Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรรายวิชา ทช 33098

หลักสูตรรายวิชา ทช 33098

Description: หลักสูตรรายวิชา ทช 33098

Search

Read the Text Version

326 สรปุ 1. ความแตกต่างกัญชาและกัญชงทางกายภาพ คือ พืชกัญชากับพืชกัญชงมีความ แตกต่างกันในด้านแหล่งกาเนิด ซ่ึงมีการระบุว่า พืชกัญชาอยู่ในเขตอบอุ่น ส่วนพืชกัญชงพบใกล้ บริเวณเส้นศูนย์สูตร โดยกัญชามีช่ือทางวิทยาศาสตร์ว่า แคนนาบิส ซาติว่า แอล. อินดิก้า (Cannabis sativa L. subsp. Indica ) ส่วนกัญชงมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า แคนนาบิส ซาติว่า แอล. ซาติว่า (Cannnabis sativa L.. subsp. Sativa ) พืชกัญชาในท่ีนี้หมายรวมถึงกัญชงด้วย มีการแยกเพศต่างต้น เป็นตวั ผู้ ตน้ ตัวเมีย และยังมตี น้ กะเทย ซ่ึงมสี องเพศในต้นเดยี วกัน ดา้ นการสงั เคราะหแ์ สงเจริญเตบิ โต กัญชามีคลอโรฟิลล์สูง จึงทาให้โตเร็วกว่ากัญชง ทาให้กัญชามีสีเขียวเข้มกว่า และเติบโตในประเทศที่มี อากาศเย็น 2. ความแตกต่างของสารสกัดกัญชาและกัญชง คือ สาร THC และ CBD ถูกนาไปใช้ ประโยชน์ทางการแพทย์ แต่สาร THC มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง ส่วนสาร CBD ไม่มีผลข้าง เคยี งต่อระบบประสาทสว่ นกลาง 3. สารในกญั ชงและกัญชา ตามทกี่ ฎหมายกาหนด ยงั เป็นยาเสพตดิ

327 ใบความรูท้ ี่ 3 เรอื่ ง กัญชาและกัญชงก่อให้เกดิ โรคจิตเวชได้ วตั ถปุ ระสงค์ กกกกกกก1. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ กัญชาและกัญชงก่อให้เกิดโรคจิตเวชได้ กกกกกกก2. เพ่ือให้มีทักษะการแสวงหาความรู้เร่ือง กัญชาและกัญชงก่อให้เกิดโรคจิตเวชได้ กกกกกกก3. เพื่อให้ผู้เรียนมีความตระหนักถึงความสาคญั ของ โทษกัญชาและกัญชงก่อให้เกิดโรค จิตเวชได้ เน้อื หา กกกกกกกกัญชามีฤทธ์ิทางเภสัชวิทยาคล้ายกับยากระตุ้นประสาท ยากดประสาท ยาหลอนประสาท ยาแก้ปวด และยาท่ีออกฤทธิ์ทางจิตประสาท ทาให้ผู้เสพกัญชามีอาการเคล้ิมจิต โดยในขั้นต้นมักจะเป็น อาการกระตุ้นประสาท ผู้เสพจะมีอาการล่องลอย สับสน ปากแห้ง อยากอาหาร ชีพจรเต้นเพิ่มข้ึน ตาแดงขึ้นในขณะที่เสพ หากเสพเป็นประจา สุขภาพโดยภาพรวมจะเส่ือมลง ผู้ท่ีเสพติดกัญชาส่วนใหญ่ จะมีโอกาสป่วยเป็นโรคจิตในภายหลังมากกว่าคนท่ีไม่สูบถึงร้อยละ 60 ย่ิงเสพมากและเสพเป็นเวลานาน ก็ยิ่งเพ่ิมความเสี่ยงมาก โดยผู้เสพหนักสุดจะมีโอกาสเป็นโรคจิตมากกว่าคนปกติ 4 - 6 เท่า กรมการแพทย์ เปิดเผยการศึกษาผู้ป่วยเสพติดกัญชาที่เข้ารับการรักษา จากสถาบันบาบัดรักษายาเสพติดของรัฐ 6 แห่ง ทั่วประเทศ สถาบันบาบัดรักษาและฟ้ืนฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี โรงพยาบาลธัญญา รักษ์เชียงใหม่ ขอนแก่น อุดรธานี สงขลา ปัตตานี พบเป็นโรคจิตเวชสูงถึง ร้อยละ 72.3 การเสพ กญั ชาเป็นการเริ่มเสพยาเสพติดรา้ ยแรงท้ังปวง กกกกกกกโรคจิต (Psychosis) คือ ภาวะอาการทางจิตท่ีผู้ป่วยมักมอี าการหลงผิดไปจากความเป็นจริง ประสาทหลอน หูแว่ว เห็นภาพหรือรับรู้ในส่ิงท่ีไม่มีอยู่จริง อาการโรคจิตหรือวิกลจริตน้ีเป็นปัญหา สุขภาพจิตที่อาจเกิดข้ึนได้จากหลายสาเหตุท้ังปัจจัยภายในอย่างความผิดปกติทางจิตต่าง ๆ อาการ เจบ็ ปว่ ยทางรา่ งกาย และปจั จยั ภายนอกอยา่ งการใชย้ าหรอื สารเสพติด กกกกกกกอาการโรคจิต แม้อาการบางอย่างของผู้ป่วยโรคจิตจะทาให้ครอบครัวและบุคคลรอบข้าง เป็นกังวล ผู้ปว่ ยโรคจิตแตล่ ะคนอาจมีลักษณะท่าทางและอาการทป่ี รากฏแตกต่างกันไป แต่โดยท่ัวไป แล้ว กลุ่มอาการหลัก ๆ ของโรคจติ ได้แก่ ประสาทหลอน ประสาทรับรู้ทั้ง 5 ประกอบด้วย ความคิด มีความคิดหลงผิด การรับรู้ มีประสาทหลอน อารมณ์ยิ้มคนเดียว สีหน้าท่ีเรียบเฉย การพูด คาพูด สบั สน พดู เพ้อเจอ้ พฤตกิ รรมและการแสดงออก แยกตัวพดู คนเดยี วคลุม้ คล่งั

328 กกกกกกกอาการเตือนของผู้ป่วยโรคจิตเภท หากพบว่าผู้ที่เสพกัญชามากและใช้ระยะเวลานาน มีอาการเตือน ควรพาผู้ป่วยไปพบแพทย์ เพ่ือตรวจสอบว่า กาลังจะมีอาการโรคจิตใช่หรือไม่และ จะแก้ไขอย่างไร ตัวอย่างอาการเตือนที่พบบ่อย เช่น สมาธิหรือความจาไม่ดี อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย ความคิดช้าเกินไป นอนไม่หลับ ความคิดเร็วเกินไป รับประทานอาหารมากขึ้นหรือน้อยลง วิตกกังวล หรือตึงเครียด ไม่มีเร่ียวแรงหรือไม่อยากทาอะไร ซึมเศร้าหรือเบ่ือหน่าย มีความรู้สึกว่าส่ิงต่าง ๆ รอบตัวเปล่ยี นไป โกรธหรือหงุดหงิดงา่ ย ไมไ่ ว้วางใจหรือระแวงผู้อนื่ กกกกกกกผู้ป่วยจิตเวชท่ีมีความเส่ียงสูงต่อการก่อความรุนแรง ทาร้ายตัวเองด้วยวิธีรุนแรงมุ่งหวัง ให้เสียชีวิต ทาร้ายผู้อื่นด้วยวิธีรุนแรงก่อเหตุการณ์รุนแรงในชุมชน มีความคิดทาร้ายผู้อื่นให้ถึงแก่ชีวิต กอ่ คดอี าญารนุ แรง (ฆ่า พยายามฆ่า ขม่ ขืน วางเพลิง) กกกกกกกนายแพทย์สมศักด์ิ อรรฆศิลป์ อธิบดีกรมการแพทย์ กล่าวว่า ความเสี่ยงของการเสพกัญชา กับโรคจิตเภท ซ่ึงมีผลทาให้อาการทางจิตและการพยากรณ์โรคแย่ลง โดยเฉพาะคนที่มีกรรมพันธุ์ ทจ่ี ะเปน็ โรคจิต หรอื เคยมีอาการทางจิตมากอ่ นเมื่อใช้กญั ชาจะทาใหเ้ กดิ อาการทางจติ ได้มากขนึ้ กกกกกกกผศ.ดร.พญ.รัศมี สังข์ทอง หน่วยระบาดวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีการออกเอกสารเผยเพร่ ผลของการใช้กัญชาต่อจิตประสาทในเด็กและเยาวชน โดยระบุว่า เมอื่ เสพกัญชา เข้าไปในระยะแรก กัญชาจะออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท ทาให้ผู้เสพมีอาการตื่นตัว ตื่นเต้นจาก สารเตตรา ไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol : THC) แต่เมื่อผ่านไป 1 - 2 ช่ัวโมง กัญชาจะเร่ิมออก ฤทธ์ิ กดประสาท มีโอกาสเกิดสมองเสื่อมถาวร หรือเป็นจิตเภท โดยเฉพาะในเด็กและเยาวชน อารมณ์ อ่อนไหว เล่ือนลอย สมองสั่งงานช้า ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม ร่าเริงผิดปกติ รู้สึกกังวล กลัว ไม่กล้าไว้ใจใคร ซมึ เศรา้ คิดฆ่าตัวตาย ดุรา้ ยผิดปกติ มองเห็นภาพหลอน ควบคุมตัวเองไมไ่ ด้ นาไปสู่ อุบัติเหตุ ปัญหา การเรียน ผลการเรียนตกต่า ขาดสมาธิในการเรียน ความสามารถในการเรียนรู้แย่ลงและมีปัญหา สุขภาพจิตหรือวิกลจริตนาไปสโู่ รคจติ เวชได้ สรปุ กกกกกกกกัญชาและกัญชงก่อให้เกิดโรคจิตเวช การใช้กัญชาและกัญชงส่งผลต่อจิตประสาทในเด็ก และเยาวชน เม่ือเสพกัญชาเข้าไปในระยะแรก กัญชาจะออกฤทธ์ิกระตุ้นประสาท เม่ือร่างกายรับสาร เตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol : THC) หลังจาก 1 - 2 ช่ัวโมง จะเริ่มออกฤทธ์ิ กดประสาท และประสาทหลอน ควบคมุ ตัวเองไม่ได้ ผู้ที่เสพกัญชาเป็นเวลานานทาใหเ้ สี่ยงต่อการเสพติด กัญชา มีโอกาสทาให้สมองเสื่อม และเกิดปัญหาสุขภาพจิต ซ่ึงนาไปสู่โรคจิตเวชได้ และผู้ป่วยจิตเวช มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง ทาร้ายตัวเอง ทาร้ายผู้อ่ืนให้ถึงแก่ชีวิต รวมถึงก่อเหตุการณ์ รุนแรงในชุมชน

329 ใบความรูท้ ่ี 4 เร่ือง กรณีศกึ ษาโทษของการฝา่ ฝนื ใชก้ ัญชาและกญั ชง วัตถุประสงค์ กกกกกกก1. เพือ่ ใหผ้ ู้เรยี นมีความรู้ความเข้าใจในกรณีศึกษาโทษของการฝ่าฝนื ใชก้ ญั ชาและกัญชง กกกกกกก2. เพอื่ ให้ผู้เรียนมีทกั ษะแสวงหาความรู้และทักษะการคิดวเิ คราะห์ กรณีศึกษาโทษของ การฝา่ ฝืนใชก้ ัญชาและกัญชงกกกกกกก กกกกกกก3. เพื่อใหผ้ ูเ้ รียนตระหนกั ถึงโทษของการฝา่ ฝนื ใช้กญั ชาและกัญชง เน้ือหา กกกกกกกกรณศี ึกษาโทษของการฝ่าฝืนใช้กญั ชาและกญั ชง กรณที ี่ 1 เปดิ ใจ\" แมถ่ กู จบั ปลกู กัญชา เหตุลูกอา้ ง \"พชื สมนุ ไพร\" กกกกกกกเร่ืองดังกล่าวเปิดเผยข้ึนจาก นางเขียว อายุ 62 ปี (นามสมมุติ ) ชาวบ้าน จังหวัด สกลนคร อดีตผู้ต้องขังคดีลักลอบปลูก “กัญชา” ด้วยความไม่รู้กฎหมาย กล่าวว่า เมื่อประมาณ ปลายปี 2560 ซึ่งมีกระแสของการผลักดันให้มีการนา “กัญชา” มาวิจัยรักษาโรค และสกัด เป็นยา ลูกชายตนเอง คือ นายแดง (นามสมมุติ) อายุ 16 ปี ได้นาเมล็ดพืชชนิดหน่ึง มาปลูก ลงกระถาง บอกว่า ส่ังซื้อผา่ นทางอินเตอร์เนต็ เปน็ พชื 'สมุนไพรรักษาโรคมะเร็ง' และขอใหแ้ ม่ช่วย รดน้าให้ด้วย กกกกกกกด้วยความเช่ือลกู ชายจึงไม่คิดอะไร “นางเขียว” ได้ช่วยรดน้า ‘ต้นสมุนไพร’ ของลูกชาย ทปี่ ลกู ลงกระถางวางปะปนไว้กับต้นผักสวนครัวตนเองท่ปี ลูกอยหู่ นา้ บ้าน และพบว่าต้นไมส้ มุนไพร ก็เจริญงอกงามดี จนเร่ิมมีใบแตกออกมา สังเกตว่า ลูกชายชอบไปเด็ดมาให้แม่ใส่ในต้มหรือแกง บอกเป็น “สมุนไพรป้องกันมะเร็ง” จนเวลาผ่านมา 3 เดือน ต้นสมุนไพร โตข้ึนสูงประมาณ 50 - 70 เซนติเมตร มีใบแตกออกมา ซึ่งตนเองไม่เคยเห็นต้นกัญชา จึงยังคิดว่าเป็นต้นสมุนไพร โดยเห็น ลกู ชาย คอยยกกระถางไปวางให้ได้รับแสงแดด

330 ก กกกกกกกจนกระทั่งมีเจ้าหน้าที่ตารวจ เดินทางมาที่บ้าน ขณะที่ตนเองกาลังรดน้าต้นไม้ และ ตารวจถามว่า ตนเองปลูกอะไร ตนก็ตอบว่า ปลูกต้นสมุนไพร ไว้ป้องกันรักษาโรคมะเร็ง จึงถูก เจ้าหน้าท่ีตารวจเชิญไปที่สถานีตารวจเพื่อสอบสวน พร้อมนากระถางต้นไม้สมุนไพรไปด้วย และ ต่อมาถูกตั้งข้อหาลักลอบปลูกยาเสพติดประเภท 5 (กัญชา) และมีครอบครองไว้โดยไม่ได้รับ อนุญาต กกกกกกกขณะนั้นตนเอง คิดอะไรไม่ออก เมื่อถูกตารวจจับและตนเองเป็นเจ้าบ้าน จึงรับผิด เป็นคนปลูกเอง เพื่อไม่ให้ลูกต้องรับผิด และจะได้ไม่เสียประวัติ จากนั้นเจ้าหน้าที่ตารวจ ได้ รวบรวมหลักฐานสั่งฟ้องดาเนินคดี โดยศาล มีคาสั่งลงโทษจาคุก 1 ปี ปรับเป็นเงิน 1 แสนบาท แต่ตนเองไม่มีเงินเสียค่าปรับ จึงต้องเข้าไปคุมขังในเรือนจาแทนค่าปรับ วันละ 500 บาท ทาให้ ต้องอยู่ในเรือนจาประมาณ 6-7 เดือน และพ้นโทษออกมาเมื่อกลางปี 2561 กกกกกกกนาง “เขียว” กล่าวด้วยว่า ถือเป็นช่วงหนึ่งของชีวิตที่ไม่คิดว่าจะได้เข้าไปในเรือนจา ได้ประสบการณ์หลายอย่าง หากจะได้เข้าไปอีก..วันเดียวก็ไม่ไป เพราะลาบากในการใช้ชีวิต พร้อมเตือนผู้ที่จะกระทาผิดอย่าคิดจะเข้าไป ส่วนกรณีของลูกชายตนเอง เจ้าหน้าที่ตารวจบอก ว่า ไม่สามารถสืบหาต้นตอได้ เพราะกล่องที่บรรจุเมล็ดกัญชา ส่งมาตามบ้านเลขที่ของตนเอง แต่ไม่ระบุต้นทางท่ีส่งมา กกกกกกกวิเคราะห์กรณีศึกษาที่ 1 กกกกกกก1. ความสาคัญในกรณีศึกษา คือ การฝ่าฝืนกฎหมายห้ามปลูกกัญชา กกกกกกก2. ความสัมพันธ์ท่ีพบในกรณีศึกษา คือ สาเหตุในเร่ืองของกัญชา บวกกับความเชื่อใจ บุตรชาย นางเขียวจึงได้นากัญชามาปลูกเพื่อรักษาโรค ตามที่บุตรชายบอกให้ทา และรับผิดแทน บุตรชาย เพ่อื ไม่ใหบ้ ุตรชายเสียประวตั ิ ทาใหน้ างเขียว ถกู ฟ้องดาเนินคดี กกกกกกก3. หลักการที่พบในกรณีศึกษา คอื การปลกู กัญชามีความผิดตามกฎหมายพระราชบัญญัติ ยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 ในมาตรา 26/3 คือ ผู้ใดมีไว้ครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษ ในประเภท 5 (กัญชา) ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจา ทง้ั ปรบั กกกกกกก4. กรณีศึกษานี้ให้ประโยชน์ในการนาไปใช้ คือ กกกกกกกกก 4.1 ตนเอง คือ กกกกกกกกก 4.2 ครอบครัว คนในชุมชน คือ

331 กรณีที่ 2 พ่ีชายดาราดังเสพกญั ชา แหกด่าน กกกกกกกพ่ีชายดาราดังซ่ิงรถฟอร์จูนเนอร์แหกด่านตรวจ ตารวจสกัดจับวุ่นต้องปิดถนนล็อกตัว พบเศษกระดาษห่อกัญชาตรวจปัสสาวะพบสาร THC เป็นผลบวก อ้างสับสนคิดว่าตารวจให้ผ่าน ทาง ขณะท่พี นกั งานสอบสวนแจ้งหลายขอ้ หา นาตัวส่งศาลรบั โทษรอลงอาญาและคมุ ประพฤติ กกกกกกกพ่ีชายดาราดังเสพกัญชาแหกด่านจุดตรวจค้นอาวุธและยาเสพติดบริเวณหน้าศูนย์ ดับเพลิง พบรถโตโยต้า ฟอร์จูนเนอร์ สีขาว ขับเข้าด่านแล้วไม่หยุด จากน้ันตารวจสายตรวจนา กาลังขับรถไล่ติดตามอย่างกระชั้นชิด ตารวจประสานงานให้ปิดถนน พร้อมสั่งการเพ่ิมความ ระมัดระวัง หากรถยนต์ไม่ยอมหยุดให้ใช้ปืนยิงยางรถ เพราะคาดว่าจะเป็นคนร้ายในคดีสาคัญ จนทาใหก้ ารจราจรติดขัด กกกกกกกจากนั้นเจ้าหน้าท่ีนากาลังเข้าจับกุมคนขับทราบช่ือนายดา (นามสมมุติ) อายุ 27 ปี ตรวจค้นในรถพบเศษกระดาษที่ใช้ห่อกัญชาตกอยู่ และมีเศษผงกัญชาเล็กน้อยตกอยู่ในรถ เจา้ หน้าที่จึงเกบ็ ไวเ้ ป็นหลกั ฐาน นาตัวไปตรวจปัสสาวะพบสาร THC เป็นสารเสพติด กกกกกกกจากการสอบสวนนายดา (นามสมมุติ) อ้างว่าไปร้องเพลง และกาลังจะกลับ กทม. เมื่อเจอด่านรู้สึกสับสนนึกว่าเจ้าหน้าที่ตารวจให้ผ่านด่านไปได้จึงขับรถผ่านออกมา เบื้องต้นแจ้ง ข้อหาเสพยาเสพติดประเภทกัญชา ขับรถโดยประมาทหวาดเสียวไม่คานึงถึงความปลอดภัยผู้อ่ืน ขับรถฝา่ สญั ญาณไฟจราจรและขัดคาส่ังเจ้าพนกั งาน กกกกกกกต่อมาพนักงานสอบสวนคุมตัวนายดา (นามสมมุติ) ส่งฟ้องศาล ผู้พิพากษาตัดสินฐานขับ รถไม่คานึงถึงความปลอดภัยของผู้อ่ืนลงโทษจาคุก 1 เดือน ปรับ 3,000 บาท เสพกัญชาจาคุก 1 เดือน ปรับ 1,000 บาท รวมจาคุก 2 เดือน ปรับ 4,000 บาท โทษจาคุกให้รอลงอาญา 1 ปี คุมประพฤติ 1 ปี รายงานตัวต่อเจ้าหน้าท่ีคุมประพฤติ 3 เดือนต่อคร้ัง ให้บริการสังคม 12 ช่ัวโมง และงดใชใ้ บอนญุ าตขับขร่ี ถยนต์ 6 เดือน กกกกกกกวิเคราะห์กรณีศึกษาที่ 2 กกกกกกก1. ความสาคัญในกรณีศึกษาดังกล่าว คอื การเสพกัญชาก่อเกิดปัญหาสังคมตามมา กกกกกกก2. ความสมั พันธท์ พี่ บในกรณีศกึ ษาดังกล่าว คอื สาเหตุ นายดา (นามสมมต)ิ ฝา่ ฝืนกฎหมาย แอบเสพยาเสพติดกัญชา ก่อให้สมองมีความสับสนทาให้ขับรถด้วยความประมาท หวาดเสียว เป็น อนั ตรายตอ่ ผอู้ น่ื

332 กกกกกก 3. หลักการท่ีพบในกรณีศึกษาดังกล่าว คือ การครอบครองกัญชาไม่ว่าจะมีจานวนมาก หรือน้อย ถือว่าผิดกฎหมายตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 ในมาตรา 26/3 คือ ผู้ใดมีไว้ครอบครองซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 (กัญชา) ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือท้ังจาทั้งปรับ และ ในมาตรา 58 วรรคสอง คือ ผู้ใดเสพยาเสพติด ใหโ้ ทษในประเภท 5 ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหน่ึงปี หรอื ปรบั ไม่เกนิ สองหมื่นบาท หรือทง้ั จาทั้งปรบั กกกกกกก4. กรณีนี้ให้ประโยชน์ในการนาไปใช้ คือ กกกกกกกกก 4.1 ตนเอง คือ ต้องตระหนักไม่ให้ฝ่าฝืนกฎหมายห้ามปลูกกับกัญชากกกกกกก กกกกกกก 4.2 ครอบครัว คนในชุมชน คือ แนะนา ใหค้ วามรู้ ถ้าลักลอบปลูกกัญชา เปน็ การฝ่า ฝืนกฎหมายการห้ามปลูกกญั ชา สรปุ กกกกกกกจากกรณีศกึ ษาโทษของการฝ่าฝนื ใชก้ ัญชาและกัญชง แบง่ เปน็ 2 กรณี ดังน้ี กกกกกกกกรณีที่ 1 ความสาคัญในกรณีศึกษา คือ การฝ่าฝืนกฎหมายห้ามปลูกกัญชา ความสมั พันธ์ ทพี่ บในกรณีศึกษา คือ สาเหตุในเรือ่ งของกัญชา บวกกบั ความเชือ่ ใจบตุ รชาย นางเขยี วจึงได้นากัญชา มาปลูกเพ่อื รักษาโรค ตามทบ่ี ุตรชายบอกใหท้ า และรับผิดแทนบุตรชาย เพื่อไมใ่ ห้บุตรชายเสียประวัติ ทาให้นางเขียว ถูกฟ้องดาเนินคดี และหลักการท่ีพบในกรณีศึกษา คือ การปลูกกัญชามีความผิดตาม กฎหมายพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับท่ี 7) พ.ศ. 2562 ในมาตรา 26/3 คือ ผู้ใดมีไว้ ครอบครองซึง่ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท 5 (กญั ชา) ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหา้ ปี หรือปรบั ไมเ่ กิน หน่งึ แสนบาท หรือท้งั จาทงั้ ปรบั กกกกกกกกรณีที่ 2 ความสาคัญในกรณีศึกษาดังกล่าว คือ การเสพกัญชาก่อเกิดปัญหาสังคมตามมา ความสัมพันธ์ท่ีพบในกรณีศึกษาดังกล่าว คือ สาเหตุ นายดา (นามสมมติ) ฝ่าฝืนกฎหมายแอบเสพยา เสพติดกัญชา ก่อให้สมองมีความสับสนทาให้ขับรถด้วยความประมาท หวาดเสียว เป็นอันตรายต่อ ผู้อ่ืน และหลักการท่ีพบในกรณีศึกษาดังกล่าว คือ การครอบครองกัญชาไม่ว่าจะมีจานวนมาก หรือน้อย ถือว่าผิดกฎหมายตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับท่ี 7) พ.ศ. 2562 ในมาตรา 26/3 คือ ผู้ใดมีไว้ครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 (กัญชา) ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจาท้ังปรับ และ ในมาตรา 58 วรรคสอง คือ ผู้ใดเสพยาเสพติด ใหโ้ ทษในประเภท 5 ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหน่ึงปี หรอื ปรับไมเ่ กินสองหมืน่ บาท หรือทั้งจาทงั้ ปรับ

333 ใบความรทู้ ่ี 5 เร่อื ง แนวทางการเฝ้าระวงั ความปลอดภัยการใช้ตารับยา แผนไทยทมี่ ีกัญชาปรงุ ผสมอยู่ วัตถปุ ระสงค์ กกกกกกก1. เพ่ือใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจแนวทางการเฝา้ ระวงั ความปลอดภยั การใชต้ ารับยาแผนไทย ทมี่ กี ัญชาปรงุ ผสมอยู่ กกกกกกก2. เพื่อให้มีทักษะการแสวงหาความรู้และทักษะการคิดวิเคราะห์ ข้อมูลแนวทางการเฝ้าระวัง ความปลอดภัยการใชต้ ารบั ยาแผนไทยทม่ี ีกัญชาปรงุ ผสมอยู่ กกกกกกก3. เพ่ือใหต้ ระหนกั ถงึ ความปลอดภัยของการใช้ตารบั ยาแผนไทยท่ีมีกัญชาปรงุ ผสมอยู่ เนอื้ หา กกกกกกก1. แนวทางการเฝ้าระวงั ความปลอดภัยจากการใชย้ า กกกกกกก1. ในปี พ.ศ. 2526 ประเทศไทยไดเ้ ริ่มพัฒนาระบบเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยา พร้อม ทั้งได้จัดตั้งศูนย์ติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากใช้ยา (Adverse Drug Reaction Monitoring Centre ; ADRMC) ภายใต้สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กระทรวงสาธารณสุข เพ่ือรับผิดชอบ ระบบดังกล่าว ในปีถัดมา (ปี พ.ศ. 2527) ได้สมัครเข้าเป็นประเทศสมาชิกลาดับที่ 26 ของโครงการ เฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาระดับนานาชาติขององค์การอนามัยโลก (WHO Programme for International Drug Monitoring) และได้บรรจุกิจกรรมน้ีไว้ในแผนพัฒนาการสาธารณสุขแห่งชาติ ตาม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ตั้งแต่ฉบับท่ี 6 (ปี พ.ศ. 2550 - 2534) จัดตั้งศูนย์เครือข่าย ระดับเขตในส่วนภมู ภิ าค ครงั้ แรกรวม 5 แหง่ (จังหวดั ลาปาง นครสวรรค์ นครราชสมี า ขอนแกน่ และ หาดใหญ่ สงขลา) ต่อมาในปี พ.ศ. 2535 กระทรวงสาธารณสุข ให้บรรจุงานเฝ้าระวังติดตามอาการ ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาในแผนงานพัฒนาระบบบริการของสถานพยาบาลและ หน่วยงาน สาธารณสุข (พบส.) เป็นหนึ่งในเกณฑ์มาตรฐานของงานเภสัชกรรมและได้ขยายศูนย์เครือข่ายระดับ เขตในส่วนภูมิภาคตามโครงสรา้ ง พบส. กกกกกกก1. ในปี พ.ศ. 2540 ได้ขยายขอบข่ายของการเฝ้าระวังไปยังผลิตภัณฑ์สุขภาพอ่ืน ภายใต้ การกากับดูแลของ คณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ท้ังหมด และบรรจุกิจกรรมไว้ในแผนพัฒนา การสาธารณสุขแห่งชาติ ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ต้ังแต่ฉบับท่ี 8 (พ.ศ. 2540 - 2544) เปลี่ยนชื่อเป็นศูนย์ติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (Adverse Product

334 Reaction Monitoring Centre: APRMC) อย่างไม่เป็นทางการ ต่อมาในปี พ.ศ. 2551 ได้ขยาย ภารกิจการเฝ้าระวังครอบคลุมปัญหาอื่นท่ีเกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ จึงได้เสนอกระทรวงสาธารณสุข เปล่ียนช่ือศูนย์อย่างเป็นทางการเป็น “ศูนย์เฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ (Health Product Vigitance Centre; HPVC)” รายงานที่ได้รับได้ส่งต่อไปยังองค์การอนามัยโลกอย่าง ต่อเนอ่ื ง โดยประมาณรอ้ ยละ 2.0 ของฐานข้อมลู ขององคก์ ารอนามยั โลกเป็นรายงานจากประเทศไทย กกกกกกก1. ระบบการเฝ้าระวังของประเทศไทย ได้รับข้อมูลจากสถานพยาบาลภาครัฐ และเอกชน ท้งั สว่ นกลาง และส่วนภมู ิภาค ในอดีตรูปแบบการเฝ้าระวังในส่วนภูมิภาคเป็นรูปแบบศูนย์เฝ้าระวัง ระดบั เขต ซงึ่ จดั ตัง้ ข้ึนอา้ งองิ ตามระบบบริการ และหน่วยงานสาธารณสุขในสว่ นภูมิภาค ตามโครงการ พฒั นาระบบบริการสาธารณสุขของกระทรวงสาธารณสุข มีโรงพยาบาลระดบั ตติยภมู ิทไี่ ด้รับการแต่งต้ัง เป็นแม่ข่ายทาหน้าท่ีพัฒนาระบบเฝ้าระวัง และรวบรวมรายงานของแต่ละโรงพยาบาลส่งผ่านตามลาดับ จากระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ไปยังโรงพยาบาลระดับตติยภูมิแม่ข่าย ก่อนส่งต่อไปยังศูนย์ HPVC ด้วย ระบบดังกล่าวน้ีทาให้เกิดความล่าช้าในการส่งรายงาน เนื่องจากต้องผ่านหลายข้ันตอน ประกอบกับ ภาระงานที่มากของแม่ข่าย ทาให้ต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการเฝ้าระวังเป็นลักษณะเครือข่ายเฝ้าระวัง (Vigilance network) โดยทกุ สถานพยาบาลสง่ รายงานไปยังศนู ย์ HPVC ไดโ้ ดยตรง กกกกกกก2. ระบบการเฝ้าระวงั ความปลอดภยั จากการใช้ตารบั ยาแผนไทยที่มีกญั ชาปรงุ ผสมอยู่ กกกกกกก1. 2.1 วัตถุประสงค์ เพ่ือติดตามเฝ้าระวังความเสี่ยงจากการใช้ ตรวจจับสัญญาณประเมิน ความเส่ียง ส่ือสารแจ้งเตือนภัย และเสนอมาตรการในการลดความเสี่ยงอันตรายต่อสุขภาพ จากการใช้ยา ผลิตภัณฑก์ ญั ชาที่ติดตามเฝ้าระวงั ครอบคลุมผลิตภณั ฑก์ ัญชาทุกประเภท ได้แก่ กกกกกกก1. 1. 2.1.1 ผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์ (กรณีการแพทย์แผนปัจจุบนั ) ที่ได้รบั อนุญาต ให้ผลิตและจาหนา่ ย จากคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ภายใต้รูปแบบพิเศษของการเข้าถึงยา กกกกกกก1. 1. 2.1.2 ตารับยาแผนไทยที่มีกัญชาผสมอยู่ (กรณีการแพทย์แผนไทย) ที่ได้รับ อนญุ าตให้ผลิตและจาหน่าย จากคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กกกกกกก1. 1. 2.1.3 กัญชาจากแหล่งอื่น ๆ ที่ไมไ่ ดร้ ับอนญุ าตตามกฎหมาย (กัญชาใตด้ ิน) 2.2 อะไรคือส่งิ ที่ตอ้ งรายงาน (What) กกกกกกก1. 1. รายงานประสทิ ธิผล และความปลอดภยั จากการใช้กญั ชาทางการแพทย์ของผปู้ ่วย ทกุ ราย รายงานเหตุการณ์ไมพ่ ึงประสงค์ และพษิ จากกัญชา ท่ีเกิดขึ้นกับผู้ป่วยหรือประชาชนทั่วไป 2.3 ใครเป็นผรู้ ายงาน (Who) 3. 2.3.1 แพทย์ แพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทยประยุกต์ แพทย์ทางเลือกหมอพื้นบ้าน หรือเภสัชกรในสถานพยาบาลท่ไี ด้รับอนญุ าตใหผ้ ลิตหรือจาหน่ายกัญชาทางการแพทย์ 3. 2.3.2 ประชาชนทวั่ ไปทีป่ ระสบเหตกุ ารณ์ไมพ่ งึ ประสงคจ์ ากการใชก้ ัญชา 3. 2.3.3 บุคลากรสาธารณสุข โรงพยาบาลเครือข่าย ของศูนย์เฝ้าระวังความปลอดภัย ด้านผลติ ภัณฑส์ ุขภาพ

335 3. 2.3.4 นักวจิ ยั ในโครงการศึกษาวิจัยทางคลนิ กิ 2.4 รายงานอย่างไร (How) รายงานไปทไ่ี หน (Where) 3. 2.4.1 รายงานผ่านระบบ online ศูนย์เฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์ สานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) http://thaihpvc.fda.moph.go.th/thaihvc/index.jsf 3. 2.4.2 ประชาชนท่ัวไปรายงานไดโ้ ดยไม่ตอ้ งขอ Username/password 3. 2.4.3 โรงพยาบาลที่พบปัญหา จากกัญชาหรือผลข้างเคียงจากการใช้กัญชา ที่ห้อง ฉุกเฉนิ หรือแผนกอืน่ รายงาน โดย log in เขา้ ระบบเครือขา่ ย 3. 2.4.4 สถานพยาบาลผู้รับอนุญาตจาหน่าย ยาเสพตดิ ให้โทษประเภท 5 (กัญชาทาง การแพทย์ ) รายงานโดย log in เขา้ ระบบ SAS 3. 2.4.5 โครงการศึกษาวิจัยทางคลินิกที่ลงทะเบียนกับ ศูนย์เฝ้าระวังความปลอดภัย จากการใช้ตารับยาแผนไทยท่ีมีกญั ชาปรุงผสมอยู่ คณะกรรมการอาหารและยา (อย.) รายงาน log in เข้าระบบโครงการวิจัย หรือส่งไปรษณยี ์ เป็นหนังสอื ราชการมายังสานักงานคณะกรรมการอาการและยา 2.5 รายงานเมื่อไหร่ (When) 3. เมอ่ื พบเหตกุ ารณ์ไม่พ่งึ ประสงคจ์ ากการใช้กัญชา 2.6 รายงานไปท่ไี หน (Where) 3. ศนู ย์เฝ้าระวังความปลอดภัยดา้ นผลิตภัณฑ์สุขภาพ คณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กกกกกกก3. แนวทางการพิจารณาสง่ั จา่ ยผลติ ภณั ฑ์กญั ชาทางการแพทยแ์ กผ่ ู้ป่วย 3.1 ไม่ควรใช้ผลติ ภัณฑ์กัญชาเป็นทางเลือกอันดับแรกในการรกั ษาโรค และภาวะใด ๆ ของผู้ป่วย แต่จะพิจารณาสาหรับผู้ป่วยซ่ึงเคยได้รับการรักษา โดยผลิตภัณฑ์ยาที่ได้รับการอนุมัติ ทะเบียนตารับจากสานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา แล้วไม่ประสบความสาเร็จในการรกั ษาหรือ จัดการกบั อาการปว่ ยได้ 3.2 หากพิจารณาแล้วเห็นว่าการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาอาจช่วยรักษา บรรเทา ประคับประคองอาการ หรือฟ้ืนฟูสุขภาพ ทาให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นได้ ให้พิจารณาส่ังจ่ายใน รูปแบบของการเสริมการรักษา (adjuvant therapy) กับวธิ ีมาตรฐาน และให้ใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาที่ได้รับ การรบั รองตารบั จากสานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา กลา่ วคอื เป็นผลิตภณั ฑ์ที่ผ่านการประเมิน คณุ ภาพ ประสทิ ธิผล และความปลอดภยั ตามหลกั วิทยาศาสตร์ 3.3 กรณีที่ไม่มีผลิตภัณฑ์กัญชาท่ีได้รับการรับรองตารับจาก สานักงานคณะกรรมการ อาหารและยา อาจพิจารณาสั่งจ่ายผลิตภัณฑ์กัญชาที่ยังไม่ได้การรับรองตารับ จากสานักงาน คณะกรรมการอาหารและยา ให้แก่ผู้ป่วยได้ในกรณีจาเป็นในการรักษาโรคของผู้ป่วยเฉพาะราย ภายใต้รูปแบบพเิ ศษของการเข้าถึงยา (Speci Alaccess Scheme: SAS) 3.4. ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม และผู้ประกอบวิชาชีพทันตกรรม ท่ีประสงค์จะสั่งจ่าย ผลิตภัณฑ์กัญชา ท่ียังไม่ผ่านการรับรองทะเบียนตารับจาก สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

336 ในกรณีจาเป็นเพื่อการรักษาโรคแก่ผู้ป่วยเฉพาะราย ภายใต้รูปแบบพิเศษของการเข้าถึงยา (Speci Alaccess Scheme: SAS) ต้องได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยหรือผู้ดูแลผู้ป่วย (บิดา มารดา หรือ ผู้แทน โดยชอบธรรมของผู้ป่วยเด็กอายุไม่เกิน 18 ปีบริบูรณ์ หรือผู้บกพร่องทางกายหรือจิต ซึ่งไม่ สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเอง) ท้ังน้ี ผู้ป่วยหรือผู้ดูแลผู้ป่วย จะต้องสามารถตัดสินใจอย่างอิสระ ปราศจากแรงกดดัน ท้ังน้ี การแสดงความยินยอมต้องเป็นลายลักษณ์อักษร ในเอกสารแสดงความ ยินยอม (Informed consent form) ตามแบบฟอร์ม และจัดเก็บไว้เป็นหลักฐานในเวชระเบียนของ ผปู้ ่วย ภาพเอกสารแสดงความยินยอม (Information consent form )

337 กกกกกกก4. กรณศี ึกษาความปลอดภัยการใชต้ ารับยาแผนไทยที่มีกญั ชาปรุงผสมอยู่ กรณีศึกษาท่ี 1 “น้ามนั ใต้ดิน” เสย่ี งทาเดก็ โง่ กกกกกกกคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เผย คนใชก้ ัญชา เขา้ ห้องฉกุ เฉินพงุ่ ท้ังวบู ปวดหัว หมอเตอื น อยา่ ใช้ “น้ามนั ใตด้ นิ ” เสย่ี งทาเด็กโง่ กกกกกกกนพ.สุรโชค กล่าววา่ จากการสงั เกตผ้ทู ี่มาขอยน่ื นริ โทษกญั ชา ส่วนใหญเ่ ป็นกลุ่มวัยรุ่นซึ่งทาง คณะกรรมการอาหารและยา (อย.) มีระเบียบหลักเกณฑ์ที่แน่ชัดว่า ผู้มาย่ืนขอนิรโทษต้องไม่ใช่ เยาวชน หรือ ถา้ เป็นเยาวชนท่ีปว่ ยต้องได้รบั คายินยอมจากผู้ปกครอง ขณะเดียวกนั การใช้กัญชาเพื่อ รักษาโรค ในกฎหมายเขียนชัดวา่ ต้องไม่ใช้ในเด็กอายุต่ากว่า 20 ปี เพราะจะมีปญั หาทางสมอง และ ในใบส่ังจ่ายกัญชาทางการแพทย์ กาหนดให้ใช้กัญชา ในผู้ป่วยท่ีมีอายุ 25 ปี เท่ากับประเทศออสเตรเลีย ยกเว้นโรคลมชักในเด็กที่ใช้กัญชาได้อย่างมีประสิทธิผลดี ในการรักษาเท่าน้ัน อีกทั้ง นพ.สุรโชค ได้กล่าวว่า จากการย่ืนนิรโทษกัญชา ทาให้ขณะนี้ ได้รับรายงานจากหลายโรงพยาบาล ว่าพบผู้ป่วยที่มี อาการปวดศีรษะ วูบ สลบ คลื่นไส้อาเจียน หัวใจเต้นเร็วมารับการรักษาในห้องฉุกเฉินมากข้ึน ซ่ึงเม่ือ สอบถามพบว่า เกิดการจากทดลองใช้กัญชา และคาดว่าหากเป็นเช่นนี้ต่อไป จะพบผู้ป่วยในลักษณะ อาการเช่นนมี้ ากข้ึน จึงเตรียมประสานใหม้ ีการเกบ็ ข้อมลู ผ้ปู ่วยในห้องฉุกเฉิน กกกกกกกขณะเดียวกันประสานกรมการแพทย์ ให้มีการอบรมแพทย์ เภสัชกร ให้รผู้ ลข้างเคียงหรอื ฤทธิ์ จากการใช้กัญชา ซึ่งเชื่อว่าแต่ก่อนไม่พบผู้ป่วยมากขนาดนี้ เพราะเดิมกัญชายังไม่อนุญาตใช้ทาง การแพทย์ และอยากให้เข้าใจวา่ กัญชาไมใ่ ช่ยาวิเศษรักษาได้ทุกโรค โดยเฉพาะโรคเร้ือรัง เบาหวาน ความ ดันโลหิต หรือหัวใจ รวมถึงอาการทางจิตเวช แต่อาจได้รับผลข้างเคียง จากกัญชา เพราะการใช้กัญชา ยังไม่มีการกาหนดขนาดท่ีเหมาะสม และสายพันธุ์ของกัญชาก็ให้สาร และฤทธ์ิท่ีแตกต่างกัน บางตัว มสี าร ทีเอชซี (THC) สูง ทาให้เกดิ อาการหลอนได้ ผลการวิเคราะห์กรณศี ึกษาท่ี1 กกกกกกก1. ความสาคัญของกรณศี ึกษา คือ การฝ่าฝืนกฎหมายลักลอบใชน้ า้ มนั กัญชาของกล่มุ วัยรุ่น กกกกกกก2. ความสัมพันธ์ที่พบในกรณีศึกษา สาเหตุคือมีความเชื่อที่ไม่ถูกต้อง และไม่มีความรู้ ที่ถูกต้องในการใช้น้ามันกัญชา ผลคือทดลองใช้แล้วเกิดผลตามมา คือมีอาการแพ้ ปวดศีรษะ วูบ สลบ คล่นื ไสอ้ าเจียน ประกอบกับกฎหมายมีการนิรโทษกรรม จึงกล้ามาทีโ่ รงพยาบาลมากข้ึน ทาให้สถิตสิ ูง ตามมา กกกกกกก3. หลักการทพ่ี บในกรณศี ึกษา คือ ตอ้ งได้รบั อนญุ าตใหใ้ ช้นา้ มนั กัญชา แต่อยูภ่ ายใตก้ ารควบคุม ของแพทย์ และเภสัชกรที่ไดร้ บั อนญุ าต และพจิ ารณาว่าอายุเท่าไรจึงควรไดร้ ับการรักษาด้วยนา้ มันกัญชา

338 กกกกกกก4. กรณศี กึ ษานีใ้ ห้ประโยชนใ์ นการนาไปใช้ คือ กกกกกกก4. 4.1 ตนเองตอ้ งไมฝ่ ่าฝืนกฎหมายลกั ลอบใชน้ ้ามนั กัญชาในทกุ กรณี กกกกกกก4. 4.2 แนะนาคนในครอบครัว และชุมชนว่าไม่ควรนาน้ามันกัญชามาใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต จากแพทย์ และเภสชั กรท่ีได้รับอนญุ าตในการควบคมุ รกั ษา โดยใชน้ ้ามันกัญชาทางการแพทย์ กรณีศกึ ษาที่ 2 การตัดสนิ ใจในการจา่ ยนา้ มันกญั ชาของแพทย์ นพ.เพชร อลิสานันท์ แพทย์รังสีรักษาและมะเร็งวิทยา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ กล่าวว่า ปัจจุบันยังไม่มียาจากน้ามันกัญชาที่มีผลต่อการรักษาโรคมะเร็งโดยตรง แต่พบผู้ป่วยมะเร็งหาน้ามัน กัญชามาใช้เองทาให้ได้รับผลข้างเคียง เช่น เมา คล่ืนไส้ นอนเยอะ การใช้น้ามันกัญชาในผู้ป่วยมะเร็ง ต้องให้แพทย์เป็นผู้พิจารณา โดยกลุ่มแรกคนไข้ท่ีไม่มีแนวทางการรักษาแล้ว สามารถใช้ได้ไม่น่าเป็นห่วง เพราะอาจจะมีประโยชน์ อาจจะช่วยให้คนไข้ พกั ผ่อนได้ นอนหลับ บรรเทาปวด แตต่ ้องดูปรมิ าณด้วย หาก มากเกินไปก็มผี ลกระทบ กลุ่มท่สี อง คือ ยังมีแนวทางการรักษา แต่กลับ ท้ิงการรักษาเพอ่ื ไปใช้น้ามันกัญชา อย่างเดียว ถือว่าน่าเป็นห่วงมาก ซ่ึงพบว่ามีจานวนหน่ึง เนื่องจากว่าผู้ป่วยเข้าใจผิดว่า กัญชาใช้รักษา มะเร็งได้ ยิ่งคนที่สนับสนุนกัญชาบอกว่าให้ใช้ควบคู่กัน ก็ย่ิงทาให้เกิดความเข้าใจผิดว่า ตกลงแล้ว การรักษาได้ผลเพราะอะไร ท้ังนี้ ยืนยันว่าไม่ได้ขวางการใช้กัญชา เพราะกัญชาเป็นพืชที่มีโอกาสเอา มาใช้ทางการแพทย์ได้ แต่ต้องมองว่าคือยาตัวหน่ึง และต้องผลักดันให้ผ่านตามขั้นตอนปกติท่ี เป็นไปตามกระบวนการวิทยาศาสตร์ และกฎหมาย บางคนบอกว่ารอไม่ได้ คิดว่าไม่จริง เพราะถ้า เร็วไปแล้วไม่ได้ผล หรือมีผลกระทบใครรับผิดชอบ อยากให้สังคมคิดให้ช้าลงนิดหนึ่ง ทีก่ ังวลทุกคร้ัง คือมีแพทย์ออกมาให้ข้อมูลอีกด้านหนึ่งมักถูกโจมตีว่ารับเงินจากบริษัทยา ซ่ึงยืนยันว่าไม่จริง แต่ท่ี แพทยห์ ลายคนออกมาพูดเพราะเปน็ หว่ งคนไข้ กกกกกก ด้าน พญ.อาภาศรี ลุสวัสดิ์ นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ กุมารประสาทวิทยา สถาบันประสาท วิทยา กล่าวว่า การใช้น้ามันกัญชาสูตร ซีบีดีสูง (CBD) หรือ ซีบีดีออยล์ (CBD Oil ) ในการรักษาโรค ลมชักในเด็ก มีผลต่อจิตประสาทน้อยมาก ไม่มีอะไรน่ากังวล แต่ถ้ามีสาร ทีเอชซี (THC) ปน เด็กซึ่ง สมองกาลงั พฒั นา อาจมปี ญั หาเร่อื งความจา พฒั นาการ และสติปญั ญาท่แี ย่ลง ผลการวิเคราะหก์ รณศี ึกษา กกกกกกก1. ความสาคัญของกรณีศึกษา คอื การใช้นา้ มันกัญชาต้องอยู่ภายใต้การควบคุม ดูแลจาก แพทยใ์ นการรกั ษา กกกกกกก2. ความสัมพันธ์ที่พบในกรณีศึกษา คือ (1) สาเหตุมีความเข้าใจผิดเก่ียวกับการใช้น้ามัน กญั ชารกั ษาโรค และ (2) โรคที่ป่วยทาให้ไม่สุขสบาย มคี ุณภาพชีวติ ไม่ดี จึงทาให้หาน้ามันกัญชามาใช้ เองโดยไม่ได้รับอนญุ าตจากแพทย์ ทาให้เกิดอาการข้างเคยี ง

339 กกกกกกก3. หลักการท่ีพบในกรณีศึกษา คือ แพทย์ต้องพิจารณาอาการของผู้ป่วยท่ีมีความจาเป็น ต้องใชก้ ัญชาในการรกั ษา ว่าควรอย่ใู นกรณีทไี่ มม่ แี นวทางรกั ษา หรอื กรณมี ีแนวทางรักษา กกกกกกก4. กรณศี ึกษาน้ใี ห้ประโยชนใ์ นการนาไปใช้ คือ กกกกกกก4. 4.1 ตนเองต้องไปพบแพทย์ หรือเภสัชกรที่ได้รับอนุญาตให้ใช้น้ามันกัญชารักษาโรค ถ้าจาเป็นต้องใช้ กกกกกกก4. 4.2 แนะนาคนในครอบครัว และคนในชุมชนว่าไม่ควรใช้น้ามันกัญชาโดยปราศจาก การควบคุมดูแลรกั ษาจากแพทย์ และเภสัชกรทไี่ ด้รับอนญุ าตในการรักษาโรค สรปุ กกกกกกก1. แนวทางการรายงาน การเฝ้าระวังความปลอดภัยจากการใช้ตารับยาแผนไทยท่ีมกี ัญชา ปรุงผสมอยู่ มีวัตถปุ ระสงคเ์ พ่ือให้สถานพยาบาลรายงานการติดตามเหตุการณ์ไม่พึงประสงคท์ เ่ี กิดจาก การใช้ตารับยาแผนไทยที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ตามประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง กาหนดตารับ ยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ท่ีมีกัญชาปรุงผสมอยู่ ท่ีให้เสพเพื่อรักษาหรือการศึกษาวิจัยได้ พ.ศ.2562 ซ่ึงสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา จะนาข้อมูลที่ได้รับประมวลผล และวิเคราะห์ เพ่ือใช้ประกอบการพัฒนาข้อมูลความปลอดภัยของตารบั ยาแผนไทยทีม่ ีกญั ชาปรุงผสมอยู่ในประเทศ กกกกกกก2. ระบบการเฝ้าระวังความปลอดภัยจากการใช้ตารับยาแผนไทย ที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่มีอยู่ 6 ข้ันตอน (1) วัตถุประสงค์ (2) อะไรคือสิ่งที่ต้องรายงาน (3) ใครคือผู้รายงาน (4) รายงานอย่างไร (5) รายงานเม่อื ไหร่ และ (6) สง่ ไปที่ไหน กกกกกกก3. แนวทางการพิจารณาส่ังจ่ายผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์แก่ผู้ป่วย ได้แก่ (1) ไม่ควรใช้ ผลิตภัณฑ์กัญชาเป็นทางเลือกอนั ดับแรกในการรักษาโรคและภาวะใด ๆ ของผู้ป่วย (2) หากพิจารณาแล้ว เหน็ ว่าการใชผ้ ลิตภณั ฑก์ ัญชาอาจช่วยรักษา บรรเทา ประคับประคองอาการ หรือฟื้นฟูสขุ ภาพ ทาให้ผ้ปู ว่ ย มีคณุ ภาพชีวิตทด่ี ีขึน้ (3) กรณีทไี่ มม่ ีผลิตภณั ฑ์กัญชาท่ีได้รับการรับรองตารับ จากสานักงานคณะกรรมการ อาหารและยา อาจพจิ ารณาสัง่ จา่ ยผลิตภณั ฑ์กัญชาทย่ี ังไม่ได้การรับรองตารับจากสานักงานคณะกรรมการ อาหารและยา (4) ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม และผู้ประกอบวิชาชีพทันตกรรม ท่ีประสงค์จะสั่งจ่าย ผลิตภัณฑก์ ญั ชาทย่ี งั ไม่ผา่ นการรับรองทะเบียนตารับ จากสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ในกรณี จาเป็นเพ่ือการรักษาโรคแก่ผู้ป่วยเฉพาะราย ภายใต้รูปแบบพิเศษของการเข้าถึงขององค์การเภสัช (Special Access Scheme) ต้องไดร้ ับความยินยอมจากผูป้ ่วย กกกกกกก4. กรณีศึกษาความปลอดภัยการใช้ตารับยาแผนไทยที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ ความสาคัญ ของกรณีศึกษา คอื (1) ผู้ท่ีสามารถใช้กัญชาทางการแพทย์ต้องมีอายุไม่ต่ากว่า 20 ปี บริบูรณ์ ยกเว้น กรณีที่แพทย์วินิจฉัยว่าจาเป็นต้องใช้กัญชาในการรักษา และ (2) ผปู้ ่วยเกิดความเข้าใจผดิ ว่ากญั ชา สามารถรักษาไดท้ ุกโรค จงึ ปฏเิ สธแนวทางการรกั ษาดว้ ยวธิ ีการอืน่

340 ใบความรู้ที่ 6 เร่ือง การพฒั นายา มาตรฐาน และรูปแบบการใชย้ าทมี่ ีกัญชาและกญั ชง ในการแพทยแ์ ผนปัจจุบนั วตั ถุประสงค์ 1. เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องกับการพัฒนายา มาตรฐาน และรูปแบบการใช้ยา ที่มกี ัญชาและกัญชงในการแพทยแ์ ผนปจั จุบนั 2. เพ่ือให้มีทักษะการแสวงหาความรู้ และทักษะการคิดวิเคราะห์ การพัฒนายา มาตรฐาน และรปู แบบการใชย้ าที่มีกญั ชาและกญั ชงในการแพทยแ์ ผนปจั จบุ ัน 3. เพ่ือให้ตระหนักถึงการพัฒนายา มาตรฐาน และรูปแบบการใช้ยาท่ีมีกัญชาและกัญชง ในการแพทยแ์ ผนปจั จุบัน เนื้อหา 1. การพัฒนายาจากกญั ชา ยาจากกัญชาถือเป็นยาประเภทใหม่ เนื่องด้วยข้อกาหนดด้านกฎหมายจึงทาให้ การศึกษาวิจัยของยากัญชายังมีอยู่น้อย เน่ืองจากกัญชาไม่ใช่ยาวิเศษหรือยาครอบจักรวาล ด่ังความเช่ือที่ร่าลือกัน แพทย์จะไม่รักษาด้วยยากัญชาเป็นลาดับแรก จะเลือกใช้กับผู้ป่วยท่ี ไม่ตอบสนองต่อยาอ่ืน ๆ หรือได้รับผลข้างเคียงจากยา ท่ีไม่สามารถยอมรับได้ ในขณะท่ีมีผลิตภัณฑ์ กัญชาทางการแพทย์เพียงบางส่วนเท่าน้ัน ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนยาอย่างเป็นทางการ และระบุว่า ใช้ได้กับเพียงบางโรค อย่างไรก็ดีการพัฒนายาจากกัญชา ยังจาเป็นต้องควบคุมคุณภาพ และสร้าง มาตรฐาน เพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัย และได้รับประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์สูงสุด นอกจากน้ีแล้วข้อมูล ทางคลินิก และแนวทางการจ่ายยาก็มีความจาเป็นไม่แพ้กัน เพ่ือเป็นแนวทางปฏิบัติให้แก่แพทย์ และบุคลากรที่เกยี่ วข้อง เพื่อลดความเส่ียงจากผลขา้ งเคยี งรวมถึงการเสพติดยาจากกัญชาใหน้ ้อยท่ีสดุ 2. มาตรฐานการผลิตยากญั ชาเพอ่ื ใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ กัญชาถูกนาไปใช้ในการศึกษาทางคลินิกในมนุษย์ และพบว่าค่อนข้างปลอดภัยสาหรับ ผู้คนส่วนใหญ่ แต่ยังมีพบในบางรายที่บริโภคกัญชากลับควบคุมอาการของโรคได้แย่ลง และเกิดผล ข้างเคียงใหม่ เช่น ความอ่อนเพลีย การทางานของตับผิดปกติ และเกิดอาการท้องร่วง ไม่มียาชนิดใด ท่ีปลอดภัยที่สุด ยาทุกประเภทสามารถก่อให้เกิดความเสี่ยงของอาการข้างเคียง และอาการ ไม่พึงประสงค์ได้ (อาจส่งผลใหเ้ กิดอันตราย) โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงการบรโิ ภค THC และสารแคนนาบินอยด์

341 สังเคราะห์ในปริมาณมาก จะก่อให้เกิดอันตรายได้ เช่น (ความดันโลหิตต่าขณะเปล่ียนท่าทางท่ีส่งผล ให้ล้ม หรืออาการวิกลจริตระดับเบาไปจนถึงรุนแรง) การควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์เพื่อให้มีปริมาณ สารสาคัญคงที่ในทุกรอบการผลิต ควบคุมปริมาณสารปนเป้ือน มีกระบวนการผลิตท่ีถูกต้องเป็น ไปตามหลักเกณฑ์ และวิธีปฏิบัติท่ีดีในการผลิตยา (GMP) จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่ง การควบคุม คุณภาพที่ดีควรจะเร่ิมตั้งแต่การควบคุมคุณภาพของวัตถุดิบ โดยควบคุมต้ังแต่กระบวนการเพาะปลูก ไปจนถงึ กระบวนการผลิตให้ได้มาซ่ึงผลิตภัณฑ์สาเร็จรูป ทกุ ขน้ั ตอนของการผลิตยา และกระบวนการ ทดสอบจะต้องมีการบนั ทึกข้อมลู อยา่ งชัดเจน บุคลากร สถานที่ และวัตถุดบิ ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน กระบวนการเหลา่ นีจ้ ะชว่ ยใหผ้ ู้ปว่ ย และผู้ส่ังจา่ ยยาไดร้ ับผลติ ภัณฑ์ท่ีมีคุณภาพและปลอดภยั ตัวอยา่ งแผนภาพของกระบวนการผลิตยาน้ามนั กัญชา วัตถุดิบกญั ชาชิ้นแหง้ สารสกัดกัญชา และผลิตภณั ฑส์ าเรจ็ รูปตอ้ งผา่ นการตรวจคณุ ภาพ โดยควบคมุ มาตรฐานตาม American Herbal Pharmacopeia และ Thai Herbal Pharmacopeia (THP) มีการตรวจสอบเอกลักษณ์ของกัญชาการตรวจสอบพืชวัตถุดิบเพ่ือยืนยันว่า เป็นกัญชาจริง ไม่ใช่พืชที่มีสารปลอมปนหรือพืชทดแทน การตรวจสอบเอกลักษณ์ และปริมาณของสารออกฤทธิ์ THC และ CBD ให้เป็นไปตามที่กาหนด การตรวจสอบปริมาณเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรคไม่ให้เกินท่ี มาตรฐานกาหนด การตรวจสอบยาฆ่าแมลง และโลหะหนักได้แก่ สารหนู สารปรอท สารตะก่ัว แคดเมียม ซ่ึงอาจจะเหลือตกค้างมาได้ในระหว่างการเพาะปลูก ต้องไม่เกินที่มาตรฐานกาหนดเพ่ือ ความปลอดภัยของผู้ป่วย

342 การควบคุมคณุ ภาพของผลติ ภัณฑย์ ากัญชา 3. รปู แบบยาเตรยี ม และการให้ยา กัญชาทางการแพทย์ก็เหมือนกับยาชนิดอื่น ๆ ท่ีมีรูปแบบยาเตรียมที่หลากหลาย ประเภท (เช่น การสดู ไอระเหย การใหย้ าทางปาก การสง่ ยาผ่านผิวหนัง) เพื่อสนองความต้องการของ ผู้ป่วยท่ีแตกต่างกันไป วิธีการบริหารยาจะข้ึนอยู่กับรูปแบบยารูปแบบยาเตรียมมีความสาคัญ อย่างมาก เพราะจะสง่ ผลต่อพฤติกรรมตา่ ง ๆ ของผ้ปู ่วย ได้แก่ ข้อ 1 ผปู้ ่วยรับยาเขา้ ไปตามปรมิ าณทกี่ าหนดในแตล่ ะวันหรือไม่ ข้อ 2 พวกเขารับยาเม่อื ไร (ช่วงเวลาของวัน) ขอ้ 3 พวกเขารบั ยาบ่อยเพียงใด (ความถใ่ี นการใช้) ขอ้ 4 พวกเขาตอ้ งได้รบั ยาปรมิ าณเทา่ ไร (ปรมิ าณการรับยารวมในแตล่ ะวนั ) ข้อ 5 อาการข้างเคยี งทเี่ กดิ ขึ้น และจะทนอาการขา้ งเคียงเหลา่ นนั้ อย่างไร รปู แบบยาทีม่ กี ัญชาและกัญชงที่ใชใ้ นการแพทยแ์ ผนปัจจุบันมี 9 รูปแบบดังน้ี รปู แบบท่ี 1 การสดู ไอระเหย – ด้วยปอด การใช้เคร่ืองพ่นไอระเหย หรือเครื่องมือสูดไอระเหยทางการแพทย์ ผู้ป่วยจะสูดดม สารแคนนาบินอยด์ (จากช่อดอกกัญชาแห้ง) ในรูปแบบไอระเหยซ่ึงจะดูดซึมเข้าไปในกระแสเลือด ผา่ นทางปอด การสูดไอระเหยเป็นวิธีการท่ีมีประสิทธิภาพปอด จะสามารถดูดซึมไอระเหยที่สดู ดมเข้า ไปได้อย่างรวดเร็ว ยาออกฤทธ์ิได้ทันที ไอระเหยจะมีสารแคนนาบินอยด์ และเทอร์ปีน ในปริมาณที่ สม่าเสมอ และวัดค่าได้รวดเร็ว ทาให้การปรับขนาดยาง่ายขึ้น หรือการรับยาในปริมาณที่เหมาะสม โดยไม่เกิดอาการข้างเคียง และยังบรรเทาอาการได้อย่างรวดเรว็ โดยจะเห็นผลภายในไม่กี่นาที แม้ว่า

343 การสูดไอระเหยจะทาให้ระดับสารแคนนาบินอยด์ในเลือดสูง แต่ผลท่ีได้เม่ือเทียบกับการบริหารยา ทางปากแล้วจะมีระยะเวลาการออกฤทธิท์ ่ีส้ัน ปริมาณแคนนาบินอยด์ท่ีถูกนาส่งจะข้ึนอย่กู ับความลกึ ของการสูดลมหายใจปริมาณในการสบู และระยะเวลาการกลั้นหายใจ รปู แบบท่ี 2 เครือ่ งพ่นไอระเหยทางการแพทย์ เคร่ืองท่ีใช้กับช่อดอกกัญชาแห้ง แต่ไอระเหยจะไม่มีส่วนประกอบของนิโคติน กลีเซอรีน หรือโพรพิลีนไกลคอล และกลิ่นรสสังเคราะห์ รวมถึงไม่มีไรเหย และควันขนาดใหญ่ท่ีเป็นพิษ และรบกวนผูอ้ ื่น ถือเปน็ เครื่องมอื ทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ ปลอดภัยและผปู้ ว่ ยใช้งานง่าย รูปแบบท่ี 3 การสูบ การสูบจะก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของผู้ป่วยจึงไม่แนะนาให้ใช้วิธีการนี้ สารประกอบ ไพโรไลซิส ท่ีเป็นพิษจะถูกสร้างข้ึนเมื่อมีการสูบ (หรือการเผาไหม้) โดยท่ัวไปจะมีการม้วนช่อดอก กัญชาทาเป็น (บุหรี่สอดไส้กัญชา) และสูดสารแคนนาบินอยด์ ในรูปแบบควันเข้าไปยังปอด ยาจะ ดดู ซมึ เขา้ ไปในกระแสเลือดผา่ นทางปอด รูปแบบที่ 4 ทางปาก – ผ่านทางปาก และการหยดใต้ล้ิน สารแคนนาบินอยด์ (สารสกดั จากพืชทง้ั ต้น หรือสารแคนนาบินอยดส์ กัดแยก) ท่ใี ห้ทางปาก โดยการกลืน (ทางปาก) เม่ือกลืนยาเข้าไป ยาจะเข้าสู่กระแสเลือดผ่านทางกระเพาะอาหาร ลาไส้ และตับ เมื่อให้ยาดูดซึมทางใต้ล้ิน ยาจะไม่ผ่านตับ และเข้าสู่กระแสเลือดโดยตรงยาเตรียมสาหรับ การใหท้ างปากเปน็ รปู แบบยาทค่ี ุ้นเคยทาใหช้ ่วยให้การบรหิ ารยาง่ายขนึ้ การใชย้ าในแต่ละคร้ัง สามารถทาโดยหยดยาไว้ใต้ล้ิน ยาจะถูกดูดซึมผ่าน ช้ันเย่ือเมอื กบุผิว ในปาก (เรียกว่า การดูดซึมใต้ลิ้น) และจะเข้าไปสู่กระแสเลือด การนาส่งยาใต้ลิ้นเป็นการบริหารยาท่ี สามารถเพิ่มปริมาณยารวมที่ร่างกายรับได้ หมายความว่าผู้ป่วยรับยาปริมาณเพียงเล็กน้อย แต่ยังคง ให้ได้ผลการรักษาเหมือนเดิมเม่ือเทียบกับการกลืนแคปซูล หรือการดื่มชา น้ามันหยดใต้ลิ้นจึงเป็น รปู แบบยาทดี่ มี ปี ระสทิ ธิภาพ รูปแบบที่ 5 สเปรย์ สเปรย์ก็เป็นการบริหารยาใต้ล้ิน เช่นเดียวกับการใช้น้ามัน ตัวอย่างเช่น ซาติเวกซ์ (Sativex™) ซ่ึงเป็นรูปแบบยาเตรียม (ฉีดพ่นในช่องปาก) ท่ีได้มาตรฐานทางเภสัชกรรม ผลิตมาจาก กัญชาสองสายพันธุ์ โดยสายพันธุ์หนึ่งผลิต THC เป็นหลัก และอีกสายพันธ์ุหน่ึงผลิต CBD เป็นหลัก สารประกอบออกฤทธิ์ THC และ CBD ในสัดส่วนที่แน่นอนจะถูกนาไปละลายในสารละลาย แอลกอฮอล์ กอ่ นจะนาไปบรรจใุ นขวดยาพ่นแบบกาหนดขนาด ซ่งึ ใชพ้ ่นใตล้ ้นิ รปู แบบที่ 6 แคปซลู โดยทั่วไปแคปซูลจะประกอบด้วยสารแคนนาบินอยด์เด่ียว (คือ THC และ CBD) ในปรมิ าณ ความเข้มข้นท่ีแน่นอนละลายอยู่ ในน้ามันตัวพาแคปซูล เม่ือถูกกลืนแล้วจะแตกตัวออก ยาจะถูก

344 ปล่อยออกมาก่อนท่ีจะถูกดูดซึมในกระเพาะอาหาร และลาไส้ อัตรา (เวลา) ในการดูดซึมอาจไม่ สามารถคาดการณ์ได้ และอาจแตกต่างกันไปตามปัจจัยอื่น ๆ เช่น มีอาหารอยู่ ในระบบทางเดิน อาหาร หรือผู้ป่วยมีการเคลื่อนไหว (ออกกาลังกาย เดิน) ประเด็นท่ีน่าสนใจคือ THC มีผลให้อัตรา ความเร็วของการส่งอาหารออกจากกระเพาะช้าลง (จากกระเพาะไปสู่ลาไส้) การบริหารยาทางปาก (โดยการกลืน) ส่งผลให้เวลาการออกฤทธิ์ของยาช้าลง ความเข้มข้นของระดับยาในเลือดลดลง และ ระยะเวลาท่ียาออกฤทธิ์นานข้ึนเมื่อเทียบกับการสูดไอระเหย ปริมาณสารแคนนาบินอยด์รวม จะข้นึ กับกระบวนการเมแทบอลิซมึ ในตับ และปริมาณอาหารในกระเพาะอาหาร ซง่ึ เทา่ กับวา่ ปริมาณ การรับยาทางปากอาจไมม่ คี วามแนน่ อน และไมส่ ามารถคาดการณไ์ ด้ รูปแบบที่ 7 ชาหรือสารละลาย ผู้ป่วยบางรายบริโภคกัญชาทางการแพทย์ ในรูปแบบชา โดยใช้ช่อดอกชงในน้าร้อน เมื่อดื่มชาสารแคนนาบินอยด์ จะถูกดูดซึมในกระเพาะ และลาไส้เล็ก และเช่นเดียวกับการให้ยา ทางปาก ปริมาณสารแคนนาบินอยด์รวม จะขึ้นกับกระบวนการเมตาบอลิซึมในตับ และปริมาณ อาหารในกระเพาะอาหาร ซ่ึงเท่ากับว่าปริมาณการรับยาทางปากอาจไม่มีความแน่นอน และ ไม่สามารถคาดการณ์ได้ยิ่งไปกว่าน้ัน ชาส่วนใหญ่มักมีความเข้มข้นของสารแคนนาบินอยด์ต่า สารประกอบในชาจะเปล่ียนแปลงตามเวลาในการต้ม ปริมาณของชาท่ีใช้ และระยะเวลาในการเก็บ ซ่ึงหมายความว่า การบริหารยาด้วยชาอาจทาให้ผลการรักษาโรคไม่แน่นอน แต่ในผู้ป่วยบางราย กลบั พบว่าการใชช้ ากัญชาดม่ื ได้ผลดี เพียงแตก่ ารกาหนดปรมิ าณยาอาจจะทาไดย้ ากอาหารรปู แบบยา เตรียมจากพืชท้ังต้นอีกประเภทหนึ่ง คือ อาหาร เช่น คุกกี้ บราวน่ี การรับประทานอาหารเหล่าน้ี ยากต่อการควบคุมปริมาณองค์ประกอบสารแคนนาบินอยด์ ทีไ่ ดร้ บั ให้คงท่ี ผปู้ ่วยอาจรับยาเกนิ ขนาด ได้ง่าย เนอื่ งจากยาอาจออกฤทธิ์หลังผ่านไปราว 2 - 3 ช่วั โมง และผปู้ ่วยอาจรบั ประทานยาครั้งที่สอง หากพวกเขาต้องรอยาออกฤทธ์ิผลการรักษาโรคอาจไม่แน่นอนนักเม่ือเทียบกับผลิตภัณฑ์ยาให้ ทางปากท่ีได้มาตรฐาน และส่วนใหญ่ต้องใช้เวลานานกว่ายาจะออกฤทธ์ิจึงทาให้อาหารไม่ถือเป็น ผลติ ภัณฑ์สาหรับการบาบัดรกั ษาโรค รูปแบบท่ี 8 การส่งยาผ่านผิวหนัง การบริหารยาผ่านทางผิวหนัง เป็นการส่งยาผ่านผิวหนัง รูปแบบยาเตรียมโดยทั่วไป ได้แก่ ครีมทาบนผิวหนังหรือเยื่อเมือกบุผิว และแผ่นแปะผิวหนัง ซ่ึงเป็นการแปะแผ่นติดที่มียาอยู่ ลงบน ผิวหนังโดยตรงผู้ป่วยจะค่อย ๆ ได้รับยาในปริมาณที่เฉพาะเจาะจงในเวลาที่กาหนด ปัจจุบันมีการใช้ รูปแบบยานี้ เพือ่ รกั ษาอาการทางผิวหนังบางประเภท และอาการปวดกลา้ มเน้ือเฉพาะที่ หรอื ปวดข้อ สารแคนนาบินอยด์ ส่วนใหญ่ไม่ชอบน้า จึงทาให้ยาซึมผ่านไปสู่กระแสเลือดน้อยทาให้ระดับ ความเข้มข้นยาในเลือดอยู่ในระดับท่ีเหมาะสมได้ยากอาจจะต้องประยุกต์ใช้กับเทคโนโลยีสมัยใหม่ เช่น การนาส่งสารด้วยนาโนเทคโนโลยี อาจจะช่วยให้ยาเข้าสู่กระแสเลือดได้ดีขึ้น ส่วนยาในรูปแบบ

345 ครีมส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์เพ่ือใช้ทา และออกฤทธิ์เฉพาะท่ีซึ่งไม่จาเป็นต้องมีการส่งผ่านผิวหนังไปสู่ กระแสเลือด รปู แบบท่ี 9 การส่งยาผ่านทวารหนัก - ยาเหนบ็ ทวาร ยาเหน็บทวารหนักเป็นอีกรูปแบบหนึ่งที่น่าสนใจ เพราะเป็นอีกวิธีหนึ่งในการนาส่งยา เหมาะสาหรับผู้ป่วยท่ีไม่รู้ตัวหรือว่ากินยาไม่ได้ เช่น ผู้ป่วยเด็กท่ีไม่ยอมกลืนยา ผู้ป่วยมะเร็งท่ี ไม่สามารถกลืนยาได้ ผู้ป่วยที่กลืนแล้วสาลัก เนื่องจากบริเวณทวารหนักยาจะสามารถเข้าสู่กระแส เลือด ได้จากเส้นเลือดบริเวณทวารหนัก หลังจากสอดยาตัวยาจะค่อย ๆ ปลอดปล่อย โอกาสท่ีจะถูก เปล่ียนแปลงที่ตับก็จะน้อยลงกว่าการกิน การถูกเปล่ียนแปลงที่ตับก็จะลดลง โอกาสเมายาก็จะลด น้อยลงดว้ ยเช่นกัน จึงลดอาการขา้ งเคียงจากกัญชาได้เมื่อเทียบกบั การกิน สรปุ 1. การพัฒนายาจากกัญชา เน่ืองจากโรคบางโรคผู้ป่วยไม่ตอบสนองต่อยาอื่น ๆ ในการ รักษาโรคทางการแพทย์จึงได้พัฒนายาจากกัญชาและกัญชง เพ่ือควบคุมคุณภาพสร้างมาตรฐาน เพอ่ื ให้ผปู้ ว่ ยปลอดภัยและไดร้ ับประสิทธภิ าพของผลติ ภณั ฑ์สูงสุด 2. มาตรฐานการผลิตยากัญชา เพ่ือใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ในการผลิตยา จึงมีความ จาเป็นอย่างย่งิ ในการควบคมุ คุณภาพท่ีดคี วรจะเรม่ิ ตั้งแต่การควบคุมคณุ ภาพของวตั ถดุ ิบ โดยควบคมุ คุณภาพตั้งแต่กระบวนการเพาะปลูกไปจนถึงกระบวนการผลิตให้ได้มาซ่ึงผลิตภัณฑส์ าเรจ็ รปู ทุก ขั้นตอนของการผลิตยา และกระบวนการทดสอบจะต้องมีการบันทึกข้อมูลอย่างชัดเจน วัตถุดิบต้อง เป็นไปตามมาตรฐาน กระบวนการเหล่านี้จะช่วยให้ผ้ปู ่วย และผู้ส่ังจ่ายยาได้รบั ผลิตภณั ฑ์ท่ีมีคุณภาพ และปลอดภยั 3. รปู แบบยาทมี่ ีกัญชาและกัญชงท่ใี ชใ้ นการแพทย์แผนปจั จบุ ันมี 9 รูปแบบ ไดแ้ ก่ (1) การ สูดไอระเหย - ด้วยปอด (2) เครอื่ งพ่นไอระเหยทางการแพทย์ (3) การสบู (4) ทางปาก - ผา่ นทางปาก และการหยดใต้ลิ้น (5) สเปรย์ (6) แคปซูล (7) ชาหรือสารละลาย (8) การส่งยาผ่านผิวหนัง และ (9) การส่งยาผ่านทวารหนัก - ยาเหนบ็ ทวาร

346 ใบความรู้ท่ี 7 เรือ่ ง ขนาดของกญั ชาและกัญชงในการรกั ษาโรค วตั ถุประสงค์ 1. เพือ่ ใหม้ ีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับขนาดของกัญชาและกัญชงในการรกั ษาโรค 2. เพ่ือให้มีทักษะการแสวงหาความรู้และทักษะการคิดวิเคราะห์ขนาดของกัญชาและกัญชง ในการรกั ษาโรค 3. เพื่อให้ตระหนักถึงขนาดของกัญชาและกญั ชงในการรกั ษาโรค เน้ือหา จากการใช้กญั ชาและกัญชงในการรักษาโรค โดยเฉพาะขนาดของกัญชามี หลักการสาคญั คอื “เร่มิ ทีละน้อย แล้วคอ่ ย ๆ เพิม่ ขนาดจนควบคุมอาการเจบ็ ปว่ ยได้ (Titration)” ปัจจัยทมี่ ผี ลต่อขนาดของกญั ชาทเ่ี หมาะสม มี 3 ประการ ได้แก่ ประการที่ 1 ชนิดของยากัญชาทใี่ ช้ รวมถึง ยากญั ชาจากพืชสกัดหรือไม่ สายพันธ์ุ ความเข้มข้น ของยาสกัด วิธีใช้แบบสูบ แบบพ่น แบบหยอดใต้ลิ้น แบบกิน แบบสวนทวาร แบบทาภายนอก หรือ การผสมผสานหลายวิธี ยากัญชา 2 ชนิด ท่ีมีขนาดของ THC เท่ากัน แต่ถ้ามีส่วนผสมของ Terpenes ทแ่ี ตกตา่ งกนั ก็ให้ผลลัพธ์ในการรักษาแตกตา่ งกนั ประการท่ี 2 โรคที่ผู้ป่วยเป็น รวมถึงระยะของโรค ระดับความรุนแรง การรักษาแบบอ่ืน ๆ ท่ีได้รับโรคร่วมอืน่ ๆ ประการท่ี 3 การตอบสนองต่อยากัญชาของแต่ละคน รวมถึงระดับ endocannabinoid เดมิ ในร่างกาย (หรอื เรียกวา่ endocannabinoid tone) และการด้ือยา เมื่อใชไ้ ปนาน ๆ สาหรับข้อมลู ขนาดของกัญชาและกัญชงในการรักษาโรค มขี ้อมลู ทไี่ ดร้ ับการศึกษาวจิ ัยและ เผยแพร่เป็นรูปธรรม คือคาแนะนาการใช้กัญชาของประเทศอิสราเอล ซ่ึงเป็นผู้นาด้านการวิจัยกัญชา ทางการแพทย์ จัดต้ังองค์กรท่ีดูแลเรื่องกัญชาโดยเฉพาะขึ้นมา คือ Israel Medical Cannabis Agency (IMCA) เมื่อปี ค.ศ. 2011 อนุญาตให้บริษัทเอกชน 6 บริษัท ผลิตกัญชาคุณภาพดีจาหน่าย (medical grade) มีกัญชาสายพันธุ์ตา่ ง ๆ ที่มีความเข้มข้นของ THC และ CBD แตกต่างกัน แบ่งเปน็ กลุ่มที่มี THC เด่น (มีขนาด THC 10, 15 และ 20%) กลุ่มที่มี CBD เด่น (มีขนาด CBD 10, 15, 20, 24%)

347 IMCA ออกคาแนะนาสาหรับแพทย์ล่าสุด เมื่อปี ค.ศ. 2017 เร่ืองการใช้กัญชาสาหรับโรค และอาการต่าง ๆ ดงั น้ี (ตารางท่ี 1) ตารางที่ 1 คาแนะนาเรื่องขนาดยากัญชา โดย อสี -รเี อล เมด-อิแค็ล แคนนาบีส เอ-เจน็ ซิ (Israel Medical Cannabis Agency (IMCA)) ท่ี โรคหรืออาการ ชนดิ ของกัญชาทีค่ วรใช้ การปรับขนาดยาต่อมา เร่ิมต้น ค่อย ๆ เพ่ิม THC จาก 10 ถึง 1 มะเรง็ (คลน่ื ไส้ อาเจียน ปวด) THC เดน่ , เร่ิมชนิด THC 20% ค่อย ๆ ลด CBD เปน็ ชนิด 20% 10% คอ่ ย ๆ เพิ่ม CBD จาก 10 ถงึ 2 มะเรง็ ตบั (HCC) CBD เด่น, เรมิ่ ชนิด CBD 24% 24% คงสดั ส่วนนีไ้ ปตลอด 3 โรคลาไสอ้ กั เสบ CBD เดน่ , เรมิ่ ชนิด CBD คอ่ ย ๆ เพิ่ม THC จาก 10 ถึง 20% และลด CBD จาก 10% (Crohn’s,Ulcerative colitis) 10% เป็น 4% เหมือนข้อ 5 4 ปวดประสาท THC และ CBD เทา่ กนั ค่อย ๆ เพิ่ม THC จาก 10 ถงึ (Neuropathic pain) (THC 10% & CBD 10%) 20% เหมอื นข้อ 7 5 โรคเอดส์ cachexia THC และ CBD เทา่ กนั คอ่ ย ๆ ลด CBD เปน็ ชนิด 10% (AIDS cachexia) (THC 10% & CBD 10%) ค่อย ๆ ลด CBD เป็นชนดิ 15% 6 โรคปลอกประสาทเสอ่ื ม เหมอื นข้อ 5 คอ่ ย ๆ เพิ่ม THC จาก 10 ถึง (Multiple Sclerosis) 20% 7 โรคพารก์ ินสนั THC เดน่ , เริม่ ชนิด THC (Parkinson’s disease) 10% 8 ทูเร็ตต์ ซนิ โดรม เหมอื นขอ้ 7 (Tourette syndrome) 9 โรคลมชกั (Epilepsy) CBD เด่น, เริ่มชนิด CBD 20% 10 โรคลมชกั ทีด่ ้ือยา CBD เด่น, เริ่มชนิด CBD 24% 11 การดูแลแบบประคบั ประคอง THC เดน่ , เริม่ ชนิด THC (Palliative care) 10%

348 ท่ี โรคหรืออาการ ชนดิ ของกัญชาที่ควรใช้ การปรบั ขนาดยาตอ่ มา เริม่ ต้น 12 สภาวะป่วยทางจติ จาก คอ่ ย ๆ เพิ่ม CBD จาก 10 ถงึ เหตุการณ์รุนแรง CBD เด่น , เริ่มชนดิ CBD 20% Post-traumatic stress 10% disorder (PTSD) เริ่มขนาดท่ีต่า และปรับเพ่ิมขนาดยาช้า ๆ ให้ยาวันละ 4-6 ครั้ง คานวณปริมาณยาท่ีได้รับ ไม่ควรเกนิ 60 กรมั ตอ่ เดอื น ถ้าถึงระดับ 60 กรมั ต่อเดือน ให้ค่อย ๆ ปรับขนาดลง ข้อห้าม ห้ามใช้ยากัญชาสังเคราะห์ เช่น ยา JWH-018 เพราะมีผลเสียเกิดภาวะแทรกซ้อน เกิดอาการทางจิตรนุ แรงได้ จากการทบทวนวรรณกรรมงานวิจัยต่าง ๆ ที่ตีพิมพ์ โดย นายแพทย์ภาสิน เหมะจุฑา และ ศาสตราจารย์นายแพทย์ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา นาเสนอในท่ีประชุมคณะกรรมการพัฒนาการใช้ประโยชน์ จากกัญชา ของกระทรวงสาธารณสขุ ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับขนาดยาจากกัญชาท่ีเหมาะสม ดังนี้ (ตารางท่ี 2 และ 3) ตารางที่ 2 อาการหรือโรคท่ีหลักฐานงานวจิ ยั หนกั แน่นวา่ ใชก้ ัญชารักษาได้ดี โรคหรืออาการ ประเภทของ แนะนา/ปริมาณ ประสทิ ธิภาพ Cannabinoid อาการปวดดีขึ้น อาการปวดเสน้ ประสาท มีหลายสาเหตุ THC:CBD THC:CBD (1:1) (Improvement in pain) รวมถงึ อาการปวดหลงั ผา่ ตดั อาการ (1:1) 15 – 60 mg/d ปวดจากมะเร็ง อาการปวดที่ไมใ่ ช่ มะเร็ง อาการปวดจากระบบประสาท โรคปลอกประสาทเส่ือม (Neuropathic pain (any causes including post operative pain, cancer pain, non cancer pain,neuropathic pain, Multiple sclerosis)

349 โรคหรืออาการ ประเภทของ แนะนา/ปริมาณ ประสทิ ธิภาพ คลื่นไส้ และอาเจียนในผู้ป่วยมะเร็ง Cannabinoid (Nausea & Vomiting in cance) ผ้ปู ่วยมากกว่า THC:CBD THC:CBD (1:1) 60% มีความพึง อาการหดเกร็งของกล้ามเนื้อในโรค พอใจในการใช้ ปลอกประสาทเสือ่ มแข็ง (1:1) 15 – 30 mg/d กญั ชามากกวา่ (pasticity in Multiple sclerosis) การใชย้ าตา้ น โรคลมชักท่ไี ม่ตอบสนองต่อยา (เดก็ THC:CBD THC:CBD (1:1) อาเจยี น และผใู้ หญ่) (Intractable epilepsy (1:1) 15 – 60 mg/d มกี ารปรบั ปรุง (children and adult) รวมถงึ ทา่ ทาง ภาวะการเบ่อื อาหาร ในผู้ปว่ ยติดเชือ้ THC:CBD THC:CBD (0:1) การเดิน HIV (Anorexia in HIV) (0:1) 100–1,000 มอี าการชกั ลดลง mg/d 36.5% โรคทีเ่ กิดจากความผิดปกติของระบบ THC:CBD THC:CBD (1:0) ประสาท โรคติกส์ และทเู รต็ ต์ (1:0) 5 – 10 mg/d มีนา้ หนกั เพิ่มขึน้ ซินโดรม (Tics and Tourette 2-5 กิโลกรัม syndrome) THC:CBD THC:CBD (1:0) และมีอาการ (1:0) 5 – 10 mg/d ปลายประสาท อักเสบลดลง 30% มกี ารปรับปรุง อยา่ งเหน็ ได้ชัด

350 ตารางที่ 3 อาการหรือโรคทหี่ ลักฐานงานวิจยั อยบู่ ้างว่าใชก้ ัญชารักษาได้ดี โรคหรอื อาการ ประเภทของ ปริมาณ ประสิทธิภาพ Cannabinoid อาการสบั สน และกระวนกระวายใน เปน็ ผลลัพธ์โดย ผู้ป่วยอัลไซเมอร์ และความเสื่อมของ THC:CBD THC:CBD (1:0) รวมทย่ี อมรบั ได้ ระบบประสาทอ่นื ๆ (Agitation & Restlessness in (1:0) 5 – 8 mg/d Alzheimer Disease and other Neurodegenerative disorders) THC:CBD THC:CBD (0:1) มกี ารปรบั ปรุง โรคพารก์ นิ สัน (0:1) 75 – 300 mg/d อยา่ งเหน็ ไดช้ ดั ใน (Parkinson’s disease) การเคลือ่ นไหว THC:CBD THC:CBD (0:1) และอาการเกร็ง โรคจติ เภทเฉียบพลนั (0:1) 200 – 800 มปี ระสทิ ธภิ าพ (Acute schizophrenia) mg/d เทียบเทา่ กับยา Amisulpride แต่มีผลข้างเคียง ทีต่ า่ กวา่ จากการทบทวนงานวิจัยที่ตีพิมพ์ล่าสุดในปี ค.ศ. 2019 พบว่า มีการวิจัยนายากัญชาไปใช้ รักษาภาวะอ่ืน ๆ ได้แก่ วิตกกังวล โรคออติสติก โรคสมองเส่ือม เบาหวาน การใช้ทดแทนยาแก้ปวด ทีเ่ ปน็ อนุพนั ธข์ องฝน่ิ ยาทางจิตเวช และใช้ทดแทนยาเสพติด แต่นาเสนอเฉพาะที่มีการระบุขนาดของ ยากญั ชาทีใ่ ช้ในการวิจยั ดงั นี้ (ตารางท่ี 4)

351 ตารางที่ 4 งานวิจยั ที่ตีพิมพ์ ปี 2019 ที่ชีว้ ่าใช้กญั ชารักษาได้ดี โรคหรอื อาการ ประเภทของ ปริมาณ ประสิทธิภาพ Cannabinoid โรควติ กกงั วล (Anxiety) CBD 25 mg/d หลัง Anxiety score อาหารเช้า ลดลงในเดือน ถ้าเด่นเรอ่ื ง กังวล แรก 79% Sleep หลังอาหารเย็น score ดีขน้ึ ใน ถ้าเดน่ เรอ่ื งนอน เดอื นแรก 67% ไมห่ ลับ บางคน อาจต้องเพ่ิมขนาด ถงึ 50 – 75 mg/d มรี ายหน่ึง คอ่ ย ๆ เพ่ิมจนถงึ 175 mg/d (trauma history and schizoaffective disorder) โรคออทิซมึ (Autism) THC:CBD THC 0.8 mg/kg ทาร้ายตนเอง (1:20) (max 40 mg/d) ลดลง 68% CBD 16 mg/kg Hyperactivity (max 600 ลดลง 68% mg/d) การนอนหลับดีขึ้น 71% วิตกกังวล ดีขนึ้ 47% โรคลมชกั (เลนนอ็ กซ)์ กลมุ่ อาการของ CBD เริ่มจาก 2.5 ความถ่กี ารชัก โรค Epilepsy (Lennox Gastaut จนถงึ 30 ต่อเดือนลดลง syndrome) mg/kg/d ในช่วง 48% to 57% 2 สปั ดาห์ โดยให้ ควบคกู่ บั ยาเดิม

352 โรคหรืออาการ ประเภทของ ปริมาณ ประสทิ ธิภาพ โรคสมองเสือ่ ม (Dementia) Cannabinoid โรคมะเร็งปอด โรคมะเร็งของตอ่ ม THC/CBD 7.6 mg อาการกระวน นา้ เหลือง (รายงานผู้ป่วย) (Lung cancer adenocarcinoma (1:2) THC/13.2 mg กระวายและ (case report) CBD daily ปัญหาเกีย่ วกบั โรคมะเร็งรงั ไข่ Ovarian cancer (case report) (2 weeks), พฤติกรรมลดลง โรคเบาหวาน (Diabetes) 8.8 mg THC/17.6 อาการเกร็งลดลง mg CBD (จนครบ 50% สามารถหยดุ 1 เดือน) ยาอืน่ ๆ 50% 9.0 mg THC/18.0 mg CBD (จนครบ 2 เดือน) CBD 2% เริ่ม 2 หยด (0.06 มีการลดลงของ Solution mL, 1.32 mg เซลลม์ ะเรง็ (200 mg CBD CBD) วันละ 2 ต่อมน้าเหลือง in 10 mL) ครงั้ นาน 1 สัปดาหค์ อ่ ย ๆ เพิ่มเป็น 9 หยด (0.3 mL, 6 mg CBD) วนั ละ 2 ครั้ง นาน 2 เดือน (Micro-dosing) CBD วนั ละ 1 หยดก่อน ก้อนยุบ จากขนาด นอน ร่วมกับกิน 5.8 x 5.0 cms. วิตามินบี 17 เหลือ 1.6 x 1.6 (Laetrile) ขนาด cms. ภายใน 500 mg. วันละ 4 เวลา 6 เดือน ครงั้ THCV ครงั้ ละ 5 mg. ระดบั น้าตาล วันละ 2 ครง้ั ลดลงเฉลี่ย 1.2

353 โรคหรืออาการ ประเภทของ ปริมาณ ประสทิ ธภิ าพ Cannabinoid mmol/L (p<0.05), เพิ่ม การทางานของ ตับออ่ น (HOMA2) 44.5 คะแนน (p<0.01) นอกจากนี้ นายแพทย์สมยศ กิตติมั่นคง ได้ให้คาแนะนาขนาดยาที่มีกัญชาในการรักษาโรค ไว้ว่า หลักท่ัว ๆ ไปในการให้ยา คือ เริ่มจากน้อย ๆ ค่อย ๆ เพิ่มทีละนิด จนได้ผลตามท่ีต้องการ แต่ก็ มงี านวิจัยจากหลายแหล่งได้สรุปขนาดท่เี หมาะสมไว้ ซงึ่ อาจจะแตกต่างกันไปในคนไข้ในแต่ละโรค และ แต่ละคน ซึ่งสามารถปรับไดโ้ ดยปรึกษาแพทยป์ ระจาตัวที่แสดงให้เห็นด้านลา่ งนี้ เป็นขนาดทใี่ หใ้ นผู้ใหญ่ อายุ 25 ปขี ้นึ ไป สาหรบั อายทุ ีน่ อ้ ยกวา่ น้ี ยังไมม่ กี ารแนะนาขนาดที่แนน่ อน 1. รักษารักษาโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง Amyotrophic lateral sclerosis (nerve cell disease) 1.1 ให้สาร THC 10 มิลลิกรัม ทางปากทุกวัน เป็นเวลา 2 อาทิตย์ ป้องกันอาการ คลน่ื ไส้อาเจยี นจากการได้รบั เคมบี าบัด 1.2 ให้ dronabinol (Marinol) 5 มิลลิกรัม ทางปาก ก่อนให้เคมีบาบัด 1-3 ชั่วโมง จากนน้ั ทุก 2-4 ชัว่ โมงหลังจากได้รับเคมบี าบดั รวมแลว้ วันละ 4-6 ครัง้ 1.3 ยา nabilone ให้ 2 มิลลิกรัม ในคืนก่อนให้เคมีบาบัด และ 1-3 ชั่วโมง ก่อนและ ให้เคมีหลังใหเ้ คมบี าบัด 1.4 กนิ ยา nabilone 2-3 มลิ ลิกรัม วนั ละ 2-4 ครง้ั 1.5 กินยา nabilone 3 มิลลิกรัม วันละ 3 คร้ัง เป็นเวลา 4 วัน และในช่วงการให้ เคมีบาบัด 2 รอบ 1.6 กินยาในช่วง 24 ช่ัวโมง ดังน้ี ยา nabilone 1 - 8 มิลลิกรัม โดยขนาด 1 - 4 มิลลิกรัม วันละคร้ัง ขนาด 1 มิลลิกรัม วันละ 3 - 5 คร้ัง หรือ ขนาด 2 มิลลิกรัม วันละครั้ง หรือ ขนาด 2 มิลลิกรัม วันละ 2 - 4 คร้ัง หรือ 24 - 50 มิลลิกรัม วันละคร้ัง ในขนาด 10 มิลลิกรัม วันละ 4 - 5 ครั้ง 12 มลิ ลกิ รมั วนั ละ 2 ครง้ั หรอื 15 มิลลิกรมั วนั ละ 2 คร้งั

354 1.7 กินยา nabilone 1 มิลลิกรัม 8 - 12 ช่ัวโมง ก่อนได้รับเคมีบาบัด ตามด้วย 0.5 - 2 มิลลกิ รมั วนั ละ 2 - 3 ครง้ั หลงั ไดร้ บั เคมบี าบดั ขึน้ กับนา้ หนกั ก่อนได้รับเคมีบาบัด และ 4, 8, 16 และ 24 ช่ัวโมง 1.8 ฉดี ยา levonantradol 0.5 - 1 มลิ ลกิ รมั วันละ 3 ครัง้ 2. รกั ษาผิวหนังอักเสบจากการแพ้ Atopic Dermatitis (itchy,scaly skin rashes) 2.1 ให้น้ามันกัญชาและกัญชงสกัดเย็นทางปาก เป็นเวลา 20 สัปดาห์ เพิ่มความอยาก อาหารในผู้ป่วยมะเรง็ 2.2 ให้สาร THC 2.5 มิลลิกรัม ทางปาก อาจให้สาร CBD 1 กรัม ร่วมด้วยหรือไม่ก็ได้ เปน็ เวลา 6 สัปดาห์ 3. รกั ษาอาการปวดเรื้อรงั 3.1 ให้สาร THC, benzopyranoperidine (BPP) , cannabidol (CBD), nabilone , dronabinol หรือ synthetic nitrogen THC analogs (NIB) ในรูปของแคปซูล หรือสเปรย์พ่นในปาก 2.5-20 มิลลิกรมั เป็นเวลา 25 วัน 3.2 ยาจากกญั ชา 1 - 6 สปั ดาห์ 3.3 Ajulemic acid 1 สปั ดาห์ 3.4 ยา nabilone 0.25 - 2 มิลลิกรมั 3.5 ควนั กัญชา 1 - 9.4 เปอร์เซน็ ต์ ระยะ 6 ชั่วโมง ถึง 14 วัน 3.6 สูบกญั ชา วันละ 3 - 4 คร้งั เป็นเวลา 5 วนั 3.7 ยา dronabinol 10 - 20 มลิ ลิกรัม วนั ละครง้ั ระยะ 6 ชั่วโมง 6 สปั ดาห์ 3.8 ในผู้ป่วยมะเร็งกินสาร THC 5 - 20 มิลลิกรัม วันละคร้ัง ตามขนาดดังต่อไปน้ี : nabilone 2 - 8 มลิ ลิกรัม วนั ละครงั้ ; nabilone 0.25 - 1 มิลลิกรัม วันละครัง้ เปน็ เวลา 4 สปั ดาห์ ; nabilone 1 - 2 มิลลกิ รมั วันละ 2 คร้ัง เป็นเวลา 1 ปี ; nabilone 1 - 2 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง ห่างกัน ทุก 8 ชั่วโมง ; และ 0.5 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง เป็นเวลา 7 วัน ; ตามด้วย 2 มิลลิกรัม วันละครั้ง เป็น เวลา 3 อาทิตย์ ; ขนาด 0.5 - 1 มลิ ลกิ รัม วนั ละ 2 ครง้ั 3.9 กนิ สาร THC 10 มลิ ลิกรมั เพิ่มขนาดมากทีส่ ดุ เท่าท่ที นไหว เปน็ เวลา 6 สปั ดาห์ 3.10 พ่นสเปรย์ทางปากในขนาดทแ่ี บ่ง ระหวา่ ง 2.5 - 100 มิลลิกรัม เป็นเวลา 2 อาทิตย์ 3.11 พ่นสเปรย์ Sativex ในปาก มากถึง 48 คร้ังต่อวัน เป็นเวลา 1 - 2 อาทิตย์ จากน้นั 10 - 15 ครัง้ ตอ่ วัน หรือ 4 - 8 ครงั้ 8 ครัง้ เปน็ จานวนสูงสดุ ต่อรอบ หรอื ภายในช่วงระยะ 3 ช่วั โมง ช่วยให้ผูป้ ว่ ยโรค Cystic Fibrosis อยากอาหารมากขึน้ 3.12 กิน dronabinol 2.5 มิลลิกรัม (ขนาดสูงสุด 10 มิลลิกรัม วันละคร้ัง เป็นเวลา 1 - 6 เดือน

355 4. รกั ษาความจาเสอ่ื ม 4.1 กิน dronabinol 2.5 มิลลิกรัม วันละ 2 คร้ัง เป็นเวลา 6 อาทิตย์ รักษาความ ผิดปกตใิ นการกนิ อาหาร 4.2 กนิ สาร THC 7.5 - 30 มลิ ลกิ รมั วนั ละครัง้ เปน็ เวลา 4 สัปดาห์ 5. รักษาโรคลมชกั ในผใู้ หญ่ กนิ สาร CBD 200 - 300 มิลลกิ รัม วนั ละครง้ั เป็นเวลา 4 - 5 เดอื น เพือ่ ทาให้สภาวะกรดไขมนั ในร่างกายดีข้ึน กนิ นา้ มันเมลด็ กัญชาและกญั ชงสกัดเย็น 6. รกั ษาอาการเคล่อื นไหวผิดปกตทิ ี่เกิดขน้ึ จาก Huntington’s disease 6.1 กนิ nabilone 1 - 2 มิลลกิ รมั วันละครั้ง เปน็ เวลา 5 สปั ดาห์ 6.2 หรือกินสาร CBD ขนาด 10 มิลลิกรัม ต่อน้าหนักตัว 1 กิโลกรัม วันละคร้ัง เป็นเวลา 6 สัปดาห์ 7. รักษาอาการนอนไม่หลับ กินสาร CBD 40 - 160 มลิ ลิกรัม 8. รกั ษาอาการจากโรคปลอกประสาทเสอ่ื ม 8.1 กิน dronabinol (Marinal) 2.5 มิลลิกรัม วันละครั้ง เพิ่มขนาดจนถึง วันละ 10 มิลลิกรัม วนั ละคร้ัง เป็นเวลา 3 อาทติ ย์ 8.2 หรือใช้สารสกัดกัญชาในแคปซูล เพ่ิมครั้งละ 5 มิลลิกรัม ถ้าทนไหว เป็นเวลา 2 - 4 สปั ดาห์ 8.3 หรอื ใชส้ ารสกัดกัญชาท่ีมีสาร THC และ CBD ขนาด 2.5-120 มลิ ลิกรัม วนั ละครั้ง เปน็ เวลา 2 - 15 สัปดาห์ 8.4 หรือพ่นเปรย์ Sativex ที่มีสาร THC 2.7 มิลลิกรัม และสาร CBD 2.5 มิลลิกรัม ใชใ้ นขนาด 2.5 - 120 มลิ ลกิ รัม โดยแบง่ ให้เปน็ ระยะเวลา 8 สปั ดาห์ 8.5 หรือพ่นสเปรย์ 8 คร้ังในระยะเวลา 3 ช่ัวโมง อาจพ่นถึง 48 ครั้ง ในระยะเวลา 48 ชัว่ โมง ใช้ตอ่ เนื่องเป็นระยะเวลา 6 - 14 สัปดาห์ 9. การใช้น้ามันกัญชาและกัญชงเป็นอาหารเสริม รับประทานน้ามันกัญชง 15 - 30 ซีซี วนั ละครง้ั 10. การรกั ษาโรคจิตเภท กินสาร CBD 40 - 1280 มิลลิกรมั วนั ละคร้งั เปน็ เวลา 4 สปั ดาห์ 11. การรักษาโรคทูเร็ตต์ กินแคปซูลสาร THC 2.5 - 10 มิลลิกรัม วันละคร้ัง หรือกิน ขนาด 2.5 มิลลิกรัม วันละครั้ง ค่อย ๆ เพ่ิมขนาดครั้งละ 2.5 มิลลิกรัม จนได้ขนาด 10 มิลลิกรัม วัน ละครง้ั ภายในเวลา 4 วัน กินตอ่ เนือ่ ง 6 สัปดาห์ 12. การรักษาโคนข้อรูมาตอยด์ ใช้สเปรย์ Sativex พ่น 6 คร้ัง ต่อเน่ือง วันละ 1 ครั้งก่อนนอน เปน็ เวลา 5 สปั ดาห์

356 13. การรกั ษาโรคตอ้ หนิ 13.1 ใหส้ าร THC 5 มิลลกิ รัม ใต้ล้ิน วันละครง้ั 13.2 หรือสาร CBD 20 - 40 มิลลิกรัมใต้ลิ้น วันละคร้ัง อย่างไรก็ตาม สาร CBD ขนาด 40 มลิ ลิกรัม อาจเพม่ิ ความดนั ในลกู ตา จะเห็นได้ว่าการนาเสนอเรื่องขนาดของกัญชาในการรักษาโรค จากข้อมูล ผู้ทรงคุณวุฒิข้างต้น เป็นข้อมูลผลการศึกษาวิจัยในต่างประเทศยังไม่มีผลการ ศึกษาวจิ ยั ขนาดของกญั ชาและกัญชงในประเทศไทย ดงั น้นั ผู้ใชก้ ัญชาและกัญชง เป็นยา ควรศึกษาติดตามผลการศึกษาวิจัยอย่างตอ่ เน่ือง เพราะองค์ความรู้อาจ มกี ารเปล่ยี นแปลงได้ นอกจากน้ี การใช้กัญชาและกัญชงเป็นยาในขนาดท่ีถูกต้องปลอดภัยต้อง อยู่ในการควบคุมดแู ลให้คาแนะนาจากแพทยเ์ ท่านนั้ สรปุ 1. ขนาดยากัญชาที่เหมาะสม จาเป็นต้องปรับให้เหมาะกับแต่ละบุคคล และมีหลักสาคัญ คอื เริม่ ทีละนอ้ ย แล้วคอ่ ย ๆ เพิม่ ขนาดจนควบคุมอาการเจบ็ ป่วยได้ 2. จากตารางท่ี 1 คาแนะนาเร่ืองขนาดยากัญชา โดย อีส-รีเอล เมด-อิแค็ล แคนนาบีส เอ-เจ็นซิ (Israel Medical Cannabis Agency (IMCA)) ในการรักษาโรค หรืออาการดังนี้ (1) มะเร็ง (คลื่นไส้ อาเจียน ปวด) (2) มะเร็งตับ (3) โรคลาไส้อักเสบ (4) ปวดประสาท (5) โรคเอดส์ (6) โรคปลอก ประสาทเส่ือม (7) โรคพาร์กินสัน (8) ทูเร็ตต์ ซินโดรม (9) โรคลมชัก (10) โรคลมชักท่ีดื้อยา (11) การดูแล แบบประคบั ประคอง และ (12) สภาวะปว่ ยทางจิตจากเหตุการณร์ ุนแรง 3. จากตารางที่ 2 อาการหรือโรคท่ีมหี ลักฐานงานวจิ ัยหนักแน่นว่าใช้กัญชารกั ษาไดด้ ี ดงั น้ี (1) อาการปวดเส้นประสาท มหี ลายสาเหตุ รวมถงึ อาการปวดหลงั ผ่าตัด อาการปวดจากมะเรง็ อาการ ปวดทีไ่ มใ่ ช่มะเร็ง อาการปวดจากระบบประสาท โรคปลอกประสาทเสื่อม (2) คล่ืนไส้ และอาเจียนใน ผู้ป่วยมะเร็ง (3) อาการหดเกร็งของกล้ามเน้ือในโรคปลอกประสาทเส่ือมแข็ง (4) โรคลมชักที่ไม่

357 ตอบสนองต่อยา (เด็กและผู้ใหญ่) (5) ภาวะการเบ่ืออาหารในผู้ป่วยติดเช้ือ และ (6) โรคท่ีเกิดจาก ความผดิ ปกติของระบบประสาท โรคตกิ ส์ และทูเร็ตต์ ซนิ โดรม 4. จากตารางท่ี 3 อาการหรือโรคท่ีมีหลักฐานงานวิจยั อยู่บ้างวา่ ใชก้ ัญชารกั ษาได้ดี มีดังนี้ (1) อาการสับสน และกระวนกระวายในผู้ป่วยอัลไซเมอร์ และความเสื่อมของระบบประสาทอ่ืน ๆ (2) โรคพาร์กนิ สนั และ (3) โรคจติ เภทเฉียบพลนั 5. จากตารางที่ 4 งานวิจัยที่ตีพิมพ์ ปี 2019 ที่ช้ีว่าใช้กัญชารักษาได้ดี มีดังนี้ (1) โรควิตก กังวล (2) โรคออทิซึม (3) โรคลมชัก (4) โรคสมองเส่ือม (5) โรคมะเร็งปอด โรคมะเร็งของต่อมน้าเหลือง (6) โรคมะเรง็ รังไข่ และ (7) โรคเบาหวาน 6. ขนาดยากัญชาที่เหมาะสม ในคนไข้ในแต่ละโรค และแต่ละคนเป็นขนาดที่ให้ในผู้ใหญ่ อายุ 25 ปีข้นึ ไป มีดงั น้ี (1) รกั ษาโรคกลา้ มเนอื้ อ่อนแรง (2) รกั ษาผวิ หนังอักเสบจากการแพ้ (3) รักษา อาการปวดเรื้อรัง (4) รักษาความจาเสื่อม (5) รักษาโรคลมชักในผู้ใหญ่ (6) รักษาอาการเคล่ือนไหว ผิดปกติ (7) รักษาอาการนอนไม่หลับ (8) รักษาอาการจากโรคปลอกประสาทเส่ือม (9) การใช้น้ามัน กัญชาและกัญชงเป็นอาหารเสริม (10) การรกั ษาโรคจติ เภท (11) การรักษาโรคทูเร็ตต์ (12) การรกั ษา โคนข้อรมู าตอยด์ และ (13) การรกั ษาโรคต้อหิน

358 ภาคผนวก ข. ใบงาน

359 ใบงานท่ี 1 หัวเรอื่ ง เหตใุ ดตอ้ งเรยี นรกู้ ัญชาและกัญชง คาชแ้ี จง กกกกกกก1. ใบงานน้ีจัดทาข้ึนเพื่อให้ผู้เรียน มีความรู้ และประสบการณ์เก่ียวกับเหตุใดต้องเรียนรู้ กัญชาและกญั ชง กกกกกกก2. ใหผ้ ู้เรยี นปฏิบัติตามข้ันตอนตอ่ ไปนี้ตามลาดบั 2.1 ผ้เู รียนร่วมกับครผู ้สู อนกาหนดประเดน็ ศึกษารว่ มกนั ไดป้ ระเด็นศึกษาต่อไปนี้ 2.1.1 มุมมองกฎหมาย มุมมองประชาชน มุมมองบุคลากรทางการแพทย์ และ มุมมองของผ้ปู ่วยต่อการใชก้ ญั ชาและกัญชงเป็นอย่างไร 2.1.2 สภาพการณก์ ารใช้กัญชาและกญั ชงในต่างประเทศ และประเทศไทย เป็นอย่างไร การให้บรกิ ารคลินิกกัญชาในประเทศไทยมีกป่ี ระเภท ประเภทละกีแ่ หง่ ทีไ่ หนบ้าง 2.1.3 ข้อมูลกัญชาและกัญชงที่พบในส่ือออนไลน์ อินเทอร์เน็ต เฟซบุ๊ก ไลน์ และ ยทู ูบ มีข้อมลู แตกต่างกันอย่างไร 2.2 ผู้เรียนศึกษาประเด็นศึกษาในข้อ 2.1.1, 2.1.2 และ 2.1.3 จากส่ือเอกสาร ประกอบด้วย ใบความรู้ท่ี 1 เร่ืองสื่ออินเทอร์เน็ตภัยเงยี บการใช้กัญชาและกัญชงเป็นยา หนังสือเรียน สาระทักษะการดาเนินชีวติ รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด และหนังสือท่ีเก่ียวข้อง 2 เล่ม ช่ือหนังสือกัญชารักษามะเร็ง และชื่อหนังสือข้อมูลเบ้ืองต้นเก่ียวกับ กญั ชาทางการแพทย์ สื่ออิเลก็ ทรอนกิ ส์อย่างน้อย 3 เวบ็ ไซต์ ได้แก่ เวบ็ ไซต์ https://www.ditp.go.th/ contents_attach/ 376953/376953.pdf เว็บไซต์ http://krua.co/food-story/food-feeds/ และ เว็บไซต์ http://www.bbc.com/thai/thailand-42748753 และแหล่งเรียนรู้ในชุมชน ห้องสมุด ใกลบ้ า้ นผเู้ รียน 2.3 บันทกึ ผลการศกึ ษาคน้ คว้าทไ่ี ด้ในข้อ 2.2 ลงในเอกสารการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (กรต.) 2.4 พบกลุ่ม นาข้อมูลข้อ 2.3 มาอภิปรายแลกเปลีย่ นเรียนรู้ข้อมลู ที่ได้กับเพ่ือนผู้เรยี น และครูผู้สอน คิดวิเคราะห์และคิดสังเคราะห์ สรุปผลการเรียนรู้ที่ได้ใหม่ร่วมกัน บันทึกลงในเอกสาร การเรยี นรูด้ ้วยตนเอง (กรต.) สง่ ครูผสู้ อนตามทไี่ ดน้ ดั หมาย 2.5 นาผลสรุปการเรียนรู้ที่ได้ใหม่ร่วมกันไปฝึกปฏิบัติด้วยการตอบแบบฝึกหัด บันทึก ลงในเอกสารการเรยี นรูด้ ้วยตนเอง (กรต.) และกิจกรรมตามท่มี อบหมาย สง่ ครผู ู้สอนตามทน่ี ัดหมาย 2.6 บันทึกผลการเรียนรู้ท่ีได้จากการฝึกปฏิบัติในข้อ 2.5 ลงในเอกสารการเรียนรู้ด้วย ตนเอง (กรต.) สง่ ครูผูส้ อนตามท่นี ัดหมาย

360 แบบฝกึ หดั กกกกกกกคาช้ีแจง : ให้ผเู้ รยี นตอบคาถามในขอ้ ต่อไปน้ีลงในเอกสารการเรียนรดู้ ้วยตนเอง (กรต.) สง่ ครผู ู้สอนตามที่นดั หมาย กกกกกกก1. มุมมองกฎหมายตอ่ การใช้กญั ชาและกญั ชงเป็นอยา่ งไร คาตอบ……………………………….…………………………………..………………………………………….. ………………………………………………………………………….……………………………………….…………………………. กกกกกกก2. สภาพการณ์การใชก้ ัญชาและกัญชงในประเทศไทยเปน็ อยา่ งไร คาตอบ……………………………….…………………………………..………………………………………….. ………………………………………………………………………….……………………………………….…………………………. กกกกกกก3. ข้อมูลกัญชาและกัญชงท่ีพบในส่ืออินเทอร์เน็ต กับ สื่อเฟซบุ๊ก มีข้อมูลแตกต่างกัน อยา่ งไร คาตอบ……………………………….…………………………………..………………………………………….. ………………………………………………………………………….……………………………………….………………………….

361 กิจกรรม กกกกกกกคาชี้แจง : ให้ผเู้ รียนวเิ คราะห์กรณศี ึกษาต่อไปนี้ ในประเด็น (1) ความสาคญั ของกรณีศึกษา น้ีมีอะไร (2) อธิบายความสัมพันธ์ท่ีพบในกรณีศึกษานี้คืออะไร และ (3) หลักการที่ใช้อธิบาย กรณีศึกษานี้คืออะไร และ (4) กรณีศึกษาน้ีให้ประโยชน์ในการนาไปใช้อย่างไร แล้วเขียนคาตอบผล การวเิ คราะหล์ งในเอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.) สง่ ครผู สู้ อน กรณศี กึ ษา ลม้ ปว่ ยอีก 4 รายใชก้ ัญชาหยดใตล้ น้ิ สง่ั ซอื้ ทางออนไลน์ ตัวเกร็ง ชัก กระตุก แพทยเ์ ตอื นใช้สารสกัดกัญชาไม่ถกู วิธีอาจถึงตายเผยคนไข้แอบใชเ้ กิดอาการชกั เกร็ง-อาเจียน ถกู ส่งรพ.น่าน 4 ราย กกกกกกกนพ.พงศ์เทพ วงศ์วัชรไพบูลย์ รองผู้อานวยการโรงพยาบาลน่าน กล่าวถึงกรณี ผู้ป่วย จานวนมาก แอบใช้น้ามันกัญชาสกัดรักษาโรคโดยไม่ปรึกษาแพทย์ และเกิดผลกระทบต่าง ๆ ว่า ปัจจุบันพบสถานการณ์ เริ่มมีความรุนแรงขึ้น จากเดิมท่ีเคยพบประมาณเดือนละ 1 ราย แต่ล่าสุดพบวันเดียวมากถึง 4 ราย ส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยที่เป็นโรค ท่ีไม่มีข้อบ่งชี้ว่าจาเป็นต้องใช้ น้ามันกัญชารักษา บางรายมีอาการหูแว่ว ประสาทหลอน รวมถึงขากระตุกไม่หยุด หรือ ชาตาม เนอ้ื ตวั กกกกกกกท้ังนี้จากการสบื ประวัติผู้ปว่ ยพบวา่ สั่งซื้อนา้ มันกัญชาทางออนไลน์ แลว้ นามาทดลองใช้ เอง ด้วยการหยอดบริเวณใต้ล้ิน จากน้ันประมาณ 2-3 ชั่วโมงก็เริ่มมีอาการต้องรีบสง่ ตัวมารักษา ท่ีโรงพยาบาลอย่างเร่งด่วนทกุ ราย รองผูอ้ านวยการ รพ.น่าน ระบุ สว่ นตัวมองวา่ กัญชามีทงั้ ขอ้ ดี ข้อเสียในทางการแพทยเ์ ราไม่ไดต้ ่อต้าน แตต่ ้องใชต้ ามขอ้ บง่ ช้ี ดงั นั้นจงึ เปน็ เร่ืองทตี่ อ้ งออกมาเตือนประชาชนให้ระมดั ระวงั เพราะตอ้ งไมล่ มื ว่ากัญชาเองก็มีสารออกฤทธต์ิ ่อจติ ประสาท ถ้าคุมไมด่ ีเราอาจจะมผี ู้ป่วย ผ้เู สพติดเพิม่ ข้ึนได้

362 คาตอบ ผลการวเิ คราะหก์ รณีศึกษา 1. ความสาคัญของกรณีศกึ ษาคอื ...................................................................................... ................................................................................................................................................................ 2. ความสัมพนั ธท์ ่ีพบในกรณศี ึกษาคือ.............................................................................. .............................................................................................................. .................................................. 3. หลักการทใี่ ชอ้ ธบิ ายกรณศี ึกษานค้ี อื ............................................................................. ................................................................................................................................................................ 4. กรณศี ึกษาน้ีใหป้ ระโยชน์ในการนาไปใชค้ ือ .................................................................. ................................................................................................................................................................

363 ใบงานท่ี 2 หวั เรื่อง กัญชาและกญั ชงพชื ยาที่ควรรู้ คาชแ้ี จง กกกกกกก1. ใบงานนจี้ ดั ทาข้ึนเพ่ือให้ผเู้ รยี นมคี วามรูแ้ ละประสบการณเ์ ก่ยี วกับกญั ชาและกัญชงพชื ยาทคี่ วรรู้ กกกกกกก2. ให้ผูเ้ รียนปฏิบัตติ ามข้นั ตอนต่อไปนี้ตามลาดับ 2.1 ผเู้ รียนรับฟังบรรยายสรปุ หัวเรอื่ ง กัญชาและกัญชงพชื ยาที่ควรรู้จากครผู ู้สอน 2.2 ผู้เรียนรว่ มกบั ครผู สู้ อนกาหนดประเดน็ ศึกษาร่วมกันได้ประเดน็ ศึกษาต่อไปน้ี 2.2.1 ประวัติความเปน็ มาของพชื กญั ชาและพชื กญั ชงเป็นอย่างไร 2.2.2 ความรเู้ บอื้ งต้นเกยี่ วกบั พชื กัญชาและพืชกัญชง ไดแ้ ก่ พฤกษศาสตรข์ องพืช สายพันธ์ุย่อย องค์ประกอบทางเคมี และสารสาคัญที่พบในพืชกัญชาและพืชกัญชง คืออะไร 2.2.3 พืชกญั ชาและพชื กัญชงมีความแตกต่างกนั อยา่ งไร 2.2.4 พืชกญั ชาและพชื กัญชงได้นามาใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ในโลกอยา่ งไร 2.3 ผเู้ รยี นศึกษาประเด็นศกึ ษาในข้อ 2.2.1 , 2.2.2 , 2.2.3 และ 2.2.4 จากสื่อเอกสาร ประกอบด้วย ใบความรู้ที่ 2 เร่ือง วิเคราะห์ เจาะลึก กัญชาและกัญชง หนงั สือเรยี นสาระทักษะการ ดาเนินชีวิต รายวิชา ทช33098 กญั ชา กัญชงศึกษา เพื่อใชเ้ ปน็ ยาอยา่ งชาญฉลาด และหนังสือที่ เก่ียวข้องอย่างน้อย 3 เล่ม ได้แก่ กญั ชารกั ษามะเร็ง รักษาโรคด้วยกัญชงและกัญชา และกญั ชาสดุ ยอด ยาวเิ ศษ ศาสตร์แห่งการรักษาโรคยคุ ใหม่ สอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ อย่างน้อย 3 เวบ็ ไซต์ ได้แก่ เว็บไซต์ https://www.baanlaesuan.com/145563/plant-scoop/marijuana เวบ็ ไซต์ https://www.catdumb.com/mel-frank-007/ และเวบ็ ไซต์ https://www.billionmindset.com/how-thc-cbd-difference/ และแหล่งเรยี นรูใ้ นชุมชน ห้องสมดุ ใกลบ้ ้านผเู้ รยี น 2.4 บนั ทกึ ผลการศึกษาค้นควา้ ที่ไดใ้ นข้อ 2.3 ลงในเอกสารการเรยี นรู้ด้วยตนเอง (กรต.) 2.5 พบกลุ่ม นาข้อมูล 2.4 มาอภปิ รายแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ ข้อมลู ที่ได้กับเพ่ือนผ้เู รยี น และ ครูผสู้ อน คดิ วิเคราะห์ และคิดสังเคราะห์ สรุปผลการเรยี นรทู้ ่ไี ดใ้ หม่รว่ มกัน บนั ทึกลงในเอกสารการ เรียนรู้ดว้ ยตนเอง (กรต.) ส่งครูผู้สอนตามท่นี ดั หมาย 2.6 นาสรปุ ผลการเรยี นร้ทู ไ่ี ดร้ ว่ มกนั ไปฝึกปฏิบัตดิ ว้ ยการตอบแบบฝกึ หัด บันทกึ ลงใน เอกสารการเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง (กรต.) และกจิ กรรมตามท่ีมอบหมาย สง่ ครูผู้สอนตามทนี่ ัดหมาย

364 2.7 บนั ทึกผลการเรียนรทู้ ไ่ี ด้จากการฝกึ ปฏิบตั ิ ในข้อที่ 2.6 ลงในเอกสารการเรียนร้ดู ้วย ตนเอง (กรต.) สง่ ครูผสู้ อนตามที่นัดหมาย แบบฝกึ หดั กกกกกกกคาชแี้ จง : ให้ผูเ้ รยี นตอบคาถามในข้อต่อไปน้ลี งในเอกสารการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (กรต.) กกกกกกก1. ประวัตคิ วามเป็นมาของพชื กัญชาและกญั ชงเปน็ อยา่ งไร คาตอบ......................................................................................................... ....................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… กกกกกกก2. สารสาคญั ทพี่ บในพืชกญั ชาและพืชกัญชง คือสารใด มคี ุณสมบัตขิ องสารแต่ละตัวอยา่ งไร คาตอบ........................................................................................................................ ........ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… กกกกกกก3. พชื กญั ชาและพืชกญั ชงแตกต่างกนั อยา่ งไร คาตอบ.......................................................................................................................... ...... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………

365 กจิ กรรม กกกกกกกคาช้แี จง : ให้ผู้เรยี นวาดภาพแสดงความแตกตา่ งระหว่างใบและต้นของพืชกัญชาและกญั ชง ลงในเอกสารการเรียนรดู้ ้วยตนเอง (กรต.) ส่งครูผสู้ อนตามทกี่ าหนดไว้ พืชกัญชา พชื กัญชง (Subsp.Indica) (Subsp.Sativa)

366 ใบงานที่ 3 หัวเร่อื ง รู้จกั โทษและประโยชน์ของกญั ชาและกญั ชง คาชแี้ จง กกกกกกก1. ใบงานน้ีจัดทาข้ึนเพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ และประสบการณ์เกี่ยวกับ รู้จักโทษและ ประโยชน์ของกญั ชาและกัญชง กกกกกกก 2. ใหผ้ ู้เรยี นปฏบิ ตั ติ ามข้นั ตอนตอ่ ไปนต้ี ามลาดับ 2.1 ผู้เรียนร่วมกบั ครูผ้สู อนกาหนดประเดน็ ศึกษารว่ มกัน ไดป้ ระเดน็ ศึกษาตอ่ ไปน้ี 2.1.1 โทษของกัญชาและกัญชงต่อรา่ งกาย จติ ใจ สังคม และประเทศชาติ มอี ะไรบ้าง 2.1.2 ผลข้างเคียงการใช้กัญชาและกัญชงในระยะส้ัน ระยะกลาง และระยะยาว มีอะไรบา้ ง 2.1.3 ประโยชนข์ องกัญชาและกญั ชงทางการแพทย์มอี ะไรบ้าง 2.2 ให้ผู้เรียนศึกษาประเด็นศึกษาในข้อ 2.1.1 2.1.2 และ 2.1.3 จากสื่อ เอกสารประกอบดว้ ย ใบความรูท้ ี่ 3 เรื่อง กัญชาและกัญชงก่อให้เกิดโรคจิตเวชได้ หนังสือเรยี นสาระ ทักษะการดาเนินชีวิต รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพื่อใชเ้ ป็นยาอย่างชาญฉลาด และ หนังสือที่เก่ียวข้อง ได้แก่ ช่ือหนังสือกัญชาสุดยอดยาวิเศษ ศาสตร์แห่งการรักษาโรคยุคใหม่ ช่ือ หนังสือข้อมูลเบื้องต้นเก่ียวกับกัญชาทางการแพทย์ และชื่อหนังสือกัญชายาวิเศษ เล่ม 2 กัญชารักษา มะเร็ง ส่ืออิเล็กทรอนิกส์อย่างน้อย 3 เว็บไซต์ ได้แก่ เว็บไซต์ http://www.pharmacy.mahidol.ac.th เว็บไซต์ http://heslth.kapook.com และเว็บไซต์ http://www.prdmh.com และแหล่งเรียนรู้ใน ชมุ ชน ห้องสมดุ ใกล้บา้ นผเู้ รยี น 2.3 บนั ทกึ ผลการศกึ ษาคน้ ควา้ ท่ไี ด้ในข้อ 2.2 ลงในเอกสารการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (กรต.) 2.4 พบกลุ่ม นาข้อมูลข้อ 2.3 มาอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลที่ได้กับเพื่อน ผู้เรียน และครูผู้สอน คดิ วเิ คราะห์ และคิดสังเคราะห์สรุปผลการเรียนรู้ท่ีได้ใหมร่ ่วมกัน บนั ทกึ ลงใน เอกสารการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (กรต.) ส่งครผู สู้ อนตามทนี่ ัดหมาย 2.5 นาสรุปผลการเรียนรู้ท่ีไดใ้ หม่ร่วมกันไปฝึกปฏบิ ัติด้วยการตอบแบบฝึกหัด บันทึก ลงในเอกสารการเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง (กรต.) และกจิ กรรมตามทมี่ อบหมาย สง่ ครูผู้สอนตามที่นัดหมาย 2.6 บันทึกผลการเรียนรู้ที่ได้จากการฝึกปฏิบัติในข้อ 2.5 ลงในเอกสารการเรียนรู้ ด้วยตนเอง (กรต.) สง่ ครผู ู้สอนตามที่นดั หมาย

367 2.7 ผเู้ รยี นรับฟังการบรรยายสรปุ สร้างความตระหนักถงึ โทษและประโยชน์ของกัญชา และกัญชง โดยเฉพาะการฝ่าฝืนกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และควรใช้กัญชาและกัญชงเพ่ือประโยชน์ ทางการแพทย์เทา่ น้ัน แบบฝกึ หัด กกกกกกกคาชี้แจง : ให้ผู้เรียนตอบคาถามต่อไปน้ีลงในเอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.) สง่ ครูผู้สอนตามที่นดั หมาย กกกกกกก 1. โทษของกัญชาและกญั ชงต่อรา่ งกายและจติ ใจมีอะไรบา้ ง คาตอบ ........................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ กกกกกกก 2. ผลขา้ งเคยี งการใชก้ ัญชาและกญั ชง ระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาวมอี ะไรบ้าง คาตอบ ....................................................................................................................... .... ................................................................................................................................................................ กกกกกกก 3. ประโยชนข์ องกญั ชาและกัญชงทางการแพทย์คืออะไร คาตอบ ........................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ กิจกรรม กกกกกกกคาช้ีแจง : ให้ผู้เรียนวิเคราะห์กรณีศึกษาต่อไปน้ีแล้วแยกแยะโทษและประโยชน์ของกัญชา และกัญชง เขยี นคาตอบผลการแยกแยะทีไ่ ด้ลงในเอกสารการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง (กรต.) กรณีศึกษาโทษและประโยชน์ของกญั ชาและกัญชง สรุ ียา อายุ 73 ปี อาศยั อยู่ในชนบท มีลกู สาว 1 คน และ ลูกชาย 1 คน ชื่อสมศรี และสมศักด์ิ สามี ของ สุรียาเสียชีวิตเมื่อสุรียาคลอดสมศักดิ์ได้เพียง 2 เดือน จากน้ันสุรียาไม่ได้มีสามีใหม่จึงต้อง เลี้ยงสมศรีและสมศักด์ิเพียงลาพัง สรุ ียาทางานหนักเพื่อหาเล้ียงลูกท้ังสองเรื่อยมา จนกระท่ังลูก ทั้งสองโตขึ้น สมศรีทางานใกล้บ้านเพราะอยากอยู่ดูแลแม่ ส่วนสมศักด์ิทางานในกรุงเทพ ฯ จนกระทง่ั .

368 สุรยี าป่วย มีอาการไอเรอ้ื รงั เจ็บหนา้ อก เน่ืองจากตอ้ งทางานหนัก แตไ่ มไ่ ดไ้ ปหาหมอ เพราะ ไม่คิดว่าจะเป็นโรคร้ายแรง สุรยี าทนอยู่กับอาการเจบ็ ป่วยของตนเองมานานนับปี จนอาการ เร่ิมทรุดลง ร่างกายซูบผอม ไม่มีแรง สมศรีจึงพาสุรียาไปหาหมอ เมื่อแพทย์วินิจฉัยอย่าง ละเอยี ดแลว้ พบว่า สุรียาเปน็ โรคมะเรง็ ปอดระยะที่ 4 ไม่มีทางรกั ษา และให้กลับมาพกั ทีบ่ า้ น สมศรีจึงหาทางรักษามารดาด้วยตนเองโดยการหาข้อมูลต่าง ๆ ว่ามียาหรือผลิตภัณฑ์ใดท่ี สามารถรักษาโรคมะเร็งของสุรียาได้บ้าง จนกระทั่งมาพบ น้ามันกัญชา สมศรีจึงซ้ือน้ามัน กัญชามาให้สุรียาใช้ ในเวลาต่อมาสุรียามีอาการดีขึ้นทานอาหารได้มากขึ้น อาการเจ็บ หน้าอกลดลง ใช้ชีวิตได้อย่างปกติ สุรียา และสมศรีได้รับการติดต่อจากเพ่ือนร่วมงานของ สมศักดิ์ ว่าสมศักดิ์ไม่สามารถทางานได้ เพราะติดกัญชาขนาดหนักทาให้ร่างกายทรุดโทรม ประสาทหลอน คดิ วา่ จะมคี นมาทารา้ ยตนเอง ซ่ึงเปน็ ผลข้างเคยี งจากการสูบกัญชาเกินขนาด เป็นเวลานาน สุรียาและสมศรีจึงไปรับสมศักดิ์กลับมารักษาอาการดังกล่าว เมื่อสมศักด์ิ กลับมาอยู่ที่บ้านก็ได้รับการรักษา แต่สมศักดิ์ยังไม่สามารถเลิกสูบกัญชาได้ จึงทาให้อาการ ของสมศักด์ิยิ่งรุนแรงขน้ึ ถึงข้ันทาร้ายสรุ ียาผู้เป็นแม่จนได้รับบาดเจ็บ แต่ที่มากไปกว่านั้นคือ สมศักด์ิได้ก่อเหตุฆ่าชิงทรัพย์สาวชาวต่างชาติจานวน 3 ราย ติดต่อกัน และได้ซ่อนเร้น อาพรางศพไว้ สื่อต่างชาติได้มีการรายงานข่าวน้ีไปทั่วโลก ทาให้ความมั่นใจด้านความปลอดภัย ของประเทศไทยในสายตาของชาวตา่ งชาติลดลงอย่างมาก ผลการวเิ คราะห์กรณีศึกษา คือ....................................................................................... 1. ความสาคญั ของกรณศี ึกษานี้ คือ............................................................................... ................................................................................................................................ ................................ 2. ความสัมพนั ธท์ พ่ี บในกรณีศึกษา คือ......................................................................... ............................................................................................................................. ................................... 3. หลักการทส่ี าคัญในกรณศี ึกษา คือ .......................................................................... ............................................................................................................................. ...................................

369 ใบงานท่ี 4 หวั เรือ่ ง กฎหมายท่ีเก่ยี วขอ้ งกบั กญั ชาและกัญชง คาช้แี จง กกกกกกก1. ใบงานนีจ้ ดั ทาข้ึนเพื่อให้ผ้เู รียนมคี วามรู้ ความเข้าใจ และประสบการณเ์ ก่ยี วกับ กฎหมายที่เกย่ี วข้องกบั กัญชาและกญั ชง กกกกกกก2. ให้ผู้เรียนปฏิบตั ิตามขั้นตอนต่อไปนตี้ ามลาดับ กกกกกกกกก 2.1 ผ้เู รียนรว่ มกับครูผสู้ อนกาหนดประเดน็ ศึกษารว่ มกนั ได้ประเด็นศึกษาต่อไปน้ี กกกกกกกกกกกกก2.1.1 กฎมายที่เกย่ี วข้องกับกัญชาและกัญชง มกี ฎหมายอะไรบา้ ง กกกกกกกกกกกกก2.1.2 สาระสาคญั ในกฎหมายทเี่ ก่ยี วข้องกับกัญชาและกัญชง แตล่ ะฉบบั คอื อะไร กกกกกกกกกกกกก2.1.3 ข้อปฏิบตั ิท่ตี อ้ งทาตามกฎหมายทเี่ กย่ี วข้องกบั กญั ชาและกญั ชง มีอะไรบ้าง กกกกกกกกกกกกก2.1.4 โทษของการฝา่ ฝนื กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกัญชาและกญั ชง มีอะไรบา้ ง กกกกกกกกกกกกก2.1.5 กฎหมายระหว่างประเทศเกยี่ วกับกญั ชาและกัญชง มีอะไรบ้าง และ สาระสาคญั ของกฎหมาย คืออะไร ก กกกกกกกกก 2.2 ให้ผู้เรียนศึกษาประเด็นศึกษาในข้อ 2.1.1, 2.1.2 , 2.1.3 , 2.1.4 และ 2.1.5 จากส่ือเอกสาร ประกอบด้วย ใบความรู้ที่ 4 เร่ือง กรณีศึกษาโทษของการฝ่าฝืนใช้กัญชาและกัญชง หนังสือเรียนสาระทักษะการดาเนินชีวิต รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพ่ือใช้เป็นยา อย่างชาญฉลาด และหนังสือเกี่ยวข้องได้แก่ หนังสือกัญชาสุดยอดยาวเิ ศษ และหนังสือกัญชายาวิเศษ สอื่ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ ประกอบด้วย จานวน 5 เวบ็ ไซด์ ไดแ้ ก่ กญั ชา : กฎหมายยาเสพตดิ อันเปน็ อปุ สรรค ต่อการพัฒนากัญชาการแพทย์ สืบค้นจาก https://www.tci-thaijo.org/ กฎหมายเกี่ยวกับกัญชา สืบคน้ จาก https://media.oncb.go.th/index.php/th/23-2018-02-20-07-04-07/2018-02-20- 07-05-01/64-content5-21-5-61-1}พระราชบัญญัติวัตถุท่ีออกฤทธ์ิต่อจิตและประสาท พ.ศ. 2559 สืบค้นจาก http://www.fda.moph.go.th/sites/Narcotics SitePages/Psychotropic.aspx กฎหมาย สาคัญกฎหมายออกใหม่ สืบค้นจาก http://www.fda.moph.go.th/sites/Narcotics/SitePages/ AllNewlaw.aspx# และ กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาไทย สืบค้นจาก https://www.ipthailand. go.th/th/dip-law-2/category/acts.html และแหลง่ เรียนรใู้ นชุมชน หอ้ งสมุดใกล้บา้ นผ้เู รยี น กกกกกกกกก 2.3 บันทึกผลการศกึ ษาค้นควา้ ทไี่ ด้ในข้อ 2.2 ลงในเอกสารการเรยี นรู้ด้วยตนเอง (กรต.)

370 กกกกกกกกก 2.4 พบกลุม่ นาขอ้ มลู ข้อ 2.3 มาอภิปราย แลกเปลย่ี นเรียนร้ขู อ้ มูลท่ีไดก้ ับเพ่อื นผเู้ รียน และครูผู้สอน คิดวิเคราะห์ และคิดสังเคราะห์ สรุปผลการเรียนรู้ท่ีได้ใหม่ร่วมกัน บันทึกลงในเอกสาร การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง (กรต.) สง่ ครูผูส้ อนตามท่ีนัดหมาย กกกกกกกกก 2.5 นาสรุปผลการเรยี นรู้ที่ได้ใหม่รว่ มกัน ไปฝึกปฏิบัติด้วยการตอบแบบฝึกหัด บันทึก ลงในเอกสารการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง (กรต.) และกจิ กรรมท่ีมอบหมาย ส่งครผู สู้ อนตามท่นี ดั หมาย กกกกกกกกก 2.6 บนั ทึกผลการเรยี นร้ทู ่ไี ด้จากการฝกึ ปฏิบัติในขอ้ 2.5 ลงในเอกสารการเรียนร้ดู ้วย ตนเอง (กรต.) ส่งครูผสู้ อนตามที่นัดหมาย กกกกก แบบฝกึ หดั กกกกกกกคาชี้แจง : ให้ผู้เรียนตอบคาถามต่อไปนี้ลงในเอกสารการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง (กรต.) สง่ ครูผูส้ อนตามท่ีนัดหมายc[ กกกกกกก1. กฎหมายทเี่ กีย่ วขอ้ งกับกัญชาและกัญชง มีกฎหมายอะไรบ้าง กกกกกกกกก คาตอบ ......................................................................................................................... ............................................................................................................................. ................................... กกกกกกก2. สาระสาคญั ในกฎหมาย พระราชบัญญัตยิ าเสพติดให้โทษ (ฉบับท่ี 7) พ.ศ. 2562 , ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ที่เกี่ยวข้องกบั กญั ชาและกัญชง และประกาศคณะกรรมการควบคมุ ยาเสพติดให้โทษ คืออะไร กกกกกกกกก คาตอบ ......................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ......... กกกกกกก3. ข้อปฏิบตั ิทต่ี ้องทาตามกฎหมายทเี่ ก่ียวข้องกับกญั ชาและกญั ชง มีอะไรบา้ ง.กกกกกกกก กกกกกกกกก คาตอบ ......................................................................................................................... ............................................................................................................................. ................................... กกกกกกก4. โทษของการฝา่ ฝนื กฎหมายทเ่ี กี่ยวข้องกบั กญั ชาและกญั ชง มีอะไรบา้ ง กกกกกกกกก คาตอบ ......................................................................................................................... ............................................................................................................................. ................................... กกกกกกก5. กฎหมายระหว่างประเทศท่เี กยี่ วขอ้ งกบั กัญชาและกัญชง ตามอนสุ ญั ญาเด่ียวว่าด้วย ยาเสพติดให้โทษ ค.ศ. 1961 มสี าระสาคัญ อะไร กกกกกกกกก คาตอบ ......................................................................................................................... ................................................................................................................................................................

371 กิจกรรม กกกกกกกคาชี้แจง : ให้ผ้เู รยี นศกึ ษากรณีศกึ ษาตอ่ ไปน้ีแล้ววิเคราะหว์ า่ ผดิ กฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับ กัญชาและกัญชงฉบบั ใด แลว้ เขยี นคาตอบลงในเอกสารการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง (กรต.) กกกกกกกกกกกกกกกก ก กรณีศึกษา กฎหมายทเ่ี กยี่ วข้องกบั กัญชาและกญั ชง “รวบหนุ่มใหญ่ คา้ กญั ชา ปลูกขา้ งบา้ น แบ่งขายให้เดก็ วัยรุ่น 20 บาท กซ็ ื้อได้” กกกกกกกเม่ือเวลา 09.30 น. วันที่ 11 กันยายน 2562 สานักงานตารวจภูธร วังสมบูรณ์ จ.สระแก้ว หลังสืบทราบว่ามีการปลูกกัญชาและจาหน่ายให้กับเด็กและเยาวชน จึงนากาลังเข้าตรวจสอบพบว่ามีการลักลอบจาหน่ายจริง พบ นายสมชาย (นามสมมุติ) อายุ 51 ปี กาลังนั่งเด็ดดอกและใบกัญชาอยู่หน้าบ้านพัก โดยมีใบกัญชาและดอกกัญชา ที่เด็ดออกแล้ววางไว้ในตะกร้าและถังกลม มีอุปกรณ์การเสพกัญชา เขียงไม้ มีดส้ัน มีบอ้ งกัญชาท่ีเอาไว้เสพเองวางอยู่ข้าง ๆ บรเิ วณรอบบ้านพัก พบตน้ กญั ชาสูงกวา่ 2 เมตร จานวนถึง 25 ตน้ นา้ หนกั 17 กิโลกรมั นายสมชาย (นามสมมตุ ิ) ใหก้ ารรบั สารภาพว่าตน เปน็ คนไข้โรงพยาบาลจิตเวชโดยจะไปรับยามาเป็นประจา พอดีมีคนบอกวา่ ให้หากัญชามา เสพ และกินยาพร้อมกันไปด้วยอาการก็ดีขึ้น จึงปลูกกัญชาไว้เพื่อเสพ และจาหน่ายให้ กบั เด็ก และเยาวชนในพ้ืนท่ีใกล้เคียง โดยจะแบ่งขายทั้งเป็นใบสด และใบแห้งให้กับลูกค้า ในราคาต้ังแต่ 100 บาท 50 บาท และ 20 บาท ให้เด็กวัยรุ่น จะเป็นลูกค้าเข้ามาซ้ือกัน ในชว่ งเยน็ กกกกกกก กกกกกกกจากการสอบถามชาวบา้ นข้างเคียงกล่าวว่า นายสมชาย (นามสมมุต)ิ มักจะเสพ กัญชาเป็นประจา แรก ๆ จะหาซ้ือเสพเอง ปัจจุบันหันมาปลูกกัญชาไว้เอง พอมีจานวน มากก็ใช้บ้านเป็นสถานท่ีขายให้กับกลุ่มวัยรุ่น มีจักรยานยนต์ขับขี่เข้ามาม่ัวสุมในช่วงเย็น และค่าเป็นประจา โดยเฉพาะเด็กนักเรียนชั้น มัธยมศึกษา ในพื้นที่ ทาให้ผู้ปกครองต่าง เป็นหว่ งบุตรหลานจะตดิ ยาเสพตดิ และชาวบา้ นพยายามเตือนและบอกกลา่ วมานานแลว้ แต่ก็ไม่เช่ือจนกระทั่งถูกจับกุม ซึ่งภายหลังสอบสวนได้นาตัวผู้ต้องหาพร้อมของกลาง สง่ ให้พนักงานสอบสวน เพ่ือดาเนินคดีตามกฎหมายต่อไป กกกกกกกกก คาตอบ ผลการวิเคราะห์ กกกกกกกกก1. ความสาคญั ของกรณศี ึกษา คอื .................................................................................... ............................................................................................................................. ...................................

372 กกกกกกกกก2. ความสมั พนั ธ์ที่พบในกรณีศึกษา คือ .......................................................................... ............................................................................................................................. ................................... 3. หลกั การท่ีพบในกรณีศกึ ษา คอื .................................................................................. ............................................................................................................................. ................................... 4. กรณีศึกษานี้ให้ประโยชนใ์ นการนาไปใช้ คือ กกกกกกกกกกก 4.1 ตนเอง คอื .......................................................................................................... ................................................................................................................................................................ กกกกกกกกกกก 4.2 ครอบครวั คนในชุมชน คอื ................................................................................ ................................................................................................................................................................

373 ใบงานที่ 5 หัวเรือ่ ง กัญชงและกัญชากับการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก คาชี้แจง กกกกกกก1. ใบงานน้จี ดั ทาขึ้นเพ่ือใหผ้ ู้เรียนมีความรู้ และประสบการณเ์ ก่ียวกบั กญั ชาและกญั ชงกับ การแพทยแ์ ผนไทยการแพทย์ทางเลือก กกกกกกก2. ให้ผเู้ รียนปฏบิ ตั ติ ามข้นั ตอนต่อไปนต้ี ามลาดับ 2.1ผู้เรยี นร่วมกับครูผู้สอนกาหนดประเดน็ ศึกษารว่ มกนั ได้ประเดน็ ศึกษาต่อไปน้ี 2.1.1ประวตั ิความเปน็ มาการใช้กัญชาและกัญชงในการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ต่างประเทศ และในประเทศไทยอยา่ งไร 2.1.2 ตารับทมี่ กี ญั ชาและกัญชงเปน็ ส่วนประกอบรับรองโดยกระทรวงสาธารณสขุ มีกี่ตารับ อะไรบา้ ง 2.1.3 ภมู ภิ ูเบศรรวบรวมและเผยแพร่ภมู ปิ ญั ญาไทยอย่างไร 2.1.4ประวตั ิและการรกั ษาของนายเดชา ศริ ภิ ัทร หมอพ้นื บ้านเป็นอย่างไร 2.2ผู้เรียนศึกษาประเด็นศึกษาในข้อ 2.1.1, 2.1.2,2.1.3และ 2.1.4จากส่ือเอกสารประกอบด้วยใบ ความรู้ท่ี 5เรื่องแนวทางการเฝ้าระวังความปลอดภัยการใช้ตารับยาแผนไทยที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ หนังสือเรียนสาระทักษะการดาเนินชีวิต รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพือ่ ใช้เป็นยา อย่างชาญฉลาด และหนังสือที่เกี่ยวข้อง 3เล่ม ชื่อหนังสือสุริยันกัญชา อัมฤตย์โอสถแห่งความหวัง ชื่อหนังสือกัญชายาวิเศษ และชื่อหนังสือขนาดยาจากกัญชาท่ีเหมาะสมในการรักษาโรค ส่ือ อิ เล็ ก ท รอ นิ ก ส์ อ ย่ างน้ อ ย 3เว็บ ไซ ต์ ได้ แ ก่ เว็บ ไซ ต์ https://www.กั ญ ชาทางการแพทย์ . com/2019/05/marijuana-cannabis-drugs-medical-use-history.htmlเว็บไซต์ http://www.abhaiherb.com แ ล ะ เว็ บ ไซ ต์ http://digi.library.tu.ac.th/index/0122/7-1-Jan-Apr-2552/08PAGE39-PAGE53.pdf แหลง่ เรียนรใู้ นชมุ ชน และหอ้ งสมดุ ใกล้บา้ นผูเ้ รียน 2.3 บนั ทึกผลการศึกษาค้นคว้าทไ่ี ด้ในข้อ 2.2 ลงในเอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.) 2.4พบกลุ่ม นาข้อมูลข้อ 2.3 มาอภิปรายแลกเปล่ียนเรียนรู้ข้อมูลท่ีได้กับเพื่อนผู้เรียนและครูผู้สอน คิดวิเคราะห์และคิดสังเคราะห์ สรุปผลการเรียนรู้ที่ได้ใหม่ร่วมกัน บันทึกลงในเอกสารการเรียนรดู้ ้วย ตนเอง (กรต.) ส่งครูผู้สอนตามท่ีนดั หมาย 2.5นาผลสรุปการเรียนรู้ท่ีได้ใหม่ร่วมกันไปฝึกปฏิบัติด้วยการตอบแบบฝึกหัด บันทึกลงในเอกสาร การเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.) และกิจกรรมท่ีมอบหมายให้ศึกษาการนากัญชาและกัญชงไปใช้ การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกตามท่ีสนใจจัดทาเป็นงานกลุ่ม มีผู้เรียน จานวน 3 คนต่อ กล่มุ หรอื ตามความเหมาะสม

374 2.6 บันทึกผลการเรียนรู้ท่ีได้จากการฝึกปฏิบัติในข้อ 2.5 ลงในเอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.) ส่งครผู สู้ อนตามที่นดั หมาย 2.7ผเู้ รียนรบั ฟังบรรยายสรุปจากครผู ู้สอน เรื่อง กัญชาและกัญชงกับการแพทย์แผนไทยและ การแพทยท์ างเลอื ก สร้างความตระหนักถงึ ตารับยาที่มกี ัญชาและกัญชงเป็นส่วนประกอบ โดยเฉพาะ ตระหนกั ถงึ คุณค่าของภูมปิ ญั ญาภมู ิภเู บศร และภูมปิ ญั ญานายเดชา ศิริภัทร แบบฝกึ หดั กกกกกกกคาช้ีแจง : ให้ผเู้ รยี นตอบคาถามในข้อตอ่ ไปนลี้ งในเอกสารการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (กรต.) ส่งครูผสู้ อนตามทนี่ ดั หมาย กกกกกกก1. ประวัตคิ วามเป็นมาการใช้กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ทางเลือกต่างประเทศเปน็ อย่างไร อยา่ งไรคาตอบ…………………………….…………………………………..………………………………………….. ………………………………………………………………………….……………………………………….…………………………. กกกกกกก2. ประวตั ิความเป็นมาการใช้กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ทางเลือกในประเทศไทยเป็น อยา่ งไร กกกกกกก2. คาตอบ…………………………….…………………………………..………………………………………….. ………………………………………………………………………….……………………………………….…………………………. กกกกกกก3. ภูมภิ ูเบศรรวบรวมและเผยแพร่ภูมปิ ญั ญาไทยอยา่ งไร กกกกกกก3. คาตอบ…………………………….…………………………………..………………………………………….. ………………………………………………………………………….……………………………………….…………………………. กกกกกกก4. ประวัติและการรกั ษาของนายเดชา ศริ ภิ ทั ร หมอพ้ืนบ้านเป็นอยา่ งไร กกกกกกก4. คาตอบ……………………………….………………………………..………………………………………….. ………………………………………………………………………….……………………………………….………………………….

375 กจิ กรรม กกกกกกกคาชี้แจง : 1. ให้กลุ่มผู้เรียนศึกษาการนากัญชาและกัญชงไปใช้ทางการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือกตามอาการของโรคที่สนใจศึกษา ท่ีรับรองโดยกระทรวงสาธารณสุข จานวน 3 ตารับเขียนผลการศึกษาจัดทาเป็นเอกสารรายงานการศึกษากัญชาและกัญชงไปใช้ทางการแพทย์ แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่สนใจ เอกสารรายงานประกอบด้วย ส่วนนา ได้แก่ ปกนอก รองปก นอก ปกใน คานา และสารบัญ ส่วนเนื้อหาได้แก่ (1) อาการของโรคท่ีสนใจศึกษา (2) ชอื่ ตารบั ยาท่ี ใช้กับอาการของโรค (3) สูตรของตารบั ยา (4) รูปแบบของยา (5) ขนาดวิธีใช้และ (6) ข้อควรระวังหรือ คาแนะนา และส่วนท้าย คือ บรรณานุกรม สง่ ครูผ้สู อนตามกาหนด 2. นาเสนอผลการศึกษาการนากญั ชาไปใชท้ างการแพทยท์ ส่ี นใจแก่เพ่ือนผเู้ รยี น และครผู สู้ อน กกกกกกก3. บันทกึ ผลการเรยี นรู้ที่ได้จากการฝึกปฏิบัตลิ งในเอกสารการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง (กรต.)สง่ ครูผสู้ อนตามท่ีครผู ู้สอนนดั หมาย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook