Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore International Architecture Design Workshop in 2019 (IADW2019)

International Architecture Design Workshop in 2019 (IADW2019)

Published by Patiphol YODSURANG, 2021-09-04 15:19:56

Description: Book from an International Architecture Design Workshop in 2019 (IADW2019) between Department of Architecture, Faculty of Architecture, Kasetsart University, and the School of Engineering and Information Technology, Semyung University, which is a great opportunity for both universities’ bachelor students to participating in fieldwork at Chachoengsao Municipality to exchange and enrichment of experiences for both students and faculty members.

Search

Read the Text Version

INTERNATIONAL ARCHITECTURAL DESIGN WORKSHOP KASETSART UNIVERSITY AND SEMYUNG UNIVERSITY Chachoengsao 24 - 29 january 2019

IADW 2019 INTERNATIONAL ARCHITECTURAL DESIGN WORKSHOP ผู้แต่ง ภาควิชาสถาปตั ยกรรม คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ปที พี่ มิ พ ์ พ.ศ. 2563 (พิมพ์ครั้งที่ 1) Publisher Department of Architecture, Faculty of Architecture, KASETSART UNIVERSITY Year of Publication 2020 (1st Edition) ISBN e-Book 978-616-278-551-1 URL www.architecture.arch.ku.ac.th

INTERNATIONAL ARCHITECTURAL DESIGN WORKSHOP

Contents 6 8 4 WOuotrlkinsehop PBrroiegfram Foreword 10 18 SDietesisgn Group 1 The open space in front of Chacheongsao Town Hall 52 Group 3 Shop houses and the Crown Property Bureau’s fresh market

34 86 Group 2 Group 5 The development The redevelopment of Bang Pakong of the Tha-yai Market Riverbank and the old in the municipal area municipal pier 70 112 115 Group 4 Lpiasrttiocfipants TShpaecnikasl The old Crown Property Bureau’s market 106 EatxhKiCbCition

Foreword 4 IADW 2019

The International Architectural Design Workshop 2019 (IADW 2019) under the theme “Urban Development in Response to EEC Development Plan” is the second collaborative activity between Faculty of Architecture, Kasetsart University, Thailand, and College of Engineering and Information Technology, Semyung University, South Korea. The two institutions developed the collaborations and officially signed an MoU in 2018. Kasetsart University received a warm invitation to participate in the first student workshop in Jecheon City, Korea in January 2018, and then took turn to host the second workshop which was held in Chachoengsao and Bangkok, Thailand, during January 24-29, 2019. The IADW 2019 workshop selected Chachoengsao Municipality as a working space to challenge workshop participants to use their critical thinking and design creativity to negotiate the province’s rich resources with the upcoming Eastern Economic Development Plan. The successcul final works had been exhibited at KCC in Chachoengsao in early April 2019 to share some proposals and ideas that can be useful for the promising sustainable development of the city. IADW 2019 workshop organization would not have been possible without much support and assistance from several public and private sectors. On behalf of the Department of Architecture, Faculty of Architecture, Kasetsart University, I would like to express our sincere gratitude to Chachoengsao Municipality, Chachoengsao Chamber of Commerce, Knowledge Center of Chachoengsao, Piyaporn Tonkongkarat of Tang Seng Jua, T-Time and Oui J’aime, and Tourism Authority of Thailand. I also would like to thank supports from our partner Semyung University, all the participating tutors and students from SMU and KU, our Dean Asst. Prof. Dr Parames Kamhaengrittirong, the head workshop organizor Asst. Prof. Dr Cuttaleeya Jiraprasertkun and the organizing team, and especially the initiators of this joint workshop tradition, Asso. Prof. Dr Eggarin Anukulyudhathon and Prof. Taeho Kwon. I hope that the collaborations between Semyung University and Kasetsart University will continue in the years to come, and the student works presented in this booklet will reflect the new generations’ hopeful approach towards city development for the benefit of all groups. Asst. Prof. Saithiwa Ramasoot Department of Architecture, Kasetsart University IADW 2019 5

International Architectural Design Workshop (IADW2019) Urban Development in Response to EEC Development Plan, Chachoengsao Host Faculty of Architecture, Kasetsart University Organizing Team Department of Architecture, Faculty of Architecture, Kasetsart University Theme Urban Development in Response to EEC development plan Date 24-29 January 2019 Duration 6 days (excluding a half day trip to an architectural firm in Bangkok for Korean team) Venue Chachoengsao (4 days) and Kasetsart University, Bangkok (2 days) Participants Department of Architecture, Faculty of Architecture, Kasetsart University (KU) Department of Architectural Engineering, College of Engineering and Information Technology, Semyung University (SMU) KU students 20 KU instructors 5 KU organizing team & staffs 7 SMU students 10 SMU instructors 5 SMU staffs 2 Total 49 Area of study City of Chachoengsao (1.30-hr drive, east of Bangkok) Site 1 Open space in front of Chachoengsao Town Hall Site 2 Waterfront promenade along Bang Pakong River Site 3 Shop House Market of the Crown Property Bureau Site 4 The old Crown Property Bureau’s Market (Talad Subsin Kao) Site 5 The old Pier Market (Talad Ta Yai) 6 IADW 2019

Program Schedule Day 1 Thu 24th Jan 2019 06.00-07.00 Semyung Team arrival and transfer to Chachoengsao 09.00-11.00 KU Team departure to Chachoengsao 13.30-15.30 Opening Ceremony at KCC: Welcome address and special lecture on “Public Policy and Visions of Chachoengsao Municipality” by Mr. Kolayuth Chaisang (Mayor of Chachoengsao) 15.30-16.30 Special lecture on “Urban settlements and development in Chachoengsao” by Assoc. Prof. Dr Siriwan Silapacharanan (CU) 16.30-17.30 Team announcement 18.00-20.00 Welcome dinner sponsored by Chachoengsao Municipality Day 2 Fri 25th Jan 2019 9.00-12.00 Sites visitation and City Tour 13.00-13.30 Special lecture on “Urban Regeneration: Theory and Methods” by Assoc. Prof. Dr Eggarin Anukulyudhdthon (KU) 13.30-14.00 Special lecture on “Water-Based Settlements: the Case of Central Lowland and Bangpakong River” by Dr Patiphol Yodsurang (KU) 14.00-18.00 Group work at T-Time 18.30-20.30 Visit to “Many Cuts Art Space” by Ajarn Jo and welcome dinner sponsored by the Chamber of Commerce, Chachoengsao 21.00-24.00 Group work at T-Time 21.00-22.00 Tutor’s meeting at T-Time Day 3 Sat 26th Jan 2019 9.00-12.00 Site survey and data collection 13.00-20.00 Group work at T-Time 19.00-20.00 Tutor’s meeting at T-Time Day 4 Sun 27th Jan 2019 9.30-11:30 Public interim presentation by each group at KCC, attended by Deputy Mayor of Chachoengsao 11.35-12.00 Ending session 14.00-15.00 Field trip to Ban-Mai Market 15.00-16.30 Transfer Back to BKK Day 5 Mon 28th Jan 2019 9.00 onwards Group work at Studio 5th floor, Arch Bldg. Day 6 Tue 29th Jan 2019 9.00-11.30 Preparation for Final Presentation 12.30-13.00 Final Presentation by each group, attended by Mayor of Chachoengsao, Dean Parames Kamhangrittirong (KU), Tung Seng Jua, KU Team, Semyung Team at Thongpan Meeting Room 2nd floor Arch Bldg 16.00-16.30 Closing session: Summary and Collaborations collaboration remarks by Assoc. Prof. Eggarin Anukulyudhdthon (KU) and Prof. Kwon Taeho (SEM) 18.00-20.00 Farewell Dinner at Bang Bua Restaurant Note : KCC - Knowledge Center of Chachoengsao Arch Bldg. – Faculty of Architecture Building, Kasetsart University IADW 2019 7

Program Brief Chachoengsao or Pad Rew is a province located in the Eastern Region of Thailand, about one hour drive to the east of Bangkok, Thailand’s capital City. Chachoengsao’s recorded history can be dated back to at least 500 years ago as a fourth-class city in Ayutthaya Period. With its lush environment on Bang Pakong river basin and easy access to the sea, Chachoengsao was suitable not only for living and agriculture but also as a port and international trade outlet. It was later upgraded as a frontier town. City wall with fortresses were built in 1834 before it adopted a status of a city in the Prachin Buri Circle in the reign of King Rama V. Chachoengsao has eventually become a province since 1916. Bang Pakong riverside markets and port to trade with Chinese were early settlements that mark the commercial and cultural center of Chachoengsao. Bang Pakong river bank is also the location for the administrative offices and governmental sectors up until today. The present-day Chachoengsao province covers the area of over 5,351 sq.km. with population of over 700,000 persons. It consists of 11 districts (Amphoe), 93 sub-districts (Tambon) and 859 villages (Muban). Famous for agricultural products, the province is Thailand’s important low river plain area perfect for rice farming, river fisheries as well as livestocks. The agricultural subsistences directly associate with Chachoengsao’s rich environmental resources. The province also has several well-known cultural attractions, especially Buddhist temples and old markets. Such attractions, the peaceful local atmosphere and the simple ways of life here draw a large number of visitors to travel to Chachoengsao, in particular during weekends. However, the modern Chachoengsao is moving forward for the future. With its high potential in transit to Bangkok and the Northeasten and Eastern Thailand, the province is developing itself in response to urban growth and economic expansion. Chachoengsao is among three eastern provinces designated for the Eastern Economic Corridor (EEC), a pilot project for the economic development of Thailand’s Eastern Seaboard. Over the past 30 years, these three provinces have been developed to support the fast-growing industries, including measures and facilities such as public utilities, transportation systems, logistics, human resources, and investor’s facilitation. 8 IADW 2019

The provisions will ultimately support the EEC as a modern metropolitan, a hub of trade and investment, a center for regional transportation and logistics, a significant source for human resources, a tourist attraction and most importantly, the most modern Gateway to Asia. Designated as a residen- tial area and smart city to accommodate future EEC populations, Chachoengsao expects vast investments following developing transportation networks. The province also has visions in revitalizing its administrative center and surrounding areas to encourage better quality of life. For example, public facilities, open spaces and learning center. A range of creative projects have been initiated by governmental organizations in collaboration with institutions, private sectors, individuals and new generations to open up Chachoengsao for dynamic thoughts and activities. These facilities will not only improve happiness and health of the local people of Chachoengsao for contemporary living, but also prepare them for the upcoming change while cherishing the prov- ince’s valuable cultural backgrounds and resources. But what kind of development is sustainable enough to negotiate the different needs between the locals, visitors and investors; and between existing lifestyles and future movements. IADW 2019 Workshop then questions the future of Chachoengsao and its potential transformations to balance old and new urban development in response to EEC Development Plan. Five different sites in Chachoengsao Municipality have been selected to challenge workshop participants to analyze their conditions and propose appropriate design for the revitalization, as follows. Site 1: Open space in front of Chachoengsao Town Hall Site 2: Waterfront promenade along Bang Pakong River Site 3: Shop House Market of the Crown Property Bureau Site 4: The old Crown Property Bureau’s Market (Talad Subsin Kao) Site 5: The old Pier Market (Talad Ta Yai) IADW 2019 9

5 designated study sites and group allocation 10 IADW 2019

IADW 2019 11

Site 1 Open space in front of Chachoengsao Town Hall Location 13.688480, 101.069026 Na Mueang, Mueang Chachoengsao District Chachoengsao Total area 62,436 sq.m. Land use Blue zone (Government area) and Light green (for outside activities and protected environment) Keywords and issues for design Surrounded government buildings Central area for Chachoengsao’s people Public space for communities and other users 12 IADW 2019

Site 2 Waterfront promenade along Bang Pakong River Location 189 Maruphong Rd, Tambon Na Muang, Amphoe Mueang Chachoengsao Total area 20,844 sq.m. Land use Community zone Keywords and issues for design Design for resilience Everyday life activities according to the weather Expansion of space usable period Flexible design for special events IADW 2019 13

Site 3 Shop House Market of the Crown Property Bureau Location 13.691270, 101.079304 Na Mueang, Mueang Chachoengsao District, Chachoengsao Land use Red Zone – High density residential area, Blue Zone – Government area Keywords and issues for design Urban Renewal Renovation / Regeneration Shophouses

Site 4 The old Crown Property Bureau’s Market (Talad Subsin Kao) Location 13.691412, 101.082098, Phanit Rd, Tha-Khai Fresh Food Market, Mueang Chachoengsao District, Chachoengsao Total area 1500 sq.m. Land use Market Keywords and issues for design Old structure Renovation Design for multi-purpose functions

Site 5 The old Pier Market (Talad Ta Yai) Location N13a°4M1u’2e4a.1n”gN, 101°04’58.2”E, Mueang Chachoengsao District, Chachoengsao Land use Red zone and high density residential area Keyword for Design Gentrification Mixed-use buildings Informal street food stalls Old shophouses 16 IADW 2019



1GROUP “ The Open space in front of Chacheongsao Town Hall ” 18 IADW 2019

Team Members Tutors Hyeonsu Kim Sunbin Lee Patiphol Yodsurang Nichanan Siriwan Suthikorn Boonyapana Tawan Sangsurane Sirapatsorn Patikae IADW 2019 19





GROUP 1 The Open Space in front of Chacheongsao Town Hall พ้ืนทส่ี นามหนา้ ศาลากลางจงั หวัดฉะเชงิ เทรา The proposed design of the open การออกแบบสนามหน้าศาลากลางจังหวัด space in front of Chacheongsao Town ฉะเชิงเทราเป็นการออกแบบพื้นที่สาธารณะขนาด Hall, which is a large public space at the ใหญ่ใจกลางเมืองฉะเชิงเทราท่ีแตกต่างและมีความ center of Chachoengsao Municipality, หลากหลาย ทง้ั ในแงข่ องการใชง้ าน ระยะเวลา ลกั ษณะ focuses on creating diversity of usage, ของกิจกรรม และผู้ใชง้ าน อีกทง้ั ยังตอ้ งคำ�นึงถงึ การ duration and characteristics of activities ออกแบบเพอ่ื รองรบั การเพมิ่ ขนึ้ ของผใู้ ชง้ านในอนาคต and users. Besides, it concerns the future และแก้ไขปัญหาเชิงพื้นท่ีอีกด้วย การออกแบบได้ scenarios of increasing users as well as พยายามจดั การพนื้ ทโี่ ดยการออกแบบพน้ื ทตี่ า่ งระดบั to solve possible spatial problems. Thus, และสรา้ งเครอื ขา่ ยเสน้ ทางสญั จรใหมท่ ใี่ ชเ้ ปน็ ทงั้ ทางลดั the project tries to organize the site by และขอบเขตการแบง่ พน้ื ทใ่ี หเ้ ปน็ สดั สว่ นโดยการคำ�นงึ providing multi-leveling spaces and net- ถงึ ผใู้ ชง้ านในอนาคตเปน็ หลกั เพอื่ ใหต้ อบสนองตอ่ รปู work shortcuts to enable accessibility of แบบของวิถีชวี ิตและการใชง้ านในอนาคต several areas to respond to a new lifestyle and future uses. 22 IADW 2019

Site Information ขอ้ มลู เบือ้ งต้นของพื้นที่ The open space in front of พ้ืนท่ีโครงการเป็นพ้ืนที่สาธารณะของจังหวัด Chachoengsao Town Hall is located in ฉะเชงิ เทราทอี่ ยดู่ า้ นหนา้ ศาลากลางจงั หวดั ลอ้ มรอบ the heart of the city where most of the ไปดว้ ยอาคารราชการ และพนื้ ทโ่ี ครงการเปน็ สว่ นหนง่ึ local activities and festivals take place. ของสวนสาธารณะเฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระศรนี คริ It is surrounded by government buildings นทราบรมราชชนนี 80 พรรษา พื้นที่โครงการเดิม and is a part of Somdej Phra Srinakarin รองรับกจิ กรรมหลากหลาย โดยเฉพาะการเป็นพน้ื ที่ Park. The area supports a variety of จัดกิจกรรมตามเทศกาลตา่ งๆ ของทางจงั หวดั ทเ่ี กิด activities such as events and festivals of ขึ้นระหว่างปี นอกจากน้ันยังเป็นพื้นที่สำ�หรับออก Chachoengsao Municipality throughout กำ�ลังกาย เช่น ฟุตบอล วิ่ง และป่ันจักรยาน รวม the year. Besides, the space also acts as ท้ังเป็นท่ีจอดรถของผู้ที่เข้ามาใช้งานสถานท่ีราชการ sports and recreation area for local peo- รอบๆ อกี ดว้ ย พนื้ ทโี่ ครงการทำ�หนา้ ทเ่ี ปน็ พนื้ ทส่ี ำ�หรบั ple such as football, running and cycling. พบปะและทำ�กิจกรรมต่างๆ ร่วมกันของคนในเมือง However, a large area is used as the car ฉะเชิงเทรา จึงนำ�มาสู่แนวคิดในการพัฒนาพ้ืนที่ให้ parking space for government office visi- ตอบรบั กบั กจิ กรรมทห่ี ลากหลายอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ tors. How the present-day space supports และนา่ สนใจ อกี ทง้ั ยงั สนบั สนนุ กจิ กรรมดา้ นความคดิ activities and interactions between dif- สร้างสรรค์ของคนในเมือง ferent groups of local people leads to the ideas to develop physical characteristics and programming of the space to better support the diverse activities efficiently while providing spaces for more creative activities in the future. IADW 2019 23

Area Development แนวคดิ การพัฒนาพ้ืนท่ี The future scenarios of Chacho- จากความต้องการท่ีจะพัฒนาปรับปรุงพ้ืนที่ให้ engsao was taken into consideration. รองรับความต้องการใช้งานท่ีหลากหลายของคนใน The urban development plan of the city แต่ละกลุ่ม แต่ละช่วงวัยอย่างมีประสิทธิภาพและส่ง will, indeed, improve logistics and pub- เสริมกิจกรรมเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของ lic transportation in response to EEC คนในเมือง รวมทั้งพยายามแก้ปัญหาการซ้อนทับ programme and systems. The project ของเส้นทางสัญจรของรถยนต์และคนเดินเท้าที่มา intended to improve the area to support ใช้งานในพ้ืนที่ แนวคิดในการออกแบบจึงมุ่งเน้นไป needs of a variety of people in the city ที่การปรับปรุงลักษณะพ้ืนท่ีใหม่ให้เหมาะสมกับการ in the future – gender, age and diversity. เป็นพ้ืนท่ีออกกำ�ลังกายในช่วงเวลาปกติและรองรับ Besides it tries to solve the existing situa- เทศกาลกจิ กรรมตา่ งๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในชว่ งปี รวมทง้ั ปจั จยั tions regarding overlapping traffic of cars ในอนาคตเพื่อรองรับแผนพัฒนาและปรับปรุงเมืองท่ี and of pedestrians. Therefore, the design จะพัฒนาด้านของระบบขนส่งสาธารณะในเมืองเพ่ือ process was focused on improving the รองรับการขยายตัวของประชากร จึงได้ย้ายตำ�แหนง่ new and innovative space for the future พ้ืนท่ีสำ�หรับจอดรถยนต์ส่วนตัวออกไป เพ่ือความ scenarios through different functions ปลอดภยั และสะดวกตอ่ ผทู้ เี่ ขา้ มาออกกำ�ลงั กายหรอื i.e. sports, recreations, activities, fes- จัดกิจกรรมและงานเทศกาลต่างๆ มากข้ึน อีกทั้งได้ tivals and possibility to be redesigned ออกแบบการสญั จรภายในพนื้ ทโ่ี ครงการใหม่ โดยนำ� in different ways. Thus, the concept of เสนอเสน้ ทางทเี่ ปน็ เสน้ ทางลดั ในการเดนิ เชอ่ื มจดุ ตา่ งๆ space development is to enable users to เพอื่ ความสะดวกและไมไ่ ปซอ้ นทบั กบั การทำ�กจิ กรรม access various activities via multilevel อนื่ รวมทง้ั ไดแ้ บง่ พนื้ ทก่ี จิ กรรมตา่ งๆ ในพน้ื ทข่ี องการ spaces and provide shortcuts between ให้เป็นสัดส่วนมากขนึ้ different nodes, to create more interest- ing, immersing and interacting qualities with formal/informal space. 24 IADW 2019

ระบุพนื้ ทโี่ ดยรอบบรเิ วณหนา้ ศาลากลางจงั หวดั โดยสว่ นใหญ่เป็นอาคารราชการ A. Images showing activities that occur within the area A. Car parking area B. Sports activity in the area C. Event space for festivals and activities ภาพแสดงการใช้งานในปจั จบุ นั A. พนื้ ทจี่ อดรถ B. พื้นทอ่ี อกกำ�ลังกาย ไดแ้ ก่ สนามฟุตบอล และทางว่ิง C. พื้นทีจ่ ัดกิจกรรมตา่ ง ๆ เช่น งานกาชาด หรืองกิจกรรมตามเทศกาล B. C. IADW 2019 25

Design Concept ​Design concept is to provide more แนวคดิ การออกแบบ greenery spaces and to increase trees in order to create more shading that lets 26 IADW 2019 people use the open space in front of Chachoengsao Town Hall during the day- time. Also, we improve the walking path to make it more flexible and adaptable to the new functions for each activity. A network of shortcuts is designed to support a variety of people and future activities, while preventing the conflict of overlapping uses that could diminish privacy and practicality of spaces. เนอื่ งจากลกั ษณะทางกายภาพของพน้ื ทโี่ ครงการ ปัจจุบันเป็นที่โล่งกว้างและมีต้นไม้บางส่วน พ้ืนที่ โครงการมีอากาศร้อนจัดในเวลากลางวัน การรับ แสงแดดตลอดทั้งวันทำ�ให้พื้นดาดแข็งสะสมและคาย ความร้อนออกมาในช่วงเย็นในช่วงที่มีผู้มาใช้บริการ ออกกำ�ลังกาย ซึ่งไม่เหมาะสำ�หรับการทำ�กิจกรรม ในบางช่วงเวลา การออกแบบทางกายภาพของพ้ืนท่ี โครงการใหม่เน้นไปที่การเพิ่มพื้นท่ีสีเขียวของต้นไม้ เพอ่ื สรา้ งรม่ เงาทำ�ใหบ้ รรยากาศในความรม่ รนื่ ในพน้ื ท่ี เพื่อขยายช่วงเวลาให้คนเข้ามาใช้งานและยังเป็นการ เพิ่มพื้นท่ีสำ�หรับการพักผ่อนและพบปะหรือทำ� กจิ กรรมรว่ มกนั ของกลมุ่ เพอื่ นหรอื ครอบครวั รวมทง้ั การปรบั ปรงุ เสน้ ทางเดนิ ใหเ้ ปน็ สดั สว่ นแยกการใชง้ าน ของแต่ละกจิ กรรม เชน่ การเดิน การวงิ่ หรือการปนั่ จักรยานเพ่ือความปลอดภัยและความสะดวกสบาย โดยยงั ไดอ้ อกแบบเสน้ ทางทเี่ ปรยี บเสมอื นเสน้ ทางลดั ในการเชอื่ ถนนเขา้ ถงึ จดุ ตา่ งๆ เพอื่ ความรวดเรว็ และไม่ ทับซ้อนกับผู้ที่กำ�ลังออกกำ�ลังกาย และแบ่งพ้ืนท่ีใน การทำ�กิจกรรมตา่ งๆ อย่างเปน็ สัดส่วน เหมาะสมกบั แต่ละกิจกรรมเพื่อรองรับกิจกรรมในอนาคตท่ีหลาก หลายในแต่ละช่วงเวลา

Present zoning การวางผงั ปจั จุบนั Reorganised zoning การจดั ระบบผงั บริเวณใหม่ IADW 2019 27

Detailed Design การออกแบบรายละเอยี ด แสดงแผนผังของโครงการที่ปรบั ปรงุ แลว้ ภาพแสกงการจัดพน้ื ทใี่ ช้งาน 28 IADW 2019

พ้ืนทสี่ ีเขยี วหลงั ปรับปรุง ​ลักษณะทั่วไปของการออกแบบทางกายภาพมี พ้นื ทรี่ ิมน้ำ�หลังปรบั ปรุง ต้นไม้มากขนึ้ สร้างร่มเงาให้กบั ผ้ทู ่ีเข้ามาใชง้ าน ทำ�ให้ พ้ืนทีภ่ ายในสวนหลังปรบั ปรงุ บรรยากาศมีความร่มรื่นเย็นสบายน่าใช้งานมากข้ึน รวมทั้งแบ่งเส้นทางการสัญจรของแต่ละกิจกรรมเป็น สัดส่วน เช่น การว่ิงออกกำ�ลงั กาย ปัน่ จักรยาน การ เดิน หรือการซ้อมฟุตบอล ทำ�ให้การใช้งานน้ันนั้นมี ประสิทธิภาพมากข้ึนและมีความปลอดภัยไม่ทับซ้อน กัน พื้นท่ีสำ�หรับกิจกรรมท่ีรองรับเทศกาลต่างๆ ได้ แบ่งออกเป็นสามส่วนใหญ่ๆ เพื่อรองรับขนาดของ กิจกรรมที่ไม่เท่ากันในแต่ละเทศกาล และมีความ ยืดหยุ่นในการใช้งาน รวมท้ังออกแบบพื้นท่ีสำ�หรับ ค้าขายร่วมกับพ้ืนท่ีทางเข้าร่วมกันอย่างเป็นสัดส่วน ทำ�ใหไ้ มซ่ อ้ นทบั กบั การใชง้ านอนื่ และควบคมุ ไดง้ า่ ยขนึ้ ผังหลักระดับพื้นของพื้นท่ีโครงการเน้นความ เป็นแกนสมมาตรเพ่ือยังคงความเป็นเอกลักษณ์ของ สถานทร่ี าชการ ทตี่ อ้ งการความเปน็ ทางการในการจดั กจิ กรรมเฉพาะหลายอยา่ ง และไดอ้ อกแบบพน้ื ทสี่ ำ�หรบั กจิ กรรมเพอ่ื พฒั นาความคดิ สรา้ งสรรคข์ องคนเมอื ง ดา้ นลา่ ง บนแนวคดิ การออกแบบพน้ื ทต่ี า่ งระดบั กนั กนั พน้ื ทท่ี เี่ ปน็ ทางการดา้ นบน เพอ่ื การแสดงออกถงึ ความ อสิ ระเสรผี า่ นการจดั กจิ กรรมในพนื้ ทท่ี ไ่ี มเ่ ปน็ ทางการ เพอื่ พฒั นาความคดิ สรา้ งสรรคข์ องคนเมอื ง และพน้ื ที่ ทง้ั สองไดเ้ ชอ่ื มตอ่ พนื้ ทใี่ นแนวระนาบและสามารถเขา้ ถงึ ไดง้ า่ ย เปดิ สพู่ นื้ ทส่ี าธารณะ มองเหน็ ไดง้ า่ ย ชดั เจน และ ไม่แยกออกกับบริบทโดยรอบ โดยมีพ้ืนที่สำ�หรับการ ออกกำ�ลงั กายกลางแจง้ ทอ่ี ยตู่ ดิ กบั พนื้ ทส่ี นามเดก็ เลน่ สำ�หรบั ครอบครวั พนื้ ทจ่ี ดั แสดงกลางแจง้ สำ�หรบั ผคู้ น ในเมืองที่ต้องการมาปลดปล่อยความคิดสร้างสรรค์ และคนภายนอกกย็ งั สามารถดกู จิ กรรมไดจ้ ากดา้ นบน พนื้ ทพี่ กั ผอ่ นรมิ นำ้ �ทเี่ ปน็ สดั สว่ นและมคี วามสวยงามก็ ทำ�ให้น่าใชง้ านมากข้นึ อกี ดว้ ย IADW 2019 29

Riverside seating area พน้ื ท่พี ักผอ่ นบริเวณใกลค้ ูนำ้ � ​ภาพทัศนียภาพแสดงบรรยากาศริมน้ำ� รอบๆ สวน สาธารณะโดยแต่เดิม พื้นที่ใกล้น้ำ�จะไม่ค่อยมีการ ใช้งานเน่ืองด้วยสภาพอากาศที่ร้อนจัด การเปลี่ยน ลักษณะของระดบั และโครงสรา้ งเฟรมจะเป็นสว่ นชว่ ย ในการเชิญชวนใหผ้ ู้คนมาร่วมใช้งาน Riverside market area พ้นื ท่ขี ายของริมนำ้ � ​พ้ืนที่ทางราบท่ีด้านหัวมุมของสวนสาธารณะถูกเพิ่ม ขน้ึ มาเพอ่ื ลดการชนกนั ของคนทใ่ี ชง้ านออกกำ�ลงั กาย ของผู้คนบนถนนกับรถเข็นขายของรวมท้ังสามารถ จดั งานในวนั สำ�คญั Street Art Gallery พน้ื ที่งานศลิ ปะ ภาพทัศนียภาพแสดงบรรยากาศพ้ืนท่ีสำ�หรับกการ จัดแสดงงานศิลปะแบบ Street Art 30 IADW 2019

Design Outcomes ประโยชน์ท่ีชุมชนจะได้รับจากการพฒั นาพ้ืนที่ 1. The increase of flexibility and 1. สามารถใชง้ านพนื้ ทีโ่ ครงการได้หลากหลาย functionality of space ยดื หยุ่นและมีประสิทธิภาพ 2. The extension of the usable hours 2. ขยายขอบเขตของชว่ งเวลาการใช้งาน 3. Accessibility and a variety 3. การเขา้ ถงึ พืน้ ที่ไดส้ ะดวกและรองรับกจิ กรรมท่ี of supported activities หลากหลายในอนาคต 4. Supporting and promoting the 4. มีพ้นื ท่ีท่ีสนบั สนุนกิจกรรมเพือ่ ส่งเสริมความ innovative and creative spaces คิดสรา้ งสรรค์ของคนในเมือง for local people 5. ส่งเสรมิ ทศั นยี ภาพของพ้ืนทร่ี าชการให้มีความ 5. The promotion of better environ- ment of the government area that สวยงามนา่ ใช้งาน is friendlier and livelier IADW 2019 31





2GROUP “ The Development of Bang Pakong Riverbank in the Municipal Area ” 34 IADW 2019

Team Members Tutors Jieun Kim Joowoo Kim Thitiwoot Chaisawataree Eunbin Park Nutthawadee Sombutsuwan Chanikan Wichanphon Jakgapong Kaewmanee Pearnaree Singwijan IADW 2019 35





Group 2 The Development of Bang Pakong Riverbank in the Municipal Area โครงการพฒั นาพ้ืนทีร่ มิ แม่น้ำ�บางปะกงในเขตเทศบาล The area along the 800-meter-long ​พื้นท่ีริมแม่น้ำ� บางปะกงบริเวณเขตเทศบาล ได้มี riverbank of Bang Pakong river in the การพัฒนาจากพื้นที่อยู่อาศัยบุกรุกริมแม่น้ำ�ให้เป็น municipal area has been developed from พื้นที่ว่างสาธารณะ สำ�หรับประชาชนในการประกอบ residential area to public area for rec- กจิ กรรมนนั ทนาการ และการจดั เทศกาลตา่ งๆ ประจำ� reational and annual cultural activities. ปี แตเ่ นอ่ื งดว้ ยการใชง้ านในปจั จบุ นั มลี กั ษณะเปน็ พน้ื ท่ี Because of the openness and lacking โลง่ เปน็ สว่ นใหญจ่ งึ ไมส่ ามารถใชง้ านไดโ้ ดยเฉพาะเวลา of shade, the area is not suitable to be กลางวนั และยงั ขาดการกำ�หนดรายละเอยี ดการใชง้ าน used during the day. There is a lack of ของพ้ืนท่ีให้เกิดความเชื่อมโยงกับสถาปัตยกรรมใน clear designation of area usage that พ้นื ท่รี ิมนำ้ �ตลอดความยาวของพ้ืนที่ประมาณ 800 would connect space to the surrounding เมตร architecture. ​แนวความคิดในการพัฒนาพ้ืนที่ยังคงกิจกรรม The development concept then aims หลกั ของพน้ื ทใ่ี นการเปน็ พน้ื ทส่ี าธารณะรมิ นำ้ �แตม่ กี าร to retain the existing public space func- จัดระบบการใช้พ้ืนท่ีให้มีประสิทธิภาพตามช่วงเวลาที่ tion but will reorganize it to match with สมั พนั ธก์ บั กจิ กรรมรอบๆ พน้ื ที่ ทำ�ใหส้ ามารถรองรบั scheduled activities of surrounding the ผู้ใช้งานได้หลายกลุ่มมากข้ึนและมีการออกแบบองค์ area in order to efficiently serve wider ประกอบทางสถาปตั ยกรรมใหเ้ กดิ การรบั รแู้ ละสะทอ้ น groups of users. The proposed architec- เน้อื หาทางประวัติศาสตรข์ องพื้นทีบ่ ริเวณนีไ้ ด้ tural elements will represent the historical value of the area. ​การออกแบบได้มีการแบ่งการใช้ประโยชน์พื้นที่ ใหช้ ดั เจนและยงั คงใหม้ คี วามเชอ่ื มตอ่ ของพนื้ ทต่ี ลอด As a result, the area usages are spec- ความยาวตามแม่นำ้ � นอกจากน้ี การออกแบบองค์ ified and continuingly connecting the ประกอบทางสถาปตั ยกรรมโดยใชก้ ระจกเงาและผนงั ที่ river flow. Mirrors and walls in different มคี วามสงู ตา่ งๆ กนั เพอ่ื ใหเ้ กดิ การแบง่ การใชส้ อยพน้ื ท่ี heights and shapes are used to identify การกำ�หนดขอบเขต การสะทอ้ นและการมองผา่ น เพอ่ื the uses and boundaries, while reflection ใหเ้ กดิ การรับรแู้ ละสรา้ งความนา่ สนใจของพน้ื ที่ and transparency will help create recog- nition and attraction. 38 IADW 2019

IADW 2019 39

Site Information ขอ้ มูลเบ้อื งต้นของพ้นื ที่ T​ his study site is the Bangpakong riv- ​พ้ืนที่ศึกษาคือพื้นท่ีสาธารณะริมแม่น้ำ� บางปะกง erfront public space. This site has been ท่ีออกแบบมาเพื่อรองรับการจัดเทศกาลต่างๆ พื้นท่ี designed to organize public festivals or ส่วนใหญ่จึงเป็นพื้นที่โล่ง อีกท้ังยังเป็นพื้นที่ดาดแข็ง events. Most of areas are open space. เป็นส่วนใหญ่เน่ืองจากป้องกันการกัดเซาะของแม่น้ำ� However, due to coastal erosion, there are ทำ�ใหพ้ นื้ ทสี่ าธารณะนไี้ มไ่ ดถ้ กู ใชง้ านอยา่ งเตม็ ทตี่ ลอด the use of hardscape pavement and bar- ท้ังวัน เนื่องจากมีอากาศร้อนในช่วงเวลาเที่ยง โดย rage along the riverbank. Consequently, ในอดตี พ้ืนทใี่ นบริเวณนน้ี ้ัน เปน็ แม่น้ำ�ริมกำ�แพงเมอื ง the physical characteristics affect to the เมอื่ เวลาผา่ นไปบรเิ วณรมิ น้ำ�เดมิ ไดก้ ลายเปน็ พนื้ ทอ่ี ยู่ time of use because the space is too hot อาศยั และพฒั นามาเปน็ พนื้ ทพี่ กั ผอ่ นรมิ นำ้ �ในปจั จบุ นั for any activity during day time, espe- cially at noon. In the past, this area was a part of Bangpakong river adjacent to the city wall. As time passed, this area became residential area before the old residents moved out and it has been developed as public space until now. 40 IADW 2019

Area Development แนวคดิ การพฒั นาพื้นที่ Re-organize the activity area and intro- duce new usage system. The existing activities along the river will remain same as now. คงกจิ กรรมและการใชง้ านเดมิ ทเี่ กดิ ภายในพน้ื ทร่ี มิ น้ำ� ไวแ้ ละจัดระบบใหม่ Improve the efficiency of the activity areas by expanding the possible time of use to suit the various uses of the var- ious users เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการใชง้ านของพนื้ ทใี นชว่ งเวลากลาง วนั และตอบรบั รปู แบบการใชง้ านที่ หลากหลายของผู้ ใชง้ านหลายกลมุ่ Enhance environmental aesthetics to develop this place as a tourist destination เพม่ิ สุนทรียภาพใหก้ ับผู้ทีม่ าใช้งานและทำ�ใหพ้ ้นื ที่นีก้ ลายเปน็ จุดหมายของนักทอ่ งเทีย่ วได้ IADW 2019 41

Design Concept แนวคิดการออกแบบ The new design aims to re-organize จัดพ้ืนท่ีใหม่ให้สอดคล้องกับกิจกรรมเดิมของ the area according to the present-day พน้ื ทท่ี ม่ี อี ยู่ โดยพยายามทำ�ใหส้ ามารถใชง้ านไดต้ ลอด activities. It tries to increase the space ทั้งพ้ืนที่ผ่านทางแนวคิดสำ�คัญ คือการนำ�กระจกมา efficiency to the fullest. The main point เป็นองค์ประกอบหลักในการสร้างการสะท้อนส่ิงท่ี of the design is to propose the installation เคยเป็นในอดีตที่ผ่านมา ภาพท่ีสะท้อนบนกระจกจึง of mirrors in different angles in the open ให้ความรู้สึกเหมือนม่น้ำ�เชื่อมต่อกับกำ�แพงเมือง ผู้ space. The mirrors’s reflections portray ใช้งานจึงเหมือนได้ย้อนกลับไปเดินอยู่ในอดีตอีกครั้ง the old image of the area as it was in the ซึ่งเป็นการดึงดูดให้คนเข้ามาใช้งานในพ้ืนที่ และให้ผู้ past: the river was close and connected to ใช้งานอยากที่จะใช้งานท้ังพื้นท่ี โดยผ่านการชมรูป the city wall. This will create the sense like แบบประวัติศาสตร์ ท่ีวางอยู่ตลอดแนวพ้ืนที่ อีกท้ัง ‘a time travel’ and attract people to walk ยังทำ�ให้ตัวกระจกเป็นส่วนหนึงในการเพ่ิมร่มเงาและ through history along Bangpakong river. พื้นที่พักผ่อน จึงออกแบบให้น่ังพักผ่อนได้โดยมีร่ม Besides, the mirror has been designed to เงาของต้นไม้อยดู่ ว้ ย create more shadow and act as seatings under the tree shades. 42 IADW 2019

In the past, river adjacent the city wall พนื้ ที่ในอดีต แมน่ ำ้ �ติดกำ�แพงเมอื ง Became the residential area พ้นื ทใ่ี นอดีต กลายเป็นท่ีอยอู่ าศยั Nowadays, riverfront public space พน้ื ทใ่ี นปัจจบุ นั สถานท่ีพักผ่อนรมิ แม่นำ้ � Development แนวทางการพัฒนา IADW 2019 43

Detailed Design การออกแบบรายละเอียด R​ e-organize by thinking about more vehicles in the future การจัดวางพนื้ ทใ่ี ชง้ าน มกี ารเพิ่มพ้ืนท่ีจอดรถ 44 IADW 2019

Pattern of the mirror planes and how to organize the pavilion 1 รูปแบบเพลนกระจก และการจดั เรียงของทน่ี ่งั รปู แบบ 1 IADW 2019 45

Pattern of the mirror planes and how to organize the pavilion 2 รูปแบบเพลนกระจก และการจดั เรยี งของที่น่ังรูปแบบ 2 46 IADW 2019

Inside-in view Outside-in view IADW 2019 47

Design Outcomes ประโยชน์ที่ชมุ ชนจะไดร้ ับจากการพฒั นาพื้นที่ Planting more trees to increase shaded and green areas การปลูกตน้ ไม้เพ่ือเพิ่มร่มเงาและพนื้ ท่สี ีเขยี ว Having a functional public space that can be used in wider activities and longer hours มพี น้ื ท่สี าธารณะท่สี ามารถใช้งานได้มปี ระสิทธภิ าพมากข้นึ ท้ังพนื้ ท่ีกิจกรรมและช่วงเวลา 48 IADW 2019


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook