หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 ร่างกายของเรา แผนฯ ท่ี 4 ระบบยอ่ ยอาหาร (1) ใบงานท่ี 2.2 ระบบย่อยอาหาร คาชี้แจง : ให้นักเรียนติดภาพอาหาร แล้วเขียนประเภทของสารอาหารลงในช่องว่าง จากน้ันให้ระบุว่าสารอาหาร แตล่ ะชนดิ ถูกย่อยที่อวัยวะใดบ้าง และอวยั วะน้ันมีวธิ กี ารย่อยอาหารอยา่ งไร อาหาร สารอาหาร อวัยวะที่ย่อย/ดดู ซึม การยอ่ ยอาหาร เชิงกล เชงิ เคมี 98
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 ร่างกายของเรา แผนฯ ท่ี 4 ระบบยอ่ ยอาหาร (1) ใบงานท่ี 2.2 เฉลย ระบบย่อยอาหาร คาช้ีแจง : ให้นักเรียนติดภาพอาหาร แล้วเขียนประเภทของสารอาหารลงในช่องว่าง จากนั้นให้ระบุว่าสารอาหาร แต่ละชนดิ ถูกยอ่ ยทอ่ี วยั วะใดบ้าง และอวยั วะนนั้ มวี ธิ ีการยอ่ ยอาหารอย่างไร อาหาร สารอาหาร อวัยวะท่ยี ่อย/ดดู ซึม การยอ่ ยอาหาร เชงิ กล เชงิ เคมี คาร์โบไฮเดรต ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลาไส้เล็ก โปรตนี ปาก ไขมัน หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลาไส้เลก็ วติ ามนิ ปาก เกลอื แร่ หลอดอาหาร ลาไส้เล็ก วิตามนิ ปาก นา้ กระเพาะอาหาร ลาไส้เล็ก 99
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 ร่างกายของเรา แผนฯ ท่ี 4 ระบบยอ่ ยอาหาร (1) บตั รภาพระบบย่อยอาหาร 100
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 รา่ งกายของเรา แผนฯ ท่ี 4 ระบบย่อยอาหาร (1) บตั รภาพอาหาร 101
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 รา่ งกายของเรา แบบบนั ทึกหลังแผนการจัดการเรียนรู้ แผนฯ ท่ี 2 สารอาหารท่รี ่างกายต้องการ ดา้ นความรู้ ด้านสมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน ด้านคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ดา้ นความสามารถทางวิทยาศาสตร์ ดา้ นอื่น ๆ (พฤติกรรมเด่นหรือพฤตกิ รรมที่มีปญั หาของนกั เรยี นเป็นรายบุคคล (ถ้าม)ี ) ปญั หา/อปุ สรรค แนวทางการแกไ้ ข ลงชือ่ ..............................................ผบู้ นั ทกึ (................................................) ความเหน็ ของผบู้ ริหารสถานศึกษาหรือผู้ทไี่ ด้รับมอบหมาย ข้อเสนอแนะ ลงช่ือ................................................ (................................................) ตาแหน่ง................................................. 102
หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 2 ร่างกายของเรา ระยะเวลา 3 ช่ัวโมง แผนฯ ท่ี 5 ระบบย่อยอาหาร (2) ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 5 ระบบยอ่ ยอาหาร (2) หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 รา่ งกายของเรา กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชวี้ ัด ว 1.2 ป. 6/5 ตระหนกั ถึงความสาคญั ของระบบย่อยอาหาร โดยการบอกแนวทางในการดแู ลรักษาอวัยวะ ในระบบยอ่ ยอาหารให้ทางานเปน็ ปกติ 2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1) อธิบายแนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะในระบบยอ่ ยอาหารได้ (K) 2) สรา้ งโปสเตอรร์ ะบบย่อยอาหารของมนษุ ย์ได้ (P) 3) ยกตัวอย่างแนวทางการปฏบิ ัติตัวในชีวิตประจาวันเพ่ือดูแลรกั ษาอวยั วะในระบบย่อยอาหารได้ (A) 3. สาระการเรียนรู้ อวัยวะตา่ ง ๆ ในระบบยอ่ ยอาหารมีความสาคัญ จงึ ควรปฏบิ ัติตน ในการดแู ลรักษาอวยั วะใหท้ างานเปน็ ปกติ 4. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด ระบบย่อยอาหารประกอบดว้ ยอวัยวะต่าง ๆ ได้แก่ ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลาไส้เล็ก ลาไส้ใหญ่ ทวารหนัก ตับ และตับอ่อน ซ่ึงทาหน้าท่ีร่วมกันในการย่อยและดูดซึมสารอาหาร อวัยวะต่าง ๆ ในระบบย่อย อาหารมคี วามสาคญั จงึ ดูแลรักษาอวัยวะในระบบยอ่ ยอาหารใหท้ างานเปน็ ปกติ 5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1) ความสามารถในการสื่อสาร 1) การสังเกต 1) มวี ินัย 2) ความสามารถในการคดิ 2) การลงความเหน็ จากข้อมลู 2) ใฝเ่ รยี นรู้ 3) ความสามารถในการ 3) การตคี วามหมายข้อมูลและ 3) มุ่งมั่นในการทางาน แก้ปัญหา ลงขอ้ สรปุ 4) ความสามารถในการใช้ ทักษะชวี ติ 103
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 รา่ งกายของเรา แผนฯ ท่ี 5 ระบบยอ่ ยอาหาร (2) 6. กิจกรรมการเรยี นรู้ แนวคิด/รูปแบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนคิ : 5Es Instructional Model ข้นั นา ชัว่ โมงที่ 1 ขั้นกระตุ้นความสนใจ 1. นกั เรยี นส่มุ หยบิ สลากชือ่ อวยั วะในระบบย่อยอาหารคนละ 1 แผน่ จากนัน้ ให้นักเรียนจับกลุ่มกับเพื่อน โดยใน กลุ่มจะต้องประกอบด้วยคนที่จับได้ช่ืออวัยวะดังน้ี ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลาไส้เล็ก และลาไสใ้ หญ่ 2. นักเรยี นทากจิ กรรม ใครได้อวัยวะอะไรเอย่ โดยปฏบิ ตั ดิ ังน้ี 1) สุ่ม 1 กลุม่ ออกมาหน้าชน้ั เรียน แล้วให้สมาชกิ ในกลมุ่ แต่ละคนบอกหน้าทอ่ี วัยวะที่ตนเองจับสลากได้โดย หา้ มพูดช่ืออวยั ะนั้นเด็ดขาด 2) นักเรียนในช้ันเรียนช่วยกันทายว่า นักเรียนที่ออกไปยืนหน้าห้องใครจับได้อวัยวะใดบ้าง แล้วเรียงลาดับ อวัยวะในทางเดินอาหาร 3) ครูนาลูกบอลพลาสติกมาโดยสมมติว่า ลูกบอลพลาสติกนี้แทนอาหารท่ีเรากาลังจะรับประทาน จากน้ัน ครูยืน่ ลกู บอลพลาสติกให้นกั เรียนคนที่ 1 แลว้ ใหน้ กั เรียนอธบิ ายหน้าที่การทางานของอวัยวะท่ีจับได้ เม่ือ อธบิ ายจบกส็ ง่ ใหค้ นตอ่ ไปเรอ่ื ยๆ จนถงึ คนสดุ ท้าย 4) นักเรียนในห้องสังเกตว่า การเรียงลาดับขั้นตอนการทางานของระบบย่อยอาหารท่ีเพ่ือนแต่ละคนพูด ถกู ต้องหรอื ไม่ ถ้าไม่ใช่ให้สลับตาแหน่งจนกว่าจะถูกต้อง 5) จากนั้นกลมุ่ ท่ีอยู่หน้าช้ันเรียนจึงเฉลยวา่ สมาชกิ แต่ละคนจบั สลากได้อวยั วะใด 3. นกั เรยี นตอบคาถามว่า อวยั วะใดในระบบย่อยอาหารมคี วามสาคัญนอ้ ยทสี่ ุด (แนวคาตอบ ตอบตามความคดิ เหน็ นกั เรียนอย่างอิสระ) 4. จากนัน้ ครใู ห้นักเรียนกลมุ่ ทย่ี ืนอยหู่ นา้ ช้ันเรียน ออกมา 1 คน โดยเลือกคนท่ีเสียงส่วนใหญ่บอกว่าเป็นอวัยวะ ที่สาคัญน้อยที่สุด จากน้ันให้นักเรียนหน้าช้ันเรียนรับลูกบอลพลาสติกและบอกหน้าที่ส่งต่อไปเรื่อยๆ จนกว่า จะส่งลกู บอลพลาสตกิ ไปไม่ได้ และให้นักเรยี นคนที่สง่ บอลไม่ไดบ้ อกเหตผุ ลว่าเพราะอะไรจงึ สง่ ไมไ่ ด้ 5. ครูสนทนาเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่กิจกรรมการเรียนรู้ว่า อวัยวะในระบบย่อยอาหารทุกส่วนมีความสาคัญกับ ร่างกายของเรา ดังน้นั ในชว่ั โมงนี้ จะมาเรยี นร้วู ิธีการดแู ลรกั ษาอวัยวะในระบบยอ่ ยอาหาร (หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมินนกั เรียน โดยการสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล) 104
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 รา่ งกายของเรา แผนฯ ที่ 5 ระบบย่อยอาหาร (2) ข้ันสอน ขั้นสารวจค้นหา 1. นกั เรียนแบ่งกลุ่มออกเปน็ กลุ่มละ 4-5 คน (ใช้กล่มุ ตามเดมิ จากกิจกรรมในขั้นกระตุ้นความสนใจ) จากน้ันให้ ทากิจกรรม คณุ หมอช่วยหนูด้วย โดยปฏบิ ตั ิ ดงั นี้ 1) ศึกษาแนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะระบบย่อยอาหารในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 หน้า 63 และแหลง่ ข้อมลู อ่ืนๆ 2) จากนน้ั สง่ ตัวแทนจับบตั รขอ้ ความอาการป่วยกลุ่มละ 1 อาการ 3) ใชบ้ ทบาทสมมตโิ ดยให้นักเรียนเป็นคุณหมอตัวน้อย ถ้าเกิดมีคนป่วยที่มีอาการตามบัตรข้อความอาการ ปว่ ย นักเรยี นจะให้คาแนะนาอยา่ งไร 4) นักเรียนออกแบบวิธีการนาเสนอข้อมูล โดยการแสดงสถานการณ์จาลองในห้องตรวจผู้ป่วย สมาชิกใน กลุ่มแบ่งบทบาท เช่น บทบาทของหมอ บทบาทของผู้ป่วย แล้วเขียนสคริปต์บทแสดงสถานการณ์ จาลอง (หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมนิ นกั เรยี น โดยการสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกล่มุ ) ขน้ั อธิบายความรู้ 1. แต่ละกลุ่มแสดงสถานการณจ์ าลองในห้องตรวจผปู้ ว่ ย เพื่อนาเสนอผลการทากจิ กรรม 2. นักเรยี นตอบคาถามวา่ ถา้ มีอาการปวดทอ้ งผกู ควรปฏบิ ตั ิอยา่ งไร (แนวคาตอบ รับประทานอาหารทม่ี ีกากใยสูง และด่ืมน้าอย่างน้อยวนั ละ 6-8 แกว้ ) 3. ครูสนทนากับนักเรียนว่า จากกิจกรรมนักเรียนควรนาความรู้เร่ือง แนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะใน ระบบย่อยอาหารไปเป็นแนวทางปฏิบัติในชีวิตประจาวันเพื่อดูแลรักษาอวัยวะในระบบย่อยอาหาร ถ้านักเรียนหรือคนรอบตัวมีอาการป่วยตามอาการที่นักเรียนจับได้ไม่ควรวินิจฉัยโรคเอง ควรไปพบแพทย์ เพอ่ื ตรวจและรกั ษาอาการปว่ ย เน่ืองจากอาการปว่ ยบางอาการอาจเกดิ จากสาเหตุอน่ื 4. นักเรียนแต่ละคนเขยี นสรุปความรู้เกยี่ วกบั เรอ่ื งท่ไี ด้เรยี นร้จู ากบทท่ี 2 ในรปู แบบต่างๆ เช่น แผนผังความคิด แผนภาพ ลงในสมดุ ประจาตวั นักเรยี น 5. ศึกษาแผนผังความคิด สรปุ สาระสาคัญ ประจาบทที่ 2 จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 1 หน้า 64 เพอ่ื ตรวจสอบการเขยี นสรปุ ความรู้ทีน่ กั เรียนทาไว้ในสมุดประจาตัวนักเรยี น ขั้นสอน (ตอ่ ) ชั่วโมงที่ 2 ขน้ั อธบิ ายความรู้ 1. ครูทบทวนความรู้เดิมช่ัวโมงที่ว่า ถ้าหากเรารับประทานอาหารที่ไม่สะอาด หรือปรุงสุกๆ ดิบๆ จะส่งผลต่อ ระบบย่อยอาหารของเราอย่างไร (แนวคาตอบ อาจทาให้มีการอาการทอ้ งเสยี ) 105
หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 2 ร่างกายของเรา แผนฯ ที่ 5 ระบบยอ่ ยอาหาร (2) 2. นกั เรียนแบง่ กล่มุ ออกเปน็ กลุม่ ละ 4-5 คน เพ่อื ทากจิ กรรมพัฒนาการเรยี นรู้ โดยปฏบิ ัติ ดังนี้ 1) สืบคน้ ข้อมูลจากหนังสอื และแหลง่ ขอ้ มลู อน่ื ๆ ตามหัวขอ้ ตอ่ ไปนี้ - อวัยวะและหนา้ ทขี่ องอวัยวะตา่ งๆ ที่อยใู่ นระบบย่อยอาหาร - ความสาคญั ของระบบย่อยอาหารที่มีต่อรา่ งกายของมนุษย์ - ระบบย่อยอาหารมคี วามสาคัญกบั ระบบอ่ืนๆ ของรา่ งกายอะไรบ้าง และมคี วามสมั พนั ธอ์ ย่างไร - เสนอแนะแนวทางในการดูแลรกั ษาอวัยวะต่างๆ ในระบบย่อยอาหารใหท้ างานเปน็ ปกติ 2) นักเรียนนาข้อมูลทสี่ บื คน้ ได้ มาจัดทารปู เล่มรายงานตามหัวขอ้ ทก่ี าหนดให้ 3) สง่ ตวั แทนออกมานาเสนอหนา้ ชนั้ เรยี นเพอ่ื แลกเปลี่ยนข้อมลู กับเพ่อื นกลุม่ อ่ืนๆ 3. นักเรียนดู PowerPoint เรื่อง ร่างกายของเรา จากน้ันร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับ ระบบย่อยอาหารสาคัญ กบั รา่ งกายของเรา และสรปุ ผลการทากจิ กรรม 4. นักเรยี นทากจิ กรรมฝึกทักษะ ในหนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตรฯ์ ป.6 เล่ม 1 หน้า 66 บันทึกลงในสมุดประจาตัว นกั เรยี น หรอื ทาในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตรฯ์ ป.6 เลม่ 1 หน้า 33-35 5. นักเรียนทากจิ กรรมท้าทายการคิดขัน้ สูง ในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตรฯ์ ป.6 เลม่ 1 หน้า 36 ขนั้ สอน(ตอ่ ) ช่วั โมงที่ 3 ขัน้ ขยายความเขา้ ใจ 1. นกั เรียนแบ่งกลุ่มละ 4-5 คน (ใช้กลุ่มเดิม) เพ่ือทากิจกรรมสรา้ งสรรคผ์ ลงาน โดยปฏบิ ตั ิดังนี้ 1) ระดมความคิดเพ่อื ออกแบบและจัดทาโปสเตอร์ในรปู แบบที่สร้างสรรค์ เพื่อจาลองระบบย่อย อาหารของมนุษย์ โดยในโปสเตอรป์ ระกอบด้วยขอ้ มลู ดงั น้ี - ความสาคัญของระบบย่อยอาหาร - หนา้ ทีข่ องอวยั วะในระบบย่อยอาหาร - กระบวนการย่อยอาหารและการดูดซมึ สารอาหาร - แนะแนวทางในการดูแลรกั ษาอวัยวะในระบบย่อยอาหารให้ทางานเป็นปกติ 2) นกั เรียนจัดประกวดผลงาน โดยให้แต่ละกล่มุ นาเสนอผลงานในชัน้ เรียน ในประเด็นต่อไปนี้ - แนวคดิ การสร้างสรรค์ผลงาน - ข้ันตอนการสรา้ งสรรคผ์ ลงาน - การนาผลงานไปใช้ประโยชน์ 2. เมื่อทุกกลุ่มนาเสนอเรียบร้อยแล้ว ให้นาผลงานไปตดิ ไว้บริเวณด้านหลงั หอ้ ง โดยครูแจกสติกเกอรร์ ูปหัวใจ คนละ 2 ดวง จากน้ันนาไปติดไว้ทบี่ ริเวณใกลๆ้ กบั ผลงาน ผลงานกล่มุ ใดมีสติกเกอร์รปู หัวใจมากสดุ ถอื ว่า เป็นกล่มุ ทชี่ นะ 3. จากน้นั ใหน้ กั เรียนนาผลงานไปติดให้ความรู้ในบรเิ วณตา่ งๆ ของโรงเรียน (หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมนิ นักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม) 106
หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 2 ร่างกายของเรา แผนฯ ท่ี 5 ระบบย่อยอาหาร (2) ข้นั สรปุ 1. นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้จากกิจกรรมว่า ระบบย่อยอาหารประกอบด้วยอวัยวะต่าง ๆ ได้แก่ ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลาไส้เล็ก ลาไส้ใหญ่ ทวารหนัก ตับ และตับอ่อน ซ่ึงทาหน้าท่ีร่วมกันใน การย่อยและดูดซึมสารอาหาร อวัยวะต่าง ๆ ในระบบย่อยอาหารมีความสาคัญ จึงต้องดูแลรักษาอวัยวะ ในระบบย่อยอาหารใหท้ างานเป็นปกติ ข้ันประเมนิ ขน้ั ตรวจสอบผล 1. นักเรียนแต่ละคนทาทบทวนท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ร่างกายของเรา ในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 1 หน้า 37-41 2. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 ร่างกายของเรา เพื่อตรวจสอบความรู้ของนักเรียน หลังทากจิ กรรม 3. ครตู รวจแผนผงั ความคดิ สรปุ สาระสาคญั ประจาบทท่ี 2 ในสมุดประจาตวั นกั เรยี น 4. ครตู รวจเลม่ รายงานของนกั เรียนในกิจกรรมพฒั นาการเรียนรู้ 5. ครูตรวจกิจกรรมฝึกทักษะในสมุดประจาตัวนักเรียน หรือทาในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 1 หนา้ 33-35 6. ครูตรวจกจิ กรรมท้าทายการคดิ ขนั้ สงู ในแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตรฯ์ ป.6 เลม่ 1 หนา้ 36 7. ครปู ระเมินผลงานโปสเตอรร์ ะบบย่อยอาหารของมนุษย์ในกิจกรรมสร้างสรรค์ผลงาน 8. ครูตรวจทบทวนท้ายหน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 ร่างกายของเรา ในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 1 หน้า 37-41 9. ครตู รวจแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ร่างกายของเรา เพ่ือตรวจสอบความรู้ของนักเรียนหลัง ทากจิ กรรม 7. การวัดและประเมินผล รายการวดั วธิ ีการ เครือ่ งมือ เกณฑ์ - แบบประเมินผลงาน - คุณภาพอย่ใู นระดบั ดี 1) ผลงานโปสเตอร์ - ประเมนิ ผลงาน ผ่านเกณฑ์ ระบบย่อยอาหารของ มนษุ ย์ 2) สรปุ สาระสาคัญ ประจา - ตรวจสมุดประจาตวั - สมดุ ประจาตัวนักเรยี น - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ บทที่ 2 นกั เรยี น 3) กจิ กรรมพฒั นาการ - ตรวจเลม่ รายงาน - เลม่ รายงาน - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ เรยี นรู้ 107
หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 2 ร่างกายของเรา แผนฯ ที่ 5 ระบบยอ่ ยอาหาร (2) รายการวัด วธิ ีการ เครอื่ งมอื เกณฑ์ - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 4) กจิ กรรมฝึกทักษะ - ตรวจสมดุ ประจาตวั - สมุดประจาตวั หรือ - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ บทท่ี 2 หรอื แบบฝึกหดั แบบฝึกหัด - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ วทิ ยาศาสตร์ฯ ป.6 วทิ ยาศาสตรฯ์ ป.6 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ เลม่ 1 หน้า 33-35 เล่ม 1 หน้า 33-35 - คณุ ภาพอยู่ในระดับดี 5) กจิ กรรมท้าทาย - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝกึ หัด ผ่านเกณฑ์ การคิดขั้นสงู วิทยาศาสตร์ฯ ป.6 วทิ ยาศาสตรฯ์ ป.6 - คณุ ภาพอยู่ในระดับดี ผา่ นเกณฑ์ เล่ม 1 หนา้ 36 เล่ม 1 หนา้ 36 6) ทบทวนทา้ ยหน่วย - ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบฝึกหัด การเรียนรูท้ ี่ 2 วทิ ยาศาสตร์ฯ ป.6 วิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 1 หนา้ 37-41 เลม่ 1 หนา้ 37-41 7) ทดสอบหลังเรียน - ตรวจแบบทดสอบ หลัง - แบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 เรยี น หน่วยการเรียนรู้ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 ที่ 2 8) พฤติกรรม - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม การทางานรายบุคคล การทางานรายบุคคล การทางานรายบคุ คล 9) พฤติกรรม - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤติกรรม การทางานกลุม่ การทางานกลมุ่ การทางานกลุ่ม หมายเหตุ : แบบสังเกตพฤตกิ รรมประเมนิ รายเทอม 8. ส่ือ/แหล่งการเรยี นรู้ 8.1 ส่ือการเรยี นรู้ 1) หนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 1 2) แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 1 3) PowerPoint เรอ่ื ง ร่างกายของเรา 4) สลากช่ืออวยั วะ 5) บัตรขอ้ ความอาการป่วย 6) ลกู บอลพลาสตกิ 7) สตกิ เกอร์รูปหัวใจ 8) สมุดประจาตวั นกั เรยี น 8.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1) หอ้ งเรยี น 2) อินเทอร์เน็ต 108
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 ร่างกายของเรา ปาก แผนฯ ท่ี 5 ระบบย่อยอาหาร (2) หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร สลากชื่ออวยั วะ ลาไสเ้ ลก็ ปาก ลาไสใ้ หญ่ หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ปาก หลอดอาหาร ลาไสเ้ ล็ก กระเพาะอาหาร ลาไส้ใหญ่ ลาไสเ้ ล็ก ปาก ลาไสใ้ หญ่ หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ปาก หลอดอาหาร ลาไส้เลก็ กระเพาะอาหาร ลาไส้ใหญ่ ลาไสเ้ ล็ก ปาก ลาไสใ้ หญ่ หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลาไสเ้ ล็ก ลาไสใ้ หญ่ 109
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 ร่างกายของเรา แผนฯ ท่ี 5 ระบบยอ่ ยอาหาร (2) บตั รขอ้ ความอาการ ช่ือผ้ปู ่วย คริ ณิ อายุ 12 ปี อาการปว่ ย : ถา่ ยอุจจาระเหลวและมเี ลือดปน มีไข้ ปวดท้องรนุ แรง กลนั้ อุจจาระไม่ได้ ท้องอดื คลน่ื ไส้ ถ่ายเป็นนา้ เกนิ 3 คร้งั อาการเป็นมาแล้ว 2 วนั ขอ้ มูลผูป้ ่วยเบ้ืองตน้ : รบั ประทานลาบหมู ต้มยากงุ้ น้าข้นที่ค้างคืน และรบั ประทานมะมว่ ง ดองกบั พริกเกลอื เผ็ดๆ ก่อนมีอาการป่วย คาแนะนาการปฏบิ ัติตนเพือ่ ปอ้ งกนั อาการป่วยของคุณหมอตัวนอ้ ย ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................ ....................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ...................... ชือ่ ผูป้ ่วย ชาลี อายุ 16 ปี อาการป่วย : ถ่ายอจุ จาระยาก อุจจาระแข็ง ถ่ายออกมาเป็นเพยี งก้อนเล็ก ๆ รวมท้ังมีอาการ ท้องบวม ปวดท้อง แนน่ ท้อง ข้อมูลผปู้ ่วยเบื้องต้น : ไม่ค่อยชอบรบั ประทานผักผลไม้ และดมื่ นา้ น้อย คาแนะนาการปฏิบัตติ นเพ่อื ปอ้ งกนั อาการป่วยของคุณหมอตัวนอ้ ย ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ...................... ............................................................................................................ ....................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... 110
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 2 ร่างกายของเรา แผนฯ ท่ี 5 ระบบย่อยอาหาร (2) บตั รขอ้ ความอาการ . ชือ่ ผู้ป่วย ราณี อายุ 13 ปี อาการปว่ ย : รู้สกึ แสบร้อนกลางหนา้ อก มีอาการสัปดาห์ละ 2-3 คร้งั ลมหายใจมกี ลนิ่ เหมน็ ฟนั สกึ กร่อน คล่ืนไส้ เจ็บชอ่ งอกหรือสว่ นบนของช่องท้อง หายใจลาบาก กลนื อาหาร ลาบาก เสียงแหบ ข้อมูลผปู้ ่วยเบ้ืองต้น : ชอบรบั ประทานอาหารท่ีมีรสเปรี้ยวจดั เผด็ จัด อาหารไขมนั สงู ช็อกโกแลต รบั ประทานอาหารมอ้ื เย็นปริมาณมาก และนอนทันทหี ลงั รบั ประทานอาหารเสรจ็ คาแนะนาการปฏบิ ัติตนเพ่ือปอ้ งกนั อาการป่วยของคณุ หมอตัวน้อย ............................................................................................................................. ..................... ................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ...................... ................................................................................................................................................ ... ช่อื ผ้ปู ่วย สม้ หอม อายุ 20 ปี อาการปว่ ย : มีอาการคัน เจ็บและปวดบรเิ วณทวารหนัก มเี ลอื ดออกขณะถ่ายอุจจาระ ข้อมูลผปู้ ่วยเบ้ืองต้น : ชอบรับประทานเนื้อสตั ว์แต่เลยี่ งผักและผลไม้ มีอาการท้องผูกเร้ือรงั คาแนะนาการปฏบิ ัติตนเพอื่ ปอ้ งกนั อาการป่วยของคณุ หมอตัวน้อย ............................................................................................................................. ..................... ................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ...................... ................................................................................................................................................ ... ............................................................................................................................. ...................... 111
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 2 รา่ งกายของเรา แผนฯ ท่ี 5 ระบบย่อยอาหาร (2) บตั รขอ้ ความอาการ ช่ือผปู้ ่วย โปรดปราน อายุ 18 ปี อาการป่วย : มีอาการปวดท้อง รู้สึกไม่สบายช่องท้องส่วนบน มีอาการท้องเฟ้อ อ่ิมง่าย จุกหน้าอก แน่นท้อง เรอบ่อย อาหารไม่ย่อย หรือรู้สึกคลื่นไส้หลังการรับประทานอาหาร ไม่มคี วามอยากอาหาร หลังรับประทานอาหารอาการปวดทอ้ งจะแย่ลง ข้อมูลผู้ป่วยเบ้ืองต้น : รับประทานอาหารรสเผ็ดและรสจัด รับประทานอาหารไม่ตรงเวลา รับประทานมื้อละเยอะๆ ไมช่ อบออกกาลงั กาย คาแนะนาการปฏิบัติตนเพ่อื ปอ้ งกนั อาการปว่ ยของคณุ หมอตัวนอ้ ย ............................................................................................................................. ..................... ................................................................................................................................................... ........................................................................................................................ ........................... ............................................................................................................................. ...................... ช่อื ผปู้ ่วย ชวนิ อายุ 25 ปี อาการป่วย : ปวดท้องบิดรุนแรงเป็นพักๆ หรือปวดท้องหน่วงๆ ท้องเสีย ถ่ายเหลวเป็นน้า บางครัง้ อาจถา่ ยมมี กู เลือดปน คล่ืนไสอ้ าเจียน เบือ่ อาหาร ขอ้ มูลผปู้ ่วยเบื้องต้น : รบั ประทานผดั กะเพราที่ทาไวห้ ลายวันแล้ว ชอบรบั ประทานอาหาร รส จดั บ่อยๆ ด่ืมเครอื่ งด่ืมแอลกอฮอล์ คาแนะนาการปฏิบัติตนเพือ่ ปอ้ งกนั อาการปว่ ยของคณุ หมอตัวน้อย ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ...................... ................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ...................... ................................................................................................................................................... 112
หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 2 รา่ งกายของเรา แบบบนั ทึกหลงั แผนการจัดการเรยี นรู้ แผนฯ ท่ี 5 ระบบย่อยอาหาร (2) ดา้ นความรู้ ดา้ นสมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียน ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดา้ นความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์ ดา้ นอื่น ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤตกิ รรมทม่ี ปี ญั หาของนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล (ถ้ามี)) ปญั หา/อุปสรรค แนวทางการแกไ้ ข ลงชอ่ื ..............................................ผู้บนั ทกึ (..........................................................) ความเห็นของผ้บู ริหารสถานศึกษาหรือผู้ทีไ่ ด้รับมอบหมาย ข้อเสนอแนะ ลงชื่อ....................................................... (.......................................................) ตาแหน่ง......................................................... 113
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 5 สารรอบตวั เรา แผนฯ ที่ 1 การแยกสารทเ่ี ปน็ ของแข็งออกจากของแขง็ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 การแยกสารท่เี ปน็ ของแขง็ ออกจากของแขง็ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 5 สารรอบตวั เรา ระยะเวลา 3 ช่วั โมง กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6 1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ช้วี ดั ว 2.1 ป.6/1 อธิบายและเปรียบเทียบการแยกสารผสม โดยการหยิบออก การร่อน การใช้แม่เหล็กดึงดูด การรินออก การกรอง และการตกตะกอน โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ รวมท้ังระบุวิธีแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน เกี่ยวกบั การแยกสาร 2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1) อธิบายการแยกสารโดยการหยิบออก การร่อน การระเหดิ และการใชแ้ มเ่ หลก็ ดึงดูดออกได้ (K) 2) สังเกตลกั ษณะของสารและแยกสารท่เี ปน็ ของแข็งออกจากของแขง็ ได้ (P) 3) ยกตัวอยา่ งการนาวิธีการแยกสารที่เป็นของแขง็ ออกจากของแข็งไปปรับใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้ (A) 3. สาระการเรียนรู้ การแยกสารท่ีเป็นของแขง็ ออกจากของแขง็ โดยการหยิบออก การร่อน การระเหิด และการใชแ้ มเ่ หลก็ ดึงดูดออก 4. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด สารผสมประกอบด้วยสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปผสมอยู่รวมกัน เช่น ข้าวสารปนกรวดทราย วิธีการท่ีเหมาะสม ในการแยกสารผสมข้ึนอยู่กับลักษณะและสมบัติของสารท่ีผสมอยู่ร่วมกัน ถ้าองค์ประกอบของสารผสมเป็นของแข็งกับ ของแข็งที่มีขนาดแตกต่างกันอย่างชัดเจน อาจใช้วิธีการหยิบออกหรือการร่อนผ่านวัสดุที่มีรู ถ้ามีสารใดสารหนึ่งเป็น สารแม่เหลก็ อาจใชว้ ิธีการใช้แม่เหล็กดงึ ดูด 5. สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รยี น ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รยี น ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1) ความสามารถในการสื่อสาร 1) การสงั เกต 1) มวี นิ ัย 2) ความสามารถในการคดิ 2) ตัง้ สมมติฐาน 2) ใฝเ่ รียนรู้ 3) ความสามารถในการแกป้ ัญหา 3) การทดลอง 3) ม่งุ มน่ั ในการทางาน 4) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 4) การลงความเห็นจากข้อมูล 11
หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 5 สารรอบตวั เรา แผนฯ ที่ 1 การแยกสารทเี่ ปน็ ของแขง็ ออกจากของแขง็ สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 5) การตคี วามหมายข้อมลู และ ลงข้อสรุป 6) การจดั กระทาและส่อื ความหมาย ขอ้ มลู 6. กจิ กรรมการเรยี นรู้ แนวคิด/รปู แบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนคิ : 5Es Instructional Model ชั่วโมงที่ 1 1. นักเรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 5 สารรอบตวั เรา แบบปรนัย 4 ตวั เลือก จานวน 10 ข้อ (หมายเหตุ : ครูตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น เพื่อประเมินความรู้เดมิ และเขา้ ใจผู้เรยี นเพอ่ื ใชใ้ นการจดั กิจกรรม) ขัน้ นา ขน้ั กระตุน้ ความสนใจ 1. นักเรียนสังเกตถ้วย 2 ใบท่ีครูนามา โดยถ้วยท่ี 1 มีทรายกับกระดุม 10 เม็ดผสมกัน และถ้วยท่ี 2 มีหินกับ กระดมุ 10 เมด็ ผสมกนั จากนั้นให้นักเรียนสงั เกตสารในแต่ละถว้ ย แล้วตอบคาถามต่อไปนี้ - นักเรยี นสังเกตเห็นสารชนดิ ใดบ้างในถ้วยใบที่ 1 (แนวคาตอบทรายและกระดมุ ) - นักเรียนสังเกตเห็นสารชนดิ ใดบา้ งในถ้วยใบที่ 2 (แนวคาตอบ หนิ และกระดุม) - สารที่อย่ใู นถ้วยทง้ั 2 ใบนี้ เปน็ สารผสมหรอื ไม่ เพราะเหตุใด (แนวคาตอบ เปน็ สารผสม เพราะมีสารต้งั แต่ 2 ชนิดขนึ้ ไปอยู่รวมกนั ) 12
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 5 สารรอบตัวเรา แผนฯ ที่ 1 การแยกสารทเี่ ปน็ ของแข็งออกจากของแขง็ 2. นกั เรียนแบง่ ออกเป็น 2 กลุ่ม เพือ่ ทากจิ กรรม กระดุมซอ่ นหา โดยปฏิบตั ิ ดังนี้ 1) กลมุ่ A ใหแ้ ยกกระดมุ ออกจากทราย 2) กลมุ่ B ใหแ้ ยกกระดมุ ออกจากหนิ 3) ใหแ้ ต่ละกลุ่มระดมสมองว่า จะใช้วิธีการอย่างไรในการแยกกระดุมออกจากสารผสมให้ได้ครบ 10 เม็ด โดยใช้ อปุ กรณ์ทคี่ รูเตรยี มให้คือ ตะแกรงร่อน กรวย และใชเ้ วลาน้อยทีส่ ดุ 4) ส่งตวั แทนกลมุ่ ละ 2 คน เพอ่ื มาแยกกระดุม โดยครูจบั เวลา 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มอธิบายวิธีการท่ีใช้ในการแยกกระดุม จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่า นักเรียน คดิ ว่าจะแยกสารแตล่ ะชนดิ ด้วยวิธใี ด 4. ครูอธิบายเพ่ิมเติมว่า สารรอบตัวเราส่วนใหญ่เป็นสารผสม เช่น น้าจ้ิมไก่ น้าโคลน ซ่ึงเราสามารถแยกสารผสมได้ ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น หยิบออก การร่อน เช่น ตัวอย่างภาพในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หน้า 1 เป็นวธิ ีการแยกสารโดยการกรอง 5. นักเรียนตอบคาถามประจาบทว่า ทาไมเราต้องแยกสารผสมต่างๆ ดว้ ยวิธที ่แี ตกต่างกัน (แนวคาตอบ เพราะสารผสมแต่ละชนดิ มลี ักษณะและสมบตั ทิ ี่แตกต่างกนั จงึ ต้องเลือกใชว้ ธิ ีการทแี่ ตกตา่ งกนั ) 6. นักเรียนอ่าน ชวนคิดชวนอ่าน ตอน แยกสารผสม ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หน้า 4 จากนั้นตอบ คาถามต่อไปนี้ - เพราะเหตใุ ดอ้อยจึงเลือกใชม้ ือหยบิ กรวดออกจากขา้ วสาร (แนวคาตอบ เพราะกรวดกบั ขา้ วเปน็ สารทเ่ี ปน็ ของแขง็ ปนอย่ใู นของแขง็ และมีลกั ษณะแตกต่างกันชัดเจน อกี ทั้งมปี ริมาณไมม่ าก จงึ เลือกใชว้ ิธีการหยบิ ออกในการแยกสาร) - หากต้องการแยกสารท่ีมีผงเหล็กผสมกบั ขเ้ี ถ้าจะใชว้ ิธกี ารหยิบออกไดห้ รือไม่ เพราะอะไร (แนวคาตอบ ใชว้ ธิ ีการหยิบออกไมไ่ ด้ เพราะผงเหลก็ ผสมกบั ขีเ้ ถา้ มขี นาดเลก็ และขนาดใกลเ้ คียงกัน ) 7. นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างวิธีการแยกสารผสมท่ีนักเรียนเคยพบเห็นมา จากนั้นให้นักเรียนดูภาพตัวอย่างวิธีการ แยกสารผสมออกจากกัน ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หน้า 5 แล้วครูอธิบายเพ่ิมเติม เช่น การใช้ ตะแกรงรอ่ นเมล็ดกาแฟ ขนั้ สอน ข้ันสารวจค้นหา 1. นกั เรยี นศึกษาวธิ กี ารแยกสารผสมออกจากกันในหนังสอื เรยี นวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เลม่ 2 หนา้ 6 2. นักเรียนแบง่ กลุ่มออกเปน็ กลุ่มละ 4-5 คน จากน้ันศึกษาขั้นตอนการทากจิ กรรมที่ 1 แยกสารท่ีเปน็ ของแข็งออก จากของแข็ง ในหนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หน้า 7 13
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 5 สารรอบตวั เรา แผนฯ ที่ 1 การแยกสารท่เี ปน็ ของแขง็ ออกจากของแข็ง 3. นักเรียนปฏิบัติกจิ กรรมท่ี 1 แยกสารท่ีเป็นของแข็งออกจากของแข็ง ตอนท่ี 1 โดยปฏบิ ัติ ดงั น้ี 1) แตล่ ะกลุ่มส่งตวั แทนมารบั อปุ กรณ์ในการทากจิ กรรมท่ี 1 แยกสารทเ่ี ป็นของแข็งออกจากของแข็ง ดงั น้ี - ตะแกรงร่อน - กระดาษแขง็ แผน่ ใหญ่ - สารผสม (เมล็ดถว่ั เขยี วผสมกับทรายหยาบและทรายละเอียด) 2) สังเกตลักษณะทางกายภาพ เช่น สถานะของสารผสม (เมล็ดถั่วเขียวผสมกับทรายหยาบและทรายละเอียด) แลว้ บันทกึ ผลลงในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เลม่ 2 หน้า 4 3) คิดวิธีแยกเมล็ดถั่วเขียวออกจากสารผสม จากน้ันแยกเมล็ดถ่ัวเขียวออกจากสารผสมตามวิธีที่วางแผนไว้ จากน้ันบันทึกวธิ ีการแยกสารลงในแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตรฯ์ ป.6 เล่ม 2 หน้า 4 4) คิดวิธแี ยกทรายหยาบออกจากทรายละเอยี ด จากนั้นแยกทรายหยาบออกจากทรายละเอียดตามวิธีท่ีวางแผน ไว้ แลว้ บนั ทกึ วิธกี ารแยกสารลงในสมุดประจาตัวนักเรียนหรือแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตรฯ์ ป.6 เลม่ 2 หน้า 4 5) นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับวิธีการท่ีใช้แยกเมล็ดถั่วเขียวออกจากสารผสม และวิธีแยกทราย หยาบออกจากทรายละเอยี ด 6) สืบค้นวิธีการแยกเมล็ดถั่วเขียวออกจากสารผสม และวิธีแยกทรายหยาบออกจากทรายละเอียด จากหนังสือ หรือแหล่งการเรยี นรอู้ นื่ ๆ เพิ่มเตมิ 7) จากนั้นเปรียบเทียบความแตกต่างของสารผสมและวิธีการท่ีใช้ในการแยกสาร แล้วนาข้อมูลมาจัดทาใน รูปแบบตา่ งๆ เชน่ แผนภาพ ลงในกระดาษแขง็ เพือ่ นาเสนอผลการทากจิ กรรม (หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมินนกั เรยี น โดยการสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกล่มุ ) ขนั้ อธิบายความรู้ 1. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มนาเสนอข้อมูลกิจกรรมที่ 1 แยกสารทเี่ ป็นของแขง็ ออกจากของแขง็ ตอนที่ 1 ในประเดน็ ตอ่ ไปนี้ 1) ลักษณะทางกายภาพของสารผสม 2) วิธที ี่ใช้แยกเมลด็ ถ่ัวเขียวออกจากสารผสม 3) วธิ ีที่ใชแ้ ยกทรายหยาบออกจากทรายละเอยี ด 4) การเปรียบเทยี บความแตกตา่ งของวิธที ีใ่ ช้แยกสารผสม 2. นักเรียนรว่ มกนั สรุปกจิ กรรมท่ี 1 แยกสารทเ่ี ป็นของแขง็ ออกจากของแข็ง ตอนท่ี 1 วา่ สารผสมท่ีประกอบไปดว้ ย ของแข็งปนกับของแข็งทมี่ ลี ักษณะแตกต่างกันชัดเจน แยกสารโดยใชว้ ิธกี ารหยบิ ออก การร่อนโดยใชต้ ะแกรงร่อน (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรยี น โดยการสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล) 14
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 สารรอบตวั เรา แผนฯ ท่ี 1 การแยกสารที่เป็นของแข็งออกจากของแขง็ ช่ัวโมงท่ี 2 ขนั้ สอน (ตอ่ ) ขั้นสารวจคน้ หา 1. ทบทวนความรู้เดิมของนักเรียน โดยต้ังคาถามว่า ควรใช้วิธีใดในการแยกสารท่ีเป็นของแข็งปนอยู่กับของแข็ง ท่ีมีลักษณะแตกต่างกนั ชัดเจน (แนวคาตอบ วธิ ีหยบิ ออก การร่อน) 2. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็นกลุ่มละ 4-5 คน (ใช้กลุ่มเดิม ) นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมท่ี 1 แยกสารที่เป็นของแข็งออก จากของแข็ง ตอนที่ 2 โดยปฏิบัตดิ ังนี้ 1) ส่งตัวแทนกลุ่มออกมารับอุปกรณ์เพื่อปฏิบัติกิจกรรมที่ 1 แยกสารท่ีเป็นของแข็งออกจากของแข็ง ตอนท่ี 2 ดังน้ี - จาน 3 ใบ - แมเ่ หลก็ - สารผสม (ทรายกับผงตะไบ) 2) สังเกตลักษณะภายนอกของสารผสม (ทรายกับผงตะไบ) แล้วบันทึกผลลงในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ป.6 เล่ม 2 หนา้ 5 3) แยกผงตะไบเหลก็ ออกจากทรายโดยใช้อุปกรณ์ท่ีมี จากน้ันบันทึกผลลงในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ป.6 เล่ม 2 หนา้ 5 (หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมินนกั เรยี น โดยการสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ ) ขนั้ อธิบายความรู้ 1. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มส่งตวั แทนนาเสนอผลการทดลอง 2. นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปกิจกรรมที่ 1 แยกสารท่ีเป็นของแข็งออกจากของแข็ง ตอนที่ 2 ว่า สารผสม ทีป่ ระกอบด้วยของแข็งแต่มสี ารแมเ่ หลก็ เป็นส่วนประกอบ อาจแยกสารโดยใช้วิธกี ารใชแ้ ม่เหล็กดงึ ดูดสารแม่เหลก็ 3. นักเรียนทากิจกรรมหนตู อบไดใ้ นหนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 1 หน้า 8 บันทึกลงในสมดุ ประจาตัวนักเรียน หรอื ทาในแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หน้า 6 (หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมนิ นกั เรียน โดยการสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล) 15
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 5 สารรอบตัวเรา แผนฯ ท่ี 1 การแยกสารท่ีเปน็ ของแขง็ ออกจากของแข็ง ช่วั โมงท่ี 3 ขน้ั สอน (ตอ่ ) ข้ันขยายความเข้าใจ 1. ทบทวนความร้เู ดมิ โดยการตั้งคาถามว่า ถ้าตอ้ งการแยกเมล็ดถั่วเขียวออกจากผงตะไบเหลก็ นกั เรยี นจะใชว้ ิธีการ อยา่ งไร (แนวคาตอบ ตอบตามความคิดเห็นของนักเรียน เชน่ ใชแ้ ม่เหล็ก) 2. นกั เรียนแบง่ กลุ่มออกเป็นกลุ่มละ 4- 5 คน เพื่อทากิจกรรมแยกสารผสม โดยปฏิบัตดิ ังน้ี 1) ครูเตรยี มวสั ดุ-อปุ กรณใ์ นการทากิจกรรม ดังน้ี - แม่เหล็ก 1 อัน - ตะแกรงร่อน 1 อัน - จาน 2 ใบ - กระดานไวต์บอร์ดและปากกา 1 ชุดต่อกลุ่ม - ชุดตะเกยี งแอลกอฮอล์ - บีกเกอร์ - สารผสม (หินกรวดผสมกับผงตะไบเหล็ก ลูกปัด แปง้ ฝนุ่ และพมิ เสน) 2) ครูอ่านโจทย์แยกสารทีละข้อ และนักเรียนแต่ละกลุ่มระดมสมองคิดวิธีแยกสารตามโจทย์ให้ออกมาจากสาร ผสม เมื่อได้คาตอบแล้วให้เขียนคาตอบลงในกระดานไวต์บอร์ดและยกข้ึนให้ครูเห็น พร้อมเหตุผลว่าทาไมถึง เลือกวธิ นี ้ีโจทย์แยกสาร มดี ังนี้ - ขอ้ ท่ี 1 แยกผงตะไบเหลก็ ออกจากสารผสม (แนวทางการแยกสาร แยกผงตะไบเหล็กออกจากสารผสมโดยใช้แม่เหล็ก เน่ืองจากผงตะไบเหล็กมีสมบัติ ในการถกู แมเ่ หล็กดึงดูดได้) - ข้อท่ี 2 แยกหินกรวดออกจากสารผสม (แนวทางการแยกสาร แยกหินกรวดออกจากสารผสมโดยใช้วิธีการหยิบออก เน่ืองจากหินกรวดเป็น ของแข็งมีขนาดใหญ่พอท่จี ะใช้มือหยิบออกได้) - ขอ้ ที่ 3 แยกลูกปดั ออกจากสารผสม (แนวทางการแยกสาร แยกลูกปัดออกจากสารผสมโดยใช้วิธีการหยิบออกหรือการร่อน เน่ืองจากลูกปัด มขี นาดแตกตา่ งกบั สารผสมชดั เจน หากใช้วิธกี ารรอ่ นจะสามารถแยกสารได้เร็วกวา่ การหยบิ ออก) - ขอ้ ท่ี 4 แยกแปง้ ฝนุ่ ออกจากพมิ เสน (แนวทางการแยกสาร แยกแป้งฝุ่นออกจากพิมเสนโดยใชว้ ธิ ีการระเหิด เน่ืองจากสารผสมมีขนาดใกล้เคียง กันและไม่สามารถหยิบหรือร่อนได้ และอีกท้ังพิมเสนเป็นของแข็งที่สามารถระเหิดได้ เมื่อนาสารผสมมา ให้ความร้อน พิมเสนจะระเหดิ กลายเป็นไอแยกออกจากแปง้ ฝนุ่ ) 16
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 สารรอบตัวเรา แผนฯ ที่ 1 การแยกสารทีเ่ ป็นของแข็งออกจากของแข็ง 3) กลุ่มท่ีตอบได้กลุ่มแรกมีสิทธิ์ส่งตัวแทนกลุ่มมาแยกสารผสมหน้าชั้นเรียน กรณีท่ีวิธีแยกสารของกลุ่มแรกแยก ไม่ได้ กลุ่มที่ได้ลาดับถัดมาจะมีสิทธิ์ออกไปแยกสาร กลุ่มที่สามารถแยกสารได้จะได้คะแนน 1 คะแนน (ครูจับ เวลาทใี่ ชใ้ นการแยกสาร) 4) กลุ่มอื่นคิดว่ามีวิธีท่ีแยกสารได้เร็วกว่าสามารถออกมาใช้วิธีแยกสารน้ันได้ ถ้าใช้เวลาแยกน้อยกว่าจะได้รับไป 1 คะแนน ถ้าแยกไดช้ ้ากวา่ ลบ 1 คะแนน (ครจู ับเวลาทใี่ ช้ในการแยกสาร) 3. นักเรียนตอบคาถามวา่ วิธีแยกพมิ เสนออกจากแปง้ ฝุ่นทาอยา่ งไรไดบ้ ้าง (แนวคาตอบ นาสารผสมมาใหค้ วามรอ้ น พิมเสนจะระเหดิ กลายเป็นไอแยกออกจากแปง้ ฝุ่น) 4. ครูอธบิ ายเพิ่มเตมิ เก่ยี วกับการระเหดิ ว่า เปน็ วธิ กี ารแยกสารท่มี ขี องแข็งที่ระเหดิ ได้ผสมอยู่กับของแข็งท่ีระเหิดไม่ได้ ซ่งึ ของแขง็ ทร่ี ะเหิดไดจ้ ะเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นแก๊ส โดยที่ไม่ผ่านสถานะเป็นของเหลว ทาให้สามารถแยก สารออกจากสารผสมน้ันได้ (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนกั เรียน โดยการสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ ) ขั้นสรุป 1. นักเรียนร่วมกันสรุปผลการทากิจกรรมว่า การแยกสารผสมท่ีเป็นของแข็งกับของแข็งท่ีมีลักษณะต่างกันชัดเจน สามารถแยกได้โดยการหยิบ การร่อน หรือสารผสมที่ประกอบด้วยสารที่มีสารแม่เหล็กเป็นส่วนประกอบ อาจใช้ วิธีการแยกโดยใช้แม่เหล็กดูดสารแม่เหล็ก วิธีการแยกสารสามารถทาได้หลายวิธี โดยพิจารณาลักษณะและสมบัติ ของสารที่ผสมอยู่รวมกัน ขนั้ ประเมนิ ขั้นตรวจสอบผล 1. ครตู รวจบนั ทึกข้อมูลการทากิจกรรมท่ี 1 แยกสารทเ่ี ปน็ ของแขง็ ออกจากของแข็ง ในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หน้า 4-5 2. ครตู รวจกจิ กรรมหนตู อบไดใ้ นสมดุ ประจาตัวนกั เรียนหรือแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หนา้ 6 17
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 สารรอบตัวเรา แผนฯ ท่ี 1 การแยกสารทเี่ ป็นของแข็งออกจากของแขง็ 7. การวดั และประเมินผล รายการวดั วธิ กี าร เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารประเมนิ - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 1) กิจกรรมท่ี 1 แยกสาร - ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หน้า 4-5 ท่ีเปน็ ของแข็งออกจาก วิทยาศาสตร์ฯ ป.6 ของแขง็ เลม่ 2 หนา้ 4-5 2) กิจกรรมหนตู อบได้ - ตรวจสมุดประจาตวั - สมดุ ประจาตวั นักเรียนหรือ - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ นกั เรยี นหรอื แบบฝึกหดั แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ฯ วิทยาศาสตร์ฯ ป.6 ป.6 เลม่ 2 หนา้ 6 เล่ม 2 หน้า 6 3) พฤติกรรม - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม - คุณภาพอยู่ในระดบั ดี ผา่ นเกณฑ์ การทางานรายบุคคล การทางานรายบุคคล การทางานรายบุคคล 4) พฤติกรรม - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม - คุณภาพอยใู่ นระดบั ดี การทางานกลุ่ม การทางานกลุ่ม การทางานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ หมายเหตุ : แบบสังเกตพฤติกรรมประเมนิ รายเทอม 8. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้ 8.1 ส่ือการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 1 2) แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 1 3) วัสดุ-อุปกรณ์ทีใ่ ช้ในกิจกรรมท่ี 1 แยกสารทีเ่ ป็นของแขง็ ออกจากของแขง็ 4) วัสดุ-อุปกรณท์ ี่ใชใ้ นกจิ กรรมกระดมุ ซอ่ นหา 5) วัสดุ-อปุ กรณท์ ีใ่ ช้ในกจิ กรรมแยกสารผสม 6) สมดุ ประจาตวั นกั เรยี น 8.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1) หอ้ งเรียน 2) หอ้ งสมุด 3) อินเทอร์เน็ต 18
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 5 สารรอบตวั เรา แผนฯ ที่ 1 การแยกสารทีเ่ ปน็ ของแข็งออกจากของแขง็ แบบบนั ทกึ หลังแผนการจดั การเรยี นรู้ ด้านความรู้ ด้านสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น ด้านคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์ ดา้ นอื่น ๆ (พฤติกรรมเด่นหรือพฤตกิ รรมที่มีปญั หาของนักเรียนเปน็ รายบคุ คล (ถ้าม)ี ) ปญั หา/อุปสรรค แนวทางการแก้ไข ลงชือ่ ..............................................ผู้บนั ทึก (................................................) ความเห็นของผูบ้ ริหารสถานศึกษาหรอื ผู้ที่ได้รับมอบหมาย ข้อเสนอแนะ ลงชื่อ................................................ (................................................) ตาแหนง่ ................................................. 19
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 สารรอบตัวเรา แผนฯ ท่ี 2 การแยกสารทเ่ี ปน็ ของแข็งออกจากของเหลว แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 2 การแยกสารทเ่ี ป็นของแขง็ ออกจากของเหลว หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 สารรอบตัวเรา ระยะเวลา 3 ชวั่ โมง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้วี ัด ว 2.1 ป.6/1 อธิบายและเปรยี บเทียบการแยกสารผสม โดยการหยบิ ออก การรอ่ น การใชแ้ มเ่ หล็กดึงดูด การรินออก การกรอง และการตกตะกอน โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ รวมทั้งระบุวิธีแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน เกีย่ วกับการแยกสาร 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1) อธบิ ายการแยกสารโดยการรินออก การตกตะกอน และการกรองได้ (K) 2) สังเกตลักษณะของสารและแยกสารทีเ่ ป็นของแข็งออกจากเหลวได้ (P) 3) ยกตัวอย่างการนาวิธกี ารแยกสารแบบต่างๆ ไปปรบั ใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้ (A) 3. สาระการเรยี นรู้ การแยกสารที่เป็นของแขง็ ออกจากของเหลว โดยการตกตะกอน การรินออก และการกรอง 4. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด สารผสมที่ประกอบด้วยของแข็งและของเหลวโดยของแข็งไม่ละลายในของเหลวน้ัน แยกได้โดยการตกตะกอน การรินออก และการกรอง ซ่ึงวิธีการแยกสารสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจาวันได้ 5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รยี น ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 1) ความสามารถในการสื่อสาร 1) การสังเกต 1) มีวนิ ัย 2) ความสามารถในการคดิ 2) ตง้ั สมมติฐาน 2) ใฝเ่ รียนรู้ 3) ความสามารถในการแกป้ ญั หา 3) การทดลอง 3) มุ่งมนั่ ในการทางาน 4) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 4) การลงความเห็นจากข้อมูล 5) การตคี วามหมายข้อมลู และ ลงข้อสรุป 20
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 สารรอบตัวเรา แผนฯ ท่ี 2 การแยกสารที่เปน็ ของแข็งออกจากของเหลว 6. กจิ กรรมการเรียนรู้ แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วิธกี ารสอน/เทคนคิ : 5Es Instructional Model ชัว่ โมงท่ี 1 ขน้ั นา ขั้นกระต้นุ ความสนใจ 1. ครทู บทวนความรเู้ ก่ียวกบั สารผสม โดยนาน้าเกลอื มาให้นักเรยี นสงั เกต 2. นกั เรยี นตอบคาถามตอ่ ไปน้ี - น้าเกลอื มีลักษณะอยา่ งไร และมีสารชนดิ ใดบ้าง (แนวคาตอบ ของเหลวใสไมม่ ีสี มนี า้ และเกลือผสมกัน) - นกั เรียนคดิ ว่า จะแยกเกลือออกจากนา้ ได้อยา่ งไร (แนวคาตอบ ตอบตามความคิดเหน็ ของนักเรียน) 3. ครูสนทนากับนักเรียนว่า วิธีการแยกสารที่เป็นของแข็งออกจากของแข็งสามารถทาได้หลายวิธี เช่น การร่อน การหยบิ ออก การใชแ้ มเ่ หลก็ ดงึ ดดู สว่ นการแยกสารทเ่ี ป็นของแขง็ ออกจากของเหลวมีวิธีท่ีแยกต่างจากการแยก สาร ทเ่ี ปน็ ของแข็งออกจากของแข็ง ซึ่งนักเรียนจะไดเ้ รยี นรจู้ ากการทากิจกรรมต่อไปนี้ ข้นั สอน ขั้นสารวจค้นหา 1. นักเรียนแบ่งกลมุ่ ออกเปน็ กลมุ่ ละ 4-5 คน จากน้ันศึกษาขั้นตอนการทากิจกรรมที่ 2 แยกสารท่ีเป็นของแข็งออก จากของเหลว ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เลม่ 2 หน้า 9 2. นกั เรยี นปฏิบตั ิกิจกรรมท่ี 2 แยกสารทเี่ ป็นของแขง็ ออกจากของเหลว โดยปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี 1) แต่ละกลุ่มสง่ ตัวแทนมารับอุปกรณ์ในการทากิจกรรมท่ี 2 แยกสารทเ่ี ป็นของแข็งออกจากของเหลว 2) สังเกตลักษณะทางกายภาพของตัวอย่างสารผสมที่ครูเตรียมให้ (น้าคลองหรือน้าผสมกับดิน) และบันทึก ลงในแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตรฯ์ ป.6 เลม่ 2 หนา้ 8 3) แยกสารผสมทค่ี รูเตรยี มให้ด้วยการทาให้ตกตะกอน จากนัน้ สงั เกตผลและบนั ทึกวธิ กี ารแยกสาร 4) นาน้าท่ีได้จากข้อท่ี 3) มาแยกของเหลวออกจากของแข็งโดยการรินน้าออก จากตะกอนจากนั้นสังเกตผล และบันทกึ วิธีการแยกสาร 21
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 5 สารรอบตัวเรา แผนฯ ท่ี 2 การแยกสารทเ่ี ป็นของแข็งออกจากของเหลว 5) นาสารที่ได้จากการแยกในข้อ 4) มาแยกของเหลวออกจากของแข็งอีกคร้ังเพ่ือให้ของเหลวใสขึ้น โดยใชก้ ระดาษกรอง จากนั้นสังเกตผลและบนั ทึกวิธีการแยกสาร 6) ร่วมกันสรปุ ความรเู้ ก่ยี วกบั การแยกสารของกลมุ่ (หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมินนักเรยี น โดยการสังเกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ ) ขั้นอธบิ ายความรู้ 1. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มนาเสนอขอ้ มูลกิจกรรมท่ี 2 แยกสารท่ีเป็นของแขง็ ออกจากของเหลว 2. นกั เรียนร่วมกนั สรุปกจิ กรรมที่ 2 แยกสารทเ่ี ปน็ ของแข็งออกจากของเหลวว่า สารผสมที่ประกอบไปด้วยของแข็ง ปนกบั ของเหลว แยกสารโดยใชว้ ธิ กี ารตกตะกอน การรินออก การใชก้ ระดาษกรอง 3. นักเรียนทากิจกรรมหนูตอบได้ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หน้า 8 หรือทาในแบบฝึกหัด วทิ ยาศาสตรฯ์ ป.6 เลม่ 2 หน้า 9 (หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมนิ นกั เรยี น โดยการสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล) ชัว่ โมงที่ 2 ขัน้ สอน (ต่อ) ขน้ั อธบิ ายความรู้ 1. ทบทวนความรู้เดิมของนกั เรียน โดยตง้ั คาถามวา่ การแยกสารผสมมีวิธีการใดบ้าง (แนวคาตอบ วิธหี ยบิ ออก การรอ่ น การใชแ้ มเ่ หล็กดึงดดู การรนิ ออก การกรอง และการตกตะกอน) 2. นกั เรียนแตล่ ะกล่มุ ส่งตัวแทนสุม่ เลอื กป้ายวธิ กี ารแยกสาร และศึกษาวธิ ีการแยกสารตามปา้ ยวธิ กี ารท่ีได้รับ 3. นักเรยี นทากจิ กรรม ชว่ ยคดิ ชว่ ยแกป้ ัญหา โดยปฏิบัติ ดงั น้ี 1) นกั เรยี นดูบตั รภาพสถานการณ์ 1 ใบ จากนั้นแตล่ ะกล่มุ วิเคราะหว์ ธิ ีการแยกสารที่เหมาะสม 2) พิจารณาป้ายวิธีการแยกสารของกล่มุ ตนเอง ถ้าวิธีการแยกสารของกลุ่มนักเรียนสามารถแยกสารชนิดนั้นได้ ให้ส่งตัวแทนออกไปยืนถือป้ายหน้าชั้นเรียน พร้อมให้เหตุผลว่า ทาไมวิธีการแยกสารของกลุ่มนักเรียนจึง สามารถแยกสารตามภาพสถานการณ์ได้ 3) นักเรียนในช้ันเรียนร่วมกันพิจารณาคาตอบว่า จากบัตรภาพสถานการณ์ สามารถใช้วิธีการแยกสารได้ อยา่ งไรบ้าง 4) การให้คะแนน กรณีท่ีตัวแทนกลุ่มออกมาหน้าชั้นเรียนและคาตอบถูกต้องได้ 1 คะแนน กรณีท่ีออกมา หน้าชน้ั เรียนแต่คาตอบไม่ถูกต้องหรอื กลุ่มคาตอบถูกต้องแตไ่ มอ่ อกมาหน้าชั้นเรยี น -1 คะแนน 22
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 5 สารรอบตวั เรา แผนฯ ท่ี 2 การแยกสารที่เปน็ ของแขง็ ออกจากของเหลว 5) ทาเหมือนข้อเดิม แต่เปล่ียนเป็นบัตรภาพสถานการณ์อ่ืน (ครูพิจารณาจานวนบัตรภาพสถานการณ์ ตามความเหมาะสมกบั เวลา) (หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมินนกั เรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม) 4. นักเรียนตอบคาถามท้าทายความคิดข้ันสูงว่า แต้วทาเมล็ดถั่วลิสงร่วงลงไปในแป้งที่ใช้ทาขนม นักเรียนคิดว่า แต้วควรใชว้ ิธกี ารแยกสารผสมวิธใี ดเพ่อื แยกเมลด็ ถัว่ ลิสงออกจากแปง้ จึงจะเหมาะสมที่สดุ เพราะอะไร (แนวคาตอบ วิธีการร่อน เพราะแป้งและถ่ัวลิสงเป็นของแข็งท่ีมีขนาดต่างกัน จึงใช้ตะแกรงร่อนให้แป้งลงไป ด้านลา่ งเหลือถว่ั ลสิ งอยูด่ า้ นบน) 5. ให้นักเรียนจับคู่โดยมีเงื่อนไขว่า ห้ามจับคู่กับคนในกลุ่มเดิม จากนั้นให้นักเรียนแต่ละคู่เปรียบเทียบวิธีการแยก สารผสมของตนเองกับเพ่ือนว่า วิธีการแยกสารผสมแต่ละวิธีแตกต่างกันอย่างไร โดยยึดวิธีการแยกสารผสม ตามกิจกรรม ช่วยคิด ช่วยแกป้ ัญหา 6. จากน้ันครสู ุ่มนักเรียน 2-3 คู่ อธิบายเปรียบเทยี บวธิ ีการแยกสารแบบตา่ งๆ 7. ครูเปิด PowerPoint เร่ือง การแยกสารผสม ให้นักเรียนดู เพื่อเพิ่มเติมความเข้าใจเก่ียวกับวิธีการแยกสาร แบบต่างๆ 8. นักเรยี นตอบคาถามจากชัว่ โมงที่ 1 วา่ ควรใช้วิธีการใดเพอื่ แยกสารผสมในน้าเกลือออกจากกัน (แนวคาตอบ ใชว้ ิธีการระเหยแห้ง) 9. นักเรียนสแกน QR Code เรื่อง การระเหย และศึกษาวิธีการระเหยแห้งในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เลม่ 2 หน้า 17 เพือ่ ขยายความเข้าใจ 10. นักเรียนทากิจกรรมตรวจสอบความเขา้ ใจ ในหนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตรฯ์ ป.6 เล่ม 2 หนา้ 18 11. นักเรียนแต่ละคนเขียนสรุปความรู้เก่ียวกับเรื่องที่ได้เรียนรู้จากบทที่ 1 ในรูปแบบต่างๆ เช่น แผนผังความคิด แผนภาพ ลงในสมุดประจาตัวนักเรียน 12. นักเรียนทุกคนศึกษาแผนผังความคดิ สรุปสาระสาคญั ประจาบทที่ 1 จากหนังสอื เรยี นวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หน้า 19 เพอ่ื ตรวจสอบการเขยี นสรุปความรู้ท่ีนักเรยี นทาไว้ในสมดุ ประจาตัวนักเรียน 13. นักเรียนทากิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 1 หน้า 20 บันทึกลงในสมุด ประจาตวั นกั เรยี น 14. นักเรียนทากิจกรรมฝึกทักษะ ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 1 หน้า 21 บันทึกลงในสมุดประจาตัว นกั เรียน หรอื ทาในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตรฯ์ ป.6 เล่ม 2 หนา้ 10-12 15. นักเรยี นทากิจกรรมท้าทายการคดิ ขน้ั สงู ในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตรฯ์ ป.6 เลม่ 2 หน้า 13 (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมนิ นักเรียน โดยการสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล) 23
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 สารรอบตัวเรา แผนฯ ท่ี 2 การแยกสารที่เปน็ ของแข็งออกจากของเหลว ช่วั โมงท่ี 3 ขั้นสอน (ตอ่ ) ขั้นขยายความเขา้ ใจ 1. นักเรียนตอบคาถามเพ่ือทบทวนความรเู้ ดิมว่า การแยกสารผสมมีประโยชนใ์ นชีวิตประจาวนั อยา่ งไรบ้าง (แนวคาตอบ ตอบตามความคดิ เห็นของนักเรียน เช่น ใช้วิธีการกรองใบชา) 2. ครูสนทนากับนักเรียนว่า อาหารในปัจจุบันมีสสี นั สวยงาม ทาใหอ้ าหารนา่ รบั ประทานมากข้นึ โดยสีท่ีผสมอาหาร ได้มาจากการสังเคราะห์สารเคมีและสีจากธรรมชาติ แต่สีสังเคราะห์หลายชนิดถ้านามาใช้ผสมอาหารจะเป็น อันตรายต่อร่างกาย แตกต่างจากสีที่ได้จากธรรมชาติ ซึ่งใช้ผสมอาหารได้โดยไม่มีอันตราย ในท้องถ่ินของเรามี วตั ถดุ บิ มากมายท่ีให้สีไมว่ า่ จะเป็นพชื ผัก หรือดอกไม้ท่ีสกัดออกมาเป็นสีจากธรรมชาติ เช่น ใบเตยหอม สกัดได้ สีเขียว 3. ให้นักเรียนสแกน QR Code เรื่อง การกรอง ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หน้า 16 ครูอธิบาย เพิ่มเติมว่า จากท่ีนักเรียนได้รับชมไป เป็นวิธีการแยกสารโดยการกรอง เป็นการแยกกากใบเตย และน้าใบเตย ออกจากกัน 4. นกั เรียนแบง่ กลุ่มออกเป็นกลุม่ ละ 4-5 คน (ใชก้ ลมุ่ เดมิ ) ทากจิ กรรมมหศั จรรยส์ สี นั จากธรรมชาติ ปฏบิ ตั ิดงั นี้ 1) สง่ ตัวแทนมารบั ใบกิจกรรม มหัศจรรยส์ สี นั จากธรรมชาติ และวสั ดุ-อปุ กรณใ์ นการทากิจกรรม 2) ใหน้ กั เรยี นปฏบิ ตั ิตามข้ันตอนในใบกจิ กรรม และบนั ทึกข้อมลู ขน้ั ตอนและวธิ ีการแยกสารผสมแบบต่างๆ ในการทากจิ กรรม พรอ้ มถา่ ยภาพประกอบ 5. นกั เรียนทากจิ กรรมสร้างสรรคผ์ ลงาน โดยนาขอ้ มลู วธิ กี ารแยกสารผสมและภาพประกอบไปจัดทาเป็น Big Book ตกแต่งใหส้ วยงาม โดยข้อมลู ใน Big Book ประกอบไปดว้ ย 1) ภาพวิธีการแยกสารผสม 2) ระบุชอ่ื สารผสม พรอ้ มวิธกี ารแยกสารผสม 3) แต่ละกลุ่มนาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรียน ขน้ั สรุป 1. นักเรยี นร่วมกนั สรุปผลการทากิจกรรมว่า ถ้าต้องการแยกสารผสมออกจากกันสามารถทาได้หลายวิธี โดยข้ึนอยู่ กบั ลักษณะและสมบัติของสารผสมที่อยรู่ วมกัน 24
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 สารรอบตัวเรา แผนฯ ท่ี 2 การแยกสารท่ีเปน็ ของแขง็ ออกจากของเหลว ขั้นประเมนิ ข้ันตรวจสอบผล 1. นกั เรยี นแต่ละคนทาทบทวนทา้ ยหนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 ในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เลม่ 2 หนา้ 14-17 2. นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เพ่ือตรวจสอบความรูข้ องนักเรียนหลังทากิจกรรม 3. ครูตรวจกิจกรรมท่ี 2 แยกสารที่เป็นของแข็งออกจากของเหลว ในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หน้า 8 4. ครตู รวจแผนผงั ความคิด สรปุ สาระสาคัญ ประจาบทที่ 1 ในสมดุ ประจาตวั นกั เรยี น 5. ครูตรวจกจิ กรรมพฒั นาการเรยี นรู้ 6. ครูตรวจกิจกรรมหนูตอบได้ในสมุดประจาตัวนักเรียนหรือทาในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หนา้ 9 7. ครูตรวจกิจกรรมฝึกทักษะในสมุดประจาตัวนักเรียนหรือทาในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หนา้ 10-12 8. ครตู รวจกิจกรรมทา้ ทายการคิดข้นั สงู ในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตรฯ์ ป.6 เลม่ 2 หน้า 13 9. ครปู ระเมนิ ผลงาน Big Book ในกิจกรรมสรา้ งสรรคผ์ ลงาน 10. ครูตรวจทบทวนท้ายหน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 ในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หน้า 14-17 11. ครูตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5 เพอ่ื ตรวจสอบความรู้ของนกั เรยี นหลังทากจิ กรรม 7. การวดั และประเมินผล รายการวัด วิธกี าร เครอ่ื งมอื เกณฑ์ 1) ผลงาน Big Book - ประเมินผลงาน - แบบประเมนิ ผลงาน - คณุ ภาพอยู่ในระดับดี 2) กจิ กรรมที่ 2 แยก - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝึกหัดวิทยาศาสตรฯ์ ผา่ นเกณฑ์ สารทเี่ ป็นของแขง็ วทิ ยาศาสตรฯ์ ป.6 เลม่ 2 ป.6 เลม่ 2 หน้า 8 - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ออกจากของเหลว หนา้ 8 3) สรุปสาระสาคญั - ตรวจสมุดประจาตวั - สมดุ ประจาตวั นกั เรียน - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ประจาบทท่ี 1 นักเรยี น - บัตรความรู้ - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 4) กิจกรรมพัฒนา - ตรวจบตั รความรู้ การเรยี นรู้ 25
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 สารรอบตวั เรา แผนฯ ที่ 2 การแยกสารทีเ่ ป็นของแข็งออกจากของเหลว รายการวัด วิธีการ เครื่องมอื เกณฑ์ - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 5) กิจกรรมฝึกทกั ษะ - ตรวจสมุดประจาตัวหรือ - สมดุ ประจาตัวหรือ บทท่ี 1 แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตรฯ์ แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เลม่ 2 หนา้ 10-12 ป.6 เลม่ 2 หนา้ 10-12 6) กจิ กรรมท้าทาย - ตรวจแบบฝึกหดั - แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ฯ - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ป.6 เล่ม 2 หนา้ 13 การคดิ ข้ันสงู วทิ ยาศาสตรฯ์ ป.6 เลม่ 2 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ - แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ฯ หนา้ 13 ป.6 เล่ม 2 หน้า 14-17 - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 7) ทบทวนทา้ ยหน่วย - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบทดสอบหลงั เรียน - คุณภาพอยู่ในระดบั ดี หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 5 ผา่ นเกณฑ์ การเรยี นรู้ท่ี 5 วิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 - แบบสงั เกตพฤติกรรม - คณุ ภาพอยใู่ นระดับดี หนา้ 14-17 การทางานรายบคุ คล ผ่านเกณฑ์ 8) ทดสอบหลงั เรยี น - ตรวจแบบทดสอบหลัง - แบบสงั เกตพฤติกรรม การทางานกล่มุ หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 5 เรยี น หนว่ ยการเรยี นรู้ ท่ี 5 9) พฤติกรรม - สังเกตพฤตกิ รรม การทางานรายบคุ คล การทางานรายบุคคล 10) พฤติกรรม - สังเกตพฤตกิ รรม การทางานกลุ่ม การทางานกล่มุ หมายเหตุ : แบบสังเกตพฤติกรรมประเมนิ รายเทอม 26
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 สารรอบตวั เรา แผนฯ ท่ี 2 การแยกสารที่เปน็ ของแขง็ ออกจากของเหลว 8. สอื่ /แหลง่ การเรียนรู้ 8.1 ส่ือการเรยี นรู้ 1) หนังสอื เรยี นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 2) แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 3) วัสดุ-อุปกรณ์ที่ใชใ้ นกิจกรรมท่ี 2 แยกสารท่ีเป็นของแข็งออกจากของเหลว 4) วัสดุ-อปุ กรณ์ทีใ่ ช้ในกิจกรรมสรา้ งสรรคผ์ ลงาน 5) วสั ดุ-อปุ กรณท์ ใ่ี ช้ในกิจกรรมพฒั นาการเรยี นรู้ 6) วสั ดุ-อุปกรณท์ ี่ใช้ในกจิ กรรมมหัศจรรย์สสี นั จากธรรมชาติ 7) QR Code เรอ่ื ง การกรอง 8) QR Code 3D เรอ่ื ง การระเหย 9) PowerPoint เรื่อง การแยกสารผสม 10) บตั รภาพสถานการณ์ 11) ใบกิจกรรม มหัศจรรยส์ ีสันจากธรรมชาติ 12) สมุดประจาตวั นักเรยี น 8.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1) หอ้ งเรียน 2) หอ้ งสมดุ 3) อนิ เทอรเ์ น็ต 27
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 สารรอบตัวเรา แผนฯ ท่ี 2 การแยกสารทเ่ี ป็นของแขง็ ออกจากของเหลว ใบกจิ กรรม มหศั จรรย์สีสันจากธรรมชาติ คาชแ้ี จง : ให้นกั เรียนเลือกวัตถุดบิ ท่ีมีอยู่ในท้องถ่ินมา 3 ชนิด เพ่อื สกัดสีต่างๆ ออกมาโดยวธิ กี ารแยกสารแบบต่างๆ นาสีทีส่ กัดมาได้ไปใช้ทาบัวลอย วัสดุ-อปุ กรณ์ - วตั ถุดิบจากธรรมชาติ สาหรบั ใช้สกดั สี เช่น ใบเตย - นา้ ตาลปีบ/น้าตาลทราย - แปง้ ขา้ วเหนียว - เกลอื - แปง้ มัน - หม้อ - นา้ เปลา่ - ทพั พี - กะทิ - กะละมงั วิธีทา 1) สกัดสผี สมอาหารจากธรรมชาติ 2) นาแป้งข้าวเหนยี วใสล่ งในกะละมงั ตามดว้ ยแป้งมนั สีผสมอาหาร และคอ่ ยๆ เติม น้าเปล่าทีละ 1 ช้อนโต๊ะ ควบคู่ไปกับการนวดแป้ง ใส่น้าจนครบ 8 ช้อนโต๊ะ ให้ได้แป้งที่เนื้อเนียนเป็นเน้ือเดียวกันและนุ่ม ไม่เหลว ตดิ มอื แลว้ พักแปง้ ไวเ้ พอื่ ปั้น ผสมแปง้ ซา้ จนครบ 3 สี 3) เม่ือได้แปง้ ครบทุกสแี ลว้ ปนั้ เป็นกอ้ นกลมๆ ขนาด 1 ซม. ให้ครบทกุ สี แลว้ นาไปต้ม เมือ่ แป้งลอยตัวให้ช้อน แป้งขน้ึ มาพักไวใ้ นนา้ เย็น เพ่ือต้มรวมกบั นา้ กะทิ 4) นาหม้อขึ้นต้ังบนเตาแก๊ส จากนั้นใส่หางกะทิ น้าตาล และเกลือ โดยใช้ไฟกลาง คนให้ส่วนผสมเข้ากัน จากน้นั นาบัวลอยทีพ่ กั ไวใ้ สล่ งไปในน้ากะทิ แล้วต้มเป็นเวลาอย่างน้อย 10 นาที เพ่ือให้ความหวานมันจาก นา้ กะทิ ซมึ เขา้ ให้ไปในแปง้ บัวลอย เมือ่ ครบเวลาแลว้ ตกั ใสถ่ ้วย 28
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 5 สารรอบตัวเรา แผนฯ ท่ี 2 การแยกสารท่ีเปน็ ของแขง็ ออกจากของเหลว บตั รภาพสถานการณ์ ทาอย่างไรดีถงึ จะแยกสารผสมออกจากกันได้ ถ้าฉันตอ้ งการแยกธัญพืชแตล่ ะชนดิ ไปเกบ็ ใสก่ ระปุกไว้ ฉนั ควรทาอย่างไร 29
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 สารรอบตวั เรา แผนฯ ท่ี 2 การแยกสารท่ีเป็นของแขง็ ออกจากของเหลว บตั รภาพสถานการณ์ ถา้ ฉันต้องการแยกพรกิ ออกจากนา้ ปลา ฉันควรทาอยา่ งไร แยแ่ ลว้ มีข้าวเปลือกปนอยใู่ นขา้ วสาร ฉันจะนาข้าวเปลอื กออก จากข้าวสารได้อย่างไร 30
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 สารรอบตวั เรา แผนฯ ที่ 2 การแยกสารท่เี ป็นของแข็งออกจากของเหลว บตั รภาพสถานการณ์ ฉนั กาลังจะจิบชา แตม่ ใี บชาลอยอยใู่ นน้าชา ฉนั จะทาอย่างไรดีนะ ฉนั ไมช่ อบรบั ประทานไข่มกุ ในชาไข่มุกเลย ฉนั จะแยกไขม่ กุ ออกไดอ้ ยา่ งไร 31
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 5 สารรอบตวั เรา แผนฯ ที่ 2 การแยกสารทีเ่ ปน็ ของแข็งออกจากของเหลว บตั รภาพสถานการณ์ ฉันตอ้ งเอาขา้ วออกจากนา้ เพราะฉันจะเอานา้ ซาวขา้ วไปรดน้า ตน้ ไม้ ฉันตอ้ งทาอยา่ งไร ทาอย่างไรดี ฉันอยากได้นา้ ใสๆ 32
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 5 สารรอบตัวเรา แผนฯ ที่ 2 การแยกสารท่ีเปน็ ของแขง็ ออกจากของเหลว แบบบนั ทกึ หลังแผนการจัดการเรียนรู้ ดา้ นความรู้ ดา้ นสมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน ด้านคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ดา้ นความสามารถทางวิทยาศาสตร์ ด้านอืน่ ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤติกรรมท่ีมีปัญหาของนักเรยี นเป็นรายบุคคล (ถ้าม)ี ) ปัญหา/อปุ สรรค แนวทางการแก้ไข ลงชอ่ื ..............................................ผู้บนั ทกึ (................................................) ความเหน็ ของผบู้ ริหารสถานศกึ ษาหรอื ผู้ท่ีไดร้ บั มอบหมาย ข้อเสนอแนะ ลงช่ือ................................................ (................................................) ตาแหนง่ ................................................. 33
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 6 หนิ และซากดกึ ดาบรรพ์ ระยะเวลา 3 ชว่ั โมง แผนฯ ที่ 1 กระบวนการเกดิ หิน ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 6 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 กระบวนการเกิดหิน หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 6 หินและซากดกึ ดาบรรพ์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ดั ว 3.2 ป.6/1 เปรยี บเทยี บกระบวนการเกิดหนิ อัคนี หินตะกอน และหนิ แปร และอธบิ ายวัฏจกั รหนิ จากแบบจาลอง 2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1) เปรยี บเทียบกระบวนการเกิดหนิ อคั นี หนิ ตะกอน และหนิ แปรได้ (K) 2) อธบิ ายวัฏจกั รหนิ จากแบบจาลองได้ (K) 3) สรา้ งแบบจาลองวฏั จักรหินได้ (P) 4) ยกตัวอย่างกระบวนการเกดิ หินที่พบในชีวติ ประจาวันได้ (A) 3. สาระการเรียนรู้ กระบวนการเกดิ หนิ อคั นี หนิ ตะกอน หินแปร และวัฏจักรหนิ 4. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด หินอัคนีเกิดมาจากการเย็นตัวของแมกมา หินตะกอนเกิดมาจากการทับถมของตะกอนเม่ือถูกแรงกดทับและ มีสารเชื่อมประสานจึงเกิดเป็นหิน หินแปรเกิดมาจากการแปรสภาพของหินเดิม ซ่ึงอาจเป็นหินอัคนี หินตะกอน หรือ หนิ แปร โดยการกระทาของความรอ้ น ความดัน และปฏกิ ริ ิยาเคมี หินอัคนี หินตะกอน และหนิ แปร มีการเปลี่ยนแปลงจากประเภทหนึ่งไปเป็นอีกประเภทหน่ึงหรือประเภทเดิมได้ โดยมแี บบรูปการเปลี่ยนแปลงคงที่และต่อเนอ่ื งเป็นวัฏจักร 5. สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1) ความสามารถในการส่ือสาร 1) การสังเกต 1) มีวนิ ัย 2) ความสามารถในการคิด 2) จาแนกประเภท 2) ใฝ่เรียนรู้ 3) ความสามารถในการแกป้ ญั หา 3) การลงความเหน็ จากข้อมูล 3) มงุ่ ม่ันในการทางาน 4) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 4) การจัดกระทาและสือ่ ความหมาย ข้อมลู 48
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 6 หนิ และซากดึกดาบรรพ์ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ แผนฯ ที่ 1 กระบวนการเกิดหิน 5) การตีความหมายข้อมลู และ สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น ลงขอ้ สรปุ 6) การสรา้ งแบบจาลอง 6. กจิ กรรมการเรียนรู้ แนวคิด/รปู แบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนิค : 5Es Instructional Model ช่วั โมงท่ี 1 1. ครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 หินและซากดึกดาบรรพ์ แบบปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 10 ขอ้ (หมายเหตุ : ครตู รวจแบบทดสอบก่อนเรยี น เพอื่ ประเมนิ ความรเู้ ดิมและเข้าใจผเู้ รยี นเพื่อใช้ในการจัดกจิ กรรม) ขน้ั นา ข้นั กระตุน้ ความสนใจ 1. นักเรยี นสังเกตลักษณะความเหมือนและความแตกต่างของหนิ แตล่ ะชนิดจากตัวอย่างหนิ ทีค่ รเู ตรียมมา 2. นักเรียนตอบคาถามตอ่ ไปน้ี - หินแตล่ ะกอ้ นมีลกั ษณะอยา่ งไร (แนวคาตอบ ขนึ้ อยกู่ บั ลักษณะของหินที่ครนู ามาใหน้ ักเรยี นสังเกต) - เพราะเหตใุ ดหินจึงมีลักษณะแตกตา่ งกัน (แนวคาตอบ เพราะหนิ แตล่ ะชนิดมีกระบวนการเกิดแตกต่างกนั ) - หนิ เกิดข้นึ ไดอ้ ยา่ งไร (แนวคาตอบ ตอบตามความคดิ เหน็ ของนกั เรียน เชน่ เกดิ จากการทบั ถม) 3. นักเรียนอ่านสาระสาคัญและดูภาพจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หน้านี้ จากน้ันครูถามคาถามว่า นักเรยี นคิดวา่ หินในภาพสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้หรอื ไม่ อย่างไร แล้วร่วมกนั ตอบอยา่ งอสิ ระ (แนวคาตอบ สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ได้ เช่น ใช้ตกแตง่ บรเิ วณสวนหยอ่ ม) 4. นักเรียนดูภาพในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หน้า 25 และตอบคาถามว่า ลาวาที่เกิดจากการปะทุ ของภเู ขาไฟเกี่ยวข้องกบั การเกดิ หนิ หรือไม่ อยา่ งไร 49
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 6 หินและซากดึกดาบรรพ์ แผนฯ ท่ี 1 กระบวนการเกิดหนิ (แนวคาตอบ เก่ียวข้อง เพราะลาวาที่เกิดจากการปะทขุ องภูเขาไฟเมอ่ื เยน็ ตัวลงจะกลายเปน็ หนิ อัคนีพุ) 5. นักเรียนอ่านกิจกรรมชวนอ่าน ชวนคิดก่อนเรียน ตอน ประโยชน์ของหิน ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หน้า 26 และตอบคาถามชวนตอบตอ่ ไปนี้ - หินคอื อะไร และเราสามารถนาหินชนดิ ต่างๆ มาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวนั ได้อยา่ งไร (แนวคาตอบ หิน คือ วัสดุแข็งเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ ประกอบด้วยแร่ต้ังแต่ 1 ชนิดข้ึนไป สามารถ นามาใชป้ ระโยชนไ์ ด้หลายด้าน เชน่ สรา้ งผนงั บา้ น ทาครกหิน ปพู ืน้ ) 6. ครสู นทนากับนักเรียนเพ่อื โยงเขา้ สกู่ จิ กรรมว่า หินเป็นทรัพยากรท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ หินเป็นส่วนประกอบ ของเปลือกโลกท่ีมีลักษณะเป็นก้อนแข็ง มีรูปร่าง และปริมาณท่ีแน่นอน นักวิทยาศาสตร์ จาแนกหินตาม กระบวนการเกิดได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ หินอัคนี หินตะกอน และหินแปร วันน้ีเราจะมาเรียนรู้ว่าหินเกิดขึ้นได้ อยา่ งไร จากกิจกรรมตอ่ ไปนี้ ขน้ั สอน ข้ันสารวจคน้ หา 1. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็นกลุ่มละ 4-5 คน จากนั้นศึกษาขั้นตอนการทากิจกรรมท่ี 1 กระบวนการเกิดหิน ในหนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ฯ ป.6 เลม่ 2 หนา้ 28 2. นักเรียนปฏบิ ัติกจิ กรรมท่ี 1 กระบวนการเกดิ หนิ ตอนที่ 1 โดยปฏิบัติ ดงั นี้ 1) ให้แต่ละกลุ่มช่วยกันสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับกระบวนการเกิดหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร จากน้ันบันทึก ลงในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตรฯ์ ป.6 เลม่ 2 หนา้ 20 2) นักเรยี นส่งตวั แทนกลุม่ มาจับสลากหัวข้อการนาเสนอกระบวนการเกดิ หนิ ดังน้ี - หัวข้อ กระบวนการเกดิ หนิ อัคนี - หัวขอ้ กระบวนการเกิดหนิ ตะกอน - หวั ขอ้ กระบวนการหนิ แปร 3) ใหน้ ักเรยี นวาดภาพเพ่ืออธิบายการเกดิ หินตามชนดิ ทจ่ี ับสลากได้ ลงในกระดาษปรู๊ฟพรอ้ มตกแตง่ ให้สวยงาม (หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมินนกั เรยี น โดยการสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม) ข้ันอธบิ ายความรู้ 1. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ นาเสนอขอ้ มลู กระบวนการเกิดหินตามหัวข้อทไ่ี ด้รับมอบหมาย 2. นักเรยี นตอบคาถามว่า หินอคั นีเกดิ ข้นึ ไดอ้ ยา่ งไร (แนวคาตอบ หนิ อัคนีเกิดจากการรวมตัวของแรท่ ีเ่ ยน็ ตัวและตกผลึกจากหินหนดื ทีอ่ ุณหภูมิสงู ) 50
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 6 หนิ และซากดึกดาบรรพ์ แผนฯ ท่ี 1 กระบวนการเกดิ หิน 3. ครสู าธติ กระบวนการเกิดหนิ อัคนี โดยปฏบิ ัติ ดงั นี้ 1) นาเศษสีเทยี นสีตา่ งๆ ใสใ่ นบกี เกอรข์ นาด 100 mL เททรายลงไป และเติมนา้ ลงไปใหท้ ว่ มทราย 2) นาไปตั้งบนตะแกรง จดุ ตะเกียงแอลกอฮอล์ นักเรียนสังเกตการเปล่ยี นแปลง 3) เมื่อสีเทียนหลอมละลายเรียบร้อยแล้ว ดับไฟ และต้ังทิ้งไว้ให้สีเทียนแข็งตัว ให้นักเรียนสังเกตการ เปล่ยี นแปลง 4. นักเรียนตอบคาถามว่า ถ้าเปรียบเทียบสีเทียนตอนที่หลอมละลายเป็นหินหนืด แล้วสีเทียนตอนที่แข็งตัวเป็น อะไร (แนวคาตอบ หินอคั นี) 5. นักเรียนสแกน QR Code เร่ืองการเกิดหินอัคนีพุ ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หน้า 31 และ ร่วมกันอภปิ รายเกยี่ วกบั การเกิดหินอคั นีพุ 6. ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ เกีย่ วกบั การเกดิ หนิ อคั นวี า่ เกดิ จากการเยน็ ตัวและตกผลึกของหินหนดื โดยหินอัคนีท่ีเย็นตัวใต้ เปลอื กโลกเรยี กหินอัคนีกลุ่มนว้ี ่า หินอคั นแี ทรกซอนหรอื หินอัคนรี ะดบั ลกึ ส่วนหินอัคนีที่แข็งตัวบนโลก เรียกหิน อัคนีกลุม่ นีว้ า่ หนิ ภเู ขาไฟหรือหนิ อคั นีพุ 7. ครใู ชไ้ ม้บรรทดั สบั สีเทยี นแตล่ ะสใี หม้ ีขนาดเล็กๆ บนกระดาษ A4 จากน้ันนาสีเทียนที่สับเทลงในถ้วยซิลิโคนทีละ สี แลว้ บบี อัด กดทบั สเี ทยี นในถ้วยไปเร่อื ยๆ จากนนั้ ใหน้ กั เรยี นสงั เกตลกั ษณะของสีเทยี น (หมายเหตุ : ครูอาจให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการสาธติ ) 8. ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า สีเทียนท่ีถูกบีบอัดเปรียบเหมือนหินตะกอนหรือหินชั้น ซึ่งหินตะกอนเกิดจากการทับถม ของเศษหินท่ีผุกร่อน แล้วถูกพัดพามาสะสมรวมกันทาให้ตะกอนเกิดการถูกบีบอัด กดทับ และเกิดการเชื่อม ประสานเมด็ ตะกอนจนทาใหช้ ัน้ หนิ กลายเปน็ หินตะกอน 9. นักเรียนตอบคาถามว่า หนิ แปรเกดิ ข้นึ ไดอ้ ย่างไร (แนวคาตอบ หินแปรเกิดจากการแปรสภาพของหินอัคนี หินตะกอน หรือหินแปร โดยมีการตกผลึกใหม่ของแร่ ในสภาวะทเี่ ป็นของแข็ง เนือ่ งจากความร้อนและความดันภายในโลก) 10. ครูเปิด PowerPoint เร่ือง หินในธรรมชาติ ให้นักเรียนดู เพื่อเพ่ิมเติมความเข้าใจเก่ียวกับการกระบวนการเกิด หนิ จากนนั้ ให้นักเรียนแลกเปลย่ี นความรเู้ กีย่ วกับกระบวนการเกิดหนิ กบั สมาชกิ ในกลุม่ 11. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ นาความรทู้ ี่ไดม้ าออกแบบและสร้างแบบจาลองวัฏจักรของหนิ (หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมนิ นักเรยี น โดยการสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล) 51
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 6 หนิ และซากดึกดาบรรพ์ แผนฯ ท่ี 1 กระบวนการเกิดหนิ ช่วั โมงท่ี 2 ขั้นสอน (ต่อ) ข้นั อธิบายความรู้ 12. นักเรียนตอบคาถามเพื่อทบทวนความรู้เดิมว่า หนิ ที่เยน็ ตัวใต้เปลอื กโลก เราเรียกหินกลมุ่ นีว้ า่ อะไร (แนวคาตอบ หนิ อัคนีแทรกซอนหรอื หินอัคนรี ะดบั ลึก) 13. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอหน้าช้ันเรียน โดยใช้แบบจาลองวัฏจักรหินอธิบายเปรียบเทียบกระบวนการเกิด หนิ อคั นี หนิ ตะกอน และหนิ แปร 14. ครูสแกน QR Code 3D เรอ่ื ง วฏั จักรหิน เพอื่ อธิบายเกยี่ วกับวฏั จักรหนิ 15. นักเรียนร่วมกันสรุปกิจกรรมที่ 1 กระบวนการเกิดหิน ตอนที่ 1 ว่า หินอัคนีเกิดมาจากการเย็นตัวของแมกมา หินตะกอน เกิดมาจากการทับถมของตะกอนเม่ือถูกแรงกดทับและมีสารเชื่อมประสานจึงเกิดเป็นหิน หินแปร เกดิ มาจากการแปรสภาพของหินเดิม ซง่ึ อาจเปน็ หนิ อัคนี หินตะกอน หรือหินแปร โดยการกระทาของความร้อน ความดัน และปฏกิ ิริยาเคมี ขัน้ สารวจคน้ หา 1. แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่มละ 4-5 คน (กลุ่มเดิม ) ปฏิบัติกิจกรรมท่ี 1 กระบวนการเกิดหิน ตอนที่ 2 โดย ปฏิบตั ิ ดงั น้ี 1) สง่ ตัวแทนออกมารบั วสั ดุ-อุปกรณ์ในการทากิจกรรม 2) แต่ละกลมุ่ ชว่ ยกันสงั เกตหินจากชดุ หินตัวอย่างที่ครเู ตรยี มให้ 3) จาแนกหินจากชุดตัวอย่างหิน โดยใช้เกณฑ์กระบวนการเกิดหิน แล้วบันทึกผลลงในแบบฝึกหัด วทิ ยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หน้า 21 4) ช่วยกันนาผลการจาแนกมาจัดทาในรูปแบบต่างๆ เช่น แผนผัง แผนภาพ ตาราง ลงในกระดาษแข็ง แผน่ ใหญ่ พรอ้ มตกแต่งใหส้ วยงาม (หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมนิ นกั เรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ ) ขน้ั อธบิ ายความรู้ 1. ครูให้นักเรียนแตล่ ะกล่มุ สง่ ตวั แทนนาเสนอผลงานหน้าชัน้ เรยี น 2. นักเรียนตอบคาถามต่อไปน้ี - หินอคั นีแทรกซอนหรอื หนิ อัคนรี ะดับลกึ มลี ักษณะอยา่ งไร (แนวคาตอบ หินมีเนื้อหยาบและแนน่ แข็ง เพราะมแี ร่หลายชนดิ เป็นส่วนประกอบอยู่ในเนอ้ื หิน) 52
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 6 หนิ และซากดกึ ดาบรรพ์ แผนฯ ท่ี 1 กระบวนการเกดิ หนิ - หินภูเขาไฟมีลกั ษณะอย่างไร (แนวคาตอบ เน้ือหินเปน็ รูพรนุ บางชนดิ มีเน้อื หนิ ละเอียด) - ลกั ษณะหินตะกอนกับหนิ แปรแตกต่างกนั อย่างไร (แนวคาตอบ เนื้อหนิ ตะกอนส่วนใหญม่ ลี ักษณะเปน็ เม็ดตะกอน บางชนิดเป็นเน้ือผลึกท่ียึดเกาะกัน บาง ชนิดมีลักษณะเป็นช้ันๆ ส่วนเนื้อหินแปรบางชนิดผลึกแร่เรียงตัวขนานกันเป็นแถบ บางชนิดแซะ ออกเปน็ แผน่ ได้ บางชนิดมีความแขง็ มาก) 3. นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปกิจกรรมท่ี 1 กระบวนการเกิดหิน ตอนท่ี 2 ว่า หินอัคนี หินตะกอน และ หินแปร เป็นหินในธรรมชาติที่มีความสัมพันธ์กัน เพราะแต่ละประเภทมีการเปลี่ยนแปลงจากประเภทหนึ่งไป เป็นอกี ประเภทหน่งึ หรอื เปลย่ี นแปลงกลบั มาเปน็ ประเภทเดมิ ได้ แตม่ สี มบัติบางประการเปล่ียนแปลงไป 4. นักเรียนทากิจกรรมหนูตอบได้ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หน้า 29 บันทึกลงในสมุดประจาตัว นักเรียนหรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เลม่ 2 หนา้ 22 5. นกั เรยี นเตรียมหินในทอ้ งถิ่นมาคนละ 1 ชนดิ เพือ่ ทากจิ กรรมในชัว่ โมงถัดไป (หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมินนกั เรยี น โดยการสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล) ช่วั โมงท่ี 3 ขัน้ สอน (ต่อ) ข้นั ขยายความเข้าใจ 1. ทบทวนความรเู้ ดมิ นักเรียน โดยแจกบตั รภาพหินให้นกั เรียนคนละ 1 แผ่น จากน้ันให้สังเกตลักษณะของหิน และ จาแนกวา่ เปน็ หินชนดิ ใด ถ้าแปรสภาพจะกลายเป็นหินชนิดใดหรือแปรสภาพมาจากหนิ ชนิดใด 2. นักเรยี นคนท่ีจับได้หนิ แปรตามหาเพอ่ื นทีจ่ ับไดห้ นิ ทจ่ี ะกลายมาเป็นหินแปรตามหินในบัตรภาพ 3. สมุ่ นักเรียนแต่ละค่นู าเสนอตัวอยา่ งการแปรสภาพของหนิ 4. นักเรียนแต่ละคู่นาหินในท้องถ่ินที่เตรียมมาวิเคราะห์ลักษณะของหิน แหล่งท่ีมา และจาแนกประเภทของหิน จากนั้นบันทกึ ลงในใบงาน 6.1 หนิ ในทอ้ งถนิ่ 5. นักเรยี นแต่ละคนู่ าเสนอผลการทากจิ กรรม (หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมินนกั เรยี น โดยการสงั เกตพฤตกิ รรมใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มัน่ ในการทางาน มวี นิ ัย) ข้ันสรปุ 1. นกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ ผลการทากิจกรรมว่า หินอัคนี หินตะกอน และหินแปร มีการเปลี่ยนแปลงจากประเภทหน่ึง ไปเปน็ อีกประเภทหน่งึ หรอื ประเภทเดิมได้ โดยมแี บบรปู การเปลยี่ นแปลงคงทแ่ี ละตอ่ เนือ่ งเปน็ วัฏจักร 53
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 6 หินและซากดกึ ดาบรรพ์ แผนฯ ที่ 1 กระบวนการเกดิ หิน ขน้ั ประเมนิ ขั้นตรวจสอบผล 1. ครูตรวจบันทึกข้อมูลการทากิจกรรมที่ 1 กระบวนการเกิดหินในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หนา้ 20-21 2. ครตู รวจกจิ กรรมหนูตอบได้ในสมุดประจาตัวนักเรียนหรือในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หน้า 22 3. ครตู รวจใบงาน 6.1 หนิ ในทอ้ งถนิ่ 7. การวดั และประเมินผล รายการวัด วิธกี าร เครอ่ื งมอื เกณฑ์การประเมิน - แบบฝึกหัด - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 1) กจิ กรรมท่ี 1 - ตรวจแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ฯ ป.6 - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ กระบวนการเกิดหนิ วิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หนา้ 20-21 เล่ม 2 หน้า 20-21 - สมุดประจวั นักเรียน 2) กจิ กรรมหนตู อบได้ - ตรวจสมุดประจาตัว หรือแบบฝึกหัด นักเรยี นหรือ วทิ ยาศาสตร์ ป.6 เลม่ แบบฝกึ หัด 2 หนา้ 22 วทิ ยาศาสตร์ฯ ป.6 เลม่ 2 หนา้ 22 3) ใบงาน 6.1 - ตรวจใบงาน 6.1 - ใบงาน 6.1 - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ หินในทอ้ งถ่ิน หนิ ในทอ้ งถน่ิ หินในทอ้ งถิน่ - คณุ ภาพอยูใ่ นระดบั ดี 4) พฤติกรรมการทางาน - สังเกตพฤตกิ รรมการ - แบบสังเกตพฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์ การทางานรายบุคคล รายบคุ คล ทางานรายบคุ คล 5) พฤติกรรมการทางาน - สงั เกตพฤติกรรมการ - แบบสังเกตพฤติกรรม - คณุ ภาพอยใู่ นระดบั ดี กลุ่ม ทางานกลมุ่ การทางานกล่มุ ผา่ นเกณฑ์ หมายเหตุ : แบบสงั เกตพฤติกรรมประเมินรายเทอม 54
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 6 หนิ และซากดกึ ดาบรรพ์ แผนฯ ที่ 1 กระบวนการเกิดหิน 8. ส่อื /แหล่งการเรยี นรู้ 8.1 ส่ือการเรยี นรู้ 1) หนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 2) แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 3) วัสดุ-อปุ กรณท์ ่ใี ช้ในกจิ กรรมท่ี 1 กระบวนการเกดิ หิน 4) วสั ดุ-อุปกรณ์ท่ีใชใ้ นกิจกรรมสาธติ กระบวนการเกิดหิน 5) QR Code เร่อื ง การเกิดหินอคั นีพุ 6) QR Code 3D เรอ่ื ง วฏั จกั รหนิ 7) PowerPoint เรื่อง หนิ ในธรรมชาติ 8) ใบงานที่ 6.1 หินในท้องถ่ิน 9) บตั รภาพหนิ 10) กระดาษปรูฟ๊ 11) สมุดประจาตวั นักเรียน 8.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1) หอ้ งเรียน 2) อินเทอรเ์ น็ต 3) ห้องสมุด 55
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 6 หนิ และซากดกึ ดาบรรพ์ แผนฯ ท่ี 1 กระบวนการเกิดหนิ ใบงานที่ 6.1 หนิ ในทอ้ งถ่ิน คาช้แี จง : ให้นกั เรยี นนาหินทม่ี อี ยู่ในทอ้ งถ่ิน สังเกตลักษณะของหนิ แหลง่ ทม่ี า และจาแนกประเภทของหิน ตวั อย่างหิน 1 แหล่งท่พี บ : …………………………………………………………………………………………………………………………… ลักษณะหนิ : …………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ประเภทหนิ : ........................................................................................................................................ ตัวอยา่ งหนิ 2 แหลง่ ทีพ่ บ : …………………………………………………………………………………………………………………………… ลักษณะหนิ : …………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ประเภทหิน : ........................................................................................................................................ 56
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 6 หนิ และซากดึกดาบรรพ์ แผนฯ ท่ี 1 กระบวนการเกดิ หนิ ใบงานที่ 6.1 เฉลย หนิ ในทอ้ งถิน่ คาช้แี จง : ให้นักเรียนนาหนิ ที่มอี ยู่ในท้องถิ่น สังเกตลักษณะของหิน แหลง่ ทม่ี า และจาแนกประเภทของหิน ตวั อย่างหนิ 1 แหล่งที่พบ : …………………………………………………………………………………………………………………………… ลกั ษณะหนิ : …………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ประเภทหนิ : ........................................................................................................................................ ตัวอยา่ งหิน 2 แหลง่ ท่ีพบ : …………………………………………………………………………………………………………………………… ลกั ษณะหิน : …………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ประเภทหิน : ........................................................................................................................................ 57
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 6 หนิ และซากดกึ ดาบรรพ์ แผนฯ ที่ 1 กระบวนการเกดิ หิน บตั รภาพหิน หินแกรนิต หินไนส์ หินทราย หินควอร์ตไซต์ 58
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185