Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ห้างหุ้นส่วน1

ห้างหุ้นส่วน1

Published by supattra140610, 2020-09-25 23:05:59

Description: ห้างหุ้นส่วน1

Search

Read the Text Version

ส่ือการเรียนการสอน การบัญชีห้ างหุ้นส่ วน

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 กิ จ ก า ร ห้ า ง หุ้ น ส่ ว น

กจิ การ ความหมายและลกั ษณะสาคัญของห้างห้นุ ส่วน ห้างห้นุ ส่วน การจดั ตงั้ ห้างห้นุ ส่วน ประเภทของห้างห้นุ ส่วน ข้อแตกต่างของห้างห้นุ ส่วนสามัญและห้างห้นุ ส่วนจากดั กฎหมายเก่ยี วกับห้างห้นุ ส่วน

ความหมายของห้ างหุ้นส่ วน • ธุรกจิ ท่จี ดั ตงั้ ขนึ้ โดยบุคคลตงั้ แต่ สองคนขนึ้ ไป ซ่งึ เรียกว่า “ผู้เป็ นห้นุ ส่วน” ตกลงทาสัญญาทาธุรกจิ ร่วมกัน ประเภทเดยี วกัน ว่าจะนาส่ิงใดส่ิงหน่ึง ไม่ว่าจะเป็ น เงนิ สด หรือสนิ ทรัพย์อ่นื หรือแรงงาน มาลงทุนร่วมกัน เรียกกนั ว่า “ผู้เป็ นห้นุ ส่วน” โดยมวี ัตถุประสงค์ท่จี ะแบ่งปันผลกาไรขาดทนุ ท่ไี ด้จากการดาเนินงานตามข้อตกลงระหว่างกัน อาจตกลงกัน • ด้วยวาจาหรือทาสัญญาเป็ นลายลักษณ์อักษร

ลักษณะสาคัญของห้ างหุ้นส่ วน สรุปได้ 4 ประการ ดังนี้ • มีสัญญาระหว่างบุคคลตงั้ แต่สองคนขึน้ ไป • ผู้เป็ นห้นุ ส่วนทกุ คนตกลงมีการลงทนุ ร่วมกัน ส่ิงท่นี ามาลงทุน คือ เงนิ สด หรือสนิ ทรัพย์อ่ืน หรือแรงงานก็ได้ • ต้องกระทากจิ การร่วมกันโดยเจตนา หรือกระทากิจการอย่างเดียวกัน • มีวัตถุประสงค์จะแบ่งกาไรขาดทุนจากการดาเนินกจิ การตามข้อตกลงกัน หากไม่ได้ตกลงกันไว้ให้แบ่งกาไรขาดทนุ ตามอัตราส่วนทนุ ท่นี ามาลงทนุ

ห้างห้นุ ส่วนไม่จดทะเบยี นเป็ นนิตบิ ุคคล ห้างห้นุ ส่วนจดทะเบยี นเป็ นนิตบิ ุคคล  มีฐานะเป็ นบคุ คลธรรมดา  ดาเนินการเพยี งจดทะเบยี นพาณชิ ย์ตาม  คอื ห้างห้นุ ส่วนสามัญนิตบิ ุคคลและห้าง พระราชบญั ญัตทิ ะเบยี นพาณิชย์ พ.ศ. ห้นุ ส่วนจากัด  กรมพฒั นาธุรกจิ การค้า กระทรวง 2499  กาหนดจดทะเบยี นพาณชิ ย์ภายใน 30 วนั พาณิชย์ กาหนดให้ดาเนินการจัดตงั้ ห้าง นับแต่วนั เร่ิมประกอบกจิ การ ห้นุ ส่วนดงั นี้

บคุ คลตงั้ แต่ 2 คนขนึ้ ไป ขอจองช่อื ห้างห้นุ ส่วน ช่อื ซา้ ห้างห้นุ ส่วนอ่ืน ช่อื ไม่ซา้ ห้างห้นุ ส่วนอ่นื จดทะเบยี นตงั้ ห้างห้นุ ส่วน ภายใน 30 วัน ชาระค่าธรรมเนียม รับหลักฐานหนังสือรับรองและใบสาคญั ดาเนินธุรกิจห้างห้นุ ส่วน

ประเภทของห้ างหุ้นส่ วน ห้างหุ้นส่วน ห้างห้นุ ส่วนสามญั ห้างห้นุ ส่วนจากดั (กฎหมายบังคับต้องจดทะเบยี นเท่านัน้ ) ห้างห้นุ ส่วนสามัญ ห้างห้นุ ส่วนสามัญ ห้างห้นุ ส่วนประเภท ห้างห้นุ ส่วนประเภท จดทะเบยี น ท่มี ไิ ด้จดทะเบยี น จากัดความ ไม่จากดั ความ รับผิดชอบ รับผดิ ชอบ

ห้างหุ้นส่วนสามญั ห้างหุ้นส่วนจากดั  ห้างห้นุ ส่วนสามัญจดทะเบียน  ห้างห้นุ ส่วนประเภทจากัดความรับชอบ คือห้างห้นุ ส่วนท่จี ดทะเบียนต่อกรมพฒั นา จะรับผดิ ชอบในหนีส้ ินของห้างห้นุ ส่วน ธุรกจิ กาค้า กระทรวงพาณิชย์ มีฐานะเป็ น เพียงไม่เกนิ จานวนเงนิ ท่ตี นรับจะลงทนุ ใน นิตบิ คุ คลตามกฎหมาย และต้องเขียนคา ห้างห้นุ ส่วนเท่านัน้ และทนุ ท่นี ามาลงต้อง นาหน้าช่ือว่า “ห้างห้นุ ส่วนสามัญนิตบิ ุคคล เป็ นเงนิ สดหรือทรัพย์สินอ่ืน .................” จะลงทนุ เป็ นแรงงานไม่ได้  ห้างห้นุ ส่วนสามัญท่มี ิได้จดทะเบยี น  ห้างห้นุ ส่วนประเภทไม่จากัดความรับผดิ มีฐานะเป็ นบคุ คลธรรมดา และต้องเขียน  จะรับผิดชอบในหนีส้ นิ ทงั้ ปวงของห้าง คานาหน้าช่ือว่า “ห้างห้นุ ส่วนสามัญ ห้นุ ส่วน โดยไม่จากัดจานวน และทนุ .........................” ท่นี ามาลงทนุ ร่วมกจิ การ อาจจะเป็ น เงนิ สด สนิ ทรัพย์อ่ืน หรือแรงงานกไ็ ด้

กฎหมายเก่ียวกับห้ างหุ้นส่ วน ประมวลกฎหมายเพ่งและพาณชิ ย์ ได้บัญญัตเิ กยี่ วกบั การจดั ต้งั การจดทะเบียน การเลกิ กจิ การของห้าง หุ้นส่วนและบริษทั สรุปสาระสาคญั จากบทบญั ญัตขิ องประมวลกฎหมายเพ่งและพาณิชย์ได้ดงั นี้ 1. ห้างหุ้นส่วนสามญั จะจดทะเบยี นหรือไม่กไ็ ด้ หากได้จดทะเบยี นกเ็ ป็ นห้างหุ้นส่วนสามญั นิตบิ ุคคล 2. ห้างหุ้นส่วนจากดั จะต้องจดทะเบียน 3. ผ้ขู อจดทะเบียนจะต้องยน่ื ณ สานกั งานทะเบยี นหุ้นส่วนบริษทั แห่งท้องที่ ซึ่งสานกั งานใหญ่ต้งั อยู่ 4. ห้างหุ้นส่วน เมอื่ ได้จดทะเบียนแล้วถือว่าเป็ นนิตบิ ุคคล แยกต่างหากจากผู้เป็ นส่วนหรือผ้ถู อื หุ้น 5. การเลกิ ห้างหุ้นส่วน มี 3 กรณี คือ การเลกิ โดยกฎหมาย การเลกิ โดยความประสงค์ของหุ้นส่วน และการเลกิ โดยคาสั่งของศาล 6. เมอ่ื ห้างหุ้นส่วนเลกิ กจิ การจะต้องแต่งต้งั ผ้ชู าระบัญชี 7. ข้ันตอนการชาระบญั ชีคอื นาสินทรัพย์ออกจาหน่าย ชาระหนีภ้ ายนอก ชาระหนีภ้ ายใน และจ่ายคืนให้แก่ผู้เป็ นหุ้นส่วน 8. หากการชาระบญั ชีเสร็จสิ้น ต้องมอบเอกสารบัญชีไว้ให้นายทะเบียนภายใน 14 วนั

กฎหมายเก่ียวกับห้ างหุ้นส่ วน ประมวลรัษฎากร ได้กาหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกบั การคานวณภาษีเงนิ ได้ของห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลไว้ สรุปสาระสาคญั ประมาลรัษฎากรท่ีเกี่ยวข้องกบั ห้างหุ้นส่วนได้ดังนี้ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล จะต้องยนื่ รายการในการคานวณภาษเี งินได้นิติบุคคล ซ่ึงได้แก่งบแสดงฐานะการเงนิ และงบกาไรขาดทุน ต่อกรมสรรพากรซ่ึงเป็ นหน่วยงานที่มหี น้าท่ีจัดเก็บเงนิ ได้ เงนิ ได้ท่ีต้องเสียภาษีตามความใน ส่วนนีค้ อื กาไรสุทธิ ซึ่งคานวณได้จากรายได้จากกจิ การ หรือเนื่องจากกจิ การ ท่ีกระทาในรอบระยะเวลาบัญชีหักด้วย รายจ่าย โดยใช้เกณฑ์สิทธิในการคานวณ อัตราภาษีเงนิ ได้ของห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลร้อยละ 30 ของกาไรสุทธิ โดยใช้ แบบ ภ.ง.ด. ในการยื่นแบบแสดงรายการชาระภาษคี รึ่งรอบระยะเวลาบัญชี ภายใน 2 เดอื น นับแต่วนั สุดท้ายของคร่ึง รอบระยะเวลาบัญชี และใช้แบบ ภ.ง.ด. 50 ในการย่นื แบบแสดงรายการชาระภาษีเมื่อสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี ภายใน 150 วนั นับแต่วนั สุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี

กฎหมายเก่ียวกับห้ างหุ้นส่ วน พระราชบัญญตั ิ เช่น พระราชบัญญัติทะเบียนพาณชิ ย์ พ.ศ. 2499 พระราชบัญญตั ิกาหนดความผดิ เกย่ี วกบั ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่นจากดั สมาคมและ มูลนิธิ พ.ศ.2499 พระราชบัญญัตกิ าหนดความผดิ เกยี่ วกบั ห้างหุ้นส่วนทจี่ ดทะเบียนห้างหุ้นส่วนจากดั บริษัทจากดั สามาคมและมูลนิธิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2535 พระราชบัญญตั กิ ารบัญชี พ.ศ.2543 พระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม พ.ศ.2543

กฎหมายเก่ียวกับห้ างหุ้นส่ วน ประมวลรัษฎากร ได้กาหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกบั การคานวณภาษีเงินได้ของห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลไว้ สรุปสาระสาคญั ของพระราชบัญญัติต่างๆท่ีเก่ยี วข้องกับห้างหุ้นส่วนได้ดงั นี้ 1. ผู้ประกอบพาณชิ ยกิจ หมายถึง บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล ซึ่งประกอบพาณิชยกิจเป็ นอาชีพปกติ และ รวมถงึ ผู้เป็ นหุ้นส่วนที่ไม่จากดั ควารับผิด กรรมการหรือผู้จัดการด้วย 2. ตามบทบัญญัติห้างหุ้นส่วนเป็ นผู้ประกอบพาณชิ ยกจิ ต้องมหี น้าที่จดทะเบียนพาณชิ ย์ 3. ห้างหุ้นส่วนมสี านักงานใหญ่อยู่ท่ีใด ให้จดทะเบียน ณ สานักงานพาณชิ ย์ท้องท่ีน้ัน 4. ให้ย่ืนคาขอจดทะเบียนพาณชิ ย์ภายใน 30 วนั นับแต่วนั เร่ิมประกอบพาณิชยกจิ 5. บทกาหนดโทษหากห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนหรือห้างหุ้นส่วนจากดั ไม่จดทะเบียน ใช้ชื่อ ป้ ายชื่อ หนังสือ บอกกล่าว ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท และปรับอีกวนั ละไม่เกิน 500 บาท จนกว่าจะได้ปฏิบัติให้ถูกต้อง

กฎหมายเก่ียวกับห้ างหุ้นส่ วน ประมวลรัษฎากร ได้กาหนดหลกั เกณฑ์เกีย่ วกบั การคานวณภาษเี งินได้ของห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลไว้ สรุปสาระสาคัญของพระราชบัญญตั ิต่างๆท่ีเก่ียวข้องกับห้างหุ้นส่วนได้ดังนี้ 6. ห้างหุ้นส่วนไม่จดั ทางบดุล ไม่จัดทารายงานหรือไม่เปิ ดเผยแก่ผู้เป็ นหุ้นส่วน ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน ห้าหมน่ื บาทและเมอื่ ทาการชาระบัญชีเรียบร้อยแล้ว ให้มอบสมุดบัญชีเอกสารต่างๆ ให้นายทะเบียนภายใน 14วนั แต่ถ้าการชาระบัญชีไม่เสร็จสิ้นภายใน 1 ปี ผู้ชาระบัญชีต้องเรียกประชุมใหญ่และทารายงานแจ้งท่ีประชุมทุกปี หากไม่มีการเรียกประชุม ไม่ทารายงาน ต้องระวางโทษปรับ ไม่เกนิ หนึ่งหมน่ื บาท 7. พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.2543 กาหนดให้เฉพาะนิติบุคคลเท่าน้ัน ท่ีมีหน้าท่ีจดั ทาบัญชี ให้เร่ิมทา บัญชีต้ังแต่วนั ท่ีได้รับการจดทะเบียน เป็ นนิติบุคคลตามกฎหมายแล้ว ลดภาระธุรกิจ ในการเก็บรักษาบัญชีและ เอกสารประกอบการลงบัญชี จาก 10 ปี เหลอื 5 ปี แต่ต้องไม่เกิน 7 ปี 8. แบ่งแยกหน้าท่ีและความรับผดิ ชอบระหว่างผู้มีหน้าที่จดั ทาบัญชีและผู้ทาบัญชีดังนี้ ผู้มหี น้าท่ีจัดทาบัญชี หมายถึง ผู้มีหน้าท่ีจดั ให้มีการทาบัญชีตามกฎหมาย ผู้ทาบัญชี หมายถึง ผู้รับผดิ ชอบในการทาบัญชีมีหน้าที่จัดทาบัญชีไม่ว่าจะเป็ นลูกจ้างของผู้มหี น้าที่จัดทา บัญชีหรือไม่กต็ าม

กฎหมายเก่ียวกับห้ างหุ้นส่ วน ประมวลรัษฎากร ได้กาหนดหลกั เกณฑ์เก่ียวกบั การคานวณภาษีเงินได้ของห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลไว้ สรุปสาระสาคัญของพระราชบัญญตั ิต่างๆท่ีเกีย่ วข้องกบั ห้างหุ้นส่วนได้ดังนี้ 9. กาหนดให้ผู้ทาบัญชีต้องเข้ามามสี ่วนรับผิดชอบ ในการจัดทาบัญชีของธุรกิจโดยแบ่งแยกหน้าท่ีและ ความรับผดิ ชอบระหว่างผู้ทาบัญชี และผู้มหี น้าที่จัดทาบัญชีให้ชัดเจน เช่น ลงรายการเท็จแก้ไข ละเว้นการลงรายการ ในบัญชีหรืองบการเงินหรือแก้ไขเอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชี เพอื่ ให้ผดิ ความเป็ นจริง บทกาหนดโทษของ ผู้ทาบัญชีจาคุกไม่เกนิ 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือท้ังจาท้ังปรับ ส่วนผู้มหี น้าท่ีจัดทาบัญชีจาคุกไม่เกนิ 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือท้ังจาท้ังปรับ 10. บทกาหนดโทษของผู้กระทาความผิดในการจัดทาบัญชี จะต้องรับโทษตามลักษณะความผดิ ซ่ึงมีท้ัง โทษปรับและจาคุก และในกรณีท่ีเป็ นความผดิ ต่อเน่ือง มโี ทษปรับรายวนั จนกว่าจะปฏิบัติให้ถูกต้อง เช่น ไม่จดั ทา บัญชีตามหน้าที่ท่ีกาหนดและตามวนั เร่ิมทาบัญชีท่ีกาหนด ปรับไม่เกิน 30,000 บาท และ ปรับรายวนั ไม่เกินวนั ละ 1,000 บาท จนกว่าจะปฏิบัติถูกต้อง

กฎหมายเก่ียวกับห้ างหุ้นส่ วน  กฎกระทรวง เช่น กฎกระทรวงพาณิชย์ ว่าด้วยการยกเว้นไม่ต้องจัดให้งบการเงนิ ได้รับการตรวจสอบและแสดงความเห็นโดยผู้สอบ บัญชีรับอนุญาต พ.ศ.2544  กฎกระทรวงอุตสาหกรรม กาหนดจานวนการจ้างงานและมูลค่าสินทรัพย์ ของวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อม พ.ศ. 2545 สรุปสาระสาคัญของพระราชบัญญตั ิต่างๆที่เกยี่ วข้องกบั ห้างหุ้นส่วนได้ดังนี้ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนท่ีจัดต้ังขึน้ ตามกฎหมายไทย มที ุน สินทรัพย์และรายได้ รายการใด รายการหน่ึงหรือ ทุกรายการไม่เกินตามกฎหมายท่ีกระทรวงกาหนดไว้ ได้รับยกเว้นไม่ต้องจดั ทาให้งบการเงินได้รับการตรวจสอบและ แสดงความเห็นโดยผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทุกรายการไม่เกินจานวนท่ีกาหนดไว้ดังนี้ ทุน 5,000,000 บาท สินทรัพย์ รวม 30,000,000 บาท รายได้รวม 30,000,000 บาท การจดั ทางบการเงินท่ีได้รับการยกเว้นนีเ้ ป็ นงบการเงิน ซ่ึงมรี อบ บัญชีที่สิ้นสุดลงในหรือหลงั วนั ที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2545 เป็ นต้นไป

กฎหมายเก่ียวกับห้ างหุ้นส่ วน ประกาศ เช่น  ประกาศกระทรวงพาณชิ ย์ ฉบบั ที่ 83 (พ.ศ.2515) เร่ืองกาหนดพาณชยกจิ ทไ่ี ม่อย่ภู ายใต้บังคบั ของกฎหมายว่าด้วย ทะเบียนพาณชิ ย์ ประกาศกรมทะเบยี นการค้า (ปัจจุบนั คือกรมพฒั นาธุรกจิ การค้า) เรื่องกาหนดชนิดของบญั ชีท่ตี ้องจัดทา ข้อความและ รายการท่ีต้องมีในบัญชี ระยะเวลาท่ตี ้องลงรายการในบญั ชีและเอกสารท่ีต้องใช้ประกอบการลงบญั ชี พ.ศ.2544 ประกาศกรมทะเบยี นการค้า (ปัจจุบันคือ กรมพฒั นาธุรกจิ กาค้า) เรื่อง กาหนดรายการย่อทต่ี ้องมใี นงบการเงิน พ.ศ.2544 สรุปสาระสาคญั ของประกาศที่เก่ียวข้องกบั ห้างหุ้นส่วนได้ดงั นี้ 1. ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนท่ีจดั ต้ังขึน้ ตามกฎหมายไทย ต้องจัดทาบัญชีให้ถูกต้องและครบถ้วนตามหลัก มาตรฐานการบัญชี 2. ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนต้องจดั ทางบการเงิน (งบแสดงฐานการเงิน งบกาไรขาดทุน และหมายเหตุ ประกอบการเงนิ ) มรี ายการย่อตามที่กาหนดในแบบ 1 (หน่วยท่ี 4) 3. ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล ห้างหุ้นส่วนจากดั ต้องยน่ื งบการเงินภายใน 5 เดอื น นับแต่วนั ปิ ดบัญชี ดงั น้ันงบการเงนิ ท่ีมรี อบปี บัญชีสิ้นสุด ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคมของทุกปี ต้องย่นื งบการเงนิ ภายในวนั ท่ี 31 พฤษภาคม ของปี ถดั ไป

กฎหมายเก่ียวกับห้ างหุ้นส่ วน คาสั่งเช่น คาส่ังกรมสรรพากรที่ ทป. 1/2558 เร่ืองการใช้เกณฑ์สิทธิในการคานวณรายได้และรายจ่ายของบริษทั หรือ ห้างหุ้นส่วน นิตบิ ุคคล  คาส่ังสานักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษทั กลางที่ 3/2543 เร่ือง แต่งต้งั นายทะเบยี นและกาหนดหน้าที่รับผดิ ชอบเกยี่ วกบั งาน ทะเบยี นในสานักงานทะเบียนหุ้นส่วน สรุปสาระสาคญั ของคาส่ังท่ีเกย่ี วข้องกับห้างหุ้นส่วนได้ดังนี้ 1. ห้างหุ้นส่วนต้องใช้เกณฑ์สิทธิในการคานวณหากาไรสุทธิท่ีต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ซึ่งจะถอื ว่า รายได้เกดิ ขึน้ เม่อื กระบวนการก่อให้เกดิ รายได้สาเร็จแล้ว และการแลกเปล่ยี นได้เกดิ ขึน้ แล้วโดยไม่คานึงว่าจะได้รับ เงินแล้วหรือไม่ เช่นเดียวกบั ค่าใช้จ่าย เม่ือเกิดค่าใช้จ่ายเกดิ ขนึ้ แล้ว แม้จะยังไม่ได้จ่ายเงนิ ในรอบระยะเวลาบัญชีน้ัน ก็ ให้ถอื ว่าเป็ นค่าใช้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีน้ัน 2. กรมพฒั นาธุรกจิ การค้า กระทรวงพาณชิ ย์ ปฏิบัติงานทะเบียนให้กับห้างหุ้นส่วนท่ีมสี านักงานใหญ่อยู่ใน เขตกรุงเทพมหานครและสานักงานพฒั นาธุรกิจการค้าจังหวดั ปฏิบัติงานทะเบียนให้กบั ห้างหุ้นส่วนที่มีสานักงาน ใหญ่อยู่ในเขตจงั หวดั น้ัน

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 ก า ร บั น ทึ ก ร า ย ก า ร เ ปิ ด บั ญ ชี

การบนั ทกึ ความหมายของการเปิ ดบัญชี รายการเปิ ด การลงทนุ ของห้นุ ส่วน บัญชี การบนั ทกึ รายการเปิ ดบญั ชแี ละงบแสดงฐานะการเงนิ ณ วนั เร่ิมกจิ การ

• การเปดิ บญั ชขี องห้างหุ้นส่วน เป็นการบันทกึ รายการคา้ ทเ่ี กดิ ข้นึ ครง้ั แรกตงั้ แต่ วันท่เี ริม่ ตน้ ประกอบธรุ กจิ ของกิจการหา้ งหุ้นส่วน เช่น ผเู้ ปน็ ห้นุ ส่วนนาเงินสด สินทรัพย์อื่นและแรงงานมาลงทนุ ครง้ั แรก หรือในกรณีทีก่ ิจการหา้ งหุ้นสว่ นดาเนิน ธรุ กจิ มาอยา่ งตอ่ เนือ่ ง การเปดิ บัญชใี นกรณนี ้คี ือรายการทีเ่ กดิ ข้นึ ในวนั แรกของ รอบระยะเวลาบัญชีใหม่ เชน่ การบันทึกบัญชียอดคงเหลือของบัญชีสนิ ทรพั ย์ หนี้สนิ และส่วนของผเู้ ป็นห้นุ สว่ น

ตวั อยา่ งที่ 2.1 วันที่ 1 มกราคม 2558 กบและขาวตกลงเป็นห้นุ ส่วนกนั กบนาเงนิ สดมาลงทนุ 220,000 บาท และขาวนาเงินสดมาลงทุน 120,000 บาท การบนั ทึกรายการเปดิ บัญชใี นสมดุ รายวันทวั่ ไปจะเปน็ ดงั นี้

การลงทุนของหุ้นส่วนมีหลักการเหมือนกับกิจการเจ้าของคนเดียว โดยมีส่วนทุนของห้าง หุ้นส่วน เรียกว่า ส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน จะมีบัญชีทุนตามจานวนของผู้เป็นหุ้นส่วนในประมวล กฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา 1026 ได้กาหนดไว้ว่าหนุ้ สว่ นตอ้ งมีส่งิ หนึง่ สิง่ ใดมาลงทนุ คอื เงนิ สด สนิ ทรพั ย์อนื่ แรงงาน ควรมีการตกลงกันในมูลค่าของแรงงานท่หี นุ้ ส่วนนามาลงทนุ และสิทธิได้รับคืนทุน เนื่องจาก แรงงานเป็นสินทรัพย์ไม่มีตัวตน ถ้าแรงงานนั้นมีสิทธิได้รับคืนทุน จะบันทึกไว้ในบัญชีค่าความ นิยมและถ้าขอ้ ตกลงระหวา่ งหนุ้ ส่วนกาหนดให้ห้นุ สว่ นทล่ี งทุนดว้ ยแรงงานไม่มีสิทธิได้รับคืนทุน กรณีนแ้ี รงงานส่วนน้ีจะถูกบันทกึ ไว้ในสญั ญาการเป็นหนุ้ สว่ นเท่านนั้ จะไมม่ กี ารบันทกึ บญั ชี

• 3.1 การบนั ทึกรายการเปิดบัญชี 3.1.1 กรณผี ูเ้ ป็นหุ้นส่วนนาเงินสดมาลงทนุ การบนั ทกึ รายการเปดิ บญั ชีในสมุดรายวนั ทั่วไปจะเปน็ ดงั น้ี

ตวั อย่างท่ี 2.2 วันที่ 1 มกราคม 2558 แป้งและข้าวตกลงเป็นหุ้นส่วนกัน โดยแป้งนา เงินสดมาลงทนุ 200,000 บาทและขา้ วนาเงินสดมาลงทุน 250,000 บาท การบันทึกรายการเปิดบัญชีในสมุดรายวนั ทวั่ ไปจะเปน็ ดังนี้

ตวั อยา่ งท่ี 2.3 เมอ่ื วนั ที่ 1 มกราคม 2558 หมแู ละแมวตกลงเข้าเป็นหุ้นส่วนกันโดยนาสินทรัพย์ มาลงทุนดังน้ี หมูนาเงินสด 40,000 บาท และสินค้าคงเหลือราคาทุน 20,000 บาท ราคา ตลาด 21,000 บาท มาลงทุน ส่วนแมวนาเงินสด 20,000 บาท ลูกหน้ีการค้า 12,000 บาท และรถยนตร์ าคาประเมนิ 100,000 บาท มาลงทนุ ตารางคานวณการลงทุนของห้นุ ส่วนแต่ละคน

ตวั อยา่ งท่ี 2.3 เมอ่ื วนั ที่ 1 มกราคม 2558 หมแู ละแมวตกลงเข้าเป็นหุ้นส่วนกันโดยนาสินทรัพย์ มาลงทุนดังน้ี หมูนาเงินสด 40,000 บาท และสินค้าคงเหลือราคาทุน 20,000 บาท ราคา ตลาด 21,000 บาท มาลงทุน ส่วนแมวนาเงินสด 20,000 บาท ลูกหน้ีการค้า 12,000 บาท และรถยนตร์ าคาประเมนิ 100,000 บาท มาลงทนุ ตารางคานวณการลงทุนของห้นุ ส่วนแต่ละคน

การบนั ทกึ รายการเปดิ บัญชใี นสมดุ รายวันท่วั ไปจะเปน็ ดงั น้ี

• 3.1 การบนั ทึกรายการเปดิ บัญชี (ตอ่ ) 3.1.3 กรณีผู้เป็นหุ้นส่วนนาเงินสด สินทรัพย์อื่นและหน้ีสินมาลงทุน กรณีน้ีให้บันทึก ทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนแต่ละคนด้วยการนายอดรวมสินทรัพย์หักด้วยยอดรวมหนี้สิน การบันทึก รายการเปดิ บญั ชีในสมุดรายวันท่ัวไปจะเปน็ ดงั นี้

ตวั อย่างที่ 2.4 เมื่อวันท่ี 1 มกราคม 2558 มะนาวและแตงโมตกลงเข้าเป็นหุ้นส่วนกัน โดยทั้งสองนาสินทรัพย์และหน้ีสินมาลงทุนดังนี้ มะนาวนาเงินสด 100,000 บาท มาลงทุน และแตงโมนาเงินสด 20,000 บาท ท่ีดินราคา 80,000 บาท อาคาร 200,000 บาท และเจ้าหน้ี 80,000 บาท มาลงทนุ ตารางคานวณการลงทนุ ของห้นุ สว่ นแต่ละคน

การบนั ทกึ รายการเปดิ บัญชใี นสมดุ รายวันท่วั ไปจะเปน็ ดงั น้ี

• 3.1 การบนั ทึกรายการเปดิ บญั ชี (ต่อ) 3.1.4 กรณีผู้เป็นหุ้นส่วนนาแรงงานมาลงทุน หากสัญญาหุ้นส่วนนาแรงงานมาลงทุน ไมไ่ ดต้ ีราคาคา่ แรงไวใ้ นกฎหมายให้คานวณสว่ นทนุ โดย การบนั ทกึ รายการเปิดบญั ชใี นสมดุ รายวันทว่ั ไปจะเปน็ ดงั น้ี

ตวั อยา่ งท่ี 2.5 เม่ือวนั ท่ี 1 มกราคม 2558 นา้ อบและนา้ หอมตกลงเข้าเป็นหุ้นส่วนกัน โดยน้า อบนาเงินสดมาลงทุน 180,000 บาท และนา้ หอมนาเงินสด 200,000 บาท และแรงงานซ่ึงคิด มลู ค่าเปน็ เงิน 60,000 บาท มาลงทุน และให้น้าหอมมสี ทิ ธิได้รับคนื ทุน ตารางคานวณการลงทนุ ของหุ้นสว่ นแต่ละคน

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 ก า ร แ บ่ ง กา ไ ร ข า ด ทุ น ร ะ ห ว่ า ง หุ้ น ส่ ว น

การแบ่งกาไร หลักเกณฑ์การแบ่งกาไรขาดทุนและ การบันทกึ บัญชี ขาดทุนระหว่าง หุ้นส่วน การคานวณและการบนั ทกึ บัญชกี าร แบ่งผลกาไรขาดทุนของ ผู้เป็ นห้นุ ส่วน

หลกั เกณฑก์ ารแบง่ ผลกาไรขาดทนุ เมือ่ กจิ การตกลงเข้าเปน็ ห้นุ สว่ นในหา้ งห้นุ ส่วนแลว้ ก็จะมีการนาเงินสด สินทรพั ยอ์ ื่นและแรงงานมาลงทุนในหา้ งหุ้นสว่ น ซ่งึ หา้ งหุ้นส่วนกจ็ ะดาเนนิ การ ไประยะหนง่ึ หรืองวดเวลาใดเวลาหนึ่ง อาจมีผลกาไรหรอื ผลขาดทนุ เกดิ ข้นึ ภายในห้างหุ้นสว่ น โดยผลกาไรขาดทุนทีเ่ กดิ ขน้ึ ต้องแบง่ ใหก้ บั ผู้เปน็ หุน้ สว่ น ทุกคนตามสญั ญาทไ่ี ด้ตกลงกนั ไว้ในการจดั ตัง้ หา้ งหุ้นสว่ น แตถ่ า้ ในสญั ญานั้น หนุ้ สว่ นไมไ่ ดต้ กลงกนั ไวใ้ นเร่อื งอตั ราสว่ นแบ่งผลกาไรขาดทนุ ตามกฎหมาย ประมวลแพ่งและพาณชิ ย์ให้ถือปฏิบตั ิโดยการแบ่งตามอัตราสว่ นทนุ

หลกั เกณฑก์ ารแบ่งผลกาไรขาดทนุ เหตผุ ลสาคญั ในการแบ่งผลกาไรขาดทุนของห้างหนุ้ ส่วน ได้แก่ 1. เปน็ คา่ ตอบแทนแก่ผู้เป็นห้นุ ส่วนทีใ่ ห้บริการเป็นสว่ นตัวแก่หา้ งหุ้นสว่ น 2. เป็นคา่ ตอบแทนแก่เงินหรือสินทรัพย์ทีผ่ เู้ ปน็ หนุ้ ส่วนแต่ละคนนามาลงทนุ 3. เปน็ ผลกาไรท่แี ทจ้ ริง และดาเนนิ นโยบายรว่ มกนั ของผเู้ ปน็ หนุ้ สว่ น

หลักเกณฑ์การแบ่งผลกาไรขาดทนุ การแบ่งผลกาไรขาดทุนให้ผ้เู ป็ นหุ้นส่วนนัน้ ควรระบุไว้ในสญั ญาการจัดตงั้ ห้างห้นุ ส่วน ให้ชดั เจน เพ่อื ไม่ให้เกดิ ปัญหาในอนาคต โดยปกตหิ ลักเกณฑ์ การแบ่งผลกาไรขาดทนุ ท่นี ิยมปฏบิ ัตกิ นั มีวธิ ีการแบ่งผลกาไรขาดทุนดงั นี้ แบ่งเท่ากนั แบ่งตามอัตราสว่ นทต่ี กลงกนั แบ่งตามอัตราส่วนทุน คิดดอกเบี้ยทุน แล้วแบง่ ผลกาไรขาดทุนที่เหลือตามอัตราส่วนทต่ี กลงกัน คิดเงินเดือน หรอื โบนัส แลว้ แบ่งผลกาไรขาดทนุ ที่เหลือตามอตั ราสว่ นท่ตี กลงกนั

ตวั อย่างที่ 1 แบ่งเทา่ กนั ปิงปองและโปรดปราน ตกลงเป็นหุ้นส่วนกัน โดยนานาเงินสดมาลงทุน 120,000 บาท รินนาเงินสดมาลงทุน 110,000 บาท ปี 2558 กิจการดาเนินงานมีกาไรสุทธิ 80,000 บาท ตามข้อตกลงของหนุ้ สว่ นให้แบ่งกาไรขาดทนุ เทา่ กนั การบันทกึ บัญชแี บง่ ผลกาไรขาดทุนในสมดุ รายวนั ทว่ั ไป โดยวิธีทนุ เปล่ยี นแปลงจะเปน็ ดงั น้ี สมุดรายวนั ท่วั ไป พ.ศ.2558 รายการ เลขท่บี ญั ชี เดบิต เครดิต สต. เดอื น วนั ที่ บาท สต. บาท ธ.ค. 31 กาไรขาดทุน 80,000 - ทนุ -นา ทุน-แต้ม 40,000 - 40,000 - นาและรินแบ่งผลกไรขาดทนุ

ตัวอยา่ งท่ี 2 แบง่ ตามอตั ราสว่ นทต่ี กลงกัน สุรชาและสุรสา ตกลงเป็นหุ้นส่วนกัน โดยนานาเงินสด สินทรัพย์อ่ืน และ แรงงานมาลงทุน ร่วมกันจานวนหนึ่ง ได้ตกลงแบ่งผลกาไรขาดทุนกันในอัตรา 3:2 ในการ ดาเนนิ งาน ปรากฏว่าห้างหุ้นสว่ นมีกาไรสทุ ธิจานวน 150,000 บาท การบนั ทกึ บญั ชีเป็นดงั น้ี การบันทกึ บญั ชีแบ่งผลกาไรขาดทนุ ในสมดุ รายวนั ทว่ั ไป โดยวธิ ีทุนคงท่ี จะเป็นดังนี้ สมุดรายวนั ทวั่ ไป พ.ศ.2561 รายการ เลขท่ีบญั ชี เดบิต เครดิต สต. เดอื น วนั ที่ บาท สต. บาท ธ.ค. 31 กาไรขาดทนุ 150,000 - กระแสทุน-สรุ ชา กระแสทนุ -สรุ สา 90,000 - 60,000 - แบง่ ผลกไรขาดทนุ ในอัตรา 3:2

แบง่ ตามอัตราสว่ นทนุ ทนุ ณ วนั เริ่มตง้ั กิจการ ทุน ณ วนั ต้นงวดบัญชี ทนุ ณ วันสิ้นงวดบญั ชี ทุน ณ วันสิ้นงวดบัญชี

ตวั อย่างที่ 3 เฟิร์สและโฟร์ เป็นหุ้นส่วนกัน เริ่มจัดตั้งกิจการเม่ือ 1 มกราคม 2557 โดยเฟิร์สลงทุน เงนิ สด 40,000 บาท โฟร์ลงทุน 80,000 บาท ต่อมาห้างหุ้นส่วนดาเนินงานมาระยะหน่ึงจนส้ินงวดบัญชี วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ปรากฏว่ามีผลกาไรสุทธิจานวน 75,000 บาท และบัญชีทุนของห้างหุ้นส่วนมี ดังตอ่ ไปน้ี (หา้ งหุ้นส่วนบันทึกบญั ชวี ิธีทุนเปลี่ยนแปลง

ทนุ ณ วันเรม่ิ ต้งั กจิ การ =1 3 • การคานวณเป็นดงั นี้ ทุน ณ วันเริม่ ต้ังกิจการ - เฟิร์ส = 40,000 =2 - โฟร์ = 80,000 3 รวมทนุ ณ วันเริ่มต้งั กิจการ = 120,000 อัตราสว่ นทนุ ณ วันเริ่มตั้งกิจการ-เฟิรส์ = 40,000 = 1:2 120,000 อตั ราส่วนทุน ณ วนั เริม่ ตัง้ กิจการ-โฟร์ = 80,000 120,000 ดังน้ัน อตั ราส่วนทุน ณ วนั เริม่ กิจการเฟรสิ์ และโฟร์

การบนั ทึกบัญชเี ปน็ ดังนี้ สมุดรายวันทัว่ ไป พ.ศ.2557 รายการ เลขท่ีบัญชี เดบติ เครดิต เดอื น วนั ท่ี บาท สต. บาท สต. ธ.ค. 31 กาไรขาดทุน 75,000 - 25,000 - 50,000 - ทนุ -เฟิรส์ ทุน-โฟร์ แบง่ ผลกำไรขำดทนุ ตำมอตั รำสว่ นทนุ ณ วนั เริ่มตงั้ กจิ กำร 1:2

ตัวอยา่ งที่ 4 ทนุ ณ วนั ตน้ งวดบญั ชี ทุน ณ วนั ต้นงวดบญั ชี - เฟิรส์ = 100,000 - โฟร์ = 160,000 รวมทุน ณ วนั ตน้ งวดบัญชี = 260,000 อตั ราสว่ นทุน ณ วนั ต้นงวดบัญชี-เฟิรส์ = 100,000 = 5 260,000 13 อัตราสว่ นทนุ ณ วันต้นงวดบญั ชี-โฟร์ = 160,000 = 8 260,000 = 13 ดงั นน้ั อตั ราสว่ นทุน ณ วนั ต้นงวดบัญชีเฟิรส์ และโฟร์ = 5:8

การบนั ทึกบัญชเี ป็นดังนี้ สมุดรายวันท่วั ไป พ.ศ.2557 รายการ เลขที่บัญชี เดบิต เครดติ เดือน วันท่ี บาท สต. บาท สต. ธ.ค. 31 กาไรขาดทุน 75,000 - ทนุ -เฟิรส์ 28,846 - 46,154 - ทนุ -โฟร์ แบง่ ผลกาไรขาดทนุ ตามอัตราสว่ นทนุ ณ วัน ตน้ งวดบัญชี 5:8

ตัวอย่างที่ 5 ทนุ ณ วนั ส้ินงวดบญั ชี ทนุ ณ วันสิน้ งวดบัญชี - เฟิร์ส = 120,000 - โฟร์ = 180,000 รวมทุน ณ วันส้นิ งวดบญั ชี = 300,000 อตั ราสว่ นทนุ ณ วันส้นิ งวดบัญชี-เฟิร์ส = 120,000 = 2 300,000 5 อตั ราสว่ นทนุ ณ วันตน้ งวดบญั ชี-โฟร์ = 180,000 = 3 300,000 = 5 ดงั นั้น อัตราส่วนทนุ ณ วนั ต้นงวดบัญชีเฟิร์สและโฟร์ = 2:3

การบันทึกบัญชีเปน็ ดงั น้ี สมุดรายวนั ทวั่ ไป พ.ศ.2557 รายการ เลขท่บี ญั ชี เดบติ เครดิต เดอื น วนั ท่ี บาท สต. บาท สต. ธ.ค. 31 กาไรขาดทนุ 75,000 - ทุน-เฟิรส์ 30,000 - 45,000 - ทุน-โฟร์ แบ่งผลกาไรขาดทุนตามอัตราสว่ นทนุ ณ วนั สิน้ งวดบัญชี 2:3

แบง่ ตามอัตราส่วนทนุ ถัวเฉล่ยี ตวั อย่างท่ี 6 เพชรและแพทเป็นห้นุ สว่ นกัน เร่มิ จดั ต้งั กิจการเมอ่ื 1 มกราคม 2557 โดยเพชรลงทนุ เงินสด 180,000 บาท แพทลงทุน 120,000 บาท ต่อมาห้างหนุ้ สว่ นดาเนนิ งานมาระยะหน่งึ จนสน้ิ งวดบญั ชีวนั ท่ี 31 ธันวาคม 2557 ปรากฏวา่ มีผลกาไรสทุ ธจิ านวน 120,000 บาท และบัญชขี องห้างหุ้นสว่ นมีดังตอ่ ไปนี้ (หา้ งบันทกึ บญั ชีวธิ ีทุนคงที่)

ตวั อย่างท่ี 6 แบ่งตามอัตราสว่ นทนุ ถวั เฉล่ยี พ.ศ. รายการ บญั ชี ทนุ -เพชร เดอื น วนั ท่ี หน้า เดบติ พ.ศ. รายการ หน้า เครดติ ม.ิ ย. 1 ถอนทนุ บญั ชี บาท สต. ก.ย. 1 ถอนทนุ บญั ชี บาท สต. เดอื น วนั ท่ี ร.ว.1 360,000 - พ.ศ. รายการ 92,000 - ม.ค. 1 ยอดยกมา 120,000 - เดอื น วนั ที่ 124,000 - 52,000 - ม.ี ค. 1 ลงทนุ เพ่ิม ก.พ. 1 ถอนทนุ หน้า เครดติ ต.ค. 1 ลงทนุ เพ่ิม บญั ชี บาท สต. บญั ชีทนุ -แพท ร.ว.1 300,000 - 40,000 - หนา้ เดบติ พ.ศ. รายการ 80,000 - 220,000 - บญั ชี บาท สต. เดอื น วนั ที่ 92,000 - ม.ค. 1 ยอดยกมา พ.ค. 1 ลงทนุ เพิ่ม ก.ย. 1 ลงทนุ เพิ่ม ธ.ค. 1 ลงทนุ เพ่ิม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook