Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวม_removed

รวม_removed

Published by minzza36279, 2021-06-23 14:32:47

Description: รวม_removed

Search

Read the Text Version

การพฒั นาระบบเว็บเซอร์วสิ การให้บรกิ ารธุรกิจครัวรว่ มแบ่งปัน รัตนาภรณ์ เล้ยี งรตั นชัยกุล โครงงานน้ีเป็นส่วนหนง่ึ ของการศึกษาตามหลักสูตรสารสนเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าสารสนเทศศาสตร์ แขนงวชิ าระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ ภาควชิ าสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนสนุ ันทา ปกี ารศกึ ษา 2563

การพฒั นาระบบเว็บเซอร์วสิ การให้บรกิ ารธุรกิจครัวรว่ มแบ่งปัน รัตนาภรณ์ เล้ยี งรตั นชัยกุล โครงงานน้ีเป็นส่วนหนง่ึ ของการศึกษาตามหลักสูตรสารสนเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าสารสนเทศศาสตร์ แขนงวชิ าระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ ภาควชิ าสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนสนุ ันทา ปกี ารศกึ ษา 2563

ชอื่ : นางสาวรตั นาภรณ์ เลย้ี งรัตนชยั กุล โครงงาน : การพัฒนาระบบเว็บเซอรว์ สิ การใหบ้ รกิ ารธรุ กิจครัวรว่ มแบง่ ปนั สาขาวชิ า : สารสนเทศศาสตร์ แขนงวิชาระบบสารสนเทศเพอ่ื การจัดการ อาจารย์ท่ปี รึกษาโครงงาน มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนสนุ ันทา ปีการศกึ ษา : อาจารย์ ดร. ธนากร อุยพานชิ ย์ : 2563 บทคัดยอ่ โครงงานน้ีมีวตั ถุประสงค์ในการวจิ ยั เพื่อ 1) ศึกษาและสงั เคราะหป์ จั จัยท่มี ีผลต่อการพัฒนาระบบเวบ็ เซอร์วสิ การใหบ้ ริการธุรกิจครัวรว่ มแบ่งปัน 2) พัฒนาระบบเว็บไซต์เพื่อการให้บริการธุรกจิ ครวั รว่ ม แบ่งปนั 3) ประเมนิ ความพึงพอใจของระบบเวบ็ ไซต์การบรกิ ารธรุ กจิ ครัวร่วมแบง่ ปัน โดยใช้แนวคิด ทฤษฎี การศึกษาและสังเคราะห์ปจั จยั ทม่ี ผี ลต่อการพัฒนาระบบ จนเกดิ การพัฒนาระบบเว็บเซอร์วิส ข้ึนมาเพ่ือตอบสนองการใช้งานของผู้ใช้ยุคใหม่ ท่ตี ้องการแหล่งรวบรวมสถานท่คี รวั ร่วมแบง่ ปัน หรือ พนื้ ที่ทำงานรว่ มกับผู้อน่ื รวมถึงการเปรียบเทยี บราคาในแต่ละสถานท่ี สิ่งอำนวยความสะดวกตา่ ง ๆ เพื่อประกอบการตัดสินใจในการเขา้ ใชบ้ ริการของผใู้ ช้ ซ่ึงระบบเว็บไซต์เพื่อการใหบ้ ริการธรุ กจิ ครัว รว่ มแบง่ ปันสามารถนำไปใช้งาน เพือ่ อำนวยความสะดวกต่อผใู้ ช้และผู้ประกอบการธุรกจิ ครัวรว่ ม แบง่ ปันได้เป็นอยา่ งดี ผลการวิจัยพบว่าการพัฒนาระบบเว็บเซอร์วิสการให้บริการธุรกิจครัวร่วมแบ่งปัน นั้นมี ประสิทธิภาพที่สามารถใช้ได้จริงโดยการประเมินประสิทธิภาพของระบบโดยผู้เชี่ยวชาญ มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.42 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.32 (������̅ 4.42, ������. ������ = 0.32) ซึ่งอยู่ในระดับมาก และการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบ จำนวน 70 คน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.35 และส่วน เบยี่ งเบนมาตรฐานเทา่ กับ 0.12 (������̅= 4.35, ������. ������ = 0.12) ซง่ึ อยู่ในระดบั มาก ดังนน้ั ระบบเว็บเซอรว์ สิ การให้บริการธุรกิจครัวร่วมแบ่งปันสามารถตอบสนองต่อผู้ใช้งานและให้บริการระบบเว็บเซอร์วิสได้ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ คำสำคัญ: ธุรกจิ ครัวร่วมแบ่งปัน เว็บเซอรว์ ิส (โครงงานนีม้ ีจำนวนทง้ั สนิ้ 98 หน้า) อาจารยท์ ่ีปรึกษาโครงงาน ก

Name : Miss Rattanaporn Liangrattanachaikun Project Title : Web service Development Serving the Shared Kitchen Business Major Field : Information Science (Management Information Systems) Suan Sunandha Rajabhat University Project Adviser : Dr. Thanakorn Uiphanit Academic Year : 2020 Abstract This project aims to research 1) study and synthesize factors affecting the development of web services, providing shared kitchen business services, 2) developing a website system for sharing kitchen services, 3) assessing the satisfaction of the shared kitchen business website system using the concept. The theory of studying and synthesizing factors affecting system development has been developed to meet the needs of modern users. You need a collection of shared kitchen locations or collaboration spaces with others, as well as price comparisons in each location. The shared kitchen business website system can be used to facilitate users and entrepreneurs sharing kitchen businesses. The results of the research showed that the development of web service, serving the shared kitchen business It is effective and can be used by experts by evaluating the performance of the system. The mean of 4.42 and the standard deviation of 0.32 ( ������̅ 4 . 4 2 , ������. ������ = 0 . 3 2 ) which is very high. And the satisfaction assessment of 70 system users has a mean of 4.35 and a standard deviation of 0 . 1 2 ( ������̅= 4 . 3 5 , ������. ������ = 0 . 1 2 ) , which is very high. Therefore, the shared kitchen business service web service system can respond to users and provide the web service system efficiently. Keywords: Kitchen business shares, Web services (Total 98 page) Project Adviser ข

กิตติกรรมประกาศ โครงงานฉบับบนี้สำเร็จลุล่วงอย่างสมบูรณ์ไปได้ด้วยดีเนื่องจากความกรุณาอย่างดีจาก อาจารย์ ดร.ธนากร อุยพาณิช ที่กรุณาเสียสละเวลาอันมีค่าให้คำปรึกษาแนะนำตลอดจนปรับปรุง แกไ้ ขขอ้ ผิดพลาดด้วยความเอาใจใสเ่ ป็นอยา่ งย่ิง ผู้วจิ ยั ตระหนักถึงความต้ังใจจริงและความทุ่มเทของ อาจารย์ที่ปรกึ ษาที่มีใหต้ ่อผู้วิจัย ทั้งนี้ ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณอาจารย์ที่ปรึกษาเป็นอย่างสูงไว้ ณ ท่นี ี้ ขอกราบขอบพระคณุ กรรมการท่ปี รึกษา อาจารย์ วรรณรัตน์ บรรจงเขียนและอาจารย์ ณฐั ชา วัฒนประภา ที่ได้ให้ความอนุเคราะห์และให้เกียรติเป็นกรรมการในโครงงานนี้ทางผู้วิจัยรู้สึกซาบซึ่ง และขอขอบพระคุณท่านอาจารย์ทั้งสองที่ค่อยให้คำปรึกษาและคำแนะนำที่มีประโยชน์ต่อการนำมา ปรบั ปรงุ งานวิจัยใหม้ ีความสมบรู ณม์ ากยง่ิ ข้นึ ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดาทไี่ ด้สง่ เสริมสนับสนุน และให้กำลงั ใจแก่ผ้วู จิ ัยเป็นอยา่ งดีเสมอมา ท้ายท่ีสดุ คุณประโยชน์ใดที่ได้จากโครงงานฉบับน้ี ผวู้ จิ ัยขอมอบให้แกผ่ ู้มีพระคุณทุกท่านท้ังผู้ ที่เป็นเจ้าของแนวคิด และทฤษฎีต่าง ๆ ทั้งวิทยานิพนธ์ งานวิจัย วารสารและบทความ ท่ีผู้วิจัยได้ นำมาอ้างอิงในโครงงานฉบับนี้ สำหรับข้อบกพร่องต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นนั้น ผู้วิจัยขอน้อมรับผิด เพียงผู้เดียว และยินดีรับฟังคำแนะนำจากทุกท่านที่เข้ามาศึกษา เพื่อเป็นประโยชน์ในการพัฒนา โครงงานตอ่ ไป รัตนาภรณ์ เลย้ี งรัตนชยั กุล ค

สารบญั หนา้ ก บทคัดย่อภาษาไทย ข บทคัดย่อภาษาองั กฤษ ค กติ ตกิ รรมประกาศ ฉ สารบัญตาราง ซ สารบญั ภาพ บทที่ 1 บทนำ 1 1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปญั หา 4 4 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย 6 1.3 ขอบเขตของการวิจัย 6 1.4 คำนยิ ามศพั ท์ 6 1.5 เครือ่ งมือท่ใี ชใ้ นงานวจิ ยั 1.6 ประโยชนท์ ีค่ าดว่าจะได้รับ 7 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ยี วข้อง 9 2.1 วงจรการพฒั นาระบบ (System Development Life Cycle: SDLC) 10 2.2 ธุรกิจครัวร่วมแบ่งปนั (Co-Cooking Space) 12 2.3 สถานท่ีทำงานร่วมกนั กบั ผู้อน่ื (Co-Working Space) 13 2.4 เว็บเซอรว์ ิส (Web service) 15 2.5 ฮาร์ดแวร์ (Hardware) 15 2.6 ซอฟแวร์ (Software) 2.7 งานวจิ ัยท่เี กย่ี วข้อง 21 บทท่ี 3 วิธีการดำเนินวิจยั 21 3.1 ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง 22 3.2 การศึกษาและการเกบ็ รวบรวมข้อมลู 42 3.3 การวิเคราะหร์ ะบบ 3.4 การออกแบบระบบ

สารบัญ (ตอ่ ) 45 3.5 การประเมนิ ผล 48 บทที่ 4 ผลการวิจยั 55 4.1 ผลการพฒั นาระบบเวบ็ เซอร์วิสการให้บรกิ ารธุรกิจครัวร่วมแบ่งปนั 60 4.2 ผลการประเมินการพัฒนาระบบเวบ็ เซอรว์ สิ การให้บรกิ ารธุรกิจครวั ร่วม แบง่ ปันโดยผเู้ ชีย่ วชาญ 64 4.3 ผลการประเมนิ การพัฒนาระบบเวบ็ เซอรว์ ิสการให้บรกิ ารธรุ กจิ ครวั ร่วม 65 แบง่ ปันโดยกลมุ่ ผ้ใู ช้ระบบ 66 บทท่ี 5 สรุป อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 66 5.1 สรุปผลการวจิ ยั 67 5.2 สรปุ ผลการประเมินและอภปิ รายผล 67 5.3 ปัญหาและอปุ สรรคในการทำงาน 70 5.4 องค์ความรูท้ ี่ได้ 72 5.5 ข้อเสนอแนะ 83 บรรณานกุ รม 86 ภาคผนวก ก รายชือ่ ผเู้ ชี่ยวชาญประเมินประสิทธิภาพ 91 ภาคผนวก ข แบบประเมินระบบ 98 ภาคผนวก ค ภาพประกอบการทำแบบประเมิน ภาคผนวก ง ค่มู ือการใชง้ านระบบ (สำหรับผใู้ ช้) ภาคผนวก จ คู่มอื การใชง้ านระบบ (สำหรบั ผู้ดแู ลระบบ) ประวัตผิ ู้วจิ ยั

สารบญั ตาราง หนา้ 7 ตาราง 28 ตารางที่ 1-1 ขั้นตอนการดำเนินงาน 29 ตารางท่ี 3-1 อธบิ ายการทำงานของหน้าลงทะเบียน 29 ตารางที่ 3-2 อธบิ ายการทำงานของหนา้ ลงชื่อเข้าใช้ 30 ตารางท่ี 3-3 อธบิ ายการทำงานของหน้าแสดงหน้าค้นหา 30 ตารางที่ 3-4 อธิบายการทำงานของหน้าแสดงรายละเอียด 31 ตารางที่ 3-5 อธิบายการทำงานของหนา้ แสดงการจอง 34 ตารางที่ 3-6 อธบิ ายการทำงานของหน้าแสดงหน้ากระทู้ 35 ตารางท่ี 3-7 ตารางเกบ็ ข้อมูลรา้ นคา้ 36 ตารางท่ี 3-8 ตารางเก็บขอ้ มูลการจอง 36 ตารางที่ 3-9 ตารางเกบ็ ข้อมูลการติดต่อ 37 ตารางที่ 3-10 ตารางเกบ็ ข้อมลู การอนุญาต 37 ตารางท่ี 3-11 ตารางเก็บข้อมลู กระทู้ 38 ตารางท่ี 3-12 ตารางเกบ็ ข้อมูลผใู้ ช้ 49 ตารางท่ี 3-12 ตารางเกบ็ ข้อมูลผู้ใช้ (ตอ่ ) 50 ตารางที่ 3-13 เกณฑ์การแปลผลการประเมินระบบ 58 ตารางท่ี 3-14 เกณฑ์การให้คะแนนการประเมินระบบ ตารางที่ 4-1 ตารางแสดงจำนวนของสถานภาพส่วนบคุ คลของผู้เชย่ี วชาญที่ตอบแบบ 59 ประเมินประสทิ ธิภาพของระบบ 60 ตารางท่ี 4-2 ตารางแสดงจำนวนของสถานภาพส่วนบคุ คลของผเู้ ชีย่ วชาญที่ตอบแบบ 61 62 ประเมนิ ประสทิ ธภิ าพของระบบ (ต่อ) 63 ตารางที่ 4-3 ตารางแสดงผลการประเมินการทำงานของระบบทง้ั หมด (System Test) ตารางที่ 4-4 ตารางแสดงผลการประเมินการใชง้ านระบบ (Usability Test) ตารางที่ 4-5 ตารางแสดงผลประเมนิ ความปลอดภยั ของระบบ (Security Test) ตารางที่ 4-6 ตารางแสดงจำนวนของสถานภาพส่วนบุคคลของกล่มุ ตัวอย่างทต่ี อบแบบ ประเมนิ ความพึงพอใจต่อระบบ ฉ

สารบัญตาราง (ต่อ) หนา้ 64 ตาราง ตารางที่ 4-7 ตารางแสดงผลการประเมินการทำงานของระบบทง้ั หมด (System 65 Test) 66 ตารางท่ี 4-8 ตารางแสดงผลการประเมินการใชง้ านระบบ (Usability Test) ตารางที่ 4-10 ตารางแสงผลประเมนิ ด้านการออกแบบหน้าจอระบบ (User Interface)

สารบัญภาพ หนา้ 22 ภาพที่ 23 3-1 แผนภาพวเิ คราะห์ปัญหาระบบเว็บเซอร์วิสการใหบ้ รกิ ารธุรกจิ ครัวรว่ มแบง่ ปัน 3-2 แผนภาพแสดงผงั งานของระบบ (System Flow Diagram) ของการพฒั นา 24 28 ระบบเวบ็ เซอรว์ สิ การใหบ้ ริการธุรกจิ ครวั รว่ มแบง่ ปนั 3-3 แผนภาพแสดงการทำงานของผ้ใู ช้ (Use Case Diagram) 29 3-4 แผนภาพแสดงขั้นตอนการทำงาน (Activity Diagram) ของการพฒั นาระบบ 35 36 เวบ็ เซอร์วสิ การให้บรกิ ารธรุ กจิ ครวั ร่วมแบง่ ปนั 37 3-5 แผนภาพแสดงความสัมพนั ธข์ องคลาส (Class Diagram) 38 3-6 แผนผงั ลำดบั การทำงานของระบบ (sequence diagram) 3–7 แผนภาพแสดงกระแสการไหลของข้อมูล (Context Diagram) 39 3–8 แผนภาพแสดงกระแสการไหลของข้อมลู (Data Flow Diagram) 3–9 แผนภาพแสดงกระแสการไหลของข้อมูล กระบวนการท่ี 2 (Process 1): 40 ลงทะเบียน 40 3–10 แผนภาพแสดงกระแสการไหลของข้อมลู กระบวนการที่ 2 (Process 2): 41 ลงชื่อเขา้ ใช้ 3–11 แผนภาพแสดงกระแสการไหลของข้อมลู กระบวนการท่ี 2 (Process 3): 41 แสดงหนา้ คน้ หา 42 3–12 แผนภาพแสดงกระแสการไหลของข้อมลู กระบวนการท่ี 2 (Process 4): แสดงรายละเอยี ด 3–13 แผนภาพแสดงกระแสการไหลของข้อมลู กระบวนการท่ี 2 (Process 5): แสดงหนา้ การจอง 3–14 แผนภาพแสดงกระแสการไหลของข้อมูล กระบวนการที่ 2 (Process 6): แสดงหนา้ กระทู้ 3-15 แสดงหนา้ แรกของระบบ ซ

สารบญั ภาพ (ต่อ) หนา้ 7 ภาพที่ 1-1 แผนภาพแสดงกรอบแนวคดิ ระบบเว็บเซอร์วิสการให้บรกิ ารธุรกจิ ครวั ร่วม 42 43 แบ่งปัน 3-16 แสดงหนา้ กรอกรายละเอียดสำหรบั ผูป้ ระกอบการทีส่ นใจจะลงสถานที่ 43 3-17 แสดงหน้าโลเคชนั่ หรือสถานทตี่ ัง้ ของ Co-Cooking Space ในเขต 44 กรงุ เทพมหานคร 44 3-18 แสดงหนา้ รายละเอียดการจอง โดนผใู้ ช้จะสามารถกรอกรายละเอียดลงไปได้ 3-19 แสดงหน้าการตงั้ กระทู้คำถามของผใู้ ช้ ผใู้ ช้สามารถต้ังคำถามและตอบคำถาม 45 ของผ้ทู ่ีตง้ั กระทู้ไว้ได้ 49 3-20 แสดงหน้าการตดิ ต่อกบั ผดู้ ูแลระบบ สำหรบั ผใู้ ชท้ ่ีต้องการใช้ปรบั ปรุงแกไ้ ข 50 51 สามารถติดตอ่ กับทางผ้ดู ูแลระบบได้ 51 3-21 แสดงหน้าการตดิ ตอ่ กบั ผดู้ ูแลระบบ สำหรับผู้ใชท้ ีต่ อ้ งการใชป้ รับปรุงแกไ้ ข 52 52 สามารถติดตอ่ กบั ทางผดู้ แู ลระบบได้ 53 4-1 หน้าแรกของระบบ 53 4-2 หน้าสถานทที่ ผี่ ู้ใชส้ ามารถจองได้ 54 4-3 หนา้ จอแสดงวนั ท่ที ี่ต้องการใช้บริการและรายละเอยี ดการจอง 54 4-4 หน้าจอแสดงหนา้ คำถามทพ่ี บบ่อย 84 4-5 หนา้ จอแสดงหนา้ ตดิ ต่อสอบถาม 4-6 หนา้ จอเมอื่ ผู้ดูแลระบบ (Admin) เข้าสู่ระบบแล้ว 84 4-7 หนา้ จอจัดการเพิ่มสถานที่ สำหรบั ผดู้ แู ลระบบ (Admin) เท่านน้ั 85 4-8 หนา้ จอเมอื่ ผ้ดู ูแลระบบ (Admin) ดูขอ้ มูลผใู้ ช้ 4-9 หน้าจอเมือ่ ผู้ดูแลระบบ (Admin) ดูขอ้ มลู ผู้ใช้ทีไ่ ด้ทำการจองสถานที่ 4-10 หน้าจอเม่ือผู้ดแู ลระบบ (Admin) ดูข้อมลู ผู้ใชท้ ี่ได้ทำการติดต่อสอบถาม ค-1 คุณปัณณวิชญ์ วรณุ วชั รินทร์ ผจู้ ดั การ (ชำนาญการคอมพวิ เตอร)์ : บรษิ ทั กาญ จนพสิ ตู ร จำกัด ค-2 คณุ พสิ ุทธ์ โกสยะมาศ Programmer: รับจ้างอสิ ระ (Feelancer) ค-3 คุณกติ ติคุณ บุญจันทร์ Programmer: รบั จ้างอิสระ (Feelancer)

สารบญั ภาพ (ตอ่ ) หน้า 87 ภาพที่ 87 ง-1 หนา้ แรกเม่ือเขา้ สู่ระบบเวบ็ เซอร์วสิ การใหบ้ รกิ ารธรุ กิจครัวร่วมแบ่งปนั 88 ง-2 แถบนำทางระบบเว็บเซอร์วิสการใหบ้ รกิ ารธุรกิจครัวรว่ มแบง่ ปัน 88 ง-3 หน้าการลงทะเบยี นและการเข้าสูร่ ะบบ 89 ง-4 หน้าการจองสถานที่ 89 ง-5 หนา้ การจองสถานท่ี (ต่อ) 90 ง-6 หน้าการจองสถานท่ี (ต่อ) 90 ง-7 หนา้ คำถามทพ่ี บบ่อย 92 ง-8 หนา้ การตดิ ต่อกบั ผูด้ ูแลระบบ จ-1 หน้าแรกเมือ่ เข้าสู่ระบบเว็บเซอรว์ สิ การให้บริการธุรกจิ ครัวรว่ ม 92 93 แบง่ ปัน 93 จ-2 แถบนำทางระบบเวบ็ เซอรว์ สิ การให้บรกิ ารธุรกจิ ครวั ร่วมแบ่งปัน 94 จ-3 หน้าการลงทะเบยี นและการเข้าสู่ระบบ 94 จ-4 หน้าการจดั การสถานที่ 95 จ-5 หน้าการจัดการสถานท่ี (ต่อ) 95 จ-6 หนา้ จัดการ การจอง จ-7 หนา้ จัดการสมาชิก จ-8 หน้าจัดการข้อความ

บทท่ี 1 บทนำ 1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปญั หา ในปัจจุบันสังคมไทยก้าวสู่ยุคโลกาภิวัตน์ ที่ก้าวไปสู่ความเป็นหนึ่งเดียว ไม่ว่าจะเป็นในด้าน เศรษฐกิจ การเมอื ง เทคโนโลยี สงั คมและวฒั นธรรม สง่ ผลใหค้ นไทยมีการดำเนินชีวิตที่เปล่ียนไปจาก เดิม มีการดำรงชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป มีความสะดวกสบายมากขึ้น ง่ายขึ้น ซึ่งมีทั้งข้อดีและข้อเสีย กล่าวคือ ข้อดีประเทศไทยสามารถพัฒนาเศรษฐกิจ ศักยภาพต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการแข่งขันระหว่าง ประเทศ การติดต่อสื่อสารที่มีความรวดเร็วมากยิ่งขึ้น การบริโภคสินค้าและการบริการที่หลากหลาย รูปแบบ ข้อเสีย การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ไม่เหมาะสม การบริโภคที่ส่งผลต่อสุขภาพ เป็นต้น และใน ปจั จุบันธุรกจิ พาณชิ ย์อิเล็กทรอนิกส์ ของประเทศไทยเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซ่ึงในปี 2557 ที่ผ่านมา ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ ของประเทศไทยได้เติบโตแบบก้าวกระโดด ปัจจัยที่สำคัญมาจากธุรกิจต่าง ๆ ที่ ธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นช่องทางหลักในการเข้าถึงผู้บริโภค ทำให้เกิดการแข่งขันการ ให้บริการเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคได้มากที่สุด ทั้งนี้ยังมีระบบชำระเงินออนไลน์ (Online Payment) ที่พัฒนาไปอย่างมากทั้งด้านความปลอดภัยและความน่าเชื่อถือ ซึ่งมีการนำเว็บ เซอร์วิส (Web Service) เข้ามาพัฒนาระบบเพื่อให้เกิดประสิทธภิ าพที่ดียิง่ ขึน้ และตอบโจทย์สำหรับ ผู้ที่เข้ามาใช้บริการ มีความสะดวกสบาย และมีการรวบรวมสถานที่ที่เหมาะกับแต่ละบุคคลอีกด้วย และมีการและในปัจจุบนั มีการเลือกใชส้ ถานท่ีทำอาหารทเ่ี ป็นสาธารณะสามรถแบ่งปนั กันได้ โดยกลุ่ม คนในแต่ละวัย ช่วงอายุ ที่มีความชอบในด้านการทำอาหาร ล้วนแล้วแต่ส่งผลต่อการเลือกใช้บริการ สงั คมไทยอยู่ในสภาวะที่เร่งด่วน ต้องเผชญิ กับปญั หาตา่ ง ๆ จึงทำให้ทุกคนไมส่ ามารถหันมาเลือกสรร สิ่งดี ๆ รวมไปถึงบางสถานที่พักอาศัยยังไม่เอื้อเฟื้อต่อการทำอาหารอีกด้วย ทำให้บุคคลที่อยากจะ ทำอาหารด้วยตวั เอง ไมม่ ีสถานทภี่ ายในหอ้ งพกั ท่อี ำนวยความสะดวก การปรับตัวของธุรกิจอีคอมเมิร์ซ เพื่อต้อนรับรูปแบบการค้าขายที่ไร้พรมแดน การทำสินค้า ให้ดีและแตกต่าง เพราะเทรนด์การค้าขายแบบไร้พรมแดนของธุรกิจอีคอมเมิร์ซ ส่งเสริมให้ต่างชาติ มากรายหลั่งไหลเข้ามาจับธุรกิจค้าขายบนแพลตฟอร์มออนไลน์ในบ้านเรามากยิ่งขึ้น ในฐานะ ผู้ประกอบการไทยก็ต้องมองให้เห็นถึงชอ่ งทางที่จะทำใหส้ ินค้าของเราโดดเด่นมากยิ่งขึ้น ด้วยการทำ ให้สินค้าที่มีอยู่ในมือนั้นมีเอกลักษณ์ ไม่ซ้ำใคร รวมถึงคัดสรรให้คุณภาพของสินค้าอยู่ในเกณฑ์ที่ สามารถแข่งขันกับตลาดโลกได้ เพราะจากข้อมูลการช้อปออนไลน์ของคนไทยในปัจจุบันมักจะนำ สนิ ค้าที่ตามหาอยนู่ ั้นมาเปรยี บเทียบคุณภาพและราคาก่อนการตัดสินใจซ้ือทุกครัง้ ดังนนั้

2 ผู้ประกอบการจึงต้องให้ความสำคัญกับตัวสินค้าให้มาก เพื่อที่สร้างความโดดเด่นและเป็น ตัวเลือกที่คุ้มค่าสำหรับผู้บริโภคในยุคใหม่ให้ได้มากที่สุด การพัฒนาและสร้างความประทับใจให้กับ การบริการ ถือเป็นอีกปจั จัยทจ่ี ำเปน็ สำหรับการทำธรุ กิจอคี อมเมริ ์ซ ในยุคไรพ้ รมแดน เพราะการท่ีจะ ทำให้ลูกค้าติดหนึบจนไม่อยากหนไี ปซื้อสินค้าจากเจ้าอ่ืนได้น้ัน นอกจากเรื่องของสินคา้ ท่ีต้องดีและมี คณุ ภาพแลว้ กต็ ้องทำให้ลูกค้ารสู้ ึกพงึ พอใจผ่านการบริการของเราให้ได้มากท่สี ุด แน่นอนในยุคสมัยน้ี หลายแบรนด์สินค้า เริ่มหันมาเน้นการขายสินค้าผ่านช่องทางออนไลน์ ให้สามารถเข้าถึงลูกค้าได้ง่าย มากยิ่งขึ้น ซึ่งเรียกว่า (Direct to Customer) ที่เป็นการสรา้ งความสมั พันธ์โดยตรงกบั ลูกค้ากเ็ ป็นอกี หนึ่งช่องทางที่จะช่วยให้ธุรกิจบรรลุในจุดประสงค์ในด้านการให้บริการได้ ซึ่งในแง่ของกระบวนการที่ จะทำให้ลกู ค้าสมั ผัสกบั ความร้สู ึกพึงพอใจจากการให้บริการของเราโดยตรงได้นนั้ จะต้องประกอบขึ้น จากหลายปัจจัยสำคญั เชน่ การมชี อ่ งทางการชำระเงินที่สะดวก ในปจั จบุ นั คนไทยใชจ้ ่ายเงินผ่านการ ทำธุรกรรมแบบ E-Payment on Delivery (EOD) อย่างการโอนเงินผ่าน Internet Banking, E- wallet หรือตัดผ่านบัตรเครดิต ดังนั้น ธุรกิจจึงควรพัฒนาการบริการให้สามารถใช้จ่ายผ่านระบบ อิเล็กทรอนิกส์ได้ง่ายขึ้น การส่งสินค้าที่รวดเร็ว อย่างกรณีศึกษาของ จิ๊บ (JIB) ร้านขายอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ (กรุงเทพธุรกจิ ,2560) ที่วางจดุ ขายให้กับแบรนด์ตวั เองในด้านการบริการที่น่าประทับใจ โดยใช้เวลาส่งแค่ 3 ชั่วโมงสินค้าก็ถูกจัดส่งถึงมือของลูกค้า แถมยังเปิดให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง เรียกว่าเป็น โมเดลที่ประสบความสำเร็จของการส่งสินค้าถึงมือผู้บริโภคได้ภายในวันเดียวเลยก็ว่าได้ การบริการสำหรบั สนับสนนุ ลูกค้า และการการันตีสินค้า ความมน่ั ใจไมใ่ ช่ส่ิงที่ซ้ือได้ แต่สร้างข้ึนมาได้ ดังนั้น ธุรกิจอีคอมเมิร์ซ จำเป็นที่จะต้องสร้างความน่าเชื่อถือให้เกิดกับธุรกิจด้วยการการันตีสินค้า รวมถึงการสนับสนุนลกู ค้า ที่ช่วยตอบคำถามลกู ค้าทั้งในช่วงสอบถาม, ตัดสินใจซือ้ ตลอดจนช่วงหลงั การขายดว้ ย การเพิม่ ชอ่ งทางให้ครอบคลุม เพราะทุกวันนล้ี ูกค้าซื้อสนิ ค้าผ่านหลากหลายช่องทางบน โลกออนไลน์ ธรุ กจิ ทีท่ ำอยูจ่ งึ ควรมชี อ่ งทางการเขา้ ถงึ ที่ครอบคลมุ ทั้ง Social Commerce, E-market place และ Direct Channel เพื่อเพิ่มโอกาสในการขายในต้นทุนการทำที่ไม่สูง รวมถึงเพิ่ม ความสามารถในการเก็บฐาน ขอ้ มูลทีท่ ำใหเ้ ราเขา้ ใจถงึ ความตอ้ งการของลูกค้าได้มากขน้ึ ธุรกิจครัวร่วมแบ่งปัน ( Co-Cooking Space) แนวคิด การผสานธุรกิจจากออนไลน์ไปยัง ออฟไลน์ (Online to Offline) ของวงใน (Wongnai) ที่เป็นแอปพลิเคชัน เว็บไซต์ ค้นหาและรีวิว รา้ นอาหารต่าง ๆ ตอบโจทย์ไลฟส์ ไตล์คนรุ่นใหม่ ท่ีสามารถเลอื กการทำอาหารใหเ้ ปน็ ส่วนหนึ่งในการ เติมเต็มชีวิตของตนเอง อีกทั้งยังมีความพร้อมเรื่องอุปกรณ์ เครื่องครัวต่าง ๆ และการอำนวยความ สะดวกให้กับคนทีเ่ ขา้ มาใช้บรกิ าร ผู้คนสามารถเขา้ มาใชพ้ ้นื ท่ีเสมือนการใหบ้ ริการของพ้นื ออฟฟิศร่วม แบ่งปัน ธุรกิจครวั ร่วมแบง่ ปนั จากสภาพความจำเปน็ ของการใช้ชีวิตในปจั จบุ นั และการปรับตัว ธรุ กจิ

3 ครัวร่วมแบ่งปัน เป็นเหมือนสถานที่ที่ดี จะนำผู้คนที่ชื่นชอบในการทำอาหารมาพบปะและ แบ่งปนั ความรูซ้ ่ึงกนั และกัน รวมถึงมาสนุกไปด้วยกัน โดยก้าวข้ามขอ้ จำกดั ตา่ ง ๆ ที่อาจจะมีพื้นท่ีเล็ก มอี ปุ กรณท์ ี่ไม่เพียงพอ หรอื ไมม่ เี พือ่ นรู้ใจในการทำอาหาร ด้วยพื้นที่การทำอาหารสดุ กวา้ งขวาง จะมา ทำเดี่ยว ๆ หรือจะเป็นกลุ่มใหญ่ ก็สะดวกสบาย พร้อมทั้งมาพร้อมอุปกรณ์ทำครัว ที่จะเป็นผู้ช่วยให้ ทกุ คนสนกุ กับการปรงุ อาหาร และช่วยใหก้ ารเรียนทำอาหารงา่ ยขึ้น ไมว่ า่ จะตม้ ผัด แกง ทอด อบ ทำ ของคาวหรือของหวาน และมีคอมมูนิตี้ที่รวบรวมคนรักการทำอาหารเหมือนๆกันมาไว้ในทีเดียว ให้ การทำอาหารแต่ละครั้ง สนุก สดใส และน่าจดจำมากขึ้น ธุรกิจครัวร่วมแบ่งปัน นี้เป็นความร่วมมือ ระหว่าง วงใน กับ อีเลคโทรลักซ์ (Electrolux), จีโอลุกซ์ (Geolux) และ ทรู ดิจิทัล พาร์ค (True digital Park) เพื่อเปิดคอมมูนิตี้แห่งใหม่ที่ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ของคนเมืองที่ชอบทำอาหารได้มาแชร์ เรอื่ งของ สตู รอาหาร การทำอาหาร เขา้ มาพดู คุยกนั และมีคลาสท่สี อนทำอาที่เป็นที่นิยม (“Wongnai Co-Cooking Space” คอมมูนิตี้ของพลพรรคนักปรุงแห่งแรกของประเทศไทย,2562) ที่กำลังเป็น กระแสเพือ่ ถ่ายลงโซเชียลได้ทนั ที วงใน ธรุ กิจครัวรว่ มแบ่งปัน เปิดใหผ้ คู้ นเข้ามาทำอาหารแบบไม่ต้อง ลงเรียนคลาส สำหรับคนที่ชอบทำอาหารแต่ไม่มีอุปกรณ์ได้เข้ามาทำ และมีแม่บ้านช่วยทำความ สะอาดให้อีกด้วย การทำอาหารเป็นอะไรที่ฮิตมากในปัจจุบัน เราจะเห็นคนทำอาหารลงโซเชียลกัน เยอะมาก แต่บางคนอุปกรณ์ไม่ครบการใช้ชีวิตคนเมืองในตอนนี้ที่เริ่มอยู่ในพื้นที่จำกัดอย่าง คอนโดมิเนียม การมีพื้นที่ทำครัวที่มีอุปกรณ์ครบก็เป็นการตอบโจทย์ได้ และยังเป็นที่ได้กระชับ ความสัมพนั ธ์ในครอบครวั เพื่อน ได้ทำกิจกรรมรว่ มกันไดอ้ กี ดว้ ย ปัจจุบันพบว่ามีคนที่ใจรักการทำอาหาร อยากเป็นนายตนเอง แต่ไม่มีพื้นที่ทำ หรือไม่มีทุน มากพอทำหน้าร้าน ซึ่งธุรกิจบริหารครัวให้เช่านี้เป็นทางเลือกที่ดีที่สุด เพราะใช้ต้นทุนต่ำ สามารถ ทำอาหารได้ในครัวที่แบ่งกันใช้ ไม่เพียงเท่านั้นยังมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนความรูร้ ะหว่างผู้ทีท่ ำร่วมกนั ได้อีกด้วย ธุรกิจครัวร่วมแบ่งปัน กำลังเป็นธุรกิจมาแรงในยุคนี้ โดยเป็นห้องครัวแบ่งเช่าทำอาหาร สำหรับผู้ที่ไม่มีห้องครัวของตนเอง เพื่อการแข่งขันทางธุรกิจ คนรุ่นใหม่ที่อยากจะทำอาหาร เรียน ทำอาหาร หรือต้องการหาสถานที่ถ่ายทำรายการในการทำอาหาร (co-kitchen ตัวช่วยสร้างรายได้ สำหรบั คนยุคใหม,่ 2562) แตด่ ้วยเน่อื งจากพื้นท่ไี ม่อำนวยความสะดวก บคุ คลเหลา่ น้ีไม่ได้พักอาศัยอยู่ ที่บ้าน แต่อยู่ที่หอพักหรือคอนโดมิเนียม ซึ่งพื้นที่นี้ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่จำกัด ไม่มีห้องครัว จึงได้จัดทำ ธุรกิจครัวร่วมแบ่งปันในการทำอาหาร เป็นนครัวที่สามารถแบ่งกันใช้ได้ ระบบที่ต้องการนำมาใช้น้ี เป็นระบบที่เปิดจองสถานที่ธุรกิจครัวร่วมแบ่งปัน ท่ีได้รวบรวมสถานที่แต่ละสถานที่ไว้ รวมไปถึงได้ รองรับสตูดโิ อถา่ ยทำรายการไวด้ ้วย

4 จากปัญหาที่กล่าวมาขา้ งต้น ทางผ้วู จิ ัยจงึ ได้นำปญั หา และ แนวคดิ ต่าง ๆ มาพฒั นาระบบเว็บเซอรว์ ิส การให้บริการธุรกิจครัวร่วมแบ่งปัน เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้งาน ที่ต้องการพื้นที่ใน การสร้างสรรค์ผลงาน ถ่ายทำงาน ทำงานร่วมกัน เช่าสถานที่ในการทำอาหาร โดยเป็นการนำเอา เทคโนโลยีเวบ็ เซอร์วสิ มาผสานกบั การทำงานของธุรกิจแนวใหม่ โดยรวบรวมสถานท่ี ทเี่ ปิดให้บริการ ครัวร่วมแบ่งปัน หรือ สถานที่ทำงานร่วมกันกับผู้อื่น ผ่านการจองสถานที่ผ่านระบบเว็บเซอร์วิสการ ให้บรกิ ารธุรกจิ ครวั ร่วมแบ่งปัน โดยระบบน้ันสามารถ เลือกดตู ารางการนัดหมาย เพือ่ จองสถานท่ี อีก ทัง้ ยังสามารถเปรียบเทยี บราคาเชา่ ในแตล่ ะสถานท่ีได้อีกด้วย เปน็ การอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้งาน ที่ไม่ต้องเสียเวลาเดินทางไปดูสถานท่ีจรงิ ไม่ต้องเข้าเว็บไซต์หลายเว็บไซต์เน่ืองจากระบบเวบ็ เซอร์วิส การให้บริการธุรกิจครัวร่วมแบ่งปัน นั้นรวบรวมสถานที่หลากหลายแหล่งไว้ภายในระบบแล้ว อีกท้ัง ระบบยงั สามารถต่อยอดธุรกิจในปจั จบุ ัน โดยผปู้ ระกอบการสามารถติดต่อดับทางผู้ดแู ลระบบ เพื่อลง สถานที่ให้เช่าสำหรับร้านที่ยังไม่เป็นที่รู้จักมาก หรือขับเคลื่อนธรุ กิจทีม่ ีอยูแ่ ลว้ ให้มีประสิทธภิ าพมาก ย่ิงข้ึน และยังสะดวกสบายสำหรับผูใ้ ช้งานอีกดว้ ย ไมว่ ่าจะเป็นผู้ประกอบการ บุคคลทั่วไปท่ีสนใจด้าน อาหาร ซึ่งต้องการที่ทำกิจกรรมร่วมกันนอกสถานที่ ระบบเว็บเซอร์วิสการให้บริการธุรกิจครัวร่วม แบ่งปันนั้นรวบรวมสถานที่ที่สำคัญ และยังเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่สามารถช่วยให้ผู้ใช้งานได้ตัดสินใจ ไดอ้ ย่างดีเยย่ี มได้อกี ด้วย 1.2 วตั ถุประสงค์ของการวิจัย 1.2.1 เพื่อศึกษาและสังเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาระบบเว็บเซอร์วิสการให้บริการ ธุรกจิ ครัวรว่ มแบง่ ปนั 1.2.2 เพอื่ พัฒนาระบบเวบ็ เซอร์วสิ การใหบ้ รกิ ารธุรกจิ ครัวร่วมแบง่ ปนั 1.2.3 เพ่อื ประเมนิ ระบบเว็บเซอร์วิสการใหบ้ รกิ ารธรุ กิจครวั รว่ มแบง่ ปนั 1.2.4 เพื่อประเมินประสิทธิภาพและความพึงพอใจของระบบเว็บเซอร์วิสการให้บริการ ธุรกิจครวั ร่วมแบ่งปัน 1.3 ขอบเขตของการวิจัย การออกแบบการพัฒนาระบบเวบ็ เซอรว์ ิสการให้บรกิ ารธรุ กิจครัวรว่ มแบ่งปนั มีขอบเขตการวิจัย ดังน้ี 1.3.1 ขอบเขตด้านการพฒั นาระบบสารสนเทศ 1.3.1.1 สื่อสามารถแสดงหนา้ ค้นหาและแบบการจองได้อย่างถูกต้อง 1.3.1.2 สามารถแสดงหน้าทำแบบการจองไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ

5 1.3.1.3 สามารถแสดงแบบฟอร์มการจองได้อยา่ งถูกต้อง 1.3.1.4 สามารถใหผ้ ใู้ ช้สรา้ งกระทแู้ สดงความคดิ เห็นกันได้อย่างเสรแี ละสภุ าพ 1.3.2 ขอบเขตด้านเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาและพัฒนาเว็บเซอร์วิสการให้บริการธุรกิจครัวร่วม แบ่งปัน การพฒั นาระบบ ใชภ้ าษาโปรแกรมคอมพวิ เตอร์และเคร่ืองมือท่ีใช้ในการพัฒนาระบบ มีดังน้ี 1.3.2.1 ภาษาพเี อชพี (Hypertext Preprocessors: PHP) 1.3.2.2 ราลาเวล เฟรมเวิร์ค (Laravel Framework) 1.3.2.3 มายเอชควิ แอล มาเรยี ดีบี (MySQL MariaDB) 1.3.3 ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตวั อย่าง 1.3.3.1 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ ผู้ประกอบการและบุคคลทั่วไปที่เข้ามาใช้ บรกิ าร 1.3.3.2 กลุ่มตัวอย่างที่เลือกในการทำวิจัยครั้งนี้คือ ผู้ประกอบการและบุคคลทั่วไป จำนวน 70 คน ใช้วธิ ีเลอื กแบบสุ่ม 1.3.4 ระยะเวลาการดำเนนิ งาน ระหว่างเดือน ธันวาคม 2563 ถึง เดอื นพฤษภาคม 2564 ลำดับที่ ข้ันตอนในการดำเนนิ งาน ช่วงเวลาการปฏบิ ตั งิ าน พ.ศ. 2563 1 กำหนดปญั หาและศึกษาความเป็นไปได้ ธ.ค ม.ค ก.พ ม.ี ค เม.ย พ.ค ธ.ค 2 การวเิ คราะห์ระบบ 3 การออกแบบ 4 การพฒั นา 5 การทดสอบ 6 การนำไปใช้ 7 การบำรงุ รกั ษา ตาราง 1-1 ข้ันตอนการดำเนนิ งาน

6 1.4 คำนยิ ามศพั ท์ 1.4.1 ธุรกิจครัวร่วมแบ่งปัน (Co-Cooking Space) หมายถึง พื้นที่ที่ให้ผู้คนที่รักการ ทำอาหารมาพบปะกัน และได้แบ่งปันความรู้ซึ่งกันและกัน เพื่อให้ทุกคนสามารถเข้าถึงและ ได้ลงมือในการทำ มีกิจกรรมการการสอนจากเชฟมืออาชีพ มีพื้นที่ใช้สอยกว้างขวาง เฟอร์นิเจอร์เหมาะสมกับการทำอาหาร ทนร้อน ทนสารเคมี และทำความสะอาดง่าย มา พร้อมอุปกรณ์เคร่ืองครัวครบครนั เพอ่ื ให้ทกุ คนได้สัมผสั และสร้างสรรค์ประสบการณ์อันยอด เยยี่ ม 1.4.2 เว็บเซอร์วิส หมายถึง ระบบซอฟต์แวร์ที่ออกแบบมา เพ่ือสนับสนุนการแลกเปลี่ยน ข้อมลู กนั ระหวา่ งเคร่อื งคอมพิวเตอรผ์ ่านระบบเครือข่าย โดยที่ภาษาท่ีใช้ในการติดต่อสอื่ สาร ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ คือ เอ็กซ์เอ็มแอล หรือการให้บริการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง อปุ กรณใ์ นโลกอนิ เทอร์เน็ต 1.4.3 ผใู้ ช้บรกิ าร หมายถึง ผบู้ ริโภคกลมุ่ เป้าหมายของธุรกิจครัวรว่ มแบง่ ปัน ซ่ึงอาศัยและ ทำงานอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร และเคยใช่บริการธุรกิจครัวร่วมแบ่งปันเพื่อประโยชน์ด้าน การทำอาหาร รวมทัง้ ยงั ได้ประสบการณโ์ ดยรวมจากการใช้บริการธุรกิจครวั รว่ มแบ่งปัน 1.5 เครอื่ งมือทใ่ี ช้ในงานวจิ ัย ใช้เป็นแบบสอบถามเพื่อทราบความต้องการต่าง ๆ เพื่อนำผลที่ได้มาสรุปผลเพื่อนำมา ประกอบในการทำวิจัยต่อไป ดังแบบสอบถามต่อไปน้ี 1.5.1 แบบสอบถามก่อนทำระบบ คือ แบบสอบถามความต้องการเรื่องการออกแบบและ การพัฒนาระบบเว็บเซอร์วิสการให้บริการธุรกิจครัวร่วมแบ่งปัน สำหรับผู้ประกอบการ และ ผเู้ ชีย่ วชาญด้านการออกแบบเทคโนโลยี 1.5.2 แบบสอบถามประเมนิ ความพึงพอใจของผ้เู ชยี่ วชาญ 1.5.3 แบบสอบถามความพงึ พอใจของผ้ปู ระกอบการและผ้ทู ่ีเข้ามาใชบ้ รกิ าร 1.6 ประโยชน์ที่คาดวา่ จะไดร้ บั 1.6.1 ไดท้ ราบถงึ ปจั จัยทีช่ ว่ ยสง่ เสริมในการสนบั สนนุ การตัดสนิ ใจเลือกใช้บริการระบบ 1.6.2 ได้ระบบส่งเสรมิ ในการสนบั สนุนการตดั สนิ ใจเลอื กใชบ้ รกิ ารระบบ 1.6.3 ได้ทราบผลการประเมินประสิทธิภาพและความพึงพอใจของระบบเว็บเซอร์วิสการ ใหบ้ รกิ ารธรุ กจิ ครัวรว่ มแบง่ ปัน

7 1.7 กรอบแนวคิด ภาพที่ 1-1 แผนภาพแสดงกรอบแนวคิดระบบเว็บเซอร์วิสการใหบ้ รกิ ารธรุ กิจครัวร่วมแบ่งปัน 1.7.1 ตวั แปรตน้ ได้แก่ ผ้ใู ชต้ ้องการพน้ื ท่ีสถานที่ว่างเพื่อทำกิจกรรม , ผู้ใชเ้ ข้าถึงบริการได้ ยาก , เปรียบเทียบราคาสถานที่เพื่อจองได้ยาก , เสียเวลาในการเดินทางไปจอง สถานท่ี , ไม่มีการสนับสนุนลกู คา้ ทีช่ ว่ ยตอบคำถามลูกคา้ ทง้ั ในชว่ งสอบถาม 1.7.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ประสิทธิภาพของระบบเว็บเซอร์วิสการให้บริการธุรกิจครัวร่วม แบง่ ปัน , ความพึงพอใจในการใช้ระบบเซอรว์ ิสการใหบ้ รกิ ารธุรกจิ ครวั ร่วมแบง่ ปนั 1.7.3 ลักษณะของ Co – Cooking Space พื้นที่ว่างให้เช่าในการทำอาหาร, อุปกรณ์ใน การทำอาหารครบวงจร

8 บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเก่ยี วขอ้ ง ในหัวข้อการพัฒนาระบบเว็บเซอร์วิสการให้บริการธุรกิจครัวร่วมแบ่งปันและงานวิจัยท่ี เกย่ี วข้องซง่ึ นำมาเป็นข้อมูลในการดำเนนิ การวิจยั และใชใ้ นการอา้ งองิ ต่อไปน้ี 2.1 วงจรการพฒั นาระบบ (System Development Life Cycle : SDLC) 2.2 ธุรกิจครัวรว่ มแบง่ ปนั (Co-Cooking Space) 2.3 สถานที่ทำงานร่วมกันกับผูอ้ นื่ (Co-Working Space) 2.4 เวบ็ เซอร์วิส (Web service) 2.5 ฮาร์ดแวร์ (Hardware) 2.6 ซอฟแวร์ (Software) 2.7 งานวิจยั ที่เก่ยี วขอ้ ง 2.1 วงจรการพฒั นาระบบ (System Development Life Cycle: SDLC) เกียรติพงษ์ อุดมธนะธีระ (2560) ได้สรุป กระบวนในการพัฒนาระบบสารสนเทศ เพ่ือ แก้ปัญหาทางธุรกิจและตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้ โดยภายในวงจรนั้นจะแบ่ง กระบวนการพฒั นาออกเปน็ กล่มุ งานหลกั ๆ ดงั นี้ ก) ด้านการวางแผน (Planning Phase) นักวิเคราะห์ระบบจะต้องศึกษาเพื่อค้นหาปัญหา ข้อเท็จจริงที่แท้จริง ซึ่งหากปัญหาท่ี ค้นพบ มิใช่ปัญหาที่แท้จริง ระบบงานที่พัฒนาขึ้นมาก็จะตอบสนองการใช้งานไม่ ครบถ้วน ปัญหาหนึ่งของระบบงานที่ใช้ในปัจจุบันคือ โปรแกรมที่ใช้งานในระบบงาน เดิมเหล่านั้นถูกนำมาใช้งานในระยะเวลาที่เนิ่นนานอาจเป็นโปรแกรมที่เขียนขึ้นมาเพื่อ ติดตามผลงานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะเท่านั้น ไม่ได้เชื่อมโยงถึงกันเป็นระบบ ดังน้ัน นักวิเคราะห์ระบบจึงต้องมองเห็นปัญหาที่เกิดขึ้นในทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ ระบบงานทจ่ี ะพัฒนา แลว้ ดำเนนิ การแก้ไขปญั หา ซ่งึ อาจมีแนวทางหลายแนวทาง และ คัดเลอื กแนวทางท่ดี ีท่สี ุดเพ่อื นำมาใช้ในการแกป้ ัญหาในครงั้ นี้ ข) ด้านการวิเคราะห์ (Analysis Phase) จะต้องรวบรวมข้อมูลความต้องการ (Requirements) ต่าง ๆ มาให้มากที่สุด ซึ่งการสืบค้นความต้องการของผู้ใช้สามารถ ดำเนินการได้จากการรวบรวมเอกสารการสมั ภาษณ์ การออกแบบสอบถาม และการ

9 ค) สังเกตการณ์บนสภาพแวดล้อมการทำงานจริง เมื่อได้นำความต้องการมาผ่านการ วิเคราะห์เพื่อสรุปเป็นข้อกำหนดที่ชัดเจนแลว้ ขั้นตอนต่อไปของนักวิเคราะห์ระบบก็คอื การนำข้อกำหนดเหล่านั้นไปพัฒนาเป็นความต้องการของระบบใหม่ด้วยการพัฒนาเปน็ แบบจำลองขึ้นมา ซึ่งได้แก่ แบบจำลองกระบวนการ (Data Flow Diagram) และ แบบจำลองข้อมลู (Data Model) เปน็ ตน้ ง) ด้านการออกแบบ (Design Phase) เป็นระยะที่นำผลลัพธ์ที่ได้จากการวเิ คราะห์ ที่เป็น แบบจำลองเชงิ ตรรกะมาพัฒนาเป็นแบบจำลองเชงิ กายภาพ โดยแบบจำลองเชงิ ตรรกะท่ี ได้จากขั้นตอนการวิเคราะห์ มุ่งเน้นว่ามีอะไรที่ต้องทำในระบบในขณะที่แบบจำลอง เชิงกายภาพจะนำแบบจำลองเชงิ ตรรกะมาพัฒนา ตอ่ ดว้ ยการมุ่งเน้นว่าระบบดำเนินการ อย่างไรเพื่อให้เกิดผลตามต้องการ งานออกแบบระบบประกอบด้วยงานออกแบบ สถาปัตยกรรมระบบที่เกี่ยวข้องกับฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และระบบ เครือข่าย การ ออกแบบรายงาน การออกแบบหน้าจออินพุตข้อมูล การออกแบบผังงานระบบ การ ออกแบบฐานขอ้ มูล และการออกแบบโปรแกรม เป็นต้น จ) ด้านสร้างหรือพัฒนาระบบ (Construction) เป็นระยะที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา โปรแกรม โดยทมี งานโปรแกรมเมอรจ์ ะต้องพฒั นาโปรแกรมตามที่นักวิเคราะห์ระบบได้ ออกแบบไว้ การเขียนชุดคำสั่งเพื่อสร้างเป็นระบบงานทางคอมพิวเตอร์ขึ้นมา โดย โปรแกรมเมอร์สามารถนำเครื่องมือเข้ามาช่วยในการพัฒนาโปรแกรมได้เพื่อช่วยให้ ระบบงานพฒั นาไดเ้ รว็ ขน้ึ และมีคุณภาพ ฉ) การทดสอบ (Test) เมอ่ื โปรแกรมได้พฒั นาข้ึนมาแลว้ ยังไมส่ ามารถนำระบบไปใช้งานได้ ทันทีจำเป็นต้องดำเนินการทดสอบระบบก่อนที่จะนำไปใช้งานจริงเสมอ ควรมีการ ทดสอบข้อมูลเบ้ืองต้นก่อน ด้วยการสร้างข้อมูลจำลองข้ึนมาเพ่ือใช้ตรวจสอบการทำงาน ของระบบงาน หากพบข้อผิดพลาดกป็ รบั ปรุงแก้ไขให้ถกู ต้อง การทดสอบระบบจะมีการ ตรวจสอบไวยากรณ์ของภาษาเขียน และตรวจสอบว่าระบบตรงกับความต้องการของ ผ้ใู ชห้ รือไม่ ช) การนำระบบไปใช้ (Implementation of the system) เมื่อดำเนินการทดสอบระบบ จนมั่นใจว่าระบบที่ได้รับการทดสอบนั้นพร้อมที่จะนำไปติดตั้งเพื่อใช้งานบนสถานการณ์ จริง ขั้นตอนการนำระบบไปใช้งานอาจเกิดปัญหา จากการที่ระบบที่พัฒนาใหม่ไม่ สามารถนำไปใช้งานแทนระบบงานเดิมได้ทันที จึงมีความจำเป็นต้องแปลงข้อมูลระบบ เดมิ ใหอ้ ยใู่ นรปู แบบทร่ี ะบบใหมส่ ามารถนำไปใช้งานได้เสยี ก่อน หรอื อาจพบข้อผดิ พลาด

10 ซ) ท่ไี ม่คาดคดิ เมือ่ นำไปใชใ้ นสถานการณ์จรงิ ครั้นเม่ือระบบสามารถรันได้จนเปน็ ที่น่าพอใจ ทัง้ สองฝา่ ย ก็จะต้องจดั ทำเอกสารคมู่ ือระบบ รวมถงึ การฝึกอบรมผู้ใช้ ฌ) บำรุงรักษา (Maintenance) หลังจากระบบงานที่พัฒนาขึ้นใหม่ได้ถูกนำไปใช้งานเป็นท่ี เรยี บร้อยแล้ว ขนั้ ตอนการบำรงุ รักษาจงึ เกิดขนึ้ ทง้ั นขี้ ้อบกพรอ่ งในดา้ นการทำงานของ โปรแกรมอาจเพิ่งค้นพบได้ ซึ่งจะต้องดำเนินการแก้ไขให้ถูกต้องรวมถึงกรณีที่ข้อมูลที่ จัดเก็บมีปริมาณที่มากขึ้นต้องวางแผนการรองรับเหตุการณ์นี้ด้วย นอกจากนี้งาน บำรงุ รักษายงั เกีย่ วขอ้ งกบั การเขียนโปรแกรมเพมิ่ เติมกรณีทผี่ ้ใู ช้มีความต้องการเพิ่มขน้ึ 2.2 ธุรกจิ ครวั รว่ มแบ่งปัน (Co-Cooking Space) ธรุ กจิ ครวั ร่วมแบ่งปัน หมายถงึ พ้นื ท่ที ี่ใหผ้ ูค้ นที่รักการทำอาหารมาพบปะกัน และได้แบ่งปัน ความรู้ซึ่งกันและกัน เปิดให้บริการทางด้านการทำอาหาร สำหรับผู้ใช้ที่ต้องการสถานที่ในการ ทำอาหารแตไ่ ม่มพี ้ืนท่ีมากพอ ธรุ กิจครัวร่วมแบ่งปนั จึงเปดิ มาเพ่ือตอบสนองตอ่ ความต้องการของผู้ใช้ ดังที่กล่าวมา สามารถให้ทุกคนสามารถเข้าถึงและได้ลงมอื ในการทำ มีกิจกรรมการการสอนจากเชฟ มืออาชีพ มีพื้นที่ใช้สอยกว้างขวาง เฟอร์นิเจอร์เหมาะสมกับการทำอาหาร ทนร้อน ทนสารเคมี และ ทำความสะอาดง่าย มาพร้อมอุปกรณ์เครื่องครัวครบครัน เพื่อให้ทุกคนได้สัมผัสและสร้างสรรค์ ประสบการณ์อันยอดเยี่ยม ธุรกิจครัวร่วมแบ่งปันเป็นเหมือนสถานที่ที่ดี จะนำผู้คนที่ชื่นชอบในการ ทำอาหารมาพบปะและแบ่งปันความรู้ซึ่งกันและกัน รวมถึงมาสนุกไปด้วยกัน โดยก้าวข้ามข้อจำกัด ต่าง ๆ ที่อาจจะมีพื้นที่เล็ก มีอุปกรณ์ที่ไม่เพียงพอ หรือไม่มีเพื่อนรู้ใจในการทำอาหาร ด้วยพื้นที่การ ทำอาหารสดุ กว้างขวาง จะมาทำเด่ยี ว หรือจะเป็นกลุ่มใหญ่ ก็สะดวกสบาย พร้อมทงั้ มาพร้อมอุปกรณ์ ทำครวั ทจี่ ะเป็นผู้ช่วยใหท้ กุ คนสนุกกับการปรงุ อาหาร และชว่ ยให้การเรียนทำอาหารง่ายข้ึน ไม่ว่าจะ ต้ม ผัด แกง ทอด อบ ทำของคาวหรือของหวาน และมีคอมมูนิตี้ที่รวบรวมคนรักการทำอาหาร เหมือนๆกนั มาไวใ้ นทเี ดยี ว ให้การทำอาหารแตล่ ะครั้ง สนกุ สดใส และนา่ จดจำมากข้ึน ธุรกิจครัวร่วมแบ่งปัน นี้เป็นความร่วมมือระหว่าง วงใน กับ Eletrolux, Geolux และ True digital Park เพื่อเปิดคอมมูนิตี้แห่งใหม่ที่ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ของคนเมืองที่ชอบทำอาหารได้มาแชร์ เรื่องของ สูตรอาหาร การทำอาหาร เข้ามาพูดคุยกันและมีคลาสที่สอนทำอาหารฮิตๆ ที่กำลังเป็น กระแสเพื่อถ่ายลงโซเชียลได้ทันที นอกจากนี้ ธุรกิจครัวร่วมแบ่งปัน จะเปิดให้ผู้คนเข้ามาทำอาหาร แบบไมต่ อ้ งลงเรียนคลาส สำหรับคนทช่ี อบทำอาหารแต่ไม่มอี ุปกรณ์ไดเ้ ข้ามาทำ และมีแมบ่ า้ นช่วยทำ ความสะอาดให้

11 2.3 สถานทท่ี ำงานร่วมกันกับผู้อื่น (Co-Working Space) คำนิยามของ สถานทที่ ำงานร่วมกันกบั ผอู้ น่ื คอื การรวมตวั กนั ในพน้ื ท่ีทำงานชว่ั คราว และยัง หมายถึงชุมชนย่อม ๆ ที่เป็นสังคมแห่งการแบ่งปันของคนทำงานจากหลายสาขาอาชีพได้อีกด้วย หัวใจสำคัญของ สถานที่ทำงานร่วมกันกับผู้อื่น เริ่มต้นมาจากการทำงานในรูปแบบท่ีเรียกว่า สถานที่ ทำงานร่วมกันกับผู้อื่น ซึ่งก็คือการท่ีกลุ่มคนจากต่างสาขาอาชีพมารวมตัวกันและทำงานในพื้นท่ี เดียวกนั สว่ นใหญแ่ ล้วคนทจ่ี ะมาทำงานรว่ มกนั นม้ี ักเป็นกลุ่มคนทำงานอิสระ ซึง่ แน่นอนวา่ การทำงาน ในลักษณะนี้แตกต่างจากการทำงานในบริษทั หรือองค์กรโดยทั่วไป พูดง่าย ๆ ก็คือ ทุกคนต่างคนต่าง ทำงานของตัวเอง เพียงแต่แบ่งปันพื้นที่ในการทำงานร่วมกันเท่านั้น สถานที่เปิดให้เช่าพื้นที่ทำงานท่ี เรียกกนั วา่ สถานท่ที ำงานรว่ มกันกับผู้อื่น จงึ ได้ถือกำเนิดข้ึนเพ่ือรองรับรูปแบบการทำงานในลักษณะ นี้ ในบางครั้ง คำนิยามของ สถานที่ทำงานร่วมกันกบั ผู้อืน่ นอกจากจะหมายถึงการรวมตัวกนั ในพื้นที่ ทำงานชั่วคราวแลว้ ยงั อาจหมายถึงชุมชนย่อม ๆ ทีเ่ ปน็ สงั คมแห่งการแบ่งปนั ของคนทำงานจากหลาย สาขาอาชพี ไดอ้ กี ดว้ ย ผู้ที่ใช้บริการสถานที่ทำงานร่วมกันกับผู้อื่น คือ ผู้ที่ต้องการความยืดหยุ่นในการทำงาน โดย ส่วนมากจะเป็นกลุ่มคนทีก่ ำลังรวมตัวกันเพื่อประกอบธุรกจิ ใหม่ (Startup Company) ผู้ที่ประกอบ อาชีพอิสระ (Freelancer) ดังนั้นจึงไม่น่าแปลกใจ ถ้าคุณจะเจอคนจากหลากหลายสาขาอาชีพ เช่น Startup สาย Social Enterprise Developer สาย IT Graphic Designer หรือ คนทำงานสาย Creative ภายในสถานที่ทำงานร่วมกันกับผู้อ่นื แห่งเดียวกัน หรือถ้าหากคณุ ทำงานประจำ แตอ่ ยาก เข้าไปเล่นอินเทอร์เน็ต นั่งทำงานนอกสถานที่เพื่อเปลี่ยนบรรยากาศ ประชุมคุยงานด่วน หรือจะนัด พบกับลกู คา้ คนสำคัญก็สามารถทำได้ไม่มีปัญหา คุณสมบัติอย่างแรกของสถานที่ทำงานร่วมกันกับผู้อื่น ที่ทำให้คนทำงานรุ่นใหม่สนใจคงจะ หนีไม่พ้นบรรยากาศการทำงานสบาย ๆ ดูเป็นกันเอง และการออกแบบสถานที่ที่คำนึงถึงประโยชน์ ดา้ นการใช้งานและความสวยงาม ซง่ึ นัน่ ทำให้ สถานท่ที ำงานร่วมกันกับผู้อน่ื น้นั แตกต่างจากออฟฟิศ ธรรมดา ๆ โดยสิ้นเชิง ทั้งนี้แม้ สถานที่ทำงานร่วมกันกบั ผู้อื่น แต่ละที่จะมีดีไซน์การตกแต่ง ประเภท เฟอร์นิเจอร์และสีสันที่ต่างกันออกไปตามความพึงพอใจของผู้ให้บริการ แต่โดยรวมแล้วทุกที่จะมี คณุ สมบัติ 3 อย่างที่เหมอื นกัน ไดแ้ ก่ 2.3.1 ราคาประหยัดกว่าการเช่าออฟฟิศรายเดือน หากมองในมุมของความต้องการของ ตลาดแลว้ กลุ่มคนทต่ี ้องการเช่าพืน้ ท่ีสำนกั งานเพื่อใช้เป็นที่ทำงานชัว่ คราวนัน้ คือกลุ่มคนเพยี งกลุ่ม

12 เล็ก ๆ ซึ่งในอดีตก่อนการเกิดขึ้นของ สถานที่ทำงานร่วมกันกับผู้อื่น นั้น สำนักงานที่เปิดให้ เช่าทำงานนั้นมักจะเป็นอาคารที่ใหญ่โต มีหลายชั้น และมีพื้นที่มากเกินความต้องการของคนกลุ่มน้ี เวลาทำสัญญาเช่าแต่ละครั้งก็ต้องจ่ายเงินล่วงหน้าเป็นเดือน ๆ หรือเป็นปีเลยด้วยซ้ำ ทำให้ไม่ตอบ โจทยค์ นทำธรุ กิจท่ีเพิ่งสร้างตวั ซ่ึงมกี ำลังคนน้อยและยังไม่มีเงินทุนมากนัก บางคนจึงเลือกที่จะใช้ร้าน กาแฟ ร้านขนมหรือบ้านของตัวเองเปน็ ท่ีทำงานช่ัวคราวไปก่อน แตเ่ มอื่ สถานท่ีทำงานรว่ มกันกับผู้อื่น เริ่มได้รับความนิยมและเปิดให้เช่าโดยคิดค่าใช้จ่ายเป็นรายชั่วโมงและรายวันในราคาที่ประหยัดกว่า จึงไม่น่าแปลกใจที่สถานที่ทำงานชั่วคราวประเภทนี้จะดึงดูดเหล่าเจ้าของ Startup รุ่นใหม่ และ คนทำงานอสิ ระอกี หลายสาขาอาชพี ให้เขา้ มาใชบ้ ริการ 2.3.2 เหมาะสมกับการทำงานและไลฟ์สไตล์คนรุน่ ใหม่ นอกจากเรื่องของความคุ้มค่าใน การเช่าพื้นที่ทำงานในราคาประหยัดแล้ว สถานที่ทำงานร่วมกันกับผู้อื่น ยังเป็นมากกว่าพื้นที่รวมตัว ของคนทำงาน แต่มันคือขุมกำลังของคนรุ่นใหม่ที่ต้องการอิสระในชีวิต จะว่าไปแล้ว สถานที่ทำงาน ร่วมกันกับผู้อื่น แทบจะเรียกได้ว่าเป็นตัวแทนทางจิตวิญญาณของคนรุ่นใหม่ ไม่ว่าจะเป็น นักธุรกิจ รุ่นใหม่ที่อยากจะเป็นเจ้านายตัวเอง ไม่อยากทำงานออฟฟิศ เป็นมนุษย์เงินเดือนแบบคนรุ่นก่อน ๆ หรือแม้แต่ นักเขียน ศิลปิน ไปจนถึงช่างภาพ ที่มักจะรับงาน Freelance นั่นทำให้ สถานที่ทำงาน ร่วมกันกับผู้อื่น เหมาะกับลักษณะการทำงานและไลฟ์สไตล์ของคนรุ่นใหม่ที่ยืดหยุ่น ไม่ยึดติดอยู่กับ กรอบเดิม ๆ ไดอ้ ยา่ งลงตวั 2.3.3 มีทุกสิ่งที่คนทำงานต้องการ ส่วนใหญ่มักมีอุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับการทำงาน ไล่ ตั้งแต่เฟอร์นิเจอร์พื้นฐานอย่าง เก้าอี้ เบาะนั่งโซฟา หรือโต๊ะสำหรับวางคอมพิวเตอร์ ตลอดจน เครื่องพิมพ์เอกสาร อินเทอร์เน็ตแบบไร้สาย รวมไปถึงของใช้ในสำนักงานอื่น ๆ ไม่ต่างจากออฟฟิศ ทัว่ ไป แตส่ ่งิ ที่ สถานที่ทำงานรว่ มกนั กบั ผู้อืน่ สามารถใหไ้ ด้มากกวา่ ออฟฟิศทวั่ ไปกค็ ือ ความยืดหยุ่นที่ สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความต้องการของลูกค้าแต่ละคน ทั้งเรื่องเวลา (จะมากี่โมงก็ได้) หรือ สถานท่ี (เลือกน่ังตรงไหนของห้องก็ไดใ้ นกรณีที่เป็นห้องรวม) ไม่ว่าจะมาคนเดยี วหรือยกกันมาเป็นหมู่ ทั้งนี้ สถานที่ทำงานร่วมกันกับผู้อื่น บางที่ยังผสมผสานการให้เช่าพื้นที่และอุปกรณ์การทำงานแบบ ครบวงจรเข้าไปด้วย เช่น การมบี ริการให้เช่าห้องทำงานเฉพาะบุคคล ถ้าเราต้องการความเป็นส่วนตัว และต้องการสมาธิในการทำงาน ห้องประชมุ เพื่อคุยงาน ห้องอบรมสัมมนา หรอื พ้ืนทพ่ี ิเศษในการจัด กจิ กรรม รวมไปถึงห้องครวั และห้องอาหาร บางแหง่ ยงั มเี ครื่องด่ืม หรอื ขนมขบเค้ียวให้บริการฟรีอีก ด้วย เรียกไดว้ า่ คนทำงานอยากได้อะไร สถานทีท่ ำงานรว่ มกันกับผู้อน่ื จดั ให้ไดห้ มด ด้วยเหตุผลทั้งหมดเหล่าน้ีสถานที่ทำงานร่วมกันกับผู้อื่น จึงเปรียบเสมือนโลกใบใหม่ของคน รุ่นใหมท่ ่ตี อ้ งการความอิสระและความคิดสรา้ งสรรคใ์ นการทำงาน ที่สำคญั พนื้ ท่แี หง่ นจ้ี ะทำใหก้ าร

13 ทำงานของคณุ ไม่ได้ถูกจำกัดอยู่เฉพาะในหอ้ งสีเ่ หล่ยี มแคบ ๆ แบบเดิมอกี ต่อไป คุณจะเข้าไป ทำงานในบรรยากาศสบาย ๆ เมื่อไหร่ก็ได้ตามใจ และคุณยังจะได้สังคมใหม่ ได้พบเพื่อนใหม่ ๆ จาก สาขาอาชพี อ่ืน ๆ ในสถานที่แหง่ การแบ่งปนั แห่งนอี้ กี ด้วย 2.4 เวบ็ เซอรว์ ิส (Web service) เว็บเซอร์วิส คือระบบซอฟต์แวร์ที่ออกแบบมา เพื่อสนับสนุนการแลกเปลี่ยนข้อมูลกัน ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านระบบเครือข่าย โดยที่ภาษาที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่อง คอมพิวเตอร์ คือ เอ็กซ์เอ็มแอล เว็บเซอร์วิสมีอินเทอร์เฟส ที่ใช้อธิบายรูปแบบข้อมูลที่เครื่อง คอมพิวเตอร์ประมวลผลได้ เช่น WSDL ระบบคอมพิวเตอร์ใช้งานสื่อสารโต้ตอบกับเว็บเซอร์วิสตาม รูปแบบที่ได้กำหนดไว้แลว้ โดยการส่งสาสน์ตามอินเตอร์เฟสของเว็บเซอร์วสิ น้ัน โดยที่สาสน์ดังกลา่ ว อาจแนบไว้ในซอง SOAP หรือส่งตามอินเตอร์เฟสในแนวทางของ REST สาสน์เหล่านี้ปกติแล้วถูกสง่ โดยอาศยั HTTP และใช้ XML รว่ มกบั มาตรฐานเกยี่ วกบั เวบ็ อ่ืนๆ โปรแกรมประยกุ ตท์ เ่ี ขยี นโดยภาษา ต่างๆ และทำงานบนแพลตฟอร์มต่างๆกันสามารถใช้เว็บเซอร์วิสเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านทาง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น อินเทอร์เน็ต ในลักษณะเดียวกับการสื่อสารระหว่างโปรเซส บนเครื่อง เดียวกัน ความสามารถในการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างระบบที่ต่างกันนี้ เช่น การแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่าง โปรแกรมที่เขียนโดยภาษาจาวา และโปรแกรมท่เี ขียนโดยภาษาไพทอน หรอื การแลกเปล่ียน ข้อมูลระหว่างโปรแกรมประยกุ ตท์ ีท่ ำงานบนไมโครซอฟท์วนิ โดวส์และโปรแกรมประยุกต์ที่ทำงานบน ลินกุ ซ์ เกดิ ข้นึ ได้เนื่องจากการใช้มาตรฐานเปิด โดย OASIS และ W3C เป็นคณะกรรมการหลักในการ รับผิดชอบมาตรฐานและสถาปตั ยกรรมของเว็บเซอร์วิส 2.4.1 จดุ เดน่ ของเวบ็ เซอร์วสิ 1) การเชื่อมโยง (Interoperable): สนับสนุนการเชื่อมโยงกันระหว่างโปรแกรม ประยุกตท์ หี่ ลากหลาย (Heterogeneous Applications) ได้ โดยใชม้ าตรฐานเว็บท่ี เปน็ กลาง 2) ลดค่าใชจ้ า่ ย (Economical): สนับสนนุ การนำซอฟตแ์ วร์คอมโพเนนทก์ ลับมาใช้ใหม่ (reuse) และไมต่ อ้ งยึดติดกับเทคโนโลยเี ดิม 3) อัตโนมัติ (Automatic): สนับสนุนการการเรยี กใช้จากโปรแกรมโดยตรง โดยไม่ต้อง โตต้ อบกับผู้ใช้ 4) เขา้ ถึงได้ (Accessible): สามารถท่ีจะเรียกใชโ้ ปรแกรมเดิม (Legacy) หรือโปรแกรม ภายในผา่ นเว็บได้

14 5) ใช้ไดต้ ลอด (Available): สนบั สนนุ การเรยี กใช้ไดท้ กุ ท่ี ทกุ อปุ กรณ์ และทุกเวลา 6) ขยายได้ (Scalable): ไมไ่ ดจ้ ำกัดขนาดของโปรแกรมหรือจำนวนของระบบตา่ ง 2.4.2 โมเดลการทำงานของเว็บเซอร์วสิ กระบวนการการทำงานของเว็บเซอร์วิสจะมีขั้นตอนการทำงานเช่นเดียวกับซอฟต์แวร์ เซอร์วิสที่ใช้ Distributed Computing ดังอธิบายในรูปที่ 1 ซึ่งเราสามารถที่จะแบ่งบทบาท องค์ประกอบของเว็บเซอร์วิสได้เป็นสามส่วน โดยทั้งสามองค์ประกอบมีความสัมพันธ์ดังแสดงในรูป และสามารถอธิบายได้ ดังน้ี 1) ผู้ให้บริการ (Service Provider): ผู้ให้บริการจะมีหน้าที่ในการพัฒนาและติดตัง้ เวบ็ เซอร์วิส และเป็นผู้ที่นิยามความหมายของเซอร์วิสและลงทะเบียนเซอร์วิสกับ Service Registry 2) ผใู้ ช้บรกิ าร (Service Requestor): ผ้ใู ช้บริการจะเปน็ ผู้เรียกใช้เวบ็ เซอร์วิส โดยอาจ ทำการค้นหาเซอร์วิสจากเซอร์วิสไดเร็กทอรี่ แล้วทำการเรียกใช้เซอร์วิสจากผู้ ให้บรกิ าร 3) Service Registry: หรืออาจเรียกว่า Service Broker มีหน้าที่ในการรับลงทะเบียน และช่วยในการค้นหาเว็บเซอร์วิส Service Registry จะเก็บรายละเอียดของเว็บ เซอร์วิสต่างๆเช่น นิยาม และตำแหน่งของเว็บเซอร์วิส ทำหน้าที่คล้ายกับสมุด โทรศพั ทเ์ พื่อช่วยให้ผใู้ ช้บรกิ ารสามารถคน้ หาเซอรว์ ิสที่ต้องการได้ 2.5 ฮารด์ แวร์ (Hardware) ฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครง ร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการทำงาน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมลู สำรอง (Secondary Storage) ส่วนประกอบของอุปกรณค์ อมพิวเตอร์ 2.5.1 หน่วยประมวลผลกลาง (CPU หรือ Central Processing Unit) เป็นหน่วยที่สำคัญที่สุด เปรียบได้กับสมองของคอมพิวเตอร์มีหน้าที่ประมวลผลของมูลหรือ คำสงั่ ตา่ งๆ และมหี น้าท่ีควบคมุ ระบบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ใหท้ กุ หนว่ ยทำงานสอดคล้องกัน ทำ

15 หน้าท่ีปฏิบตั ิงานตามคำส่ังท่ีปรากฏอยู่ในโปรแกรมหน่วยนีจ้ ะประกอบดว้ ยหน่วยย่อย ๆ อีก 2 หน่วย ได้แก่หน่วยคำนวณเลขคณิตและตรรกวิทยา (ALU หรือArithmetic and Logical Unit) และหน่วย ควบคมุ (CU หรือ Control Unit) ซง่ึ หน่วยประมวลผลการจะประกอบดว้ ยหนว่ ยย่อย ๆ ดงั ต่อไปน้ี 2.5.1.1หน่วยความจาํ (Memory Unit) ก) รีจิสเตอร์ (Register) คือ หน่วยความจําที่อยู่ภายใน CPU ทําหน้าที่เก็บข้อมูลที่ส่งมา จากหนว่ ยความจําหลักและจะนาํ ขอ้ มลู ดงั กลา่ วไปประมวลผล ข) รอม (Read Only Memory: ROM) คือ หน่วยความจําหลักชนิดถาวรของคอมพิวเตอร์ ทําหน้าที่เก็บคําสั่งต่างๆ ไม่สามารถแก้ไข้ข้อมูลในรอมได้ เปรียบได้กับหนังสือที่จะเก็บ ความรตู้ ่างๆ เอาไว้ ค) แรม (Random Access Memory: RAM) คือ หน่วยความจําหลักชนิดหนึ่งของ คอมพิวเตอร์ทําหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคําสั่งต่างๆ ที่ใช้ในการประมวลผล สามารถแก้ไข ข้อมลู ในแรมได้และขอ้ มลู จะหายไปเม่ือปดิ ง) หน่วยควบคุม (Control Unit) เป็นหน่วยที่ทําหน้าที่ควบคุมการทํางานทุกๆ หน่วยใน CPU และอุปกรณ์ต่อพว่ งใหท้ าํ งานได้อยา่ งสัมพันธ์กนั 2.5.1.2 หน่วยรับข้อมูลเข้า (Input Unit) เป็น ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ที่ทำหนา้ ที่ รับขอ้ มลู จากคนและสง่ ตอ่ ขอ้ มูลไปยงั หนว่ ยประมวลผล (Process Unit) เพือ่ ทำการประมวลผลต่อไป รูปแบบการส่งข้อมูลจากอุปกรณ์รับข้อมูลจะอยู่ในรูปของการส่งสัญญาณเป็นรหัสดิจิตอล (หรือเป็น เลข 0 กบั 1) นัน่ เองอุปกรณ์ส่วนรบั ข้อมูล ได้แก่ เมาส์ (Mouse) คยี ์บอร์ด (Keyboard) 2.5.1.3 หน่วยแสดงผล (Output Unit) เปน็ หน่วยทีแ่ สดงผลลัพธ์ทมี่ าจากการประมวลผล ข้อมลู ของส่วนประมวลผลข้อมลู โดยปกตริ ูปแบบของการแสดงผล มีอยู่ 2 แบบคอื แบบท่สี ามารถเก็บ ไวด้ ภู ายหลงั ได้และแบบท่ไี ม่มสี ำเนาเกบ็ ไว้ • แบบที่สามารถเก็บไว้ดูภายหลังได้ เช่น เครื่องพิมพ์ (Printer) และ เครื่องวาด (Plotter) • แบบที่ไม่มีสำเนาเก็บไว้ เช่น จอภาพ(Monitor) , เครื่องฉายภาพ(LCD Projector) และ ลำโพง (Speaker 2.5.2 หน่วยเก็บข้อมูลสํารอง (Secondary Storage) สามารถแบ่งออกได้เป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 4 ประเภท ดังนี้ • แบบจานแมเ่ หลก็ แบบจานแมเ่ หล็กเป็นอุปกรณส์ ำรองข้อมูลที่เป็นลักษณะของจาน แม่เหลก็ สำหรบั บนั ทกึ ข้อมูลไว้ภายในดิสก์ (Disk

16 • แบบแสงเป็นสื่อเก็บข้อมูลสำรองที่ได้รับความนิยมมากในปัจจุบันโดยใช้หลักการ ทำงานของแสงการจัดการข้อมูลจะคล้ายกับแผ่นจานแม่เหล็กต่างกันที่การแบ่งจะ เปน็ รูปกน้ หอยและเริ่มเก็บบันทึกข้อมูลจากส่วนดา้ นในออกมาด้านนอกที่เป็นที่นิยม และรู้จักกันดี เช่น CD, DVD • แบบเทปเป็นสื่อเก็บข้อมูลที่สามารถเก็บข้อมูลได้เป็นจำนวนมากและเข้าถึงข้อมูล แบบเรยี งลำดบั ตอ่ เน่อื งกนั ไป มีการผลติ ขึ้นมาหลากหลายขนาดแตกตา่ งกนั ไป 2.5.3 หน่วยความจำ (Memory Unit) ทำหน้าที่เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลที่รับมาจากหน่วยรับ ข้อมูลเพื่อเตรียมส่งออกหน่วยประมวลผลกลางทำการประมวลผลและรับผลลัพธ์ที่ได้จากการ ประมวลผลและเตรียมส่งออกหน่วยแสดงผลข้อมูลต่อไปซึ่งหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์แบ่ง ออกเป็น 2 ประเภทหลกั ๆ ดงั นี้ • หน่วยความจำหลักแบบอ่านได้อย่างเดียว (Read Only Memory - ROM) เป็น หน่วยความจำแบบสารกึ่งตัวนำชั่วคราวชนิดอ่านได้อย่างเดียวใช้เป็นสื่อบันทึกใน คอมพวิ เตอร์ • หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้ (Random Access Memory - RAM) เป็น หน่วยความจำหลกั ท่ใี ชใ้ นระบบคอมพวิ เตอรย์ ุคปัจจบุ ันหนว่ ยความจำชนิดนี้ 2.6 ซอฟแวร์ (Software) หมายถึง ส่วนที่ทำหน้าที่เป็นคำสั่งที่ใช้ควบคุมการทำงานของเครื่อง คอมพิวเตอร์ หรืออาจเรียกว่า โปรแกรม ก็ได้ ซึ่งหมายถึงคำสั่งหรือชุดคำสั่ง สามารถใช้เพื่อสั่งให้ คอมพวิ เตอรท์ ำงาน เราต้องการใหเ้ ครอื่ งคอมพิวเตอรท์ ำอะไรก็เขยี นเป็นคำสงั่ ทีจ่ ะต้องสั่งเปน็ ข้ันตอน และแต่ละขั้นตอนต้องทำอย่างละเอียดและครบถ้วนก็จะเรียกว่า นักเขียนโปรแกรม (Programmer) สำหรบั การเขยี นโปรแกรมดงั กลา่ วใช้ภาษาทีใ่ ช้ในการเขยี นโปรแกรมโดยเฉพาะ หรือหมายถึง ภาษาท่ี เครื่องคอมพิวเตอรส์ ามารถเข้าใจได้ เชน่ ภาษาเบสิก ภาษาโคบอล ภาษาปาสคาล เปน็ ตน้ โปรแกรม ทเี่ ขยี นขึน้ มากจ็ ะนำไปใช้ในงานเฉพาะอย่าง เช่น โปรแกรมสตอ็ กสนิ คา้ คงคลัง โปรแกรมคำนวณภาษี โปรแกรมคิดเงินเดอื นพนกั งาน เป็นตน้ 2.7 งานวิจัยท่ีเกี่ยวขอ้ ง จิตนภา จรูญโรจน์ ณ อยุธยา (2558) ได้ทำการศึกษาเรื่อง แผนธุรกิจ พื้นที่ให้เช่าทำงาน อสิ ระ Ekamai Co-working Space Business Plan for Ekamai Co-Working Space โดยการศึกษา ครั้งน้ีเพื่อตอบสนองความตอ้ งการของผ้ปู ระกอบการกล่มุ สตารท์ อพั เอสเอ็มอี พนักงานอิสระหรือฟรี

17 แลนซ์ รวมถึงนักเรียน นักศึกษา ที่ต้องการพื้นที่อิสระใน การทำงาน โดยมีเป้าหมายในการเป็น ผู้ประกอบการที่ให้บริการเช่าพื้นที่ทำงานอิสระ ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างต้องการสิ่งอำนวย ความสะดวก โดยเฉพาะพื้นท่ีพักผ่อน ความตอ้ งการด้านการออกกำลงั กาย และล็อค เกอร์เก็บของใช้ ส่วนตวั ตอ้ งการโซนการทำงานส่วนตวั สำหรบั การทำงานท่ตี ้องใช้สมาธสิ งู และการ ทำงานท่ีเร่งรีบ เจนจิรา แจ่มศิริ และ คัชรินทร์ ทองฟัก (2560) ได้ทำการศึกษาเรื่อง การพัฒนาระบบการ จองห้องประชุมออนไลน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก โดยการศึกษาครั้งนี้ได้ ศึกษาปัญหาและความต้องการระบบจองห้องประชุมออนไลน์ และได้ออกแบบรวมไปถึงการพัฒนา ระบบ โดยการใช้ภาษา PHP และ ฐานข้อมลู MySQL ผลการศกึ ษาพบวา่ ระบบสามารจดั การข้อมูล ต่าง ๆ เกี่ยวกับการจองห้องประชุม ทั้งนี้ระบบช่วยอำนวยความ สะดวกให้กับบุคลากรภายใน มหาวิทยาลัยในการจองหอ้ งประชมุ ผ่านเว็บไซต์บนเครื่องคอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต และยัง ชว่ ยเพม่ิ ความสะดวกใหแ้ ก่เจ้าหนา้ ท่ีให้สามารถตรวจสอบความพร้อมใช้ ชาญณรงค์สุวทิตกลุ และ วันชัยรัตนวงษ์ (2560) ได้ทำการศึกษาเรื่อง การพัฒนาระบบจอง รถออนไลน์และบํารุงรักษากรณศึกษามหาวิทยาลัยหอการค้าไทย โดยการศึกษาครั้งนี้ได้ศึกษาเพื่อ การออกแบบและพฒั นาฐานข้อมูลของระบบ เพ่ือแก้ไขปัญหาในเรื่องของระบบการจอง ผลการศึกษา พบวา่ ผู้ใช้ระบบสามารถบริหารจดั การจองยานพหนะและสรุปข้อมลู ได้อยา่ งรวดเร็ว ชัญญานุช หัสดินรัตน์ (2557) ได้ทำการศึกษาเรื่อง กลยุทธ์การบริหารประสบการณ์ลูกค้า ของธุรกจิ ออฟฟศิ รว่ มแบ่งปัน ความพงึ พอใจและความคาดหวังของผู้ใชบ้ ริการ โดยการศึกษาครั้งนี้ได้ ศกึ ษาความพงึ พอใจและความคาดหวังของลูกค้าที่มาใชบ้ ริการ โดยใช้วิธวี จิ ัยเชงิ คุณภาพและปริมาณ จากการสัมภาษณ์ของผู้ที่มีตำแหน่งในการบริหารลูกค้า 2แห่ง คือ Hubba Thailand และ Joint Cafe & Workspace โดยผลวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า มีความแตกต่างกัน โดย Hubba Thailand ต้องการเน้นการในส่วนของผู้ประกอบการ ให้มีการเสริมสรา้ งสมั พันธท์ ี่ดีขึ้นกับผู้ใช้บริการ ในขณะท่ี Joint Cafe & Workspace มีความแตกต่าง ต้องการให้ความสำคัญกับผู้ใช้บริการ และผู้ใช้บริการ ของทง้ั 2 แหง่ มีความคาดหวงั ในดา้ นสถานที่ สภาพแวดล้อม การบริการ การอำนวยความสะดวก ณฏั ฐา เกิดชน่ื และ ณฐั ยา ประดิษฐสุวรรณ (2559) ได้ทำการศึกษาเรื่อง รูปแบบการดำเนิน ชีวิตที่มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจต่อส่วนประสมการตลาดบริการพื้นที่ทำงานร่วมกัน (Co- Working Space) ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมาหานคร โดยการศึกษาครั้งนี้ได้ศึกษา รูปแบบการ ดำเนินชีวิต ที่มีความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โดยการศึกษาได้ใช้เรื่องมือในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม ผลวิจัยพบวา่ ผ้ใู ชบ้ ริการมคี วามพงึ พอใจอย่างมากต่อส่วนประสมการตลาด โดยมคี วาม พึงพอใจทางด้านบริการ ดา้ นราคา ด้านกายภาพ ดา้ นผลิตภณั ฑ์

18 นิมิต ตาน้อย , เอกภูมิ อิ่มอก และ กรรัก พร้อมจะบก (2559) ได้ทำการศึกษาเรื่อง การ พัฒนาระบบจองยานพาหนะออนไลน์ กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเลย โดยการศึกษาครั้งนี้ได้ ศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้ที่มีต่อระบบจองยานพาหนะออนไลน์ ผลการศึกษาพบว่า ระบบจอง ยานพาหนะออนไลน์จะแบ่งการทำงานของระบบเป็น 4 โปรเซส ได้แก่ จัดการข้อมูลผู้ใช้ จัดการ ข้อมลู รถ จองขอใชร้ ถ และรายงานผลการทำงาน และผู้ใช้มีความพึงพอใจอยา่ งมาก นฏา โกมลพันธ์ (2551) ทัศนคติด้านส่วนประสมทางการตลาดและความจงรักภักดีต่อตรา สินค้าที่มีผลต่อแนวโน้มการบริโภค โออิชิ ซูชิบาร์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร ผลวิจัยพบวา่ ช่วงอายุที่แตกต่างกันมีผลต่อ แนวโน้มการกลับมาบริโภค ในอนาคตและปริมาณการรับประทาน อาหารท่ีแตกต่างกนั แตไ่ มม่ ผี ล แตกต่างด้านการบอกตอ่ ให้บคุ คลอน่ื ร้จู กั พมิ านมาศ ลีเลิศวงศภ์ ักดี (2552) ทศ่ี ึกษาความ พงึ พอใจและพฤติกรรมการบรโิ ภคของลูกค้า ที่มีความสัมพันธ์กับแนวโน้มการใช้บริการร้าน Sorbet & Sherbet โกลเด้นเพลซ พบว่า ปัจจัยด้าน ผลติ ภณั ฑม์ ผี ลต่อความพึงพอใจของผ้บู รโิ ภคในการกลับมา ใชบ้ ริการในอนาคต รวมไปถึงเพิ่มหรือลด ความถ่ีในการใชบ้ ริการและเกดิ การแนะนาบอกตอ่ แกบ่ คุ คล อนื่ รา้ น Sorbet & Sherbet เป็นรา้ นจา หน่ายไอศกรีมและของหวาน ดังนั้น ความหลากหลายของรสชาติไอศกรีม ท็อปปิ้งและเครื่องด่ืม ขนาดไอศกรีมและคณุ ภาพของวตั ถุดิบจึงสง่ ผลจาเป็นอยา่ งยิ่ง ทจี่ ะทาให้เกิดการใชบ้ ริการในอนาคต พรกมล ลิ้มโรจน์นุกูล (2560) ได้ทำการศึกษาเรื่อง ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ จองห้องพักผ่านตัวกลางออนไลน์ โดยการศึกษาครั้งนี้ได้ศึกษา ทัศนคติและพฤติกรรมการใช้บริการ ของผ้ใู ช้บรกิ ารจองห้องพักผา่ นตัวกลางออนไลน์ รวมไปถึงปจั จยั ส่วนประสมการตลาดออนไลน์ที่มีผล ต่อการตัดสินใจของผู้ใช้ ซึ่งผู้ทำวิจัยได้ทำการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ผลวิจัยพบว่า ปัจจัย ประชากรศาสตร์ ได้แก่ ด้านอายุ ระดับการศึกษา และ รายได้ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้ บริการจองห้องพักผ่านตัวกลางออนไลน์ไม่แตกต่างกัน ส่วนปัจจัยด้านราคา โปรโมชั่น ความรวดเรว็ การรักษาความลับข้อมูลของลูกค้า และการประชาสัมพันธ์ ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการจอง ห้องพกั ผา่ นตวั กลางออนไลน์ ประภัสสร ศรีเผด็จ , จิตรพงษ์ เจริญจิตร , ปิยะณัฐ สังข์เจริญ , นพรัตน์อังคณานนท์ และ สงกรานต์ วิชิตพงษ์ (2559) ได้ทำการศึกษาเรื่อง การพัฒนาระบบการจองคิวบนสมาร์ทโฟน กรณีศึกษาการจองคิวร้านสัก โดยการศึกษาครั้งนี้ได้ศึกษาการจองคิวร้านสัก ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อ อำนวยความสะดวกใหก้ ับลกู คา้ โดยมฟี ังก์ชันการทำงานของระบบให้ลกู คา้ สามารถจองควิ ,บันทึก

19 ประวตั ขิ องลกู คา้ ,ดโู ปรโมชัน่ และดูรูปภาพได้ และระบบที่พัฒนาข้นึ นัน้ มปี ระสทิ ธิภาพและตอบสนอง การใชง้ านของกลุ่มลูกค้าในปจั จบุ นั ปวนั รตั น์ อิ่มเจริญกุล (2560) ไดท้ ำการศกึ ษาเร่ือง ปัจจยั ท่สี ง่ ผลตอ่ ความพงึ พอใจในการเข้า รับบรกิ ารสถานทใี่ ห้บริการ พื้นทีท่ ำงาน Co-Working Space ในกรงุ เทพมหานคร โดยการศึกษาคร้ัง นี้ได้ศึกษาปัจจัยส่วน ประสมทางการตลาด (7Ps) อันได้แก่ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ (Product) ปัจจัย ด้านราคา (Price) ปัจจัยด้านช่องทางการจัดจำหน่าย (Place) ปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด (Promotion) ปัจจัยด้านบุคลากร (People) หรือพนักงาน (Employee) ปัจจัยด้านการสร้างและ นำเสนอลักษณะทาง กายภาพ (Physical) และปัจจัยด้านกระบวนการ (Process) และปัจจัยทาง ประชากรศาสตร์ เพื่อให้ผู้ประกอบการและบุคคลที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการให้บริการพื้นที่ทำงาน Co- Working Space ได้ทราบถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ จากผลวิจัยพบว่า ลำดับ ตามอิทธิพลที่ส่งผลต่อความพึงพอใจจากมากไปน้อยได้แก่ ปัจจัยด้านการส่งเสริมภาพลักษณ์ และ ปัจจัยด้านระบบการจัดการบริเวณพื้นที่ให้บริการ เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของผู้บริการ มากที่สดุ รพีภัทร มานะสุนทร (2558) ได้ทำการศึกษาเรื่อง การพัฒนาเว็บไซต์ และการสร้างสังคม ออนไลน์เพ่ือประชาสัมพนั ธ์ธุรกิจชุมชน ในเขตอำเภอพุทธมณฑล จงั หวดั นครปฐม โดยการศึกษาคร้ัง นี้ได้ศึกษา การออกแบบและการพัฒนาเว็บไซต์ โดยการศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลปัจจัยพื้นฐาน ของธุรกิจชุมชน ความต้องการใช้สื่ออินเทอร์เน็ตเป็นเครื่องมือในการประชาสัมพันธ์ และติดตาม ข้อเสนอแนะของผู้ประกอบการและผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์ ผลวิจัยพบว่า ผู้ประกอบการมีความพึงพอใจ มาก ทงั้ มคี วามสวยงาม ความทันสมัย และความนา่ สนใจของเวบ็ ไซต์ มารุต บรู ณรชั และคณะ (2553) จากปญั หาการสืบค้นข้อมูลในองค์กรท่ีมีปริมาณมากและถูก จัดเกบ็ หลายรปู แบบเช่นเอกสารอีเมลเว็บเพจฐานข้อมลู เป็นต้นโดยใช้คำสำคัญหรือคำคน้ ในการค้นหา ขอ้ มลู ทำใหผ้ ู้ใช้เสียเวลาในการค้นหาและพบเพยี งเอกสารที่มีความเกี่ยวข้อง แตไ่ ม่ใช่ข้อมูลท่ีต้องการ จริงเนอื่ งจากผลลัพธ์ท่ีได้ขาดการบูรณาการและเช่ือมโยงกับข้อมูลที่เกี่ยวข้องงานวิจัยน้ีใช้เทคนิคการ สืบค้นข้อมูลที่ใช้การจัดระเบียบข้อมูลเชิงความหมาย ( Semantic-Based Information Organization) สนับสนุนการบูรณาการและจัดระเบียบข้อมูลเพื่อให้ไดผ้ ลลพั ธ์จากการสืบค้นทีม่ ีการ สรุปสาระสำคัญและมีการเชื่อมโยงข้อมูลเชิงความหมายหลายรูปแบบประกอบกันโดยครอบคลุม ข้อมูลทั้งชนิดมีโครงสร้าง (Structured Data) และข้อมูลชนิดไร้โครงสร้าง (Unstructured Data) และไม่ จำกดั ว่าข้อมลู มาจากฐานข้อมลู เดยี วหรือหลายฐานข้อมลู โดยใช้การจัดระเบยี บที่อิงกับข้อมูล เชิงความหมายท้งั ท่มี าจากการสกดั สาระสำคญั ออกจากฐานข้อมลู โดยอัตโนมตั โิ ดยข้อมูลทีผ่ ู้ใช้

20 ต้องการมักเป็นสาระสำคัญเช่นเวลาสถานที่นิยามเหตุผลบคุ คลผู้เชี่ยวชาญสิ่งที่เกี่ยวข้องเป็น ต้นและข้อมูลเชิงความหมายทีส่ รา้ งขน้ึ ใหม่เองในรูปแบบของออนโทโลยชี ่วยใหผ้ ู้ใช้สามารถระบุความ ต้องการข้อมูลได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้นโดยใช้ข้อมูลในรูปแบบของ RDF และ OWL และสามารถ ประยุกต์ใช้ระบบอนุมานอัตโนมัติได้ (Inference Engine) และการสืบค้นจะอิงกับการจัดกลุ่มและ ความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ ในเชิงความหมายช่วยให้การสืบค้นข้อมูลเชิงความหมายมีประสิทธิภาพ มากข้นึ สิปางญ์ กันทะเสมา (2560) ได้ทำการศึกษาเรื่อง การออกแบบและการพัฒนาเว็บเซอร์วิส สำหรับระบบการบริการรับส่งของและติดตามการทำงานแบบเรียลไทม์ โดยการศึกษาครั้งนี้ได้ศึกษา การวเิ คราะห์และการออกแบบเว็บเซอรว์ สิ เพอื่ ตอบสนองความต้องการของผู้ใชแ้ ละการพฒั นานะบบ ในการเชอ่ื มต่อรบั ส่งขอ้ มูลแบบเรียลไทมไ์ ด้อยา่ งสะดวก สิรยา สิทธิสาร , สุวิมล จุงจิตร์ และ ธนวัฒน์ ปัญญวรรณศิริ (2548) ได้ทำการศึกษาเรื่อง การพัฒนาเวบ็ เซอรว์ ิสสำหรบั บริการข้อมลู ด้านบุคลากรของมหาวทิ ยาลยั ทักษิณ โดยการศึกษาครั้งนี้ ได้ศึกษา มีการพัฒนาระบบเว็บไซต์ในส่วนของการทำงานเก่ียวกับบุคลากร มีการเขียนโปรแกรมเพ่ือ ติดต่อกับฐานขอ้ มูลและนำฐานข้อมลู เขา้ มาแสดงผล ซึ่งพบว่าการเขียนโปรแกรมจะมกี ารทำงานและ การประมวลผลที่ซ้ำซ้อนและสิ้นเปลืองเวลาทำงาน ผู้ทำวิจัยได้เล็งเห็นถึงปัญหานี้จึงได้พัฒนาเว็บ เซอร์วสิ สำหรับบุคลากร ผลการวจิ ัยพบว่า บุคลากรทใ่ี ชเ้ ว็บไซต์มคี วามพงึ พอใจอย่างมาก สุภัชชา โฆษิตศรีปัญญา (2558) ได้ทำการศึกษาเรื่อง การสร้างชุมชน (COMMUNITY) ใน COWORKING SPACE โดยการศกึ ษาครง้ั นไี้ ด้ศึกษา ระบบการให้บริการ สภาพแวดล้อม และลักษณะ ของผู้ใช้บริการ โดยผลการศึกษาพบว่า แบ่งออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการให้บริการพบว่าพื้นท่ี สว่ นกลางเป็นบรเิ วณทมี่ ผี ้ใู ช้บริการมากทส่ี ดุ และมีการทำกจิ กรรมทางสังคม เป็นกิจกรรมท่ผี ู้ใชบ้ ริการ จะเข้าร่วมซึ่งผปู้ ระกอบการและพนักงานมีผลอย่างมากต่อการสรา้ งชมุ ชน 2) ด้านสภาพแวดลอ้ ม เกดิ จากพฤติกรรมการใช้บริการเดิมและความกระตือรอื ร้นในการสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้บริการรายใหม่ 3) ด้านลักษณะของผู้ใช้บริการพบว่าการใช้บริการแบบกลุ่มอาจจะส่งผลกระทบต่อการสร้าง ปฏิสมั พันธก์ ับผูใ้ ชบ้ ริการรายอนื่ ซึ่งขึ้นอยกู่ ับสมาชกิ ภายในกล่มุ ผบู้ ริการน้ัน ๆ ออ้ มจันทร์ วงศ์วเิ ศษ (2560) ได้ทำการศกึ ษาเร่อื ง ปัจจยั สว่ นประสมทางการตลาดบริการท่ีมี อิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้บริโภคในการเลือกใช้บริการธุรกิจออฟฟิศร่วมแบ่งปันใน กรุงเทพมหานคร โดยการศกึ ษาครงั้ นีไ้ ด้ศกึ ษา ได้ศึกษาความพงึ พอใจ โดยใชว้ ิธีการทำวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณ จากการสำรวจผู้ใชบ้ ริการธุรกิจออฟฟิศร่วมแบ่งปนั ในกรุงเทพมหานคร โดยผลวจิ ยั พบว่า ผู้ใช้บริการ ส่วนใหญ่เป็นพนักงานบริษทั เอกชน มีความพึงพอใจมากท่ีสุด

21 นุชดุ มน์ และ นวิ ัฒนก์ ลุ (2556) การคน้ หาเวบ็ เซอรว์ ิสทำไดโ้ ดยการคน้ หาจากยูดีดีไอซ่ึงมีอยู่ หลากหลายซึ่งส่วนใหญ่แล้วเป็นการค้นหาโดยใชค้ ำสำคญั โดยไม่ได้คำนงึ ถึงความหมายของคำและไม่ สามารถค้นหาเว็บเซอร์วิสในเชิงความหมายได้และผลลัพธ์ที่ได้จากการค้นหาก็ไม่อาจทราบได้ว่าเว็บ เซอร์วิสนั้นยังทำงานได้อยู่หรือไม่หรือมคี ุณภาพเพียงใดดังนัน้ งานวิจยั นี้จึงได้ 1) รวบรวมเวบ็ เซอร์วสิ จากหลายผู้ให้บริการโดยใช้เว็บเซอร์วิสที่เกี่ยวกับการพยากรณ์อากาศมาเป็นกรณีศึกษา 2) ทำการ ออกแบบฐานความรู้ของเว็บเซอร์วิสโดยใช้ออนโทโลยีและใช้ RAP RDF API เพื่อสร้างส่วนติดต่อกับ ผู้ใช้สำหรับค้นหาเว็บเซอร์วิส 3) ทำการคัดเลือกเว็บเซอร์วิสตามคุณภาพการบริการโดยมีปัจจัย สำหรับการคดั เลอื ก 4 ปจั จัยคอื เวลาที่ตอบสนองของเซิร์ฟเวอร์ทีใ่ ห้บรกิ าร (Response Time) สภาพ พร้อมใช้งาน (Availability) ความน่าเชื่อถอื (Reliability) และค่าใช้จ่ายในการเรยี กใช้บรกิ าร (Cost) จากผลการวจิ ยั ทำใหส้ ามารถคน้ หาเว็บเซอร์วสิ ในเชิงความหมายไดแ้ ละได้เวบ็ เซอร์วสิ ที่มคี ุณภาพ

22 บทที่ 3 วิธีการดำเนินวจิ ยั งานวิจยั คร้งั น้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบเว็บเซอร์วิสการให้บริการธุรกิจครัวร่วมแบ่งปัน โดยคำนึงถึงความง่ายต่อการใช้งาน เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้งานสำหรับผู้ใช้บุคคล ท่วั ไปทส่ี นใจในการทำอาหาร โดยมีรายละเอียดดังน้ี 3.1 ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง 3.2 การศึกษาและการเกบ็ รวบรวมข้อมลู 3.3 การวเิ คราะห์ระบบ 3.4 การออกแบบระบบ 3.5 การประเมนิ ผล 3.1 ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง 3.1.1 ผูป้ ระกอบการและบุคคลทว่ั ไปที่สนใจในการเขา้ ใชบ้ รกิ าร 3.1.2 กลุ่มตัวอย่าง ทำการสุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการ การสุ่มแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) โดยคำนวณจาก สูตรของคอแครน (Cochran) ในการหากลุ่มตัวอย่าง ใช้ขนาดกลุ่ม ตัวอย่างอย่างน้อยที่สุด 70 คน โดยเฉลี่ยการเก็บข้อมูลด้วยวิธีการสุ่มเก็บข้อมูล เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ ผูป้ ระกอบการและบุคคลทั่วไปทีส่ นใจในการเขา้ ใช้บริการ 3.2 การศกึ ษาและการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การศึกษาวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลจากเอกสารวิจัยที่เกี่ยวข้องทั้งหมด โดยศึกษา เกย่ี วกับการใช้บริการสถานท่แี ละความพึงพอใจของผู้ใช้ วเิ คราะห์ความต้องการของระบบและการใช้ เครอ่ื งมือต่าง ๆ ท่ีใชส้ ำหรบั ระบบการพัฒนาระบบเวบ็ เซอรว์ สิ การให้บรกิ ารธรุ กิจครัวรว่ มแบง่ ปัน 3.1.1 ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลและองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาเว็บไซต์โดยศึกษา เอกสารและรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามความต้องการของผู้ใช้ ก่อนการพัฒนาระบบ โดยมีจำนวน ผู้ใชท้ ี่เขา้ รว่ มตอบแบบสอบถาม ทัง้ หมด 70 คน เป็นโดยการส่มุ ผลการตอบแบบสอบถามการพัฒนา ระบบท่ีมาจากความต้องการของผ้ใู ช้ สรปุ ผลได้ดังนี้ 1. ระบบสามารถเปรียบเทียบราคา สถานท่ี สง่ิ อำนวยความสะดวกได้ 2. ระบบสามารถเช่ือมโยงกบั ผู้ใช้อื่น หรอื สามารถ ถาม ตอบ ปัญหาท่เี กดิ ข้นึ ได้ 3. ระบบสามารถเข้าถงึ ไดง้ า่ ยจากทุกอปุ กรณ์ ไมว่ า่ จะเป็นคอมพิวเตอร์ หรอื สมารท์ โฟน

23 3.1.2 ศกึ ษาเอกสารงานวจิ ัยในเรื่องการใชบ้ รกิ ารสถานที่ครวั ร่วมแบ่งปนั และการเรียนพัฒนา ระบบเว็บไซต์เซอร์วิส เพื่อทำความเข้าใจและเป็นแนวทางในการออกแบบพัฒนาระบบเว็บเซอร์วิส การใหบ้ รกิ ารธุรกิจครัวรว่ มแบง่ ปนั 3.1.3 ศึกษาเทคโนโลยีในการใชพ้ ัฒนาระบบเว็บเซอร์วิสการให้บริการธุรกิจครวั ร่วมแบ่งปนั การออกแบบและเขยี นเวบ็ ในครั้งนค้ี อื โปรแกรม Adobe Model ภาษา PHP 3.2 การศึกษาและการเก็บรวบรวมข้อมูล การศึกษาวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลจากเอกสารวิจัยที่เกี่ยวข้องทั้งหมด โดยศึกษา เกยี่ วกบั การใช้บริการสถานท่ีและความพึงพอใจของผู้ใช้ วเิ คราะหค์ วามต้องการของระบบและการใช้ เครือ่ งมือตา่ ง ๆ ทใี่ ช้สำหรับระบบการพัฒนาระบบเวบ็ เซอร์วสิ การใหบ้ รกิ ารธรุ กิจครัวร่วมแบ่งปนั 3.1.1 ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลและองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาเว็บไซต์ และ แบบทดสอบ โดยใช้วิธกี ารสมั ภาษณ์จากบุคคลทเี่ ข้าใช้บรกิ ารครวั ร่วมแบง่ ปนั 3.1.2 ศึกษาเอกสารงานวจิ ัยในเรอื่ งการใช้บริการสถานท่ีครัวร่วมแบ่งปนั และการเรยี นพัฒนา ระบบเว็บไซต์เซอร์วิส เพื่อทำความเข้าใจและเป็นแนวทางในการออกแบบพัฒนาระบบเว็บเซอร์วิส การให้บรกิ ารธรุ กิจครัวรว่ มแบง่ ปัน 3.1.3 ศึกษาเทคโนโลยีในการใช้พัฒนาระบบเว็บเซอร์วิสการให้บริการธุรกิจครวั ร่วมแบ่งปนั การออกแบบและเขียนเว็บในคร้ังนคี้ ือ โปรแกรม Adobe Model ภาษา PHP

24 3.3 การวิเคราะหร์ ะบบ 3.3.1 การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) เป็นกระบวนการทำงานและกำหนด รายละเอียดของปัญหาเพื่อพัฒนาระบบเว็บเซอร์วิสการให้บริการธุรกิจครัวร่วมแบ่งปัน ดังนั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ระบบงานประกอบด้วย ผังงานระบบ (System Flow Diagram) แผนภาพแสดงขั้นตอนการทำงาน (Activity Diagram) แผนภาพการวิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุ (Use Case Diagram) และแผนภาพบรบิ ท (Context Diagram) ดังตอ่ ไปนี้ 3.3.1.1 แผนภาพวเิ คราะห์ปญั หาระบบเวบ็ เซอร์วสิ การให้บริการธรุ กจิ ครัวร่วมแบง่ ปนั ภาพท่ี 3-1 แผนภาพวเิ คราะห์ปัญหาระบบเว็บเซอรว์ สิ การใหบ้ รกิ ารธรุ กิจครัวรว่ มแบ่งปัน

25 3.3.1.2 แผนภาพแสดงผังงานของระบบ (System Flow Diagram) คือ แผนภาพแสดงการทำงาน ของการพัฒนาระบบเวบ็ เซอร์วสิ การให้บรกิ ารธุรกิจครัวร่วมแบง่ ปนั ดงั ภาพท่ี 3-2 ภาพที่ 3-2 แผนภาพแสดงผงั งานของระบบ (System Flow Diagram) ของการพัฒนาระบบเว็บ เซอรว์ ิสการให้บริการธุรกิจครัวรว่ มแบง่ ปัน

26 3.3.1.3 แผนภาพแสดงการทำงานของผใู้ ช้ (Use Case Diagram) คือ แผนภาพแสดง แสดงการ ทำงานของผู้ใช้ ดังภาพที่ 3-3 ภาพท่ี 3-3 แผนภาพแสดงการทำงานของผใู้ ช้ (Use Case Diagram) คำอธิบายการทำงานของผใู้ ช้ (Use Case Description) ตาราง 3-1 อธบิ ายการทำงานของหนา้ ลงทะเบียน User Case ลงทะเบียน Actor ผใู้ ช้ Pre-Condition กรณยี งั ไม่ไดส้ ร้างบญั ชใี นระบบ Post Condition ผู้ใชท้ ำการกรอกข้อมูลตามท่ีระบบตอ้ งการ Main Flows 1. ใส่ขอ้ มูลอเี มลแ์ ละรหัสผ่าน Exception 2. ยืนยนั รหสั ผา่ นอีกครง้ั ผูใ้ ช้ยงั ไมม่ บี ัญชี

27 ตาราง 3-2 อธบิ ายการทำงานของหนา้ ลงชอ่ื เข้าใช้ User Case ลงชอ่ื เข้าใช้ Actor ผใู้ ช้ , ผู้ดูแลระบบ Pre-Condition ผู้ใชม้ บี ญั ชอี ยู่แลว้ Post Condition ผใู้ ช้มบี ัญชอี ยแู่ ล้วสามารถลงชือ่ เขา้ ใชไ้ ด้ทนั ที Main Flows 1. ใส่อเี มลล์รหสั ผา่ น Exception 2. ตรวจสอบตวั ตน 3. หากไม่พบบญั ชี ระบบจะแนะนำใหไ้ ป ลงทะเบยี น 4. ตรวจสอบผ่านทำการเขา้ สู่หนา้ หลัก ผู้ใชย้ ังไม่ทำการลงทะเบยี นบัญชี ตาราง 3-3 อธบิ ายการทำงานของหน้าแสดงหนา้ ค้นหา User Case แสดงหน้าคน้ หา Actor ผูใ้ ช้, ผูด้ แู ลระบบ Pre-Condition ระบบแสดงหนา้ สถานท่ี Post Condition ผใู้ ช้ต้องการที่จะเลือกค้นหาสถานที่ Main Flows 1. ผดู้ แู ลระบบใส่ข้อมลู รา้ นค้า Exception 2. ผใู้ ช้ใส่ขอ้ มูลร้านค้าทต่ี ้องการทราบ 3. ระบบส่งข้อมูลให้ผู้ใช้ ระบบไมพ่ บข้อมลู รา้ นค้าทีผ่ ใู้ ช้ตอ้ งการทราบ

28 ตาราง 3-4 อธบิ ายการทำงานของหน้าแสดงรายละเอียด User Case แสดงรายละเอียด Actor ผใู้ ช้ Pre-Condition ผ้ใู ชท้ ำการเลือกสถานที่ Post Condition ระบบจะแสดขอ้ มลู รา้ นค้าทีม่ ีอยูใ่ นระบบ Main Flows 1. ผู้ใช้ทำการเลือกสถานท่ี Exception 2. ระบบแสดงข้อมลู ร้านคา้ 3. ระบบแสดงข้อมลู การตดิ ต่อ ผใู้ ช้ไม่ได้ทำการเลือกสถานที่ ตาราง 3-5 อธบิ ายการทำงานของหนา้ แสดงการจอง User Case แสดงหน้าการจอง Actor ผู้ใช้ Pre-Condition กรอกข้อมูลการจอง Post Condition ผู้ใช้จำเป็นต้องลงทะเบียน Main Flows 1. แสดงหน้าการจอง Exception 2. กรอกรายละเอยี ดในการจอง 1. ผู้ใชท้ ี่ไม่ลงทะเบียนบัญชีไมส่ ามรถใช้ ระบบจองได้ 2. ระบบแจ้งวา่ รา้ นค้าไม่สามารถจองได้ เน่อื งจาก รา้ นคา้ เต็ม

29 ตาราง 3-6 อธิบายการทำงานของหน้าแสดงหนา้ กระทู้ User Case แสดงหนา้ กระทู้ Actor ผใู้ ช้ , ผูด้ ูแลระบบ Pre-Condition ผู้ใชจ้ ำเป็นทีต่ อ้ งมีบัญชี Post Condition ผูใ้ ช้จำเปน็ ตอ้ งเข้าสูร่ ะบบทุกครง้ั หากต้องการ ทจี่ ะตั้งกระทคู้ ำถาม Main Flows 1. กรอกอีเมล์ Exception 2. ใส่หวั ข้อคำถาม 3. ใส่ข้อมูลคำถาม ผู้ใชต้ ้องเขา้ สรู่ ะบบทุกคร้ังในการตง้ั กระทู้

30 3.3.1.4 แผนภาพแสดงขน้ั ตอนการทำงาน (Activity Diagram) คอื แผนภาพแสดงข้ันตอนการทำงาน ของการพัฒนาระบบเว็บเซอร์วสิ การให้บรกิ ารธุรกิจครวั ร่วมแบง่ ปนั ดังภาพที่ 3-4 ภาพที่ 3-4 แผนภาพแสดงข้ันตอนการทำงาน (Activity Diagram) ของการพัฒนาระบบเว็บเซอร์วิส การให้บรกิ ารธรุ กจิ ครัวร่วมแบง่ ปนั

31 3.3.1.5 แผนภาพแสดงความสมั พันธ์ของคลาส (Class Diagram) ภาพท่ี 3-5 แผนภาพแสดงความสัมพนั ธข์ องคลาส (Class Diagram)

32 3.2.1.6 พจนานกุ รมขอ้ มลู (Data Dictionary) อธบิ ายรายละเอียดการเกบ็ ข้อมูลในฐานข้อมลู ของระบบเว็บเซอรว์ ิสการให้บริการธรุ กจิ ครัว ร่วมแบง่ ปนั จะประกอบไปดว้ ยทงั้ หมด 1 ฐานข้อมูล 6 ตารางขอ้ มูล ไดแ้ ก่ ตารางเก็บข้อมูลร้านคา้ ตารางเกบ็ ข้อมลู การจอง ตารางเก็บข้อมูลการตดิ ต่อ ตารางเกบ็ ข้อมลู ผ้ใู ช้ ดังตารางท่ี 3-7 ถึง ตาราง ท่ี 3-12 ตารางที่ 3-7 ตารางเก็บขอ้ มูลรา้ นค้า Database Name : co-working Table name : add_markets Description : ตารางเก็บข้อมูลรา้ นค้า Primary Key : id Field Name Description Data Type Length Key Id 11 PK Img รหัสตวั เลข Int 255 name 255 price รูปสินคา้ Varchar 255 creater_at 10 Update_at ชอ่ื สินคา้ Varchar 255 detail 255 phone ราคา Varchar 255 other_name 255 payment วนั ทีส่ ร้าง timestamp 255 operate 255 email วันท่แี ก้ไข Varchar 255 limit_time - รายละเอยี ด Varchar เบอร์โทร Varchar ชอ่ื บคุ คลอ่ืน Varchar ช่องทางการชำระเงิน Varchar ข้อจำกัด Varchar อีเมลล์ Varchar กำหนดเวลา -

33 ตารางท่ี 3-8 ตารางเกบ็ ขอ้ มลู การจอง Database Name : co-working Table name : booking Description : ตารางเกบ็ ข้อมลู การจอง Primary Key : id Field Name Description Data Type Length Key Id รหสั ตวั เลข bigInt 20 PK user_id รหสั ผู้ใช้ bigint 20 FK id_market รหสั สนิ คา้ bigint 20 FK datatime วนั ท่ีจอง varchar 255 created_at วนั ที่สร้าง timestamp - update_at วนั ทีแ่ กไ้ ข timestamp - name_other ชอ่ื บคุ คลอ่นื varchar 255 email อเี มลล์ varchar 255 phone เบอร์ varchar 255 option ตัวเลอื ก varchar 255 date_of_time เวลาทจ่ี อง varchar 255

34 ตารางท่ี 3-9 ตารางเก็บข้อมลู การติดต่อ Database Name : co-working Table name : contact Description : ตารางเก็บข้อมูลการติดตอ่ Primary Key : id Field Name Description Data Type Length Key Id รหัสตวั เลข bigInt 20 PK name ชอ่ื varchar 20 email อีเมลล์ varchar 20 subject หัวขอ้ varchar 255 messenger ขอ้ ความ varchar 255 created_at วนั ที่สร้าง timestamp - update_at วันที่แกไ้ ข timestamp - ตารางที่ 3-10 ตารางเกบ็ ข้อมูลการอนญุ าต Database Name : co-working Table name : permission Description : ตารางเกบ็ ข้อมูลการอนุญาต Primary Key : id Field Name Description Data Type Length Key Id รหัสตวั เลข bigInt 20 PK user_id รหสั ผู้ใช้ bigInt 20 role บทบาท varchar 255 created_at วนั ท่สี รา้ ง timestamp - update_at วันท่แี กไ้ ข timestamp -

35 ตารางท่ี 3-11 ตารางเก็บขอ้ มูลกระทู้ Database Name : co-working Table name : Question Description : ตารางเก็บข้อมูลกระทู้ Primary Key : id Field Name Description Data Type Length Key Id รหัสตวั เลข bigInt 20 PK user_id รหสั ผูใ้ ช้ bigInt 20 inbox ข้อความ varchar 255 created_at วันทส่ี รา้ ง timestamp - update_at วันท่แี กไ้ ข timestamp - ตารางที่ 3-12 ตารางเก็บขอ้ มูลผูใ้ ช้ Database Name : co-working Table name : Question Description : ตารางเกบ็ ข้อมลู ผใู้ ช้ Primary Key : id Field Name Description Data Type Length Key bigInt 20 PK id รหสั ตัวเลข varchar 255 varchar 255 FK name ช่ือ timestamp 100 varchar 10 email อเี มลล์ text 10 text 10 email_verify_at ยืนยนั อเี มลล์ varchar 100 password รหสั ผใู้ ช้ two_factor_secret two_factor_recovery_codes remember_token

36 ตารางท่ี 3-12 ตารางเก็บข้อมูลผู้ใช้ Database Name : co-working Table name : Question Description : ตารางเก็บข้อมลู ผใู้ ช้ Primary Key : id Field Name Description Data Type Length Key bigint 20 cerent_team_id text - timestamp - profile_photo_path ตำแหนง่ รูปภาพ timestamp - created_at วนั ที่สร้าง update_at วันทแ่ี ก้ไข

37 3.2.1.7 แผนผังการทำงานแบบลำดับปฏสิ ัมพันธ์ (sequence diagram) ภาพที่ 3-6 แผนผังลำดบั การทำงานของระบบ (sequence diagram)

38 3.2.1.8 แผนภาพบรบิ ทของระบบ (Context Diagram) ภาพที่ 3–7 แผนภาพแสดงกระแสการไหลของข้อมลู (Context Diagram)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook