Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore insignia (ความรู้เกี่ยวกับเครื่องราชอิสริยาภรณ์)

insignia (ความรู้เกี่ยวกับเครื่องราชอิสริยาภรณ์)

Published by arom.va, 2017-08-22 00:08:17

Description: insignia

Keywords: เครื่องราชย์

Search

Read the Text Version

สารบัญ 1 ความเปน มาเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ 1กําเนดิ เครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณใ นยุโรป 3 กาํ เนดิ เครื่องราชอิสรยิ าภรณในเอเชีย 4กาํ เนิดเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณใ นไทย 16ประเภทเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณไ ทยเคร่ืองราชอสิ ิรยาภรณสาํ หรับพระราชทานแกประมุขของรฐั 16 เครือ่ งราชอิสรยิ าภรณสําหรับบาํ เหน็จความชอบในราชการแผน ดนิ 17 22เคร่อื งราชอสิ รยิ าภรณส าํ หรบั พระราชทานเปน บาํ เหนจ็ ความชอบในพระองคพระมหากษัตริย 23 เหรียญราชอิสริยาภรณท ่นี บั เปนเคร่อื งราชอิสริยาภรณลกั ษณะเคร่ืองราชอสิ รยิ าภรณไ ทย 45 เครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ 45 เหรียญราชอสิ สริยาภรณ 52หลกั เกณฑก ารขอพระราชทานเครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณ 54คณุ สมบัติของขาราชการผูขอพระราชทานเครอื่ งราชอสิ ริยาภรณ 55 คุณสมบตั ขิ องลูกจา งประจาํ ผูขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสรยิ าภรณ 59 60คุณสมบัติของพนกั งานราชการผขู อพระราชทานเครอื่ งราชอิสริยาภรณ เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

การแตง กาย เครอื่ งแบบ และการประดบั เครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ 61หลกั เกณฑสาํ หรบั การแตง เครือ่ งแบบและการประดบั เครื่องราชอิสรยิ าภรณ 61 เคร่อื งแบบ 62 84ลาํ ดบั เกยี รติเครอื่ งราชอิสรยิ าภรณ 88 การประดบั เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ 93การประดับเครอ่ื งหมายเขม็ พระราชทาน 98อางอิงระเบียบสํานกั นายกรัฐมนตรวี า ดว ยการขอพระราชทานเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ 99อนั เปนทีเ่ ชดิ ชูยิ่งชางเผือกและเครอ่ื งราชอิสริยาภรณอ นั มเี กียรติยศยงิ่ มงกฎุ ไทยพ.ศ. 2536 145 172 ประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั ริย ทรงเปนประมขุ ฉบับท่ี 33 187 188ระเบียบสํานักนายกรฐั มนตรีวา ดวยการขอพระราชทานเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ 190อนั เปนที่เชดิ ชูยง่ิ ชางเผอื กและเคร่อื งราชอิสริยาภรณอ นั มเี กียรติยศยิง่ มงกฎุ ไทย 193(ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2552 หนงั สอื สํานักงานปลัดกระทรวงการคลงั ที่ กค 0205.1/สบค.2215 ลงวนั ที่ 11 พฤษภาคม 2553หนังสอื สาํ นกั เลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรี ท่ี นร 0508/ว(ท) 2640ลงวันที่ 6 พฤษภาคม 2553 หนังสอื สํานกั เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี ที่ นร 0508/ว(ท) 4079 ลงวนั ท่ี 9 กรกฎาคม 2553หนังสือสาํ นักเลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี ที่ นร 0508/ว(ท) 2487ลงวนั ที่ 31 มนี าคม 2554เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

หนงั สือสํานกั เลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0508/ว(ท) 3301 194 ลงวันที่ 29 เมษายน 2554 195พระราชกฤษฎกี าการปรบั เงนิ เดือนขน้ั ต่ําขน้ั สูงของขาราชการพลเรือนสามญั 199 หนงั สอื สาํ นกั เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ท่ี นร 0508/ว(ท) 5387 200 ลงวนั ที่ 11 กรกฎาคม 2556 201หนังสอื สํานกั เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ท่ี นร 0508/ว(ท) 3428ลงวันที่ 14 พฤษภาคม 2555 202 หนังสือสาํ นักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ท่ี นร 0508/ว(ท) 1063 204 ลงวนั ท่ี 19 กมุ ภาพนั ธ 2557 206หนังสือสํานักเลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0508/ว(ท) 1062 207ลงวนั ท่ี 19 กมุ ภาพันธ 2557 206 พระราชบญั ญตั เิ หรียญจักรมาลา และเหรยี ญจักรพรรดมิ าลา พทุ ธศกั ราช 2484 221หนงั สือสํานกั เลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรี ท่ี นร 0508/ว(ท) 5480 229ลงวันที่ 15 กรกฎาคม 2556 238 250 พระราชบญั ญตั ิเครอื่ งแบบขาราชการฝา ยพลเรอื นพุทธศักราช 2478 252กฎสํานกั นายกรัฐมนตรี ฉบับท่ี 71 (พ.ศ. 2523) ออกตามความในพระราชบญั ญตั ิเคร่อื งแบบขา ราชการฝายพลเรอื นพทุ ธศักราช 2478 กฎสํานกั นายกรฐั มนตรี ฉบับท่ี 94 (พ.ศ. 2523) ออกตามความในพระราชบัญญตั ิ เครื่องแบบขาราชการฝายพลเรือนพทุ ธศกั ราช 2478ระเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรี วา ดว ยเครือ่ งแบบลูกจางประจํา ระเบยี บสาํ นกั นายกรัฐมนตรี วาดวยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547ประกาศคณะกรรมการบริหารพนกั งานราชการ เรือ่ ง เครอ่ื งแบบพธิ กี ารของพนกั งานราชการพ.ศ. 2552 ระเบียบสาํ นักนายกรฐั มนตรี วา ดว ยการประดบั เครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณไทย พ.ศ. 2541เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

หนงั สือสํานกั เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี ท่ี นร 0508/ว 64 266ลงวันที่ 29 กมุ ภาพันธ 2555 269 271 หนงั สอื สํานกั เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0106/ว 1003 ลงวันท่ี 21 พฤษภาคม 2555หนงั สือสํานักเลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี ท่ี นร 0106/2137ลงวนั ท่ี 26 มนี าคม 2555เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

หรือท่ีเรียกกันเปนภาษาสามัญวา ตรา คือ ส่ิงที่ควาเครมอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ เปนเคร่ืองหมายแสดงเกียรติยศและบําเหน็จ ความชอบ เปนของพระมหากษัตริยทรงสรางขึ้น สําหรับพระราชทานเปนบําเหน็จความชอบในราชการ ประเทศชาติ ศาสนา ประชาชน หรือสวนพระองค นอกจากน้ัน ยังหมายความรวมถึงเหรียญท่ีระลึกที่ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสรางในโอกาสตาง ๆเปนเพ่อื ใหบคุ คลท่วั ไปใชป ระดบั ไดอยา งเครื่องราชอสิ รยิ าภรณมา เคร่ืองราชอิสริยาภรณในปจจุบัน เปนเคร่ืองหมายประดับเสื้อซึ่งนิยมกันทั่วไป แมประเทศซึ่งไมมี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุขก็นิยมใช โดยถือวาเปนสิ่งสงเสริมเกียรติของบุคคลผูมีผลงานดีเดน ตอ สว นรวมใหเ ปน แบบอยางทค่ี วรยึดถอื มใิ ชเปน เครื่องหมายแบงแยกชนชั้นแตอ ยางใด กําเนดิ เครื่องราชอสิ รยิ าภรณใ นยโุ รป การแสดงความสําคัญของบุคคลในแตละประเทศมีลักษณะแตกตางกัน ขึ้นอยูกับวัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา เชน ชาวตะวันออกจะแสดงความสําคัญของบุคคลจากเคร่ืองใชสวนตัว อาวุธ และพาหนะ แตชาวยุโรปจะแสดงความสําคัญที่เส้ือ ซ่ึงเปน การพัฒนามาจากการแตงกายของอัศวิน ท่ีตองสวม เส้ือเกราะที่ทําดวยโลหะทั้งตัว รวมถึงใบหนาและศีรษะ จึงไมสามารถบอกไดวาเปนผูใด ดังน้ัน อัศวินจึงนิยมใสเสื้อกั๊ก ป ก ต ร า ป ร ะ จํ า ต ร ะ กู ล ห รื อ สั ญ ลั ก ษ ณ ป ร ะ จํ า ตั ว เมื่อสงครามครูเสดเกิดขึ้นคร้ังแรก พ.ศ. 1638 (ค.ศ. 1095) ชาวคริสตแยงชิงดินแดนปาเลสไตนที่ถือวาเปนถิ่นกําเนิด ของพระเยซูใหรอดพนจากการครอบครองของชาวมุสลิม บรรดากษัตริยและผูมียศศักดิ์ทั้งหลายในยุโรป ไดพากัน รับอาสาไปเปนทหารครูเสดกันหลายประเทศ ซ่ึงแตละคณะ มีเคร่ืองหมายของตนเองแตกตางกัน พระสันตะปาปาจึงคิดทําเคร่ืองหมายใหแกบรรดาอัศวินนักรบ ผมู คี วามกลา หาญเหลา น้นั ดว ยการใชส ัญลกั ษณเ ครอื่ งหมาย “กางเขน” เพอื่ แสดงถงึ ความเปน พวก ฝาย หรือคณะเดียวกัน ใหปรากฏการณเกิดสงครามนี้นับเปนคร้ังแรกที่ทหารไดทํางานรวมกับพระ พวกอัศวินเล่ือมใสในการทํางานของพระ ซึ่งนอกจากปฏิบัติตนทางศาสนาแลว ยังอุทิศตนทําประโยชน เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

ใหแกสังคม เชน สงเคราะหผูเจ็บปวย ดังนั้น ยามวางจากการรบพวกอัศวินจึงเขาไปชวยพระทํางานดา นสังคมสงเคราะห พระในสมัยน้ันแบงคณะไปตามความนิยมในการถือศีลและพันธกรณีตอสังคม ตางเรียกช่ือคณะของตนตามชื่อนักบุญที่คณะเล่ือมใส และเรียก คณะของตนวา “Order”บ า ง ส ม ร ภู มิ ท่ี ต้ั ง ข อ ง ห น ว ย ท ห า ร มิ ไ ด อ ยู ใ ก ล กั บ วั ดแตพวกอัศวินยังประสงคจะทํางานสังคมสงเคราะหโดยลําพัง จึงต้ังคณะทํางานเรียกวา Order เชนเดียวกับ ของพระ จึงเกิด Order ของพระ และ Orderของอัศวินท่ีทํางานสังคมสงเคราะหขึ้น สําหรับ Orderของอัศวิน ผูท่ีทํางานก็คือ Knight และทหารชั้นรองลงมาตลอดจนเจาหนาที่ซ่ึงเปน พลเรือน เมื่อสงครามครูเสดคร้ังตอ ๆ มามีผูเขารวมรบมากขึ้น ดังนั้น เคร่ืองหมายกางเขนจึงเปนท่ีแพรหลายและเปนความหมายของสากลวา หมายถงึ ความกลา หาญในสงครามและไดพฒั นามาเปน เหรยี ญกลา หาญของหลายชาติ หลังสงครามศาสนาเสร็จส้ินไปแลว พ.ศ. ๑๘๓๔ (ค.ศ. ๑๒๙๑) คณะอัศวินซึ่งสวนมากมีพระเจาแผนดินเปนผูนําไดเลิกทําสงครามและรวมตัวกันอยูในประเทศของตนเอง ไดเปล่ียนมาเปนขาราชบริพารผูจงรักภักดีตอพระมหากษัตริยและประเทศชาติ ซ่ึงเครื่องหมายตาง ๆ ของอัศวินแตแรกเปนรูปกางเขน ภายหลังประดิษฐตกแตงใหงดงามแตกตางตามยศชั้น ดังน้ันตอมาเคร่ืองหมายแสดงตาํ แหนง หรอื บาํ เหนจ็ ความชอบ ความกลา หาญ จงึ เปน สงิ่ ซ่ึงไดรับพระราชทานจากพระเจาแผนดิน เครื่องหมายเหลาน้ีไดกลายมาเปนเคร่ืองราชอิสริยาภรณ เพราะไดรับพระราชทานจากพระเจาแผนดินดังนั้น คําวา Order จึงมีความหมายอีกอยางหนึ่งวา “ตระกูล”ของเคร่ืองราชอิสรยิ าภรณ เครื่องราชอิสริยาภรณของชาวยุโรปมีกําเนิดมาเปนเวลาชานานในประเทศตาง ๆ เชน ประเทศโปรตุเกส สรางขึ้นเพือ่ เปนบําเหน็จความกลาหาญในการทําสงครามระหวางชาวโปรตุเกสกับผูนับถือศาสนาอิสลามผูรุกรานประเทศ เคร่ืองราชอิสริยาภรณของโปรตุเกสชื่อ The Order of Aviz นับเปนเครื่องราชอิสริยาภรณที่เกาแกที่สุดของยุโรป สรางสมัยพุทธศตวรรษท่ี ๑๗ ตรงกับ พ.ศ. ๑๖๘๓ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

(ค.ศ. ๑๑๔๐) ซ่ึงเปนชวงระยะกอนการสรางกรุงสุโขทัย เปนราชธานี นอกจากน้ีโปรตุเกสยังมีเคร่ืองราชอิสริยาภรณ ชื่ อ The order of the Tower and the Sword และเคร่ืองราชอิสริยาภรณช่ือ The Order of Christ ซ่ึงสรางในพุทธศตวรรษท่ี 19 หรือในประเทศเดนมารกไ ด ใ ช รู ป ช า ง เ ป น เ ค รื่ อ ง ห ม า ย ข อ งเ ค ร่ื อ ง ร า ช อิ ส ริ ย า ภ ร ณ ใ น พ .ศ . ๒ ๐ ๕ ๑(ค.ศ. ๑๕๐๘) ซึ่งตรงกับสมัยพระรามาธิบดีท่ี ๒ แหงกรุงศรีอยุธยา ถือเปนเคร่ืองราชอิสริยาภรณช้ันสูงสุดมีชน้ั เดยี ว คอื The Order of the Elephant การใชเคร่ืองราชอิสริยาภรณตามแบบอยางประเทศตะวันตกนั้น เกิดขึ้นในประเทศไทยเปน ประเทศแรกในเอเชยี ตอ จากนนั้ ประเทศญ่ปี ุนและประเทศจนี จงึ ไดค ิดคน เครื่องราชอิสริยาภรณข้ึน เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

กาํ เนดิ เครื่องราชอสิ รยิ าภรณใ นไทย ความเปนมาของเคร่ืองราชอิสริยาภรณไทย ตามหนังสือตํานานเคร่ืองราชอิสริยาภรณสยาม ในนิพนธของสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ แบงออกเปน ๓ สมัย ไดแก สมัยกอน พ.ศ. ๒๔๐๐ สมัยหลัง พ.ศ. ๒๔๐๐ ถึง พ.ศ. ๒๔๘๔ และสมัยหลัง พ.ศ. ๒๔๘๔ ถึงปจจุบัน แตสําหรับกรณีน้ีจะขอกลาวถึงโดยแบงออกเปน 2 ชวงเวลา คือ สมัยกอน พ.ศ. ๒๔๐๐ และสมัย หลัง พ.ศ. ๒๔๐๐ ถึงปจจุบัน เนื่องจากเครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนที่เชิดชูย่ิงชางเผือก เครื่องราชอิสริยาภรณอันมีเกียรติยศย่ิงมงกุฎไทย เคร่ืองราชอิสริยาภรณอันเปนที่สรรเสริญย่ิงดิเรกคุณาภรณ และเหรียญอิสริยาภรณสําหรับพระราชทานเปนบําเหน็จความชอบในราชการ - เหรียญจักรพรรดิมาลา ถือกําเนิดขึ้นระหวางชวงเวลาดังกลาวอยางตอเนื่อง โดยไดมีการเปล่ียนแปลงและปรับปรุงตามลําดับเวลา กลา วคอื เครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณไ ทยสมยั กอ น พ.ศ. ๒๔๐๐ นับเปนเวลาหลายศตวรรษมาแลวที่ประเทศไทยไดมีเครื่องหมายแสดงเกียรติยศและบําเหน็จ ความชอบที่เรียกกันวา เคร่ืองยศ ซึ่งพระมหากษัตริยทรงสรางข้ึนสําหรับพระราชทานแกพระบรมวงศานุวงศ เจานาย ขุนนางท่ีไววางพระราชหฤทัยใหปฏิบัติพระราชภารกิจตางพระเนตรพระกรรณ เมื่อไดรับแตงต้ัง ใหดํารงตําแหนงใดหรือเม่ือกระทําความดีความชอบในทางราชการหรือสวนพระองค เคร่ืองยศนี้จะเปน สงิ่ สาํ คัญแสดงตาํ แหนง ท่ลี าํ ดบั ยศศกั ดิ์ของบุคคลเหลา น้นั ไดแก แหวน สงั วาล ลูกประคาํ ทอง พานหมาก ทองคํา กานํ้าทองคํา โตะทองคํา ดาบฝกทอง ฉัตรเคร่ืองสูง ยานพาหนะ เครื่องนุงหม หมวก เปนตน ผูไดรับพระราชทานจะแตงและนําเครื่องยศเขาไปใช ในงานสําคัญ ๆ ตอหนาพระท่ีน่ังได เชน งานออกมหาสมาคม ท้ังนี้ เคร่ืองแสดงเกียรติยศ และบําเหน็จความชอบทั้งหลายใชสําหรับประดับ กับตัวหรือนําพาไปเคียงขางตัว ไมใชประดับกับเส้ือ อยางในปจจุบัน อยางไรก็ตามจากหลักฐาน ทางประวัติศาสตรและโบราณคดี ในบรรดา เคร่ืองยศ ซ่ึงไดแก สายพระสังวาลและแหวนทองคํา เปนตนเคาหรือหลักเกณฑที่มาแหงพัฒนาการของ เ ค ร่ื อ ง ร า ช อิ ส ริ ย า ภ ร ณ แ ล ะ ก า ร พ ร ะ ร า ช ท า น เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณข องพระมหากษัตริย เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

ในสมัยกรุงศรีอยุธยาไดมีเครื่องราชูปโภคสําหรับพระพิชัยสงครามอยางหน่ึง เรียกวาพระสังวาลพระนพ เปน สายพระสงั วาล ใชส วมเฉยี งพระอังสาซา ยหรือขวา มลี กั ษณะเปนสรอ ยออนทาํ ดวยทองคําลวนเรียงกัน ๓ สาย สายหนึ่งยาวประมาณ ๑๒๔ เซนติเมตร มีดอกประจํายามทําดวยทองคําประดับนพรัตนหนึ่งดอก เม่ือมีการประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกเสด็จขึ้นประทับพระท่ีน่ังภัทรบิฐ(พระท่ีนั่งสําหรับพระมหากษัตริย เสด็จข้ึนประทับทรงรับเครื่องเบญจราชกกุธภัณฑ เครื่องบรมราชูปโภคอันเปนโบราณมงคล พระแสงอัษฎาวุธ และพระแสงราชศาสตราวุธในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก) พราหมณจะทูลเกลาฯ ถวาย พ ร ะ สั ง ว า ล นี้ สํ า ห รั บ พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริ ย ท ร ง ส ว ม พ ร ะ อ ง ค ก อ น ที่ จ ะ ท ร ง รั บ เ ค รื่ อ ง อิ ส ริ ย ย ศ อ่ื น ๆ เปนราชประเพณีสืบมาจนถึงพระสังวาลพระนพ ปจจุบันเคร่อื งราชอสิ รยิ าภรณไ ทยสมัยหลงั พ.ศ. ๒๔๐๐ ถงึ ปจ จุบนั1. รชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจา อยหู วั (พ.ศ. ๒๔๐๐ - พ.ศ. ๒๔๑๑)พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๔) ทรงเขาพระทัยเก่ียวกับวัฒนธรรมของชาวตะวันตกอยางลึกซึ้ง เม่ือไดทรงทราบวาพระมหากษัตริยของชาวยุโรปมีประเพณีการประดับเครื่องหมายแสดงพระเกียรติยศที่ฉลองพระองคพ ร ะ อ ง ค จึ ง ท ร ง มี พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ที่ จ ะ ท ร ง ส ร า งเคร่ืองหมายแบบตะวันตกจากรูปแบบของส่ิงท่ีเปนมงคลด้ังเดิมของไทย เชน พลอย ๙ ชนิด หรือนพรัตน และจากแบบอยางของตราประทับหนังสือราชการ ซงึ่ แสดงถึงเครอื่ งหมายแทนพระองคพระมหากษัตริย เชน ดวงตราไอราพตด า ร า ไ อ ร า พ ต เ ป น ด า ร า ด ว ง แ ร กซ่ึ ง พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ จ อ ม เ ก ล า เ จ า อ ยู หั ว ดวงตราไอราพตทรงสรางขึ้นสําหรับเปนเคร่ืองทรงของพระมหากษัตริย เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

โดยทรงนําแบบอยางมาจากลวดลายของตรา อันหมายถึง องคพระมหากษัตริย ซ่ึงเรียกวาพระราชลญั จกร ไอราพตเปน รปู ชา ง ๓ เศียร มีฉัตรเครอ่ื งสูงขา งละ ๒ คนั ประกอบอยทู างดา นซายและขวา ดาราไอราพต (เคร่ืองตน )ดาราไอราพต (องคร อง) ต อ ม า ท ร ง พ ร ะ ก รุ ณ า โ ป ร ด เ ก ล า ฯ ใ ห ส ร า งเครื่องราชอิสริยาภรณหรือเครื่องประดับสําหรับยศอื่น ๆเปนลําดับมา เชน ดารานพรัตน – ใชประดับท่ีเส้ือแ ส ด ง ย ศ อ ย า ง สู ง สํ า ห รั บฉลองพระองค เปนเคร่ืองตนและพระราชทาน ดารานพรัตน พระบรมวงศานุวงศ ดาราชางเผือก – ซึ่งเปน เครื่องหมายหมายถึงแผนดิน ดาราชา งเผอื ก สยาม ดาราตราตําแหนง - สําหรับ ขาราชการชั้นผูใหญท่ีมีตําแหนงสําคัญ เชน ตําแหนงดาราตราราชสีห พระสมุหพระกลาโหม (ดาราตราราชสหี ) เปน ตน เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

เคร่ืองหมายดังกลาวน้ี ภาษาสากลเรียกวา Star พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวทรงบัญญัติศัพทวา “ดารา” และยังคงใชคํานี้ในการเรียกดารา ซึ่งเปนสวนประกอบของเครือ่ งราชอสิ ริยาภรณไทยสําหรับชนั้ ท่ี ๒ ข้ึนไปจนถงึ ช้ันสายสะพายมาจนถึงปจ จบุ ัน2. รัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา เจา อยูหวั (พ.ศ. ๒๔๑๑ - พ.ศ. ๒๔๕๓), รัชสมยั พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั (พ.ศ. ๒๔๕๓ - พ.ศ. ๒๔๖๘), รชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา เจาอยหู ัว (พ.ศ. ๒๔๖๘ - พ.ศ. ๒๔๗๗), รัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานันทมหดิ ล (พ.ศ.๒๔๗๗ - พ.ศ. ๒๔๘๙), รชั สมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช (พ.ศ. ๒๔๘๙ – ปจจุบัน), พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสราง ปรับปรุงและเพิ่มเติมดารา ตราตําแหนง และเครื่องประดับสําหรับยศ ซ่ึงใหเรียกวา “เครื่องราชอิสริยยศ”และตอมาเปลี่ยนเรียกวา “เครื่องราชอิสริยาภรณ” มาจนถึงปจจุบัน คร้ังน้ันเครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนท่ีเชิดชูยิ่งชางเผือก หรือเดิมเรียกวา “เครื่องราชอิสริยยศชางเผือกสยาม” ยังรวมอยูกับเครื่องราชอิสริยาภรณอันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย (เครื่องราชอิสริยยศมงกุฎสยาม) จึงทรงมีพระราชดําริใหรวบรวมเครื่องราชอิสริยาภรณแตละตระกูลท่ีกระจัดกระจายปะปนกันจัดใหเปนหมวดหมูและแกไขใหสมบูรณข้ึน แลวตราเปนพระราชบัญญัติเฉพาะแตละตระกูล นอกจากน้ีไดทรงสถาปนาเหรียญจักรพรรดิมาลาข้ึนในป พ.ศ. ๒๔๓๘ โดยมรี ายละเอียด ดงั น้ี ก. เคร่ืองราชอิสริยาภรณอ ันเปนท่เี ชดิ ชยู ่ิงชางเผือก (The Most Exalted Order of the White Elephant) พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวทรงพระราชดําริใหสรางดาราชางเผือกข้ึนกอน ตอมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหแกไขดาราชางเผือกดังกลาวโดยเปลี่ยนขอบดาราจากรัศมี ๑๖ แฉก มาเปนรัศมีกลีบดอกบัว และเปล่ียนรูปพระมหามงกุฎมาเปนรูปพระจุลมงกุฎ รวมท้ังไดทรงสรางสายสะพายประกอบดาราชางเผือก เรียกวา “เคร่ืองราชอิสริยยศความชอบอยางสงู สุดชางเผือกสยาม” โดยลําดบั ดงั น้ี ป ชน้ั ตรา พ.ศ. ๒๔๑๒ มหาวราภรณ < จุลวราภรณ < นภิ าภรณ < ภูษนาภรณ พ.ศ. ๒๔๑๖ มหาวราภรณ < จุลวราภรณ < นภิ าภรณ < ภูษนาภรณ < ทิพยาภรณ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

มหาวราภรณ จลุ วราภรณนภิ าภรณ ภษู นาภรณ จลุ วราภรณ พ.ศ. ๒๔๑๖มหาวราภรณ พ.ศ. ๒๔๑๖ เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

ภษู นาภรณ พ.ศ. ๒๔๑๖ นภิ าภรณ พ.ศ. ๒๔๑๖ทพิ ยาภรณ พ.ศ. ๒๔๑๖ จลุ วราภรณ พ.ศ. ๒๔๓๒ พ .ศ . ๒ ๔ ๓ ๒ โ ป ร ด เ ก ล า ฯ ใ ห มี ป ร ะ ก า ศ พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ เ ค รื่ อ ง ร า ช อิ ส ริ ย า ภ ร ณแกไขเพิ่มเติม โดย ๑) เปล่ียนชื่อจาก “เครื่องราชอิสริยยศความชอบอยางสูงสุดชางเผือก”เปน “เคร่ืองราชอิสริยาภรณอันเปนท่ีเชิดชูย่ิงชางเผือก” ๒) เปล่ียนหลักการพระราชทานซ่ึงแตกอนพระราชทานใหเปนสิทธิ์ เปนพระราชทานใหประดับเปนเกียรติ เมื่อผูรับพระราชทานวายชนมทายาทตองสงคืน และ ๓) สําหรับกรณีไดรับพระราชทานเลื่อนช้ันสูงขึ้น ก็ใหสงดวงตราช้ันตํ่ากวาคืนสาํ หรับ “หนงั สอื คําประกาศสําหรบั ดวงตรา” ใหเ รียกวา “ประกาศนียบตั ร” พ.ศ. ๒๔๔๕ ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสรางเหรียญทองชางเผือก (ร.ท.ช.)และเหรียญเงินชางเผือก (ร.ท.ง) สําหรับพระราชทานแกขาราชการพลเรือนที่ไมมีสัญญาบัตรเชน มหาดเล็ก นายเวร เสมียน และผูมีบรรดาศักด์ิระดับขุน หมื่น และขาราชการทหารช้ันตํ่ากวา เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

สัญญาบัตร รวมท้ังกํานัน ผูใหญบานในหัวเมือง ท่ีทรงพระราชดําริเห็นสมควรโดยไมมีประกาศนียบัตรดังนน้ั นับแต พ.ศ. ๒๔๔๕ เปนตนมาเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณชางเผือกจงึ มี ๗ ชนั้ พ.ศ. ๒๔๕๒ ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติเคร่ืองราชอิสริยาภรณชางเผือก ร .ศ . ๑ ๒ ๘ ขึ้ น ใ ห ม เ พื่ อ เ ป ลี่ ย น รู ป แ บ บ ข อ ง เ ค รื่ อ ง ร า ช อิ ส ริ ย า ภ ร ณ แ ล ะ แ ก ไ ข ลํ า ดั บ ช้ั น เ ค ร่ื อ ง ร า ช อิ ส ริ ย า ภ ร ณ ใ ห บ ริ บู ร ณ ง ด ง า ม ขึ้ น เ ช น เ พิ่ ม ช้ั น สู ง สุ ด โ ด ย ใ ห มี ชื่ อ ว า มหาปรมาภรณชางเผือก โดยกําหนดรูปลักษณะ ทใ่ี ชอ ยูจนปจ จบุ นั ฯลฯมหาปรมาภรณ พ.ศ. ๒๔๕๒ ส มั ย พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ม ง กุ ฎ เ ก ล า เ จ า อ ยู หั ว ท ร ง พ ร ะ ก รุ ณ า โ ป ร ด เ ก ล า ฯ ใ ห ป รั บ ป รุ ง แ พ ร แ ถ บของเครื่องราชอิสริยาภรณชางเผือก ชั้นสูงสุดมหาปรมาภรณชางเผือก โดยเพิ่มขอบสีสายสะพายและเพิ่มขนาดร้ิวสีท่ีขอบสายสะพายของชั้นท่ี ๑ มหาวราภรณ และใหตราพระราชกําหนดช้ันยศเสนอความชอบสําหรบั พระราชทานเครื่องราชฯ เพ่ือกาํ หนดหลกั เกณฑก ารขอพระราชทานฯ ตง้ั แตช ้ันท่ี ๕จนถงึ ชนั้ ที่ ๒ สาํ หรับพระราชทานแกข า ราชการพลเรอื น โดยเทียบช้ันยศกับฝายทหารดว ย พ.ศ. ๒๔๖๑ โปรดเกลา ฯ ใหแ กนามบัญญัติ โดยเรยี งตามลําดบั ชนั้ ดงั นี้ช้นั สูงสดุ มหาปรมาภรณชา งเผอื ก ม.ป.ช. ชอ่ื เดิม -ชน้ั ที่ ๑ ประถมาภรณชางเผอื ก (ป.ช.) ช่อื เดิม มหาวราภรณชนั้ ท่ี ๒ ทวตี ิยาภรณชางเผอื ก (ท.ช.) ชื่อเดมิ จลุ วราภรณชนั้ ที่ ๓ ตริตาภรณช างเผือก (ต.ช.) ช่ือเดมิ นิภาภรณช้ันที่ ๔ จตั ุรถาภรณช างเผือก (จ.ช.) ชอ่ื เดมิ ภูษนาภรณชนั้ ที่ ๕ เบญจมาภรณชางเผอื ก (บ.ช.) ชือ่ เดมิ ทิพยาภรณชัน้ ที่ ๖ เหรียญทองชางเผือก (ร.ท.ช.) ชอื่ เดิม -ช้นั ที่ ๗ เหรียญเงินชางเผอื ก (ร.ง.ช.) ชอ่ื เดิม - พ.ศ. ๒๔๖๖ โปรดเกลาฯ ใหแกไขการประดับสายสะพายเคร่ืองราชอิสริยาภรณมหาปรมาภรณช า งเผอื ก ซง่ึ เดิมสะพายบาขวาเฉยี งลงทางซา ย ใหเ ปล่ียนเปน สะพายบา ซายเฉยี งลงขวา เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

สมัยพระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ใน พ.ศ. ๒๔๘๔ ไดมีประกาศพระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนท่ีเชิดชูย่ิงชางเผือก ซึ่งเปนฉบับที่ยังคงใชอยูในปจจุบัน โดยมีรายละเอียดดงั นี้ ๑. พระราชทานแกผูกระทําความดีความชอบเปนประโยชนแกราชการหรือสาธารณชนตามท่ีทรงพระราชดาํ ริเหน็ สมควร ๒. เจานายหรอื ผมู เี กยี รติของตางประเทศ อาจไดรบั พระราชทานฯ ๓. การแบง ชั้น การเรยี กชอ่ื และรปู ลกั ษณะของเคร่ืองราชฯ เปน ไปตามพระราชบญั ญัติฉบับกอ น และใหยกเลกิ เฉพาะสงั วาลสําหรับเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณนี้ ๔. กําหนดใหม เี ครอ่ื งราชฯ สาํ หรบั พระราชทานแกส ตรีขนึ้ ดวย ๕. ผไู ดรับพระราชทานเครื่องราชฯ ตั้งแตชัน้ เบญจมาภรณขนึ้ ไป ใหไ ดร ับพระราชทานประกาศนียบัตรทรงลงพระปรมาภิไธยประทบั พระราชลญั จกรเปน สําคัญดว ยข. เครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณอนั เปนเกียรตยิ ศย่ิงมงกฎุ ไทย(The Most Noble Order of the Crown of Thailand) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสรางขึ้นสําหรับพระราชทานผูมีความชอบในราชการแผนดิน เม่ือแรกสรางมีเพียง ๓ ช้ัน และรวมอยูกับตราชางเผือกตอ มา ป พ.ศ. ๒๔๑๖ ไดต ราเปน พระราชบญั ญัติขึน้ ตางหากรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสรางเครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนเกียรติยศย่ิงมงกุฎไทย ซึ่งเดิมมีช่ือวา “เคร่ืองราชอิสริยยศความชอบอยางสูงสุดมงกุฎสยาม” ขึ้น เมื่อจุลศักราช ๑๒๓๑ (พ.ศ. ๒๔๑๒) โดยจัดแบงออกเปน ๑) มหาสุราภรณ๒) จุลสุราภรณ ๓) ภัทราภรณ ตอมาเมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๖ ไดจัดแบงเปน ๕ชั้น ไดแก ช้ันท่ี ๑ มหาสุราภรณ (ม.ส.ม.) ช้ันท่ี ๒ จุลสุราภรณ (จ.ม.)ชนั้ ที่ ๓ มณั ฑนาภรณ (ม.ม.) ช้นั ท่ี ๔ ภทั ราภรณ (ภ.ม.) และชั้นท่ี ๕ วิจิตราภรณ (ว.ม.)จลุ สรุ าภรณ (จ.ม.) มหาสรุ าภรณ (ม.ส.ม.) เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

มณั ฑนาภรณ (ม.ม.) ภทั ราภรณ (ภ.ม.) วจิ ติ ราภรณ (ว.ม.) จลุ สรุ าภรณ พ.ศ. ๒๔๓๒ พ.ศ. ๒๔๓๒ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหมีประกาศพระราชบญั ญัติเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณเพม่ิ เติม ดงั น้ี ๑ ) เ ป ลี่ ย น ชื่ อ จ า ก “เ ค ร่ื อ ง ร า ช อิ ส ริ ย ย ศ ค ว า ม ช อ บ อ ย า ง สู ง สุ ด ม ง กุ ฎ ส ย า ม ”เปน “เครือ่ งราชอิสรยิ าภรณอ ันมีเกียรตยิ ศยิ่งมงกฎุ สยาม” ๒) เปลยี่ นหลักการพระราชทาน ซ่ึงแตเดมิ พระราชทานเปน สิทธิ เปน พระราชทานใหป ระดับเปน เกยี รตยิ ศ เม่ือผรู บั พระราชทานวายชนม ทายาทตอ งสง คืน พ.ศ. ๒๔๔๕ ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสรางเหรียญของเครื่องราชอิสริยาภรณตระกูลน้ีอีก ๒ ชนดิ เรยี กวา “เหรยี ญทองมงกุฎสยาม” อักษรยอวา ร.ท.ม. และ “เหรียญเงนิ มงกุฎสยาม” อักษรยอวา ร.ง.ม. สําหรับพระราชทานแกขาราชการพลเรือนท่ีไมมีสัญญาบัตร เชน มหาดเล็ก นายเวรเสมียนและผูมีบรรดาศักด์ิระดับขุน หม่ืน และขาราชการทหารช้ันตํ่ากวาสัญญาบัตร รวมท้ังกํานัน ผูใหญบานในหวั เมือง ท่ที รงพระราชดํารเิ หน็ สมควรโดยไมม ีประกาศนียบัตร เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

พ.ศ. ๒๔๕๒ ไดมีการเปลี่ยนแปลงท่ีสําคัญ คือ การแกไขรูปลักษณของเคร่ืองราชอิสริยาภรณท้ัง ๗ ชั้นใหม กลาวคือ ดานหนาของดวงตราแฉกกลีบบัวเปลี่ยนเปนกระจังเงินใหญสี่ทิศ มีรัศมีทองสับหวางอยูโดยรอบ ตอนกลางซึ่งเคยมีรูปพระจุลมงกุฎอยูบนพานรอง เปลี่ยนเปนรูปพระมหามงกุฎในลายหวานลอม เบื้องบนเคยเปนก่ิงใบไมทอง ๓ ใบ ติดหวงหอยแพรแถบ เปล่ียนเปนพระจุฬาลงกรณ(พระจลุ มงกฎุ ) สวนดาราก็เปลย่ี นรูปรางอยางดวงตรา แตไ มมีพระจุฬาลงกรณอยูเ บือ้ งบน ซ่ึงรปู ลักษณะนี้เปนรูปลกั ษณะเครือ่ งราชอิสรยิ าภรณท ี่พระราชทานสบื เนื่องกนั มาจนถงึ ปจจบุ ัน รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว เม่ือ พ.ศ. ๒๔๖๑ ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯใหเพิ่มเติมเคร่ืองราชอิสริยาภรณช้ันสูงสุด โดยใหเรียกวา “เคร่ืองราชอิสริยาภรณอันมีเกียรติยศยิ่งมหาวชริ มงกุฎ” อกั ษรยอวา ม.ว.ม. และใหเ ปลี่ยนนามบัญญัติ ดงั นี้ชน้ั ที่ ๑ ประถมาภรณม งกฎุ สยาม (ป.ม.) ช่อื เดมิ มหาสุราภรณชน้ั ท่ี ๒ ทวตี ิยาภรณมงกุฎสยาม (ท.ม.) ชื่อเดิม จลุ สุราภรณช้ันท่ี ๓ ตริตาภรณมงกฎุ สยาม (ต.ม.) ช่อื เดมิ มัณฑนาภรณช้ันท่ี ๔ จตั รุ ถาภรณม งกฎุ สยาม (จ.ม.) ช่อื เดมิ ภทั ราภรณช้ันที่ ๕ เบญจมาภรณม งกุฎสยาม (บ.ม.) ชื่อเดมิ ทิพยาภรณ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พ.ศ. ๒๔๘๔ ไดมีประกาศพระราชบัญญัติเคร่อื งราชอิสริยาภรณต ระกูลนีใ้ หม ดงั นี้ ๑. เปลย่ี นชอื่ เคร่อื งราชอิสริยาภรณเปน “เคร่ืองราชอิสรยิ าภรณอนั มเี กยี รติยศยิ่งมงกฎุ ไทย” ๒. พระราชทานแกผูกระทําความดีความชอบเปนประโยชนแกราชการหรือสาธารณชนตามที่ทรงพระราชดาํ ริเหน็ สมควร ๓. เจานายหรือผมู ีเกยี รติของตา งประเทศ อาจไดรับพระราชทานฯ ๔. การเรยี กช่อื แตล ะชัน้ คงเปน ไปตามเดมิ เปลย่ี นแตค ําวา สยาม เปน ไทย ตามชื่อประเทศ ๕. ยกเลิกการใชหรอื พระราชทานสังวาล ๖. พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณตระกลู นีส้ ําหรบั สตรี ๗. ผูไดรับพระราชทานเครื่องราชฯ ต้ังแตชั้นเบญจมาภรณขึ้นไป จะไดรับพระราชทานประกาศนียบัตรทรงลงพระปรมาภิไธยประทบั พระราชลัญจกรเปนสาํ คญั พ.ศ. ๒๔๙๘ โปรดเกลาฯ ใหตราพระราชกฤษฎีกากําหนดเครื่องหมายสําหรับประดับแพรแถบใชกับเคร่ืองแบบขาราชการ และเคร่ืองหมายดุมเสื้อใชประดับชุดสากลของเคร่ืองราชอิสริยาภรณมงกุฎไทยและเคร่ืองราชอิสริยาภรณตระกูลอ่ืน ไดแก มหาจักรีบรมราชวงศ นพรัตนราชวราภรณ จุลจอมเกลา เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

และชางเผือก และใน พ.ศ. ๒๕๒๘ กําหนดใหผูไดรับพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณมงกุฎไทยและตระกูลอ่ืน ๆ สามารถประดับเคร่ืองหมายท่ีใชเปนดุมเส้ือขณะแตงชุดไทย สําหรับสตรีใหประดับไดเฉพาะกับชดุ ไทยเรือนตน ชุดไทยจิตรลดา ชดุ ไทยอมรินทร และชดุ ไทยบรมพมิ านค. เคร่ืองราชอิสรยิ าภรณอนั เปนทส่ี รรเสรญิ ยิ่งดเิ รกคณุ าภรณ(The Most Admirable Order of the Diredgunabhorn) เดิมการขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณสําหรับบุคคลซ่ึงกระทําความดีความชอบอันเปนประโยชนแกประเทศ ศาสนาและประชาชนจากเคร่ืองราชอิสริยาภรณอันเปนท่ีเชิดชูย่ิงชางเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณอันมีเกียรติยศย่ิงมงกุฎไทย แตเนื่องจากบุคคลซ่ึงกระทําความดีความชอบอันเปนประโยชนแกประเทศ ศาสนา และประชาชนนั้นมากขึ้นเปนลําดับ ดังน้ันพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานพระบรมราชานุญาตใหสรางข้ึนเม่ือวันท่ี๒๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ นามวา “เครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ”สําหรับพระราชทานแกผูกระทําความดีความชอบอันเปนประโยชนแกประเทศ ศาสนา และประชาชนตามทีท่ รงพระราชดาํ รเิ หน็ สมควรง. เหรียญราชอสิ ริยาภรณส าํ หรบั พระราชทานเปนบําเหนจ็ ความชอบในราชการแผน ดินเหรยี ญจกั รพรรดิมาลา (The Chakrabarti Mala Medal) รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงสถาปนาเหรียญน้ีข้ึน เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๖เน่ืองในการพระราชพิธีรัชฎาภิเษกสมโภชสิริราชสมบัติครบ ๒๕ ป สําหรับพระราชทานเปนบําเหน็จความชอบแกผูปฏิบัติราชการดี โดยไมจํากัดยศศักดิ์ตามแตพระราชอัธยาศัย มี ๓ ชนิด คือ ทองคํากะไหลทอง และเงนิ ซง่ึ มเี กยี รตยิ ศเสมอกนั เหรียญมีลักษณะเปนรูปจักร ดานหนา มีพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงพระมหาพิชัยมงกุฎ ยอดมีรัศมีและพวงมาลัยใบชัยพฤกษวงรอบ ท่ีขอบจักรมีอักษรวา “จุฬาลงกรณบรมราชาธิราช สยามินทร” ดานหลังขอบจักรมีอักษรแสดงคุณของผูไดร ับพระราชทานและศกที่ทรงสรา งวา“สําหรับปรนนิบัติราชการดี รัตนโกสินทรศก ๑๑๒”ที่กลางเหรียญมีอักษรวา “พระราชทานแก”โดยจะโปรดเกลา ฯ ใหจ ารึกนามผไู ดรับพระราชทานหอ ยกบั แพรแถบสเี หลืองริมชมพู หอ ยกับเข็ม เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

มีอักษรวา “ราชสุปรีย” ไมมีประกาศนียบัตรเน่ืองจากไดจารกึ นามผทู ่ีไดรบั พระราชทานไวท ก่ี ลางเหรียญแลว พ.ศ. ๒๔๓๘ มีพระราชนิยมพระราชทานเหรียญจั ก ร พ ร ร ดิ ม า ล า แ ก เ จ า น า ย ที่ ไ ด รั บ พ ร ะ ร า ช ท า นพระสุพรรณบัฏ (แผนทองจารึกพระนามของเจา นาย) และขุนนางที่ไดรับพระราชทานสัญญาบัตรมาครบ ๒๘ ป เปนบําเหน็จท่ีรับราชการยั่งยืนมั่นคงนาน (ทํานองเดียวกับเหรียญจักรมาลาท่ีพระราชทานแกฝายทหาร กลาวคือ รับราชการประจําการรวมกันเปนเวลาไมนอยกวา ๑๕ ปนับตั้งแตอายุครบ ๑๘ ปบริบูรณหรือวันขึ้นทะเบียนกองประจาํ การ) รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๔ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯใหตราพระราชบัญญัติขึ้นใหม โดยกําหนดพระราชทานสําหรับขาราชการพลเรือนท่ีรับราชการมาไมตํ่ากวา๒๕ ป นับต้ังแตเ ขา รบั ราชการใหเปน บําเหน็จที่รับราชการม่ันคงย่ิงยืนนานทํานองเดียวกบั เหรียญจักรมาลาและแกไขรูปเหรียญใหเปนคูกันกับเหรียญจักรมาลาฝายทหาร กลาวคือ มีลักษณะเปนรูปจักรดานหนามีรูปพระครุฑพาหอยูในวงจักร และดานหลังมีรูปชางอยูในวงจักร มีอักษรจารึกวา “บําเหน็จแหง ความย่ังยืนและมัน่ คงในราชการ” ขา งบนมีเขม็ วชริ าวุธหอ ยกับแพรแถบสีแดง ขอบสเี ขยี วกับสเี หลืองมีเข็มเงินบนแพรแถบจารึกอักษรวา “ราชสุปรีย” รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลเม่ือ พ.ศ. ๒๔๘๔ ไดตราพระราชบัญญัติเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลาข้ึนใหม ซึ่งกําหนดลักษณะ วิธีการประดับเหรียญการพระราชทาน การสงคืนหรือเรียกคืน ตลอดจนการนับเวลาราชการของขาราชการพลเรอื น ซึง่ ยงั คงใชอยจู นปจจบุ นั ตา งกันทไี่ มมี “เข็มราชสปุ รีย” ประดับบนแพรแถบ รัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เม่ือ พ.ศ. ๒๕๐๗ ใหตราพระราชบัญญัติฉบับที่ ๓ กําหนดความหมายของคําวา “ทหารและตํารวจ” “ขาราชการพลเรือน” เพ่ือใหสิทธิแกพนักงานเทศบาลและขาราชการอัยการ สําหรับสตรี ใชหอยกับแพรแถบผูกเปนรูปแมลงปอ ประดับท่ีหนา บาซาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

แบงออกเปน 4 ประเภท ไดแ กประ เคร่อื งราชอสิ ริยาภรณส ําหรับ เครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณไทย พระราชทานแกประมขุ ของรฐั เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณสาํ หรับบําเหนจ็ ความชอบในราชการแผนดนิ เครื่องราชอสิ ริยาภรณส ําหรับ พระราชทานเปน บาํ เหน็จความชอบในพระองคพ ระมหากษัตริย และเหรียญราชอสิ ริยาภรณทีน่ ับเปนเภทเคร่อื งราชอิสริยาภรณ เคร่อื งราชอสิ รยิ าภรณส าํ หรบั พระราชทานแกป ระมขุ ของรัฐ เครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณสาํ หรับพระราชทานแกป ระมขุ ของรฐั ณ ปจจุบันมีเพียงชนิดเดียว คือ เคร่ืองราชอิสริยาภรณ อั น เ ป น มงคลย่ิงราชมิตราภรณ (ร.ม.ภ.) - (The Most Auspicious Order of the Rajamitrabhorn) พระบาทสมเด็จ พระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณา ใ ห ส ร า ง ข้ึ น เ มื่ อ พ .ศ . ๒ ๕ ๐ ๕ เ พื่ อ พ ร ะ ร า ช ท า น ป ร ะ มุ ข ข อ ง ประเทศตาง ๆ ซ่ึงมีสัมพันธไมตรี กับประเทศไทยเปน การเฉพาะแทน เคร่ืองราชอิสริยาภรณสกุลอื่น ๆ ซ่ึงเคย พระราชทานมาแลว ในอดตี เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

เคร่อื งราชอสิ รยิ าภรณส ําหรบั บาํ เหนจ็ ความชอบในราชการแผน ดิน เคร่ืองราชอิสริยาภรณสาํ หรบั บําเหนจ็ ความชอบในราชการแผน ดิน 1) เคร่ืองขัตติยราชอิสริยาภรณอันมีเกียรติคุณรุงเรืองย่ิงมหาจักรีบรมราชวงศ (ม.จ.ก.) -(The Most Illustrious Order of the Royal House of Chakri) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงพระกรุณาใหสรางเม่ือ พ.ศ. ๒๔๒๕ เพ่ือระลึกถึ ง พ ร ะ ม ห า ก รุ ณ า ธิ คุ ณ ข อ ง พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ปฐมกษัตริยของราชวงศจักรี ท่ีไดสถาปนากรุงเทพมหานครเปนราชธานีมาเปนเวลาครบ ๑๐๐ ป สําหรับพระราชทานแกพระบรมวงศานุวงศ ซ่ึงสืบเน่ืองโดยตรงในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช และผูซ่ึงพระบรมวงศานุวงศดังกลาวไดเ สกสมรสดวย 2) เครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ (น.ร.) – (The Ancientand Auspicious Order of the Nine Gems) พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาใหสรางดารานพรัตนข้ึนเม่ือ พ.ศ. ๒๓๙๔ต อ ม า ใ น รั ช ก า ล ข อ ง พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะจุลจอมเกลาเจาอยูหัวไดทรงสรางดวงตรามหานพรัตน สําหรับ หอยสายสะพาย และแหวนนวรัตนสําหรับพระราชทานพระราชวงศฝายหนาและฝายใน ตลอดจนขา ราชการชั้นผูใหญซ่ึงเปน พุทธมามกะ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

3) เคร่ืองราชอสิ รยิ าภรณจ ลุ จอมเกลา (The Most Illustrious Order Of Chula Chom Klao) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาใหสรางขึ้นเม่ือ พ.ศ. ๒๔๑๖ เนื่องในโอกาสที่พระมหากษัตริยราชวงศจักรีไดปกครองประเทศไทยติดตอกันมาถึง ๙๐ ปดวยความสงบสุขพระองคจึงทรงพระกรุณาใหสรางเคร่ืองราชอิสริยาภรณจุลจอมเกลานี้ข้ึน ซึ่งเปนพระนามของพระองคและใชแพรแถบสีชมพูอนั เปนสีของวันพระราชสมภพ คือ วันอังคาร แบง ออกเปน ฝายหนา (บุรษุ )ช้ัน ท่ี ๑ ปฐมจุลจอมเกลา วิเศษ (ป.จ.ว .)และปฐมจุลจอมเกลา (ป.จ.)ช้ัน ที่ ๒ ทุติ ยจุลจอมเกลาวิเศษ (ท .จ.ว .)และทตุ ิยจุลจอมเกลา (ท.จ.)ชั้น ท่ี ๓ ตติยจุลจอมเกลาวิเศษ (ต.จ.ว .)ตติยจุลจอมเกลา (ต.จ.) และตตยิ านจุ ลุ จอมเกลา(ต.อ.จ.) ฝายใน (สตรี)ชนั้ ที่ ๑ ปฐมจลุ จอมเกลา (ป.จ.)ช้ันที่ ๒ ทุติยจุลจอมเกลาวิเศษ (ท.จ.ว.)และทตุ ิยจุลจอมเกลา (ท.จ.)ชั้นที่ ๓ ตตยิ จลุ จอมเกลา (ต.จ.)ชั้นที่ ๔ จตุตถจุลจอมเกลา (จ.จ.) 4) เครื่องราชอสิ ริยาภรณอนั มีศักดร์ิ ามาธิบดี (The Honourable Order of Rama) พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาใหสรางขึ้นเม่ือ พ.ศ. 2461สําหรับพระราชทานใหแกผูซึ่งทําความชอบพิเศษเปนประโยชนย่ิงแกราชการทหาร ไมวายามสงบหรอื ยามสงคราม ตามท่ีทรงพระราชดําริเหน็ สมควร ไดแ ก เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

ช้ันที่ 1 เสนางคะบดี (ส.ร.) ช้ันท่ี 2 มหาโยธนิ (ม.ร.)ชัน้ ที่ 3 โยธนิ (ย.ร.) ชั้นท่ี 4 อัศวิน (อ.ร.)ชั้นท่ี 5 เหรียญรามมาลา ชัน้ ที่ 6 เหรยี ญรามมาลา (ร.ม.)เข็มกลากลางสมร (ร.ม.ก.)๕) เครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนที่เชิดชูยิ่งชางเผือก (The Most Exalted Order ofthe White Elephant) พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาใหสรางขึ้นเม่ือ พ.ศ. 2404 แตมิไดกําหนดใหมีสายสะพาย ตอมา พ.ศ. 2412 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวไดทรงกําหนดช้ันสายสะพายประกอบเคร่อื งราชอิสริยาภรณ จํานวน 8 ช้ัน ดังนี้ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณช า งเผอื ก (ม.ป.ช.)ชนั้ ที่ 1 ประถมภรณชา งเผอื ก (ป.ช.)ชั้นที่ 2 ทวตี ิยาภรณช า งเผือก (ท.ช.)ชั้นท่ี 3 ตรติ าภรณชางเผือก (ต.ช.)ชั้นที่ 4 จัตุรถาภรณชา งเผือก (จ.ช.)ชัน้ ที่ 5 เบญจมาภรณช า งเผือก (บ.ช.)ชน้ั ท่ี 6 เหรียญทอง (ร.ท.ช.)ชัน้ ที่ 7 เหรียญเงนิ (ร.ง.ช.) ๖) เคร่ืองราชอิสริยาภรณอันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย (The Most Noble Order ofthe Crown of Thailand) พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาใหสรางขึ้นเม่ือ พ.ศ. 2412 สําหรับพระบรมวงศานวุ งศ ขา ราชการ ประชาชน ชาวตางประเทศ ไดแกชน้ั สูงสดุ มหาวชิรมงกฎุ (ม.ว.ม.)ช้ันท่ี 1 ประถมภรณมงกุฎไทย(ป.ม.)ช้ันที่ 2 ทวีติยาภรณมงกุฎไทย(ท.ม.)ช้ันท่ี 3 ตริตาภรณมงกุฎไทย(ต.ม.)ช้ันที่ 4 จัตุรถาภรณมงกุฎไทย(จ.ม.)ชัน้ ที่ 5 เบญจมาภรณมงกฎุ ไทย (บ.ม.)ช้นั ท่ี 6 เหรียญทอง (ร.ท.ช.)ชน้ั ท่ี 7 เหรียญเงิน (ร.ง.ช.) เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

7) เคร่ืองราชอิสริยาภรณอันเปนท่ีสรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ (The Most AdmirableOrder of the Direkgunabhorn) พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช ทรงพระกรุณาใหสรางเมื่อ พ.ศ. 2534 สําหรบัพระราชทานแกผูกระทําความดีความชอบ อันเปนประโยชนแกประเทศ ศาสนา และประชาชน ตามท่ีทรงพระราชดําริเห็นสมควร กลาวคือ บุคคลสัญชาติไทยท่ีไดกระทําความดีความชอบซ่ึงยังมีชีวิตอยูและเปนผทู ่ีมผี ลงานอันเปน ประโยชนแกประเทศ ศาสนา และประชาชน เชน การบรจิ าคทรัพยสนิ ใหแ กว ดั บริจาคท่ีดินเพ่อื สาธารณประโยชน เปน ตน โดยแบงเปน 7 ชั้น คอื ชนั้ ท่ี 1 ปฐมดิเรกคณุ าภรณ (ป.ภ.) ช้ันท่ี 2 ทุตยิ ดิเรกคุณาภรณ (ท.ภ.) ช้นั ท่ี 3 ตติยดิเรกคณุ าภรณ (ต.ภ.) ชัน้ ท่ี 4 จตตุ ถดิเรกคุณาภรณ (จ.ภ.) ช้นั ท่ี 5 เบญจมดเิ รกคุณาภรณ (บ.ภ.) ช้นั ท่ี 6 เหรยี ญทองดเิ รกคุณาภรณ (ร.ท.ภ.) ชน้ั ที่ 7 เหรียญเงนิ ดเิ รกคุณาภรณ (ร.ง.ภ.) ๘) เครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนสิริยิ่งรามกีรติลูกเสือสดุดีช้ันพิเศษ (The Boy ScoutCitation Medal - Special Class) พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย เดช ทรงพระกรุณาใหสรางขึ้นเม่ือ พ.ศ. 2530 มีช้ันเดียว สําหรับพระราชทานผูมีอุปการคุณแกก ิจการ ลกู เสือ ซง่ึ ไดร ับพระราชทานเหรียญลูกเสือสดุดีชนั้ ที่ 1 มาแลว และใหการชวยเหลือกิจการลูกเสือตอเนื่อง มา 5 ป เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

เครือ่ งราชอิสริยาภรณสาํ หรับพระราชทานเปนบาํ เหนจ็ ความชอบในพระองคพ ระมหากษตั ริย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาใหสรางเคร่ืองราชอิสริยาภรณสําหรับ พระราชทานเปนบําเหน็จความชอบในพระองคพระมหากษัตริย สําหรับพระราชทานขาราชการท่ีมี ความจงรักภกั ดีและทรงพระกรณุ าใชสอยใกลชิด ซึ่งปจ จบุ นั ไดพ นสมัยพระราชทานแลว ไดแก 1) เครอื่ งราชอิสริยาภรณตราวชิรมาลา (The Vajira Mala order)2) เครือ่ งราชอิสรยิ าภรณต รารัตนวราภรณ (The Ratana Varabhorn order of Merit)ฝา ยหนา (บรุ ษ) ฝา ยใน (สตร)ี เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

3) เคร่อื งราชอิสรยิ าภรณตราวัลลภาภรณ (The Vallabhabhorn order)ฝา ยหนา (บรุ ษ) ฝา ยใน (สตร)ี เหรยี ญราชอสิ รยิ าภรณท น่ี บั เปน เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ เหรียญราชอสิ รยิ าภรณท น่ี ับเปน เรื่องราชอสิ รยิ าภรณ แบงเปน ๔ ประเภท โดยเรยี งลาํ ดับ ดังนี้ 1) เหรียญที่พระราชทานเปนบําเหน็จความชอบในราชการสงครามหรือพระราชทานเปนบําเหน็จความชอบในความกลาหาญ ไดแ ก๑. เหรียญกลา หาญ (The Bravery Medal) เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

๒. เหรยี ญชยั สมรภมู ิ (The Victory Medal)สงครามมหาเอเชยี บรู พา สงครามรว มรบกบั สหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี การรบ ณ สาธารณรฐั เวียดนาม๓. เหรยี ญพทิ ักษเสรชี น ช้ันท่ี ๑ (Freeman Safeguarding Medal - First Class)๔. เหรียญพิทักษเสรีชน ชั้นท่ี ๒ ประเภทท่ี ๑ (Freeman Safeguarding Medal - Second Class,First Category) เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

๕. เหรยี ญราชนิยม (The Rajaniyom Medal)๖. เหรียญปราบฮอ (The Haw Campaign Medal)๗. เหรียญพระราชทานสงครามยโุ รป (The War Medal of B.E. 2461) เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

๘. เหรียญพทิ กั ษรฐั ธรรมนูญ (The Safeguarding the Constitution Medal)๙. เหรียญพิทักษเสรีชน ช้ันที่ ๒ ประเภทท่ี ๒ (Freeman Safeguarding Medal - Second Class,Second Category)๑๐. เหรียญศานติมาลา (The Santi Mala Medal) เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

๒) เหรยี ญทพี่ ระราชทานเปนบําเหน็จความชอบในราชการแผน ดิน ไดแก๑. เหรียญดุษฎีมาลาหรือเข็มศิลปวิทยา (The Dushdi Mala Medal)๒. เหรยี ญชว ยราชการเขตภายใน (The Medal of Service rendered in the Interior)๓. เหรยี ญราชการชายแดน (The Border Service Medal) เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

๔. เหรยี ญจกั รมาลา (The Chakra Mala Medal)๕. เหรยี ญจักรพรรดมิ าลา (The Chakrabarti Mala Medal)๖. เหรียญศารทูลมาลา (The Saratul Mala Medal) เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

๗. เหรียญบษุ ปมาลา (The Pushpa Mala Medal)๘. เหรยี ญลกู เสือสรรเสรญิ ช้ันท่ี ๑ (Boy Scout Commendation Medal - First Class)๙. เหรียญลกู เสอื สรรเสริญ ช้นั ที่ ๒ (Boy Scout Commendation Medal - Second Class) เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

๑๐. เหรยี ญลูกเสอื สรรเสริญ ชน้ั ที่ ๓ (Boy Scout Commendation Medal - Third Class)๑๑. เหรียญลกู เสอื สดดุ ี ชัน้ ท่ี ๑ (Boy Scout Citation Medal – First Class)๑๒. เหรียญลูกเสือสดุดี ช้นั ท่ี ๒ (Boy Scout Citation Medal – Second Class) เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

๑๓. เหรียญลกู เสือสดดุ ี ช้นั ท่ี ๓ (Boy Scout Citation Medal – Third Class)๑๔. เหรยี ญลูกเสอื ยงั่ ยืน 3) เหรียญท่ีพระราชทานเปนบําเหน็จความชอบในพระองคพระมหากษัตริย ไมเกี่ยวกับตําแหนงราชการ ไดแ ก๑. เหรียญรตั นาภรณ (The Royal Cypher Medal) รัชกาลท่ี ๔ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

๒. เหรียญรตั นาภรณ รัชกาลท่ี ๕ หรือเหรียญดุษฎีมาลาเขม็ ราชการในพระองค๓. เหรียญรตั นาภรณ รัชกาลที่ ๖๔. เหรียญรัตนาภรณ รชั กาลที่ ๗ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

๕. เหรยี ญรตั นาภรณ รชั กาลท่ี ๘๖. เหรียญรัตนาภรณ รชั กาลที่ ๙ชน้ั ที่ 1 ชน้ั ท่ี 2 ชน้ั ท่ี 3ชนั้ ที่ 4 ชน้ั ที่ 5 เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

๗. เหรียญราชรจุ ิ (The Rajaruchi Medal) รัชกาลท่ี ๕๘. เหรยี ญราชรจุ ิ รชั กาลที่ ๖๙. เหรยี ญราชรจุ ิ รชั กาลท่ี ๗ เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

๑๐. เหรยี ญราชรจุ ิ รชั กาลท่ี ๙เหรยี ญทอง เหรยี ญเงนิ ๔) เหรียญสําหรับพระราชทานเปนที่ระลึกในโอกาสสําคัญตาง ๆ ซึ่งประชาชนทั่วไปสามารถจดั หามาประดับไดต ามหลกั เกณฑท่ีกฎหมายกาํ หนด๑. เหรียญสตพรรษมาลา (The Centenary Medal)๒. เหรยี ญรชั ฎาภิเศกมาลา (The Silver Jobilee Medal) เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

๓. เหรยี ญประพาสมาลา (The Prabas Mala Medal)๔. เหรียญราชินี (The Queen’s Medal)๕. เหรยี ญทวีธาภเิ ศก (The Dvidhabhisek Medal) เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

๖. เหรียญรัชมงคล (The “Record Reign” Medal)๗. เหรียญรัชมังคลาภิเศก (The “Forty years Reign” Medal)๘. เหรียญบรมราชาภิเษก (The Coronation Medal) รชั กาลที่ ๖ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

๙. เหรยี ญบรมราชาภเิ ษก รชั กาลที่ ๗๑๐. เหรียญบรมราชาภเิ ษก รชั กาลที่ ๙ เหรยี ญทอง เหรียญเงนิ๑๑. เหรียญชยั (Chai Medal) เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

๑๒. เหรยี ญเฉลิมพระนคร ๑๕๐ ป (150 Years Commemoration of Bangkok Medal)๑๓. เหรียญงานฉลอง ๒๕ พุทธศตวรรษ (The 25th Buddhist Century Celebration Medal)๑๔. เหรียญท่ีระลึกในการเสด็จพระราชดําเนินเยือนสหรัฐอเมริกาและทวีปยุโรป (The CommemorativeMedal of the Royal State Visits to the United States of America and Europe) เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

๑๕. เหรียญรัชดาภเิ ษก (The Silver Jubilee Commemorative Medal of 2514 B.E.)๑๖. เหรียญที่ระลึกพระราชพิธีสถาปนาสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร(Commemorative Medal of the Elevation of H.R.H. Prince Vajiralongkorn’sInvestiture of the Crown Prince)๑๗. เหรยี ญสนองเสรีชน (The Serving Free People Medal) เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

๑๘. เหรียญท่ีระลึกพระราชพิธีสถาปนาสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี(Commemorative Medal of the Elevation of H.R.H. Princess Sirindhorn’s Investitureof the Princess Maha Chakri)๑๙. เหรียญที่ระลึกสมโภชกรุงรัตนโกสินทร ๒๐๐ ป (Commemorative Medal on the Occasion ofthe Rattanakosin Bicentennail) เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

๒๐. เหรียญเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระชนมายุ ๕๐ พรรษา(Commemorative Medal on the Occasion of the 50th Birthday Anniversary of HerMajesty Queen Sirikit)๒๑. เหรียญเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระชนมายุ ๘๔ พรรษา(Commemorative Medal on the Occasion of the 84th Birthday Anniversary of H.R.H.Somdej Phra Sri Nakarindra Boromarajajonnani)๒๒. เหรียญเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหามงคลสมัย พระราชพิธีเฉลิมพระชนมายุ ๖๐ พรรษา (Commemorative Medal on the Occasion of the 60th BirthdayAnniversary of His Majesty King Bhumibol Adulyadej)๒๓. เหรียญเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหามงคลสมัย พระราชพิธีรั ช มั ง ค ล า ภิ เ ษ ก (Commemorative Medal on the Occasion of the Longest ReignCelebrations)๒๔. เหรียญเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในมหามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา ๕ รอบ (Commemorative Medal on the Occasion of the 60th BirthdayAnniversary of Her Majesty Queen Sirikit)๒๕. เหรียญเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหามงคลสมัยพระราชพิธีกาญจนาภเิ ษก (Commemorative Medal on the Occasion of the 50th Anniversary (GoldenJubilee) of His Majesty’s Accession to The Throne) เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

๒๖. เหรยี ญเฉลมิ พระเกียรติสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช เน่อื งในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ (Commemorative Medal on the Occasion of the His Majestythe king’s 6th Cycle Birthday Anniversary 5th December 1999)๒๗.เหรียญเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระพระนางเจาสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ (Commemorative Medal on the Occasion of the HerMajesty Queen Sirikit 6th Cycle Birthday Anniversary 12th August 2004)๒๘. เหรียญเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในโอกาสพระราชพิธีฉ ล อ ง ศิ ริ ร า ช ส ม บั ติ ค ร บ ๖ ๐ ป (Commemorative Medal on the Occasion of the 60thAnniversary of His Majesty’s Accession to The Thorne)๒๙. เหรยี ญกาชาดสดุดี ช้ันพเิ ศษ๓๐. เหรียญกาชาดสดดุ ี ชั้นท่ี ๑๓๑. เหรยี ญกาชาดสดดุ ี ชน้ั ที่ ๒๓๒. เหรียญกาชาดสรรเสริญ (The Red Cross Medal of Merit)๓๓. เหรียญกาชาดสมนาคณุ ช้นั ที่ ๑ (The Red Cross Medal of Appreciation, First Class) เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

๓๔. เหรยี ญกาชาดสมนาคณุ ช้ันท่ี ๒ (The Red Cross Medal of Appreciation, Second Class)๓๕. เหรียญกาชาดสมนาคุณ ชัน้ ที่ ๓ (The Red Cross Medal of Appreciation, Third Class) เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร

สํ า ห รั บ ข า ร า ช ก า ร พ ล เ รื อ น ลู ก จ า ง ป ร ะ จํ าลักเคร่ืองราชอิสรยิ าภรณ และพนักงานราชการ (กรมสรรพากร) ในปจจุบัน แบงเปน 2 ประเภท คือ เครอื่ งราชอิสริยาภรณ และเหรียญราชอิสริยาภรณษ เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณณะ เครื่องราชอิสริยาภรณแบงออกเปน 2 ตระกูล ไดแก เคร่ืองราชอิสริยาภรณอันเปนท่ีเชิดชูยิ่งชางเผือก และเครื่องราชอิสริยาภรณอันมีเกียรติยศย่ิงมงกุฎไทย โดยหากผูไดรับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ หรือทายาทซึ่งเปนผูเก็บรักษาเคร่ืองราชอิสริยาภรณทั้งสองตระกูลตองสงคืนเน่ืองจากเหตุตางๆ เชน ไดรับ เครื่องราชอิสริยาภรณในช้ันตราที่สูงข้ึน เกษียณอายุราชการ ไมประสงคเก็บรักษา หรือผูไดรับพระราชทาน ถึงแกกรรม ฯลฯ และไมสามารถนําสงคืนเครื่องราชอิสริยาภรณดังกลาวไดดวยเหตุตางๆ เชน ชํารุด สญู หาย ฯลฯ จะตอ งชดใชเปนตัวเงินตามราคาชดใชค นื ซ่ึงราคาดงั กลา วจะมกี ารปรบั ขนึ้ ทกุ ๆ 3 ปโดยประมาณ เครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณอนั เปนทีเ่ ชดิ ชยู ่ิงชา งเผือก ๑. ชนั้ สงู สดุ มหาปรมาภรณช า งเผอื ก (ม.ป.ช.) บุรษุ ดวงตรา ดานหนาเปนรูปชางไอราพตลงยาสีขาวอยูบนพื้นทองในดอกบัว บาน กลีบลงยาราชาวดี สีชมพูสลับแดงเกสรเงินรอบนอก มีกระจังทอง ลงยาราชาวดีสีเขียวสี่ทิศ มีรัศมีเปลวเงิน ตามระหวาง ดานหลัง เปนอักษรพระปรมาภิไธยยอในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว “ม.ป.ร.” ลงยาราชาวดีสีแดง เบื้องบนมีอุณาโลมเงิน และพระมหามงกุฎ ทองมีรศั มี ดวงตราน้หี อยกบั สายสะพาย ดารา ลายกลางดานหนา เหมือนอยางดวงตราแตขนาดยอมกวา ซอนอยบู นรศั มเี งิน จาํ หลกั เปนเพชรสรง สแี่ ฉก รศั มีทองสี่แฉก สายสะพาย แพรแถบสีแดงริมเขียว มีริ้วเหลืองริ้วนํ้าเงินขนาดเล็กควบคั่นท้ังสองขาง มีขนาดกวาง ๑๐ เซนติเมตร สะพายบาซา ยเฉียงลงทางขวา ราคาชดใชคนื (ปจจบุ ัน) กรณีชาํ รุด สูญหาย หรือไมประสงคน ําสง คืน เปน จํานวนเงนิ 41,560.- บาท เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ | ส่วนสารสนเทศและขอ้ มูลบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมสรรพากร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook