หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 6 หินและซากดกึ ดาบรรพ์ แผนฯ ท่ี 1 กระบวนการเกดิ หนิ บตั รภาพหิน หินดนิ ดาน หินชนวน หนิ ปูน หินออ่ น 59
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 6 หินและซากดึกดาบรรพ์ แผนฯ ท่ี 1 กระบวนการเกดิ หิน บตั รภาพหิน หนิ ชนวน หนิ ชสี ต์ 60
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 6 หนิ และซากดกึ ดาบรรพ์ แบบบันทกึ หลังแผนการจัดการเรยี นรู้ แผนฯ ที่ 1 กระบวนการเกดิ หนิ ด้านความรู้ ด้านสมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ดา้ นความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์ ด้านอ่ืน ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤตกิ รรมทมี่ ปี ัญหาของนกั เรียนเป็นรายบคุ คล (ถ้ามี)) ปัญหา/อุปสรรค แนวทางการแก้ไข ลงชอ่ื ..............................................ผบู้ นั ทกึ (................................................) ความเหน็ ของผบู้ ริหารสถานศึกษาหรือผู้ท่ไี ดร้ ับมอบหมาย ขอ้ เสนอแนะ ลงชื่อ................................................ (................................................) ตาแหนง่ ................................................. 61
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 6 หนิ และซากดกึ ดาบรรพ์ แผนฯ ที่ 2 ประโยชนข์ องหนิ และแร่ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 ประโยชน์ของหนิ และแร่ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 6 หนิ และซากดึกดาบรรพ์ ระยะเวลา 3 ช่ัวโมง กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชวี้ ัด ว 3.2 ป.6/2 บรรยายและยกตวั อย่างการใชป้ ระโยชนข์ องหินและแรใ่ นชวี ติ ประจาวนั จากขอ้ มูลทร่ี วบรวมได้ 2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1) บรรยายการใชป้ ระโยชนข์ องหินและแร่ได้ (K) 2) นาหนิ และแร่มาใช้ประโยชน์ได้ (P) 3) ยกตวั อย่างการนาหินและแร่ที่อย่ใู นทอ้ งถนิ่ มาใชป้ ระโยชน์ในชวี ิตประจาวนั ได้ (A) 3. สาระการเรยี นรู้ ประโยชนข์ องหนิ และแร่ในชีวิตประจาวัน 4. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด หินและแร่มีประโยชน์หลายอย่าง เช่น นาแร่มาทาเครื่องสาอาง ยาสีฟัน เคร่ืองประดับ อุปกรณ์ทางการแพทย์ นาหนิ มาใชใ้ นงานกอ่ สร้างต่าง ๆ 5. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1) ความสามารถในการส่ือสาร 1) การสงั เกต 1) มวี นิ ัย 2) ความสามารถในการคิด 2) การลงความเหน็ จากข้อมูล 2) ใฝเ่ รียนรู้ 3) ความสามารถในการแก้ปญั หา 3) การจดั กระทาและส่ือความหมาย 3) มงุ่ มน่ั ในการทางาน 4) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ข้อมลู 4) การตคี วามหมายข้อมลู และ ลงขอ้ สรปุ 62
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 6 หินและซากดกึ ดาบรรพ์ แผนฯ ที่ 2 ประโยชนข์ องหนิ และแร่ 6. กจิ กรรมการเรยี นรู้ แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนคิ : 5Es Instructional Model ชัว่ โมงท่ี 1 ขัน้ นา ขั้นกระตุน้ ความสนใจ 1. ทบทวนความรู้เดิมชั่วโมงท่ีแล้วโดยให้นักเรียนบอกชื่อหินชนิดต่างๆ ท่ีรู้จัก และครูเขียนช่ือหินที่นักเรียนบอก ไว้ที่หน้ากระดาน (ช่ือหินที่เขียนหน้ากระดานพิจารณาจากชนิดหินในบัตรโจทย์คาถามประกอบด้วย หากกรณี ชอื่ หนิ บางชนิดทนี่ ักเรียนไมไ่ ด้บอก ครเู ขียนเพิม่ เตมิ ลงไปได)้ ครูให้นักเรียนทากิจกรรม บิงโกช่ือหิน โดยนักเรียน ปฏบิ ัติ ดงั น้ี 1) จบั คู่กนั แล้วรับตารางบิงโก เร่ือง หนิ 1 แผน่ ตอ่ คู่ 2) เขียนชอ่ื หนิ ชนดิ ต่างๆ ที่นักเรียนชอบหรือรู้จักจากหน้ากระดานลงในตารางบิงโก 3) ครูสมุ่ เลอื กบัตรโจทย์คาถามขึ้นมาทลี ะใบ จากน้นั ครูเปน็ คนอ่านโจทย์คาถาม ให้นักเรยี นช่วยกันตอบ 4) ถา้ คาตอบตรงกบั ชนิดหินท่นี ักเรียนเขยี นไว้ในตารางบงิ โกใหก้ ากบาททับ 5) ถ้ามีนักเรียนคู่ใดกากบาทได้ตามแนวท่ีกาหนด เช่น แนวต้ัง แนวนอน แนวทแยง ก็ถือว่าเป็นผู้ชนะ ใหย้ กมอื แล้วพดู วา่ “บิงโก” 2. นกั เรียนยกตัวอย่างการนาหินมาใช้ประโยชนใ์ นชีวติ ประจาวันทีน่ ักเรยี นพบ เชน่ ปพู ้ืนทางเดนิ ทาทีน่ ง่ั ทาครก 3. ครูสนทนากับนักเรียนเพื่อเช่ือมโยงเข้าสู่กิจกรรมว่า หินแต่ละชนิดมีสมบัติแตกต่างกัน เช่น หินบางชนิด มีความแข็งแรงทนทาน หินบางชนิดมีผลึกท่ีสวยงามซ่ึงเรานาหินมาใช้ประโยชน์ต่างๆ มากมาย วันนี้เราจะ มาเรียนรู้วา่ หินมีประโยชน์อยา่ งไร จากกิจกรรมต่อไปน้ี ขนั้ สอน ขน้ั สารวจค้นหา 1. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็นกลุ่มละ 4-5 คน จากน้ันศึกษาข้ันตอนการทากิจกรรมท่ี 2 หินมีประโยชน์อย่างไร ในหนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เลม่ 2 หน้า 35 63
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 6 หนิ และซากดึกดาบรรพ์ แผนฯ ที่ 2 ประโยชน์ของหนิ และแร่ 2. นักเรียนปฏบิ ตั ิกจิ กรรมที่ 2 หินมปี ระโยชนอ์ ย่างไร โดยปฏบิ ตั ิ ดังนี้ 1) ส่งตัวแทนกล่มุ รบั วสั ดุ-อปุ กรณใ์ นการทากจิ กรรม 2) ให้แต่ละกลุ่มช่วยกันสังเกตผลิตภัณฑ์ที่ทามาจากหินหรือแร่ท่ีครูเตรียมมา จากน้ันให้แต่ละกลุ่ม สืบค้นข้อมูลเก่ียวกับผลิตภัณฑ์ดังกล่าวว่าทามาจากหินหรือแร่ชนิดใด แล้วบันทึกผลลงใน แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตรฯ์ ป.6 เลม่ 2 หน้า 24 3) ร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าในชีวิตประจาวันของสมาชิกในกลุ่มเคยใช้ประโยชน์จากหินและแร่ ชนิดใดบ้าง จากนั้นนามาจัดทารูปแบบต่างๆ เช่น ตารางแผนผัง แผนภาพ พร้อมตกแต่ง ให้สวยงาม (หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมนิ นักเรียน โดยการสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม) ขนั้ อธิบายความรู้ 1. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มนาเสนอผลงานหนา้ ชนั้ เรียน 2. นกั เรียนตอบคาถามตอ่ ไปนี้ - หินลับมดี ทามาจากหินชนิดใด เพราะเหตุใดจึงใชห้ ินชนดิ นี้ (แนวคาตอบ หินทราย เพราะลักษณะของหินทรายเป็นหินเน้ือหยาบ และประกอบด้วยแร่ควอตซ์ที่มี ความแข็ง จึงเหมาะแก่การนามาทาเป็นหนิ ลับมดี ) - หากต้องการทาครกหนิ ควรเลอื กใช้หนิ แกรนติ หรือหินชนวน เพราะเหตใุ ด (แนวคาตอบ เลือกใช้หินแกรนิต เพราะเป็นหินท่มี คี วามแข็งแรงและสวยงาม) 3. นักเรยี นรว่ มกนั สรปุ กิจกรรมท่ี 2 หินมีประโยชนอ์ ย่างไร วา่ หินสามารถนามาใชป้ ระโยชน์ได้ในหลายๆ ด้าน เช่น นาแรม่ าทาเคร่อื งสาอาง ยาสฟี ัน เครื่องประดับ อปุ กรณ์ทางการแพทย์ นาหินมาใชใ้ นงานก่อสร้างต่าง ๆ 4. นักเรียนทากิจกรรมหนูตอบได้ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หน้า 35 บันทึกลงในสมุดประจาตัว นกั เรียนหรอื ทาในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตรฯ์ ป.6 เล่ม 2 หนา้ 25 (หมายเหตุ : ครเู ริม่ ประเมนิ นักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล) ชวั่ โมงท่ี 2 ขั้นสอน (ต่อ) ขั้นอธิบายความรู้ 5. ทบทวนความรู้เดิมโดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มดูบัตรภาพห้องน้า แล้ววงกลมล้อมรอบผลิตภัณฑ์ที่ทามาจากหิน ในบัตรภาพห้องน้า จากน้ันร่วมกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็นว่า ในบัตรภาพห้องน้าน่าจะเป็นหินชนิด ใดบา้ ง พรอ้ มเหตุผล 64
หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 6 หินและซากดกึ ดาบรรพ์ แผนฯ ที่ 2 ประโยชน์ของหินและแร่ (แนวคาตอบ ฝา้ เพดาน ผลติ มาจากแร่ยปิ ซัม กาแพงห้องที่ก่อสรา้ งมาจากปูนซีเมนต์ ผลิตมาจากหินปนู ที่ ประกอบด้วยแรแ่ คลไซต์เป็นหลกั อา่ งลา้ งหนา้ เซรามิก ผลิตมาจากแร่ดิน แรเ่ ฟลดส์ ปาร์และทราย พืน้ กระเบ้อื ง ห้องน้าท่ีปูด้วยหนิ ออ่ นหรือหินแกรนติ ) 6. นกั เรียนแบ่งกลุ่มออกเปน็ กลุ่มละ 4-5 คน เพ่อื ทากิจกรรม รอบรู้เรื่องหนิ โดยปฏบิ ัติ ดังนี้ 1) ครเู ขยี นตาราง 3x3 ท่ีกระดาน 2) แต่ละกล่มุ จะไดห้ มายเลขประจากลุม่ เชน่ กลมุ่ ที่ 1 หมายเลขประจากลมุ่ คอื 1 3) ครูจะอ่านโจทย์สถานการณ์ จากน้ันให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์จากสถานการณ์ท่ีครูอ่าน ควรใช้หินหรือแร่ ชนดิ ใดจงึ จะเหมาะสม เม่ือได้คาตอบแล้วใหร้ ีบยกมือ 4) กลุม่ ทต่ี อบก่อนและถูกจะได้ไปเขยี นหมายเลขกลมุ่ ของตนเองในช่องตารางทก่ี ระดานท่ีครเู ขียนไว้ 5) กรณีที่กลุ่มตอบก่อน ตอบไม่ถูก กลุ่มถัดไปมีสิทธ์ิตอบ กลุ่มที่ตอบถูกจะได้สิทธิ์ไปเขียนหมายเลขกลุ่ม ทก่ี ระดาน 6) การเขียนหมายเลขกลุ่มท่ีกระดานมีเงื่อนไขวา่ กลมุ่ ใดท่ีสามารถเขียนหมายเลขกลุ่มเรียงติดกันได้ 3 ตัวก่อน ถอื ว่ากลุ่มนน้ั เปน็ ผู้ชนะ กรณีท่ีไม่มีกลุ่มใดเขียนเรียงติดกันได้ 3 ตัว ให้นับจานวนตัวเลขกลุ่มในตาราง กลุ่ม ทีม่ ีจานวนตัวเลขกลุ่มบนหน้ากระดานมากสุดถอื ว่าเป็นผู้ชนะ 7. นักเรียนร่วมกันสรปุ ผลการทากิจกรรม 8. นักเรียนแต่ละคนเขียนสรุปความรู้เกี่ยวกับเรื่องท่ีได้เรียนรู้จากบทที่ 1 ในรูปแบบต่างๆ เช่น แผนผังความคิด แผนภาพ ลงในสมุดประจาตวั นักเรยี น 9. นักเรียนทุกคนศึกษาแผนผังความคิด สรุปสาระสาคญั ประจาบทท่ี 1 จากหนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตรฯ์ ป.6 เล่ม 2 หน้า 37 เพือ่ ตรวจสอบการเขยี นสรปุ ความรทู้ นี่ กั เรียนทาไวใ้ นสมดุ ประจาตวั นักเรยี น 10. นักเรียนทากิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 1 หน้า 38 บันทึกลงในสมุด ประจาตวั นกั เรยี น 11. นักเรียนทากิจกรรมฝึกทักษะ ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 1 หน้า 21 บันทึกลงในสมุดประจาตัว นกั เรียนหรือทาในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตรฯ์ ป.6 เล่ม 2 หน้า 26-28 12. นกั เรยี นทากิจกรรมท้าทายการคิดข้นั สงู ในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตรฯ์ ป.6 เล่ม 2 หน้า 29 (หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมนิ นกั เรยี น โดยการสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล) ขัน้ ขยายความเข้าใจ 1. นกั เรียนแบง่ กลมุ่ ออกเปน็ กลมุ่ ละ 4-5 คน เพื่อทากิจกรรมสร้างสรรค์ผลงาน โดยปฏิบตั ิ ดงั น้ี 1) ส่งตวั แทนออกมารับใบกจิ กรรม โดมโิ นกระบวนการเกิดหิน และวสั ดอุ ุปกรณ์ในการทากิจกรรม 65
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 6 หนิ และซากดึกดาบรรพ์ แผนฯ ท่ี 2 ประโยชนข์ องหนิ และแร่ 2) นักเรียนศึกษาข้ันตอนการทากิจกรรมในใบกิจกรรมโดมิโนกระบวนการเกิดหิน และสร้างโดมิโนเพ่ือ ทากจิ กรรมในชัว่ โมงตอ่ ไป ชว่ั โมงที่ 3 ข้นั สอน (ต่อ) ข้นั ขยายความเขา้ ใจ 2. ทบทวนความร้เู ดมิ ของนกั เรยี น โดยให้ยกตัวอย่างการนาหินมาใชป้ ระโยชน์ในชีวติ ประจาวนั อยา่ งน้อย 3 ชนดิ 3. นกั เรียนแต่ละกลุม่ นาโดมิโนของกลุ่มตนเองทสี่ ร้างไวจ้ ากชัว่ โมงก่อนมาเลน่ โดยมีวธิ กี ารเลน่ ดังนี้ 1) แตล่ ะกล่มุ แบง่ ผู้เล่นออกเปน็ 2 ฝ่าย ฝ่ายละเท่าๆ กนั แต่ละฝ่ายหยบิ โดมิโนไปฝ่ายละ 8 ช้นิ 2) เปิดแผ่นแรกบนกองที่เหลือ วางตรงกลางจากน้ันให้นักเรียนวางโดมิโนที่มีความสัมพันธ์กันลงไป เช่น หนิ “ตะกอน” กบั คาว่า “ทับถม” หรอื “หนิ ทราย”กับ “หินตะกอน” โดยมีเง่ือนไขว่าผู้วางต้องอธิบาย ความสมั พนั ธ์ของ 2 ข้อความน้ี 3) เล่นสลับกันไปเร่ือยๆ ถ้าแผ่นที่มี ไม่ตรงกับแผ่นตรงกลางที่เล่นอยู่ ให้หยิบโดมิโนใหม่ จนกว่าจะมี ฝา่ ยใดหมดกอ่ นหรอื เหลือน้อยกวา่ ถอื ว่าเป็นฝ่ายชนะ 4. เมื่อนักเรียนแต่ละกลุ่มทากิจกรรมเรียบร้อยแล้ว ให้ร่วมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับความรู้ที่ได้จากการทา กจิ กรรม 5. นักเรียนนาข้อมูลในใบงานที่ 6.1 หินในท้องถ่ินออกมา (ใบงานท่ี 6.1 หินในท้องถิ่น จากแผนฯ ที่ 6-1 กระบวนการเกิดหิน) และจับคู่กับเพ่ือนคนเดิม ช่วยกันแสดงความคิดเห็นว่า หินชนิดน้ีสามารถนาไปใช้ ประโยชนไ์ ด้อยา่ งไรบ้าง 6. นักเรียนร่วมกันออกแบบการนาหินท่ีมีอยู่ในท้องถิ่นไปใช้ประโยชน์ โดยเลือกชนิดหินจากใบงานที่ 6.1 หินในท้องถ่ิน โดยเลือกหินชนิดใดชนิดหนึ่งก็ได้ แล้ววาดภาพหรือเขียนบันทึกลงในสมุดประจาตัวนักเรียน เช่น นาหินพัมมิซใส่ในตปู้ ลา เพอื่ เปน็ ทีอ่ ยอู่ าศัยของจุลนิ ทรีย์ 7. นาผลงานทีอ่ อกแบบไปปฏบิ ตั จิ รงิ และรายงานผลให้ครูฟงั นอกเวลาเรยี น (หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมินนกั เรียน โดยการสงั เกตพฤตกิ รรมใฝเ่ รยี นรู้ มงุ่ มัน่ ในการทางาน มีวนิ ัย) ขน้ั สรปุ 1. นักเรียนร่วมกันสรุปผลการทากิจกรรมว่า หินและแร่มีประโยชน์หลายอย่าง เช่น นาแร่มาทาเคร่ืองสาอาง ยาสีฟนั เคร่อื งประดบั อุปกรณท์ างการแพทย์ นาหนิ มาใช้ในงานกอ่ สรา้ งตา่ ง ๆ 66
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 6 หนิ และซากดึกดาบรรพ์ แผนฯ ที่ 2 ประโยชน์ของหินและแร่ ข้ันประเมิน ขน้ั ตรวจสอบผล 1. ครูตรวจบันทกึ ข้อมูลการทากิจกรรมที่ 2 หนิ มปี ระโยชน์อย่างไรในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เลม่ 2 หน้า 24 2. ครูตรวจกจิ กรรมหนูตอบไดใ้ นสมดุ ประจาตัวนักเรยี นหรือในแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หนา้ 25 3. ครตู รวจแผนผังความคิด สรุปสาระสาคัญ ประจาบทท่ี 1 ในสมดุ ประจาตวั นกั เรียน 4. ครูตรวจกจิ กรรมพฒั นาการเรียนรู้ในสมุดประจาตัวนกั เรียน 5. ครตู รวจกจิ กรรมฝกึ ทักษะในสมดุ ประจาตัวนักเรียน หรือทาในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตรฯ์ ป.6 เลม่ 2 หน้า 26-28 6. ครตู รวจกิจกรรมท้าทายการคิดข้นั สงู ในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตรฯ์ ป.6 เล่ม 2 หน้า 29 7. ครปู ระเมินผลงานโดมโิ นกระบวนการเกดิ หิน ในกิจกรรมสร้างสรรค์ผลงาน 7. การวดั และประเมินผล รายการวดั วธิ ีการ เครือ่ งมือ เกณฑ์การประเมิน - แบบประเมินผลงาน 1) ผลงานโดมโิ น - ประเมินผลงาน - คณุ ภาพอยูใ่ นระดบั ดี กระบวนการเกิด ผา่ นเกณฑ์ หนิ 2) กจิ กรรมที่ 2 - ตรวจแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ฯ - แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ฯ - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ หินมปี ระโยชน์ อย่างไร ป.6 เล่ม 2 หน้า 24 ป.6 เลม่ 2 หน้า 24 3) กิจกรรมหนตู อบได้ - ตรวจสมุดประจาตัวนักเรียนหรอื - สมุดประตัวนักเรยี นหรือ - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ฯ ป.6 แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ฯ เลม่ 2 หน้า 25 ป.6 เลม่ 2 หนา้ 25 4) สรุปสาระสาคญั - ตรวจสมดุ ประจาตัวนักเรียน - สมุดประจาตัวนักเรียน - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ประจาบทที่ 1 - สมุดประจาตัวนกั เรยี น - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 5) กิจกรรมพัฒนาการ - ตรวจสมดุ ประจาตัวนักเรยี น เรียนรู้ 67
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 6 หนิ และซากดกึ ดาบรรพ์ แผนฯ ท่ี 2 ประโยชน์ของหินและแร่ รายการวัด วธิ ีการ เครือ่ งมือ เกณฑ์การประเมนิ 6) กจิ กรรมฝกึ ทักษะ - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - ตรวจสมดุ ประจาตวั หรือ - สมุดประจาตัว หรือ บทที่ 1 แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ฯ ป.6 แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตรฯ์ - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ เล่ม 2 หนา้ 26-28 ป.6 เล่ม 2 หนา้ 26-28 7) กิจกรรมท้าทาย - คณุ ภาพอยู่ในระดับดี การคิดข้ันสงู - ตรวจแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ฯ - แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ผา่ นเกณฑ์ ป.6 เล่ม 2 หน้า 29 ฯ ป.6 เล่ม 2 หนา้ 29 8) พฤติกรรม การทางาน - สงั เกตพฤติกรรมการทางาน - แบบสังเกตพฤติกรรม รายบคุ คล รายบคุ คล การทางานรายบคุ คล 9) พฤติกรรม - สังเกตพฤตกิ รรมการทางาน - แบบสังเกตพฤติกรรม - คุณภาพอยู่ในระดับดี การทางานกล่มุ ผ่านเกณฑ์ การทางานกลมุ่ กลมุ่ หมายเหตุ : แบบสังเกตพฤติกรรมประเมินรายเทอม 8. สือ่ /แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 สื่อการเรยี นรู้ 1) หนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 2) แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 3) วัสดุ-อุปกรณ์ทีใ่ ชใ้ นกิจกรรมท่ี 2 หนิ มปี ระโยชนอ์ ย่างไร 4) วสั ดุ-อปุ กรณท์ ีใ่ ช้ในกจิ กรรมสร้างสรรคผ์ ลงาน 5) ตารางบงิ โก เร่ือง หนิ 6) โจทยค์ าถาม เรอื่ ง หนิ 7) โจทย์สถานการณ์ 8) บตั รภาพหอ้ งนา้ 9) สมดุ ประจาตวั นักเรียน 8.2 แหลง่ การเรียนรู้ 1) ห้องเรียน 2) อนิ เทอรเ์ นต็ 3) หอ้ งสมดุ 68
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 6 หินและซากดกึ ดาบรรพ์ แผนฯ ที่ 2 ประโยชนข์ องหนิ และแร่ ตารางบงิ โก เรือ่ ง หิน 69
หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 6 หนิ และซากดกึ ดาบรรพ์ แผนฯ ท่ี 2 ประโยชน์ของหนิ และแร่ โจทยค์ าถาม เรือ่ ง หิน โจทย์ : เนื้อหนิ เปน็ ผลึกขนาดใหญ่ มีความแวววาว มีความแข็งทนทานมาก จึงนยิ มนามาใชใ้ นงานก่อสร้างอาคาร ตา่ ง ๆ (เฉลย หินแกรนิต) โจทย์ : เน้อื หนิ จะมีสีคลา้ จนถึงดา เน้ือหินแนน่ ละเอียด ไม่มีความแวววาว แต่มรี ูพรุน มีความแข็งและทนทานต่อการ สกึ กรอ่ น นิยมนามาใช้ในงานก่อสรา้ ง (เฉลย หนิ บะซอลต์) โจทย์ : เนือ้ หนิ มีความแข็งและเนือ้ สาก มีรพู รนุ จานวนมาก มนี า้ หนักเบาทาใหส้ ามารถลอยน้าได้ นิยมใชท้ าวสั ดุขดั ถู (เฉลย หนิ พมั มิซ) โจทย์ : เน้อื หนิ มีลักษณะเหมือนแกว้ มีสดี า และผิวเรียบเปน็ มัน (เฉลย หนิ ออบซิเดยี น) โจทย์ : มอี ยู่ทว่ั ไปประกอบด้วยทรายทีส่ ึกกร่อนจากหนิ แกรนติ เกาะติดกันแนน่ มีหลายสี เชน่ เหลอื ง น้าตาล แดง ขาว เทา นยิ มใช้ทาหนิ ลับมีด และใชต้ กแตง่ บา้ นในงานก่อสร้าง (เฉลย หินทราย) โจทย์ : เกดิ จากกรวดทรายมาทบั ถมกัน หนิ ชนิดนี้นยิ มนามาใช้ในการทาถนน หรอื หนิ ประดบั (เฉลย หนิ กรวด) โจทย์ : เกดิ จากเปลือกหอยหรือซากสัตวเ์ ลก็ ๆ ทับถมกนั อยู่ใต้ทะเลนาน ๆ มีสเี ทาหรอื สีดา บางก้อนจะเห็นเปลือก หอยหรอื ซากสตั ว์ทะเลติดอยู่ หินปูนใชท้ าปนู ขาวและผสมทาคอนกรีต (เฉลย หินปนู ) โจทย์ : เกิดจากการทับถมของโคลนและดนิ เหนยี วเป็นเวลานาน ๆ มีลกั ษณะเปน็ ช้นั บาง ๆ เน้ือหนิ ละเอยี ดมาก กะเทาะ หรอื หลุดเปน็ แผ่นไดง้ า่ ย เหมาะสาหรบั ใช้ผสมทาปูนซเี มนต์ ใชใ้ นอตุ สาหกรรมดินเผาและเซรามกิ (เฉลย หนิ ดนิ ดาน) โจทย์ : เป็นหนิ ทแี่ ปรสภาพมาจากหินดนิ ดาน เนือ้ ละเอียด ผวิ เรยี บ เปน็ มัน เรยี งกนั เปน็ แผน่ บาง ๆ แยกออกจากกนั ได้ แขง็ กวา่ หินดินดาน ใชท้ ากระดานชนวน ทาแผ่นอิฐปูทางเดนิ (เฉลย หินชนวน) โจทย์ : เปน็ หนิ ทแี่ ปรสภาพมาจากหนิ ปูน มที งั้ เนื้อละเอยี ด และเนื้อหยาบ มสี ีขาวหรอื สีต่าง ๆ นยิ มใชท้ าหนิ ประดับ อาคาร และนามาแกะสลัก (เฉลย หนิ ออ่ น) โจทย์ : เปน็ หนิ ทีแ่ ปรสภาพมาจากหนิ ทราย มีลักษณะเปน็ เม็ด ๆ นิยมใช้ทากรวดคอนกรีต ทาหนิ อัดเม็ด และใช้ทา วสั ดทุ นไฟ (เฉลย หินควอร์ตไซต์) โจทย์ : เปน็ หินที่แปรสภาพมาจากหนิ แกรนิต มคี วามแข็งและทนทานมาก ประกอบดว้ ยสารทีม่ สี ขี าวขุน่ สขี าวใส และสดี าเปน็ มนั เรียงกนั เป็นร้ิวขนาน นยิ มใช้ทาโม่และครก (เฉลย หินไนส์) 70
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 6 หินและซากดกึ ดาบรรพ์ แผนฯ ที่ 2 ประโยชนข์ องหินและแร่ บตั รภาพหอ้ งน้า 7
71
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 6 หนิ และซากดึกดาบรรพ์ แผนฯ ท่ี 2 ประโยชน์ของหินและแร่ โจทยส์ ถานการณ์ “ชานนท์สังเกตเห็นว่าน้าในตู้ปลาขุ่นมาก วันก่อนมีคนแนะนาให้ชานนท์เติมหินลงไป น้าจะได้ใส เพราะหิน เหล่านน้ั จะเปน็ ทอี่ ยขู่ องจุลนิ ทรีย์ แต่ปญั หาคือหินทมี่ คี นแนะนามาคอื หนิ อะไร” คาถาม : นกั เรียนคดิ วา่ หนิ ทีช่ านนท์กาลงั ตามหาคือหินชนดิ ใด เพราะเหตุใด “ข้าวหอมจะตาน้าพริกโดยใช้ครกหิน ข้าวหอมอยากได้ครกหินที่เนื้อของครกหินมีความแข็งแรง ทนทาน และให้ ลวดลายท่ีสวยงาม” คาถาม : นักเรยี นคิดว่า ครกหนิ ทขี่ า้ วหอมต้องการทามาจากหินชนิดใด เพราะเหตุใด “อิ่มกาลังปอกเปลือกมะม่วงเพื่อไปกินกับน้าปลาหวาน แต่มีดของอ่ิมไม่คมเลย อิ่มจึงอยากได้หินมาลับมีด แตอ่ ิม่ ไมแ่ นใ่ จวา่ ควรใช้หนิ อะไรมาลบั มีด” คาถาม : นักเรียนคิดวา่ หินชนดิ ใดเหมาะกับการนามาลับมดี เพราะเหตุใด “ณชิ าอยากจะขัดผิว จึงไปซ้ือหนิ ขัดผวิ ท่ีตลาดมา แต่ณิชามีความสงสัยว่าหินชนิดนี้คือหินอะไร แล้วทาไมถึงนามา ขัดผิวได้” คาถาม : นกั เรียนคิดวา่ หินทส่ี ามารถนามาขดั ผิวไดค้ ือชนดิ ใด เพราะเหตุใด “พ่อจะพาต้นคูณปูพื้นทางเดินท่ีสวนหลังบ้าน พ่อจึงบอกให้ต้นคูณไปหาหินมาใช้ปูพื้น แต่ต้นคูณไม่รู้ว่าควรใช้หิน ชนิดใดปูพื้น” คาถาม : นักเรียนคิดวา่ หนิ ชนิดท่เี หมาะสาหรบั ปูพ้นื ทางเดนิ เพราะเหตุใด “ลุงวิชัยจะแกะสลักรูปเต่ากวาง ลุงวิชัยจึงฝากปวินซ้ือหินเพื่อไปแกะสลัก แต่ปวินจาไม่ได้ว่าหินที่ลุงวิชัยต้องการ คือหินอะไร” คาถาม : นักเรียนคิดวา่ ลุงวชิ ัยฝากปวินซือ้ หนิ ชนดิ ใด เพราะเหตใุ ด “ปราณกาลังคิดหาวิธีลดต้นทุนในการสร้างถนนเข้าไปท่ีสวนหลังบ้าน โดยปราณกาลังคิดว่า หินชนิดใดที่จะ สามารถใชแ้ ทนหนิ แกรนิตได้และต้องมรี าคาถูกกวา่ ” คาถาม : นักเรยี นคดิ วา่ หนิ ชนดิ ใดท่ีสามารถยดึ ติดกับยางมะตอยไดด้ ี มรี าคาถูกกว่าหินแกรนิตและนาไปใช้ใน งานกอ่ สรา้ งได้ เพราะเหตใุ ด 72
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 6 หินและซากดกึ ดาบรรพ์ แผนฯ ที่ 2 ประโยชน์ของหินและแร่ โจทยส์ ถานการณ์ “แปง้ เหลือบเห็นถุงสีขาวๆ ในตะกร้าหมากคุณยาย จงึ ถามคณุ ยายวา่ คืออะไร คุณยายเลยตอบวา่ ปนู กนิ หมาก” คาถาม : นักเรียนคิดวา่ ปนู กินหมากคอื หินชนดิ ใด เพราะเหตุใด “ใบบัวสังเกตพน้ื กระเบ้อื งในห้องน้าวา่ มีลักษณะเปน็ หินลวดลายสวยงาม ใบบัวจึงเกดิ ข้อสงสัยวา่ กระเบอื้ งห้องนา้ ทามาจากหนิ ชนดิ ใด” คาถาม : นักเรียนคดิ ว่า หนิ ชนิดใดบา้ งทเี่ หมาะกับการปูพืน้ หอ้ งนา้ เพราะเหตใุ ด 73
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 6 หนิ และซากดึกดาบรรพ์ แบบบนั ทึกหลงั แผนการจัดการเรียนรู้ แผนฯ ที่ 2 ประโยชนข์ องหินและแร่ ดา้ นความรู้ ดา้ นสมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ด้านความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์ ดา้ นอ่นื ๆ (พฤติกรรมเด่นหรือพฤติกรรมที่มปี ัญหาของนักเรียนเป็นรายบุคคล (ถ้าม)ี ) ปัญหา/อปุ สรรค แนวทางการแก้ไข ลงชอ่ื ..............................................ผบู้ นั ทกึ (................................................) ความเหน็ ของผบู้ ริหารสถานศกึ ษาหรอื ผู้ท่ีไดร้ ับมอบหมาย ข้อเสนอแนะ ลงชื่อ................................................ (................................................) ตาแหน่ง................................................. 74
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 6 หินและซากดกึ ดาบรรพ์ แผนฯ ท่ี 3 กระบวนการเกดิ ซากดึกดาบรรพ์ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 3 กระบวนการเกิดซากดกึ ดาบรรพ์ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 6 หนิ และซากดกึ ดาบรรพ์ ระยะเวลา 4 ชว่ั โมง กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6 1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชวี้ ดั ว 3.2 ป.6/3 สร้างแบบจาลองที่อธิบายการเกิดซากดึกดาบรรพ์และคาดคะเนสภาพแวดล้อมในอดีตของ ซากดึกดาบรรพ์ 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1) อธบิ ายการเกดิ ซากดกึ ดาบรรพ์ได้ (K) 2) คาดคะเนสภาพแวดล้อมในอดตี ของซากดกึ ดาบรรพ์ได้ (K) 3) สร้างแบบจาลองท่ีอธบิ ายการเกดิ ซากดึกดาบรรพ์ได้ (P) 4) ยกตวั อย่างการนาความรู้เรื่องซากดึกดาบรรพ์มาใช้ประโยชน์ในชวี ติ ประจาวันได้ (A) 3. สาระการเรยี นรู้ ซากดึกดาบรรพ์เกดิ จากการทับถมหรือการประทับรอยของสงิ่ มชี วี ิตในอดีต จนเกิดเป็นโครงสรา้ งของซากหรือ รอ่ งรอยของสิ่งมีชีวติ ท่ปี รากฏอยู่ในหิน 4. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด ซากดึกดาบรรพ์เกิดจากการทับถม หรือการประทับรอยของส่ิงมีชีวิตในอดีต จนเกิดเป็นโครงสร้างของซากหรือ ร่องรอยของสิ่งมีชีวิตท่ีปรากฏอยู่ในหิน ประเทศไทยพบซากดึกดาบรรพ์ที่หลากหลาย เช่น พืช ปะการัง หอย ปลา เตา่ ไดโนเสาร์ รอยเทา้ สตั ว์ ซากดึกดาบรรพ์สามารถใช้เป็นหลักฐานช่วยอธิบายสภาพแวดล้อมของพื้นท่ีในอดีตขณะเกิดส่ิงมีชีวิตน้ัน เช่น ถ้าพบซากดึกดาบรรพ์ของหอยน้าจืด สภาพแวดล้อมบริเวณนั้นอาจเคยเป็นแหล่งน้าจืดมาก่อน และถ้าพบ ซากดึกดาบรรพ์ของพืช สภาพแวดล้อมบริเวณน้ันอาจเคยเป็นป่ามาก่อน นอกจากนี้ ซากดึกดาบรรพ์ยังสามารถใช้ ระบอุ ายขุ องหนิ และเปน็ ข้อมูลในการศึกษาวิวัฒนาการของส่งิ มีชีวิต 75
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 6 หินและซากดกึ ดาบรรพ์ แผนฯ ท่ี 3 กระบวนการเกดิ ซากดกึ ดาบรรพ์ 5. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รยี น ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1) ความสามารถในการสื่อสาร 1) การสังเกต 1) มวี ินยั 2) ความสามารถในการคดิ 2) การลงความเห็นจากข้อมูล 2) ใฝเ่ รยี นรู้ 3) ความสามารถในการแกป้ ญั หา 3) การสร้างแบบจาลอง 3) มงุ่ มัน่ ในการทางาน 4) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. กจิ กรรมการเรียนรู้ แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนคิ : 5Es Instructional Model ชวั่ โมงท่ี 1 ขั้นนา ขั้นกระตุ้นความสนใจ 1. ทบทวนความรูเ้ ดิมโดยตง้ั คาถามกบั นักเรียนดังนี้ อาจพบซากดกึ ดาบรรพ์ในหินชนดิ ใด เพราะเหตใุ ด (แนวคาตอบ สามารถพบซากดึกดาบรรพไ์ ดใ้ นหินตะกอน เมื่อส่ิงมชี วี ติ ลม้ ตายลง ส่วนท่ีเปน็ เน้ือเย่ือจะผุพังสลาย ไปเหลอื แตส่ ว่ นทเี่ ปน็ โครงสร้างแขง็ และบางคร้งั บางชิ้นสว่ นอาจมีไม่ครบ เนอ่ื งจากเกิดการผุพังและพัดพาไปของ ตะกอนเกิดการทบั ถมและฝงั ตัวอยใู่ นชนั้ หิน) 2. นักเรียนดูภาพในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หน้า 41 ครูอธิบายเพ่ิมเติมว่า ในภาพคือภาพ ซากดึกดาบรรพ์และตอบคาถามต่อไปนี้ - นกั เรียนคิดวา่ ในภาพคอื ส่งิ มีชวี ติ ชนิดใด และน่าจะมีอายปุ ระมาณเท่าไร (แนวคาตอบ ตามความคิดเหน็ ของนกั เรยี น เชน่ ปลาน่าจะมอี ายปุ ระมาณ 1 หมนื่ ปขี ึน้ ไป) - ซากดกึ ดาบรรพ์คอื อะไร (แนวคาตอบ คอื หินท่ีเก็บรักษาซากส่ิงมีชีวิตโบราณหรือร่องรอยของการดารงชีวิตของส่ิงมีชีวิตเหล่าน้ี ได้เป็นอย่างดี ไม่ว่าจะเป็นพืช สัตว์ แบคทีเรีย ส่วนของละอองเกสร หรือแม้แต่รอยเท้าต่าง ๆ ซง่ึ ถกู แปรสภาพและเกบ็ รักษาไวด้ ้วยกระบวนการทางธรรมชาติในชั้นหนิ ใต้เปลอื กโลก) - การศกึ ษาเก่ยี วกบั ซากดึกดาบรรพม์ ีประโยชน์อยา่ งไร (แนวคาตอบ ตอบตามความคิดเห็นของนักเรียนอย่างอิสระ เช่น เพื่อศึกษาเกี่ยวกับสัตว์ท่ีสูญพันธุ์ไป แลว้ ) 76
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 6 หนิ และซากดกึ ดาบรรพ์ แผนฯ ที่ 3 กระบวนการเกดิ ซากดกึ ดาบรรพ์ 3. นักเรียนอา่ นกจิ กรรมชวนอ่านชวนคิดก่อนเรยี น ตอน ไมก้ ลายเปน็ หิน ในหนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หนา้ 42 และตอบคาถามชวนตอบ ดงั นี้ - เพ่ือนๆ คดิ วา่ ซากดึกดาบรรพเ์ กดิ ขึน้ ไดอ้ ย่างไร และมปี ัจจัยใดเกีย่ วข้องบา้ ง (แนวคาตอบ ซากดึกดาบรรพ์เกิดจากการทับถมหรือประทับรอยของสิ่งมีชีวิตในอดีต แล้วผ่าน กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ จนทาให้กลายเป็นโครงสร้างของซากหรือร่องรอยของส่ิงมีชีวิต โดยปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการเกิดซากดึกดาบรรพ์ ได้แก่ องค์ประกอบของส่ิงมีชีวิต อุณหภูมิ ระยะเวลา การทบั ถม) 4. นักเรียนดูตัวอย่างซากดึกดาบรรพ์ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หน้า 43 จากน้ันครูสนทนา กับนักเรียนเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่กิจกรรมการเรียนรู้ว่า วันน้ีเราจะมาเรียนรู้เกี่ยวกับซากดึกดาบรรพ์ว่า เกิดขึ้นได้ อยา่ งไร การคน้ พบซากดึกดาบรรพ์ต่างๆ มีประโยชน์หรือไม่ อย่างไร เราจะได้ทราบคาตอบจากการทากิจกรรม ตอ่ ไปน้ี ข้ันสอน ขนั้ สารวจคน้ หา 1. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็นกลุ่มละ 4-5 คน จากน้ันศึกษาขั้นตอนการทากิจกรรมที่ 1 สร้างแบบจาลอง ซากดึกดาบรรพ์ ในหนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตรฯ์ ป.6 เล่ม 2 หนา้ 44-45 2. นักเรยี นปฏิบตั ิกิจกรรมท่ี 1 สร้างแบบจาลองซากดกึ ดาบรรพ์ ตอนท่ี 1 โดยปฏิบตั ิ ดังนี้ 1) สง่ ตัวแทนออกมารบั วัสดุ-อปุ กรณใ์ นการทากจิ กรรม 2) สืบคน้ ข้อมลู เก่ยี วกบั ซากดึกดาบรรพ์ในหนังสือและแหล่งเรยี นรู้อืน่ ๆ 3) ออกแบบแบบจาลองซากดกึ ดาบรรพ์ แลว้ บนั ทึกผลลงแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตรฯ์ ป.6 เลม่ 2 หน้า 31 4) สร้างแบบจาลองโดยปฏิบัติตามข้ันตอนสร้างแบบจาลองในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หน้า 44-45 (หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมินนักเรียน โดยการสงั เกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ ) ขนั้ อธิบายความรู้ 1. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ นาเสนอผลการทากิจกรรมท่ี 1 สรา้ งแบบจาลองซากดกึ ดาบรรพ์ ตอนท่ี 1 ในประเด็นต่อไปนี้ 1) ผลงานแบบจาลอง 2) อธิบายการเกิดซากดึกดาบรรพ์ โดยใช้แบบจาลอง 77
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 6 หินและซากดกึ ดาบรรพ์ แผนฯ ท่ี 3 กระบวนการเกิดซากดึกดาบรรพ์ 2. นักเรียนร่วมกันสรุปกิจกรรมที่ 1 สร้างแบบจาลองซากดึกดาบรรพ์ ตอนที่ 1 ว่า ซากดึกดาบรรพ์เกิดจากการ ทับถมหรอื การประทับรอยของส่งิ มชี ีวิตในอดตี จนเกิดเป็นโครงสร้างของซากหรือร่องรอยของสิ่งมีชีวิตที่ปรากฏ อย่ใู นหิน (หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมนิ นักเรียน โดยการสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล) ช่วั โมงท่ี 2 ขน้ั สอน (ตอ่ ) ขนั้ สารวจคน้ หา 1. ทบทวนความรู้เดิมของนักเรียน โดยครูแจกบัตรภาพซากดึกดาบรรพ์ให้นักเรียนคนละ 1 แผ่น จากน้ัน สุ่มนกั เรียนบางคนให้อธิบายว่า กระบวนการเกิดซากดึกดาบรรพ์ตามบัตรภาพซากดึกดาบรรพ์ที่ได้รับเกิดขึ้นได้ อยา่ งไร 2. นักเรียนจับกลุ่ม 5-6 คน โดยมีเงื่อนไขการจับกลุ่มว่า สมาชิกในกลุ่มต้องไม่มีบัตรภาพซากดึกดาบรรพ์ซ้ากัน จากนน้ั ให้นักเรียนปฏิบตั ิกจิ กรรมท่ี 1 สรา้ งแบบจาลองซากดึกดาบรรพ์ ตอนที่ 2 โดยปฏบิ ัติ ดงั น้ี 1) สังเกตบตั รภาพซากดกึ ดาบรรพ์ 2) ร่วมแสดงความคิดเห็นว่า สภาพแวดล้อมในอดีตของซากดึกดาบรรพ์ในบัตรภาพเคยเป็นแหล่ง นา้ จดื แหลง่ นา้ เคม็ หรอื เปน็ ป่า แล้วบันทึกผลในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หน้า 33 (หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมินนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม) ข้นั อธบิ ายความรู้ 1. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มสง่ ตัวแทนนาเสนอผลการทากิจกรรมหนา้ ชัน้ เรียน 2. นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ ถ้าเราพบซากดึกดาบรรพ์ของเปลือกหอยทะเลบนภูเขา นักเรียนคาดว่า สภาพแวดลอ้ มในอดีตของซากดกึ ดาบรรพเ์ ปลอื กหอยเป็นอยา่ งไร (แนวคาตอบ เป็นทะเล เน่ืองจากหอยเปน็ สตั ว์ทอ่ี ย่ใู นทะเล ภเู ขานีใ้ นอดีตอาจจมอยใู่ ต้ทอ้ งทะเลก็เป็นได้) 3. นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปกิจกรรมท่ี 1 สร้างแบบจาลองซากดึกดาบรรพ์ตอนท่ี 2 ว่า ซากดึกดาบรรพ์ สามารถใช้เป็นหลักฐานท่ีช่วยอธิบายสภาพแวดล้อมของพ้ืนท่ีในอดีตขณะเกิดสิ่งมีชีวิตน้ัน เช่น หากพบ ซากดึกดาบรรพ์ของหอยน้าจืด สภาพแวดล้อมบริเวณน้ันอาจเคยเป็นแหล่งน้าจืดมาก่อน และหากพบ ซากดกึ ดาบรรพ์ของพืช สภาพแวดลอ้ มบรเิ วณน้ันอาจเคยเป็นป่ามาก่อน 4. ให้นักเรียนร่วมกันสังเกตบัตรภาพซากดึกดาบรรพ์ ศึกษาเก่ียวกับประเภทของซากดึกดาบรรพ์ในหนังสือเรียน หรอื แหล่งเรยี นรู้อ่นื ๆ จากนนั้ นาขอ้ มลู มาแบง่ ประเภทซากดกึ ดาบรรพ์ 78
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 6 หนิ และซากดกึ ดาบรรพ์ แผนฯ ท่ี 3 กระบวนการเกดิ ซากดกึ ดาบรรพ์ 5. นักเรียนร่วมสรุปผลการทากิจกรรมว่า ประเภทของซากดึกดาบรรพ์แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ซากดกึ ดาบรรพ์สัตว์ ซากดกึ ดาบรรพพ์ ืช และซากดกึ ดาบรรพ์ร่องรอย 6. นกั เรียนทากจิ กรรมหนูตอบไดใ้ นหนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์ฯ ป.6 เลม่ 2 หน้า 45 บันทกึ ลงในสมดุ ประจาตวั นักเรยี นหรอื ทาในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ป.6 เล่ม 2 หนา้ 34 (หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมนิ นักเรียน โดยการสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล) ช่ัวโมงที่ 3 ข้นั สอน (ตอ่ ) ขั้นอธิบายความรู้ 7. ครทู บทวนความรู้เดิม โดยสแกน QR Code 3D เรื่อง ฟอสซิล ให้นักเรียนดู จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย แสดงความคิดเหน็ ว่า ซากดกึ ดาบรรพน์ ้ันคือซากของอะไร และเกดิ ขน้ึ ไดอ้ ย่างไร 8. นกั เรยี นแบง่ กลุ่มออกเป็นกล่มุ ละ 4-5 คน ส่งตัวแทนมาเลือกบัตรภาพซากดึกดาบรรพ์กลุ่มละ 1 ใบ และปฏิบัติ ดังน้ี 1) ศึกษากระบวนการเกดิ ซากดกึ ดาบรรพ์ประเภทนี้ 2) อธิบายกระบวนการเกดิ ซากดึกดาบรรพป์ ระเภทนี้ 9. นกั เรียนตอบคาถามต่อไปน้ี - ซากดกึ ดาบรรพ์ไดโนเสาร์แบบซากกลายเปน็ หิน เกิดข้นึ ไดอ้ ยา่ งไร (แนวคาตอบ เกิดจากเมื่อสัตว์ตายลง ส่วนอ่อนจะเริ่มเน่าเป่ือยเหลือเพียงโครงร่าง เมื่อเวลาผ่านไป แร่ธาตุจะแทรกซึมเข้าไปสะสมในช่องว่างของโครงร่างสัตว์ เม่ือเวลาผ่านไปหลายล้านปี โครงร่าง ของสตั วจ์ ะแปรสภาพกลายเปน็ หนิ ) - การเกิดซากดึกดาบรรพ์แบบใด ทาให้ได้ซากดึกดาบรรพ์ที่มีสภาพใกล้เคียงกับสภาพเดิมของสิ่งมีชีวิต ชนดิ นั้นมากทสี่ ดุ (แนวคาตอบ การเกดิ ซากดกึ ดาบรรพแ์ บบคงสภาพ) 10. ครูตั้งประเด็นให้นักเรียนในชั้นเรียนร่วมกันอภิปรายว่า การค้นพบซากดึกดาบรรพ์ต่างๆ มีประโยชน์หรือไม่ อย่างไร จนได้ข้อสรุป การค้นพบซากดึกดาบรรพ์ต่างๆ มีประโยชน์ในหลายด้าน ซากดึกดาบรรพ์สามารถใช้ เป็นหลักฐาน ที่ช่วยอธิบายสภาพแวดล้อมของพื้นท่ีในอดีตขณะเกิดส่ิงมีชีวิตนั้น เช่น หากพบซากดึกดาบรรพ์ ของ หอยน้าจืด สภาพแวดล้อมบริเวณน้ันอาจเคยเป็นแหล่งน้าจืดมาก่อน และหากพบซากดึกดาบรรพ์ของพืช สภาพแวดล้อมบริเวณนั้นอาจเคยเป็นป่ามาก่อน นอกจากน้ี ซากดึกดาบรรพ์ยังสามารถใช้ระบุอายุของหินและ เป็นข้อมูลในการศกึ ษาวิวัฒนาการของสิง่ มีชีวิต 79
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 6 หนิ และซากดกึ ดาบรรพ์ แผนฯ ท่ี 3 กระบวนการเกิดซากดึกดาบรรพ์ 11. นักเรียนทากิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หน้า 49 และบันทึกลงใน สมดุ ประจาตวั นักเรยี น 12. นกั เรียนแบง่ กลมุ่ ออกเป็นกลมุ่ ละ 4-5 คน เพื่อทากจิ กรรม ซากดึกดาบรรพ์ที่พบในประเทศไทย โดยปฏิบัติ ดงั นี้ 1) ส่งตัวแทนกลมุ่ ออกมารบั แผนท่ีและบัตรภาพซากดกึ ดาบรรพท์ ่ีพบในประเทศไทย 2) ให้นักเรียนศึกษาภาพดึกดาบรรพ์ในบัตรภาพซากดึกดาบรรพ์ที่พบในประเทศไทยและคาดคะเน สภาพแวดล้อมในอดตี ของซากดกึ ดาบรรพ์ 3) จากนน้ั นาข้อมลู มาพจิ ารณาว่า พน้ื ที่ใดในประเทศไทยน่าจะพบซากดึกดาบรรพ์เหล่านี้ และวางบัตรภาพลง ในตาแหน่งนน้ั ในแผนท่ี 4) ช่วยกันศึกษาข้อมูลเก่ียวกับซากดึกดาบรรพ์ท่ีค้นพบในประเทศไทย เพ่ือตรวจสอบความถูกต้องของ ตาแหนง่ บตั รภาพทวี่ างในแผนที่ หากมขี ้อผิดพลาดให้แก้ไขให้ถกู ต้อง 13. นักเรียนตอบคาถามตอ่ ไปน้ี - บริเวณอาเภอแม่เมาะ จังหวดั ลาปาง พบซากดึกดาบรรพข์ องสง่ิ มีชวี ิตใด (แนวคาตอบ คน้ พบซากดึกดาบรรพ์หอยขม) - ในประเทศไทยมีการพบซากดึกดาบรรพ์ทีก่ ลายเป็นหนิ หรอื ไม่ ถา้ มีพบท่ีใด (แนวคาตอบ มีการคน้ พบไมก้ ลายเปน็ หินที่บรเิ วณภาคตะวันเฉยี งเหนือและภาคเหนือ) - ยกตวั อย่างซากดึกดาบรรพท์ พ่ี บในจังหวดั สตูลมาอย่างนอ้ ย 3 ชนิด (แนวคาตอบ ซากดึกดาบรรพ์ฟันกรามของช้างสเตโกดอน สาหร่ายทะเลโบราณ แมงดาทะเลโบราณ หอยโข่งทะเลโบราณ) 14. ครูเปิด PowerPoint เร่ือง ซากดึกดาบรรพ์ ให้นักเรียนดู และสนทนากับนักเรียนว่า นอกจากตัวอย่าง ซากดึกดาบรรพ์ท่ีทากิจกรรมแล้ว ในประเทศไทยยังค้นพบซากดึกดาบรรพ์ของส่ิงมีชีวิตชนิดอื่นอีก เช่น ใบไม้ สาหรา่ ยทะเล ปะการัง ปลา เต่า 15. นักเรียนแต่ละคนเขียนสรุปความรู้เกี่ยวกับเรื่องท่ีได้เรียนรู้จากบทที่ 2 ในรูปแบบต่างๆ เช่น แผนผังความคิด แผนภาพ ลงในสมดุ ประจาตวั นักเรียน 16. นักเรียนทุกคนศึกษาแผนผังความคิด สรุปสาระสาคัญ ประจาบทที่ 2 จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หนา้ 54 เพอื่ ตรวจสอบการเขยี นสรปุ ความรทู้ ่ีนักเรยี นทาไวใ้ นสมดุ ประจาตัวนักเรียน 17. นักเรียนทากิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 1 หน้า 55 บันทึกลงในสมุด ประจาตวั นกั เรียน 18. นักเรียนทากิจกรรมฝึกทักษะในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 1 หน้า 56 บันทึกลงในสมุดประจาตัว นกั เรยี น หรือทาในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตรฯ์ ป.6 เล่ม 2 หนา้ 35-36 19. นักเรยี นทากจิ กรรมท้าทายการคิดข้นั สูงในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หน้า 37 80
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 6 หนิ และซากดกึ ดาบรรพ์ แผนฯ ที่ 3 กระบวนการเกิดซากดกึ ดาบรรพ์ 20. ให้นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ (ใชก้ ลมุ่ เดมิ ) เลือกและเตรียมวัสดุท่ีมีอยใู่ นท้องถ่ินมาสร้างแบบจาลองซากดึกดาบรรพ์ใน ชวั่ โมงหน้า (หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมนิ นกั เรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล) ชัว่ โมงท่ี 4 ขั้นสอน (ต่อ) ข้นั ขยายความเข้าใจ 1. นักเรียนแบง่ กลุม่ ออกเปน็ กลมุ่ ละ 4-5 คน เพื่อทากิจกรรม สร้างสรรค์ผลงาน โดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนาความรู้ เก่ียวกบั การสรา้ งแบบจาลองซากดึกดาบรรพม์ าปั้นถ้วยจากดนิ เหนียว โดยปฏบิ ัตดิ งั นี้ 1) ส่งตัวแทนออกมารบั ใบกจิ กรรม ถ้วยป้นั แบบจาลองซากดกึ ดาบรรพ์ และวัสดุ-อุปกรณ์ในการทากจิ กรรม 2) นกั เรยี นออกแบบและสร้างถว้ ยปัน้ แบบจาลองซากดึกดาบรรพ์ตามขัน้ ตอนในใบกจิ กรรม 3) นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ นาเสนอผลงานของกล่มุ ตนเอง และอธบิ ายประเภทและกระบวนการเกิดซากดึกดาบรรพ์ ข้นั สรปุ 1. นักเรียนร่วมกันสรุปผลการทากิจกรรมว่า ซากดึกดาบรรพ์เกิดจากการทับถม หรือการประทับรอยของส่ิงมีชีวิต ในอดีต จนเกิดเป็นโครงสร้างของซากหรือร่องรอยของสิ่งมีชีวิตที่ปรากฏอยู่ในหิน ในประเทศไทยพบ ซากดึกดาบรรพ์ที่หลากหลาย เชน่ พชื ปะการงั หอย ปลา เตา่ ไดโนเสาร์ รอยเท้าสัตว์ ซากดึกดาบรรพ์สามารถ ใช้เป็นหลักฐานหนึ่งท่ีช่วยอธิบายสภาพแวดล้อมของพ้ืนที่ในอดีตขณะเกิดสิ่งมีชีวิต น้ัน เช่น หากพบ ซากดึกดาบรรพ์ของหอยน้าจืด สภาพแวดล้อมบริเวณน้ันอาจเคยเป็นแหล่งน้าจืดมาก่อน และหากพบ ซากดึกดาบรรพ์ของพชื สภาพแวดล้อมบรเิ วณน้ันอาจเคยเป็นป่ามาก่อน นอกจากนี้ ซากดึกดาบรรพ์ยังสามารถ ใชร้ ะบุอายขุ องหิน และเป็นขอ้ มลู ในการศกึ ษาวิวัฒนาการของส่งิ มชี ีวติ ขน้ั ประเมิน ข้นั ตรวจสอบผล 1. นักเรียนแตล่ ะคนทาทบทวนท้ายหน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 6 ในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ฯ ป.6 เลม่ 2 หน้า 38-41 2. นักเรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 6 เพ่ือตรวจสอบความรูข้ องนักเรยี นหลังทากจิ กรรม 3. ครตู รวจกจิ กรรมที่ 1 สรา้ งแบบจาลองซากดึกดาบรรพ์ ในแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตรฯ์ ป.6 เล่ม 2 หนา้ 32-33 81
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 6 หินและซากดึกดาบรรพ์ แผนฯ ท่ี 3 กระบวนการเกดิ ซากดึกดาบรรพ์ 4. ครูตรวจแผนผังความคดิ สรุปสาระสาคัญ ประจาบทท่ี 2 ในสมดุ ประจาตัวนักเรยี น 5. ครูตรวจกิจกรรมพฒั นาการเรยี นรู้ ในสมดุ ประจาตัวนกั เรยี น 6. ครูตรวจกิจกรรมหนูตอบได้ในสมุดประจาตัวนกั เรยี นหรอื ทาในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หนา้ 34 7. ครูตรวจกิจกรรมฝกึ ทกั ษะในสมดุ ประจาตวั นกั เรียนหรอื ทาในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เลม่ 2 หนา้ 35-36 8. ครูตรวจกิจกรรมทา้ ทายการคิดข้ันสูง ในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตรฯ์ ป.6 เล่ม 2 หน้า 37 9. ครปู ระเมินผลงาน ถ้วยปน้ั แบบจาลองซากดึกดาบรรพ์ ในกจิ กรรมสรา้ งสรรค์ผลงาน 10. ครตู รวจทบทวนทา้ ยหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 2 หน้า 38-41 11. ครตู รวจแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรทู้ ่ี 6 เพ่ือตรวจสอบความรขู้ องนักเรียนหลงั ทากจิ กรรม 7. การวดั และประเมินผล รายการวดั วธิ ีการ เคร่ืองมอื เกณฑ์ - ประเมินผลงาน - แบบประเมินผลงาน 1) ผลงาน ถ้วยป้นั - คณุ ภาพอยใู่ นระดบั ดี แบบจาลองซาก ผ่านเกณฑ์ ดกึ ดาบรรพ์ 2) กจิ กรรมท่ี 1 - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตรฯ์ - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สร้างแบบจาลอง ซากดึกดาบรรพ์ วิทยาศาสตรฯ์ ป.6 เลม่ 2 ป.6 เลม่ 2 หน้า 32-33 หนา้ 32-33 3) สรุปสาระสาคญั - ตรวจสมดุ ประจาตัว - สมุดประจาตวั นกั เรยี น - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ประจาบทที่ 2 นักเรียน 4) กิจกรรมพัฒนาการ - ตรวจบัตรความรู้ - บตั รความรู้ - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ เรียนรู้ 5) กจิ กรรมหนตู อบได้ - ตรวจสมดุ ประจาตัวหรอื - สมดุ ประจาตัวหรือ - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตรฯ์ แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ฯ ป.6 เลม่ 2 หน้า 34 ป.6 เลม่ 2 หนา้ 34 82
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 6 หินและซากดึกดาบรรพ์ แผนฯ ท่ี 3 กระบวนการเกิดซากดึกดาบรรพ์ รายการวดั วิธกี าร เครือ่ งมอื เกณฑ์ 6) กจิ กรรมฝกึ ทักษะ - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - ตรวจสมุดประจาตัวหรือ - สมุดประจาตัวหรือ บทท่ี 2 แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตรฯ์ แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตรฯ์ ป.6 เลม่ 2 หน้า 35-36 ป.6 เลม่ 2 หนา้ 35-36 7) กจิ กรรมท้าทาย - ตรวจแบบฝกึ หดั - แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ฯ - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ การคิดข้ันสูง วทิ ยาศาสตรฯ์ ป.6 เล่ม 2 ป.6 เลม่ 2 หน้า 37 หนา้ 37 8) ทบทวนท้ายหนว่ ย - ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ฯ - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ การเรียนรู้ที่ 6 วิทยาศาสตร์ฯ ป.6 ป.6 เลม่ 2 หนา้ 38-41 เล่ม 2 หนา้ 38-41 9) ทดสอบหลังเรียน - แบบทดสอบหลงั เรยี น - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ หน่วยการเรียนรู้ - ตรวจแบบทดสอบหลัง หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 6 ที่ 6 เรียน หนว่ ยการเรียนรู้ ที่ 6 10) พฤติกรรม - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - คุณภาพอยใู่ นระดบั ดี การทางานรายบคุ คล ผา่ นเกณฑ์ การทางาน การทางานรายบุคคล - แบบสงั เกตพฤติกรรม - คุณภาพอยใู่ นระดับดี รายบุคคล การทางานกลมุ่ ผ่านเกณฑ์ 11) พฤติกรรม - สังเกตพฤติกรรม การทางานกลมุ่ การทางานกลมุ่ หมายเหตุ : แบบสังเกตพฤติกรรมประเมินรายเทอม 83
หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 6 หินและซากดกึ ดาบรรพ์ แผนฯ ท่ี 3 กระบวนการเกดิ ซากดึกดาบรรพ์ 8. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้ 8.1 ส่ือการเรยี นรู้ 1) หนังสอื เรยี นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 2) แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 3) วัสดุ-อปุ กรณ์ท่ใี ชใ้ นกิจกรรมท่ี 1 สรา้ งแบบจาลองซากดกึ ดาบรรพ์ 4) วสั ดุ-อุปกรณ์ทใ่ี ชใ้ นกิจกรรมสรา้ งสรรคผ์ ลงาน 5) QR Code 3D เรอื่ ง ฟอสซิล 6) PowerPoint เรื่อง ซากดกึ ดาบรรพ์ 7) ใบกจิ กรรม ถว้ ยป้นั ซากดึกดาบรรพ์ 8) บตั รภาพซากดกึ ดาบรรพ์ 9) บตั รภาพซากดกึ ดาบรรพ์ที่คน้ พบในประเทศไทย 10) แผนที่ประเทศไทย 11) สมดุ ประจาตัวนกั เรยี น 8.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1) ห้องเรียน 2) ห้องสมุด 3) อินเทอร์เน็ต 84
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 สารรอบตวั เรา แผนฯ ท่ี 3 กระบวนการเกิดซากดกึ ดาบรรพ์ ใบงานกิจกรรม ถ้วยปั้นแบบจาลองซากดึกดาบรรพ์ คาช้ีแจง : ให้นักเรียนแต่ละกลมุ่ นาความรเู้ กีย่ วกับการสร้างแบบจาลองซากดึกดาบรรพ์มาออกแบบถว้ ยจากดนิ เหนียว วัสดุ- อปุ กรณ์ 1. ดินปนั้ แบบไม่ใชเ้ ตาอบ เช่น ดนิ ไทย ดนิ ญ่ปี นุ่ ดนิ เกาหลี 5. ไมน้ วด 2. วสั ดทุ ีใ่ ชส้ ร้างแบบจาลองซากดกึ ดาบรรพ์ เชน่ ใบไม้ เปลือกหอย 6. มีด 3. หมกึ ปม๊ั แบบตลบั 7. กระดาษทราย 4. ถว้ ยชามต้นแบบ วิธีทา 1. นวดดินจนเรม่ิ นมิ่ จากนั้นใช้ไมน้ วดแป้งคลงึ ดนิ จนเป็นแผ่นหนาประมาณ 5 มิลลิเมตร 2. วางวัสดุทใ่ี ชส้ รา้ งแบบจาลองซากดึกดาบรรพ์ลงบนหมกึ ปม๊ั แล้วกดลงทีแ่ ผ่นดนิ ให้จม จากนน้ั ดึงออก 3. คว่าถว้ ยที่เลอื กใช้เปน็ แม่พมิ พล์ งบนดนิ ใช้มดี ตดั เป็นรูปวงกลมขนาดเทา่ กับปากถว้ ย 4. วางดนิ รูปวงกลมลงในชามใบเดิม ใชน้ วิ้ โปง้ กดเบาๆ เพ่ือใหด้ ินโคง้ ไปตามถว้ ย ทิ้งผลงานของไว้ใหแ้ หง้ สนทิ 5. แกะชิ้นงานออกมาจากถ้วยต้นแบบ ถ้าดินยังชื้นอยู่ ให้นาไปผ่ึงไว้บนตะแกรง ท้ิงไว้จนกว่าจะแห้งทั่วกัน ใช้กระดาษทรายขดั ขอบถ้วยใหเ้ รยี บเนียน การใชป้ ระโยชน์ นาแบบจาลองไปอธิบายกระบวนการเกดิ ซากดกึ ดาบรรพ์ นาไปเปน็ ท่ีใส่ของชนิ้ เล็กๆ เชน่ ก๊ิบตดิ ผม ยางรดั ผม 85
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 สารรอบตัวเรา แผนฯ ท่ี 3 กระบวนการเกดิ ซากดึกดาบรรพ์ บตั รภาพซากดึกดาบรรพ์ ซากดึกดาบรรพป์ ลา ซากดึกดาบรรพ์ใบไม้ 86
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 5 สารรอบตัวเรา แผนฯ ที่ 3 กระบวนการเกดิ ซากดกึ ดาบรรพ์ บตั รภาพซากดึกดาบรรพ์ รอยเทา้ ไดโนเสาร์ ซากดกึ ดาบรรพ์ไทรโลไบต์ 87
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 สารรอบตัวเรา แผนฯ ที่ 3 กระบวนการเกิดซากดึกดาบรรพ์ บตั รภาพซากดึกดาบรรพ์ ซากยุงในอาพัน หอยแอมโมไนต์ 88
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 สารรอบตัวเรา แผนฯ ที่ 3 กระบวนการเกิดซากดึกดาบรรพ์ บตั รภาพซากดึกดาบรรพท์ ี่คน้ พบในประเทศไทย ภูเวียงโกซอรสั สิรินธรเน ซากหอยขม สุสานหอยแหลมโพธิ์ ไมก้ ลายเป็นหิน รอยเท้าไดโนเสาร์ 89
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 สารรอบตวั เรา แผนฯ ท่ี 3 กระบวนการเกิดซากดกึ ดาบรรพ์ แผนที่ประเทศไทย 90
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 สารรอบตวั เรา แบบบนั ทึกหลงั แผนการจัดการเรียนรู้ แผนฯ ท่ี 3 กระบวนการเกิดซากดกึ ดาบรรพ์ ด้านความรู้ ด้านสมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ดา้ นความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์ ดา้ นอ่ืน ๆ (พฤติกรรมเด่นหรือพฤติกรรมที่มปี ัญหาของนักเรียนเป็นรายบุคคล (ถ้าม)ี ) ปญั หา/อปุ สรรค แนวทางการแก้ไข ลงชอ่ื ..............................................ผบู้ นั ทกึ (................................................) ความเหน็ ของผบู้ ริหารสถานศกึ ษาหรอื ผู้ท่ีไดร้ ับมอบหมาย ข้อเสนอแนะ ลงชื่อ................................................ (................................................) ตาแหน่ง................................................. 91
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185