพึงพอใจตอ่ การจดั การเรยี นการสอนโดยผา่ น รูปแบบการเรยี นรู้โดยใชเ้ ทคโนโลยเี ปน็ ฐาน (Google for Education) ของนักเรยี นระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 5/8 โรงเรียนคาแสนวทิ ยาสรรค์ โดยภาพรวม ที่ รายการ ระดับประสิทธภิ าพ คา่ เฉลย่ี S.D. ระดับ 1. ดา้ นการจัดการเรียนการสอนผ่าน Google 4.13 0.759 มาก Classroom 2. ดา้ นกจิ กรรมการเรียน 4.02 0.860 มาก 3. ด้านประโยชนท์ ่ไี ดร้ ับ 4.25 0.706 มาก รวม 4.13 0.779 มาก จากตารางที่ 27 แสดงผลการประเมินผลการประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการเรียน การสอนโดยผา่ นรูปแบบการเรียนร้โู ดยใช้เทคโนโลยเี ป็นฐาน (Google for Education) ของนกั เรียนระดับช้ัน มธั ยมศึกษาปที ี่ 5/8 โรงเรียนคาแสนวทิ ยาสรรค์ โดยภาพรวมอยใู่ นระดับ มาก มคี ่าเฉลยี่ อยู่ท่ี 4.13

1.3 ผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์/สมาร์ทโฟนในช้ันเรียนและผล การเรยี นของนกั เรียนระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5/8 โรงเรยี นคาแสนวิทยาสรรค์ ตารางที่ 28 ตารางแสดงร้อยละของผลการเรยี นของนักเรยี น จาแนกตามพฤติกรรมการใชส้ มารท์ โฟนในช้ัน เรียน ระดบั ผลการเรียน X2 p-value พฤตกิ รรมการใชโ้ ทรศพั ท์ในช้นั เรียน ต่า ปาน สงู กลาง การใชส้ มารท์ โฟนเพ่ือคน้ ควา้ ขอ้ มลู เพอื่ ทากิจกรรมที่ครูมอบหมาย บ่อยมาก 0 56 16 บ่อย 0 16 4 25.012 .000 บางครงั้ 8 0 0 ไม่เคย 0 0 0 การใช้สมาร์ทโฟนเพ่ือค้นหาเน้ือหาที่ไมเ่ ขา้ ใจเพ่ิมเติม บอ่ ยมาก 0 48 20 บ่อย 0 24 0 27.451 .000 บางคร้งั 4 0 0 ไมเ่ คย 4 0 0 การใชส้ มาร์ทโฟนถ่ายรูป PowerPoint ของครูแทนการจดบนั ทึก บอ่ ยมาก 0 36 16 บอ่ ย 0 32 4 26.629 .000 บางครงั้ 8 0 0 ไม่เคย 0 4 0 จากตารางท่ี 28 แสดงการทดสอบไคสแควร์ พบว่า การใช้โทรศัพท/์ สมารท์ โฟนในช้นั เรียนเพื่อค้นคว้า ข้อมูลเพ่ือทากิจกรรมที่ครูมอบหมาย มีความสัมพันธ์กับผลการเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 โดยนักเรียนท่ีมีพฤติกรรมการใชโ้ ทรศัพท์ในช้นั เรียนในระดับ บ่อยมาก มีผลการเรียนในระดบั ปานกลาง (ร้อย ละ 56) และสูง (ร้อยละ 16) มากกว่านักเรีนนที่ใช้โทรศัพท์/บางครั้งหรือไม่เคยเลย และพบว่า การใช้สมาร์ท โฟนเพ่ือค้นหาเน้ือหาท่ีไม่เข้าใจเพ่ิมเติม มีความสัมพันธ์กับผลการเรียนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยนักเรียนที่มีพฤติกรรมการใชโ้ ทรศัพท์ในชัน้ เรียนในระดับ บ่อยมาก มีผลการเรียนในระดับปานกลาง (ร้อย ละ 48) และสงู (ร้อยละ 20) มากกวา่ นักเรีนนที่ใชโ้ ทรศพั ท/์ บางครั้งหรือไม่เคยเลย อีกทงั้ พบวา่ การใช้สมาร์ท โฟนถ่ายรปู PowerPoint ของครูแทนการจดบันทึก มีความสมั พนั ธ์กับผลการเรียนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 โดยนักเรียนทมี่ ีพฤติกรรมการใชโ้ ทรศพั ท์ในชน้ั เรียนในระดบั บ่อยมาก มีผลการเรียนในระดับปาน กลาง (ร้อยละ 36) และสูง (รอ้ ยละ 16) มากกวา่ นักเรนี นท่ีใช้โทรศัพท/์ บางคร้งั หรอื ไมเ่ คยเลย

บทท่ี 5 สรุป อภปิ ราย และข้อเสนอแนะ การวิจัยเชิงปฏิบัติการ การแก้ไขปัญหาพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์/สมาร์ทโฟนในช้ันเรียน โดยผ่านรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน (Google for Education) ของนักเรียนระดับช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 5/8 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ ตาบลนากลาง อาเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลาภู ในการ ดาเนินการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ เพ่ือศึกษาพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์/สมาร์ทโฟนในชั้นเรียน ของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์/ สมาร์ทโฟนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ ให้เกิดประโยชน์ต่อการ เรียนรู้ และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใชโ้ ทรศัพท์/สมาร์ทโฟนในช้ันเรียนและผลการเรียน ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ ผู้วิจัยสามารถสรปุ อภิปรายผล และให้ ข้อเสนอแนะ ดังนี้ 1. สรปุ ผลการศึกษาวจิ ัยและอภปิ รายผลการศกึ ษาวจิ ยั 1.1 สรปุ ผลการศึกษาวจิ ยั 1.2 อภปิ รายผลการศึกษาวิจัย 2. ข้อเสนอแนะ 2.1 ขอ้ เสนอแนะในการนาไปใช้ 2.2 ขอ้ เสนอแนะในการศึกษาคน้ ควา้ ครัง้ ต่อไป 1. สรุปผลการศกึ ษาวิจัยและอภปิ รายผลการศกึ ษาวจิ ัย 1.1. สรุปผลการศึกษาวิจัย จากการศึกษาวจิ ยั พบว่า พฤตกิ รรมการใชโ้ ทรศัพท์/สมาร์ทโฟนของนักเรียนในระดับชั้นมธั ยมศึกษาปี ที่ 5/8 ซึ่งพบว่ากลุ่มตัวอย่างเคยแอบใช้โทรศัพท์/สมาร์ทโฟนในช้ันเรียนทั้งหมด โดยพฤติกรรมโดยส่วนใหญ่ แอบใช้โทรศัพท์/สมาร์ทโฟนน้อยกว่าคร่ึงหน่ึงของคาบเรียน และวัตถุประสงค์หลักในการแอบเล่นโทรศัพท์/ สมาร์ทโฟนคือ การใช้ส่ือสังคมออนไลน์ (เฟซบุ๊ก, ไลน์,ไอจี) อีกทั้งกลุ่มตัวอย่างจานวน 12 คน ใช้สมาร์ทโฟน เพ่ือค้นคว้าข้อมูลเพ่ือทากิจกรรมท่ีครูมอบหมาย ในระดับความถ่ีที่ บ่อย และกลุ่มตัวอย่างจานวน 12 คน ใช้ สมาร์ทโฟนเพ่ือค้นหาเน้ือหาที่ไม่เข้าใจเพ่ิมเติมในระดับความถ่ีที่ บ่อย กลุ่มตัวอย่างจานวน 13 คน ใช้สมาร์ท โฟนถา่ ยรูป PowerPoint ของครแู ทนการจดบันทกึ ในระดบั ความถี่ที่ บ่อย ภายหลงั เรยี นรู้ผ่านผ่านรูปแบบการเรียนร้โู ดยใช้เทคโนโลยีเปน็ ฐาน (Google for Education) พบวา่ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5/8 มีระดับความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนโดยภาพรวมท้ัง 3 ด้าน ภาพรวมอย่ใู นระดบั มาก มคี ่าเฉลีย่ อยู่ท่ี 4.13 อีกทงั้ จาการสังเกตพฤติกรรมและการบรหิ ารจัดการในชนั้ เรียน โดยผ่านบริการ Google Classroom ประกอบกับการนาการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบดังกล่าวมาใช้ส่งผลให้ เห็นได้ชัดว่าการสง่ งานของนักเรียน และพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์/สมาร์ทโฟนของนักเรียนเปลี่ยนไปจากเดิม ที่นักเรียนไม่สามารถส่งงานตามเวลาที่กาหนดได้ ก็สามารถส่งงานได้ทุกท่ีทุกเวลาโดยส่งผ่านบริการ Google Classroom ภายในกรอบเวลาที่กาหนด และจากที่นาโทรศัพท์/สมาร์ทโฟนมาใช้เพียงในการเล่นสื่อโซเซียล มีเดียเพียงเท่านั้น นักเรียนสามารถนาโทรศัพท์/สาร์ทโฟนมาใช้เพ่ือค้นหาเนื้อหาที่ไม่เข้าใจเพิ่มเติม ใช้สมาร์ท โฟนถา่ ยรปู PowerPoint ของครูแทนการจดบันทกึ เพอ่ื ค้นคว้าข้อมลู เพอ่ื ทากจิ กรรมท่คี รูมอบหมาย

จากศึกษาวิจัย และส่งเสริมพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์/สมาร์ทโฟนในหางที่ถูกต้อง และเหมาะสมใน ชน้ั เรียน สง่ ผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาในรายวชิ าสังคมศึกษา 1 ของระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5/8 นี้ สงู ข้ึน ดังผลการศึกษาที่แสดงให้เห็นว่า พฤติกรรมการใช้โทรศัพท์/สมาร์ทโฟนในชั้นเรียน มีความสัมพันธ์กับผลการ เรยี นอยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถติ ิ ที่ 0.05 ซึง่ สอดคลอ้ งกับแนวคิดการให้คณุ ใหโ้ ทษของศิวรุณ รตั นรงุ่ ชยั (2556) 1.2. อภิปรายผลการศึกษาวจิ ัย 1.2.1. ผลการอภิปรายผลผลการศึกษาพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์/สมาร์ทโฟนในชั้นเรียนของ นักเรียนระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5/8 โรงเรยี นคาแสนวทิ ยาสรรค์ จากผลการวิจัยท่ีพบว่า นักเรียนใช้สมาร์ทโฟนในชั้นเรียนโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพ่ือใช้โทรศัพท์/ สมาร์โฟนเพ่ือใช้สื่อโซเซียล โดยมีการใช้เพื่อการศึกษาโดยผ่านส่ือโซเซียล มีความสอดคล้องกับพฤติกรรมของ นักศึกษาในประเทศ กล่าวคือ งานวิจัยของธัญธัช วิภัติภูมิประเทศ (2559) พบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่มี พฤติกรรมการใชส้ มาร์ทโฟนในชั้นเรยี นเพื่อประโยชนท์ างการศกึ ษาในช้นั เรยี น อีกท้ังงานวิจัยของ Jena, R. K. (2014) พบว่า ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าสมาร์ทโฟนอาจได้รับการ ยอมรับให้เป็นเคร่ืองมือการเรียนการสอนในอนาคตเนื่องจากโหมดการทางานของสมาร์ทโฟนนั้นไม่ยาก เช่นเดียวกับงานวิจัยของ รุจนี เหมือนเงิน (2558) พบว่า นักศึกษาใช้งานมากที่สุดคือ Social Media โดย นักศึกษามีความเห็นต่อผลกระทบของการใช้อุปกรณ์ส่ือสารในชั้นเรียนต่อผลการเรียนในระดับปานกลาง และ จากการศึกษาพบว่าการใชโ้ ทรศัพท์มือถือในชน้ั เรยี นมีผลกระทบตอ่ ผลคะแนนเฉลี่ยของกล่มุ ตวั อย่าง 1.2.2. ผลการอภิปรายผลผลการศึกษาส่งเสริมพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์/สม าร์ทโฟน ของนักเรยี นระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 5/8 โรงเรยี นคาแสนวิทยาสรรค์ ใหเ้ กิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ จากผลวิจัยที่ค้นพบว่า นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5/8 โรงเรียนคาแสนวิทยาสรรค์ มีระดับผล ประเมินผลการประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนโดยผา่ นรูปแบบการเรียนร้โู ดยใช้เทคโนโลยี เป็นฐาน (Google for Education) โดยภาพรวมอยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ยอยู่ท่ี 4.13 ซึ่งสอดคล้องกับ งานวิจัยของสร้อยสุวรรณ เตชะธิ (2562) ที่กล่าวว่า ผลการวิจัยพบว่า ด้านการจัดการเรียนการสอนผ่าน Google Classroom มีค่าเฉล่ียรวม 4 ด้านมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.13 ถือว่ามีความพึงพอใจมาก ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเทา่ กบั 0.26 และอกี ทั้งงานวิจยั ของ Muhammad Anshari (2017) ท่ีระบุวา่ การใชส้ มาร์ทโฟนเพ่ือ เขา้ ถงึ ขอ้ มูลหรือการใช้หาข้อมูลเพื่อสนับสนุนการศึกษา ซ่ึงปกตจิ ะเขา้ ถึงไดผ้ ่านระบบอินเตอร์เน็ต นกั เรยี นใช้ สมาร์ทโฟนเป็นอุปกรณ์ช่วยการเรียนรู้ ด้วยเหตุผลหลายประการ เช่น ให้ความสะดวกพกพาการเรียนรู้ที่ ครอบคลุมประสบการณ์หลายแหล่งและเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม พวกเขายังใช้สมาร์ทโฟนเพื่อโต้ตอบกับครู นอกชั้นเรียนและใชส้ มารท์ โฟนเพ่อื จดั การการมอบหมายกลมุ่ ของพวกเขา 1.2.3. ผลการอภิปรายผลผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์/สมาร์ท โฟนในช้นั เรียนและผลการเรียนของนักเรียนระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5/8 โรงเรยี นคาแสนวทิ ยาสรรค์ จากผลการวิจัยท่ีพบว่า พฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนในชั้นเรียนโดยมีวัตถุประสงค์เก่ียวข้องกับการ เรียน มีความสัมพันธ์กับผลการเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ โดยนักเรียนท่ีใช้สมาร์ทโฟนในช้ันเรียน โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อการเรียนบ่อยมากมีผลการเรียนในระดับปานกลางและสูง มากกว่านักศึกษาที่ใช้สมาร์ทโฟ นบางคร้ังหรือไม่เคยเลย ทั้งน้ีเนื่องจากพฤติกรรมดังกล่าวจะมีส่วนช่วยทาให้นักศึกษาเข้าใจเนื้อหาท่ีเรียน ได้มากข้ึน ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของอุณนดาทร มูลเพ็ญ และ จุฑารัตน จิตตถนอม (2559) พบว่า นกั ศึกษามคี วามคิดต่อการใชง้ านมือถือสมาร์ทโฟนทงั้ โดยรวมและรายด้าน อยูใ่ นระดบั มากท่สี ุด เมื่อพจิ ารณา เป็นรายด้าน พบว่า การใช้งานด้านเครือข่ายสังคมมากที่สุด รองลงมาคือด้านการศึกษา และด้านเทคโนโลยี ตามลาดับ เม่ือเปรียบเทียบปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้มือถือสมาร์ทโฟนในด้านการศึกษากับสังกัดการศึกษา

พบว่า นักศึกษาที่สังกัดคณะท่ีแตกต่าง มีความคิดเห็นที่แตกต่าง ท้ังโดยรวมและรายด้าน อย่างมีนัยสา คัญท่ี ระดบั 0.05 และ 0.01 ซึ่งจะส่งผลให้มีผลการเรียนที่ดีข้อค้นพบดังกล่าวมีความสอดคล้องกับงานวิจัยในต่างประเทศของ Jena (2014) ซึง่ พบว่า การใช้สมารท์ โฟนของนกั ศกึ ษาโดยมีวัตถุประสงคเ์ พ่ือวชิ าการไม่มีผลกระทบทางลบต่อ ผลการเรียน โดยมีกลุ่มตัวอย่างบางคนที่มีผลคล้ายคลึงกับงานวิจัยของ Al-Menayes, J. J. (2014) ที่กล่าวว่า การใช้มือถือหนักในการใช้โซเชียลมีเดียมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับเกรดเฉลี่ยที่ลดลง ความสัมพันธ์เชิงเส้นที่ แข็งแกร่งช้ีให้เห็นว่านักเรียนจานวนมากข้ึนใช้โซเชียลมีเดียก็จะยิ่งเกรดต่าลง โดยนักเรียนท่ีผลการเรียนใน ระดับต่าน้ันมักจะใช้โทรศัพท์ในการเล่นโซเซียลมีเดีย และเล่นเกมมากกว่าการใช้เพื่อหาความรู้หรือประโยชน์ ทางการเรียนการสอน และสอดคล้องกับงานวิจัยของ Lepp, A., Barkley, J. E., & Karpinski, A. C. (2015) ที่กล่าวว่า นักศึกษาระดับปริญญาตรี 536 คนจาก 82 สาขาวิชาแสดงให้เห็นว่าการใช้โทรศัพท์มือถือมี ความสาคัญที่เกี่ยวข้องกับเกรดเฉล่ียของวิทยาลัย โดยจากกลุ่มตัวอย่างจาก 25 คน มี 19 คน ในงานวิจัยน้ีได้ ให้ความสาคัญกับโทรศัพท์ใน ระดับสาคัญมาก และ Jumoke Soyemi (2015) พบว่า นักเรียนได้รับอิทธิพล ในทางลบโดยโทรศัพท์มือถือ เน่ืองจากความสนใจเน้นการใช้สังคมออนไลน์ฟังเพลง และอ่ืน ๆ ในขณะท่ี กจิ กรรมทางวชิ าการ นักเรียนไมไ่ ด้ใหค้ วามสนใจในบทเรียน 2. ขอ้ เสนอแนะ 2.1. ขอ้ เสนอแนะจากการวิจยั ครั้งนี้ ................................................................................................ .................................................. ............ .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. 2.2. ข้อเสนอแนะเพ่ือการวิจัยครง้ั ตอ่ ไป ................................................................................................... ............................................................. ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook