~ ผิดพลาด! ตัวเลขไม่สามารถถกู แสดงในรูปแบบทร่ี ะบุ ~
คานา หนังสือส่งเสริมการอ่านนับว่าเป็นสื่อการสอนประเภทหนึ่งท่ีมีความสาคัญและน่าสนใจ เพราะมีเนื้อเร่ืองและภาพประกอบซ่ึงจะช่วยดึงดูดความสนใจของเด็ก ๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิง หนงั สือส่งเสรมิ การอ่านทีส่ ร้างสรรค์ข้ึนโดยครูผู้สอนเพราะจะมีเนื้อหาตรงกับหลักสูตรในระดับชั้น ท่ีเด็กเรียน สามารถพัฒนาผู้เรียนได้ตรงตามตัวช้ีวัดที่กาหนดในหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน หนังสือส่งเสริมการอ่านน้ันไม่เพียงแต่สามารถพัฒนาความสามารถด้านการอ่าน เทา่ นั้นแตย่ ังสามารถพัฒนาทักษะดา้ นอน่ื ๆ อกี ดว้ ย หนงั สอื “เทคนคิ การสร้างหนังสือส่งเสริมการอ่าน เพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียน”เล่มน้ี ครูแหม่ม เขียนข้ึนจากการถอดบทเรียนประสบการณ์ในการทางานของครูแหม่มเอง ซึ่งก็พยายามเขียนให้ ครอบคลุมในทุก ๆ ด้าน โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็นบทต่าง ๆ จานวน ๙ บท ทุกเร่ืองราวท่ีนาเสนอ ล้วนแล้วแต่ผ่านการทดลองใช้จนแน่ใจว่าสามารถพัฒนาความสามารถของนักเรียนได้ตามศักยภาพ ของแต่ละคน และมีบทส่งท้ายซ่ึงเป็นความในใจที่ครูแหม่มต้องการบอกเล่าให้เพ่ือน ๆ ทุกคนท่ี สนใจผลงานของครูแหมม่ ได้ทราบ เผอ่ื วา่ จะเป็นประโยชน์ในการพฒั นาตนเองและพัฒนางาน สดุ ทา้ ยนคี้ รแู หมม่ กข็ อขอบคณุ ทุกท่านทช่ี ่วยเป็นกาลังแรงใจในการทางาน หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือ“เทคนิคการสร้างหนังสือส่งเสริมการอ่าน เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน” เล่มนี้จะมีส่วนช่วย ในการพัฒนาการศกึ ษาของชาติและเปน็ ประโยชน์สาหรับผสู้ นใจทุกท่าน มนัญญา ลาหาญ (ครูแหมม่ ) ๑๙ /๙ / ๒๕๖๔ ~- ๑ก -~
สารบญั หน้า คานา ก สารบัญ ข บทที่ ๑ ความสาคญั ของหนงั สอื สง่ เสริมการอ่าน ๓ บทที่ ๒ ข้นั ตอนในการจดั ทาหนงั สือส่งเสรมิ การอ่าน ๕ บทที่ ๓ เทคนิคสาคัญในการเขียนหนังสอื สง่ เสริมการอา่ น ๑๐ บทท่ี ๔ การสร้างหนงั สือส่งเสริมการอา่ นโดยใช้คลปิ อาร์ต ๒๒ บทที่ ๕ การออกแบบหนังสอื ส่งเสรมิ การอา่ นและการนาไปใช้ ๔๐ บทที่ ๖ การพัฒนาทักษะการเขยี นเชิงสรา้ งสรรค์โดยใช้หนงั สือส่งเสรมิ การอ่าน ๑๑๒ บทที่ ๗ การเขียนแผนการจัดการเรยี นร้ปู ระกอบหนังสือสง่ เสรมิ การอ่าน ๑๑๙ บทที่ ๘ การเขยี นรายงานการใชห้ นงั สือส่งเสริมการอา่ น ๑๓๓ บทส่งท้าย จากใจครแู หม่ม ๑๔๖ บรรณานุกรม ๑๕๓ ~- ข ~- ๒
“หนงั สอื ” เป็นเสมอื นคลังท่รี วบรวมเร่ืองราว ความรู้ ความคดิ วิทยาการทุกด้าน ทกุ อย่างซ่ึงมนุษย์ได้เรียนรู้ ได้คดิ อ่าน และเพยี รพยายามบนั ทึกภาษาไว้ดว้ ย ลายลกั ษณอ์ กั ษร หนงั สอื แพรไ่ ปถึงทใี่ ด ความรู้ ความคดิ ก็แพร่ไปถงึ ที่นนั่ หนงั สือจงึ เป็นส่ิงมีคา่ และมีประโยชนท์ ่ีจะประมาณมไิ ด้ในแง่ท่เี ปน็ บอ่ เกิด การเรียนรู้ของมนษุ ย์ พระราชดารสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี ๙ ในพธิ ีเปิดงานหนงั สือแหง่ ชาติ วันที่ ๔ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๑๕ ~ -๓๑~-
วันที่ ๒ เมษายน ซึ่งเป็นวันพระราชสมภพสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ถูกกาหนดเป็น \"วนั หนงั สือเด็กแห่งชาติ\"เพ่ือราลึกในพระมหากรุณาธิคุณที่ทรงส่งเสริมการอ่าน ทรงประพันธ์บทพระราชนิพนธ์สาหรับเด็กและเยาวชนมาแต่ครั้งทรงพระเยาว์ พระปรีชาสามารถทางด้านอักษรศาสตร์เป็นที่ประจักษ์แก่ปวงชนชาวไทยและ ชาวต่างประเทศ ประกอบกับเป็นการสะท้อนให้เห็นความต้ังใจในการรณรงค์ สง่ เสริมการอา่ นและพฒั นาหนงั สือสาหรับเด็ก รวมทั้งพัฒนาสังคมไทยให้เป็น สังคมแหง่ การเรยี นรู้ ~-๔๒~-
บทท่ี ๑ ความสาคัญของหนงั สือส่งเสริมการอา่ น หนังสอื ส่งเสริมการอา่ นนบั วา่ เปน็ สื่อการสอนประเภทหน่ึงท่ีมคี วามสาคัญและน่าสนใจ เพราะมีเน้ือเรื่องและภาพประกอบซ่ึงจะช่วยดึงดูดความสนใจของเด็ก ๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิง หนงั สอื ส่งเสริมการอ่านท่ีสร้างสรรค์ข้ึนโดยครูผู้สอนเพราะจะมีเนื้อหาตรงกับหลักสูตรในระดับช้ัน ท่ีเด็กเรียน สามารถพัฒนาผู้เรียนได้ตรงตามตัวช้ีวัดท่ีกาหนดในหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน สอดคล้องกับกรมวชิ าการ (๒๕๔๑ : บทคดั ย่อ) ซ่ึงได้ศึกษาสภาพการผลิตและพัฒนา หนังสอื สาหรับเด็ก พบวา่ นสิ ัยและความตอ้ งการในการอา่ นของนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๑– ๖ สว่ นใหญ่ร้อยละ ๙๒.๕ ชอบอ่านหนังสืออน่ื ๆ ท่ีไม่ใช่หนังสือเรียน โดยหนังสือท่ีนักเรียนชอบอ่านมาก คือ หนังสือภาพ นอกจากน้ันจินตนา ใบกาซูยี (๒๕๔๒ : ๘) ยังได้กล่าวว่าหนังสือส่งเสริมการอ่าน เป็นส่ือที่ช่วยให้เด็กได้รับความบันเทิง สนุกสนานเพลิดเพลิน สนองความต้องการของวัยเด็ก ช่วยสร้างความคดิ คานงึ ดีและความคดิ สรา้ งสรรค์ของเด็ก ช่วยพัฒนาการเรียนรู้ด้านภาษาของเด็ก ใหเ้ จริญตามวยั ช่วยปลูกฝ๎งคุณธรรม เจตคติ และแบบอย่างอันน่าพึงปรารถนาให้บังเกิดแก่เด็ก ชว่ ยใหเ้ ด็กรจู้ กั อ่านหนงั สือ อ่านหนังสอื เป็น อ่านหนังสือเก่ง เกิดนิสัยรักการอ่าน ช่วยให้เด็กอ่าน หนังสือที่มีเน้ือหาสาระเหมาะสมกับวัยเป็นการปูองกันไม่ให้เด็กหันไปอ่านและสนใจเร่ืองของ ผู้ใหญเ่ ร็วกวา่ วยั กาหนดอนั จะเปน็ ส่ิงชักนาให้เด็กประพฤติตนในส่งิ ทไี่ มส่ มควร กระทรวงศึกษาธิการ (๒๕๔๑ : ๓๗) ได้กล่าวถึงหนังสือส่งเสริมการอ่านไว้ว่า หนังสือ นิทานประกอบภาพ เป็นส่ือการสอนประเภทหนึ่งที่มีประสิทธิภาพ สามารถส่งเสริมเด็กให้เกิด พัฒนาการทางภาษา เด็กในวัยเร่ิมเรียนสามารถพัฒนาการใช้ภาษาได้ดีจากการดูภาพและอ่าน วรรณกรรมประเภทหนังสือภาพโดยเฉพาะหนังสือภาพประกอบเรื่อง เด็กท่ีมีโอกาสได้ฟ๎งพ่อแม่ หรือครอู า่ นหนงั สอื ใหฟ้ ง๎ บอ่ ย ๆ และไดด้ ูภาพประกอบเร่อื งมักจะมีความสามารถในการพูด การฟ๎ง และมีความรู้ในการใช้ศัพท์ต่าง ๆ กว้างขวางและคล่องแคล่ว รวมท้ังช่างสังเกตและมีจินตนาการ มากด้วย ครูท่ีหม่ันนาวรรณกรรมสาหรับเด็กมาอ่านให้ฟ๎ง หรือให้เด็กอ่านเองแล้วตามด้วย การสนทนาเก่ียวกับเร่ืองท่ีอ่าน โดยการตั้งคาถามเกี่ยวกับเรื่องท่ีอ่านจะช่วยส่งเสริมให้เด็กมี ความสามารถในการฟ๎ง พูด อ่าน เขียน ในการสร้างจินตนาการและพัฒนาความคิดได้อย่างดียิ่ง สอดคล้องกับอรอนงค์ โชคสกุล (๒๕๔๔ : ๖๐) ที่กล่าวถึง ความสาคัญหรือคุณค่าของหนังสือ สง่ เสรมิ การอ่านท่ีมตี อ่ เดก็ ไวว้ า่ ชว่ ยให้เดก็ ได้รับความรู้ความคิดจากหนังสือ ได้รับความสนุกสนาน ~- ๓๕- ~
เพลดิ เพลนิ และความสุขกับการอ่าน หนงั สอื ส่งเสริมความคดิ สร้างสรรค์และจินตนาการให้ต้องคิด ทาให้เด็กเป็นคนที่มีอารมณ์แจ่มใส ไม่สับสนวุ่นวาย และช่วยให้เด็กได้รู้จักวิธีการแก้ป๎ญหาจาก เร่ืองที่อ่าน เช่นเดียวกับผดุง อารยะวิญํู (๒๕๔๔ : ๖๒) ท่ีกล่าวว่าในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนครูไม่ควรอธิบายหรือบรรยายเพียงอย่างเดียว เพราะเด็กบางคนเรียนรู้ได้ดีโดยการใช้ การรับรู้ทางสายตา ดังนั้นนิทานที่มีภาพประกอบเน้ือหา ใช้คาง่ายๆ ท่ีเป็นพ้ืนฐานของคาและใช้ คาที่ใช้ในชีวิตประจาวันจะช่วยให้เด็กสามารถอ่านเร่ืองจากภาพประกอบ และสามารถเข้าใจ เรือ่ งราวและจบั ใจความสาคญั ของนิทานทอี่ ่านได้ นอกจากความสาคญั ดงั ทกี่ ล่าวข้างตน้ แลว้ การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชห้ นังสือ ส่งเสรมิ การอา่ นนบั ไดว้ า่ สอดคล้องกบั ทฤษฎีการเรียนรขู้ องสมอง ซ่งึ ไดก้ ล่าวไว้ ดงั น้ี การเรยี นรขู้ องสมอง สมองจะทาความเขา้ ใจภาษาโดยเร่ิมต้นจากการฟ๎ง ดภู าพและตัวหนงั สอื เพ่อื เชื่อมโยงความสัมพันธร์ ะหวา่ งภาพกับเสยี งและตัวอักษร กระบวนการอ่านให้ฟ๎งส่งเสริมการคดิ จนิ ตนาการ เปน็ การฝกึ ให้สมองมี ประสบการณ์ดา้ นการคิด สมองจะเรียนรไู้ ดด้ ีจากการอ่านโดยเช่อื มความสัมพันธร์ ะหว่างคากับภาพทีเ่ หน็ สมองเรียนรู้ไดด้ เี มื่อมีการฝึกซา้ ๆ ฉะนัน้ กระบวนการการอ่านทฝ่ี ึกซา้ ๆ เช่น อ่านให้ฟง๎ อ่านดว้ ยกนั อา่ นคู่ อ่านเดี่ยว กระบวนการอ่านมหี ลายขน้ั ตอน ทาใหผ้ ูเ้ รียนอา่ นได้ กล้าอ่าน และมีความม่นั ใจในการอา่ น นิทานจะช่วยกระตุน้ จนิ ตนาการและความใฝุฝน๎ ของเด็ก สอื่ ทม่ี สี สี นั จะดึงดูดความสนใจของสมองได้ดี สมองเรยี นร้ไู ด้ดเี ม่ือมีการปฏบิ ัติ การเขียนสง่ิ ที่คดิ จะกระตุ้นให้สมองมีความเช่ือมน่ั และเกิดทักษะการเขียน ทมี่ า : หนังสอื แนวทางการจดั การเรียนรูภ้ าษาไทยท่สี อดคล้องกบั พฒั นาการทางสมอง ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ~- ๖๔ ~-
บทท่ี ๒ ขั้นตอนในการจัดทาหนงั สือสง่ เสรมิ การอา่ น ในการจดั ทาหนังสือสง่ เสรมิ การอา่ นน้นั ส่งิ แรกท่เี ราตอ้ งคานึงถึงก็คือ จุดมุ่งหมายในการนา ไปใช้ ต้องการใช้เพ่ือพัฒนาทักษะด้านใดของนักเรียน เราจึงจะสามารถออกแบบหนังสือส่งเสริม การอ่านได้อย่างถูกต้อง เพราะหนังสือส่งเสริมการอ่านสามารถนาไปใช้พัฒนาผู้เรียนได้ทุกทักษะ ทั้งด้านการอ่าน การเขียน การฟ๎ง การดู การพูด หลักภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม เมื่อกาหนดได้แล้วว่าจะนาไปพัฒนาด้านใด สิ่งต่อไปคือต้องกาหนดเนื้อหาในหนังสือส่งเสริมการอ่าน เช่น ถ้าต้องการพัฒนาการอ่านออก-เขียนได้ก็ต้องกาหนดว่าเนื้อหาจะเป็นเร่ืองราวเกี่ยวกับ พยัญชนะ สระต่าง ๆ หรือมาตราตัวสะกด ถ้าต้องการพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความก็ต้อง กาหนดคุณธรรมที่ต้องการปลูกฝ๎ง จะยึดหลักค่านิยม ๑๒ ประการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๘ ประการ หรอื ตอ้ งการให้ความรู้ในเร่ืองอ่ืน ๆ หนังสือส่งเสริมการอ่านที่ครูสร้างขึ้นจะได้มีเน้ือหา ครบถ้วนสมบูรณแ์ ละเกิดประโยชน์ต่อผูเ้ รียนไดม้ ากท่สี ดุ หลังจากกาหนดจุดประสงค์และเน้ือหาแล้วครูก็วางโครงเร่ืองคร่าว ๆ ใคร ทาอะไร ท่ีไหน เมอ่ื ไร ผลเปน็ อยา่ งไร จากน้ันก็เขยี นเนือ้ หาอยา่ งละเอียดจากโครงเรื่องที่กาหนด เม่ือส่วนของเนื้อเรื่อง เสรจ็ สมบูรณแ์ ล้วส่งิ สาคัญท่สี ดุ อกี ประการหนง่ึ ก็คอื กิจกรรมท้ายเรื่องของหนังสือส่งเสริมการอ่าน แต่ละเล่ม ซ่ึงกิจกรรมทา้ ยเร่อื งนี้จะต้องสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายท่ีครูกาหนดไว้ กิจกรรมท้ายเรื่อง จะเป็นการฝึกนักเรียนให้เกิดทักษะด้านต่าง ๆ ในการออกแบบกิจกรรมท้ายเรื่องน้ันส่ิงท่ีครูควร คานึงมากท่ีสุดคือ ควรเขียนให้ตรงตามตัวช้ีวัดในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานตาม ระดับช้นั ท่นี ักเรียนกาลังเรยี นอยู่ด้วย เม่ือจัดทาหนังสือส่งเสริมการอ่านเสร็จสมบูรณ์แล้ว ก่อนท่ีจะนาไปใช้เป็นนวัตกรรม ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ครูควรจะสร้างแบบทดสอบเพื่อวัดความสามารถของ ผู้เรียน เพ่ือที่จะได้ทราบว่าหนังสือส่งเสริมการอ่านที่ครูสร้างขึ้นน้ันสามารถพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ได้จริงหรือไม่ ก่อนเรียนและหลังเรียนมีผลสัมฤทธ์ิแตกต่างกันอย่างไร นักเรียนมีความก้าวหน้า ทางการเรียนมากเพียงใด ซ่ึงแบบทดสอบท่ีสร้างขึ้นนี้ควรจะมีความสอดคล้องกับทักษะท่ีต้องการวัด เช่น วัดความสามารถด้านการอ่านออกเสียงก็ควรให้นักเรียนได้อ่านข้อความให้ครูฟ๎ง ถ้าต้องการ วัดความสามารถด้านการเขียนก็ควรให้นักเรียนได้สอบปฏิบัติด้านการเขียนด้วย นอกจากน้ันกรณี ที่เปน็ ขอ้ สอบอัตนยั ควรมีเกณฑใ์ ห้คะแนนท่ชี ัดเจน ~- ๗๕ -~
หลงั จากสร้างหนงั สือส่งเสริมการอ่านและแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนเรยี บรอ้ ยแล้ว ส่ิงหนึง่ ท่ีจะละเลยไมไ่ ดค้ ือ การจัดทาแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรโู้ ดยใช้หนังสอื สง่ เสริมการอ่าน ซงึ่ รูปแบบของแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรนู้ นั้ มีหลายรูปแบบ ครคู วรเลือกให้เหมาะสมกับ ทกั ษะทค่ี รูตอ้ งการให้เกดิ กบั นักเรยี น ตวั อยา่ งแบบทดสอบสาหรบั ใชป้ ระเมินผลด้านการอ่านออก-เขยี นได้ แบบทดสอบดา้ นการอ่าน คาส่ัง ให้นักเรียนอา่ นออกเสยี งขอ้ ความทก่ี าหนดให้ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ กอ้ ย เปน็ เดก็ น่ารัก และ มี น้าใจ เธอ อาศัย อยู่ กับ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ พอ่ แม่ ปุู และ ยา่ ทกุ เชา้ เธอ จะ ช่วย กวาด บา้ น ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ และ เล้ยี ง ไก่ เมอ่ื ทางาน เสรจ็ แลว้ กอ้ ย ก็ ไป โรงเรียน แบบทดสอบด้านการเขียน คาสงั่ ให้นักเรยี นเขยี นคาศพั ทจ์ ากภาพท่กี าหนด ….……..…. ….……..…. ….……..…. ….……..…. ….……..…. ….……..…. ….……..…. ….……..…. ….……..…. ….……..…. ….……..…. ….……..…. ….……..…. ….……..…. ….……..…. ….……..…. ….……..…. ….……..…. ….……..…. ….……..…. หมายเหตุ คาทน่ี ามาให้ทดสอบควรมีเสียงสระท่ีหลากหลาย ~-๘๖ ~-
ตวั อย่างแบบทดสอบสาหรับใช้ประเมนิ ผลดา้ นการอ่านจบั ใจความ หรือ Literacy ครคู วรจะออกแบบการสร้างแบบทดสอบ (Test Blueprint) โดยกาหนดตัวชว้ี ดั ที่ต้องการ ทดสอบและรปู แบบของขอ้ สอบซึ่งควรออกแบบใหห้ ลากหลาย ดงั นี้ . ตวั ชี้วัด เลือกตอบ เลอื กตอบ เชิง ตอบ ตอบ รวม ๑ คาตอบ ๒ คาตอบ ซ้อน ส้ัน ยาว ๑. อธิบายความหมายโดยตรง ๒ ๒๔ โดยนยั จากเร่อื งท่ีอ่านฟง๎ และดู ๒.จบั ใจความจากเร่ืองทอี่ ่านฟง๎ และ ๒ ๑ ๑ ๔ ดู ๓.สรปุ เรื่องที่อา่ นจากการฟ๎งและดู ๒ ๒ ๑๕ ๔.วเิ คราะห์ขอ้ เท็จจริงขอ้ คิดเห็น ๑ ๑๒ จากเรอื่ งท่ีอ่านฟ๎งและดู ๒ ๒ ๑๑ ๑ ๗ ๕.ตอบคาถามจากเรอ่ื งท่อี ่าน ฟ๎ง และดู ๙ ๑๒๓ ๖.เชื่อมโยงคาดคะเนเรือ่ งราวจาก ๑๑๒ เรือ่ งท่อี ่าน ฟ๎ง และดอู ย่างมเี หตุผล ๗.สือ่ สารความรู้ ความเขา้ ใจ และ ๑ ๒๓ ความคดิ เหน็ จากเรอ่ื งทอ่ี ่าน ฟ๎ง และดอู ยา่ งถูกตอ้ ง ๖ ๒ ๖ ๗ ๓๐ ๘.นาความรู้ความเข้าใจ และความ คิดเห็นจากเรอ่ื งท่อี ่าน ฟ๎ง และดู ไปใชอ้ ยา่ งถกู ต้องเหมาะสมและ สร้างสรรค์ รวม ~- ๙๗ ~-
ตวั อย่างแบบทดสอบ Literacy รูปแบบต่าง ๆ ตอนที่ ๑ แบบเลือกตอบ อา่ นข้อความต่อไปนี้ แลว้ ตอบคาถามขอ้ ๑ – ๒ ไมม่ ีก็คงตอ้ งมสี กั วนั ความฝน๎ เปน็ จริงต้องทนสู้ไป ไมน่ านเราคงจะไดส้ มใจ มุง่ ม่ันทมุ่ เทเพยี งใดกว่าจะไดม้ า เส้นชัยไมม่ าต้องไปหามนั รางวัลมีไว้ให้คนตงั้ ใจ ขวากหนามทม่ิ แทงก่อนผ่านพน้ ไป โลกนี้ไม่มีอะไรไดม้ าง่ายดาย ที่มา : เพลงศรทั ธา หิน เหลก็ ไฟ ๑. จากเนอื้ เพลงดังกล่าว ผ้เู ขียนมีจดุ มุ่งหมายในขอ้ ใด ก. โน้มน้าวใจ ข. ใหก้ าลงั ใจ ค. สอนใจ ง. ปลอบใจ ๒. ขอ้ ใดให้ความหมายไม่ถกู ต้อง ก. ขวากหนาม = อุปสรรค ข. รางวัล = ความตอ้ งการ ค. เสน้ ชยั = ความสาเร็จ ง. ความฝน๎ = สิ่งทห่ี วงั ตอนท่ี ๒ แบบทดสอบแบบเชงิ ซอ้ น (ขอ้ ๓) อ่านข้อความตอ่ ไปนี้ โดยทาเครื่องหมาย / ลงในชอ่ ง ขอ้ เทจ็ จริง หรือข้อคดิ เห็น คนไทยถือว่าโชคดีทมี่ ีทงั้ อาหาร พชื ผักและผลไมห้ ลายชนดิ ให้บรโิ ภค ไมว่ ่าจะเป็นหน้าร้อน หน้าแล้ง หน้าฝนตก นา้ หลาก ผักก็ไมเ่ คยขาดตลาด หาได้ง่ายและราคาถูกกว่าอาหารอื่นๆ จากการศึกษาวิจัยพบว่าในผักผลไม้แต่ละสี จะมีปริมาณและชนิดของไฟโตนิวเทรียนท์ที่มี ประโยชนต์ า่ งกันไป เม่ือทราบถึงประโยชน์ของผักทั้ง๕ สีกันแล้ว ลองหันมาสังเกตสีสันที่มาพร้อม ประโยชน์ และควรหันมาทานผกั และผลไม้กนั ให้มากขนึ้ โดยทานเฉลีย่ และกระจายไปในทุกๆกลุ่ม ข้อความ ข้อเท็จจรงิ ข้อคิดเหน็ คนไทยถือว่าโชคดที ี่มที ง้ั อาหาร พชื ผักและผลไมห้ ลายชนิด ให้บรโิ ภค ผักผลไม้แต่ละสี จะมปี ริมาณและชนิดของไฟโตนิวเทรียนท์ ทม่ี ีประโยชน์ตา่ งกนั ไป ~ -๑๘๐ -~
ตอนท่ี ๓ แบบทดสอบแบบเขยี นตอบ อา่ นบทรอ้ ยกรองตอ่ ไปนี้แลว้ ตอบคาถามขอ้ ๔ – ๕ ปลาร้าพันหอ่ ดว้ ย ใบคาชว่ ยอวยกลิน่ สง่ ใบคาธรรมดาคง คละคลงุ้ เหมน็ เป็นคาวปลา ดจุ ดงั บุคคลผู้ คบคา้ หมูเ่ พือ่ นพาลา เสยี ชอ่ื เขาลอื ชา พาเสยี พงศ์วงศ์วานไป (จากหนังสือ กาพย์ขยายโคลงโลกนิติ ของกรมวิชาการ ) ๔. “ ดุจดงั บุคคลผู้ คบค้าหมูเ่ พ่อื นพาลา ” คาทข่ี ีดเส้นใตม้ คี วามหมายว่าอย่างไร ....................................................................................................................................................... ๕. บทรอ้ ยกรองขา้ งตน้ ให้ขอ้ คิดในเร่อื งใด ……………………………………………………………………………………………………………………………………….. ตัวอย่างแบบทดสอบสาหรบั ใชป้ ระเมินผลดา้ นการเขยี นเชิงสรา้ งสรรค์ คาส่งั ใหน้ กั เรียนเขียนเร่ืองจากภาพท่ีกาหนดให้ ตามความคดิ อยา่ งสร้างสรรค์พรอ้ มท้งั ตั้งชอื่ เร่ือง ให้เหมาะสม ความยาวไมน่ อ้ ยกว่า ๑๐ บรรทัด ด้วยลายมือตัวบรรจงคร่งึ บรรทดั . …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….............................................................. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….......… ~ -๑๙๑ -~
เกณฑ์การใหค้ ะแนน ใชเ้ กณฑว์ ดั ความสามารถในการเขียนความตามระดบั คะแนน (Rubric Scores) ดังน้ี (คะแนนเต็ม ๒๐ คะแนน) รายการประเมนิ ๕ ๔ ระดับคะแนน ๒ ๑ ต้ังช่ือเร่อื ง ตัง้ ชือ่ เร่อื ง ๑. การตงั้ ชอ่ื เรอ่ื ง ๓ ได้ตามเกณฑ์ ได้ตามเกณฑ์ ตั้งช่ือเร่อื ง ๒ ขอ้ ๑ ขอ้ ๑.๑ ชอ่ื เรือ่ งมีคาทเ่ี กี่ยวข้อง ได้ตามเกณฑ์ ครบ ๓ ขอ้ เขยี นเร่อื ง สอดคล้องกับภาพ ได้สาระสาคญั ตามเกณฑ์ ๑ ขอ้ ๑.๒ สือ่ ความหมายได้ตรง ใชภ้ าษา หรอื สอดคลอ้ งกบั ภาพ คะแนนเตม็ ๓ คะแนน ได้ตามเกณฑ์ ๑ ข้อ ๑.๓ ใช้คา วลี ประโยค เขยี นผดิ หรือข้อความถูกต้อง ๗ คา ขนึ้ ไป ตามหลกั การใชภ้ าษา ๒. สาระสาคญั ของเร่ือง เขยี นเรื่อง เขยี นเรื่อง เขียนเร่อื ง เขยี นเรื่อง ได้สาระสาคญั ได้สาระสาคญั ๒.๑ ลาดบั ความคดิ ได้สาระสาคญั ไดส้ าระสาคญั ตามเกณฑ์ ตามเกณฑ์ ๓ ข้อ ๒ ขอ้ อย่างต่อเน่อื ง ตามเกณฑ์ ตามเกณฑ์ ๒.๒ นาเสนอเนอ้ื หา ครบ ๕ ข้อ ๔ ขอ้ ตรงประเดน็ ๒.๓ เนอ้ื หามคี วามสมั พนั ธ์ กบั ภาพ ๒.๔ มีความเป็นเหตเุ ปน็ ผล ๒.๕ มกี ารนาเสนอ แนวคดิ ใหม่ ๓. การใชภ้ าษา ใช้ภาษา ใชภ้ าษา ใช้ภาษา ใชภ้ าษา ได้ตามเกณฑ์ ได้ตามเกณฑ์ ๓.๑ เลอื กใช้คา ได้ตามเกณฑ์ ได้ตามเกณฑ์ ๓ ข้อ ๒ ข้อ ได้ถูกต้อง ครบ ๕ ขอ้ ๔ ข้อ ๓.๒ เขียนเวน้ วรรคตอน ไดถ้ กู ตอ้ ง ๓.๓ ใชค้ าสภุ าพ ๓.๔ ใช้ประโยค ส่อื ความหมายได้ ๓.๕ ใชค้ าไดส้ ละสลวย ๔. การเขียนสะกดคา เขียนถกู ตอ้ ง เขียนผดิ เขียนผดิ เขียนผดิ ๓ - ๔ คา ๕ - ๖ คา (เขียนผิดซ้า ให้นบั เปน็ ๑ คา) ทุกคา ๑ - ๒ คา ๕. ความเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ย คะแนนเตม็ ๒ คะแนน เขยี นได้ เขยี นไดต้ ามเกณฑ์ ๕.๑ เขยี นตัวอกั ษรอ่านงา่ ย ตามเกณฑ์ ๑ ข้อ ๕.๒ สะอาดเรียบรอ้ ย ครบ ๒ ข้อ ท่มี า : คาชี้แจงเคร่อื งมอื วดั และประเมนิ ผล “ความสามารถในการเขยี น” ภาคเรยี นท่ี ๑ : มถิ นุ ายน ๒๕๖๐ โดยสถาบนั ภาษาไทย สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ.กระทรวงศึกษาธกิ าร ~ -๑๑๒๐~-
บทท่ี ๓ เทคนิคสาคัญในการเขยี นหนังสอื สง่ เสริมการอ่าน ครูแหม่มได้จัดทาหนังสือส่งเสริมการอ่านเพ่ือใช้เป็นนวัตกรรมในการพัฒน าผู้เรียน มาอย่างต่อเนื่องเกือบ ๒๐ ปี ซึ่งผลงานท่ีสร้างสรรค์ขึ้นส่งผลให้ได้รับรางวัลในระดับชาติหลาย รางวัลและได้รับการเล่ือนวิทยฐานะครูเช่ียวชาญ ตามหลักเกณฑ์ ว.๕ (ผู้ท่ีมีผลงานประสพ ความสาเรจ็ เปน็ ทปี่ ระจักษ์) จากประสบการณ์ที่ส่ังสมมารวมท้ังความรู้ท่ีได้รับจากการศึกษาระดับ ปริญญาตรี วิชาเอกภาษาไทย และระดับปริญญาโท สาขาวิชาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียน การสอน ครแู หมม่ ขอสรปุ เทคนิคสาคญั ในการเขยี นหนังสอื สง่ เสรมิ การอา่ นไว้ ดงั น้ี ๑. การตั้งช่ือเร่ือง ต้องเร้าใจและสอดคล้องกับเนื้อเรื่อง หน้าปกของหนังสือแต่ละเล่ม อาจจะบอกด้วยว่าเป็นหนังสือส่งเสริมการอ่านเก่ียวกับอะไร เช่น เรื่องมาตราตัวสะกด เร่ืองสระ หรือนิทานส่งเสริมคุณธรรม และถ้าจาเป็นต้องอ่านตามลาดับก่อนหลังต้องเขียนบอกให้ชัดเจนว่า เป็นเลม่ ทเี่ ทา่ ไร เพือ่ ใหผ้ ูท้ สี่ นใจสามารถนาไปใช้ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ๒. เนื้อหาของเร่ืองต้องมีแก่นของเร่ือง หรือวัตถุประสงค์อย่างชัดเจน เนื้อหาของหนังสือ ระดับเด็กเล็ก ควรมีความคิดรวบยอดเพียงอย่างเดียว เพื่อให้เข้าใจได้ง่าย ไม่สับสน มีความ สนกุ สนาน ความยาวและความยากงา่ ยของเนอื้ หาใหเ้ หมาะสมกับวัยและความสามารถในการอ่าน เนือ้ เรอื่ งต้องไมโ่ หดร้าย ไม่รุนแรง ไม่ควรจบลงด้วยความตาย ตัวละครท่ีดีต้องได้รับผลดี ตัวละคร ท่ีไม่ดีต้องกลับใจ ผู้อ่านเมื่ออ่านแล้วต้องได้มากกว่าความบันเทิง คือควรสอดแทรกคุณธรรม หรือ ความรูไ้ ว้ด้วย ตวั อย่างเชน่ ๒.๑ เนอ้ื เรอ่ื งเกี่ยวกับคนดี คนท่ีทาความดีต้องได้รับผลตอบแทนที่ดีในชาติป๎จจุบัน เช่นถ้าเราแต่งหนังสือว่า “เกง่ อาศัยอยู่กบั ตาและยายที่บ้านหลงั เลก็ ๆ ในชนบท พ่อกบั แมข่ องเก่งไปรับจ้างทางานก่อสร้าง ทก่ี รงุ เทพ ฯ ทุก ๆ วันเก่งจะช่วยตากับยายทางานบ้านเพราะตากับยายอายุมากแล้ว นอกจากน้ัน เก่งยงั ไปเก็บผักบงุ้ ทีใ่ กล้ ๆ ทุ่งนาไปขายเพอ่ื ชว่ ยหารายได้ให้กับครอบครัว เกง่ เป็นเดก็ ดีตั้งใจเรียน หนงั สอื และมีน้าใจต่อเพื่อน ๆ เวลาเพอ่ื นคนไหนเรยี นไม่เข้าใจเกง่ กจ็ ะช่วยอธิบายให้ฟ๎ง เก่งจึงเป็น ที่รักใคร่ของทุกคน” จากเน้ือเร่ืองจะเห็นได้ว่า ตัวละครเป็นคนดี ดังนั้นผลสุดท้ายของเร่ืองก็ต้อง ได้รับสิ่งท่ีดีตอบแทน เช่น เก่งได้รับคัดเลือกให้ได้รับรางวัล “เด็กดีศรีโรงเรียน” หรือเขียนไปถึง ตอนโตว่าเก่งได้ทางานท่ีดีและบอกให้พ่อกับแม่กลับมาอยู่ที่บ้านเพราะพ่อกับแม่อายุมากแล้ว เก่ง ~- ๑๑๑๓-~
ให้ทา่ นทั้งสองชว่ ยกนั ทาเกษตรตามแนวทางทฤษฎใี หม่ของในหลวงรัชกาลที่ ๙ ครอบครัวของเก่ง แม้จะไม่ร่ารวยแต่ทุกคนก็อยู่ด้วยกันอย่างมีความสุข ไม่ควรเขียนเนื้อเรื่องว่าครอบครัวของเขา ยากจนแต่เก่งก็เป็นเด็กดี วันหนึ่งขณะท่ีเก่งไปเก็บผักบุ้ง เขาก็ถูกงูเห่ากัดตาย เพราะความดีที่เก่ง ทาเขาจึงได้ไปเกิดบนสวรรค์ กรณีท่ีตัวละครของเร่ืองมีป๎ญหาในชีวิต เราต้องแสดงถึงวิธีการ แก้ป๎ญหาท่ีถูกต้อง ตัวละครต้องใช้คุณธรรมความดีและความสามารถในการผ่านพ้นป๎ญหา เหล่านั้น ห้ามให้ตัวละครแก้ป๎ญหาชีวิตโดยการฆ่าตัวตายเพื่อหนีป๎ญหาหรือทาในส่ิงท่ีไม่ถูกต้อง แล้วได้รับผลดีตอบแทน เพราะเน้ือเร่ืองท่ีเราเขียนจะเป็นสิ่งที่เราต้องการสอนให้นักเรียนมองเห็น แนวทางในการแก้ปญ๎ หา ในการตอ่ สู้กบั อุปสรรคในชีวติ ๒.๒ เนอ้ื เรื่องเกี่ยวกบั คนไมด่ ี ในกรณีท่ีเรากาหนดพฤติกรรมของตัวละครในเชิงลบ เช่นเป็นเด็กเกียจคร้าน เป็นเด็กซุกซน หรือเป็นคนไม่ดี ผลสุดท้ายของเรื่องตัวละครต้องไม่จบลงด้วยความตายเพราะเป็น เรื่องท่ีรุนแรง นอกจากนั้นอาจจะทาให้นักเรียนคิดว่าเม่ือมีป๎ญหา เมื่อเราทาตัวไม่ดี เราก็ควรจะ ฆ่าตวั ตายเพือ่ ชดใช้ความผดิ ท่ีทา เนือ้ เรือ่ งตอ้ งสะท้อนให้เห็นว่าเม่ือทาความผิดแล้วกลับตัวกลับใจ สังคมก็พร้อมจะให้อภัย เราสามารถเริ่มต้นชีวิตใหม่ทาในส่ิงที่ถูกต้องดีงามแล้วชีวิตก็จะพบกับ ความสุข ครูแหม่มเคยเป็นผู้เช่ียวชาญอ่านงานให้คุณครูท่านหน่ึง ซ่ึงแต่งเนื้อเรื่องว่าเด็กนักเรียน ชั้น ป. ๑ คนหน่ึงเป็นเด็กเกียจคร้านไม่ตั้งใจเรียนและมีนิสัยซุกซน ในวันหยุดเด็กคนนี้ได้ ขี่รถจักรยานไปเที่ยวเล่นท่ีชายปุาท้ายหมู่บ้าน เม่ือแม่ของเขาตามหาก็พบว่าเด็กคนนั้นถูกเสือกัด นอนไส้แตกตาย เราควรจะปรับแกเ้ ป็นว่าที่ท้ายหมู่บา้ นมีสระน้าใหญ่ซึ่งมีปูายเขียนบอกว่า “น้าลึก มากหา้ มลงเลน่ นา้ ” แตเ่ พราะเดก็ คนนี้อ่านหนังสือไมอ่ อกเขาจึงลงไปเล่นน้าและจมน้าแต่โชคดีท่ีมี คนมาพบเขา้ จงึ ช่วยเหลอื ไดท้ นั เหตุการณ์ในครั้งนั้นทาให้เขาคิดได้ว่าเพราะเขาอ่านหนังสือไม่ออก จงึ เกิดเหตุการณ์ท่ีทาใหเ้ ขาเกอื บสญู เสยี ชวี ติ เขาจึงปรับปรุงตัวใหม่ต้ังใจเรียนหนังสือ ไม่นานเขาก็ อ่านหนังสือออก เขารู้สึกว่าหนังสือช่วยพาเขาท่องไปในโลกกว้าง เมื่อมีเวลาว่างเขาก็มักจะเข้าไป อา่ นหนงั สอื ในห้องสมุด ผลการเรียนของเขาก็ดีขึ้น พ่อแม่และคณุ ครูตา่ งก็ภมู ิใจในตวั ของเขา ๓. เนื้อเร่ืองถ้าแต่งเป็นบทกลอน ต้องมีโครงเร่ืองชัดเจนไม่ใช่กลอนพาไป คาที่ใช้ต้อง ไม่หยาบคาย และไม่ยากเกินวัยของผู้เรียน ถ้าจาเป็นต้องใช้คาศัพท์น้ันๆ จะต้องเขียนคาอธิบายศัพท์ ไว้ด้านหลัง ฉันทลักษณ์ของบทกลอนต้องถูกต้องแม่นยา หนังสือในแต่ละชุดอาจเขียนได้ทั้งร้อยแก้ว กลอนส่ี กาพยย์ านี ๑๑ และกลอนสภุ าพ ไม่จาเปน็ ต้องเขียนดว้ ยคาประพันธช์ นิดเดยี วกนั ทุกเล่ม ~- ๑๑๒๔-~
๔. การใชภ้ าษาสาหรบั เด็ก ใช้ภาษาสุภาพ ใช้คาทันสมัย ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ ภาษา ที่ใช้ในเนื้อเร่ือง ถ้าเป็นคาภาษาถ่ิน แต่กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ไม่ใช่เด็กท่ีอาศัยอยู่ในท้องถิ่นนั้นจะต้องมี คาอธิบายศพั ท์อยู่ท้ายเรอ่ื ง ๕. ภาพประกอบทใี่ ช้ในหนังสือสาหรบั เดก็ สามารถทาได้หลายวิธี เช่น ภาพวาด ภาพถ่าย ภาพตัดแปะ เปน็ ตน้ แตต่ ้องมีความเป็นเอกภาพ คอื ใช้ภาพในลักษณะเดียวกันตลอดเล่ม นอกจากนั้น ภาพยังต้องสอดคล้องกับคาศัพท์หรือเนื้อเรื่อง เช่น คาว่า ไข่เจียว ต้องเป็นภาพไข่เจียว ไม่ใช่ภาพไข่ เป็นฟอง ฝงู เปด็ ตอ้ งมเี ปด็ หลายตวั ไมใ่ ช่ตวั เดียว เด็กกอ่ นวัยเรยี น(อายุ ๒-๖ ขวบ) ควรเป็นหนังสือ ที่มีภาพมาก ๆ มีตัวหนังสือประกอบได้เล็กน้อย แต่สาหรับเด็กก่อนวัยรุ่น (อายุ ๑๒-๑๔ ขวบ) ไม่จาเปน็ ต้องมีภาพประกอบทกุ หนา้ ๖. การใช้ตัวอักษรและรูปเลม่ ไมค่ วรเปน็ ตัวอกั ษรลวดลาย ควรเป็นตัวอักษรท่ีเป็นรูปแบบ ท่ีชัดเจน อ่านง่าย การเขียนอักษรแต่ละตัวถูกต้องตามหลักเกณฑ์ทางภาษา เด็กวัยท่ีสูงขึ้น ตัวอักษรจะมีขนาดลดลงได้ตามความเหมาะสม สาหรับขนาดของรูปเล่มหนังสือสาหรับเด็กควรมี ขนาดไมเ่ ลก็ หรอื ใหญ่เกนิ ไป จานวนหน้าก็เชน่ เดียวกันต้องมีจานวนเหมาะสมกับวัยของเด็ก การจัดทา รปู เล่มจะทาเปน็ แนวนอนหรอื แนวต้งั ก็ได้ แต่ต้องแขง็ แรงไมห่ ลดุ ขาดได้ง่าย ๗. แบบฝึกท้ายเร่ืองต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการนาหนังสือส่งเสริมการอ่านมาใช้ เช่น พัฒนาการอา่ นออกเขยี นได้ การอ่านจับใจความ การอ่านเชิงวิเคราะห์ ซ่ึงต้องมีความยากง่าย เหมาะสมกับวัยและสอดคล้องกบั ตัวช้วี ัดในระดับชน้ั นั้น ๆ ๘. เม่อื จัดทาหนังสือส่งเสริมการอ่านเสร็จเรียบร้อยแล้วตอ้ งนาไปใหผ้ เู้ ช่ียวชาญ จานวน ๓ หรอื ๕ ท่าน ตรวจสอบคณุ ภาพของหนงั สอื ในด้านเนอ้ื เร่ือง ขนาดตัวอักษร ความเหมาะสมของภาพ กจิ กรรมท้ายเรื่อง และรูปเลม่ การให้คะแนนตามแบบประเมนิ มีลักษณะเปน็ มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ตามวิธี ของ ลเิ คอร์ท (Likert) มี ๕ ระดับ ดงั น้ี (บญุ ชม ศรีสะอาด. ๒๕๔๕ : ๑๐๒) เหมาะสมมากทส่ี ดุ ให้ ๕ คะแนน เหมาะสมมาก ให้ ๔ คะแนน เหมาะสมปานกลาง ให้ ๓ คะแนน เหมาะสมน้อย ให้ ๒ คะแนน เหมาะสมนอ้ ยทีส่ ดุ ให้ ๑ คะแนน ~- ๑-๑๓๕๑-๓~-
เกณฑก์ ารใหค้ วามหมายของคา่ เฉลยี่ หมายถึง ดมี าก คา่ เฉลย่ี ระหวา่ ง ๔.๕๑ – ๕.๐๐ หมายถงึ ดี ค่าเฉลย่ี ระหว่าง ๓.๕๑ – ๔.๕๐ หมายถึง ปานกลาง คา่ เฉล่ียระหวา่ ง ๒.๕๑ – ๓.๕๐ หมายถึง ควรปรับปรุง ค่าเฉลย่ี ระหวา่ ง ๑.๕๑ – ๒.๕๐ หมายถงึ ควรปรบั ปรุงอย่างยง่ิ ค่าเฉล่ยี ระหว่าง ๐.๕๑ – ๑.๕๐ ตัวอย่างแบบประเมินคุณภาพของหนงั สือรายเลม่ หนงั สือส่งเสริมการอ่านเร่ืองใบหม่อนเดก็ ขยนั ลักษณะของหนงั สอื ๕ ระดบั ความคดิ เห็น ๑ ๔ ๓๒ เน้อื เร่ือง ขนาดตัวอักษร ความเหมาะสมของภาพ กจิ กรรมทา้ ยเร่อื ง รปู เล่ม ตัวอยา่ งแบบสรปุ ผลการประเมินคณุ ภาพหนงั สือจากผู้เชี่ยวชาญ จานวน ๕ คน หนงั สอื สง่ เสรมิ การอา่ นเร่ืองใบหมอ่ นเด็กขยนั ลักษณะของหนงั สือ ความถีข่ องความคิดเห็น คา่ ความคิดเหน็ ๑ รวมค่า คา่ ระดบั ความ เฉลยี่ ความ ๕๔๓๒๑ ๕ ๔๓๒ คิดเห็น คิดเห็น เน้อื เรื่อง ๕ ๒๕ ๒๕ ๕ ดมี าก ขนาดตวั อักษร ๕ ๒๕ ๒๕ ๕ ดีมาก ความเหมาะสมของภาพ ๕ ๒๕ ๒๕ ๕ ดีมาก กิจกรรมท้ายเรอื่ ง ๔ ๑ ๒๐ ๔ ๒๔ ๔.๘ ดีมาก รูปเลม่ ๕ ๒๕ ๒๕ ๕ ดีมาก รวมเฉลย่ี ๑๒๔ ๔.๙๖ ดีมาก ~- ๑๑๔๖-~
๙. นาหนงั สือสง่ เสรมิ การอา่ นทส่ี ร้างขน้ึ ไปทดสอบหาประสิทธิภาพ เพอื่ ดวู า่ หนังสือ สง่ เสรมิ การอา่ นท่สี ร้างข้นึ มีความเหมาะสมกับนกั เรียนในระดบั ช้ันท่จี ะนาไปใชใ้ นการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนหรือไม่ โดยการเปรียบเทยี บประสิทธิภาพของกระบวนการ ( E1 ) กบั ประสทิ ธิภาพของผลลัพธ์ ( E2 ) โดยใช้สูตร E1 / E2 โดยตัง้ คา่ ประสทิ ธิภาพไว้ เชน่ ๗๕/๗๕ หรอื ๘๐/๘๐ (ชัยยงค์ พรหมวงศ.์ ๒๕๓๗ : ๑๒๙) ดังนี้ X N E1 A 100 F N E2 B 100 เม่อื E1 แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการ E2 แทน ประสิทธภิ าพของผลลัพธ์ x แทน คะแนนรวมของกจิ กรรมระหวา่ งเรียนท้ังหมด F แทน คะแนนรวมของการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลังเรยี น A แทน คะแนนเต็มของการทากิจกรรมระหว่างเรียน B แทน คะแนนเตม็ ของการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิหลังเรยี น N แทน จานวนนกั เรยี น การหาประสทิ ธภิ าพของหนงั สอื สง่ เสริมการอ่านทดลอง ๓ ครง้ั ดงั นี้ ๑) ทดลองกับนักเรียนแบบเด่ียว (๑ : ๑) โดยคัดเลือกนักเรียนที่มีผลการเรียนอ่อน ปานกลาง และเกง่ อย่างละ ๑ คน ๒) ทดลองกับนักเรียนกลุ่มเล็ก (๑ : ๑๐) โดยคัดเลือกนักเรียนที่มีผลการเรียน ออ่ น ปานกลาง และเก่ง อยา่ งละ ๓ คน ๓) ทดลองกับนักเรียนกลุ่มใหญ่ (๑ : ๑๐๐) ดาเนินการโดยนาหนังสือส่งเสริม การอา่ นท่ไี ดท้ าการปรับปรุงแกไ้ ขแล้ว ไปทดลองใชก้ ับนกั เรียนท้ังช้นั เม่ือได้หนังสือส่งเสริมการอ่านท่ีมีประสิทธิภาพแล้วจึงนาไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง หรอื กลุ่มเปูาหมาย ~- ๑๑๕๗-~
ทาไม ? หนงั สอื สง่ เสรมิ การอ่านที่ครูแหมม่ สรา้ งขึน้ จงึ ไดร้ างวลั อันดับ ๑ ของประเทศ หนังสือส่งเสริมการอ่าน ชุด นิทานสระ เคยได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวด Best Practice ดา้ นการพัฒนาส่อื นวตั กรรม เพื่อพัฒนาทักษะด้านการอ่าน การเขียน สาหรับนักเรียน ท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ อันดับ ๑ ระดับภูมิภาค จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขน้ั พื้นฐานและได้มีโอกาสจดั แสดงผลงานรวมทง้ั ขึน้ เวทีถา่ ยทอดองคค์ วามรแู้ ละเผยแพร่นวัตกรรม “นิทานสระ”ในงาน Symposium การศึกษาพิเศษไทยก้าวไกลสู่อาเซียน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วนั ท่ี ๒๗ – ๒๘ กันยายน ๒๕๕๔ ณ จงั หวัดขอนแกน่ ซงึ่ ในปนี นั้ ไม่มกี ารประกวดระดบั ประเทศ ต่อมาในปีการศึกษา ๒๕๕๗ เมื่อมีการประกวด Best Practice สาหรับนักเรียนที่มีความ บกพร่องทางการเรียนรู้อีกคร้ัง ครูแหม่มจึงส่งผลงานเข้าประกวด โดยส่งแข่งขันด้านวิจัยและ พัฒนาการจัดการศึกษาสาหรับนักเรียนเรียนรวมและได้รางวัลชนะเลิศอันดับ ๑ ระดับประเทศ ได้รับคัดเลือกให้จัดแสดงผลงานในงานมิติใหม่การศึกษาเดินหน้าประเทศไทย ณ บริเวณรอบ กระทรวงศึกษาธิการ และจัดแสดงผลงานในงานประชุมทางวิชาการด้านการศึกษาพิเศษระดับ นานาชาติ ณ ศูนยร์ าชการ แจ้งวัฒนะ สาหรับจดุ เด่นของหนงั สือสง่ เสริมการอา่ น ชุด นทิ านสระ ท่สี ่งผลให้ได้รับรางวลั พอสรุปไดด้ ังนี้ ~- ๑๑๖๘- ~
๑) หนงั สือส่งเสรมิ การอา่ น ชุด นิทานสระ มขี ้นั ตอนการสร้างทเี่ ป็นระบบ โดยนาคาศพั ท์ จากบัญชีคาพื้นฐาน ในระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ – ประถมศึกษาปีที่ ๓ มารวมรวม โดยแยก เป็นสระเสียงต่าง ๆ จากน้ันจึงเรียบเรียงให้เป็นเรื่องราวให้น่าสนใจ ตัวละครและสถานการณ์ หลากหลาย ทัง้ เร่ืองราวที่เป็นมนษุ ย์และเปน็ สัตว์ จานวน ๒๓ เลม่ ๒) รูปภาพประกอบภาพ มคี วามสวยงาม สสี นั สดใส น่าอา่ น ซึ่งตรงกับทฤษฎกี ารเรยี นรู้ ของสมอง ท่กี ลา่ วไวว้ ่าส่อื ทมี่ ีสสี นั จะดึงดูดความสนใจของสมองได้ดี ๓) กิจกรรมทา้ ยเร่ือง มีความเหมาะสม โดยกาหนดไวเ้ รอ่ื งละ ๗ กจิ กรรม เริ่มจากการให้ นักเรียนฝึกอ่านสะกดคา ซึ่งตรงกับหลักการสอนอ่านภาษาไทย จากนั้นจึงให้นักเรียนจับใจความ สาคัญของเรื่องด้วยกิจกรรมง่าย ๆ และฝึกให้นักเรียนแต่งประโยค เพ่ือให้แน่ใจว่านักเรียนเข้าใจ ความหมายของคาแต่ละคาและสามารถนาคาศัพท์เหลา่ นนั้ ไปใชไ้ ดต้ รงตามความหมาย • ๔) การทดลองใชแ้ ละปรับปรุงอย่างต่อเนอื่ ง หนงั สือส่งเสริมการอ่าน ชุด นิทานสระ จัดทา ข้ึนเพ่ือใช้แก้ป๎ญหานักเรียนอ่านไม่ออก –เขียนไม่ได้ ซึ่งครูแหม่มได้สร้างแบบทดสอบเพื่อวัด ความสามารถของผูเ้ รียนดา้ นการอา่ นและการเขียน ผลปรากฏว่านักเรียนหลายคนจาสระไม่ได้ จึง ไม่สามารถอ่านหนังสือได้ เพราะหัวใจสาคัญของการอ่านออก-เขียนได้ คือ นักเรียนต้องรู้จัก พยัญชนะ สระ และวรรณยกุ ต์ ร้จู ักการอ่านสะกดคาและแจกลูก ดังนน้ั ครผู ูส้ อนจึงตอ้ งพยายามให้ นกั เรียนจาสระต่าง ๆ ให้ได้ และต้องเป็นการจัดกิจกรรมที่นักเรียนได้เรียนอย่างมีความสุข ไม่รู้สึก ว่ากาลงั เรยี นและเป็นการอ่านนทิ านเพ่อื ผอ่ นคลายความเครยี ด การทดลองคร้ังแรกในปีการศึกษา ๒๕๕๑ กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ที่มีป๎ญหา ด้านการอ่านและการเขียน โดยให้นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ วาดภาพประกอบหนังสือ บางส่วนก็สแกนจากหนังสือเรียนต่าง ๆ ในครั้งน้ันไม่ได้มีการทดลองเพ่ือหาประสิทธิภาพ เป็นการทา หนังสือไป สอนไป เน่ืองจากไม่สามารถรอเวลาได้ เพราะนักเรียนในช้ันน้ันอ่านไม่ออกจานวน ค่อนข้างมาก เดิมทีตั้งใจจะสอนเฉพาะนักเรียนที่มีป๎ญหาด้านการอ่าน การเขียน แต่พอนักเรียน ท้ังห้องได้ฟ๎งนิทานเรื่องแรกที่ครูนามาสอน ต่างก็ลุกออกจากท่ีน่ัง พากันมาน่ังฟ๎งบริเวณหน้าห้อง เพราะนักเรียนไม่เคยเรียนโดยใช้หนังสือนิทานมาก่อน ครูแหม่มจึงต้องสอนท้ังห้อง ซ่ึงนับว่าเป็น การทบทวนหลักการอ่าน การจับใจความ และการเขียนสื่อสาร ส่วนผลการทดลองนั้นจะเก็บ เฉพาะกลมุ่ ทม่ี ปี ๎ญหาด้านการอา่ นและการเขยี นเท่านัน้ นกั เรยี นบางคนมากระซิบว่าทาไปให้อ่านที่ บ้านบา้ งสิ ครูแหมม่ จงึ จัดทาแบบรวมเล่มแจกนกั เรยี นทุกคน เมอ่ื ส้ินสดุ การสอนก็ทาการทดสอบ อกี ครัง้ ผลปรากฏวา่ นักเรียนมผี ลการทดสอบหลงั เรยี นสูงกว่าก่อนเรียนในระดบั ท่ีน่าพอใจ ~- ๑๑๗๙-~
ในปกี ารศึกษา ๒๕๕๒ – ๒๕๕๓ ครูแหม่มก็ปรับปรุงด้านเนื้อหาและภาพประกอบของหนังสือ ให้มีความเหมาะสมมากย่ิงขึ้น ผลจากการนาหนังสือส่งเสริมการอ่าน ชุด นิทานสระ ไปใช้พัฒนา การอา่ นและการเขยี นพบวา่ ผลการทดสอบหลังเรียนสูงกวา่ กอ่ นเรยี น ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ครูแหม่มได้รับเงินตกเบิกวิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ จึงนาเงิน จานวนหน่ึงไปเป็นค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงหนังสือให้มีความสวยงาม น่าอ่าน ถูกต้องตามหลัก การสร้างหนังสือสาหรับเด็ก ผ่านการหาคุณภาพจากผู้เช่ียวชาญ จากน้ันนาไปใช้พัฒนาความสามารถ ด้านการอ่าน –การเขียนของนักเรียน ผลปรากฏว่ามีความพึงพอใจต่อการเรียนโดยใช้หนังสือ ส่งเสรมิ การอา่ นและมผี ลสมั ฤทธท์ิ างการอา่ น –การเขียน สงู กว่าก่อนเรยี น ปีการศึกษา ๒๕๕๕ – ๒๕๕๖ ครูแหม่มก็ยังคงนาหนังสือส่งเสริมการอ่าน ชุด นิทานสระ มาใช้แก้ป๎ญหานักเรียนอ่านไม่ออก – เขียนไม่ได้ และได้จัดทาในรูปแบบของ e-book ประกอบเสียง และจัดใส่ไว้ในคอมพิวเตอร์ภายในห้องเรียน ทาให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง นอกจากน้ันครแู หม่มยังได้นาหนังสือนิทานสระไปทดลองใช้แก้ป๎ญหากับนักเรียนโรงเรียนอื่น ๆ ท่ี พบป๎ญหาเช่นเดียวกันจานวน ๑๐ โรงเรียน ผลปรากฏว่านักเรียนทั้ง ๑๐ โรงเรียน มีผลสัมฤทธ์ิ ทางการอ่าน – การเขียนสูงขึ้น คณะครูจากโรงเรียนต่าง ๆ ที่เห็นหนังสือส่งเสริมการอ่าน ชุด นทิ านสระ ตา่ งกส็ นใจทจี่ ะนาไปใช้พัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน โดยได้ทาหนังสือราชการตลอดจนบันทึก ขอ้ ความมาขอความอนุเคราะหส์ อื่ การสอนจานวนมาก ผลจากการพัฒนาหนังสือส่งเสริมการอ่านอย่างเป็นระบบและทดลองใช้รวมทั้งปรับปรุง แก้ไขอย่างต่อเนื่อง อีกท้ังผลงานยังเป็นประโยชน์ต่อเพ่ือนร่วมวิชาชีพ จึงส่งผลให้นวัตกรรม หนังสือส่งเสริมการอ่าน ชุด นิทานสระ ได้รับรางวัลจากการประกวด Best Practice อันดับ ๑ ของประเทศ ~- ๒๑๐๘ ~-
หนังสือส่งเสรมิ การอ่าน ชดุ นิทานสระ จานวน ๒๓ เลม่ -~๑๙๒-๑ ~
- ๑๙ - เผยแพรห่ นงั สือส่งเสรมิ การอา่ น ชดุ นิทานสระในเฟสบุค๊ Kru Mananya สามารถดาวนโ์ หลดหนังสอื ๒๓ เลม่ ไดโ้ ดยสแกน QR Code นิทานสระ ครจู ากทว่ั ทกุ ภาคของประเทศนาหนังส~ือส๒ง่ ๒เส~รมิ การอา่ น ชดุ นิทานสระไปพัฒนาผูเ้ รียน - ๒๐ -
เพจเกยี่ วกบั การศึกษานาหนงั สอื สง่ เสรมิ การอ่าน ชุด นิทานสระ ไปเผยแพร่ สามารถสืบคน้ ไดท้ าง Google ~- ๒๒๑๓ -~
บทท่ี ๔ การสรา้ งหนังสอื ส่งเสรมิ การอ่านโดยใช้คลิปอาร์ต หนังสือส่งเสริมการอ่านนั้นสามารถนาไปใช้เป็นนวัตกรรมในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนได้ ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ แต่ป๎ญหาหนึ่งที่พบคือ ครูมีความสนใจในการสร้างหนังสือส่งเสริมการอ่าน แต่ยังขาดความรู้ ความเข้าใจ ในการจัดทาหนังสือส่งเสริมการอ่าน ครูบางคนแต่งเรื่องได้แต่มี ขอ้ จากดั ในการวาดภาพทาใหเ้ ป็นอุปสรรค เพราะคา่ ใชจ้ า่ ยในการวาดภาพประกอบหนังสือเด็กน้ัน มีราคาค่อนข้างสูง ครูแหม่มก็เป็นคนหนึ่งที่ช่ืนชอบการสร้างหนังสือส่งเสริมการอ่านเพราะ สามารถสอดแทรกได้ท้ังเน้ือหาสาระและคุณธรรมท่ีครูต้องการให้เด็ กทราบลงไปในหนังสือ นอกจากน้ันครูแหม่มมีความรู้สึกว่าหนังสือที่ครูสร้างขึ้นนักเรียนจะช่ืนชอบเป็นพิเศษ สนใจว่าครู เขยี นเรื่องอะไร จาได้ว่าคร้ังแรกท่ีจัดทาหนังสือส่งเสริมการอ่านก็จะให้นักเรียนช่วยวาดภาพประกอบ สแกนภาพจากหนังสือเล่มอ่ืน ๆ บ้าง ถึงแม้ว่าภาพประกอบหนังสือจะยังไม่สมบูรณ์แต่นักเรียนก็ ชนื่ ชอบ บางภาพท่วี าดไมส่ วยเดก็ ๆ ก็จะหัวเราะสนุกสนาน รู้สึกตลกกับภาพเหล่าน้ัน ไม่ได้ตาหนิ หรอื ทาใหไ้ มต่ อ้ งการอ่าน เรยี กได้วา่ ส่งิ ทคี่ รูทาให้เด็ก ๆ จะมีความดีใจและสนใจ โดยเฉพาะเวลาท่ี ครูให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดเรียงหน้ากระดาษ ช่วยเข้าเล่มหนังสือ เด็ก ๆ ทุกคนจะเต็มใจ กระตอื รอื ร้นในการทา เมอื่ หนังสอื เสรจ็ เรยี บร้อย เดก็ ๆ กจ็ ะรบี นาไปอา่ นทันที ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ เม่ือครูแหม่มได้มีโอกาสศึกษาต่อระดับปริญญาโท สาขาวิชาการพัฒนา หลักสูตรและการเรียนการสอน ท่ีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ได้ทาวิทยานิพนธ์ในหัวข้อ “การสร้างหนังสือส่งเสริมการอ่านจับใจความบทร้อยกรอง สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๔” นับว่าโชคดที มี่ ีอาจารย์ทปี่ รกึ ษาวทิ ยานิพนธ์คือ รศ.นพดล จันทร์เพ็ญ ซึ่งท่านมีความรู้ด้านหนังสือเด็ก อยา่ งแตกฉานและเป็นผทู้ ่ีเขียนร้อยกรองได้อย่างไพเราะ รวมทั้งท่าน ผศ.กาญจนา บุญรมย์ ซึ่งให้ คาแนะนาในการจดั ทาภาพประกอบหนงั สอื ท่านบอกว่าภาพตอ้ งมคี วามเป็นเอกภาพจะไปหาภาพ จากหนงั สือตา่ ง ๆ แล้วนามาดดั แปลงให้เข้ากับเน้ือเรื่องไม่ได้ เพราะเคยมีนักศึกษาทาวิทยานิพนธ์ เก่ยี วกบั หนังสอื เดก็ ภาพแรกตัวละครเป็นหมูแบบที่ใส่เส้ือผ้า มีกิริยาอาการเหมือนมนุษย์ แต่ภาพ หนา้ ตอ่ ไป ตวั ละครนนั้ กลับเปน็ หมูทีเ่ ดนิ สี่ขา ลาตวั เปลอื ยเปล่าเหมอื นหมูตามทีเ่ ราเหน็ กันทั่วไป ครูแหม่มจึงเริ่มสอบถามเพ่ือน ๆ เกี่ยวกับนักวาดภาพและได้มีโอกาสรู้จักกับคุณภาคินี เปล่งดีสกลุ (ขณะนนั้ ท่านยังไม่ไดเ้ ปน็ อาจารย์สอนหนังสือ แต่เป็นนักวาดภาพประกอบหนังสือเด็ก ที่มีผลงานมากมาย ป๎จจุบัน ดร.ภาคินี เปล่งดีสกุล เป็นอาจารย์ประจาสาขาวิชาการออกแบบ ~- ๒๒๔๒ ~-
อุตสาหกรรม คณะสถาป๎ตยกรรมศาสตร์ แขนงวิชากราฟิกและมัลติมีเดีย มหาวิทยาลัยขอนแก่น) หลังจากได้พูดคุยกันแล้วคุณภาคินีก็วาดภาพประกอบหนังสือนิทานที่ครูแหม่มแต่งข้ึน ขอย้อนไป เล่าเรื่องนทิ านสักนิด ครูแหมม่ แตง่ นิทานเป็นกาพย์ยานี ๑๑ จานวน ๖ เรื่อง โดยยึดหลักคุณธรรม พื้นฐาน๙ ประการของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาอานาจเจริญ (ของกระทรวง ศึกษาธิการมี ๘ ประการ แตท่ างจงั หวดั เพมิ่ ความกตญั ํู) ได้แก่เรื่องน้าใจของหมีน้อย พลังสามัคคี กระตา่ ยน้อยยอดกตัญํู หนผู ู้ซือ่ สตั ย์ ใบหมอ่ นเด็กขยนั และลกู หมจู อมสะอาด ซึ่งผลการประเมิน วทิ ยานิพนธข์ องครแู หม่มอยู่ในระดับยอดเยี่ยม ( Excellent) หลังจากนั้นแล้วครูแหม่มก็ได้ให้อาจารย์ภาคินี เปล่งดีสกุล วาดภาพประกอบหนังสืออีก หลายเร่ือง ท่านบอกว่าภาพใดท่ีครูแหม่มไม่ถูกใจสามารถบอกได้ ท่านจะได้เปลี่ยนภาพให้ใหม่ เพราะตัวละครและฉากวาดแยกออกจากกันและใช้คอมพิวเตอร์ในการลงสีภาพรวมทั้งการจัดทา รูปเล่ม จึงสามารถเปล่ียนตัวละครได้ใหม่โดยการลบภาพตัวละครเดิมออกและแทรกตัวละครใหม่ เข้าไป อีกท้ังสามารถเปลี่ยนสีเส้ือผ้าของตัวละครได้โดยง่าย เมื่อครูแหม่มได้ยินดังน้ันก็รู้สึกดีใจ เพราะมองเห็นแนวทางในการนาภาพตัวละครกับฉากไปใช้ประโยชน์ในการสร้างสรรค์ผลงาน เนอ่ื งจากโดยทั่ว ๆ ไปในการวาดภาพประกอบหนังสือนั้นผู้วาดจะวาดตัวละครลงไปในฉาก ดังนั้น ถ้าวาดแล้วเจ้าของภาพไมถ่ ูกใจกต็ ้องลงมอื วาดใหมท่ ง้ั หมด ครูแหม่มมีความคิดว่าถ้าการสร้างหนังสือของอาจารย์ภาคินีคือการวาดตัวละครและฉาก จากน้ันก็นามาจัดรวมกันเป็นรูปภาพท่ีสมบูรณ์ ครูแหม่มก็สามารถจะนารูปเหล่านั้นมาสร้างเป็น ภาพได้ด้วยตนเอง เป็นการประหยัดงบประมาณและประหยัดเวลา เพราะถ้าต้องจ้างวาดทุกครั้ง เวลาทีผ่ ู้วาดติดภารกจิ ไมส่ ามารถวาดให้ได้ งานของเรากจ็ ะไมบ่ รรลุผลไปด้วย ในทางกลบั กันถ้าเรา สามารถสร้างรูปภาพประกอบหนังสือได้เอง เราก็สามารถสร้างสื่อใหม่ ๆ ได้อย่างไม่รู้จบภายใน เวลาท่ีเราต้องการ รวมท้ังสามารถนาไปเป็นส่ือการสอนให้นักเรียนได้ฝึกหัดจัดทาหนังสือเล่มเล็ก ของตวั เอง โดยทไี่ มต่ อ้ งเหนด็ เหน่อื ยกับการนั่งวาดและระบายสภี าพ อกี ทง้ั ยงั ได้ฝึกใช้เทคโนโลยีใน การสร้างสรรคผ์ ลงานด้วยตนเองในเวลาทร่ี วดเรว็ ไมเ่ ปน็ ภาระ เพราะหากเรามองย้อนไปถึงการทา หนังสือส่งเสรมิ การอ่าน ทีเ่ รียกว่าหนังสือเลม่ เล็ก ตอ้ งยอมรับวา่ นกั เรียนตอ้ งใช้เวลาในการจัดทา ค่อนขา้ งนาน กว่าจะวาดภาพและระบายสี บางคร้งั งานวชิ าอืน่ แทบจะไม่มีเวลาทาเลยทีเดียว ถ้าถามว่าแล้วทาไมเราไม่นาคลิปอาร์ตรูปภาพที่เผยแพร่ใน Google มาใช้ประโยชน์ เพราะมีเป็นจานวนมาก ก็ตอบได้ว่าภาพดังกล่าวนั้นถึงจะมีเป็นหม่ืนเป็นแสนภาพก็ไม่สามารถจะ นามาสรา้ งเปน็ หนงั สอื สง่ เสริมการอ่านได้ เพราะไม่มีฉากที่สอดคล้องกับเนื้อเร่ือง อีกท้ังตัวละครที่ ~- ๒๒๓๕-~
เผยแพร่นั้นก็มีเพียงแค่อิริยาบถเดียว จึงไม่สามารถนามาสร้างสรรค์ผลงานได้ ซึ่งแตกต่างจาก ภาพวาดของอาจารย์ภาคินีท่ีวาดจากเรื่องราวที่ครูแหม่มเขียนเนื้อเรื่องให้ ฉากทุกฉากรวมทั้ง ตัวละครจึงมีความสอดคล้องกันและตัวละครก็มีหลายอิริยาบถ สามารถนาไปสร้างสรรค์ผลงาน ใหม่ ๆ ได้ ถึงแม้จะเป็นภาพเดียวกันแต่ความคิดสร้างสรรค์ของแต่ละคนย่อมแตกต่างกัน หน่ึงร้อยคน หนึง่ ร้อยผลงาน เมื่อคดิ ไดด้ งั นัน้ ครแู หม่มจงึ บอกอาจารยภ์ าคินวี า่ ใหช้ ่วยแยกฉากกบั ตวั ละครออกจากกนั โดยทาเป็นคลิปอาร์ตท่ีสามารถนาไปสร้างหนังสือเล่มใหม่ด้วยตนเองและภาพใหม่ ๆ ท่ีกาลังจะ วาดใหท้ าเป็นคลปิ อาร์ตภาพขาวดาชดุ หน่ึงก่อน จากนน้ั จึงลงสภี าพและทาเป็นคลิปอาร์ตภาพสีอีก ชุดหนึ่ง ซึ่งอาจารย์ภาคินีก็ยินดีทาให้และบอกว่าตั้งแต่วาดภาพประกอบหนังสือมา ครูแหม่มเป็น คนแรกท่ีคิดเรื่องการทาคลิปอาร์ตรูปภาพ ป๎จจุบันนี้คลิปอาร์ตที่ครูแหม่มสะสมไว้ก็สามารถนาไป สรา้ งสรรคห์ นงั สอื เร่อื งใหม่ไดไ้ ม่น้อยกว่า ๒๐ เล่ม ถ้าคิดเป็นค่าจ้างในวาดภาพแล้วเป็นเงินไม่น้อย กว่า ๔๕,๐๐๐ บาท นบั วา่ ช่วยประหยัดงบประมาณไปได้ค่อนข้างมาก จากแนวคดิ ดงั กล่าวครูแหม่มได้นาคลิปอาร์ตมาให้นักเรียนฝึกแต่งหนังสือนิทานประกอบภาพ ซึ่งนักเรียนให้ความสนใจเป็นอย่างมาก รู้สึกสนุกและภาคภูมิใจในผลงานท่ีสร้างสรรค์ขึ้น เพราะ หนังสือมีความสวยงาม ในการสร้างหนังสือส่งเสริมการอ่านน้ันถ้าผู้สร้างเป็นครูและจัดทาหนังสือ ส่งเสริมการอ่านไปใช้เป็นนวัตกรรมประกอบการเรียนการสอน น่ันคือการพัฒนาทักษะการอ่านของ นักเรียน แต่ถ้านักเรียนเป็นผู้จัดทาหนังสือส่งเสริมการอ่านด้วยตนเอง น่ันหมายความว่านักเรียน กาลังพฒั นาทกั ษะดา้ นการเขียนเชิงสรา้ งสรรค์ แนวคิดในการสร้างหนังสือส่งเสริมการอ่านด้วยคลิปอาร์ตประกอบฉากได้รับการเผยแพร่ ไปในวงกว้าง เปน็ ทสี่ นใจของทกุ คนทไี่ ด้พบเห็นและยอมรับว่าเป็นเทคนิคที่แปลกใหม่ ซึ่งครูแหม่ม ได้ทาเป็นแผ่นดีซีคลิปรูปภาพและจาหน่ายในราคาถูกเพ่ือให้ครูและผู้ท่ีสนใจสามารถนาไป สรา้ งสรรค์นวัตกรรมของตนเอง ส่วนรายไดค้ รูแหม่มก็นามาเป็นทนุ สาหรับจัดทาสื่อใหม่ ๆ แผ่นซีดี ๑ แผ่น มีคลิปอาร์ตรูปภาพและฉากจานวน ๑๐ ชุด สามารถนาไปสร้างหนังสือส่งเสริมการอ่านได้ อยา่ งนอ้ ย ๑๐ เล่ม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความคิดสร้างสรรค์ของผู้นาไปใช้ บางท่านสามารถสร้างหนังสือได้ ถึง ๑๕ เล่ม ถ้าเป็นการจาหน่ายให้กับนักศึกษามหาวิทยาลัยซ่ึงครูแหม่มได้รับเชิญไปเป็นวิทยากร ก็จาหน่ายในราคาแผ่นละ ๓๐ บาท ถ้าจาหน่ายให้ครูผู้สอนก็จาหน่ายในราคา ๑๐๐ – ๒๐๐ บาท ถ้าเทียบกับค่าจ้างวาดหนังสือในป๎จจุบันซึ่งเล่มละประมาณ ๒,๕๐๐ – ๔,๐๐๐ บาท ก็นับว่าประหยัด ค่าใช้จ่ายไปได้มาก คลิปอาร์ตดังกล่าวน้ีครูแหม่มได้มอบให้กับสานักบริหารการศึกษาพิเศษ -~๒๔๒๖- ~
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพ่ือนาไปเผยแพร่และเปิดให้โหลดใช้ฟรีที่เว็บไซต์ ป๎จจบุ ันมีผสู้ นใจนาไปใชจ้ านวนหลายพันคน ปจ๎ จบุ นั คลปิ อาร์ตประกอบฉากของครูแหม่มมีท้ังหมด ๓ ชุด และได้ใช้เป็นนวัตกรรมหลัก ในการอบรมโครงการคูปองพัฒนาครู หลักสูตรการผลิตส่ือสร้างสรรค์เพ่ือพัฒนาทักษะ กระบวนการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับผู้เรียนระดับประถมศึกษา ซ่ึงเปิดอบรมทั้งหมด ๓๒ รุ่น ทั่วทุกภาคของประเทศในระหว่างเดือน กรกฎาคม – กันยายน ๒๕๖๑ ผลตอบรับจากคณะครูท่ี เข้ารับการอบรมนั้นต่างก็ช่ืนชอบและนาไปต่อยอดในการพัฒนาผู้เรียน คลิปอาร์ตที่สร้างสรรค์ข้ึนน้ี เป็นลขิ สทิ ธิข์ องครูแหม่มเพราะฉากทกุ ฉากล้วนปรากฏอยูใ่ นหนังสือของครูแหม่มที่ได้จดลิขสิทธิ์ไว้ ซ่ึงอนุญาตให้คณะครูนาไปใชส้ รา้ งสรรค์ผลงานได้แตไ่ ม่อนุญาตให้ กอ๊ ปปแี้ ผ่นซีดีเพอ่ื จาหนา่ ยหรอื ใช้ในเชิงพาณิชย์ เมอ่ื ครหู รอื ผทู้ ่ีสนใจ นาคลปิ ไปสร้างหนังสือส่งเสรมิ การอา่ น บรเิ วณปกหน้าในส่วนของ ผ้วู าดภาพใหใ้ ช้ว่า “คลปิ อารต์ ภาคินี เปลง่ ดสี กลุ ” เพ่อื ใหเ้ กยี รติ ผสู้ ร้างสรรคผ์ ลงาน ( ไม่ใหใ้ ชค้ าวา่ ภาพ : ภาคินี เปลง่ ดสี กลุ เนื่องจากบางครงั้ ผู้นาไปใชอ้ าจจะวางภาพไดไ้ มเ่ หมาะสม ผทู้ ี่มา อ่านหนงั สอื นนั้ อาจเข้าใจว่าอาจารย์ภาคินเี ป็นผจู้ ัดภาพในหนังสอื ดร.ภาคินี เปลง่ ดีสกุล เล่มนั้น จึงให้ใช้คาว่า คลิปอาร์ตนาหน้า ) การสร้างสรรค์ผลงานโดยใช้คลิปอาร์ตน้ีครูสามารถ นาไปเป็นผลงานทางวิชาการได้ เน่ืองจากเป็นการสร้างสรรค์งานข้ึนมาใหม่และได้รับอนุญาตจาก เจ้าของภาพ แต่สาหรับหนังสือที่ผู้อ่ืนทาเป็นรูปเล่มแล้วเราไม่มีสิทธิ์จะนาหนังสือของเขามา ดดั แปลงเน้อื เรอื่ งแล้วใส่ชอื่ ของตนเองเปน็ คนจัดทา วิธีการสร้างหนังสือส่งเสริมการอ่านจากคลิปอาร์ตรูปภาพ สามารถสร้างโดยใช้โปรแกรม Power Point และ โปรแกรม Word ซึ่งท้ังสองโปรแกรมมีวิธีการสร้างท่ีแตกต่างกันเล็กน้อย โดยส่วนตัวครูแหม่มแล้วการสร้างหนังสือโดยใช้ Power Point จะมีข้อดีกว่าเพราะพื้นหลังหรือ ฉากจะไม่สามารถขยับเขยอ้ื นได้ เนอ่ื งจากสร้างโดยใช้คาส่ัง “จัดรูปแบบพื้นหลัง” อีกทั้งการแทรก ตัวละครก็สามารถทาได้ง่าย แต่ถ้าใช้โปรแกรม Word ฉากที่แทรกจะสามารถขยับออกจาก ตาแหน่งเดิมได้ การแทรกตัวละครก็ต้องเปิดกระดาษแผ่นใหม่เพื่อวางตัวละครและใช้คาสั่ง “หน้าข้อความ” จากนั้นจึงจะสามารถนาตัวละครไปวางบนฉากได้ แต่ถ้าแทรกตัวละครลงไปใน ฉากเลย ฉากจะขยับหนีไป นอกจากนี้การใช้โปรแกรม Power Point สร้างหนังสือจะสามารถ บนั ทึกเป็นไฟล์รูปภาพ (JPEG) สะดวกในการดัดแปลงไปใชใ้ นงานอน่ื ๆ และเผยแพรผ่ ลงานไดง้ ่าย ~- ๒๗๕ -~
เช่น แชร์ภาพลงในเฟสบุ๊ค ผู้เข้าชมก็จะสามารถมองเห็นผลงานน้ันได้ในทันทีทาให้น่าสนใจและ สะดวกสาหรับผทู้ ตี่ อ้ งการนาผลงานของเราไปใช้ การสรา้ งหนังสือโดยใช้โปรแกรม Power Point ๑. เปิดคอมพวิ เตอร์ โปรแกรม Power Point ต้งั คา่ หนา้ กระดาษเป็นแนวต้ัง ๒. คลกิ ขวาใชค้ าสงั่ จดั รูปแบบพ้ืนหลัง เลอื กรปู ภาพหรอื พืน้ ผิว เลือกแฟูม ~-๒๒๘๖ ~-
๓. คลิกคาวา่ แฟูมแลว้ เลือกภาพฉาก (background) จากคลิปอาร์ตคลกิ ทร่ี ูปภาพใชค้ าสั่ง“แทรก” ๔. เมือ่ ปรากฏฉาก จากนั้นเลอื กคาว่าแทรก และคาว่ารปู ภาพจากแถบเครอ่ื งมือดา้ นบน เพ่ือแทรกตวั ละคร ~- ๒๒๗๙- ~
๕. เลือกรปู ภาพในคลปิ อาร์ตที่ต้องการ คลกิ ท่รี ูปภาพ ใช้คาสั่งแทรกที่หน้าจอคอมพิวเตอร์ แทรกตัวละครทตี่ ้องการลงไป ๑. ๑. ๖. ถ้าต้องการพลกิ ดา้ นของตวั ละคร จากหันหน้าไปทางซา้ ยให้หันกลับมาทางขวาให้คลกิ ท่ีตัวละครและใช้คาสั่งเครื่องมือรูปภาพด้านบนสุดของแถบเครื่องมือ ถ้ายังไม่คลิกท่ีรูปภาพจะ ไม่ปรากฏข้อความน้ี จากนั้นจะปรากฏคาว่า “หมนุ ”บริเวณแถบเครื่องมือแถวสุดท้ายด้านขวามือ คลิกคาว่าหมนุ จะปรากฏคาสงั่ ให้เลอื กคาว่าพลกิ แนวนอน ตวั ละครจะกลับด้าน -~๒๘๓-๐ ~
๗. แทรกตวั ละครตัวอ่นื ๆ ทต่ี ้องการ สามารถคลิกทภี่ าพและย่อขยายขนาดตวั ละครได้ แต่ให้ลากท่ีมุมของเส้น เพ่ือให้ตัวละครรูปร่างสมส่วน จากน้ันแทรกกล่องข้อความ ควรเติมสี กล่องข้อความเปน็ สีขาวเพอ่ื ให้ง่ายต่อการอ่าน ๘. ถ้าต้องการนาไปเผยแพร่บนสื่อสังคมออนไลน์ หรือนาภาพท่ีสร้างข้ึนไปใช้ให้บันทึกเป็น ไฟลร์ ูปภาพ JPEG ~- ๓๒๑๙ ~-
การสรา้ งหนงั สอื โดยใช้โปรแกรม Word ๑. เปิดคอมพิวเตอร์ โปรแกรม Word ตั้งค่าหนา้ กระดาษเป็นแนวตง้ั จากนนั้ คลิกแถบเครือ่ งมอื “เค้าโครงหน้ากระดาษ” เลอื กคาสงั่ “ระยะขอบกาหนดเอง” ๒. กาหนดระยะขอบดา้ นละ ๐.๑ - ๐-๒ เซนติเมตร จากนน้ั กด “ตกลง” ~- ๓๓๐๒-~
๓. คลิกแถบเครือ่ งมอื คาวา่ “แทรก” จากน้นั เลอื กคาว่ารูปภาพ ๔. เลอื กรปู ภาพพ้ืนหลังหรือฉากที่ต้องการ จากน้ันคลิกคาว่า “แทรก” ~- ๓๓๓๑ ~-
๕. เม่อื ได้ฉากที่ตอ้ งการ จากนน้ั เปิดหนา้ กระดาษเปล่าแผ่นท่ี ๒ เพือ่ เพม่ิ ตัวละคร ๖. คลกิ คาวา่ “แทรก ”บนแถบเครอ่ื งมอื และคลิกคาว่า“รปู ภาพ ” จากนัน้ เลอื กภาพท่ีตอ้ งการ และกด “แทรก” ดา้ นล่างสดุ ~- ๓๓๔๒ ~-
๗. เมือ่ ไดภ้ าพทีต่ ้องการ คลิกที่รูปภาพเลอื กคาสั่ง “ตัดข้อความ” และเลือก “ขา้ งหน้า ขอ้ ความ” จากนน้ั ใชเ้ มาส์จบั ภาพและยกไปไว้บนฉาก ๘. เมอ่ื แทรกรูปภาพเรียบรอ้ ยแล้วใหแ้ ทรกกล่องขอ้ ความและพมิ พเ์ นอื้ เร่อื ง ~-๓๓๕๓~-
กรณที ่วี าดภาพเพิม่ เติมหรือหาภาพจากหนงั สืออื่นเพื่อนามาใชใ้ หถ้ า่ ยภาพหรือสแกนภาพ เขา้ เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ ถ้าภาพมีพืน้ หลังให้ดาเนินการดงั นี้ ๑. คลิกที่ภาพ จะปรากฏคาว่า “เครอื่ งมอื รปู ภาพ ”สีชมพดู า้ นบนของแถบเครือ่ งมือ คลิกที่เคร่ืองมือรูปภาพจะปรากฏ“เอาพื้นหลงั ออก” บนแถบเครื่องมอื ด้านซ้ายสดุ ๒. คลิก “ เอาพื้นหลงั ออก” จะปรากฏสีชมพบู ริเวณพ้ืนหลัง ส่วนทเี่ ป็นสีชมพจู ะถูก ตดั ออก ซ่ึงส่วนน้สี ามารถกาหนดไดโ้ ดยดงึ มุมของกรอบรูปภาพ เม่อื ได้ตัวละครท่ตี อ้ งการ คลิกท่ี เมาส์ ดา้ นหลงั ของภาพจะหายไป ~-๓๓๖๔ ~-
ผูส้ นใจสามารถดาวน์โหลดคลิปอาร์ตภาพของครูแหม่มไดฟ้ รี ท่คี ลงั ทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด สานักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ สพฐ. ~- ๓๓๗๕ -~
ขยายผลการสรา้ งหนงั สือส่งเสรมิ การอ่านดว้ ยคลปิ อาร์ต ให้กับเพือ่ นครทู วั่ ทุกภาคของประเทศและนกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลยั ~ -๓๓๘๖~-
ตัวอย่างผลงานครู ทส่ี ร้างโดยใชค้ ลิปอาร์ตของครูแหมม่ ~-๓๓๙๗ ~-
ตัวอยา่ งผลงานครู ทีส่ รา้ งโดยใชค้ ลิปอาร์ตของครูแหมม่ ~-๔๓๐๘~-
ตัวอย่างผลงานนกั เรียนทส่ี รา้ งโดยใชค้ ลปิ อาร์ต ~- ๔๓๑๙ ~-
บทท่ี ๕ การออกแบบหนังสอื สง่ เสรมิ การอ่านและการนาไปใช้ ในบทน้ีจะขอยกตัวอย่างหนังสือส่งเสริมการอ่านรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้คณะครูและผู้ท่ี สนใจสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม ซ่ึงตัวอย่างที่นามาแสดงนั้นล้วนแต่เป็นรูปแบบ หนังสือทคี่ รแู หมม่ เคยนาไปทดลองใช้แล้วท้งั ส้ิน ดงั นี้ ๑. หนังสือที่มีภาพประกอบทุกหน้า มีความยาวของเนื้อเร่ืองประมาณ ๑๐ หน้า องค์ประกอบของหนังสือจะมีปกหน้า ปกใน เนื้อเร่ืองประกอบภาพ กิจกรรมท้ายเร่ือง ประวัติผู้แต่ง ปกหลัง หนังสือรูปแบบน้ีเหมาะสาหรับนามาให้นักเรียนอ่านเสริมในห้องเรียน หรือใช้ประกอบ การสอน ซึง่ ในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนนนั้ ครูสามารถฉายภาพหนังสือจากคอมพิวเตอร์ไป ยังสมาร์ททีวี ได้อย่างสะดวก เนื่องจากหนังสือส่งเสริมการอ่านสร้างขึ้นโดยใช้โปรแกรมใน คอมพิวเตอร์ ๒. หนังสือที่มีภาพประกอบบางหน้า ทาในรูปแบบหนังสือนิทานร้อยบรรทัด ซ่ึงเป็น หนังสือเสริมการอ่านในสมัยอดีต จุดเด่นของนิทานร้อยบรรทัดคือประพันธ์เป็นกลอนสุภาพและ แบ่งวรรคตอนการอ่านอย่างชัดเจน เป็นการฝึกให้นักเรียนอ่านบทกลอนได้ถูกต้องตามจังหวะของคา นอกจากน้ันยังไม่ต้องจัดทาภาพประกอบทุกหน้า ซึ่งเป็นการประหยัดงบประมาณในการจัดทาให้ นักเรียนเป็นรายบคุ คล ๓. หนังสือแบบรวมเลม่ หนังสือแบบน้ีเหมาะสาหรับหนังสือส่งเสริมการอ่านท่ีเป็นชุด เช่น ชุด นิทานส่งเสริมคุณธรรม ชุด นิทานสระ ชุด นิทานตัวสะกด เน่ืองจากหนังสือมีจานวนหลาย เล่ม ถ้าครูจะจัดทาให้ครบทุกเล่มและแจกนักเรียนทุกคนก็ต้องใช้งบประมาณค่อนข้างมาก ดังน้ัน อาจจะจัดทาเฉพาะเป็นนวัตกรรมประกอบการสอน สาหรับให้นักเรียนอ่านในห้อง หรือฉายข้ึน จอโทรทศั น์ สาหรบั เน้ือเร่อื งกจ็ ดั ทาโดยใชภ้ าพประกอบขนาดย่อส่วน การจดั ทาหนงั สอื ส่งเสริมการอ่านวิชาภาษาไทยนั้นเราสามารถบูรณาการได้กับทุกรายวิชา เพราะไม่ว่าเราจะให้นักเรียนอ่านเน้ือหาเก่ียวกับสาระการเรียนรู้ใดก็ตาม ส่ิงท่ีนักเรียนต้องปฏิบัติ หลังการอ่านคือการสรุปใจความสาคัญและตอบคาถามจากเร่ืองท่ีอ่าน ซึ่งก็ตรงกับตัวชี้วัดในสาระ การเรียนรู้ภาษาไทย ลาดับตอ่ ไปครูแหม่มจะขอยกตัวอย่างหนังสือส่งเสริมการอ่านประเภทต่าง ๆ เพื่อให้ทุกท่านไดเ้ ข้าใจมากย่ิงขึน้ ซึ่งหนงั สอื ทุกเร่ืองท่ีนามาเป็นตัวอย่างนั้นล้วนแล้วแต่เป็นผลงาน ท่ีครแู หมม่ จดั ทาขน้ึ และเคยนาไปใช้เปน็ นวัตกรรมประกอบการจดั กจิ กรรมการสอนมาแล้ว ~- ๔๔๒๐ ~-
~ ๔- ๓๔๑~-
~-๔๔๔๒~-
~- ๔๔๓๕- ~
~- ๔๔๔๖-~
~- ๔๕๗-~
~ -๔๔๘๖~-
~- ๔๙๗ -~
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157